Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Futures-Studies

Futures-Studies

Published by pawnin.chaiyabat, 2021-01-20 03:05:27

Description: Futures-Studies

Search

Read the Text Version

อนาคตศกึ ษา | 86 ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง เนื้�อหาข้้างต้้นอธิิบายแนวคิิดพื้�นฐานเกี่่�ยวกัับการเปลี่�่ยนแปลง แต่่การวิิเคราะห์์ภาพอนาคตและ การคาดการณ์เ์ ชิงิ ยุทุ ธศาสตร์์ จำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งพึ่่ง� ทฤษฎีีบางประการที่อ�่ ธิบิ ายการเปลี่ย�่ นแปลงในด้า้ นต่า่ ง ๆ ที่่�เกิดิ ขึ้�นมาก่อ่ นในอดีีต แล้ว้ นำำ�ทฤษฎีีนั้้�นมาเป็็นกรอบในการคาดการณ์ภ์ าพอนาคต นัักอนาคตศาสตร์์ ที่่�ผ่่านมาประยุุกต์์ใช้้ทฤษฎีีการเปลี่�่ยนแปลงจากหลายศาสตร์์ นัับตั้�งแต่่วิิทยาศาสตร์์ธรรมชาติิ เช่่น ฟิิสิิกส์์ เคมีี และชีีววิิทยา ไปจนถึึงทฤษฎีีด้้านสัังคมศาสตร์์และจิิตวิิทยา ทฤษฎีีการเปลี่่�ยนแปลงแนว วิิทยาศาสตร์์มักั ใช้ก้ ัับการพยากรณ์์อนาคตของเทคโนโลยีีและระบบต่า่ ง ๆ โดยเน้้นความเป็็นวััตถุวุ ิิสััย (objectivity) ของการวิิเคราะห์์ ส่ว่ นทฤษฎีีด้า้ นสังั คมศาสตร์แ์ ละจิติ วิทิ ยามักั ใช้เ้ ป็น็ กรอบวิเิ คราะห์ก์ าร เปลี่ย่� นแปลงที่ม่� าจากความเป็น็ อัตั วิสิ ัยั ของคนในสังั คม เช่น่ คุณุ ค่า่ และความเชื่อ� ทฤษฎีีการเปลี่ย�่ นแปลงมีีผล ต่อ่ วิธิีีการที่ใ่� ช้ใ้ นการวิเิ คราะห์ภ์ าพอนาคต ซึ่ง� สามารถประยุกุ ต์ใ์ ช้ไ้ ด้ต้ ามสถานการณ์แ์ ละเงื่อ� นไขที่เ�่ หมาะสมได้้ ทฤษฎกี ารเปลีย่ นแปลงในวิทยาศาสตร์ กลุ่ �มทฤษฎีีสำำ�คััญที่�่เป็็นพื้ �นฐานการวิิเคราะห์์การเปลี่�่ยนแปลงที่�่ใช้้คาดการณ์์อนาคตคืือทฤษฎีีจาก วิิทยาศาสตร์์กายภาพหรืือวิิทยาศาสตร์์ธรรมชาติิ (physical/natural sciences) โดยเฉพาะทฤษฎีี ฟิสิ ิกิ ส์์ ทฤษฎีีกลุ่�มนี้�เน้น้ สภาพวัตั ถุวุ ิสิ ัยั ของปรากฏการณ์แ์ ละสิ่ง� ต่า่ ง ๆ ที่ส�่ ามารถพิสิ ูจู น์ไ์ ด้ด้ ้ว้ ยข้อ้ มูลู เชิงิ ประจักั ษ์์ เริ่�มตั้�งแต่ก่ ารวิเิ คราะห์แ์ บบฟิสิ ิกิ ส์ข์ องไอแซก นิวิ ตันั (Isaac Newton) ซึ่�งเน้้นแสดงภาพแบบ ย่่อส่ว่ น (reductionism) และกลไก (mechanics) ของสาเหตุุและผลลััพธ์์ โดยมักั ใช้้ในการวิิเคราะห์์ การเปลี่ย�่ นแปลงของระบบที่ม�่ ีีความซับั ซ้อ้ น กรอบแนวคิดิ แบบนิวิ ตันั กลายเป็น็ พื้�นฐานของการวิเิ คราะห์์ ทางวิิทยาศาสตร์์มาเป็็นเวลานาน และมีีอิิทธิิพลต่่อสัังคมศาสตร์์หลายสาขา โดยเฉพาะเศรษฐศาสตร์์ ทฤษฎีีการเปลี่ย่� นแปลงแบบนิวิ ตันั ได้ร้ ับั การประยุกุ ต์ใ์ ช้ใ้ นการคาดการณ์อ์ นาคต โดยยึดึ หลักั การพื้�นฐาน ที่่�ว่่า นัักวิิเคราะห์์สามารถพยากรณ์์เหตุุการณ์์หรืือการเปลี่�่ยนแปลงที่�่จะเกิิดขึ้�นในอนาคต ถ้้าสามารถ ทราบถึึงกลไกของความสััมพัันธ์์ระหว่่างเหตุุกัับผล หรืือสาเหตุุกัับผลลััพธ์์ได้้ ภายใต้้ข้้อสมมติิว่่าความ สััมพัันธ์น์ั้�นจะยังั คงมีีอยู่่�ต่่อไปในลักั ษณะเดิิม การพยากรณ์ต์ ามแนวคิิดนี้�มุ่�งสร้้างความแม่น่ ยำำ�ของการ พยากรณ์์ให้ไ้ ด้้มากที่่ส� ุดุ แนวคิิดฟิิสิิกส์์ในยุุคต่่อมาได้้ท้้าทายกระบวนทััศน์์แบบนิิวตััน หนึ่่�งในนั้�นคืือทฤษฎีีสััมพััทธภาพ (relativity) ของอััลเบิิร์์ต ไอน์์สไตน์์ ทฤษฎีีนี้้�ได้้ขยายพรมแดนความรู้�เกี่่�ยวกับั ความจริิงที่�เ่ กี่่ย� วโยงกัับ

87 | อนาคตศึกษา เวลาและพื้�นที่�่ (time and space) โดยล้ม้ ล้า้ งความคิดิ ที่ม�่ ีีมาแต่เ่ ดิมิ ว่า่ เวลาเป็น็ สิ่ง� ที่ม่� ีีอยู่�อย่า่ งวัตั ถุวุ ิสิ ัยั และเหมืือนกัันสำ�ำ หรับั ทุกุ คน และแยกออกจากพื้�นที่�่ได้้ อีีกแนวคิดิ หนึ่่ง� ที่ท�่ ้า้ ทายการมองความจริงิ แบบ หนึ่่ง� เดีียวคือื แนวคิดิ ฟิสิ ิกิ ส์ค์ วอนตัมั ซึ่ง� ได้ก้ ่อ่ ร่า่ งขึ้�นมาอย่า่ งชัดั เจนในช่ว่ งต้น้ คริสิ ต์ศ์ ตวรรษที่่� 20 ทฤษฎีี ควอนตััมได้้ท้้าทายข้้อสมมติิแต่่เดิิมเกี่�่ยวกัับมุุมมองว่่าด้้วยวััตถุุวิิสััยของความจริิง งานวิิจััยจำ�ำ นวนมาก ได้้พยายามพิิสููจน์์และค้้นหาหลัักฐานที่�่สนัับสนุุนหรืือหัักล้้างทฤษฎีีดัังกล่่าว หนึ่่�งในนั้�นคืือ บทความที่่� ตีีพิิมพ์์ในวารสาร Science Advances เมื่ �อเดืือนกัันยายน พ.ศ.2562 ที่่�ผ่่านมา34 ซึ่�งแสดงให้้เห็็นว่่า ในโลกระดับั จุุลภาคที่�่ประกอบด้ว้ ยอะตอมและอนุุภาค ซึ่ง� ปฏิกิ ิิริยิ าต่่าง ๆ กำำ�หนดโดยกลศาสตร์ค์ วอน ตัมั (quantum mechanics) คนสองคนสามารถสังั เกตปรากฏการณ์เ์ ดีียวกััน แต่เ่ ห็น็ เป็น็ ข้อ้ เท็จ็ จริิง ที่�แ่ ตกต่่างกันั ได้้ กล่่าวคืือ สิ่ง� ที่่�เรีียกว่่าข้อ้ เท็็จจริิงนั้�น สามารถมีีความเป็็นอััตวิสิ ััยได้้ ทั้�งทฤษฎีีสััมพัทั ธ ภาพและทฤษฏีีควอนตััมสอดคล้้องกัับกระบวนทััศน์์ของอนาคตศึึกษาในยุุคทศวรรษที่่� 1970 เป็็นต้้น มาที่่�มองอนาคตเป็็นพหููพจน์์ และไม่่ได้้มีีอยู่�หนึ่่�งเดีียว อีีกทั้�งยัังเป็็นอนาคตที่่�เป็็นอััตวิิสััยและขึ้�นอยู่่�กัับ มุุมมองของแต่ล่ ะคนหรืือกลุ่�มคน ทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอน์สไตน์กับทฤษฎีควอนตัมอาจดูเหมือนห่างไกลเกินกว่าที่จะน�ำมาใช้ ในการคาดการณ์อนาคต แต่การมองอนาคตด้วยมิติเวลาท่ีแตกต่างจากเดิม อาจเปิดโอกาสให้ผู้เข้า ร่วมกระบวนการคาดการณ์อนาคตสามารถจินตนาการความเปน็ ไปไดอ้ ืน่ ๆ ทแี่ ตกต่างจากภาพเดิมได้ ตัวอย่างเช่น ในโครงการมองภาพอนาคตของ Army Medical Department ของสหรัฐอเมริกา ซงึ่ ด�ำเนนิ กระบวนการโดย Institute for Alternative Futures ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ ไดล้ องใชแ้ นวคดิ เกย่ี ว กับเวลาที่ต้ังอยู่บนฐานทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอน์ไตน์ และได้สร้างภาพอนาคตที่ตั้งอยู่บนข้อสมมติ ว่า คนรุ่นใหม่มีความคิดเกี่ยวกับเวลาและมีปฏิสัมพันธ์กับเวลาในรูปแบบที่แตกต่างจากคนรุ่นก่อน35 เทคโนโลยีใหม่ ๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจทิ ัล ไมเ่ พยี งแต่เปิดโอกาสใหค้ นรนุ่ ใหมส่ ามารถใชเ้ วลาในรปู แบบที่แตกต่างคนรุ่นก่อนเท่านั้น แต่อาจท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงในโครงสร้างของสมองและระบบ ประสาทของคนรนุ่ ใหมด่ ว้ ยกเ็ ปน็ ได้ ตัวอย่างน้ีแสดงให้เห็นว่า ทฤษฎพี ืน้ ฐานจากฟสิ ิกสส์ ามารถน�ำมา ใชเ้ ป็นฐานความคดิ ในการมองอนาคตทแี่ ตกต่างจากเดมิ ได้ ความท้าทายหน่ึงของการคาดการณ์อนาคตคือการจินตนาการภาพอนาคตที่หลุดออกจากกรอบ ความคิดที่มีอยู่แต่เดิม ขั้นตอนส�ำคัญในช่วงแรกของกระบวนการคาดการณ์จึงอยู่ที่การโน้มน้าวความ คดิ ของผ้เู ข้ารว่ มกระบวนการใหก้ ้าวพน้ กระบวนทัศน์เดมิ ท่ที �ำให้ไมส่ ามารถมองเห็นภาพใหม่ขึน้ ได้ ทฤษฎีความซับซอ้ น นับั ตั้�งแต่ท่ ศวรรษ 1970 เป็น็ ต้น้ มา ศาสตร์ด์ ้า้ นการศึกึ ษาอนาคตมีีวิวิ ัฒั นาการไปตามกระบวนทัศั น์เ์ กี่ย�่ ว กับั อนาคตที่ป�่ รับั เปลี่ย่� นไป จากที่แ�่ ต่เ่ ดิมิ มองว่า่ อนาคตเป็น็ ผลลัพั ธ์ส์ ืบื เนื่่อ� งจากอดีีต เป็น็ อนาคตที่ม�่ ีีทาง เลือื กและเปิดิ กว้า้ งมากขึ้�น ทฤษฎีีวิทิ ยาศาสตร์ส์ ำ�ำ คัญั ที่พ่� ัฒั นาเป็น็ พื้�นฐานของการศึกึ ษาอนาคตในช่ว่ งดังั กล่า่ วคือื แนวคิดิ โครงสร้า้ งแบบกระจาย (dissipative structure) ของอิลิ ยา พริโิ กกีีน (Ilya Prigogine) นักั วิทิ ยาศาสตร์ช์ าวเบลเยีียมที่ไ�่ ด้ร้ ับั รางวัลั โนเบลสาขาเคมีีใน พ.ศ. 2520 ทฤษฎีีโครงสร้า้ งแบบกระจาย เป็น็ พื้�นฐานของงานวิจิ ัยั เกี่ย�่ วกับั ระบบจัดั การตนเอง (self-organizing systems) ซึ่ง� อธิบิ ายปรากฏการณ์์ ต่า่ ง ๆ ด้ว้ ยปัจั จัยั ที่ม่� ากกว่า่ กลไกแบบสาเหตุแุ ละผลลัพั ธ์์ (cause-effect mechanism) ธรรมดา โดยเพิ่่ม�

อนาคตศกึ ษา | 88 การเปลี่ย่� นแปลงที่เ�่ กิดิ จากความบังั เอิญิ (chance) และความอลวนหรือื เคออส (chaos) ที่ท่� ำ�ำ ให้เ้ กิดิ ความ ซับั ซ้อ้ น (complexity) ในระบบต่า่ ง ๆ ทฤษฎีีนี้้�เสนอว่า่ ระบบปิดิ (closed systems) ซึ่ง� มีีคุณุ ลักั ษณะ ที่เ่� ป็น็ ไปตามกฎฟิสิ ิกิ ส์แ์ บบนิวิ ตันั สามารถคงอยู่�ได้ไ้ ปพร้อ้ มกับั ระบบเปิดิ (open systems) ที่เ่� อนโทรปีี (entropy) นำ�ำ ไปสู่่�สภาวะเคออส และทำำ�ให้เ้ กิดิ ระบบที่ม�่ ีีศักั ย์์สูงู กว่า่ (higher order systems) ระบบ ที่่� มีีความซับั ซ้อ้ นสูงู นี้้�อ่อ่ นไหวต่อ่ เงื่อ� นไขตั้�งต้น้ (initial conditions) มาก กล่า่ วคือื ค่า่ ตั้�งต้น้ เปลี่ย�่ นแปลง เพีียงเล็็กน้้อย ก็อ็ าจขยายผลทำ�ำ ให้เ้ กิิดการเปลี่่ย� นแปลงขนาดใหญ่ไ่ ด้้ แนวคดิ เคออสและความซบั ซอ้ นของระบบไดก้ ลายเปน็ ทฤษฎสี �ำคญั ทน่ี กั อนาคตศาสตรใ์ ชอ้ ธบิ าย การเปลยี่ นแปลงดา้ นทน่ี �ำไปสภู่ าพอนาคตทแ่ี ตกตา่ งไปอยา่ งมากจากภาพและแนวโนม้ ในปจั จบุ นั งาน คาดการณภ์ าพอนาคตจ�ำนวนมากไดใ้ ชก้ รอบแนวคดิ ระบบทซ่ี บั ซอ้ น เปดิ กวา้ งและมวี วิ ฒั นาการอยเู่ สมอ ความทา้ ทายของการวางแผนในยคุ แห่งความไม่แนน่ อน แนวคิดกระแสหลักในหมู่นักอนาคตศาสตร์ในปัจจุบันคือ เราไมส่ ามารถท�ำนายอนาคตได้ แตส่ ามารถ คาดการณ์ว่าภาพอนาคตทางเลือกใดบ้างที่น่าจะเกิดขึ้นได้ แล้วน�ำภาพเหล่าน้ันมาวางแผนต่อ แต่ องค์กรจ�ำนวนมากยังคงใช้แนวคิดและวิธีการวางแผนแบบเดิมที่ต้ังอยู่บนข้อสมมติว่า อนาคตจะเป็น ไปอยา่ งทีเ่ คยเป็นมาในอดตี และสามารถท�ำนายได้ ความไมแ่ น่นอนของอนาคตกบั การวางแผนจงึ ดู เหมือนเป็นสองสงิ่ ทข่ี ดั แยง้ กนั ระบบซัับซ้้อน (complex systems) เป็็นแนวคิิดหนึ่่�งที่�่ใช้้ในการทำำ�ความเข้้าใจเกี่�่ยวกัับความ ไม่่แน่่นอน แนวคิิดนี้้�ช่่วยให้้นัักวางแผนสามารถทำำ�ความเข้้าใจได้้ว่่า ปรากฏการณ์์หรืือองค์์ประกอบ ต่่าง ๆ ในระบบที่่�ซัับซ้้อนเกิิดขึ้�นและมีีปฏิิสััมพัันธ์์กัันอย่่างไร ตััวอย่่างของระบบซัับซ้้อนมีีเห็็นอยู่� ทั่่�วไป นัับตั้�งแต่่รัังมด ระบบภููมิิคุ้�มกัันของมนุุษย์์ ไปจนถึึงตลาดหุ้�นระดัับโลก เป็็นต้้น ระบบซัับซ้้อน เหล่่านี้้�มีีคุุณลัักษณะพิิเศษ ได้้แก่่ 1. พฤตกิ รรมกลุ่มที่ซับซ้อน แม้ว่าแตล่ ะองคป์ ระกอบย่อยของระบบจะมีพฤตกิ รรมทีเ่ ปน็ ไปตามกฏงา่ ย ๆ ไมซ่ บั ซอ้ น แต่เมื่อองค์ประกอบเหล่านี้ท�ำงานรว่ มกันเปน็ ระบบใหญ่ แลว้ กลบั มรี ปู แบบพฤตกิ รรมทท่ี �ำนายได้ยาก 2. การประมวลผลและยอ้ นกลบั (feedback) ของขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นการตดั สนิ ใจ ทง้ั ขอ้ มลู จาก ภายในและภายนอกระบบ 3. พฤติกรรมการปรับตัว ระบบซับซ้อนจะเรียนรู้และปรับพฤติกรรมไปตามเงื่อนไขและ สภาพแวดลอ้ มที่เปล่ียนแปลงไป อนึ่่ง� ระบบซับั ซ้อ้ นในความหมายของคำ�ำ ว่า่ complex แตกต่า่ งจากระบบที่ย�ุ่่�งยากซับั ซ้อ้ นในความ หมายของคำ�ำ ว่า่ complicated ระบบซับั ซ้อ้ นในแบบหลังั สื่อ� ถึงึ ความซับั ซ้อ้ นและยากในการทำ�ำ ความเข้า้ ใจ แต่ส่ ามารถแบ่ง่ ระบบย่อ่ ยลงมาเป็น็ องค์ป์ ระกอบย่อ่ ย ๆ ได้้ ในทางกลับั กันั ในกรณีีของระบบซับั ซ้อ้ นแบบ complex นั้�น ไม่ส่ ามารถแบ่ง่ องค์ป์ ระกอบย่อ่ ยลงมาได้ใ้ นลักั ษณะเดีียวกันั เพราะบางองค์ป์ ระกอบอาจมีี พลวัตั และปรับั เปลี่ย�่ นตัวั เองไปแล้ว้ ตามสภาพแวดล้อ้ มและเงื่อ� นไขที่เ�่ ปลี่ย่� นไป ระบบที่ม่� ีีคุณุ ลักั ษณะซับั ซ้อ้ น และปรับั ตัวั ได้เ้ ช่น่ นี้้�ทำ�ำ ให้ก้ ารทำ�ำ นายหรือื พยากรณ์อ์ นาคตเป็น็ ไปได้ย้ าก กรอบแนวคิดิ และเครื่อ� งมือื ที่ใ่� ช้ใ้ นการ ทำ�ำ ความเข้า้ ใจในอนาคตของระบบดังั กล่า่ วจึงึ ต้อ้ งแตกต่า่ งจากการทำ�ำ ความเข้า้ ใจในระบบซับั ซ้อ้ นแบบสถิติ

89 | อนาคตศกึ ษา การวางแผนยทุ ธศาสตรใ์ นบรบิ ทเดมิ ทผ่ี า่ นมาตง้ั อยบู่ นฐานความคดิ ทวี่ า่ อนาคตเปน็ การตอ่ แนวโนม้ จากปจั จบุ นั แตใ่ นบรบิ ททมี่ คี วามซบั ซอ้ นและความไมแ่ นน่ อนสงู ขอ้ สมมตดิ งั กลา่ วไมส่ ามารถใชไ้ ดอ้ กี ตอ่ ไป ในโลกของการเปลย่ี นแปลง การวางแผนในยคุ ตอ่ จากนไ้ี ปตอ้ งจดั การกบั ความซบั ซอ้ นและความไมแ่ นน่ อน เปา้ หมายของการวางแผนและการตดั สนิ ใจในเชงิ นโยบายในโลกทซี่ บั ซอ้ นและเชอื่ มตอ่ กนั หมดเชน่ นี้ คอื การ คน้ หาทางออกทบ่ี รรลเุ ปา้ หมายและไดป้ ระโยชนอ์ ยา่ งรวดเรว็ ในระยะสน้ั พรอ้ มกบั เลย่ี งการกระท�ำที่จะท�ำให้ เกดิ ผลลพั ธท์ ไี่ มพ่ งึ ประสงคใ์ นระยะยาว ดงั นน้ั วตั ถปุ ระสงคข์ องการวเิ คราะหเ์ พอ่ื การวางแผนไมไ่ ดอ้ ยตู่ รง ทกี่ ารหาทางออกทดี่ ที ส่ี ดุ (optimal) แตอ่ ยทู่ ก่ี ารลดความไมแ่ นน่ อนและความเสย่ี งทเี่ กดิ จากการตดั สนิ ใจ ตวั อยา่ งส�ำคญั ทใ่ี ชแ้ นวคดิ ระบบซบั ซอ้ นในการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรค์ อื โครงการวจิ ยั ระบบโรค อ้วน (obesity system) โดยแผนงาน Foresight Programme ของส�ำนักงานวิทยาศาสตรแ์ ห่งรฐั บาล สหราชอาณาจกั ร (UK Government Office for Science)36 โครงการดงั กลา่ วไดใ้ ชก้ ระบวนการมสี ว่ น รว่ มกบั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี จากภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในการพฒั นาผงั ระบบความอว้ น (Obesity System Map) ทเี่ ป็นแบบจ�ำลองแนวคิดเชงิ คณุ ภาพ (qualitative, conceptual model) ท่ีมตี ัวแปร 108 ปจั จยั ซ่งึ แบง่ ออกเป็น 7 กล่มุ ตั้งแตก่ ลุม่ ตวั แปรในดา้ นการผลิตอาหาร ไปจนถึงปจั จยั ด้านสรรี วิทยา การสร้าง ผงั ระบบดงั กลา่ วเปน็ พนื้ ฐานของการวเิ คราะหภ์ าพอนาคตและนโยบายทางเลอื กในการปอ้ งกนั และลด ปัญหาโรคอว้ นของรฐั บาลอังกฤษในช่วงตอ่ มา ทฤษฎวี ิวัฒนาการ อีกทฤษฎีหน่ึงท่ีอธิบายการเปลี่ยนแปลงในระบบต่าง ๆ คือทฤษฎีวิวัฒนาการ ซึ่งมีจุดเริ่มต้นมาจาก แนวคิดวิวัฒนาการด้วยการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ที่เสนอโดยชาลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin) และอัลเฟรด รัสเซล วอลลัส (Alfred Russel Wallace) ในช่วงกลางศตวรรษท่ี 19 สาระพ้ืนฐานของแนวคิดวิวัฒนาการคือการเปล่ียนแปลงของคุณลักษณะของสปีชีส์ในช่วงหลาย ช่วงอายุ โดยผ่านกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ปัจเจกท่ีสามารถปรับตัวได้ตามเงื่อนไขและสิ่ง แวดลอ้ มที่ปรบั เปลย่ี นไปจะสามารถเอาตวั รอดได้ โดยแพรข่ ยายพนั ธแ์ุ ละถา่ ยทอดยนี ของตนเองใหก้ บั ลกู หลานต่อไป ในขณะที่ปัจเจกท่ีไมส่ ามารถปรบั ตัวได้ ก็ตอ้ งล้มหายตายจากไป และไม่มีการถา่ ยทอด ยนี ส่วนทีด่ ้อยกวา่ ต่อไป ทฤษฎีวิวัฒนาการเองก็มีวิวัฒนาการเร่ือยมา จนมาถึงในยุคหลังท่ีมีข้อเสนอในกลุ่มชีววิทยา พฒั นาการเชงิ ววิ ฒั นาการ (evolutionary developmental biology) หรอื ทเี่ รยี กโดยยอ่ วา่ evo-devo ท่ีเนน้ วา่ การเปลยี่ นแปลงระหวา่ งรนุ่ ทเี่ รียกว่าววิ ัฒนาการ (evolution) นั้น เปน็ ผลมาจากรปู แบบการ เปลย่ี นแปลงภายในส่งิ มีชวี ติ แต่ละประเภทในแต่ละรุ่น หรอื ท่เี รยี กวา่ พัฒนาการ (development) นักั อนาคตศาสตร์ห์ ลายคนได้ป้ ระยุกุ ต์ใ์ ช้ท้ ฤษฎีีวิวิ ัฒั นาการในการมองภาพอนาคต หนึ่่ง� ในนั้�นคือื โยนาส ซอลค์์ (Jonas Salk) ซึ่ง� เสนอว่า่ แรงผลักั ดันั การเปลี่ย่� นแปลงแบบวิวิ ัฒั นาการคือื การเติมิ เต็ม็ ของ สิ่�งตรงกันั ข้้าม (opposed complementarity) โดยการเปลี่�่ยนแปลงเกิดิ ขึ้�นโดยการเคลื่อ� นที่่ร� ะหว่่าง ขั้�วต่่างสองขั้�ว37 สำ�ำ หรัับงานด้า้ นอนาคตศึกึ ษา วิิวััฒนาการเกิดิ ขึ้�นจากปฏิสิ ััมพันั ธ์์ระหว่า่ งขั้�วของความ จริงิ ที่ร�่ ัับรู้�อยู่�ในปััจจุุบััน (perceived reality) กัับวิิสััยทัศั น์ข์ องอนาคตในอุดุ มคติิ (idealized future) กระบวนการสร้้างการเปลี่่�ยนแปลงภายในองค์์กร ในพื้�นที่่�หรืือประเทศ นััยหนึ่่�งก็็คืือการจััดการกัับ แรงดึึงดููดและความตึึงเครีียดระหว่า่ งขั้�วต่่าง ๆ

อนาคตศกึ ษา | 90 แนวคิดและวิธีการหน่ึงท่ีนิยมใช้ในการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์คืออนาคตเชิงปรารถนา (aspirational futures) ซงึ่ เสนอโดย Institute for Alternative Futures แนวคดิ นเ้ี สนอกระบวนการ คน้ หาและวเิ คราะหค์ ณุ คา่ เบอื้ งลกึ ของสงั คมหรอื องคก์ ร แลว้ ฉายภาพนนั้ ไปยงั อนาคต เพือ่ ใหเ้ กดิ ความ ตงึ เครยี ด (tension) ระหวา่ งภาพทพ่ี งึ ประสงคก์ บั ภาพความจรงิ ในปจั จบุ นั จากนน้ั จงึ สรา้ งเสน้ ทางของ การเปลีย่ นแปลงเชงิ วิวฒั นาการไปยังอนาคตตอ่ ไป วิวฒั นาการแบบดลุ ยภาพเป็นช่วง ๆ ในปรััชญาว่่าด้้วยธรรมชาติิแต่่ดั้�งเดิิม วิิวััฒนาการเกิิดขึ้�นอย่่างช้้า ๆ ตามสััจพจน์์ (axiom) “Natura non facit saltus” ในภาษาละติิน38 ซึ่�งแปลว่่า ธรรมชาติิไม่่กระโดด หลักั การดัังกล่า่ วถืือว่่า สิ่ง� และ คุุณลัักษณะต่า่ ง ๆ ในธรรมชาติิเปลี่ย่� นแปลงไปทีีละเล็็กทีีละน้้อย ไม่่ทัันทีีทันั ใด นััยทางคณิิตศาสตร์์ คืือวิิวัฒั นาการเป็น็ การเปลี่ย่� นแปลงแบบต่่อเนื่่อ� ง (continuous) ไม่่ได้เ้ ป็น็ แบบไม่่ต่อ่ เนื่่อ� ง (discrete) หลัักการนี้�เป็็นพื้�นฐานทฤษฎีีวิิวััฒนาการของชาลส์์ ดาร์์วิิน ซึ่�งเชื่�อว่่า ทุุกสปีีชีีส์์มีีวิิวััฒนาการมาจาก สปีชี ีีส์์ก่อ่ นหน้้านั้�นอย่า่ งค่่อยเป็น็ ค่อ่ ยไป ทีีละเล็็กทีีละน้อ้ ย ไม่ไ่ ด้้เป็็นสปีชี ีีส์ท์ ี่�เ่ กิิดขึ้�นใหม่่อย่า่ งฉัับพลันั อย่า่ งไรก็ต็ าม ตามกระบวนทััศน์ใ์ นสาขาชีีววิทิ ยาวิิวัฒั นาการในปัจั จุบุ ันั ยอมรัับว่า่ การเปลี่ย่� นแปลง ด้า้ นชีีววิิทยามีีทั้้�งการเปลี่่ย� นแปลงอย่่างต่อ่ เนื่่�อง เช่่น การแปรผัันทางพัันธุุกรรม (genetic drift) และ การพลิิกผันั อย่า่ งฉัับพลััน เช่น่ การผ่่าเหล่่าหรือื มิวิ เทชััน (mutation) เนื่่อ� งจากโครงสร้้างพื้�นฐานของ พัันธุกุ รรมในดีีเอ็็นเอมีีลักั ษณะแบบไม่ต่ ่อ่ เนื่่�อง การเปลี่่ย� นแปลงของธรรมชาติจิ ึึงเป็็นแบบก้า้ วกระโดด ในระดัับชีีววิทิ ยา (biological level) แม้้ว่า่ ในปริิมาณที่�เ่ ล็็กมากก็ต็ าม แนวคิดิ วิวิ ัฒั นาการแบบค่อ่ ยเป็น็ ค่อ่ ยไป (phyletic gradualism) ซึ่ง� เป็น็ พื้�นฐานทฤษฎีีวิวิ ัฒั นาการ ของดาร์์วิินจึึงถููกแทนที่่�ในช่่วงหลัังโดยทฤษฎีีวิิวััฒนาการแบบดุุลยภาพเป็็นช่่วง ๆ (punctuated equilibrium) ซึ่�งเสนอว่่า วิิวััฒนาการประกอบด้้วยช่่วงเวลาระยะยาวที่�่ไม่่มีีการเปลี่�่ยนแปลงหรืือ เปลี่ย�่ นแปลงเพีียงเล็ก็ น้อ้ ย ตามด้ว้ ยช่ว่ งการเปลี่ย่� นแปลงอย่า่ งก้า้ วกระโดดในระยะเวลาสั้�น ๆ นักั บรรพ ชีีวิินวิิทยาชาวอเมริิกัันชื่อ� ไนลส์์ เอลเดร็็จ (Niles Eldredge) และสตีีเฟน เจ กููล (Stephen J Gould) ได้้ตีีพิิมพ์์บทความที่�่เสนอแนวคิิดนี้�ใน พ.ศ.2515 โดยเสนอว่่า การเปลี่�่ยนแปลงแบบค่่อยเป็็นค่่อยไป (gradualism) ที่�่เป็็นพื้�นฐานของทฤษฎีีวิิวัฒั นาการของดาร์ว์ ินิ ไม่พ่ บในหลัักฐานทางฟอสซิิล แมว้ า่ นกั วทิ ยาศาสตรย์ งั คงวจิ ยั และถกเถยี งกนั อยจู่ นถงึ ปจั จบุ นั วา่ รปู แบบววิ ฒั นาการของสปชี สี ์ ตา่ ง ๆ แท้จรงิ แล้วแตกตา่ งกันอย่างไร แตท่ ฤษฎหี ลักกย็ งั คงเป็นววิ ัฒนาการแบบคอ่ ยเป็นคอ่ ยไปและ แบบแบบดลุ ยภาพเปน็ ชว่ ง ๆ ทั้งน้ี ขอ้ เสนอหลกั ประการหนึง่ คือ รูปแบบววิ ฒั นาการของสปชี ีส์หนง่ึ อาจเปน็ แบบใดแบบหน่งึ หรืออาจมที ั้งสองแบบ โดยวิวัฒนาการในระยะยาวมกั เป็นแบบค่อยเปน็ ค่อย ไป และวิวฒั นาการในระยะสัน้ มักเปน็ แบบดุลยภาพเป็นชว่ ง ๆ39 ในวิวิ ัฒั นาการแบบค่อ่ ยเป็น็ ค่อ่ ยไป การคัดั เลือื กและการแปรผันั (variation) เกิดิ ขึ้�นทีีละเล็ก็ ทีีละ น้อ้ ย จึงึ ไม่ส่ ามารถสังั เกตเห็น็ ได้ใ้ นระยะเวลาสั้�น ๆ องค์ป์ ระกอบของสิ่ง� มีีชีีวิติ จะผันั แปรเพีียงเล็ก็ น้อ้ ยไป ตามสิ่ง� แวดล้อ้ มรอบข้า้ ง คนหรือื สิ่ง� มีีชีีวิติ ตัวั ไหนที่ม่� ีีคุณุ ลักั ษณะที่เ่� ป็น็ ประโยชน์ก์ ็จ็ ะอยู่�รอด ในขณะที่ค่� น อื่น� หรือื ตัวั อื่น� ที่ไ�่ ม่ม่ ีีคุณุ ลักั ษณะนั้�นหรือื มีีอยู่่�น้อ้ ยก็จ็ ะล้ม้ หายตายจากไป ทีีละเล็ก็ ทีีละน้อ้ ยในระยะยาว ประชากรของสปีีชีีส์น์ั้�นก็จ็ ะเปลี่�่ยนแปลงไป การเปลี่ย�่ นแปลงมัักเกิิดขี้�นอย่่างช้้า ๆ คงที่่� และสม่ำ�ำ�เสมอ

91 | อนาคตศึกษา ส�ำหรบั ววิ ฒั นาการแบบดลุ ยภาพเปน็ ชว่ ง ๆ นนั้ ในชว่ งเวลาระยะหนง่ึ ทเี่ ปน็ สภาพเสถยี ร (stasis) แทบไมเ่ กดิ การเปลย่ี นแปลงของสณั ฐาน (morphology) ของสิง่ มชี วี ติ นนั้ ตอ่ มาในชว่ งระยะเวลาสน้ั ๆ กลบั มกี ารเปลยี่ นแปลงครง้ั ใหญป่ ะทขุ นึ้ ซง่ึ ท�ำใหเ้ กดิ การผา่ เหลา่ ของยนี ของคนบางคนหรอื สตั วบ์ างตวั ที่ไม่ได้เป็นการสืบทอดทางดีเอ็นเอมาจากยุคก่อนหน้าน้ัน ผลลัพธ์ของการผ่าเหล่านี้จะสืบทอด ต่อไปยังรุ่นหลังต่อมาจนน�ำไปสู่วิวัฒนาการแบบแยกสาย (cladogenesis) (แผนภาพที่ 4) แม้ว่าคุณลักษณะใหม่จากการผ่าเหล่าบางอย่างอาจไม่เป็นผลดีต่อคนคนน้ันหรือสัตว์ตัวน้ัน แต่ บางอย่างอาจเป็นผลดีท่ีท�ำให้สามารถปรับตัวเข้ากับส่งิ แวดล้อมได้ เน่ืองจากคุณลักษณะใหม่น้ีมักมี ผลกระทบอย่างมากต่อการอยู่รอดของคนหรือสัตว์ในสปีชีส์นั้น การเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่แต่ละคร้ัง จะท�ำให้เกิดความแตกต่างอย่างมากในสัดส่วนของกลุ่มคนหรือสัตว์ที่มีคุณลักษณะดังกล่าวกับกลุ่มที่ ไมม่ ี และเกิดข้นึ ในระยะเวลาสนั้ ภายในชว่ งเวลาเพียงไม่กช่ี ว่ั อายุ หลังจากน้นั กจ็ ะเขา้ สู่ช่วงดลุ ยภาพ ทม่ี กี ารเปล่ยี นแปลงนอ้ ย วิวฒั นาการแบบดลุ ยภาพเป็นชว่ ง ๆ น้อี าจเกิดจากการผ่าเหลา่ ของยนี หรอื อาจเกิดจากปัจจัยอ่ืน เช่นการเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่และอย่างรวดเร็วของสิ่งแวดล้อมที่ท�ำให้เกิดการ เปล่ียนแปลงอยา่ งมากทง้ั ในระดับพฤตกิ รรมและองคป์ ระกอบร่างกายของสง่ิ มชี ีวติ นนั้ รแปูผแนบภบาพวิวทัฒี่ 4นาการ

อนาคตศกึ ษา | 92 นักสังคมศาสตร์ในช่วงต่อมาได้น�ำทฤษฎีวิวัฒนาการแบบดุลยภาพเป็นช่วง ๆ มาประยุกต์ใช้ อธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงของระบบสังคมที่ซับซ้อน โดยเสนอว่า ระบบสังคมโดยมากมักอยู่ ในสภาพหยุดนงิ่ (stasis) ในช่วงระยะเวลาหน่งึ แล้วจงึ เกดิ การเปล่ียนแปลงพลกิ ผันอยา่ งรวดเร็วใน ชว่ งระยะเวลาสนั้ งานวิจัยด้านสงั คมศาสตรท์ ่ีใชก้ รอบแนวคดิ น้ีมีท้งั งานศกึ ษาการเปล่ียนแปลงด้าน นโยบาย40 และวิวฒั นาการของความขัดแยง้ 41 นกั อนาคตศาสตรไ์ ด้น�ำแนวคดิ นม้ี าประยุกต์ใชใ้ นการคาดการณอ์ นาคตเชน่ กัน ปเี ตอร์ บชิ อบ (Peter Bishop) และแอนด้ี ไฮนส์ (Andy Hines) เรยี กชว่ งเวลาทีม่ ีการเปลยี่ นแปลงนอ้ ยหรือช่วง ดลุ ยภาพวา่ เปน็ “ยุคสมัย” (era) ตามท่นี กั ประวตั ศิ าสตร์มักใชก้ ันอยูท่ ว่ั ไป เช่น ยุคสงครามเย็น ยคุ เศรษฐกจิ ตกต�่ำครงั้ ใหญ่ (Great Depression) และยคุ การฟน้ื ฟศู ลิ ปวทิ ยา (Renaissance)42 ชว่ งเวลา ในยคุ เหลา่ นม้ี คี ณุ ลกั ษณะเฉพาะตวั ทแ่ี ตกตา่ งจากยคุ กอ่ นหนา้ นน้ั และมกั มเี หตกุ ารณท์ เ่ี ปน็ หมดุ หมาย ของการเปลี่ยนแปลงอย่างฉบั พลันทง้ั ก่อนหน้าและภายหลงั ยุคนั้น ช่วงเวลาระหว่างยุคสมัยเรียกว่า ช่วงเปล่ียนผ่าน (transitions) ซึ่งมีการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นอย่างฉับพลันและพลิกผัน โดยอาจเกิด จากการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ การพัฒนาและแพร่ขยายของเทคโนโลยีและนวัตกรรม การเติบโต ตกต�่ำหรือผันผวนทางเศรษฐกจิ ความขดั แยง้ ทางการเมอื งและการเปลยี่ นแปลงระบอบการปกครอง ไปจนถึงวิกฤตการณ์ด้านส่ิงแวดล้อม ภัยพิบัติและโรคระบาดคร้ังใหญ่ การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นใน ชว่ งเปลย่ี นผ่านทา้ ยท่สี ดุ จะน�ำไปสู่สภาวะใหม่ทแี่ ตกต่างจากเดมิ และเปน็ จดุ เร่มิ ตน้ ของยุคสมยั ใหม่ โจทยแ์ ละความท้าทายของการคาดการณ์จงึ อยู่ท่กี ารวเิ คราะหว์ า่ สภาพทีเ่ กดิ ข้ึนในปัจจบุ นั นัน้ อยู่ในชว่ งดลุ ยภาพของยคุ สมัยหนง่ึ หรือแท้จริงแล้วก�ำลงั อย่ใู นช่วงเปล่ียนผ่าน และชว่ งเวลาดงั กลา่ ว จะคงอยู่นานเทา่ ไหร่ เน่อื งจากตามนยิ ามแลว้ ชว่ งเปลี่ยนผ่านมกี ารเปล่ยี นแปลงมาก จึงมคี วามไม่ แน่นอนสูงและยากต่อการคาดการณ์ได้อย่างแม่นย�ำ อีกท้ังยังยากที่จะด�ำเนินการตามแผนได้อย่าง ทีต่ ้องการ แต่น่ันกค็ ือวตั ถุประสงคแ์ ละประโยชน์หลักของการคาดการณ์ กล่าวคอื ในช่วงทไี่ มม่ กี าร เปลย่ี นแปลงมาก วตั ถปุ ระสงคข์ องการคาดการณค์ อื เพอ่ื วเิ คราะหใ์ หเ้ หน็ ภาพอนาคตของสญั ญาณหรอื ปจั จยั ทอ่ี าจสรา้ งความเปลยี่ นแปลงพลกิ ผนั ในชว่ งเปลยี่ นผา่ นเมอ่ื ภาวะดลุ ยภาพเรม่ิ จบลง แตถ่ า้ หาก อยใู่ นชว่ งเปลย่ี นผา่ น วตั ถปุ ระสงคข์ องการคาดการณค์ อื เพอื่ วเิ คราะหภ์ าพอนาคตทางเลอื กของยคุ สมยั ใหม่ทีน่ า่ จะเกดิ ขน้ึ ได้หลังจากผ่านชว่ งเปล่ยี นผา่ นไปแลว้ ไมว่ า่ จะเปน็ ช่วงใดกต็ าม วตั ถปุ ระสงคห์ ลัก ของการคาดการณค์ ือเพ่ือเตรียมพรอ้ มรับมอื กับการเปลย่ี นแปลงที่จะเกิดข้ึนในอนาคต ทฤษฎจี ิตวิทยาพัฒนาการ อกี กลมุ่ หนงึ่ ของทฤษฎกี ารเปลย่ี นแปลงทม่ี ผี ลตอ่ กรอบแนวคดิ และวธิ กี ารดา้ นอนาคตศกึ ษาคอื ทฤษฎี จติ วทิ ยาพฒั นาการ (development psychology) ทฤษฎกี ลมุ่ นมี้ กั ใชเ้ ปน็ พน้ื ฐานของการท�ำนายวา่ สงั คมมนษุ ยจ์ ะมวี วิ ฒั นาการไปตามพลวตั ทเี่ กดิ ขน้ึ จากปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งศกั ยภาพของระบบประสาท มนุษยท์ ี่มมี าแต่ก�ำเนดิ กับปญั หาที่ตอ้ งประสบและแก้ไขในชว่ งชีวติ ของแตล่ ะคน ทฤษฎีหลักในกลุ่มแนวคิดนี้คือทฤษฎีเกลียวพลวัต (Spiral Dynamics theory) ซ่งึ พัฒนามา จากทฤษฎี Emergent Cyclical Levels of Existence Theory ที่เสนอโดยนักจิตวทิ ยาชาวอเมริกนั

93 | อนาคตศึกษา ช่อื แคลร์ เกรฟส์ (Clare Graves) ในชว่ งทศวรรษ 1950-60 สาระหลักของทฤษฎนี ีค้ ือมนษุ ยไ์ มไ่ ดม้ ี ววิ ฒั นาการมาเฉพาะในดา้ นกายภาพ แตร่ วมไปถงึ ดา้ นสงั คมและดา้ นจติ วทิ ยา ทง้ั นี้ จติ วทิ ยาของมนษุ ย์ มีวิวัฒนาการผ่านกระบวนการที่ทั้งแบบค่อย ๆ คล่ีคลายออกมา (unfolding) แบบปรากฏตัวขึ้นมา อยากปัจจบุ ันทนั ดว่ น (emergent) แบบเหวย่ี งกลับไปกลบั มา (oscillating) และแบบเคลอ่ื นทเี่ ปน็ เกลยี ว (spiraling) พรอ้ มกนั น้ี กม็ กี ารทดแทนระบบพฤตกิ รรมเดมิ ในระดบั ศกั ยต์ �่ำกวา่ (lower order) ด้วยระบบพฤตกิ รรมใหมท่ ่มี ีล�ำดบั ศักย์สูงกว่า (higher order) เม่ือปญั หาการคงอยู่ของมนุษยชาติได้ เปล่ียนไป43 ข้อสังเกตหนึ่งของทฤษฎีน้ีคือ เม่ือปัญหาหรือปรากฏการณ์ในโลกมีความซับซ้อนมากขึ้น ไปจนถึงขั้นหน่งึ ความสามารถของสมองมนษุ ยใ์ นการรับร้จู ะเรม่ิ ประสบขีดจ�ำกัด ดังน้ัน สมองมนษุ ย์ จงึ ตอ้ งพฒั นาแบบจ�ำลองทม่ี คี วามซบั ซ้อนมากยิ่งขึ้น เพ่อื ท�ำความเขา้ ใจกับปญั หาใหม่ ๆ ทีเ่ กิดข้นึ 44 ตามแนวคิดิ “เกลีียวสองชั้�น” (Double Helix) ของเกรฟส์์ วิวิ ัฒั นาการเกิดิ จากปฏิสิ ัมั พันั ธ์ร์ ะหว่า่ ง โลกภายนอกกับั การตอบสนองของมนุษุ ย์์ ซึ่ง� เกิดิ ขึ้�นได้ท้ั้�งในระดับั ปัจั เจกบุคุ คล ระดับั สังั คม และระดับั มนุษุ ยชาติิ เกลีียวชั้�นแรกอธิบิ ายเงื่อ� นไขของชีีวิติ หรือื สิ่ง� ที่เ�่ กิดิ ขึ้�นจริงิ ในโลกภายนอก ทั้�งสภาพกายภาพ การเปลี่�่ยนแปลงด้้านสิ่�งแวดล้้อม ระบบเศรษฐกิิจ สัังคม เทคโนโลยีีและการเมืือง ส่่วนเกลีียวที่�่สอง อธิิบายสมรรถภาพของจิิตใจและระบบประสาทและการรัับรู้�ของแต่่ละคนหรืือกลุ่�มคน ในการตอบรัับ และตอบสนองกัับสิ่�งต่่าง ๆ ที่�่เกิิดขึ้�นในโลกภายนอก มนุุษย์์จะปรัับตััวเข้้ากัับโลกที่�่มีีความซัับซ้้อน มากยิ่�งขึ้�น ด้้วยการปรับั กระบวนทััศน์แ์ ละคุุณค่่าของแต่่ละคนตามสภาพแวดล้อ้ มที่่เ� ปลี่ย�่ นแปลงไป อกี ทฤษฎหี นง่ึ ในดา้ นจติ วทิ ยาทน่ี กั อนาคตศกึ ษาไดป้ ระยกุ ตใ์ ชใ้ นการคาดการณก์ ารเปลย่ี นแปลง ทางสงั คมคือแนวคดิ จติ ส�ำนึก 5 ข้นั ของรอเบริ ต์ คกี ัน (Robert Kegan) ซ่ึงประกอบด้วย 1. Impulsive mind เป็นจิตส�ำนึกตามสัญชาตญาณและการรับรู้ท่ียังไม่ได้แบ่งแยก ระหว่างความจริงกับจินตนาการ การรบั รรู้ อบตัวเป็นไปตามแรงกระตุ้นหรอื สง่ิ ดลใจ รอบตวั 2. Imperial mind เป็นจิตส�ำนึกท่ีเน้นความต้องการ ความสนใจและประโยชน์ของ ตนเอง มีการแบง่ แยกส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั ออกเปน็ กลุ่มกอ้ นและเป็นประเภทตา่ ง ๆ ท่ี แตกตา่ งกนั อย่างชัดเจนไดม้ ากข้นึ 3. Socialized mind เป็นจิตส�ำนึกท่ีเริ่มเห็นความสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน (mutuality) และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (interpersonalism) มีความคิดเห็นเป็นของตนเอง และความส�ำนึกรู้ตนเอง (self consciousness) ปจั จัยส�ำคญั ที่สดุ ส�ำหรับจิตส�ำนึกใน ระดับนค้ี อื แนวคิด ความเชื่อ และธรรมเนยี มปฏิบัติเก่ยี วกบั ผ้คู นและระบบรอบตัวเรา เช่น ครอบครัว สงั คม อดุ มคติ และวฒั นธรรม 4. Self-Authoring mind เปน็ จติ ส�ำนึกที่เขา้ ใจตนเอง และตระหนกั ว่าความคิด ความ รู้สึกและความเช่ือของตนเองไม่ได้ข้ึนอยู่กับมาตรฐานหรือความคาดหวังของคนอื่น หรือกลุ่มคนอืน่ ในสังคม อีกทงั้ ยงั สามารถแยกความคิดของตนเองออกจากของผู้อ่นื ได้ โดยพฒั นาความตระหนกั เกย่ี วกบั ตวั เอง ทงั้ ในเชงิ ความคดิ และวถิ ขี องการกระท�ำ รวม

อนาคตศกึ ษา | 94 ถึงการพัฒนาขีดความสามารถในการตัดสินใจและด�ำเนินการด้วยตนเอง จิตส�ำนึกใน ระดับนี้สามารถก�ำหนดขีดจ�ำกัดและขอบเขตของปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก รวมถึง การร่วมมือกบั ผู้อื่น 5. Self-Transforming mind เป็นระดบั จิตส�ำนกึ ทก่ี ารรับรู้เกีย่ วกับตนเองไม่ได้ผกู ติด กบั บทบาทหรอื อตั ลกั ษณห์ นึง่ ใด แตส่ รา้ งสรรคแ์ ละเปลย่ี นไปเรือ่ ยดว้ ยการส�ำรวจและ ไตร่ตรองตนเองอยู่เสมอ และปรบั บทบาทและความเป็นตวั ของตัวเองตามปฏสิ ัมพนั ธ์ ที่มีกับผู้อนื่ คกี นั เชอ่ื วา่ มนษุ ยไ์ ดพ้ ฒั นาจติ ส�ำนกึ ระดบั สงู ขน้ึ มาในชว่ งตน้ ครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20 ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ อดตี ทไ่ี มน่ านมานใี้ นประวตั ศิ าสตรข์ องมนษุ ยชาติ เนอื่ งจากมนษุ ยม์ อี ายยุ นื มากขนึ้ และมเี วลาในการพฒั นา ระบบประสาทและความคดิ มากขนึ้ 101 พรอ้ มกนั นี้ คกี นั ยงั เสนอวา่ พฒั นาการของจติ ส�ำนกึ เปน็ การสลบั ไปสลบั มาระหวา่ งความคดิ วา่ ดว้ ยตวั เอง หรอื ฉนั (me) กบั ความคดิ เกย่ี วกบั ตวั เองกบั ผอู้ นื่ หรอื เรา (we) และหลกั การของการก้าวข้าม (transcend) กับรวมเข้า (include) จงึ เกิดข้ึนในจติ ส�ำนึกข้ันสงู ข้ึนไป นอกจากแนวคิิดเกลีียวพลวััตของเกรฟส์์และคีีกัันแล้้ว ยัังมีีทฤษฎีีด้้านจิิตวิิทยาอีีกหลายสำำ�นััก ที่่�นัักอนาคตศาสตร์์สามารถนำำ�มาใช้้เป็็นกรอบในการวิิเคราะห์์การเปลี่�่ยนแปลงในระบบต่่าง ๆ เพื่่�อ คาดการณ์์ภาพอนาคต เป็็นที่่�ยอมรัับอย่่างแพร่่หลายในหมู่่�นัักจิิตวิิทยาพััฒนาการว่่า จิิตสำำ�นึึก (conciousness) ที่ซ่� ับั ซ้้อนและสามารถจัดั การกัับปัญั หาในโลกที่่ซ� ับั ซ้้อนมากยิ่ง� ขึ้�น มักั เกิดิ ขึ้�นในคน หรือื กลุ่�มคนที่อ�่ ยู่�ในสิ่ง� แวดล้้อมที่่ส� นับั สนุนุ และท้า้ ทายให้้เกิิดการเปลี่�่ยนแปลงอยู่�เสมอ45 หากทฤษฎีีดังั กล่่าวเป็น็ จริงิ ตามที่�่นักั จิติ วิิทยากลุ่�มนี้�เสนอมา ข้อ้ เสนอนี้้�มีีนััยสำำ�คัญั มากสำ�ำ หรัับการคงอยู่�ของโลกใบนี้� เนื่่อ� งจากหนึ่่ง� ในแนวโน้ม้ สำ�ำ คัญั ของโลกคือื กระบวนการเป็น็ เมือื งที่ป่� ระชากรโลกจำำ�นวนกว่า่ ครึ่ง� ใช้ช้ ีีวิติ อยู่�ในพื้�นที่่�เมืือง ซึ่�งมีีความซัับซ้้อนกว่่าพื้�นที่�่ชนบททั้�งในด้้านระบบเศรษฐกิิจสัังคมและการปฏิิสััมพัันธ์์ ระหว่่างผู้�คน และในด้้านปััญหาระบบนิิเวศและสิ่ง� แวดล้อ้ ม นกั อนาคตศาสตรไ์ ดป้ ระยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ วฒิ นาการเชงิ จติ วทิ ยาในกระบวนการคาดการณแ์ ละสรา้ ง ภาพอนาคตกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในองค์กร โดยเฉพาะในการคาดการณ์ท่ีมุ่งสู่การแก้ไขปัญหาท่ีซับ ซ้อนมากกว่าเดิม ข้อตกลงเบื้องต้นของแนวคิดนี้คือการยอมรับว่า ในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนมาก ขึ้น ปัจเจกหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องต้องก้าวพ้นความจ�ำเป็นและความต้องการเฉพาะของตนเอง แล้ว เปิดกว้างให้ผู้อื่นและองค์กรอ่ืนเข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ แก้ไขและด�ำเนินการเพื่อจัดการกับ ปญั หาทซี่ ับซอ้ นขึ้นนนั้ ตัวอย่างหนงึ่ คอื ในการคาดการณเ์ ชงิ ยุทธศาสตรข์ องบริษทั การตลาดแหง่ หนึ่ง นกั วเิ คราะห์ไดใ้ ช้ กรอบแนวคิดระดับจิตส�ำนึกในการประเมินปัจจัยต่าง ๆ และพบว่า บริษัทในยุโรปที่ให้ความส�ำคัญ กับความรับผิดชอบต่อสังคม (corporate social responsibility) สามารถเสนอคุณค่า (value propositions) ที่สงู กว่าบรษิ ทั อเมรกิ นั ท่ีเน้นการแข่งขันเปน็ หลัก และน�ำคุณค่าทางสังคมนน้ั มาสรา้ ง ผลิตภณั ฑ์และการบรกิ ารใหมใ่ ห้กบั ลกู คา้ อกี ตัวอย่างหนึง่ ทใ่ี ช้แนวคดิ วิวฒั นาการด้านจติ วทิ ยาในการ คาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ คอื โครงการคาดการณอ์ นาคตของหลกั สตู รดา้ นเภสชั ศาสตรข์ องมหาวทิ ยาลยั

95 | อนาคตศกึ ษา แห่งหน่ึงในสหรัฐอเมริกา ผลลัพธ์ที่ได้คือยุทธศาสตร์ในการสอนจริยธรรม การเพ่ิมขีดความสามารถ ดา้ นวฒั นธรรมและภาษา การท�ำงานเปน็ ทมี ภายในและระหวา่ งกลุ่มวิชาชพี และการรบั ใชส้ ังคม โดย เฉพาะกลมุ่ ผ้ดู อ้ ยโอกาส46 ทฤษฎบี ูรณาการ นัักวิิชาการด้้านอนาคตศาสตร์์ในยุุคหลัังเริ่ �มให้้ความสนใจกัับทฤษฎีีบููรณาการที่�่พยายามผสมผสาน องค์์ความรู้�เกี่�่ยวกัับการพััฒนาทางด้้านจิิตวิิญญาณ (spiritual development) กัับองค์์ความรู้� ด้า้ นการพัฒั นาปัญั ญาและการพัฒั นาด้า้ นจิติ วิทิ ยา หนึ่่ง� ในทฤษฎีีในกลุ่�มนี้้�คือื ทฤษฎีี บูรู ณาการของเคน วิลิ เบอร์์ (Ken Wilber) ซึ่ง� เสนอว่่า ความรู้�และประสบการณ์ข์ องมนุษุ ย์์สามารถแบ่ง่ ออกเป็็น 4 เสี้�ยว หรือื จตุุภาค (quadrant) ที่่�แบ่ง่ ด้้วยแกน 2 แกนคือื แกนข้้างใน-ข้้างนอก (internal-external) และ แกนปััจเจก-กลุ่�ม (individual-collective)47 กตาารรแางบท่งี่ก2ลุ่มความรู้และประสบการณต์ ามทฤษฎบี รู ณาการของเคน วลิ เบอร์ ที่มา: Wilber (2000) นอกจากแนวคดิ จตภุ าคของความรแู้ ละประสบการณแ์ ลว้ ตามแนวคิด AQAL (All Quadrant, All Level) วลิ เบอรเ์ สนอองค์ประกอบเพม่ิ เติมของการบูรณาการ ได้แก่ 1. Levels คอื ระดับการพัฒนาของจิตส�ำนกึ ตั้งแตร่ ะดับ pre-personal, personal และ transpersonal 2. Lines คอื เสน้ ทางของการพัฒนาตามขอบเขต (domain) ของการพฒั นาด้านต่าง ๆ โดยในแต่ละเส้นทางก็จะมีระดับการพัฒนาหลายข้ันตอนที่อาจไม่เท่าและเสมอกัน ตวั อยา่ ง ไดแ้ ก่ ดา้ นการรบั รู้ (cognitive) ดา้ นจรยิ ธรรม (ethical) ดา้ นความสนุ ทรยี ภาพ (aesthetic) ด้านพน้ื ที่ (spatial) ด้านตรรกะและคณติ ศาสตร์ (logical-mathematic) เปน็ ตน้

อนาคตศกึ ษา | 96 3. States คือสภาวะของจิตส�ำนึกระดบั ต่างๆ เช่น การเดนิ การหลบั การฝัน การกระ ตนุ้ ประสาท ฯลฯ 4. Types คือสภาพอื่นๆ ที่อธิบายปรากฏการณ์ท่ีไมส่ ามารถแบง่ เขา้ กล่มุ อื่น ๆ ได้ เช่น ความเปน็ ผ้ชู าย/ผูห้ ญงิ บคุ ลกิ ลักษณะ ฯลฯ ตามแนวคดิ ของวลิ เบอร์ ความรทู้ บ่ี รู ณาการอยา่ งแทจ้ รงิ คอื ความรแู้ ละประสบการณท์ เ่ี ปน็ ไปตาม เกณฑ์ทง้ั 5 ด้าน คอื quadrants, lines, levels, states และ types นกั อนาคตศาสตรเ์ รม่ิ พยายามทดลองใชก้ รอบแนวคดิ แบบบรู ณการนใี้ นการมองภาพอนาคต โดย เฉพาะในงานที่พยายามบูรณาการมิติการพัฒนาของมนุษย์ที่ไม่แยกออกจากธรรมชาติ กล่าวคือ การ มองโลกแบบองค์รวม (holon) ขององค์ประกอบทุก ๆ ด้านเข้าด้วยกัน แนวคดิ ช้ันขององคร์ วม หรือ holarchy มคี วามคลา้ ยกบั ตกุ๊ ตาแมล่ กู ดก (Matryoshka) ของรสั เซยี ซงึ่ มคี วามเปน็ องคร์ วมอยซู่ อ้ นกนั นยั หนงึ่ คอื ความเปน็ องคร์ วมสามารถเกดิ ขนึ้ ไดใ้ นสภาพแวดลอ้ มทมี่ คี วามซบั ซอ้ น แนวคดิ ชนั้ ขององคร์ วมไดร้ บั การประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ กรอบแนวคดิ ในโครงการคาดการณอ์ นาคตหลาย งานของ Institute for Alternative Futures ตัวอย่างเช่น ในงานคาดการณข์ ีดความสามารถของการ วิจัยดา้ นชีวการแพทย์ในการยกระดับสุขภาพของมนษุ ยใ์ นหลายทศวรรษตอ่ มา48 ผลจากกระบวนการ คาดการณอ์ ยา่ งมสี ว่ นรว่ มกบั นกั วทิ ยาศาสตร์ แสดงภาพอนาคตทค่ี วามสามารถเพม่ิ ขนึ้ จากการพฒั นา ดา้ นความรแู้ ละเทคโนโลยี ระบบการป้องกนั ความเสี่ยงเฉพาะบคุ คล และความเขา้ ใจใหม่เกยี่ วกบั โรค ภยั ไข้เจ็บที่ผสมผสานความร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ บบตะวนั ตกกบั โลกทศั นข์ องตะวนั ออก แตป่ ระเดน็ ทา้ ทาย ทส่ี ดุ ในงานคาดการณด์ งั กลา่ ว คอื การวเิ คราะหภ์ าพอนาคตของระดบั การพฒั นาดา้ นจรยิ ธรรมในโลกท่ี เปน็ กรอบชน้ี �ำการพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตรใ์ นยคุ ตอ่ ๆ มา ในการน้ี นกั อนาคตศาสตรช์ อ่ื โจนาธาน เพก็ (Jonathan Peck) ไดป้ ระยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎบี รู ณาการของเคน วลิ เบอร์ โดยขยายความของแนวคดิ ชนั้ องค์ รวม (holarchy) ทคี่ รอบคลมุ ธรรมชาตขิ องมนษุ ยเ์ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของธรรมชาตโิ ดยรวม และระบบการวจิ ยั และพฒั นาดา้ นชวี การแพทยอ์ ยภู่ ายในระบบสขุ ภาพ ซึง่ อยภู่ ายใตร้ ะบบเศรษฐกจิ การเมอื งทอี่ ยภู่ ายใน ระบบจรยิ ธรรมอีกขนั้ หนึ่ง ในภาพอนาคตของการพฒั นาดา้ นชีวการแพทยใ์ น ค.ศ. 2029 ปัจจัยดา้ น จริยธรรมด้านชีวการแพทย์ จึงกลายเป็นเง่อื นไขส�ำคัญที่จะท�ำให้การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์สามารถ สรา้ งประโยชน์สงู สดุ ให้กบั มนษุ ยชาตไิ ด้

97 | อนาคตศกึ ษา ประเภทของงาน อนาคตศึกษา งานด้านอนาคตศึกษามีอยู่หลากหลาย และแบ่งออกได้หลายรูปแบบตามเกณฑ์ต่าง ๆ โดยคร่าวดังน้ี การคาดการณเ์ ชิงปฏฐิ านและเชิงปทัสถาน งานอนาคตศกึ ษาสามารถแบง่ ออกเป็นสองกลุม่ คอื การคาดการณเ์ ชงิ ปฏิฐาน (positive forecast/ foresight) และการคาดการณเ์ ชงิ ปทสั ถาน (normative forescast/foresight) ส�ำหรบั การคาดการณ์ เชิงส�ำรวจ (exploratory forecasting) ทต่ี งั้ ค�ำถามวา่ อนาคตท่ีเชื่อว่าเกดิ ข้นึ มีอะไรบา้ ง เป็นค�ำถาม แนวปฏฐิ าน การศกึ ษาในแนวทางนเ้ี รม่ิ จากการวเิ คราะหภ์ าพอดตี และปจั จบุ นั แลว้ จงึ วางโครงรา่ งและ เน้ือหาเกี่ยวกับภาพอนาคต ส่วนการคาดการณ์เชิงปทัสถานหรือบรรทัดฐานจะต้ังค�ำถามว่า อนาคต ที่ปรารถนาเป็นอย่างไร การวิเคราะห์ในแนวทางน้ีเริ่มจากการวาดภาพอนาคตที่พึงประสงค์ แล้วจึง ย้อนกลับมาเตรียมแนวทางและกิจกรรมในปัจจุบันที่คาดว่าจะน�ำไปสู่อนาคตที่ต้องการ ดังนั้น การ คาดการณ์เชิงส�ำรวจมักมุ่งไปท่ีอนาคตที่ดูเหมือนน่าจะเกิดขึ้นและอนาคตที่เช่ือว่าเกิดขึ้นได้จริง ส่วน การคาดการณเ์ ชงิ ปทสั ถานจะเนน้ อนาคตพึงประสงค4์ 9 อย่างไรกต็ าม การแบ่งกล่มุ แบบนีอ้ าจใช้ไม่ไดก้ บั การแบ่งกลุ่มวธิ ีการวเิ คราะหด์ ้านอนาคตศกึ ษา เสมอไป วิธีการวิเคราะห์บางอย่างสามารถใช้ได้กับการคาดการณ์ท้ังสองแบบ และบางวิธีการผสม ผสานท้ังแนวทางแบบปฏิฐานและปทัสถานเข้าด้วยกัน ตัวอย่างเช่น การคาดการณ์เชิงศึกษาส�ำนึก หรือฮิวริสติก (heuristic forecasting) เน้นการคาดคะเนว่า แนวทางไหนหรือทางเลือกไหนน่าจะดี ที่สุดและมีประสิทธิภาพที่สุด แล้วด�ำเนินการไปแบบลองผิดลองถูก แต่อยู่ภายใต้กรอบที่ควบคุมได้ ระดับหน่งึ แนวทางแบบฮิวริสติกค�ำนึงถงึ ทั้งปัจจยั หรอื ตัวแปรหลักในระบบที่วิเคราะห์ และความรสู้ กึ และปฏสิ มั พนั ธข์ องผคู้ นในระบบนน้ั วธิ กี ารดา้ นอนาคตศกึ ษาหลายวธิ ใี นปจั จบุ นั มคี วามยดื หยนุ่ มาก พอทสี่ ามารถประยกุ ตใ์ ชก้ บั สถานการณ์ เงือ่ นไขและวตั ถปุ ระสงคต์ า่ ง ๆ ได้ และตอบโจทยไ์ ดท้ ง้ั ในเชงิ ปฏฐิ านและปทัสถาน แนวทางการศกึ ษาอนาคตยงั สามารถแบง่ ตามการมสี ว่ นรว่ มของกลมุ่ เปา้ หมาย แนวทางหนง่ึ เนน้ การศึกษาโดยนักอนาคตศาสตร์ด้วยตนเองอย่างอิสระ โดยไม่ต้องร่วมท�ำงานกับกลุ่มเป้าหมายหรือผู้ วา่ จ้าง ในกรณีนี้ ผศู้ ึกษาด�ำเนินการตามวัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายท่ีก�ำหนดโดยกลุ่มเปา้ หมาย แลว้ ส่งผลการศึกษาเม่ือแล้วเสร็จ ในทางกลับกัน วิธีการศึกษาอนาคตบางวิธีเน้นการท�ำงานร่วมกับกลุ่ม

อนาคตศกึ ษา | 98 เป้าหมาย ซึ่งอาจเป็นบริษัท องค์กร ชุมชน รัฐบาล หรอื ผูว้ ่าจา้ ง การศกึ ษาอนาคตแบบนีเ้ ชอื่ ว่า การมี ส่วนร่วมของกลุ่มเปา้ หมายเปน็ หัวใจหลักของการท�ำความเข้าใจในผลลพั ธ์ของการศึกษา และการน�ำ ผลลัพธ์นั้นไปด�ำเนนิ การตอ่ การท�ำนาย การพยากรณ์ และการคาดการณ์ งานศึกษาอนาคตอาจแบ่งออกเปน็ การท�ำนาย (prediction) การพยากรณ์ (forecast) และการคาด การณ์ (foresight) กิจกรรมทงั้ สามแบบอาจฟังดูไมแ่ ตกต่างกัน และดูเหมอื นการแบ่งแยกประเภทดงั กลา่ วเปน็ เพยี งการเลน่ ค�ำของนกั วชิ าการ หรอื เปน็ เพยี งประเดน็ ในเชงิ อรรถศาสตร์ (semantic) ทไี่ มไ่ ด้ มนี ยั ส�ำคัญในการด�ำเนนิ งานจริง ทง้ั น้ี ค�ำศัพท์หลายค�ำมคี วามหมายคลา้ ยคลึงกันมาก จนคนทัว่ ไปไม่ จ�ำเป็นต้องใชแ้ ยกแยะกนั ในภาษาพูดและการใชง้ าน อยา่ งไรก็ตาม ส�ำหรับนักทฤษฎีและนกั วิชาการ ค�ำศพั ทแ์ ตล่ ะค�ำสอื่ ถงึ ความหมายทแี่ ตกตา่ งกนั ในศาสตรด์ า้ นอนาคตศกึ ษา มคี �ำศพั ทเ์ ชงิ เทคนคิ หลาย ค�ำทแ่ี สดงถงึ แนวคดิ หรอื สงั กปั (concept) ทแ่ี ตกตา่ งกนั อยา่ งชดั เจน โดยเฉพาะในภาษาองั กฤษทเี่ ปน็ ภาษาหลักของวงการวชิ าการดา้ นอนาคตศึกษา ในอนาคตศึกึ ษา การทำำ�นายสื่อ� ถึงึ ความเชื่อ� ของผู้้�ทำ�ำ นายว่า่ สิ่ง� ที่ท�่ ำ�ำ นายไว้จ้ ะเกิดิ ขึ้�นจริงิ ในอนาคต เช่น่ รายงานของบริษิ ัทั Ericsson ทำ�ำ นายว่า่ ภายใน ค.ศ.2020 จ ะมีีคนใช้โ้ ทรศัพั ท์ม์ ือื ถือื มากกว่า่ คนใช้้ โทรศัพั ท์บ์ ้้าน50 หรืือใน ค.ศ.2020 ราคาไฟฟ้้าจากพลังั งานแสงอาทิติ ย์์จะถููกกว่่าจากไฟฟ้้าจากแหล่ง่ อื่�นอย่่างน้้อยในพื้�นที่�่ครึ่�งหนึ่่�งของประเทศสหรััฐอเมริิกา51 ในทางกลัับกััน การพยากรณ์์สื่�อถึึงความ เป็น็ ไปได้ข้ องการเกิดิ เหตุกุ ารณ์ห์ นึ่่ง� แต่ไ่ ม่ไ่ ด้ห้ มายถึงึ ว่า่ ผู้�พยากรณ์เ์ ชื่อ� ว่า่ จะเกิดิ ขึ้�นเช่น่ นั้�น เช่น่ ในการ พยากรณ์์อากาศ กรมอุุตุุนิิยมวิิทยาระบุุว่่า โอกาสฝนตกอยู่่�ที่�่ร้้อยละ 70 ภายในช่่วงเวลา 24 ชั่�วโมง เป็็นต้้น ส่ว่ นคำำ�ว่่า การคาดการณ์์นั้�น ขยายความของการทำำ�นายและการพยากรณ์์ให้้กว้า้ งขึ้�น โดยใน ช่่วงหลััง เริ่ม� เน้น้ กระบวนการศึกึ ษาอนาคตที่่�เปิิดกว้้างมากขึ้�น ทั้�งในด้้านอนาคตทางเลืือก และในด้้าน กระบวนการ มีีส่่วนร่่วมของผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียในการวิิเคราะห์์และสร้้างภาพอนาคต ตามท่ีกล่าวมาก่อนหน้าน้ี การศึกษาอนาคตเพื่อช่วยในการตัดสินใจจะเป็นประโยชน์หรือไม่น้ัน ขน้ึ อยกู่ บั วา่ กระบวนการและผลลพั ธจ์ ากการวเิ คราะหส์ ามารถชว่ ยผบู้ รหิ ารสามารถตดั สนิ ใจและสรา้ ง นโยบายได้หรือไม่ มากกว่าความแม่นย�ำของผลลัพธ์จากการคาดการณ์นั้น ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ การคาดการณแ์ ละพยากรณห์ ลายประเดน็ ในรายงาน Limits to Growth ไมแ่ มน่ ย�ำและไมถ่ กู ตอ้ ง แต่ งานศึกษาดงั กลา่ วท�ำให้เกิดการถกเถียงและกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การศึกษาวจิ ยั ตอ่ จนน�ำไปสู่ความตระหนกั และนโยบายการวางแผนดา้ นสิ่งแวดล้อมที่ดีมากขึ้นกว่าเดมิ นักวางแผนกับนักอนาคตศาสตร์ การวางแผนเปน็ การเตรยี มพรอ้ มส�ำหรบั อนาคต การมองไปยงั อนาคตจงึ เปน็ องคป์ ระกอบและกจิ กรรม ส�ำคัญที่นักวางแผนด�ำเนินการอยู่เป็นประจ�ำ อย่างไรก็ตาม นักวางแผนมีบทบาทที่แตกต่างจากนัก อนาคตศาสตร์ในหลายด้าน อาทิ นักวางแผนโดยทั่วไปมุ่งเน้นพิจารณาปรากฏการณ์เฉพาะเรื่อง หรือประเด็นหัวข้อใดหัวข้อหน่ึง สาขาใดสาขาหน่ึง เช่น การวางแผนพัฒนาเมือง การวางแผนด้าน สาธารณสขุ การวางแผนดา้ นการศกึ ษา ฯลฯ ในขณะทนี่ กั อนาคตศาสตรม์ งุ่ วเิ คราะหก์ ารเปลยี่ นแปลง

99 | อนาคตศกึ ษา ในหลายดา้ นดว้ ยกรอบความคดิ จากหลายสาขาไปพรอ้ มกนั นอกจากน้ี นกั อนาคตศึกษามกั มองภาพ ระยะยาวตงั้ แต่ 20 ปีข้นึ ไป ในขณะท่นี กั วางแผนมกั ตงั้ ชว่ งเวลาในการวิเคราะห์ไวท้ ี่ประมาณ 3-5 ปี อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างน้อี าจมนี ้อยลงในปัจจุบัน เม่ือนักวางแผนให้ความส�ำคัญกบั การมองภาพ อนาคตระยะยาวมากขึ้น และใช้กระบวนการและวิธีการด้านอนาคตศาสตร์มากขึ้นในกระบวนการ วเิ คราะห์และการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ขององค์กรหรือการวางแผนนโยบายสาธารณะ ผลการศึกษาวิเคราะห์ภาพระยะยาวโดยนักอนาคตศาสตร์สามารถน�ำมาใช้เป็นกรอบคิดของนัก วางแผนได้ โดยเฉพาะการวางแผนเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนในระยะยาวและโอกาสการ พัฒนาในระยะยาว นักอนาคตศาสตร์สามารถช่วยสร้างทางเลือกของอนาคต เพื่อให้ผู้บริหารหรือ ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสามารถเลือกทิศทางในการพัฒนา ในขณะที่นักวางแผนสามารถน�ำทางเลือกน้ัน มาสรา้ งเปน็ แผนการพฒั นาในการบรรลเุ ปา้ หมายในอนาคต แนน่ อนวา่ ในสถานการณจ์ รงิ กจิ กรรมและ บทบาทของนักอนาคตศึกษากับนักวางแผน รวมถึงผู้มีอ�ำนาจในการตัดสินใจอาจไม่ได้แยกกันชัดเจน และมกี ารท�ำงานรว่ มกนั ระหวา่ งคนกลมุ่ ตา่ ง ๆ เหลา่ นต้ี ลอดกระบวนการศกึ ษาและวางแผนเพอื่ อนาคต อนาคตศึกษา อนาคตศาสตร์ หรืออนาคตวทิ ยา ประเดน็ หนงึ่ ทย่ี งั ไมม่ ขี อ้ ตกลงอยา่ งลงตวั อยา่ งนอ้ ยในวงการศกึ ษาและคาดการณอ์ นาคตในประเทศไทย คือ ค�ำเรียกของสาขาวิชาหรือศาสตร์ของการศึกษาอนาคตว่าเป็น “อนาคตศึกษา” หรือ “อนาคต ศาสตร”์ ซึ่งแปลโดยตรงจากค�ำวา่ futures studies หรือค�ำว่า “อนาคตวิทยา” ซ่งึ แปลมาจากค�ำว่า futurology รวมไปจนถงึ ศาสตรก์ ารคาดการณ์ ซึง่ แปลจากค�ำวา่ anticipation science/studies ค�ำ เรยี กชอื่ ศาสตรห์ รอื สาขาทย่ี งั ไมล่ งตวั เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ศาสตรพ์ น้ื ฐานอนื่ นยั หนง่ึ กส็ ะทอ้ นพลวตั ใน ปัจจบุ ันของสาขาวิชาการนี้ ศาสตรพ์ นื้ ฐานทเี่ รารจู้ กั กนั อยทู่ วั่ ไปมกั มวี วิ ฒั นาการจนเปน็ องคค์ วามรทู้ อี่ าจแยกกนั อยา่ งชดั เจน จนมชี อื่ เรียกเฉพาะท่ชี ัดเจน ดงั ในกรณขี องศาสตรท์ ี่ลงท้ายด้วย –ics เชน่ คณิตศาสตร์ (Mathemat- ics) เศรษฐศาสตร์ (Economics) และสถิติศาสตร์ (Statistics) รากศัพท์ของค�ำเสริมท้าย (suffix) นี้สามารถย้อนกลับไปถึงค�ำในภาษากรีกโบราณคือ φύσις (phúsis) ซึ่งแปลว่า ธรรมชาติ ดังนั้น ศาสตร์ที่ลงท้ายด้วย “-ics” จงึ มกั หมายถึงองคค์ วามรู้ท่เี ก่ยี วกบั ธรรมชาติ ส่วนค�ำวา่ “-logy” นนั้ มา จากค�ำในภาษากรกี โบราณ λογία (logía) ซงึ่ แปลว่า แขนงของการศกึ ษา (branch of study) ส่วน ค�ำวา่ studies ในสาขาหรือแขนงสาขาวิชาใหม่ เช่น นครศึกษา (urban studies) วัฒนธรรมศึกษา (cultural studies) สตรีศกึ ษา (women’s studies) ภูมภิ าคศกึ ษา (reginal studies) สอ่ื ถงึ การศึกษา ทข่ี า้ มศาสตรแ์ ละสาขาทมี่ มี าแตเ่ ดมิ และมคี วามเปน็ พหศุ าสตร์ สหศาสตร์ หรอื ขา้ มศาสตร์ หากเปน็ ไป ตามนนั้ การศกึ ษาอนาคตในปจั จบุ นั อาจยงั คงเรยี กวา่ อนาคตศกึ ษา มากกวา่ อนาคตศาสตรห์ รอื อนาคต วทิ ยา แตท่ ง้ั นท้ี งั้ นน้ั ขน้ึ อยกู่ บั วา่ ผเู้ ชยี่ วชาญและผเู้ กย่ี วขอ้ งในวงการวชิ าการดา้ นนจี้ ะตกลงกนั อยา่ งไร จงึ เป็นประเดน็ ทยี่ งั คงต้องอภปิ รายกันต่อไป

อนาคตศกึ ษา | 100 ขอ้ จ�ำ กดั เชิงทฤษฎขี อง อนาคตศกึ ษา สาขาวชิ าการหนง่ึ ใดยอ่ มตอ้ งมที ฤษฎรี องรบั หรอื อยา่ งนอ้ ยกต็ อ้ งมกี ารถกเถยี งกนั ในเชงิ ทฤษฎรี ะหวา่ ง นักวชิ าการในวงการน้นั ทฤษฎีในทน่ี ห้ี มายถงึ โครงสรา้ งความคดิ อย่างเปน็ ระบบท่ีมนุษย์จินตนาการ ข้ึนมา โดยครอบคลุมขอบเขตที่กว้างและมีกฎเชิงประจักษ์หรือประสบการณ์ท่ีมีความสม�่ำเสมอของ คุณลักษณะในวัตถุหรือเหตุการณ์ ท้ังท่ีสังเกตได้และที่สมมติขึ้นได้ ส�ำหรับสาขาวิชาและศาสตร์ท่ีมี วิวัฒนาการมาจากการผสมผสานความรจู้ ากหลายศาสตร์เขา้ ด้วยกัน ดังในกรณีของอนาคตศึกษา ขอ้ จ�ำกัดส่วนหน่ึงคือรากฐานทางทฤษฎขี องการคน้ หาความรู้ในศาสตรน์ ัน้ หนง่ึ ในขอ้ วพิ ากษท์ นี่ กั วชิ าการหลายคนมเี กยี่ วกบั อนาคตศกึ ษาในฐานะสาขาวชิ าหนง่ึ คอื อนาคต ศกึ ษาไมม่ รี ากฐานทางทฤษฎที แี่ ขง็ แกรง่ และเชอื่ มโยงสอดคลอ้ งซงึ่ กนั และกนั โดยเฉพาะในสว่ นของการ คาดการณ์ (foresight)52 นกั อนาคตศกึ ษาบางกลมุ่ เสนอใหใ้ ชท้ ฤษฎนี วตั กรรรม (innovation theories) และทฤษฎรี ะบบ (systems theory) เป็นพืน้ ฐานทางทฤษฎขี องการคาดการณ5์ 3 อีกกลุ่มหน่งึ เสนอให้ ใช้ทฤษฎีระบบความคิด (system of thought) ซ่งึ นิยมใช้ในงานศึกษาอนาคตเชิงวิพากษ์ (critical futures studies) เปน็ พน้ื ฐานทางทฤษฎที ง้ั ส�ำหรบั งานวชิ าการดา้ นอนาคตศกึ ษาและงานคาดการณ5์ 4 ความทา้ ทายในการพฒั นาทฤษฎพี น้ื ฐานส�ำหรบั การคาดการณแ์ ละการศกึ ษาอนาคต สว่ นหนงึ่ เกดิ จาก การขาดความเขา้ ใจและขอ้ ตกลงกนั ในขอบเขตทางทฤษฎขี องสาขาวชิ านี้ รวมถงึ ความหมายของทฤษฎี เก่ยี วกบั และในการคาดการณ์ (theory about and in foresight) ข้อเสนอหนง่ึ ในการพฒั นาทฤษฎขี องการคาดการณแ์ ละอนาคตศึกษาคอื การก�ำหนดกรอบเบื้อง ตน้ ในการน�ำเสนอทฤษฎเี กยี่ วกบั การคาดการณ์ โดยแบง่ การวเิ คราะหอ์ อกเปน็ สามระดบั ทฤษฎรี ะดบั แรกมองการคาดการณ์เป็นกิจกรรมในการสร้างความรู้ ทฤษฎีในส่วนนี้จึงเป็นทฤษฎีระดับอภิมาน (meta-theory) ที่ประมวลทฤษฎตี า่ ง ๆ เกีย่ วกับการคาดการณ์เขา้ ดว้ ยกัน ทฤษฎสี ว่ นน้ีจึงไมใ่ ช่การ คาดการณใ์ นตวั เอง แตเ่ ป็นพนื้ ฐานทางปรชั ญาของกจิ กรรมการคาดการณ์ ทฤษฎีระดบั ท่สี องมองการ คาดการณเ์ ปน็ กระบวนการที่มกี ารแทรกแซงหรอื ด�ำเนินการบางอย่างในด้านองคก์ รหรอื สังคม ทฤษฎี ระดบั นใ้ี หค้ วามส�ำคญั กบั ผลลพั ธเ์ ชงิ ปฏบิ ตั ขิ องกระบวนการคาดการณ์ สว่ นทฤษฎรี ะดบั ทสี่ ามมองการ คาดการณ์เป็นการสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับอนาคตของระบบสังคมเทคโนโลยี ท้ังนี้ ทฤษฎีสองกลุ่มหลังมี

101 | อนาคตศกึ ษา ผลอยา่ งมากตอ่ วงการอนาคตศกึ ษา โดยเฉพาะในดา้ นการคาดการณ์ เนอื่ งจากเปน็ กลมุ่ ทฤษฎที กี่ �ำหนด เงอ่ื นไขและบรบิ ทเกยี่ วกบั วธิ กี ารคาดการณ์ วธิ กี ารวดั ผลลพั ธแ์ ละประสทิ ธผิ ล และวธิ กี ารเชอ่ื มโยงกบั ทฤษฎีเก่ยี วกบั อนาคตที่ขน้ึ อยู่กบั บรบิ ททเี่ ฉพาะเจาะจง55 ข้อจ�ำกัดทางทฤษฎีของอนาคตศึกษาและการคาดการณ์นัยหน่ึงถือเป็นโอกาสและความท้าทาย ในเชิงวิชาการที่จะเสนอแนวคิดและทฤษฎีใหม่ ๆ ท่ีท�ำให้วงการวิชาการและองการวิชาชีพในเรื่องนี้ พฒั นาไดต้ อ่ ไป

อนาคตศกึ ษา | 102 สรุป นักวิชาการด้านอนาคตศึกษาได้พัฒนาชุดแนวคิด ทฤษฎีและหลักการส�ำหรับการศึกษาและ สร้างภาพอนาคตเรื่อยมา จนในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับทั่วไปในฐานะศาสตร์ทางวิชาการและ สาขาวิชาชีพหน่ึง เน้ือหาในบทนี้ได้ประมวลหลักการและวัตถุประสงค์ของการศึกษาอนาคต รวมถงึ ขอ้ สมมตแิ ละทฤษฎกี ารเปลยี่ นแปลงทน่ี กั อนาคตศาสตรใ์ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เกยี่ วกบั อดีตและปจั จุบนั เพอ่ื สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นไปไดข้ องอนาคตในระดบั ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะข้อสมมติและทฤษฎีเกีย่ วกับเวลาและการเปลย่ี นแปลงของส่งิ ทีต่ อ้ งการศกึ ษา ในภาพรวมจะเห็นได้ว่า แนวคิดและทฤษฎีท่ีใช้ในอนาคตศึกษามาจากการผสมผสาน ความรู้จากศาสตร์และสาขาท่ีหลากหลาย ไม่จ�ำกัดอยู่เพียงเฉพาะวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ แต่รวมไปถึงมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์ แม้ว่ากระบวนทัศน์พื้นฐานของ อนาคตศึกษาในปัจจุบันให้ความส�ำคัญกับแนวคิดเชิงระบบ ซึ่งได้รับอิทธิพลหลักจากแนวคิด ปฏิฐานนิยมและประจักษ์นิยมท่ีมุ่งไปสู่ความจริงเชิงภววิสัย แต่นักอนาคตศาสตร์และนักคาด การณ์เชิงยุทธศาสตร์ในปัจจุบันก็ตระหนักถึงความส�ำคัญของแนวคิดเชิงปทัสถาน ซึ่งเน้นความ คิดเชิงอัตวิสัยของผู้คนในสังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการสร้างภาพอนาคตที่พึงประสงค์ท่ี ใช้เป็นกรอบของการตัดสินใจในการวางแผนด�ำเนินการ แนวคิดพื้นฐานว่าด้วยพหุอนาคตจึง สัมพันธ์กับความเป็นพหุศาสตร์และสหศาสตร์ของงานด้านอนาคตศึกษาในยุคปัจจุบัน อีกท้ังยัง สะท้อนออกมาในความหลากหลายของวิธีการศึกษาอนาคตและการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ ซ่ึงจะน�ำเสนอในบทต่อไป

103 | อนาคตศกึ ษา

อนาคตศึกษา | 104 3 วธิ ีการศึกษา อนาคต By three methods we may learn wisdom: First, by reflection, which is noblest; and thirdSebcyoenxdp,ebryienimceit,awtihoinc,hwishitchheisbiettaesrieesstt;. Confucius

105 | อนาคตศึกษา ประเภท วิธกี ารศกึ ษาอนาคต ความสามารถในการท�ำความเข้าใจและคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคตข้ึนอยู่กับความสามารถในการ ประยุกต์ใช้ทฤษฎีและวิธีการคาดการณ์ตามสถานการณ์และเง่อื นไขที่แตกต่างกันออกไป นักอนาคต ศาสตรท์ ่ดี ตี ้องมีความรู้พ้นื ฐานดา้ นทฤษฎี และตระหนักอย่เู สมอว่า ทฤษฎีและวธิ กี ารท่เี ลอื กใชศ้ กึ ษา อนาคตมีผลต่อกระบวนทัศน์และมุมมองทมี่ ตี ่อเงอื่ นไขและบรบิ ทของการศึกษา ซึง่ ย่อมมีผลสบื เนือ่ ง ต่อกระบวนการและผลลพั ธ์ของการคาดการณ์ วิธีการและเคร่ืองมือการศึกษาอนาคตมีอยู่หลากหลาย แต่ละวิธีมีปรัชญาพื้นฐาน ข้อสมมติ เงื่อนไข ประโยชน์และข้อจ�ำกัดท่ีแตกต่างกันออกไป พัฒนาการและความนิยมของวิธีการศึกษาของ ศาสตร์ใดศาสตร์หน่ึงยอ่ มสะทอ้ นววิ ฒั นาการของศาสตรน์ ้ัน อนาคตศาสตร์กเ็ ช่นกัน จากทีแ่ ต่เดิม วิธี การทนี่ ยิ มใชเ้ ปน็ แนวทางวเิ คราะหเ์ ชงิ ระบบดว้ ยผเู้ ชยี่ วชาญเฉพาะทาง เพอ่ื ตอบโจทยด์ า้ นยทุ ธศาสตร์ ทางการทหาร จนตอ่ มา วงการอนาคตศาสตรเ์ รม่ิ ยอมรบั วธิ กี ารอน่ื ทเี่ ปดิ กวา้ งใหผ้ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี เขา้ มามีส่วนร่วมและมีบทบาทในกระบวนการศึกษาและสร้างภาพอนาคตร่วมกัน เพื่อตอบโจทย์ท่ีกว้าง และมคี วามหลากหลายมากข้ึน เช่นเดียวกับการวิจัยด้านสังคมศาสตร์ในปัจจุบัน การศึกษาอนาคตในช่วงหลังไม่ได้พ่ึงวิธีการ วเิ คราะหเ์ พยี งวธิ เี ดยี ว แตใ่ หค้ วามส�ำคญั กบั การผสมผสานของวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย ทงั้ วธิ กี ารวเิ คราะห์ เชิงปริมาณกับวิธีการเชิงคุณภาพ และวิธีการที่ด�ำเนินการเฉพาะโดยผู้เชี่ยวชาญกับวิธีการท่ีเน้นการ มีส่วนร่วม ขีดความสามารถในการค�ำนวณท่ีเพ่ิมมากข้ึนจากการพัฒนาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศ ท�ำให้การวิเคราะห์แบบจ�ำลองคณิตศาสตร์ท่ีซับซ้อนเป็นไปได้ง่ายมากข้ึน ขณะเดียวกัน ความตระหนกั ในสทิ ธทิ างการเมอื งและประชาธปิ ไตยท�ำใหก้ ารมสี ว่ นรว่ มของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี กลาย เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการศึกษาอนาคตทต่ี ้องด�ำเนนิ การและผลักดนั ใหเ้ กดิ ขนึ้ จรงิ โครงการมิลเลนเนียมโปรเจกต์ (The Millennium Project) แบ่งกลุ่มวิธีการศึกษาอนาคตไว้ อยา่ งครอบคลมุ ดงั น1้ี

อนาคตศกึ ษา | 106 วตธิากีราางรทสำ่ี �3คัญในศึกษาอนาคต

107 | อนาคตศกึ ษา ท่ีมา: Gordon and Glenn (2009) วิธีการศึกษาอนาคตอาจแบ่งตามข้ันตอนการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ ริชาร์ด สลอเทอร์ (Richard Slaughter) เสนอกรอบแนวทางการศกึ ษาอนาคตแบบ 4 ขัน้ ตอนเพ่ือใช้ในการคาดการณ์ เชงิ ยุทธศาสตร์ (strategic foresight) ซงึ่ โจเซฟ โวรอส (Joseph Voros) น�ำไปพฒั นาเพ่ิมเติมจน กลายเป็นแนวทางการคาดการณ์พ้ืนฐานที่ใช้ในการสอนด้านอนาคตศึกษาที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สวินเบิรน์ (Swinburne University of Technology) ในประเทศออสเตรเลยี แตล่ ะขัน้ ตอนมีวิธกี าร เฉพาะท่ีสามารถเลอื กและประยุกตใ์ ชไ้ ด้ตามความเหมาะสมในแตล่ ะสถานการณ์และพื้นท2ี่ โดยแบ่ง เป็น 4 กล่มุ ดงั นี้ 1. กลมุ่ วธิ กี ารน�ำเขา้ (input methods) วัตถุประสงค์หลักของวิธีการในกลุ่มนี้คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลที่สามารถน�ำมาใช้วิเคราะห์ต่อไป ตัวอย่างวิธีการที่เป็นที่ นิยมใช้ ได้แก่ วิธีการเดลฟาย (Dephi) วิธีการกวาดสัญญาณ วิธีการ futurescan รวมไปถึงวิธีการส�ำรวจและวิธีการประเมินเทคโนโลยี (technology assessment) 2. กลมุ่ วธิ กี ารวเิ คราะห์ (analytic methods) วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของวธิ กี ารในกลมุ่ นคี้ อื เพอ่ื สรา้ งความหมายจากขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมมาในการเขา้ ใจถงึ อนาคต เพอ่ื ใหเ้ กดิ มมุ มองและกรอบแนวคิดใหม่ทอี่ าจแตกตา่ งจากมมุ มองทีม่ อี ย่ใู นปัจจุบนั ตวั อยา่ งวธิ ีการ ในกลุม่ นป้ี ระกอบด้วยการวเิ คราะห์ประเด็นอบุ ตั ิใหม่ (emerging issues analysis) การวเิ คราะห์แนวโน้มและการประมาณคา่ นอกชว่ ง (trend analysis and extrapo- lation) การวิเคราะหผ์ ลกระทบไขว้ (cross impact analysis) การวิเคราะหร์ ูปแบบ (pattern recognition) การวิเคราะห์วาทกรรมและข้อความ (discourse and text analysis) และการสนทนา (dialogue) 3. วธิ กี ารตคี วาม/วธิ กี ารเชงิ ลกึ (interpretive/paradigmatic/in-depth methods) กล่มุ วิธีการน้มี งุ่ สรา้ งความเขา้ ใจเชงิ ลึกจากข้อมูลท่เี ก็บรวบรวมและวเิ คราะห์มา โดย เฉพาะอย่างย่ิงปัจจัยเชิงลึกที่มีผลต่อปรากฏการณ์ท่ีต้องการศึกษา ตัวอย่างของวิธี การตีความและวิเคราะห์เชิงลึกที่เกิดขึ้นมาจากงานด้านอนาคตศึกษา ได้แก่ วิธีการ วเิ คราะหป์ ระวตั ศิ าสตรม์ หภาค (macrohistory) ของโยฮาน กลั ทงุ (Johan Galtung)

อนาคตศึกษา | 108 การวิเคราะห์ชั้นสาเหตุ (Causal Layered Analysis) ของโซเฮล อินายาตอลลา (Sohail Inayatullah) นอกจากนี้ ยังมวี ิธีการอ่นื ท่ีพัฒนามากอ่ นหนา้ นี้ เชน่ อรรถ ปรวิ รรตศาสตร์ (Hermaneutics) ซึ่งเปน็ วิธีการตคี วามและท�ำความเขา้ ใจตวั บทผา่ น ทางกระบวนการเชิงประจักษ์ วิธกี ารวเิ คราะหร์ ะบบ (systems analysis/thinking) รวมไปถงึ วธิ กี ารผสมผสานสงิ่ ตา่ ง ๆ เขา้ มาใชใ้ นงาน (bricolage) นอกจากนี้ แนวทาง เชงิ บรู ณาการ (integral metholology) ของเคน วิลเบอร์ (Ken Wilbur) ในกระแส แนวคดิ อนาคตเชิงบรู ณาการ (integral futures) 4. วธิ กี ารสำ� รวจ ทำ� ซำ้� และคาดหวงั (iterative, exploratory, prospective methods) วิธีการในกลุ่มนี้มุ่งเน้นการสร้างภาพอนาคตด้วยการจินตนาการและการใช้ความคิด สรา้ งสรรค์ อาทิ การสรา้ งวสิ ยั ทศั น์ (visioning) การวางแผนฉากทศั น์ (scenario plan- ning) และการพยากรณย์ อ้ นกลบั (backcasting) ซึง่ เปน็ ตงั้ วสิ ยั ทศั นใ์ นอนาคตไวแ้ ลว้ ยอ้ นกลบั มาวางแผนเพอ่ื ใหบ้ รรลวุ สิ ยั ทศั นน์ นั้ องคป์ ระกอบหนง่ึ ของวธิ กี ารศกึ ษาและ สรา้ งภาพอนาคตกลมุ่ นค้ี อื การเคลอ่ื นไหวผลกั ดนั ทางสงั คม (activism) ทงั้ การวจิ ยั เชงิ ปฏิบัตกิ าร (action research) การเรยี นร้เู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (action learning) และการ จัดประชุมปฏิบัติการเพอ่ื สรา้ งภาพอนาคตแบบมีส่วนร่วม3 การแบ่งกลุ่มวิธีการตามขั้นตอนการคาดการณ์ข้างต้นสามารถแบ่งให้ละเอียดเพิ่มลงไปอีกตาม ประเภทกจิ กรรมในแตล่ ะขนั้ ตอน ดงั ทเี่ สนอไวโ้ ดยเอสจาน ซารทิ าส (Ozcan Saritas) 6 ขนั้ ตอน ดงั นี้ 1. กลุ่มวิธีการส�ำรวจเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก (intelligence) และก�ำหนดขอบเขตของ การศึกษา 2. กล่มุ วธิ ีการจนิ ตนาการ (imagination) เพอ่ื ค้นหาความเปน็ ไปได้และทางเลอื กทอี่ าจ เกดิ ขนึ้ ในอนาคตด้วยความคดิ สรา้ งสรรค์ 3. กลุ่มวิธีการบูรณาการ (integration) เพื่อจัดระเบียบข้อมูล ความรู้และเหตุการณ์ เกย่ี วกับอนาคต 4. กล่มุ วิธกี ารตคี วาม (interpretation) เพอ่ื แปลผลและก�ำหนดกรอบยุทธศาสตร์ 5. กลุ่มวธิ กี ารด�ำเนนิ การ (intervention) เพื่อก�ำหนดนโยบาย แผนและโครงการ 6. กลุ่มวิธีการประเมินผลกระทบ (impact) เพื่อทบทวนผลด�ำเนินการ และเพื่อแก้ไข ปรบั ปรุงแนวทางหรือด�ำเนนิ กิจกรรมใหม่ นอกจากวิธกี ารทง้ั 6 กล่มุ แล้ว ยงั มกี ลุ่มท่ี 7 คอื วธิ กี ารสร้างปฏิสัมพนั ธ์ (interaction) ระหวา่ ง ผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียในตลอดกระบวนการคาดการณ์ทงั้ 6 ขั้นตอน ตามที่แสดงไว้ในตารางท่ี 4

109 | อนาคตศกึ ษา ปตารระาเภงททว่ี 4ิธกี ารศึกษาอนาคตแบง่ ตามข้นั ตอนการคาดการณ์ ดัดแปลงจาก: Saritas (2013)

อนาคตศึกษา | 110 วิธีการศึกษาอนาคตที่มีอยู่จ�ำนวนมากน้ีอาจท�ำให้เกิดข้อสงสัยว่า แต่ละแนวทางและวิธีการมี ความแตกต่างกนั อย่างไร ส�ำนักงานวิทยาศาสตรแ์ ละนวัตกรรมของอังกฤษ (Office of Science and Innovation) อธบิ ายความแตกตา่ งของวิธกี ารหลักในการคาดการณไ์ วอ้ ยา่ งกระชับและชดั เจน ดงั น4ี้ สมมติิว่า่ คุุณกำ�ำ ลังั ยืืนอยู่่�บนหอบัังคัับการบนเรือื เมื่ �อกวาดสายตาออกไป จะ เห็็นเส้น้ ขอบฟ้้า (การกวาดสััญญาณ - horizon scanning) และมองเห็น็ ยอดของ ภููเขาน้ำ��ำ แข็็งและเรือื บรรทุกุ เสบีียง คุุณคาดประมาณความเร็็วและทิิศทางของยอด ภููเขาน้ำ�ำ� แข็ง็ และเรือื บรรทุุกเสบีียงนั้้น� (การวิิเคราะห์์แนวโน้้ม - trend analysis) แล้้วนำำ�เอาข้้อมููลมาวิิเคราะห์์ด้้วยคอมพิิวเตอร์์ (การสร้้างแบบจำำ�ลอง – model- ling) จากนั้้�นจึงึ กำำ�หนดเส้้นทางเดิินเรืือ (การทำำ�แผนที่่�นำ�ำ ทาง – roadmapping) “เพื่่อ� เข้า้ ไปหาเรือื บรรทุกุ เสบียี งแต่เ่ ลี่ย� งไม่ใ่ ห้ช้ นภูเู ขาน้ำ��ำ แข็ง็ ในขณะที่่ค� ุณุ กำำ�ลังั ล่อ่ ง เรืือไป คุุณคิิดถึึงช็็อกโกแลตอร่่อยที่่�คุณุ หวังั ว่่าจะอยู่�่บนเรืือบรรทุกุ เสบีียงนั้้�น (การ สร้า้ งวิสิ ัยั ทัศั น์์ - visioning) คุณุ ตระหนักั ดีวี ่า่ ความเร็ว็ และทิศิ ทางของภูเู ขาน้ำ��ำ แข็ง็ และเรือื บรรทุกุ เสบียี งอาจเปลี่ย� นแปลงได้เ้ สมอ จึงึ คำ�ำ นวณทางเลือื กเส้น้ ทางที่่ท� ำ�ำ ให้้ มีโี อกาสสููงที่่ส� ุดุ ในการเข้า้ ไปถึงึ เรือื บรรทุกุ เสบียี ง (การสร้า้ งฉากทัศั น์์ – scenarios) กระนั้้น� ก็็ตาม คุุณรู้้�ดีีว่่า ถึึงแม้จ้ ะพยายามวางแผนไว้อ้ ย่่างไรก็ต็ าม ก็ย็ ัังมีีโอกาสที่่� เหตุุไม่่คาดฝัันอาจเกิิดขึ้�น และทำ�ำ ให้้เรืือชนกัับภููเขาน้ำ��ำ แข็็งได้้ คุุณจึึงสั่�งให้้ลููกเรืือ ฝึึกซ้้อมการหนีีภััยฉุุกเฉิิน (การใช้้เกมจำ�ำ ลองสถานการณ์์ - gaming) พร้้อมกัันนี้้� คุุณก็็จิินตนาการตำ�ำ แหน่่งของเรืือบรรทุุกเสบีียงที่่�คาดว่่าน่่าจะเป็็นไปได้้มากที่่�สุุด แล้้ววิิเคราะห์์และวางขั้น� ตอนการเดินิ เรือื เข้้าไปถึึงตำำ�แหน่ง่ นั้้น� (การพยากรณ์์ย้อ้ น กลับั - backcasting) ค�ำอธบิ ายขา้ งบนแสดงใหเ้ หน็ ว่า วิธกี ารศึกษาอนาคตมีอยหู่ ลากหลาย การเลอื กใชจ้ ึงขึ้นอยู่กบั วตั ถปุ ระสงค์ สถานการณ์และบริบท โดยไม่มวี ิธีการหนึ่งเดยี วทีเ่ หมาะสมส�ำหรบั ทุกวัตถุประสงคแ์ ละ ทุกสถานการณ์ ความเข้าใจในจุดแข็งและข้อจ�ำกัดของแต่ละวิธีการช่วยให้เราสามารถเลือกวิธีการท่ี ”เหมาะสมกบั ค�ำถาม สถานการณแ์ ละเงื่อนไขของการวเิ คราะหใ์ นแต่ละครงั้ เน้ือหาส่วนท่ีเหลือในบทน้ีน�ำเสนอสาระส�ำคัญโดยย่อของวิธีการและเคร่ืองมือศึกษาอนาคต ที่เป็นที่ยอมรับในวงการอนาคตศาสตร์และการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ เนื้อหาส่วนใหญ่สรุปมา จากหนังสือชื่อ Futures Research Methodology - V3.0 ซึ่งเจโรม เกลน (Jerome Glenn) และเธโอดอร์ กอร์ดอน (Theodore Gordon) เป็นบรรณาธิการ โดยมนี กั อนาคตศาสตรช์ อื่ ดงั ระดบั โลกเปน็ ผเู้ ขยี นในแตล่ ะบท หนงั สอื เลม่ ดงั กลา่ วอธบิ ายวธิ วี ทิ ยาดา้ นอนาคตศกึ ษาไวอ้ ยา่ งครอบคลมุ จงึ เปน็ หนงั สอื อา้ งองิ ทเี่ หมาะส�ำหรบั ผอู้ า่ นทต่ี อ้ งการทราบรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ จากเนอื้ หาทสี่ รปุ ไวใ้ นบทน้ี

111 | อนาคตศกึ ษา การกวาดสญั ญาณ การวางแผนทด่ี ตี อ้ งใชข้ อ้ มลู ความรจู้ ากการคาดการณ์ แตก่ ารคาดการณไ์ มว่ า่ ดว้ ยวธิ กี ารใดกต็ าม ยอ่ ม ตั้งอยู่บนข้อสมมติเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ รวมถึงสมมติฐานเก่ียวกับสาเหตุที่ท�ำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงน้ัน ในโลกปัจจุบัน การเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและในวงกว้าง การค้นหาและ ตรวจจับสัญญาณการเปล่ียนแปลงและการประเมินผลกระทบย่อมมีความส�ำคัญมากข้ึน หน่วยงาน และองค์กรที่ต้องการวางแผนยุทธศาสตร์ในบริบทของการแข่งขันและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ยงิ่ จ�ำเปน็ ตอ้ งมขี ดี ความสามารถที่ดใี นการกวาดสญั ญาณ การกวาดสัญญาณเป็นวิธีการพ้ืนฐานท่ีนักอนาคตศาสตร์ใช้ในการค้นหา เก็บรวมรวมและ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้แยกแยะว่าปัจจัยหรือเหตุการณ์ใดเป็นปัจจัยคงท่ี (constant) ปัจจัยใดที่ เปลี่ยนแปลง (change) และปัจจยั ใดทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยา่ งคงที่ (constant change) รวมถึงสัญญาณ ออ่ น (weak signals) ทบ่ี ง่ ชถี้ งึ การเปลี่ยนแปลงส�ำคญั ทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ ในอนาคต รวมไปถงึ สาเหตทุ ท่ี �ำให้ เกิดการเปล่ียนแปลงหรือไม่เปลี่ยนแปลงน้ัน ผลลัพธ์จากการกวาดสัญญาณท�ำให้นักอนาคตศาสตร์ สามารถตัดสินได้ว่า ข้อสมมติพ้ืนฐานของการคาดการณ์ยังใช้ได้อยู่หรือไม่ ควรต้องปรับเปล่ียนข้อ สมมติและเง่ือนไขใดบ้างเกี่ยวกับความท้าทายและโอกาสในอนาคต เพ่อื ปรับเปล่ียนแผนและการเต รยี มการให้ดีย่งิ ข้ึน ค�ำวา่ environment ในค�ำวา่ environmental scanning เปน็ ศพั ทท์ น่ี กั อนาคตศาสตรใ์ ชอ้ ยา่ ง แพร่หลายในชว่ งทศวรรษท่ี 1960-1970 แต่เมื่อแนวคิดและการรณรงค์ดา้ นสิ่งแวดลอ้ มแพรข่ ยายใน วงกวา้ งมากขนึ้ จงึ เกดิ ขอ้ สงั เกตวา่ ค�ำศพั ทด์ งั กลา่ วสอื่ ถงึ การจบั สญั ญาณทเ่ี นน้ เฉพาะการเปลย่ี นแปลง ในส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ (natural environment) ท่ีเกิดจากการกระท�ำของมนุษย์เท่านั้น ดังนั้น เพ่ือหลีกเล่ียงความสับสนดังกล่าว นักอนาคตศาสตร์จึงเริ่มใช้ค�ำศัพท์อ่ืน เช่น ระบบกวาดสัญญาณ อนาคต ระบบเตือนภัยล่วงหน้า (early warning system) และระบบปัญญาส�ำหรับอนาคต (futures intelligence system) อีกค�ำศัพทห์ น่ึงที่ใชค้ ือ horizon scanning system วัตถุประสงค์หลักของระบบการกวาดสัญญาณคือการค้นพบสิ่งบ่งชี้การเปลี่ยนแปลงหรือ การพัฒนาส�ำคัญที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตได้ล่วงหน้ามากท่ีสุดเท่าที่จะท�ำได้ การกวาดสัญญาณเป็น มากกว่าการติดตามข่าวตามสื่อต่าง ๆ โดยเป็นกระบวนการท่ีออกแบบไว้อย่างเป็นระบบเพื่อค้นหา วิเคราะห์และประเมินความส�ำคัญของแนวโน้ม พัฒนาการ และประเด็นอุบัติใหม่ท่ีอาจยังไม่ชัดเจน

อนาคตศกึ ษา | 112 ว่าจะเปล่ียนแปลงไปอย่างไรในอนาคต แต่อาจมีนัยส�ำคัญในเชิงนโยบายและเชิงการปฏิบัติด้วยเช่น กนั กระบวนการกวาดสัญญาณจงึ ไมจ่ บอยูใ่ นตัวเอง แต่ตอ้ งสรา้ งค�ำถามทนี่ �ำไปสกู่ ารสนทนาและถก เถียงกันต่อไปเกี่ยวกับทิศทางและภาพอนาคตขององค์กรหรือพื้นที่เป้าหมายของการคาดการณ์และ การวางแผนนั้น ดว้ ยเหตุนี้ กจิ กรรมในการกวาดสัญญาณจึงควรเป็นกิจกรรมพ้ืนฐานในกระบวนการ เรียนรแู้ ละการตดั สินใจขององค์กร ข้ันตอนและวธิ ีการ กระบวนการกวาดสญั ญาณในภาพรวมแบง่ ออกเปน็ 6 ขน้ั ตอนหลกั เรม่ิ จาก (1) การระบคุ วามต้องการ ในการกวาดสญั ญาณ (2) การคดั เลอื กและเชิญผเู้ ขา้ ร่วมกระบวนการกวาดสัญญาณ (3) การเกบ็ ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง (4) การวเิ คราะหข์ อ้ มลู (5) การเผยแพรผ่ ลการกวาดสญั ญาณและ (6) การใชผ้ ลการวเิ คราะห์ ในการวางแผนเพอื่ ตดั สนิ ใจ ในบางองคก์ ร อาจมกี ารสรา้ งระบบการกวาดสญั ญาณเพอื่ ใหก้ ระบวนการ ดังกล่าวให้เป็นกิจกรรมส�ำคัญส่วนหน่ึงขององค์กร แผนภาพข้างล่างแสดงตัวอย่างโครงสร้างระบบ การกวาดสัญญาณทโี่ ครงการมลิ เลเนยี มโปรเจกตพ์ ฒั นาใหก้ ับบรษิ ัทคูเวตออยล์ ตแัวผอนยภา่ างพรทะบ่ี 5บการกวาดสัญญาณในการคาดการณ์ ดดั แปลงจาก: Gordon and Glenn (2009) ตามตัวอย่างดังกล่าว องค์ประกอบส�ำคัญของระบบกวาดสัญญาณอนาคตประกอบด้วย ระบบ กวาดสัญญาณ ระบบวิเคราะห์และสังเคราะห์ ระบบสร้างปัญญาร่วม (collective intelligence system) และระบบบรหิ ารจดั การ ซงึ่ มบี ทบาทส�ำคญั ในการท�ำความเขา้ ใจและเรยี นรเู้ กย่ี วกบั อนาคต และการตัดสินใจด้านนโยบาย องค์ประกอบส�ำคัญอีกส่วนหนึ่งคือระบบป้อนกลับและระบุความ ตอ้ งการใหม่ (feedback and new requirements) ซึ่งปอ้ นข้อมูลท้ังความเหน็ และค�ำแนะน�ำจาก

113 | อนาคตศึกษา ฝ่ายผู้บริหารและผู้ตัดสินใจไปยังกลุ่มนักวิเคราะห์ที่กวาดและวิเคราะห์สัญญาณ เพ่ือปรับปรุงวิธีการ และขอ้ มลู ทใ่ี ชว้ เิ คราะห์ ข้อมูลรายละเอียดของข้อมลู จากการกวาดสัญญาณสามารถบนั ทึกตามหัวข้อหรอื ค�ำส�ำคัญ เพ่อื น�ำไปวเิ คราะหไ์ ด้งา่ ยขึน้ เชน่ 1. กลุ่มหวั ข้อของเหตกุ ารณ/์ ปจั จัย เช่น STEEP – สงั คม (social) เทคโนโลยี (technology) เศรษฐกจิ (economic) สงิ่ แวดล้อม (environmental) และการเมอื ง (politics) รวมถึง ขอ้ สมมติ และความเสย่ี ง (risks) 2. สงิ่ บง่ ชหี้ ลกั (leading indicator) คอื เหตกุ ารณห์ รอื ปจั จยั ทส่ี อื่ ถงึ การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ 3. ทีม่ าขอ้ มลู 4. วธิ กี ารเข้าถงึ ขอ้ มูล 5. นัยและความส�ำคัญของเหตุการณ์หรือปัจจัย ซึ่งเป็นผลการวิเคราะห์เบื้องต้นและการ วเิ คราะหร์ ปู แบบ (pattern analysis) 6. ผลลัพธ์และผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากเหตุการณ์หรือปัจจัยขับเคลื่อน แม้ว่าเราไม่ อาจทราบถงึ อนาคต แตพ่ อคาดเดาอยา่ งมีหลักการได้ถึงขอบเขตของผลกระทบทมี่ โี อกาส เกดิ ขนึ้ ในอนาคต นกั วเิ คราะหอ์ าจใชว้ ธิ กี ารวงลอ้ อนาคต ในการคาดการณผ์ ลกระทบทอี่ าจ เกิดขน้ึ ไดใ้ นปจั จุบันและอนาคต โดยแสดงเปน็ ตัวเลขหรือการพรรณนาสถานการณ์ทเ่ี ป็น อย่ใู นปัจจุบัน และเหตกุ ารณ์ทีม่ ีแผนการหรือคาดว่าจะเกดิ ข้นึ ในอนาคต 7. ผเู้ ก่ยี วข้องมใี ครบ้างท่มี ผี ลต่อเหตกุ ารณ์หรือตัวบ่งชท้ี สี่ นใจ ท้ังปจั เจกบุคคลและองค์กร 8. วันเวลาทบ่ี นั ทึกและผบู้ นั ทกึ การกวาดสญั ญาณเป็นกิจกรรมส�ำคญั ของการน�ำเขา้ ขอ้ มลู (input) เพื่อการศกึ ษาอนาคตทง้ั ใน ด้านวิชาการและด้านการวางแผนยุทธศาสตร์ การกวาดสัญญาณสามารถใช้วิธีการและเคร่ืองมือท่ี หลากหลาย ตวั อยา่ งเชน่ • คณะผู้เชี่ยวชาญ (expert panels) ในระบบกวาดสัญญาณ อาจมีการจัดตั้งคณะผู้ เชี่ยวชาญที่คอยสังเกตการณ์และเฝ้ามองหาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นผ่านช่องทางต่าง ๆ ท้ังวิธีการเดลฟาย การพัฒนาและใช้ซอฟต์แวร์ในการจับสัญญาณบนพ้ืนที่ดิจิทัลและสื่อ โซเชียล และการจัดการประชุมกลุ่มย่อยและการสนทนาเพอื่ ระดมสมองในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ แบบ world café รวมถงึ วิธีการท่ซี ับซอ้ นมากขน้ึ เชน่ ตลาดการพยากรณ์ (predic- tion market) • การทบทวนวรรณกรรม (literature review) ในฐานข้อมูลท่ีเก็บรวมรวมข้อมูลใน หัวข้อและประเด็นที่สนใจ ท้ังบทความในวารสารวิชาการ นิตยสาร รายงานของรัฐบาล และองค์กร ข่าวและสิ่งตีพิมพ์อื่น ๆ ท้ังในรูปแบบกระดาษและแบบดิจิทัลท่ีสามารถเข้า ถงึ ได้ทางอินเทอรเ์ นต็ • การสบื คน้ บนเวบ็ ไซต์ โดย web crawlers ทส่ี ามารถสบื คน้ บนเวบ็ เพอื่ หาขอ้ มลู ใหม่ และ

อนาคตศกึ ษา | 114 การใช้ Google Alerts (http://www.googlealert.com) ในการคน้ หาสัญญาณด้วยค�ำ ส�ำคญั ทกี่ �ำหนดขน้ึ และแจง้ การเปลี่ยนแปลงทเี่ กดิ ข้ึนตามระยะเวลาทต่ี งั้ ไว้ • การรวบรวมประกาศและส่ือประชาสมั พันธ์ (press release) ขององค์กรหรอื บรษิ ัทที่ แสดงข้อมูล ผลิตภณั ฑ์ใหมแ่ ละแนวโนม้ ด้านต่าง ๆ • การติดตามบคุ คลส�ำคญั ท้งั ผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางท่ีมีช่ือเสียงและไดร้ บั การยอมรับ รวม ถงึ หัวข้อและเน้อื หาการบรรยายในการประชุมช้ันน�ำในวงการวิชาการและวงการธุรกจิ ความถี่ของการกวาดสัญญาณขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และความส�ำคัญที่องค์กรให้กับการคาด การณ์เชิงยุทธศาสตร์ องค์กรบางแห่งอาจมีหน่วยย่อยหรือเจ้าหน้าที่ที่ท�ำหน้าที่กวาดสัญญาณอยู่ อย่างต่อเนื่องและเป็นประจ�ำ เช่น ศูนย์อนาคตเชิงยุทธศาสตร์ (Centre for Strategic Futures) ของรัฐบาลสิงคโปร์ บางแห่งมีโครงการกวาดสัญญาณตามค�ำขอหรือค�ำสั่งจากหน่วยงานอ่ืน บางแห่ง กวาดสัญญาณเม่ือมีความสนใจในสถานการณ์ท่ีดูเหมือนมีการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้น ขอบเขตของการกวาดสัญญาณมักขึ้นอยู่กับพันธกิจและวัตถุประสงค์ขององค์กร คุณลักษณะ ส�ำคัญของการกวาดสัญญาณในการคาดการณ์ที่แตกต่างจากการการส�ำรวจแนวโน้มและเง่ือนไข ส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตท่ีท�ำอยู่ท่ัวไป คือ การให้ความส�ำคัญกับสัญญาณอ่อน (weak signals) ท่ีบ่งชี้ถึงโอกาสในการเปล่ียนแปลงในอนาคต เหตุไม่คาดฝันท่ีมีโอกาสเกิดข้ึนต�่ำแต่ผลกระ ทบสูง หรือไวล์คาร์ด รวมถึงความครอบคลุมในการกวาดสัญญาณในสาขาและภาคส่วนต่าง ๆ ให้ มากที่สุด โดยเฉพาะการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นภายนอกองค์กร ทั้งนี้ท้ังน้ัน ขอบเขตของการกวาด สัญญาณข้ึนอยู่กับทรัพยากรทั้งด้านงบประมาณและด้านบุคลากรขององค์กรด้วยเช่นกัน ตัวอย่างหน่ึงของระบบกวาดสัญญาณระดับโลกที่พัฒนาระบบปัญญาร่วม (collective intelligence system) คือระบบข้อมูลและเครือข่ายพลังงานระดับโลก (Global Energy Network and Information System – GENIS) ซึ่งพัฒนาโดยโครงการมิลเลนเนียมโปรเจกต์ (The Millennium Project) ระบบ GENIS มีสององค์ประกอบหลัก ได้แก่ (1) เครือข่ายพลังงานระดับโลก (Global Energy Network) ซึ่งส่งเสริมการสื่อสารและการท�ำงานร่วมกันระหว่างผู้เช่ียวชาญ นักวิจัย นักนโยบาย และผู้ท�ำงานด้านพลังงาน และ (2) ระบบข้อมูลพลังงานระดับโลก (Global Energy Information System) ซึ่งเป็นฐานความรู้และชุดเคร่ืองมือท่ีส่งเสริมการรวบรวมและพัฒนาความรู้ เกี่ยวกับระบบพลังงานระดับโลก5 รัฐบาลหลายประเทศให้ความส�ำคัญกับระบบการคาดการณ์ระดับ ชาติ จึงมีหน่วยงานหรือคณะท�ำงานท่ีท�ำหน้าที่กวาดสัญญาณในด้านต่าง ๆ อาทิ รัฐบาลฟินแลนด์ (ท้ังในรัฐบาลและในสภาผู้แทนราษฎร) สิงคโปร์ (ใน Centre for Stratetic Futures) อังกฤษ (ใน Government Office of Science) และแคนาดา (ใน Policy Horizons Canada) เน่ืองจากกรอบการท�ำงาน แนวทางและวิธีการกวาดสัญญาณของแต่ละองค์กรและแต่ละ โครงการมักแตกต่างกัน ผลลัพธ์ท่ีได้จึงมักแตกต่างกันด้วย ตารางที่ 5 แสดงตัวอย่างหน่ึงของ ผลลัพธ์การกวาดสัญญาณ โดยเป็นสารบัญของรายงานของการกวาดสัญญาณด้านความม่ันคงทาง ส่ิงแวดล้อมของสถาบันนโยบายส่ิงแวดล้อมของกองทัพบกสหรัฐฯ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 25526

115 | อนาคตศึกษา ตตัวารอายง่าทง่ีป5ระเด็นการกวาดสญั ญาณดา้ นความมั่นคงทางส่งิ แวดลอ้ ม ทม่ี า: Gordon and Glenn (2009)

อนาคตศึกษา | 116 อีกตวั อยา่ งหนง่ึ ในตารางท่ี 6 แสดงผลการกวาดสญั ญาณปจั จยั ขบั เคลอื่ นท่นี ่าจะมผี ลตอ่ อนาคต ของเมอื ง โดยใช้กรอบการวิเคราะห์ STEEP ในโครงการ “คนเมือง 4.0” ซ่งึ ด�ำเนินการโดยคณะวิจัย จากจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย7 ตตวัารอายง่าทงี่ป6จั จยั ขบั เคลอ่ื นท่นี า่ จะมีผลต่ออนาคตของเมือง

117 | อนาคตศึกษา ที่มา: อภวิ ัฒน์ รัตนวราหะ และคณะ (2563)

อนาคตศกึ ษา | 118 การทำ�เหมืองข้อมลู และข้อความ ความสนใจเกี่ยวกับข้อมูลมหาศาลหรือบ๊ิกดาต้า (Big Data) ประกอบกับการพัฒนาด้านเทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์ ท�ำใหว้ ธิ กี ารท�ำเหมอื งขอ้ มลู และเหมอื งขอ้ ความเปน็ ทนี่ ยิ มมากขนึ้ ในงานดา้ นอนาคตศกึ ษา และเปน็ ชอ่ งทางใหมท่ ไ่ี ด้รบั ความส�ำคญั มากข้นึ ในวงการคาดการณ์เชงิ ยทุ ธศาสตร์ในปจั จบุ ัน อยา่ งไร ก็ตาม ด้วยจ�ำนวนข้อมลู ได้เพ่ิมขนึ้ มากและอยา่ งรวดเร็ว อกี ทัง้ แหลง่ ข้อมลู ยงั มคี วามหลากหลายมาก ยงิ่ ขนึ้ จงึ ท�ำใหก้ ารท�ำเหมอื งขอ้ มลู ตอ้ งกา้ วขา้ มขอบเขตของศาสตรแ์ ละสาขาวชิ าการและวงการวชิ าชพี และครอบคลมุ สง่ิ ตพี มิ พแ์ ละฐานขอ้ มลู จ�ำนวนมากและหลากหลายมากขนึ้ ดว้ ยเหตนุ ้ี นกั อนาคตศกึ ษา จงึ ตอ้ งพฒั นาเทคนคิ วธิ ใี นการระบุ คน้ หา และประมวลขอ้ มลู ทส่ี ามารถวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหใ์ หเ้ ปน็ ความรู้ทีใ่ ชป้ ระโยชนไ์ ด้ในการคาดการณแ์ ละตดั สนิ ใจเชงิ ยทุ ธศาสตร์ วิธิ ีีการหนึ่่ง� ในการได้ม้ าซึ่ง� ข่า่ วกรองหรือื ข้อ้ มูลู เชิงิ ลึกึ ที่ใ�่ ช้ใ้ นการวางแผนและการบริหิ ารจัดั การคือื การทำ�ำ เหมืืองข้อ้ มูลู (data mning) และการทำำ�เหมือื งข้้อความ (text mining) วิธิ ีีการทำำ�เหมืืองข้้อมูลู และข้้อความเป็็นหนึ่่�งในวิิธีีการสำ�ำ คััญของการวิิเคราะห์์เทคโนโลยีีสำำ�หรัับอนาคตที่่�ประกอบด้้วยการ ประเมินิ การพยากรณ์์ การคาดการณ์แ์ ละการสร้า้ งแผนที่น�่ ำ�ำ ทางด้า้ นเทคโนโลยีี (technology assessment, forecasting, foresight, and roadmapping) หลัักการพื้�นฐานของวิิธีีการทำ�ำ เหมืืองข้้อความคือื การเก็็บ รวบรวมและวิิเคราะห์์ข้อ้ มูลู จากแหล่่งต่่าง ๆ คล้้ายกัับวิธิ ีีการพื้�นฐานของการทบทวนวรรณกรรมแบบ ดั้�งเดิิม แล้้วจััดระบบและย่่อยข้้อมููลดิิบเพื่่�อวิิเคราะห์์หารููปแบบและเหตุุการณ์์สำ�ำ คััญ แนวคิิดพื้�นฐาน ของการทำำ�เหมือื งข้้อมูลู และเหมือื งข้้อความคล้า้ ยคลึึงกัับวิธิ ีีการกวาดสััญญาณ ทง้ั การท�ำเหมืองข้อมูลและการท�ำเหมอื งขอ้ ความเกี่ยวข้องกับการวเิ คราะห์ขอ้ มูล การท�ำเหมอื ง ขอ้ มลู หมายถงึ กระบวนการวเิ คราะหข์ อ้ มลู จ�ำนวนมากเพอ่ื คน้ หารปู แบบทมี่ คี วามหมาย ในขณะทกี่ าร ท�ำเหมืองข้อความมงุ่ วเิ คราะห์ข้อมลู เชิงขอ้ ความทีอ่ ยู่ในรูปแบบโครงสร้างไม่ชดั เจน (unstructured) ใหอ้ ยใู่ นรูปแบบท่มี ีโครงสร้างเพอื่ หาขอ้ คน้ พบเชิงลกึ การท�ำเหมืองขอ้ มูลโดยทั่วไปม่งุ ใชเ้ ครอ่ื งมือทาง สถติ ิท่ีวิเคราะหต์ ัวเลข ในขณะทกี่ ารท�ำเหมอื งขอ้ ความเนน้ การวิเคราะหท์ างภาษาศาสตร์ โดยเฉพาะ วากยสัมพันธ์ (syntax) และการวิเคราะหศ์ ัพท์ (lexicon) การกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศโดยเฉพาะขดี ความสามารถในการค�ำนวณโดยคอมพวิ เตอร์ ท�ำใหก้ ารวเิ คราะหแ์ ละประมวลผลขอ้ มลู จากฐานขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ปน็ ไปไดง้ า่ ยและมีประสทิ ธภิ าพ มากขึ้น ตัวอย่างหนึง่ คือวิธกี ารบรรณมิติหรือบรรณมาตร (bibliometrics) ซง่ึ ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคิดและ

119 | อนาคตศึกษา วธิ กี ารทางคณติ ศาสตร์และสถิติศาสตรใ์ นการวัดและประเมนิ สง่ิ ตีพมิ พ์ เช่น การวดั จ�ำนวนผลงานวจิ ยั และจ�ำนวนการอา้ งอิงผลงานวิจัยในสาขาหรอื หัวข้อทส่ี นใจ วิธกี ารท�ำเหมืองข้อความส่วนหนึ่งคล้าย กับการวิเคราะห์เนือ้ หา (content analysis) ซงึ่ เปน็ วธิ ีการวิจยั ทว่ี เิ คราะหร์ ปู แบบของการใช้ค�ำศพั ท์ หรอื ประโยค แตข่ ดี ความสามารถดา้ นคอมพวิ เตอรท์ �ำใหก้ ารวเิ คราะหเ์ นอื้ หาดว้ ยการท�ำเหมอื งขอ้ ความ ครอบคลมุ ปริมาณขอ้ มลู มากขนึ้ เรว็ ข้ึนและมีประสิทธภิ าพมากขึน้ การท�ำเหมืองข้อมูลวิเคราะห์ท้ังข้อมูลที่เป็นตัวเลขและมีโครงสร้าง (structured data) หรือ ข้อมูลที่ได้แบ่งเป็นเขตข้อมูลหรือฟิลด์ (field) ไว้แล้ว เช่น ผู้เขียน ปีเผยแพร่ ค�ำส�ำคัญ แต่รวมไปถึง ข้อมูลเชิงคุณภาพแบบโครงสร้างไม่ชัดเจน (unstructured qualitative data) เช่น ข้อความการ สนทนาและแลกเปลยี่ นบนกระดานสนทนาหรือเวบ็ บอรด์ (webboard) เปน็ ตน้ สาขาความเช่ียวชาญ ในการท�ำเหมอื งขอ้ มูลได้พฒั นามากข้ึน เช่น ภาษาศาสตรค์ อมพิวเตอร์ (computational linguistics) การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing - NLP) และ การค้นหาความรู้ในฐาน ข้อมูล (Knowledge Discovery in Databases) อนึ่ง การท�ำเหมืองข้อมูลและเหมืองข้อความถือ เป็นกระบวนการวิเคราะห์ที่เสริมประกอบซ่งึ กันและกัน และมุ่งวิเคราะห์ข้อมูลข้อมูลจ�ำนวนมากเพ่อื แก้ปัญหาหรือความท้าทายทางวิชาการหรือธุรกิจเช่นเดียวกัน แต่วิธีการท้ังสองเน้นวิเคราะห์ข้อมูลท่ี แตกต่างกัน โดยทวั่ ไป การท�ำเหมอื งขอ้ มลู เนน้ วเิ คราะหข์ อ้ มลู แบบมโี ครงสรา้ ง ในขณะทก่ี ารท�ำเหมอื งขอ้ ความ เน้นข้อมูลท่ีโครงสรา้ งไมช่ ดั เจน ทงั้ สองแนวทางพงึ่ การวเิ คราะห์ดว้ ยเครอื่ งมอื ทางสถิตศิ าสตร์ ปญั ญา ประดษิ ฐ์ และการเรยี นรู้ของเครื่อง (Machine Learning) แตใ่ นกรณขี องการท�ำเหมอื งข้อความ ต้อง ใช้เคร่ืองมือด้านการประมวลภาษาธรรมชาติเพ่มิ เติม เพ่ือแปลงข้อมูลดูเหมือนไม่มีโครงสร้างหรือมี โครงสรา้ งไม่ชดั เจนให้มีโครงสรา้ งทชี่ ดั เจนมากขน้ึ กอ่ นน�ำไปวิเคราะหด์ ว้ ยเคร่ืองมอื อน่ื ๆ วธิ กี ารท�ำเหมืองขอ้ มูลเพือ่ วเิ คราะห์และคาดการณ์ดา้ นเทคโนโลยี (tech mining) สามารถใชไ้ ด้ ในการวางแผนการพฒั นาเทคโนโลยแี ละการสรา้ งดชั นกี ารเปลย่ี นแปลงทเี่ กย่ี วขอ้ ง เชน่ ดชั นนี วตั กรรม (innovation indicators) ประเภทข้อมูลที่เลือกใช้ในการท�ำเหมืองข้อมูลข้ึนอยู่กับประเด็นหัวข้อ และวัตถุประสงค์การวิเคราะห์ ประเภทข้อมูลส�ำหรับการท�ำเหมืองข้อมูลในบริบทด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและและนวตั กรรมแบง่ ไดต้ ามประเภทเน้อื หา (เทคโนโลย/ี บรบิ ทของเทคโนโลยี) และแหลง่ ขอ้ มลู (ฐานข้อมลู /อนิ เทอรเ์ นต็ /คน) ได้ 6 ประเภท ไดแ้ ก8่ ปตารระาเภงททขี่ 7้อมูลด้านเทคโนโลยี ที่มา: Porter (2009)

อนาคตศึกษา | 120 ขั้นตอนและวิธกี าร การท�ำเหมืองข้อมูลด้านเทคโนโลยีใช้ประโยชน์จากแหล่งข้อมูลและช่องทางทั้งหมดท่ีแสดงในตาราง ท่ี 7 ทงั้ น้ี กระบวนการท�ำเหมอื งขอ้ มลู เพอ่ื ใชใ้ นการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรแ์ บง่ ออกเปน็ 4 ขน้ั ตอน หลักคือ (1) การเลือกแหล่งข้อความ (2) การเตรียมพร้อมข้อความ (3) การวิเคราะห์ข้อมูล และ (4) การแปลผล การเลือกแหล่งขอ้ ความ การเลือกแหล่งข้อความที่ใช้ในการวิเคราะห์เพ่ือศึกษาอนาคตขึ้นอยู่กับกรอบค�ำถามวิจัยหรือ หวั ขอ้ ทก่ี �ำหนดไวใ้ นตอนตน้ เมอื่ ก�ำหนดค�ำถามวจิ ยั ไดช้ ดั เจนแลว้ จงึ ตดั สนิ ใจวา่ จะตอบค�ำถามนนั้ ดว้ ย วธิ กี ารใด และการวเิ คราะหด์ ว้ ยแหลง่ ขอ้ ความจะใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไร แหลง่ ขอ้ ความทใ่ี ชไ้ ดม้ อี ยมู่ าก นบั ตง้ั แตบ่ ทความทวั่ ไป สง่ิ ตพี มิ พท์ ร่ี ะบมุ าตรฐานเทคโนโลยแี ละวทิ ยาศาสตร์ ไปจนถงึ ขอ้ ความบนโลก โซเชียลมีเดียต่าง ๆ แนวทางการค้นหาข้อความท่ีใช้ในการวิเคราะห์เพ่ือการคาดการณ์จะขึ้นอยู่ กับหัวข้อและประเด็นท่ีต้องการวิเคราะห์ ขอ้ ความบางประเภทสามารถเขยี นโปรแกรมและอลั กอรทิ มึ เพอื่ ชว่ ยในการค้นหาได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น เช่น ข้อความท่ีอยู่ในฐานข้อมูล เช่น สิทธิบัตร ลขิ สทิ ธ์ิ และมาตรฐานเทคโนโลยี และข้อความตามโซเชียลมีเดยี การพฒั นาอลั กอริทมึ ท่ที �ำใหร้ ะบบ คอมพวิ เตอรส์ ามารถเรยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง หรอื machine learning ไดท้ �ำใหก้ ารท�ำเหมอื งขอ้ มลู เปน็ ไป ไดง้ า่ ยยง่ิ ขนึ้ อยา่ งไรกต็ าม ในกรณที ตี่ อ้ งวเิ คราะหข์ อ้ ความในแหลง่ ขอ้ มลู แบบดง้ั เดมิ ทย่ี งั อยใู่ นรปู แบบ กระดาษ เชน่ รายงานของภาครฐั ยคุ กอ่ นดจิ ทิ ลั นกั วเิ คราะหย์ งั คงจ�ำเปน็ ตอ้ งใชว้ ธิ เี กบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง การเตรียมพรอ้ มขอ้ ความ กอ่ นที่จะวิเคราะห์ขอ้ ความได้ จ�ำเป็นตอ้ งมีการคัดกรอง (clean) และปรับเปลยี่ นข้อความให้อยู่ ในรปู แบบขอ้ มลู ทมี่ โี ครงสรา้ งทสี่ ามารถวเิ คราะหไ์ ด้ โดยเรมิ่ จากการแยกขอ้ ความออกเปน็ องคป์ ระกอบ ยอ่ ย ๆ เชน่ ค�ำศพั ท์ ขน้ั ตอนนเ้ี รยี กวา่ tokenization จากนน้ั จงึ น�ำองคป์ ระกอบยอ่ ยมาแสดงเปน็ เวก เตอร์ (vector) จากนน้ั จงึ เปน็ การตดั ค�ำดว้ ย stop words ซง่ึ เปน็ การลบค�ำทไ่ี มส่ �ำคญั ทง้ิ ไปจากขอ้ มลู หรอื ใชเ้ ทคนคิ อน่ื ๆ เชน่ stemming ซงึ่ เปน็ การตดั ค�ำใหอ้ ยใู่ นรปู แบบพน้ื ฐาน หรอื lemmatization ซึง่ เปน็ การลดความซับซอ้ นของค�ำจนอยใู่ นรูปแบบฐาน (root form) ในพจนานกุ รม จากน้นั จึงเป็นการ นบั และเกบ็ ความถ่ีของแต่ละค�ำเพอ่ื วเิ คราะห์ตอ่ ไป9 การวเิ คราะห์ข้อมลู ขน้ั ตอนทสี่ ามของการท�ำเหมอื งขอ้ ความคอื การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารทางสถติ ิ เชน่ การจ�ำแนก ประเภท (classification) และการวิเคราะห์กลุ่ม (clustering) ด้วยซอฟแวร์ต่าง ๆ เช่น R, SPSS, RapidMiner, Leximancer, VantagePoint เป็นตน้ การแปลผล ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์จะมีประโยชน์เม่ือมีการแปลผล แต่การแปลผลจากข้อมูลจ�ำเป็น ตอ้ งมกี รอบแนวคดิ ทม่ี าจากความรเู้ ชงิ สาระเกย่ี วกบั หวั ขอ้ นนั้ และเกยี่ วกบั วธิ กี ารทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ นอกจากน้ี ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการวเิ คราะหต์ อ้ งแปลผลตามบรบิ ทและขอบเขตของกระบวนการคาดการณ์

121 | อนาคตศกึ ษา ทดี่ �ำเนนิ การอยู่ การท�ำเหมอื งขอ้ ความเปน็ กระบวนการท�ำซำ�้ ซงึ่ ผลลพั ธก์ ารวเิ คราะหจ์ �ำเปน็ ตอ้ งมกี าร ค้นหาข้อมลู เพิ่มเตมิ เชน่ การสมั ภาษณ์ การประชมุ กล่มุ ยอ่ ย เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้อง ในองค์กรท่ี ด�ำเนนิ กระบวนการคาดการณเ์ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการวางแผนยทุ ธศาสตร์ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยเหมอื ง ข้อความสามารถท�ำใหเ้ ปน็ มาตรฐาน เพอ่ื ท�ำซ้�ำไดอ้ ยา่ งอตั โนมัติ ด้วยพัฒนาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการบรรจบกันของเทคโนโลยีที่เป็นพ้ืนฐานของ อตุ สาหกรรม 4.0 (industry 4.0) เชน่ อนิ เทอร์เน็ตของสรรพส่ิง (IoT) ปรมิ าณข้อมลู จะเกิดขน้ึ ในโลก มนุษย์อีกมากมายมหาศาล วิธีการท�ำเหมืองข้อมูลและเหมืองข้อความจะย่งิ ได้รับความนิยมมากขึ้น ในวงการอนาคตศึกษาและคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ เนื่องจากเป็นวิธีการท่ีขยายขอบเขตความรู้ของ มนษุ ยอ์ อกไปอกี โดยเฉพาะขอบเขตอนาคตทเ่ี ปน็ ไปได้

อนาคตศึกษา | 122 เดลฟาย เดลฟายเปน็ วธิ กี ารบกุ เบกิ ทที่ �ำใหอ้ นาคตศกึ ษาไดพ้ ฒั นาเปน็ ศาสตรแ์ ละสาขาวชิ าทมี่ รี ะบบและระเบยี บ วจิ ยั ทชี่ ดั เจน นกั วจิ ยั ในแรนดค์ อรป์ อเรชนั (RAND Corporation) ไดพ้ ฒั นาวธิ เี ดลฟายในชว่ งทศวรรษ ท่ี 1960 เพ่ือวิเคราะห์ศักยภาพของเทคโนโลยีทางทหาร รวมถึงประเด็นด้านการเมืองและแนวทาง จัดการกับสถานการณ์ด้านการทหารและความมั่นคง ก่อนหน้านั้น วิธีการวิเคราะห์ทางเลือกใน อนาคตมีอยจู่ �ำกัด เชน่ วธิ กี ารใชเ้ กมและสถานการณ์จ�ำลอง (simulation and games) โดยใหผ้ ูเ้ ขา้ ร่วมกระบวนการสวมบทบาทเป็นตัวแทนประเทศหรือกลุ่มการเมือง อีกวิธีหน่ึงคือวิธีการคาดการณ์ แบบอัจฉริยะ (genius forecasting) ซึ่งใหผ้ ูเ้ ชยี่ วชาญรายบุคคลหรอื รายกลุม่ แสดงความเห็นเกย่ี วกบั ประเดน็ ที่ตอ้ งการวเิ คราะห์ ในวงการวางแผนยคุ น้ัน การวิเคราะหเ์ ชงิ ปริมาณยงั ไม่ได้พฒั นาขึน้ เท่าใด นัก และคอมพิวเตอร์ยังมีขีดความสามารถจ�ำกัด นักวิจัยที่แรนด์เช่ือว่า ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ที่สอดคล้องกันน่าจะมีโอกาสถูกต้องและแม่นย�ำมากกว่าความเห็นของคนทั่วไปที่อยู่นอกวงการของ ศาสตร์หรอื วชิ าชพี น้นั แตอ่ ปุ สรรคส�ำคัญประการหนงึ่ ในการรวบรวมความเหน็ ของคนทีห่ ลากหลายคอื เมื่อผูเ้ ชี่ยวชาญ มาร่วมประชุมในห้องเดียวกัน การถกเถียงและอภิปรายกันซ่งึ ๆ หน้าอาจท�ำให้ผู้เชี่ยวชาญบางคนไม่ แสดงความเหน็ ที่แทจ้ ริงของตนเอง คณะนกั วจิ ัยของแรนด์ ซง่ึ น�ำโดยโอลาฟ เฮลเมอร์ (Olaf Helmer) จงึ พฒั นาวธิ กี ารรวบรวมและประมวลความเหน็ ของผเู้ ชยี่ วชาญโดยไมต่ อ้ งใหม้ ารว่ มประชมุ ในทเี่ ดยี วกนั นักั วิจิ ัยั ของแรนด์ต์ ีีพิมิ พ์เ์ ผยแพร่ผ่ ลงานการคาดการณ์จ์ ากการใช้ว้ ิธิ ีีการเดลฟายครั้�งแรกในรายงาน การพยากรณ์ร์ ะยะยาว (Report on a Long-Range Forecast) ใน พ.ศ. 2507 โดยนำ�ำ เสนอผลการ คาดการณ์์ระยะยาวเกี่่�ยวกัับการค้้นพบทางวิิทยาศาสตร์์และความก้้าวหน้้าทางเทคโนโลยีีครั้�งใหญ่่ใน ช่่วงหลััง พ.ศ. 2543 คณะผู้�เชี่ย่� วชาญที่เ่� ข้า้ ร่ว่ มในกระบวนการเดลฟายในครั้�งนั้�นมีีทั้้�งหมด 82 คน โดย มีตั้�งแต่น่ ักั วิทิ ยาศาสตร์แ์ ละนักั สังั คมศาสตร์ท์ ี่ม�่ ีีชื่่อ� เสีียงไปจนถึงึ นักั เขีียนนวนิยิ ายวิทิ ยาศาสตร์ช์ื่อ� ดังั เช่น่ ไอแซค อสิมิ อฟ (Isaac Asimov) และอาร์เ์ ธอร์์ คลาก (Arthur Clarke) และนักั อนาคตศาสตร์์ เช่น่ แบร์์ทร็็อง เดอ จูวู ีีเนล (Bertrand de Jouvenel)10 แม้้ว่า่ เหตุกุ ารณ์์และเทคโนโลยีีที่ค�่ าดการณ์ไ์ ว้ใ้ น รายงานดัังกล่่าวมีีทั้้�งที่่�เกิดิ ขึ้�นจริงิ และที่�ไ่ ม่่เกิิดขึ้�นเลยก็ต็ าม แต่โ่ ครงการศึึกษาดังั กล่่าวได้้ทำ�ำ ให้เ้ ดลฟาย กลายเป็็นวิิธีีการที่่�ได้้รัับการยอมรัับอย่่างแพร่่หลาย โดยเฉพาะในฐานะที่�่ทำ�ำ ให้้การคาดการณ์์อนาคตมีี กระบวนการที่เ่� ป็น็ ระบบและเป็น็ วิทิ ยาศาสตร์ม์ ากขึ้�น ต่อ่ จากนั้�นมา วิธิ ีีการเดลฟายได้ร้ ับั ความนิยิ มและ

123 | อนาคตศึกษา ใช้้งานอย่า่ งแพร่ห่ ลายไปทั่่ว� โลกจนถึึงปััจจุบุ ันั จากการสำ�ำ รวจฐานข้้อมููล Scopus ใน พ.ศ. 2551 พบว่า่ งานวิิจััยที่่�มีีผลงานตีีพิิมพ์์ 105 ฉบัับใช้้วิิธีีการเดลฟายเป็็นส่่วนหนึ่่�งของการศึึกษา โดยเฉพาะอย่่างยิ่�ง ในงานวิจิ ัยั ด้้านการแพทย์์11 จุดมุ่งหมายหลักของวิธีการเดลฟายคือการกระตุ้นให้เกิดการถกเถียงและอภิปรายกันอย่าง แท้จริง โดยไม่สนใจว่าผู้เข้าร่วมเป็นใครก็ตาม หลักการส�ำคัญของวิธีการนี้จึงอยู่ท่ีความเป็นนิรนาม (anonymity) หรือการปิดบังช่ือหรือตัวตนของผู้เข้าร่วมกระบวนการ ความเห็นต่าง ๆ จะประมวล และปอ้ นกลับ (feedback) ไปยงั กลุ่มผู้เชีย่ วชาญ เพื่อให้คณะผเู้ ชย่ี วชาญทั้งหมดรว่ มกันวเิ คราะหแ์ ละ ประเมินอกี รอบหนงึ่ วิธีการเดลฟายเหมาะส�ำหรับการคาดการณ์และประเมินภาพอนาคตระยะยาวประมาณ 20-30 ปี ของประเด็นท่ีเพงิ่ เกดิ ใหมแ่ ละยงั ไม่มหี ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ในปัจจุบนั เทา่ ใดนกั วิธีการนย้ี งั เหมาะสมส�ำหรบั ประเด็นที่ปัจจยั ภายนอก อาจท�ำให้เกิดผลกระทบอย่างมากตอ่ ทิศทางและระดับการ เปลยี่ นแปลงของประเดน็ นน้ั โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในกรณที ี่ปจั จยั ในดา้ นความคดิ เหน็ ของสงั คมมอี ทิ ธพิ ล มากกว่าองคป์ ระกอบด้านเทคนิคหรือดา้ นเศรษฐกิจ ระบบการคาดการณ์ร์ ะดับั ชาติใิ นหลายประเทศมีีการสำ�ำ รวจเดลฟายอยู่�เป็น็ ระยะ ๆ หนึ่่ง� ในนั้�นคือื ประเทศญี่ป่�ุ่�น ซึ่ง� ได้ใ้ ช้เ้ ทคนิคิ เดลฟายมานานกว่า่ 40 ปีตีั้�งแต่่ ค.ศ. 1970 สถาบันั นโยบายวิทิ ยาศาสตร์์ และเทคโนโลยีีแห่ง่ ชาติิ (National Institute of Science and Technology Policy – NISTEP) เป็น็ องค์ก์ รหลักั ที่ร่� ับั ผิดิ ชอบการคาดการณ์ร์ ะดับั ชาติิ โดยดำ�ำ เนินิ โครงการคาดการณ์ข์ นาดใหญ่ท่ ุกุ ๆ 5 ปีี และ ใช้เ้ ทคนิคิ เดลฟายเป็น็ วิธิ ีีการหลักั ในโครงการคาดการณ์ค์ รั้�งล่า่ สุดุ ใน พ.ศ.2562 มีผู้�เข้า้ ร่ว่ มกระบวนการ มากกว่า่ 6,697 คนที่่�เป็น็ ผู้�เชี่ย่� วชาญจากหลากหลายสาขาวิชิ าการและวิชิ าชีีพ และครอบคลุุมประเด็็น มากกว่า่ 700 เรื่�อง12 ข้นั ตอนและวิธีการ กระบวนการเดลฟายเรม่ิ ตน้ จากการก�ำหนดประเดน็ ทตี่ อ้ งการศกึ ษาหรอื คาดการณใ์ หช้ ดั เจนทสี่ ดุ เพอ่ื ระบทุ ง้ั ขอบเขตศาสตรแ์ ละสาขาทตี่ อ้ งการวเิ คราะห์ รวมถงึ รายชอ่ื ผเู้ ชย่ี วชาญทต่ี อ้ งการเชญิ ใหเ้ ขา้ รว่ ม กระบวนการ สงิ่ ส�ำคญั ทต่ี อ้ งแจง้ ผเู้ ชย่ี วชาญคอื การปกปดิ ชอื่ และตวั ตนของผรู้ ว่ มเขา้ กระบวนการ เพือ่ ใหผ้ ู้เชีย่ วชาญสามารถตอบค�ำถามไดอ้ ย่างอสิ ระ เมื่อก�ำหนดขอบเขตและรายช่อื ผเู้ ชย่ี วชาญแลว้ คณะ ท�ำงานจงึ รา่ งค�ำถามส�ำหรับแบบสอบถามที่จัดส่งไปให้ผเู้ ช่ียวชาญตอบเปน็ ชดุ ๆ ต่อเนื่องกัน ชุดค�ำถามท่ีส่งไปให้ผู้เชี่ยวชาญถือเป็นหัวใจของกระบวนการเดลฟาย สมมติว่าค�ำถามหลักท่ีนัก วิจัยต้องการทราบคือปีที่ประเทศไทยจะก้าวพ้นกักดับรายได้ปานกลางและเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือปีท่ีบริการแท็กซี่ในกรุงเทพฯ จะใช้รถยนต์ไร้คนขับเป็นส่วนใหญ่ ค�ำถามดังกล่าวจะปรากฏ อยู่ในแบบสอบถามชุดแรก ค�ำตอบของผู้เชี่ยวชาญจะระบุปีที่คาดว่าเหตุการณ์นั้นจะเกิดขึ้น จากนั้นนักวิจัยจะรวบรวมและประมวลค�ำตอบเหลา่ น้ี แล้วแสดงออกมาเป็นพสิ ยั (range) หรอื ช่วงปี ทผ่ี เู้ ชี่ยวชาญตอบมา แบบสอบถามชุดทีส่ องทสี่ ่งไปให้ผู้เชย่ี วชาญกลุ่มเดิม จะแสดงช่วงปที ี่ประมวลมา ขั้นตอนน้ีจะเน้นถามผู้เชี่ยวชาญท่ีให้ค�ำตอบที่สูงท่ีสุดและต�่ำที่สุด หรือคนที่ให้ค�ำตอบท่ีมีค่าห่างจาก ค่าเฉลย่ี มากใหท้ บทวนค�ำตอบของตัวเอง เม่อื เปรยี บเทียบกับค�ำตอบของกลมุ่ ผ้เู ชีย่ วชาญทง้ั หมดแล้ว

อนาคตศกึ ษา | 124 ผู้เช่ยี วชาญกล่มุ นีอ้ าจปรบั ค�ำตอบของตนเอง หรอื ใหค้ �ำอธบิ ายเพ่มิ เติมว่า ท�ำไมค�ำตอบของตนเองจึง แตกต่างจากกล่มุ คณะผ้เู ช่ียวชาญอ่ืนมาก จากนน้ั คณะผูว้ ิจยั จะสังเคราะหเ์ หตุผลเหลา่ น้ี เพอื่ น�ำไปสรา้ งชดุ ค�ำถามรอบท่สี าม ซึ่งน�ำเสนอ ท้งั ช่วงปที ี่ไดป้ ระมวลมาจากรอบทีส่ อง และค�ำอธบิ ายของค�ำตอบทีแ่ ตกต่างมากจากคนอนื่ ชดุ ค�ำถาม รอบที่สามอาจเปิดโอกาสให้คนอื่นโต้แย้งค�ำตอบและค�ำอธิบายท่ีน�ำเสนอไป โดยใช้ข้อมูลหรือข้อเท็จ จรงิ ทมี่ ีอยู่ ข้อโตแ้ ย้งเหล่าน้จี ะน�ำเสนอต่อไปในชดุ ค�ำถามรอบทีส่ ่ีและหา้ รวมท้ังประเดน็ ทีท่ ัง้ กลุ่มเหน็ พ้องกันเปน็ ฉันทามติ วธิ กี ารคาดการณแ์ บบเดลฟายนยั หนึง่ เปน็ การเปดิ ใหม้ กี ารโตแ้ ยง้ กนั ภายใตส้ ถานการณท์ นี่ กั วจิ ยั สามารถควบคมุ ได้ แนวทางนที้ �ำใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ นและปอ้ นขอ้ มลู กลบั ไปกลบั มาเกยี่ วกบั ความเหน็ ท่ีสุดขั้วหรือแตกต่างมากจากความเห็นของคนอื่น ๆ จนกระทั่งสามารถสร้างฉันทามติได้ระดับหนึ่ง ภายในกลุ่มผ้เู ชีย่ วชาญนั้น แม้วา่ ในบางกรณี ฉันทามตอิ าจไมเ่ กดิ ข้ึนกต็ าม แตว่ ธิ ีการเดลฟายท�ำใหน้ ัก วิจัยและผู้เข้าร่วมกระบวนการเห็นถึงเหตุผลและข้อสมมติอย่างชัดเจนมากขึ้น ข้อค้นพบในส่วนน้ีมี ประโยชน์อยา่ งมากในการน�ำเอาผลลัพธจ์ ากการคาดการณด์ ้วยวธิ กี ารเดลฟายไปใช้ต่อในการวางแผน ยุทธศาสตร์และนโยบาย เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการประชุมเชิงปฏิบัติการและการประชุมกลุ่มย่อย วิธีการเดลฟายเปิด โอกาสให้ผู้เข้าร่วมกระบวนการมีเวลาตรึกตรองและเก็บข้อมูลเพ่ิมขึ้นในช่วงระหว่างการส�ำรวจเดล ฟายแตล่ ะรอบ จงึ เปน็ วธิ กี ารทม่ี ีประสทิ ธภิ าพในการวเิ คราะหเ์ ชงิ ลกึ และการจดั ล�ำดบั ความส�ำคญั ดว้ ย ฉนั ทามติจากความเหน็ ของผูเ้ ชี่ยวชาญท่ีเขา้ ร่วมในกระบวนการ วิธีการเดลฟายให้ความส�ำคัญกับเกณฑ์ในการเลือกผู้เชี่ยวชาญท่ีเข้าร่วมในกระบวนการส�ำรวจ และการออกแบบกระบวนการใหม้ นั่ ใจไดว้ า่ ผเู้ ขา้ รว่ มเขา้ ใจวตั ถปุ ระสงคข์ องกระบวนการเดลฟาย และ ยนิ ดเี ขา้ ร่วมในทุกขั้นตอนของกระบวนการ เนอื่ งจากวธิ กี ารเดลฟายมงุ่ เนน้ ทค่ี วามเหน็ ของผเู้ ชย่ี วชาญ แนวคดิ พนื้ ฐานจงึ แตกตา่ งอยา่ งชดั เจน จากวธิ กี ารศกึ ษาอนาคตทเี่ นน้ เครอ่ื งมอื ทางสถติ ิ จ�ำนวนผเู้ ขา้ รว่ มกระบวนการเดลฟายมกั มนี อ้ ย ผลลพั ธ์ จากการท�ำเดลฟายจึงไม่สามารถน�ำไปท�ำนายว่า ในกลุ่มประชากรที่ใหญ่กว่านั้น ผลลัพธ์จะเป็น อย่างไร แม้แต่ในกรณีที่เปล่ียนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเป็นกลุ่มอื่น ผลลัพธ์ของกระบวนการเดลฟายอาจ แตกต่างกัน ข้อค้นพบจากกระบวนการเดลฟายจึงเป็นเพียงผลการประมวลความเห็นของคนกลุ่ม หนึ่งเท่านั้น แต่นน่ั ไมไ่ ด้หมายความวา่ กระบวนการเดลฟายไมม่ ีประโยชนแ์ ละไมน่ า่ เชือ่ ถอื เพราะจุด มงุ่ หมายส�ำคญั ของวธิ กี ารนค้ี อื การคน้ หาแนวคดิ เกย่ี วกบั อนาคต ทง้ั ทไ่ี ดร้ บั ฉนั ทามตจิ ากคนในกลมุ่ หรอื ท่แี ตกต่างอย่างมากจากความเห็นอื่น ๆ ค�ำถามพน้ื ฐานของวธิ กี ารเดลฟายเพอื่ การคาดการณแ์ ละวางแผนอนาคตแบง่ ออกเปน็ สามประเภท ไดแ้ ก่ 1. การคาดการณ์เหตุการณ์ที่น่าจะเกิดข้ึนในอนาคต ค�ำถามหลักคือเหตุการณ์หรือปัจจัยน้ัน จะเกิดข้ึนเม่ือใด รวมถึงคุณลักษณะ รูปแบบ และระดับของเหตุการณ์หรือปัจจัยนั้นจะ เป็นอย่างไร

125 | อนาคตศึกษา 2. ความพงึ ประสงคข์ องสถานการณใ์ นอนาคต ค�ำถามหลกั คอื เหตกุ ารณห์ รอื ปจั จยั หนง่ึ สมควร ที่จะเกดิ ขึน้ หรอื ไม่ ด้วยเหตผุ ลอะไร 3. วธิ ีการบรรลุหรอื หลกี เล่ียงสถานการณใ์ นอนาคต ค�ำถามหลักคอื ถา้ เหตกุ ารณ์หน่งึ สมควร เกดิ ขน้ึ จะตอ้ งด�ำเนนิ นโยบายหรอื กจิ กรรมอะไรบา้ งเพอ่ื ท�ำใหส้ ง่ิ นนั้ เกดิ ขน้ึ จรงิ และบรรลุ เปา้ หมายทต่ี ัง้ ไว้ ในทางกลับกัน ถ้าหากไมค่ วรเกิดข้ึน ควรต้องท�ำอะไรบ้างเพ่ือหลกี เลย่ี ง หรอื ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ หตกุ ารณน์ นั้ เกดิ ขน้ึ ค�ำถามในสว่ นนอ้ี าจครอบคลมุ ถงึ ระดบั ความเปน็ ไป ได้ท่ีนโยบายจะท�ำใหส้ ามารถบรรลเุ ป้าหมายได้ ค�ำถามท้ังสามกลุ่มอาจต้องใช้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญคนละกลุ่ม เน่อื งจากแต่ละเร่อื งต้องการค�ำตอบท่ี แตกต่างกัน บางค�ำถามอาจต้องการผู้เช่ียวชาญในเชิงวิชาการท่ีมองเห็นภาพกว้างไกลและข้ามสาขา วชิ า บางค�ำถามอาจตอ้ งการประสบการณเ์ ชงิ ปฏบิ ตั แิ ละความเขา้ ใจในปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ การน�ำนโยบาย ไปด�ำเนนิ การใช้จรงิ วิธีการเดลฟายอาจประยุกต์ใช้วิธีการสอบถามและรวบรวมความเห็นของผู้เช่ียวชาญด้วยวิธี การอ่ืนนอกจากการใช้แบบสอบถาม เช่น การสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้เช่ียวชาญ โดยเชิญให้เข้าร่วม กระบวนการโดยไม่เปิดเผยชื่อและตัวตน การสัมภาษณ์เชิงลึกอาจด�ำเนินการสองครั้ง ถ้าสามารถจัด เวลาได้ แต่โดยมากมักเปน็ การสมั ภาษณค์ รงั้ เดียว โดยใชว้ ิธถี ามทีเ่ รยี กวา่ feed-forward คือการต้ัง ค�ำถามและให้ข้อมูลท่ีได้มาจากการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญคนอ่ืน มารอบหน่ึงแล้ว และ เป็นความเห็นที่เริ่มสอดคล้องกัน แม้ว่าความเห็นจากการสัมภาษณ์อาจแตกต่างกันมาก แต่ไม่ถือว่า เป็นปัญหา เพราะวัตถุประสงค์ของวิธีการเดลฟายคือเพื่อหาแนวคิดที่ส�ำคัญส�ำหรับการวิเคราะห์ขั้น ต่อไป ไม่ใช่การสร้างข้อมูลจ�ำนวนมากเพ่ือการวิเคราะห์เชิงสถิติ ข้อดีของการสัมภาษณ์เชิงลึกคือ ผู้วจิ ัยสามารถสอบถามเพิม่ เติมได้ โดยเฉพาะในกรณที ต่ี ้องการทราบถงึ เหตผุ ลของความคิดเหน็ ของผู้ เช่ียวชาญ และในกรณีทีไ่ ด้ค�ำตอบท่ไี ม่คาดหมายมาก่อน นอกจากข้อมูลหลักที่ได้จากการส�ำรวจความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญแล้ว กระบวนการเดลฟาย จ�ำเป็นต้องมีการวิจัยเอกสารเบื้องต้น เพื่อประมวลแนวโน้มและปัจจัยไม่แน่นอนเบ้ืองต้นที่จะใช้ใน การส�ำรวจความเหน็ นอกจากนี้ การประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยเพือ่ การท�ำเดลฟายสามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ครือ่ งมอื สารสนเทศสมัยใหม่ด้วยซอฟต์แวร์หรือแอปพลิเคชันออนไลน์ ท่ีเปิดให้ผู้เข้าร่วมประชุมมีปฏิสัมพันธ์ กันได้ โดยยงั คงหลกั การพนื้ ฐานของการป้อนกลับขอ้ มูล ในบางกรณีผเู้ ขา้ ร่วมสนทนาอาจเปดิ เผยตวั ตน แต่มวี ิธกี ารใหแ้ ต่ละคนสามารถลงคะแนนเสยี งอย่างอิสระดว้ ยช่องทางออนไลน์ แม้กระท่งั การใช้ แบบสอบถามในการส�ำรวจความคดิ เห็นเรม่ิ ใช้แบบสอบถามออนไลน์มากขนึ้ เพอื่ ลดระยะเวลาในการ ส�ำรวจและการวิเคราะหข์ ้อมลู จากผตู้ อบแบบสอบถาม วิธีเดลฟายแบบเรียลไทม์ อกี วธิ กี ารหนง่ึ ทพ่ี ฒั นามาจากวธิ เี ดลฟายคอื วธิ เี ดลฟายแบบเรยี ลไทมห์ รอื เวลาจรงิ (real-time Delphi) คณะผวู้ ิจยั ในโครงการมลิ เลนเนยี มโปรเจกต์ (The Millennium Project) ของสมาพันธ์แหง่ สมาคม สหประชาชาตโิ ลก (World Federation of United Nations Associations) ได้พัฒนาวธิ กี ารนี้ โดย

อนาคตศกึ ษา | 126 ยึดหลกั การพื้นฐานเหมอื นกับวิธีการเดลฟายทัว่ ไป คอื การใชแ้ บบสอบถามทีส่ ง่ ไปยงั ผเู้ ชย่ี วชาญทไี่ ม่ เปิดเผยตวั ตนและมีการป้อนกลับขอ้ มูล13 ขอ้ แตกต่างจากแบบดงั้ เดิมคอื ผู้เขา้ ร่วมกระบวนการทุกคน สามารถเข้าถึงแบบสอบถามบนเว็บไซต์ เม่อื กรอกค�ำตอบบนเว็บไซต์แล้ว ระบบเดลฟายจะส่งข้อมูล ไปยังฐานข้อมูลบนเซิร์ฟเวอร์ (server) ที่ประมวลผลทันที แล้วจึงส่งผลการค�ำนวณกลับไปยังผู้เข้า ร่วมกระบวนการทุกคน พร้อมกันน้ีทุกคนจะเห็นค่าเฉลี่ยหรือพิสัยของค�ำตอบ รวมทั้งเหตุผลทั้งหมด ท่แี ต่ละคนได้ให้ไว้ วิธีเดลฟายแบบเรียลไทม์ไม่ได้มีการส�ำรวจเป็นรอบ เหมือนวิธีการเดลฟายแบบดั้งเดิม แต่ผู้เข้า รว่ มสามารถเปลีย่ นค�ำตอบและเหตุผลของตนเองได้ เม่ือไดเ้ ห็นผลลพั ธท์ เี่ ป็นค่าเฉล่ยี หรอื พิสยั ของค�ำ ตอบของคนอน่ื ในกลมุ่ แตล่ ะคนอาจเปลย่ี นค�ำตอบของตนเองไดเ้ สมอ หลกั การพน้ื ฐานของวธิ กี ารเดล ฟายยงั คงมอี ยใู่ นวธิ กี ารแบบเรยี ลไทม์ ทง้ั ความเปน็ นริ นาม การปอ้ นกลบั ขอ้ มลู และผลลพั ธ์ และการน�ำ เสนอผลลพั ธใ์ หก้ บั ผเู้ ขา้ รว่ มกระบวนการ ขอ้ ดขี องการท�ำเดลฟายแบบเรยี ลไทมค์ อื ความสะดวกรวดเรว็ และสามารถใช้ได้กับผู้เช่ียวชาญจ�ำนวนมากท่ีอยู่ในหลายพ้ืนท่ีพร้อมกันหรือแม้แต่ทั่วโลก แต่ต้องมี การเตรยี มพรอ้ มดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ทง้ั เวบ็ ไซต์ ฐานขอ้ มลู และความสามารถในการประมวลผลทนั ที

127 | อนาคตศกึ ษา วงลอ้ อนาคตและรปู อนาคตหลายเหลย่ี ม วงล้ออนาคต (Futures Wheel) เปน็ วธิ กี ารคาดการณท์ ใี่ ชว้ ิเคราะห์และแสดงผลลพั ธแ์ ละผลกระทบ ของแนวโน้ม เหตุการณ์ และประเดน็ อบุ ัตใิ หม่ รวมถงึ การตดั สินใจท่ีอาจเกดิ ข้นึ ในอนาคต ผลกระทบ ดังกล่าวมีท้ังผลกระทบโดยตรงและโดยอ้อมหลายทอด นักอนาคตศาสตร์ เจอโรม เกลน (Jerome Glenn) พฒั นาวิธีการน้ีใน พ.ศ. 2514 ซงึ่ ต่อมากลายเปน็ วิธกี ารหน่ึงทีน่ ิยมใช้ในการประชุมเชิงปฏิบัติ การท่ีช่วยกระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมประชุมวิเคราะห์และพิจารณาผลกระทบในอนาคต และสร้างข้อมูลที่ เป็นประโยชนส์ �ำหรบั กระบวนการวเิ คราะห์นโยบายและการคาดการณ์เพ่ือก�ำหนดนโยบาย วธิ กี ารน้ี ตอ่ มาไดร้ ับการพฒั นาและประยุกต์ใช้ในดา้ นอนาคตศึกษาและการวางแผนด้านต่าง ๆ และมีชือ่ เรียก อื่น เชน่ วงลอ้ การด�ำเนนิ การ (Implementation Wheel) วงล้อผลกระทบ (Impact Wheel) แผนที่ ความคดิ (Mind Map) และการโยงใยผลกระทบ (Webbing) วธิ กี ารวงลอ้ อนาคตเปน็ วธิ กี ารทใ่ี ชไ้ ดง้ า่ ย ไมซ่ บั ซอ้ นยงุ่ ยาก ใชเ้ พยี งกระดาษเปลา่ และปากกา แต่ เปน็ เครอื่ งมอื ทท่ี รงพลงั และใชป้ ระโยชนไ์ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี จงึ ไดร้ บั ความนยิ มมากในหมนู่ กั อนาคตศาสตรท์ ัว่ โลก ทงั้ ในดา้ นการเรยี นการสอนดา้ นอนาคตศาสตรแ์ ละการวางแผน รวมถงึ การใชง้ านจรงิ เพือ่ วางแผน นโยบายสาธารณะและการด�ำเนนิ ธรุ กจิ ของบรษิ ทั เอกชน ทง้ั ในการระบถุ งึ ปญั หาและโอกาสในอนาคต สนิ คา้ และการบรกิ ารใหม่ และช่องทางตลาดใหม่ รวมถงึ การประเมินทางเลอื กยทุ ธศาสตรแ์ ละกลยทุ ธ์ ใหม่ วงลอ้ อนาคตมคี วามคล้ายคลงึ กับการวาดแผนท่ีความคิด (mind mapping) ซ่งึ แสดงผลกระทบ สืบเนื่องเป็นเส้นตรงจากเหตุการณ์หรือแนวโน้มตั้งต้น ในขณะท่ีวงล้ออนาคตแสดงความสัมพันธ์เป็น วงกลม แผนที่ความคิดใช้ได้ดีในการส�ำรวจความคิด แต่ไม่ได้แบ่งแยกผลกระทบเป็นล�ำดับขั้นดังใน กรณขี องวธิ วี งล้ออนาคต วงลอ้ อนาคตเปน็ วธิ กี ารระดมสมองแบบมโี ครงสรา้ ง (structured brainstorming) ทใ่ี ชต้ ง้ั ค�ำถาม และหาค�ำตอบเกี่ยวกับอนาคต ข้ันตอนเริ่มแรกคือการเขียนชื่อแนวโน้มหรือเหตุการณ์ในวงกลมตรง กลางกระดาษ แล้วจึงลากเส้นออกจากวงกลมนั้นคล้ายกับซ่ีวงล้อ แล้วจึงเขียนผลกระทบโดยตรง ในข้ันแรกตรงปลายซ่ีล้อน้ัน ต่อจากน้ัน จึงลากเส้นต่อไปอีกเพ่ือแสดงผลกระทบข้ันต่อไป ดั่งเป็นวง ล้อวงที่สอง ท�ำเช่นน้ีต่อไปเร่ือย ๆ จนเห็นภาพท่ีชัดเจนและครอบคลุมของผลกระทบของเหตุการณ์ หลกั ทเี่ ขียนไว้ตรงกลางวงล้อน้นั

อนาคตศกึ ษา | 128 ตแัวผอนยภ่าางพภทา่ีพ6วงลอ้ อนาคต ทม่ี า: Belfo et al. (2015) วิธีการวงล้ออนาคตนอกจากใช้วิเคราะห์ผลกระทบท่ีมีโอกาสเกิดขึ้นจากแนวโน้มหรือเหตุการณ์ ในปัจจุบนั หรอื ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคตอย่างครอบคลมุ แลว้ ยงั ใช้ในการพยากรณ์และฉายรายละเอยี ด ของฉากทัศนใ์ นอนาคต โดยสะสางความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนระหว่างองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ และการพัฒนา แนวคิดใหม่จากแนวคิดที่มีอยู่แต่เดิม อีกท้ังยังเป็นวิธีการท่ีสามารถสร้างการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ สว่ นเสยี ไปพรอ้ มกนั ในการนี้ คณะท�ำงานจะเลอื กฉากทศั นท์ ส่ี นใจและประเดน็ ในฉากทศั นน์ นั้ ทตี่ อ้ งการ ขยายความ แลว้ ด�ำเนนิ กระบวนการระดมสมองเพอ่ื ระบผุ ลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ จากเหตกุ ารณห์ รอื แนวโนม้ ในฉากทศั นน์ น้ั จากนน้ั คณะท�ำงานอาจวเิ คราะหป์ ระเดน็ เดยี วกนั ในฉากทศั นอ์ น่ื เพอ่ื เปรยี บเทยี บราย ละเอยี ดของแตล่ ะฉากทัศนส์ �ำหรับการประเมนิ ทางเลอื กในเชงิ ยทุ ธศาสตรต์ ่อไป

129 | อนาคตศกึ ษา ตแัวผอนยภ่าางพวทงล่ี 7อ้ อนาคตของนวตั กรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ที่มา: Belfo et al. (2015) ข้นั ตอนและวิธีการ การระดมสมองเพื่อจัดท�ำวงล้ออนาคตเร่ิมจากการก�ำหนดประเด็นท่ีต้องการวิเคราะห์ ซึ่งอาจเป็น ปัจจัย แนวโน้ม แนวคิด หรือเหตุการณ์อะไรบางอย่างที่สนใจ กระบวนการระดมสมองเร่มิ จากการ เขียนประเด็นดังกล่าวตรงกลางกระดาษ ฟลิปชาร์ท กระดาน หรือใช้โปรเจกต์เตอร์ผ่านคอมพิวเตอร์ จากน้ัน กระบวนกร (facilitator) หรือผู้ด�ำเนินการประชุมเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมน�ำเสนอ ผลกระทบหรือผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเกิดข้ึนโดยตรงจากเหตุการณ์หรือปัจจัยเร่ิมต้นน้ัน แล้วจึงวาดเส้น ตรงเหมอื นซลี่ อ้ จากวงกลมตรงกลาง จงึ ลากเสน้ เชอ่ื มผลกระทบขน้ั แรกเขา้ ดว้ ยกนั เปน็ วงกลมหรอื วงรี จากน้ัน กระบวนกรจะขอให้ผู้เข้าประชุมลืมปัจจัยต้ังต้นที่อยู่ตรงกลางวงล้อไปก่อน แล้วเสนอ ผลกระทบขน้ั ตอ่ ไปทคี่ ดิ วา่ จะเกดิ ขน้ึ จากผลกระทบขนั้ แรก เมือ่ ไดผ้ ลกระทบขน้ั ทสี่ องแลว้ จงึ ลากเสน้ วงกลมอกี วงหน่ึง ผู้จัดการประชมุ สามารถก�ำหนดจ�ำนวนวงรอบของวงลอ้ ไดต้ ามความเหมาะสมของ เวลาและทรพั ยากรทม่ี อี ยู่ หลกั การพน้ื ฐานของการระดมสมองเพือ่ สรา้ งวงลอ้ อนาคตคอื การเปดิ โอกาส ให้ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ สามารถเสนอความคดิ เหน็ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระในชว่ งแรก โดยไมป่ ระเมนิ วา่ ประเดน็ ท่ีน�ำ เสนอมาถูกตอ้ งหรือไม่ หรือมีความเปน็ ไปได้มากนอ้ ยขนาดไหน จากนน้ั จึงใชว้ ิธกี ารใดวิธีการหนึ่งใน การอภปิ รายระหวา่ งผู้เข้ารว่ มประชมุ เพือ่ ประเมินและตัดสนิ ใจรว่ มกันวา่ ประเด็นไหนมีความเป็นไป ได้มากกวา่ กนั คลา้ ยกับขน้ั ตอนการสร้างความชัดเจนในกระบวนการระดมสมองท่ัวไป

อนาคตศึกษา | 130 อกี วธิ กี ารหนง่ึ คอื กอ่ นที่จะเขยี นผลกระทบใดลงไปในกระดาษ กระบวนกรอาจเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มประชมุ อภปิ รายกนั เพอ่ื เลอื กผลกระทบทค่ี ดิ วา่ นา่ จะมโี อกาสเกดิ ขนึ้ จรงิ ถา้ ทกุ คนในกลมุ่ เหน็ ดว้ ย ว่า ปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งน่าจะเกิดขึ้นจริง จึงระบุและบันทึกลงไปในวงล้ออนาคต ที่ประชุมอาจใช้หลัก เกณฑ์ฉันทามติในการเลอื กประเด็นที่จะเขียนลงไปในวงล้ออนาคต และเพือ่ ตดั ประเดน็ ทไี่ มน่ า่ จะเกดิ ขึน้ ออกไป เพื่อให้กระบวนการกระชบั และมีประสทิ ธภิ าพมากข้ึน การแสดงล�ำดับขั้นของผลกระทบเป็นข้ันท่ีหนึ่ง สองและสาม อาจใช้วิธีการอื่นแทนการสร้าง วงกลมเป็นรอบ ๆ ได้ เช่น การใช้ลูกศรสองเส้นระหว่างผลกระทบขั้นท่ีหน่ึงกับข้ันที่สอง และลูกศร สามเส้นระหว่างผลกระทบข้ันที่สองกับข้ันที่สาม ข้อดีของวิธีการน้ีคือสามารถแสดงผลกระทบไขว้ (cross impact) ได้ ตแวัผอนยภา่ างพวทิธี่ีก8ารแสดงวงล้ออนาคตท่ีใช้จำ�นวนลกู ศรแทนลำ�ดับขั้นของผลกระทบ ทมี่ า: David Snyder U.S. National Security Agency อ้างใน Glenn (2009a) วงลอ้ อนาคตเปน็ วธิ กี ารทด่ี �ำเนนิ การไดง้ า่ ยโดยไมต่ อ้ งใชเ้ ครอื่ งมอื อะไรเปน็ พเิ ศษ และไมต่ อ้ งมกี าร ฝกึ อบรมอะไรเปน็ พเิ ศษ ในขณะทผี่ เู้ ขา้ รว่ มประชมุ สามารถเขา้ ใจวธิ กี ารและกระบวนการไดง้ า่ ย วธิ กี าร นสี้ ามารถใชไ้ ดใ้ นแทบทกุ ขน้ั ตอนทตี่ อ้ งการท�ำความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณแ์ ละ แนวโนม้ ในกระบวนการคาดการณ์ จึงเปน็ เครอื่ งมอื ท่มี ีความยืดหยุ่นและใช้ได้ดีในหลายสถานการณ์ วงล้ออนาคตสามารถใช้ได้ในการสร้างวงจรสะท้อนกลับ (feedbook loop) ทั้งเชิงบวกและ เชิงลบ ซึ่งแสดงผลกระทบขั้นต่อ ๆ ไปท่ีย้อนกลับมาที่จุดเริ่มต้น การวิเคราะห์ความเชื่อมโยงเชิงเหตุ และผลด้วยวิธีการวงล้ออนาคตสามารถพัฒนาต่อเป็นผังพลวัตระบบ (system dynamics) ส�ำหรับ

131 | อนาคตศึกษา การวิเคราะห์เชิงปริมาณต่อไปได้ วิธีการวงล้ออนาคตเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมกระบวนการสามารถคิด วิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ ได้ด้วยกรอบแนวคิดเชิงระบบโครงข่ายท่ีมีความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์ที่ซับ ซ้อนและยืดหยุ่น แทนที่จะเป็นระบบแบบง่ายที่ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเป็นแบบเส้นตรงและมี ล�ำดับศกั ย์ นอกจากนี้ รูปแบบความสัมพนั ธท์ ี่ปรากฏออกมาในวงลอ้ อนาคตอาจขัดแย้งซ่ึงกนั และกัน ซึ่งอาจใช้เปน็ พืน้ ฐานในการวเิ คราะหท์ างเลอื กเชงิ ยุทธศาสตร์ วิธกี ารวงลอ้ อนาคตจงึ สะทอ้ นพ้ืนฐาน ด้านทฤษฎีเชิงระบบแบบซับซ้อนและมีพลวัต อีกทั้งยังเป็นวิธีการที่แสดงภาพความสัมพันธ์ท่ีเข้าใจได้ งา่ ยและสอ่ื สารได้อย่างชดั เจน อยา่ งไรกต็ าม ในกระบวนการเชอ่ื มตอ่ ปจั จยั ตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั เปน็ วงลอ้ อนาคต ความซบั ซอ้ นทเ่ี กดิ ข้ึนอาจท�ำให้ผู้เข้าร่วมกระบวนการหรือกระบวนกรไม่สามารถสร้างรูปแบบของภาพอนาคตท่ีเข้าใจได้ แมว้ า่ จดุ แขง็ ของวธิ กี ารนอี้ ยทู่ ก่ี ารคน้ พบรปู แบบความสมั พนั ธท์ ชี่ ดั เจนของปจั จยั ตา่ ง ๆ ในภาพอนาคต แต่กระบวนการระดมสมองอาจท�ำให้ประเด็นที่ปรากฏมีความซับซ้อนเกินไปจนไม่สามารถสร้างภาพ ความสมั พนั ธท์ ชี่ ดั เจนขนึ้ ได้ การใชว้ ธิ กี ารวงลอ้ อนาคตจงึ ตอ้ งระวงั ไมใ่ หป้ ระเดน็ ตา่ ง ๆ ซบั ซอ้ นจนเกนิ ไป ขอ้ จ�ำกดั อกี ประการหนงึ่ ของวิธีการวงลอ้ อนาคตคอื ผลลพั ธจ์ ากการระดมสมองข้ึนอย่กู ับความรู้ และความสามารถของคนทเี่ ขา้ รว่ มกระบวนการ ไม่เฉพาะในการระบุปจั จัยหรอื ผลกระทบท่ีส�ำคัญ แต่ รวมไปถงึ การเข้าใจผดิ ว่า ปัจจยั ต่าง ๆ มคี วามสมั พนั ธ์เป็นแบบเหตแุ ละผล (causation) แตใ่ นความ เป็นจริงแล้วเป็นแบบสหสัมพันธ์ (correlation) นอกจากนี้ ผลกระทบที่แสดงในวงล้ออนาคตอาจไม่ แสดงถงึ จงั หวะเวลาและความเปน็ ไปไดข้ องการเกดิ ผลกระทบ โดยเฉพาะเมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ผลกระทบอนื่ ข้อจ�ำกัดนี้ท�ำให้นักอนาคตศาสตร์ได้พัฒนาวิธีการรูปอนาคตหลายเหลี่ยมข้ึนมา เพื่อแก้ไขข้อจ�ำกัด เกี่ยวกบั ชว่ งเวลาและระดบั ความเปน็ ไปไดข้ องผลกระทบตา่ ง ๆ รูปอนาคตหลายเหลย่ี ม วธิ กี ารศกึ ษาอนาคตแบบรปู อนาคตหลายเหลยี่ ม (Futures Polygon) พฒั นามาจากวธิ กี ารวงลอ้ อนาคต โดยนักอนาคตศาสตร์ชอื่ อนั โทนีโอ ปาชเิ นลลี (Antonio Pacinelli) ปาชเิ นลลวี พิ ากษว์ ่า แนวคิดวง ล้ออนาคตแบบเดิมมีข้อจ�ำกัดในการประเมินความเป็นไปได้ของผลกระทบท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึน แต่การ ประเมินดังกล่าวเป็นองค์ประกอบที่จ�ำเป็นในการคาดการณ์และการก�ำหนดแนวทางการน�ำผลลัพธ์ จากการคาดการณ์ไปด�ำเนินการต่อ14 เกณฑ์หน่ึงท่ีวิธีการวงล้ออนาคตใช้ในการประเมินความเป็นไป ได้คือฉันทามติของผู้เข้าร่วมกระบวนการ กล่าวคือ ถ้าผู้ร่วมสร้างวงล้ออนาคตเห็นด้วยกันท้ังหมดว่า เหตกุ ารณห์ รอื ผลกระทบหนงึ่ มโี อกาสเกดิ ขนึ้ จรงิ นา่ จะเปน็ หลกั ประกนั ไดว้ า่ เหตกุ ารณห์ รอื ผลกระทบ นัน้ เชอ่ื วา่ เกิดข้ึนจรงิ ในอนาคต (plausible) แนวคิดนเ้ี ชือ่ วา่ การตัดสนิ ใจดงั กล่าวควรเกดิ ขึ้นกอ่ นการ คาดการณห์ รอื การสรา้ งฉากทศั น์ แตเ่ กณฑด์ งั กลา่ วไมร่ ะบรุ ะดบั ความเปน็ ไปไดข้ องเหตกุ ารณห์ รอื ผลก ระทบหนึง่ ภายในระยะเวลาทีส่ นใจ นอกจากน้ี วธิ กี ารวงล้ออนาคตยังมีขอ้ จ�ำกดั อน่ื เก่ียวกบั ผลกระทบ ท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น เช่น เมื่อใดที่ผลกระทบจะปรากฏให้เห็นและเมื่อใดที่จะแสดงผลกระทบมากที่สุด และผลกระทบนัน้ จะเกดิ ขึน้ ยาวนานเท่าใด

อนาคตศกึ ษา | 132 วิธกี ารรูปอนาคตหลายเหล่ียมมงุ่ แกไ้ ขขอ้ จ�ำกัดดงั กล่าว โดยเพ่มิ ขั้นตอนการประเมนิ ระดบั ความ เป็นไปได้ของผลกระทบท่ีคาดการณ์ได้จากวิธีวงล้ออนาคต พร้อมกับประเมินต�ำแหน่งและช่วงเวลาท่ี ผลกระทบดงั กล่าวจะเกิดข้ึน วธิ กี ารน้เี หมาะส�ำหรับขนั้ ตอนสุดทา้ ยของการสร้างฉากทัศน์ ซ่งึ เน้นการ ประเมินความเป็นไปได้ของฉากทัศน์มากกว่าการประเมินความเป็นไปได้ของเหตุการณ์ใดเหตุการณ์ หนึ่ง คุณลักษณะและวัตถุประสงค์หลักของวิธีวงล้ออนาคตและรูปอนาคตหลายเหล่ียมอยู่ตรงที่การ สร้างฉากทัศน์ท่ีเกิดจากหลายเหตุการณ์ ซึ่งมีผลกระทบต่อเน่ืองกันเป็นเรื่องราว เม่ือเหตุการณ์หนึ่ง เกิดขึน้ มา ก็จะท�ำให้ความเป็นไปได้ที่อกี เหตกุ ารณห์ นงึ่ จะเกิดขึ้นเพ่ิมตามมาได้ วิธกี ารรูปอนาคตหลายเหลี่ยมมกี ระบวนการวิเคราะหโ์ ดยคร่าวดังนี้ • ข้ันตอนแรกด�ำเนินการเหมือนกับวิธีการวงล้ออนาคตทั่วไป โดยใช้เกณฑ์การลงมติแบบ เอกฉันท์ในการตดั ผลกระทบและประเด็นท่ไี มน่ ่าจะเกดิ ขึ้นจริงออกกอ่ น เพ่ือเน้นเหตกุ ารณ์ ทผ่ี ้เู ชย่ี วชาญเหน็ วา่ นา่ จะเกดิ ขนึ้ จรงิ เท่านน้ั • จากนนั้ ผู้เขา้ ร่วมกระบวนการจะระบคุ า่ ความเป็นไปได้ท่เี หตุการณ์หรอื ผลกระทบหนึ่ง จะ เกดิ ขน้ึ โดยอาจประชมุ และอภปิ รายกนั แลว้ ตกลงรว่ มกนั วา่ ความเปน็ ไปไดอ้ ยทู่ ร่ี ะดบั ใด อกี ชอ่ งทางหนงึ่ คอื การผา่ นกระบวนการสอื่ สารอนื่ เชน่ การตอบค�ำถามผา่ นทางกระบวนการเดล ฟาย ตวั อยา่ งค�ำถามทใ่ี ชค้ อื ความเปน็ ไปไดท้ ี่จะเกดิ เหตกุ ารณห์ รอื ผลกระทบจากกระบวนการ วงลอ้ อนาคต ภายในชว่ งเวลา 1 ปี 5 ปี 10 ปี 20 ปี อยทู่ ร่ี ะดับใด • เม่ือไดค้ �ำตอบท้ังหมดแลว้ จงึ แสดงตัวเลขความเปน็ ไปไดอ้ อกมาในแผนภาพ โดยเริ่มจาก การก�ำหนดจุดศูนย์กลางของวงกลม แล้วแบ่งวงกลมออกเป็นเสี้ยว ตามจ�ำนวนผลกระทบ ที่ต้องการประเมินความเป็นไปได้ จากน้ันจึงลากเส้นตรงท่ีแสดงระดับความเป็นไปได้หรือ ความแนน่ อนของแตล่ ะผลกระทบ ผลกระทบหน่งึ มโี อกาสเกดิ ขึน้ ใกล้ รอ้ ยละ 100 เทา่ ใด เสน้ รศั มีจะยาวใกลจ้ รดกบั ขอบเสน้ วงกลมเทา่ นนั้ เมือ่ ลากเสน้ รศั มไี ดค้ รบทกุ เหตกุ ารณแ์ ลว้ จึงลากเส้นเชื่อมจุดปลายเส้นรัศมีทั้งหมด เพื่อวาดเป็นรูปหลายเหล่ียมต่อไป วิธีการน้ีช่วย ประเมินความเปน็ ไปได้ของผลกระทบท่ไี ด้คาดการณจ์ ากวธิ กี ารวงล้ออนาคต แผนภาพขา้ ง ล่างแสดงตัวอย่างของรูปหลายเหลี่ยมแสดงความเป็นไปได้ของเหตุการณ์ท่ีคาดการณ์จาก กระบวนการสร้างวงล้ออนาคต รแูปผอนนภาาคพตทหี่ 9ลายเหลยี่ มแสดงความเป็นไปได้ของเหตกุ ารณ์ในอนาคต ที่มา: Pacinelli (2006)

133 | อนาคตศึกษา วธิ กี ารรปู อนาคตหลายเหลย่ี มสามารถใชร้ ว่ มกบั วธิ กี ารคาดการณแ์ บบอนื่ ตวั อยา่ งเชน่ ในโครงการ วเิ คราะห์โอกาสในการท�ำงานของคนจนในพ้นื ท่ี Chieti-Ortona ในอิตาลี นักวจิ ยั ไดผ้ สมผสานวธิ ีการ ประชุมกลุ่มย่อย การท�ำเดลฟายเก่ียวกับนโยบาย วงล้ออนาคต และรูปอนาคตหลายเหลี่ยม โดยใช้ แต่ละวธิ ีการในแตล่ ะขัน้ ตอนของการคาดการณ์ ดงั ตัวอยา่ งหน้าถัดไป กแาผรนผภสามพผทส่ี า1น0วธิ กี ารรปู อนาคตหลายเหลีย่ มกบั วธิ ีการคาดการณอ์ นื่ ๆ ที่มา: Pacinelli (2006)

อนาคตศึกษา | 134 การวเิ คราะหผ์ ลกระทบ การวิเคราะห์ผลกระทบ (Impact Analysis) ของเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์เป็นกลุ่มวิธีการศึกษา อนาคต ท่ีแบ่งผลกระทบออกเป็น 3 ดา้ นด้วยกนั ไดแ้ ก่ ผลกระทบของเหตุการณ์ (event impact) ซงึ่ เกดิ ขน้ึ เมอื่ เหตกุ ารณห์ นงึ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในระบบหนงึ่ ผลกระทบแนวโนม้ (trend impact) ซงึ่ เปน็ ผลกระทบของ เหตุการณ์หนึ่งต่อแนวโน้ม และผลกระทบไขว้ (cross-impact) ซึ่งเป็นผลกระทบระหว่างเหตุการณ์ ต่าง ๆ การวิเคราะห์ผลกระทบเหตุการณ์ (Event Impact Analysis) เน้นผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจาก เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ทั้งที่คาดการณ์ได้หรือไม่สามารถเลี่ยงได้ ท้ังปรากฏการณ์ธรรมชาติ และเหตุการณ์ท่ีเกิดจากการกระท�ำของมนุษย์ เช่น เหตุการณ์ทางการเมือง การวเิ คราะหผ์ ลกระทบ เหตุการณ์อาจใช้ร่วมกับการศึกษาอนาคตวิธีการอ่ืน เช่น วิธีวงล้ออนาคตและวิธีรูปอนาคตหลาย เหลยี่ ม ทงั้ สองวธิ กี ารนส้ี ามารถใชร้ ว่ มกบั วธิ กี ารเดลฟายเพอ่ื ประเมนิ ความเปน็ ไปไดข้ องผลกระทบและ เหตกุ ารณอ์ นาคตในแตล่ ะฉากทศั นท์ พ่ี ฒั นามา แลว้ จงึ พฒั นาเปน็ รปู อนาคตหลายเหลยี่ ม เพอื่ แสดงคา่ ความเป็นไปได้ของการเกิดเหตกุ ารณ์ในอนาคต อกี วธิ กี ารหนงึ่ เปน็ การศกึ ษาผลกระทบของเหตกุ ารณท์ มี่ โี อกาสเกดิ ขน้ึ ในอนาคตตอ่ แนวโนม้ ของ ปรากฏการณ์ท่ีสนใจ15 วิธีการวิเคราะห์ผลกระทบต่อแนวโน้ม (Trend Impact Analysis) เป็นการ ประมาณค่านอกช่วง (extrapolate) ของแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยหรือปรากฏการณ์ที่ แสดงด้วยตัวแปรเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ แล้วใช้วิจารณญาณของผู้เชยี่ วชาญในการปรับแนวโน้ม ของปรากฏการณ์ดังกล่าวตามผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น วิธีการน้ีสามารถใช้ร่วมกับวิธีการแบบ จ�ำลองอื่นได้ อีกวิธีการหนึ่งคือการวิเคราะห์ผลกระทบไขว้ (cross impact analysis) ซ่ึงพิจารณาผลกระทบ ทแ่ี ตล่ ะเหตกุ ารณม์ ตี อ่ กนั วธิ กี ารพน้ื ฐานของการวเิ คราะหค์ อื การสรา้ งตารางไขว้ (matrix) โดยทแี่ ตล่ ะ ช่องตารางแสดงปฏิสัมพันธ์ของแต่ละชุดเหตุการณ์ วิธีการวิเคราะห์ผลกระทบไขว้สามารถใช้ส�ำหรับ วตั ถุประสงคข์ องการศึกษาอนาคตทหี่ ลากหลาย เช่น การปรับค่าความเปน็ ไปได้จากวธิ กี ารเดลฟาย16 การคาดคะเนแนวโนม้ ในอนาคต17 และการสรา้ งฉากทศั น1์ 8 แนวทางการวเิ คราะหผ์ ลกระทบไขว้แบง่ ออกเป็น 3 แนวทางดว้ ยกัน ได้แก่ แบบจ�ำลองสถานการณ์ (simulative approach) แบบฮิวริสติก (heuristic approach) และแบบการหาค่าที่เหมาะสมทีส่ ดุ (optimization approach)

135 | อนาคตศกึ ษา การวเิ คราะห์ผลกระทบตอ่ แนวโนม้ วิธีคาดการณ์ผลกระทบเชิงปริมาณใช้ข้อมูลจากอดีตโดยทั่วไป โดยประมาณค่านอกช่วงตามแนวโน้ม ท่ีมีอยู่เดิมไปยังอนาคต วิธีการนี้ใช้อย่างแพร่หลายมาเป็นเวลานานในงานวิจัยในหลายศาสตร์และ สาขาทใี่ ช้วิธกี ารวเิ คราะหแ์ บบอนกุ รมเวลา (time-series) อาทิ วธิ ีเศรษฐมติ ิในเศรษฐศาสตร์ อยา่ งไร ก็ตาม วิธีการวิเคราะห์แนวนี้ไม่ค�ำนึงถึงเหตุการณ์ในอนาคตท่ีไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในองค์กร หรือใน พืน้ ทหี่ รือบรบิ ทที่ศึกษา ข้อสมมตขิ องวธิ ีการนจ้ี งึ อยทู่ ี่วา่ ปจั จัยขับเคล่ือนหรือตวั แปรต้นทเ่ี ป็นสาเหตุ ของการเปลยี่ นแปลงในอดตี จะยงั คงสรา้ งผลกระทบหรอื ผลลพั ธแ์ บบเดมิ ตอ่ ไป วธิ กี ารนย้ี งั ไมค่ �ำนงึ วา่ เหตุการณ์หรือปัจจัยบางอย่างในอนาคตอาจท�ำให้ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่เคยมีมาแต่อดีตต้อง เปลย่ี นไป จนท�ำใหแ้ นวโนม้ ทผ่ี า่ นมาไมเ่ ปน็ ไปตามทศิ ทางหรอื ระดบั เดมิ วธิ กี ารคาดการณแ์ บบนี้ ท�ำให้ ผลลัพธ์ที่วิเคราะห์ได้ไม่เปิดช่องให้กับเหตุการณ์ท่ีคาดไม่ถึง จึงท�ำให้การวางแผนไม่ได้เตรียมพร้อม ส�ำหรบั เหตุการณ์ในลกั ษณะนนั้ ด้วยข้อจ�ำกัดดังกล่าว จึงมีการพัฒนาวิธีการวิเคราะห์ผลกระทบต่อแนวโน้มขึ้นในช่วงปลาย ทศวรรษที่ 1970 เพ่ือปรบั ปรุงการคาดการณต์ ามแนวโน้มแบบเดมิ โดยปรบั การวเิ คราะหแ์ บบอนุกรม เวลาใหค้ �ำนงึ ถงึ เหตกุ ารณท์ อ่ี าจเปลย่ี นแปลงแนวโนม้ ทเ่ี ปน็ มาจากอดตี วธิ กี ารนเี้ รมิ่ จากการจนิ ตนาการ และระบเุ หตกุ ารณห์ รอื ปจั จยั ทอี่ าจเปลยี่ นทศิ ทางหรอื ระดบั การเปลยี่ นแปลงของแนวโนม้ ทสี่ นใจ โดย วิเคราะหท์ ัง้ ชุดปจั จยั และเหตุการณ์ส�ำคัญ ความเปน็ ไปได้ที่จะเกดิ ข้นึ และผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ตัวอย่างของการใช้วิธีการวิเคราะห์ผลกระทบต่อแนวโน้ม ได้แก่ งานศึกษาของบริษัท Health Care Futures ซง่ึ ใชว้ ธิ กี ารนใี้ นการคาดการณอ์ นาคตของตลาดยา และโครงการมลิ เลนเนยี มโปรเจกต์ (Millennium Project) ใชว้ ธิ กี ารนใี้ นการสรา้ งดชั นสี ถานการณอ์ นาคต (State of the Future Index) กระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบต่อแนวโน้มมีสองขั้นตอนหลัก ในขั้นแรก นักวิเคราะห์จะลาก เสน้ ตรงหรือเสน้ โค้งตามแนวโน้มตามข้อมลู ในอดตี เพอ่ื ประมาณค่านอกชว่ งแล้วลากเส้นไปยังอนาคต ในกรณีท่ีไม่เกิดเหตุไม่คาดคิด เส้นแนวโน้มนี้เรียกว่าเส้นฐาน (baseline) ที่แสดงถึงสถานการณ์ฐาน (baseline scenario) ในกรณีที่ไม่มีปัจจัยหรือเหตุการณ์แทรกซ้อนใด ๆ นักวิเคราะห์สามารถเลือก เส้นทีส่ ะทอ้ นแนวโน้มตามขอ้ มลู จรงิ มากทส่ี ดุ โดยใช้ข้ันตอนวิธีหรืออัลกอริทึม (algorithm) ที่ เหมาะสม การเลือกเสน้ ฐานมคี วามส�ำคญั มาก เพราะจะก�ำหนดสถานการณพ์ ื้นฐานที่วิเคราะห์เปรียบ เทียบการเปล่ยี นแปลง ขน้ั ตอนต่อมาเป็นการส�ำรวจ รวบรวมและประมวลความเห็นและการตัดสนิ ใจของผ้เู ช่ยี วชาญใน การค้นหาและระบุเหตุการณ์อนาคตท่ีอาจเกดิ ขนึ้ และท�ำให้แนวโนม้ จากอดีตเปลยี่ นแปลงไป โดยระบุ ทงั้ เหตกุ ารณท์ คี่ าดวา่ จะเกดิ ระดบั ความเปน็ ไปได้ ภายในชว่ งเวลาทกี่ �ำหนดไว้ และผลกระทบทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขึน้ กับแนวโน้มในอนาคต นักวเิ คราะหอ์ าจเพมิ่ ขนั้ ตอนท่ีสาม คอื การสรา้ งสถานการณ์หรือฉาก ทศั นอ์ นาคตทค่ี �ำนงึ ถงึ เหตกุ ารณแ์ ละปจั จยั ทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ แผนภาพที่ 11 แสดงแนวคดิ พน้ื ฐานของ วิธีการวิเคราะหผ์ ลกระทบต่อแนวโน้ม การวิเคราะห์ผลกระทบต่อแนวโน้มเหมาะส�ำหรับการประเมินนโยบาย โดยผู้ประเมินสามารถ เปรยี บเทยี บคา่ ของปจั จยั หรอื ตวั แปรทส่ี นใจในสถานการณท์ ไี่ มท่ �ำอะไร (do-nothing) กบั สถานการณ์ ท่ีด�ำเนินนโยบาย โดยคาดประมาณระดับความเป็นไปได้และระดับผลกระทบท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นจาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook