อนาคตศกึ ษา | 136 แแนผวนคภิดากพาทรี่ ว1ิเ1คราะหผ์ ลกระทบตอ่ แนวโน้มในอนาคต ดดั แปลงจาก: Glenn (2009c) นโยบายน้ัน อีกแนวทางหน่ึงคอื อาจใช้วิธกี ารนีใ้ นการจัดล�ำดับของชุดทางเลือกนโยบายว่า นโยบาย ไหนจะท�ำใหเ้ กดิ ผลกระทบมากทส่ี ดุ ในชว่ งเวลาทส่ี นใจ นโยบายหรอื มาตรการบางประการอาจสรา้ ง ผลกระทบไดเ้ รว็ แตม่ ผี ลจ�ำกดั ในชว่ งเวลาสน้ั ในขณะทบ่ี างมาตรการอาจสรา้ งผลลพั ธช์ า้ แตย่ ง่ั ยนื กวา่ การเปรยี บเทียบผลการวิเคราะห์จะท�ำให้สามารถตัดสินใจไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ ในการวิเคราะห์ข้ันแรกท่ีลากเส้นแนวโนม้ จากปจั จุบนั ไปยังอนาคต ผูว้ ิเคราะหต์ อ้ งก�ำหนดเส้น แนวโน้มจากอดีตมาจนถึงปัจจุบันด้วยข้อมูลท่ีมีอยู่ โดยเลือกประเภทแนวโน้มท่ีน่าจะแสดงรูปแบบ การเปลีย่ นแปลงได้ดที ่ีสดุ ประเภทแนวโนม้ การเปล่ยี นแปลงมีอยหู่ ลายแบบ นับตัง้ แตแ่ นวโน้มแบบ เส้นตรง (linear) ท่ีใช้อยู่ท่ัวไปในการพยากรณ์ข้ันพ้ืนฐาน แนวโน้มแบบเลขยกก�ำลัง (power) แบบฟังก์ชันเลขชี้ก�ำลัง หรือเอกซ์โพเนนเชียล (exponential) ไปจนถึงแนวโน้มแบบลอการิทึม (logarithm) และแบบพหุนามหรือโพลโิ นเมียล (polynomial) ตามตัวอยา่ งในแผนภาพขา้ งลา่ งนี้ ปแผระนเภภาทพแทน่ีว1โ2น้ม ดดั แปลงจาก: Glenn (2009c)
137 | อนาคตศกึ ษา การเลือกประเภทแนวโน้มมีความส�ำคัญมากต่อการวิเคราะห์ผลกระทบต่อแนวโน้มในอนาคต เนอื่ งจากจะก�ำหนดสตู รค�ำนวณทใ่ี ชใ้ นการคาดการณไ์ ปยงั อนาคต เมือ่ เลอื กประเภทแนวโนม้ และสตู ร ทใี่ ชใ้ นการลากเสน้ แนวโนม้ ไดแ้ ลว้ ขนั้ ตอนตอ่ ไปคอื การพยากรณก์ ารเปลย่ี นแปลงไปยงั อนาคตในกรณี ท่ไี มม่ เี หตุการณห์ รือปจั จัยขับเคลือ่ นอะไรเปลี่ยนแปลงไปจากเดมิ ตแวัผอนยภา่ างพกทาร่ี 1ว3เิ คราะหผ์ ลกระทบตอ่ แนวโนม้ ดดั แปลงจาก Bigdatalens.com การวเิ คราะหผ์ ลกระทบไขว้ อีกวิธีการหนึ่งในชุดเครื่องมือการวิเคราะห์ผลกระทบคือการวิเคราะห์ผลกระทบไขว้ ซึ่งพัฒนาโดยเธ โอดอร์ กอรด์ อน (Theodore Gordon) และโอลาฟ เฮลเมอร์ (Olaf Helmer) ใน พ.ศ. 2509 วธิ ีการ นี้มุ่งวิเคราะห์ผลลัพธ์ของปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างเหตุการณ์หรือปัจจยั ตา่ ง ๆ ต่อความเปน็ ไปไดใ้ นอนาคต วิธีการนี้มุ่งแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากข้อสมมติในการคาดการณ์ด้วยวิธีเดลฟาย กล่าวคือ ในกรณีเดล ฟาย ผู้เชี่ยวชาญต้องระบุค่าความเป็นไปได้ของการเกิดเหตุการณ์หน่งึ โดยไม่ได้ค�ำนึงถึงกรณีที่อีก เหตุการณ์หน่ึงมีผลกระทบที่ท�ำให้ค่าความเป็นไปได้น้ันเปล่ียนไป แต่ในความเป็นจริงปัจจัยหลาย อย่างอาจมีปฏิสัมพันธ์กันและท�ำให้ค่าความเป็นไปได้ของผลกระทบเปลี่ยนไป วิธีการวิเคราะห์ ผลกระทบไขวไ้ ดร้ บั การพฒั นาตอ่ มา จนกลายเปน็ วธิ กี ารคาดการณส์ �ำคญั ทใ่ี ชร้ ว่ มกบั วธิ กี ารอน่ื ๆ นอก เหนอื จากวิธีการเดลฟาย การวเิ คราะหผ์ ลกระทบไขวส้ ามารถใชเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของกระบวนการกวาดสญั ญาณส�ำหรบั อนาคต ท่ีอาจเกิดข้ึนได้ และเพ่ือลดความไม่แน่นอนในการวางแผน ชุดวิธีการวิเคราะห์ผลกระทบไขว้มีอยู่ หลายวิธีการย่อย หน่ึงในน้ันคือวิธีการระบบและตารางผลกระทบไขว้ (Cross Impact Systems and Matrices – SMIC)19 ในปัจจุบัน มีโปรแกรมซอฟแวร์ส�ำเร็จรูปท่ีใช้วิเคราะห์ผลกระทบไขว้อยู่ หลายโปรแกรม
อนาคตศกึ ษา | 138 ในการวิเคราะห์ผลกระทบไขว้ นักวิเคราะห์จะค�ำนวณความเป็นไปได้ของเหตุการณ์ที่เกิด ข้ึน แล้วปรับระดับความเป็นไปได้ตามระดับปฏิสัมพันธ์กับเหตุการณ์อ่ืน ๆ ที่วิเคราะห์ไปพร้อมกัน ข้อสมมติพนื้ ฐานของแนวทางนคี้ อื เหตกุ ารณแ์ ละปจั จยั ตา่ ง ๆ มคี วามสมั พนั ธซ์ ึง่ กนั และกนั เหตกุ ารณ์ ทเี่ ราสงั เกตเหน็ ไม่ได้เกดิ จากสาเหตุเดียว แตเ่ กิดจากหลายปัจจัย โดยปัจจัยเหลา่ นี้มีปฏสิ ัมพันธซ์ ึ่งกนั และกันจนท�ำใหเ้ กิดผลกระทบไขว้ ขนั้ ตอนและวธิ กี าร การวเิ คราะหผ์ ลกระทบไขว้เพอ่ื การคาดการณม์ ขี ้นั ตอนหลักดงั น้ี กำ� หนดจ�ำนวนและประเภทของปจั จยั ขน้ั ตอนแรกของการวเิ คราะหผ์ ลกระทบไขวค้ อื การก�ำหนดชดุ เหตกุ ารณห์ รอื ปจั จยั หลกั ทต่ี อ้ งการ วเิ คราะห์ การเลอื กชดุ เหตกุ ารณห์ รอื ปจั จยั นส้ี �ำคญั มาก เพราะถา้ นอ้ ยเกนิ ไป การวเิ คราะหจ์ ะไมส่ ามารถ ระบุถึงปัจจัยส�ำคัญและผลกระทบส�ำคัญได้ แต่ถ้ามากเกินไป จะท�ำให้การวิเคราะห์มีความซับซ้อน เกินกว่าความจ�ำเป็น และอาจท�ำให้ไมส่ ามารถเห็นภาพทีช่ ัดเจน ถ้าจ�ำนวนปจั จยั ท่ีตอ้ งการวิเคราะห์ มที งั้ หมด n ประการ จ�ำนวนปฏสิ ัมพนั ธท์ ั้งหมดทีต่ ้องวเิ คราะห์ผลกระทบไขว้จะเท่ากับ n2 – n แสดง วา่ ยง่ิ จ�ำนวนปจั จยั มากขน้ึ เทา่ ไหร่ การวเิ คราะหจ์ ะมคี วามซบั ซอ้ นเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งทวคี ณู เทา่ นนั้ การศกึ ษา ผลกระทบไขว้โดยมากจะมีจ�ำนวนปจั จัยอย่ทู ี่ประมาณ 10-40 ปจั จยั 20 การระบุปัจจัยชุดแรกสามารถท�ำได้โดยการทบทวนส่ิงตีพิมพ์ต่าง ๆ พร้อมกับการสัมภาษณ์ ผ้เู ช่ยี วชาญในสาขาเกีย่ วขอ้ ง ต่อจากน้ัน จงึ ตดั บางปัจจยั ท่ซี ้�ำซ้อนกันออก หรือรวมบางปัจจยั ทคี่ วาม หมายคลา้ ยกนั เขา้ ดว้ ยกนั โดยอาจปรบั เปลย่ี นชอ่ื เรยี กปจั จยั ใหมใ่ หเ้ หมาะสม การวเิ คราะหผ์ ลกระทบ ไขว้จะท�ำได้ง่าย ถา้ ปัจจัยต่าง ๆ เปน็ อิสระซึ่งกันและกันอยา่ งมากท่ีสดุ ประมาณคา่ ความเป็นไปไดใ้ นการเกดิ เหตกุ ารณ์เด่ยี ว เม่ือระบุรายการปัจจัยที่ต้องการวิเคราะห์ทั้งหมดแล้ว จึงประมาณค่าความเป็นไปได้ที่แต่ละ เหตุการณ์จะเกิดข้ึนภายในช่วงเวลาในอนาคตท่ีได้ก�ำหนดไว้ โดยในขั้นแรกสมมติก่อนว่า แต่ละ เหตกุ ารณเ์ กดิ ขน้ึ โดยไมม่ เี หตกุ ารณอ์ นื่ เกดิ ขนึ้ พรอ้ มกนั คา่ ความเปน็ ไปไดน้ จ้ี ะไดม้ าจากกลมุ่ ผเู้ ชยี่ วชาญ ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อทีไ่ ด้ก�ำหนดไว้ โดยอาจมาจากการออกแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ หรือ การประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย เมือ่ ไดค้ า่ ความเปน็ ไปไดช้ ดุ แรกแลว้ ขนั้ ตอ่ ไปจะเปน็ การประมาณคา่ ความเปน็ ไป ไดท้ ี่ปรับตามผลกระทบทเี่ กิดจากการปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปจั จยั ตา่ ง ๆ เนื่่�องจากการคาดประมาณค่่าความเป็็นไปได้้ดัังกล่่าวใช้้วิิธีีการสอบถามความคิิดเห็็นของผู้ � เชี่่�ยวชาญ จึึงมีีข้้อวิิพากษ์์ว่่า การคาดประมาณค่่าความเป็็นไปได้้ของการเกิิดเหตุุการณ์์ในชุุดแรกนั้�น ผู้�เชี่�่ยวชาญได้้คำำ�นึึงถึึงการเกิิดขึ้�นของปััจจััยอื่�น ๆ ไปพร้้อมกัันแล้้ว ค่่าความเป็็นไปได้้ของปััจจััยหรืือ เหตุุการณ์์ต่่าง ๆ จึึงได้้รวมผลกระทบไขว้้ไว้้แล้้วในความคิิดของผู้�เชี่�่ยวชาญ ในกรณีีนี้้� การวิิเคราะห์์ ผลกระทบไขว้้จึึงมีีไว้้เพื่่�อตรวจสอบว่่า ค่่าความเป็็นไปได้้จากการสำำ�รวจรอบแรกแบบไม่่มีี
139 | อนาคตศกึ ษา ปฏิิสััมพัันธ์์กัับรอบที่่ส� อง หรือื ปฏิสิ ัมั พันั ธ์์มีีความสอดคล้้องกันั หรืือไม่่และอย่่างไร เมื่�อผู้�ศึกึ ษาได้้สร้้าง ตารางค่า่ ความเป็็นไปได้้ที่�ส่ มบูรู ณ์แ์ ล้้ว จะสามารถวิิเคราะห์์ต่่อไปได้้ว่่า เมื่�อมีีนโยบาย มาตรการ หรืือ ปััจจัยั ใหม่่ใดเกิิดขึ้�นแล้้ว ค่่าความเป็น็ ไปได้้ของแต่ล่ ะปัจั จัยั จะเปลี่ย�่ นไปอย่่างไรบ้า้ ง ประมาณค่าความเปน็ ไปไดเ้ ชิงเง่อื นไข ข้ันตอนต่อมาคือการประมาณค่าความเป็นไปได้เชิงเงื่อนไข (conditional probabilities) ซึ่ง เปน็ การคาดประมาณผลกระทบทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ เม่ือมเี หตกุ ารณห์ รอื ปัจจยั หน่ึงเกดิ ขน้ึ กอ่ นหนา้ นน้ั ตัวอยา่ งกรณีสมมตเิ ช่น ระดบั ความเป็นไปไดท้ ี่ประเทศไทยจะมีบริการแทก็ ซี่ไร้คนขับในอกี 10 ปขี ้าง หนา้ อาจประมาณคา่ ไดท้ ี่ 0.50 แตถ่ า้ รฐั บาลเปลยี่ นกฎหมายดา้ นขนสง่ สาธารณะอาจท�ำใหค้ า่ ความเปน็ ไปได้เพิม่ ขนึ้ เป็น 0.75 ในการวิเคราะห์ผลกระทบไขว้ ผวู้ จิ ยั จะถามผู้เชย่ี วชาญเกี่ยวกบั ความเป็นไปได้ ของคเู่ หตกุ ารณท์ ง้ั หมดทต่ี อ้ งการวิเคราะห์ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากนนั้ นกั วเิ คราะหจ์ ะตรวจสอบความถกู ตอ้ งของความเปน็ ไปไดเ้ ชงิ เงอื่ นไขทไี่ ดม้ าในการค�ำนวณ คร้ังแรก เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีความผิดพลาดในการค�ำนวณเชิงคณิตศาสตร์ ข้ันตอนนี้อาจท�ำโดยการ สรา้ งและวเิ คราะหแ์ บบจ�ำลองสถานการณใ์ นคอมพวิ เตอรห์ ลายรอบ เพอ่ื ใหผ้ ลการวเิ คราะหท์ ม่ี น่ั ใจได้ วิเคราะห์ฉากทัศน์ ข้ันสุดท้ายของกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบไขว้คือการสร้างและวิเคราะห์ฉากทัศน์ส�ำหรับ อนาคต หรือการวิเคราะห์ว่า เหตุการณ์หรือปัจจัยหนึ่งมีผลกระทบต่ออีกเหตุการณ์หนึ่งอย่างไรบ้าง เพอ่ื สร้างทางเลอื กและรายละเอยี ดในการตัดสินใจตอ่ ไป ตตัวารอายง่าทง่ีต8ารางวิเคราะห์ผลกระทบไขว้ ดดั แปลงจาก: Glenn (2009c) หมายเหตุ: + ผลกระทบเชิงบวก, - ผลกระทบเชิงลบ, ขนาดสัญลกั ษณส์ ่ือถึงระดับผลกระทบ
อนาคตศกึ ษา | 140 ในตารางท่ี 8 แสดงวิธกี ารพน้ื ฐานในการวิเคราะหผ์ ลกระทบไขว้ จะเห็นไดว้ า่ ชอ่ งตารางในแนว ตั้งและแนวนอนแสดงปัจจัยเดียวกัน แลว้ จงึ วเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธ์ระหว่างปจั จยั แต่ละคู่ ค�ำถามหลัก ในการวเิ คราะหส์ ว่ นนค้ี อื การเปลย่ี นแปลงในปจั จยั หนงึ่ จะมผี ลตอ่ อกี ปจั จยั หนงึ่ มากเทา่ ใด โดยระบคุ า่ ความเปน็ ไปไดน้ ั้นลงไปในแต่ละชอ่ งเป็นตวั เลขหรือสญั ลักษณง์ ่าย ๆ เป็น + หรอื – ดงั ตวั อย่างตาราง วิเคราะห์ผลกระทบไขว้ขา้ งบน การวิเคราะห์ผลกระทบไขวไ้ ด้รบั การพฒั นาเรอื่ ยมา โดยมักใช้ผสมผสานกบั วธิ กี ารอนื่ เช่น การ ใช้เกมและการใช้คอมพิวเตอรใ์ นการจ�ำลองสถานการณ์ตามแนวคิดมอนตคิ าร์โล ขอ้ จ�ำกดั หนึง่ ของวธิ ี การน้ีคือการใช้ผู้เชี่ยวชาญในการก�ำหนดความเป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ทั้งเหตุการณ์เด่ียวและ เหตุการณ์คู่ อีกประเดน็ หน่งึ คอื ในโลกแห่งความเป็นจริง ปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างเหตุการณ์หรือปัจจัยตา่ ง ๆ อาจไม่ไดเ้ กดิ เป็นคู่ แตอ่ าจเกดิ ขึน้ ระหวา่ งสามปจั จยั หรอื มากกว่าน้ัน ซง่ึ จะท�ำให้ปฏิสมั พันธ์มีความ ซบั ซอ้ นมากขึ้น และท�ำให้การวิเคราะหผ์ ลกระทบไขวเ้ ปน็ ไปได้ยากข้นึ นักอนาคตศาสตร์ทดลองใช้วิธีการต่าง ๆ ในการเก็บรวบรวมความเห็นของผู้เช่ียวชาญ เก่ียวกับค่าความเป็นไปได้ วิธีการระบบและตารางผลกระทบไขว้ (Cross Impact Systems and Matrices – SMIC) พฒั นาขึ้นเปน็ ครั้งแรกในฝรัง่ เศส เมอื่ พ.ศ. 2517 ซ่งึ เน้นการใชแ้ บบสอบถาม ต่อ มาได้มีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถค�ำนวณค่าความเป็นไปได้เชิงเงื่อนไขจากค�ำตอบจาก แบบสอบถาม นอกจากน้ี การใช้วิธกี ารเดลฟายแบบเรียลไทม์สามารถเก็บขอ้ มลู จากผเู้ ช่ียวชาญได้เรว็ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น การวิเคราะห์ผลกระทบไขว้มักใช้ในการคาดการณ์ด้านเทคโนโลยี (technological forecasting) และการวิเคราะห์อนาคตของอุตสาหกรรมหรือธุรกิจเฉพาะทาง
141 | อนาคตศกึ ษา การวิเคราะหโ์ ครงสร้าง จากท่ีอธิบายไปก่อนหน้านี้ เคร่ืองมือหน่ึงท่ีใช้กันอย่างแพร่หลายในวงการอนาคตศาสตร์คือตาราง ผลกระทบ (impact matrix) ซึ่งม่งุ วเิ คราะห์พลวตั ของระบบของประเดน็ ปญั หาท่ีตอ้ งการศึกษา องค์ ประกอบส�ำคญั ของการวเิ คราะหผ์ ลกระทบคอื การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ ง (structural analysis) ของระบบ ทีต่ อ้ งการศกึ ษา รวมถึงยทุ ธศาสตรข์ องผู้กระท�ำ (actors’ strategies) และความเป็นไปได้ของผลกระ ทบไขว้ (cross-impact probabilities) การวิเคราะห์โครงสร้างมุ่งวิเคราะห์ผลกระทบของระบบโดยรวมต่อประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศกึ ษาและคาดการณ์ โดยอาจใชร้ ว่ มกบั การวเิ คราะหผ์ ลกระทบไขว้ ซึง่ มงุ่ ความสนใจไปทค่ี วามสมั พนั ธ์ เชิงเหตุและผลระหว่างตัวแปรตา่ ง ๆ ในระบบ การวเิ คราะหโ์ ครงสร้างมักใชเ้ ป็นสว่ นหนงึ่ กระบวนการ สรา้ งฉากทศั น์ โดยเฉพาะในขน้ั ตอนการท�ำความเขา้ ใจกบั ระบบในภาพรวมและในการระบถุ งึ ปจั จยั ขบั เคลอื่ นทท่ี �ำใหร้ ะบบโดยรวมตอ้ งเปลยี่ นไป การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งใชไ้ ดใ้ นการสรา้ งสมมตฐิ านทเี่ ปน็ พนื้ ฐานในการสร้างฉากทศั น์ วธิ กี ารวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งเนน้ วเิ คราะหป์ จั จยั ทที่ �ำใหเ้ กดิ ผลกระทบระหวา่ งปจั จยั กบั ระบบโดยรวม ตวั อยา่ งวธิ กี ารในกลมุ่ นไ้ี ดแ้ ก่ วธิ กี าร Kane’s Simulation หรอื KSIM21 และวธิ กี าร MICMAC (Impact Matrix Cross-Reference Multiplication Applied to a Classification) ส�ำหรับการวิเคราะห์ ยุทธศาสตร์ของผู้กระท�ำจะเน้นการวิเคราะห์วัตถุประสงค์และพฤติกรรมของผู้เก่ียวข้องในระบบ อาทิ วิธีการวาดแผนภาพอ�ำนาจ (Chart of Powers) ที่เสนอโดยเทแนร์ บูโช (Ténière-Buchot) และวิธกี าร MACTOR ท่ีแสดงพันธมติ รและค่ขู ดั แย้ง สว่ นการวเิ คราะห์ความเป็นไปไดข้ องผลกระทบ ไขวจ้ ะเนน้ การวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณแ์ ละสมมตฐิ านเกย่ี วกบั ความเปน็ ไปไดท้ เี่ กดิ จากผลกระทบไขวข้ องคู่ เหตกุ ารณ์หรือปจั จัยทงั้ หมดในระบบทีต่ ้องการศกึ ษา การวิเคราะห์โครงสร้างเหมาะส�ำหรับปัญหาท่ีมีความซับซ้อนมากและมีหลายปัจจัยสัมพันธ์กัน จึงต้องสร้างวิธกี ารและกระบวนการวิเคราะห์ทไี่ ม่มองข้ามปัจจัยส�ำคัญ ไม่ว่าจะเป็นปัจจยั ภายในหรือ ภายนอกระบบ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส�ำคัญที่อยู่ในระบบนั้น การระบุปัจจัยที่เป็นสาเหตุหลักของ ปัญหาที่ก�ำลังวิเคราะห์อยู่เป็นพื้นฐานของการวิเคราะห์ฉากทัศน์ในข้ันตอนถัดไปได้ การวิเคราะห์
อนาคตศกึ ษา | 142 โครงสร้างยังเหมาะส�ำหรับการคาดการณ์ที่ต้องการความต่อเนื่องระยะยาว แต่ละปัจจัยท่ีน�ำมา วิเคราะห์โครงสร้างจะประกอบไปด้วยดัชนีสองประการ ไดแ้ ก่ ดชั นอี ทิ ธพิ ล (influence index) ซง่ึ วดั ระดับผลกระทบทตี่ วั แปรนนั้ มตี อ่ ระบบโดยรวม และดชั นกี ารพงึ่ พา (dependency index) ซงึ่ วดั ระดบั ผลกระทบท่รี ะบบโดยรวมมผี ลต่อตัวแปรน้นั ๆ การวิเคราะห์โครงสร้างสามารถช่วยสร้างฉันทามติระหว่างสมาชิกในคณะท�ำงานการคาดการณ์ การวิเคราะห์โครงสร้างนับเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการระดมความคิดไปพร้อมกับการลดความคิดเห็นที่มี ความเอนเอียง เพ่ือสรา้ งความคิดหรอื ขอ้ เสนอในภาพรวมทที่ ุกคนสามารถยอมรบั ได้ ขนั้ ตอนและวธิ กี าร การวิเคราะห์โครงสร้างเริ่มต้นจากการจัดตั้งคณะท�ำงานที่ประกอบด้วยผู้เช่ียวชาญและนักปฏิบัติใน สาขาวิชาการและวิชาชีพที่เก่ียวข้อง ข้ันตอนแรกของการวิเคราะห์คือการระบุและก�ำหนดปัจจัยท่ีน่า จะมผี ลกระทบตอ่ ประเดน็ ปญั หาทตี่ อ้ งการศกึ ษา แลว้ จงึ ก�ำหนดนยิ ามของปจั จยั ทงั้ หมดใหช้ ดั เจน โดย ใหส้ อดคลอ้ งกนั ในระดบั ความละเอยี ดและความเฉพาะเจาะจง กลา่ วคอื ไมใ่ หน้ ยิ ามมคี วามหมายกวา้ ง หรอื เฉพาะเจาะจงมากจนเกินไป จากนั้นจงึ แบง่ กลุ่มปัจจยั เป็นปจั จัยภายในระบบและปัจจัยภายนอก ระบบ และแบ่งตามหัวข้อท่ีต้องการศึกษา งานศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างโดยท่ัวไปใช้ตัวแปรไม่เกิน 70-80 ตวั แปร22 ขน้ั ตอนตอ่ ไปเปน็ การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปจั จยั โดยใชต้ ารางแสดงปจั จยั ทงั้ หมดทงั้ ใน แนวตงั้ และแนวนอน ดงั ในกรณีของการวเิ คราะหผ์ ลกระทบไขว้ ค�ำถามหลักในการวเิ คราะห์สว่ นนค้ี ือ ปจั จยั แตล่ ะคมู่ คี วามสมั พนั ธก์ นั หรอื ไม่ ถา้ ไมม่ ี กจ็ ะกรอกเลข 0 แตถ่ า้ มผี ลกระทบโดยตรงในระดบั ต�่ำ ก็ จะกรอกเลข 1 ผลกระทบโดยตรงระดบั ปานกลาง กรอกเลข 2 ผลกระทบโดยตรงระดับสงู กรอกเลข 3 และอาจเติมเลข 4 ถา้ คดิ ว่ามีโอกาสที่จะมีผลโดยตรง ผูเ้ ช่ยี วชาญทเี่ ขา้ ร่วมในกระบวนการวเิ คราะห์ จะท�ำหนา้ ที่ประเมินความสัมพนั ธ์ระหว่างตัวแปรตา่ ง ๆ เมื่อกรอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งหมดแล้ว จึงประเมินดัชนีอิทธิพลและดัชนีการพึ่งพา เพื่อลงจดุ ในกราฟอทิ ธพิ ล-การพ่ึงพา (Influence-depedency graph) กราฟดังกล่าวแสดงวา่ ปจั จัย ไหนมีความส�ำคญั และมีความส�ำคญั มากน้อยตา่ งกันอยา่ งไร และระบวุ ่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี กล่มุ ไหน มีผลต่อพัฒนาการหรือพลวัตของระบบที่ศึกษา ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์โครงสร้างสามารถใช้ได้ใน การสร้างฉากทัศน์เพื่อสร้างความชัดเจนและเฉพาะเจาะจงมากพอที่จะใช้ในการก�ำหนดนโยบายและ มาตรการด�ำเนนิ การ
143 | อนาคตศกึ ษา ตแัวผอนยภา่ างพกทรา่ี 1ฟ4แสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอทิ ธพิ ลกับการพึง่ พาของตัวแปร ที่มา: Coyle (2009) หน่วยวิจัย LIPSOR (Laboratory for Investigation in Prospective Strategy and Organization) ในฝรงั่ เศสพฒั นาโปรแกรมส�ำเรจ็ รปู MICMAC และ MACTOR ทใ่ี ชไ้ ดใ้ นการวเิ คราะหด์ ชั นอี ทิ ธพิ ลและ ดชั นกี ารพง่ึ พา และในการวาดกราฟแสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปจั จยั โปรแกรมดงั กลา่ วดาวนโ์ หลดได้ จากเว็บไซต์ www.cnam.fr/lipsor/ แม้ว่าการสร้างตารางแสดงค่าปัจจัยเหล่านี้อาจไม่ยาก แต่การ อภิปรายและตีความจากผลการวิเคราะห์ที่เป็นตัวเลขอาจยาก เน่ืองจากมีผลการค�ำนวณจ�ำนวนมาก และจ�ำเป็นตอ้ งใชค้ วามสามารถในการวิเคราะหแ์ ละอธบิ ายผลการค�ำนวณนน้ั
อนาคตศกึ ษา | 144 เหตไุ มค่ าดฝนั วงการอนาคตศาสตร์์ในปััจจุบุ ันั ยอมรัับว่า่ แม้้ว่า่ วิิธีีการคาดการณ์ไ์ ด้พ้ ัฒั นามาอย่า่ งเป็็นระบบ และใน ปัจั จุบุ ันั มีีข้อ้ มูลู มากมายมหาศาลในการวิเิ คราะห์ม์ ากขึ้�นก็ต็ าม ภาพอนาคตมักั เต็ม็ ไปด้ว้ ยเหตุไุ ม่ค่ าดคิดิ คาดฝันั หรือื ไวลด์ค์ าร์ด์ (wild cards) ซึ่ง� ทำำ�ให้้สิ่ง� ที่พ่� ยากรณ์ห์ รือื คาดการณ์ไ์ ว้ไ้ ม่ส่ ามารถใช้ไ้ ด้้ ตัวั อย่า่ ง เหตุกุ ารณ์ป์ ระเภทนี้้�มีีอยู่�มาก ไม่ว่ ่า่ จะเป็น็ ภัยั พิบิ ัตั ิติ ามธรรมชาติิ เช่น่ แผ่น่ ดินิ ไหวและสึนึ ามิิ เหตุกุ ารณ์์ วิกิ ฤติเิ ศรษฐกิจิ หลายครั้�ง เช่น่ วิกิ ฤติติ ้ม้ ยำ�ำ กุ้้�งในช่ว่ งปลายทศวรรษที่�่ 1990 ที่เ�่ ริ่ม� จากประเทศไทย วิกิ ฤติิ การเงิินที่�่เกิิดจากตลาดสิินเชื่�อซัับไพร์์มในสหรััฐอเมริิกาใน พ.ศ. 2551 และเหตุกุ ารณ์์ก่่อการร้้าย ทั้�ง เหตุกุ ารณ์์ 9/11 ที่น�่ ครนิิวยอร์์กใน พ.ศ. 2544 และล่่าสุุดคืือสถานการณ์โ์ รคระบาดจากไวรััสโควิดิ -19 ใน พ.ศ. 2562-2563 ทง้ั นี้ โลกาภวิ ตั นด์ า้ นการคา้ การลงทนุ และการผลติ ท�ำใหร้ ะบบเศรษฐกจิ ของโลกเชอ่ื มโยงกนั อยา่ ง ขาดไมไ่ ด้ ในขณะเดยี วกนั กท็ �ำใหร้ ะบบเศรษฐกจิ ของโลกยิง่ ออ่ นไหวเปราะบางมากขน้ึ ความเชอื่ มโยง เหล่านี้ท�ำให้เหตุไม่คาดฝันที่เกิดข้ึนในพื้นที่หน่ึงสร้างผลกระทบทวีคูณมากขึ้นกว่าเดิม ความท้าทาย ของนักอนาคตศาสตร์จึงอยู่ท่ีว่า เราจะพัฒนาวิธีการคาดการณ์อนาคตอย่างไรท่ีสามารถสร้างความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับเหตุการณ์ท่ีอาจเกิดโดยไม่คาดคิดมาก่อน และเตรียมพร้อมรับมือกับเหตุการณ์ เหลา่ นัน้ ไดด้ ยี ่ิงขึ้น ตามที่กล่าวมาก่อนหน้าน้ี วิธีการอนาคตศาสตร์โดยทั่วไปพัฒนามาเพื่อวิเคราะห์แนวโน้มของ เหตุการณ์หรือปัจจัยที่สนใจ โดยมุ่งเน้นไปที่ปัจจัยขับเคลื่อนท่ีเป็นพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลง รวม ถงึ ผลกระทบไขวข้ องปัจจัยเหล่าน้ัน วธิ กี ารแนวนไ้ี ดพ้ ัฒนาอย่างเปน็ ระบบมาระยะหนงึ่ แล้ว แต่วธิ กี าร คาดการณอ์ นาคตเพือ่ รถู้ งึ และรบั มอื กบั เหตไุ มค่ าดฝนั ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งเปน็ ระบบมาไมน่ านเทา่ ใด นัก จุดเร่มิ ต้นของแนวคิดไวลด์คารด์ สามารถย้อนกลบั ไปทกี่ ารวางแผนแบบฉากทศั น์ ซง่ึ บรษิ ทั เชลล์ (Shell) ใชใ้ นการวางแผนองคก์ รในชว่ งปลายทศวรรษที่ 1960 เพอื่ วเิ คราะหต์ ลาดนำ�้ มนั ในอนาคต และ เตรยี มพรอ้ มรบั มอื กบั การเปลย่ี นแปลงทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ องคป์ ระกอบหนึง่ ของการวเิ คราะหแ์ บบฉาก ทศั นค์ อื ไวลดค์ ารด์ ซึง่ หมายถงึ เหตกุ ารณท์ มี่ โี อกาสเกดิ ขนึ้ ไดน้ อ้ ย แตเ่ มือ่ เกดิ ขน้ึ แลว้ จะมผี ลกระทบสงู ในบางครัง้ มีการใช้ค�ำว่า disruption หรอื ruptures เพือ่ สือ่ ถงึ เหตุการณ์ในลกั ษณะดังกล่าว อย่างไร ก็ตาม ในช่วงนนั้ ยงั ไม่มีการพัฒนาวธิ กี ารท่วี เิ คราะห์เหตุไม่คาดฝันอยา่ งเปน็ ระบบโดยเฉพาะ ต่อ่ มาใน พ.ศ. 2535 นักั อนาคตศาสตร์จ์ ากสถาบันั อนาคตศึกึ ษาโคเปนเฮเกน (CopenhagenInstitute for Futures Studies) สถาบันั BIPE Conseil และสถาบันั เพื่่อ� อนาคต (Institute for the Future) ได้ใ้ ห้้
145 | อนาคตศึกษา นิยิ ามคำ�ำ ว่า่ ไวลด์ค์ าร์ด์ ว่า่ เป็น็ เหตุกุ ารณ์ใ์ นอนาคตที่เ่� ชื่อ� ว่า่ เกิดิ ขึ้�นได้น้ ้อ้ ย แต่ม่ ีีความเป็น็ ได้ส้ ูงู ที่จ�่ ะมีีผลกระ ทบสูงู ต่่อการดำำ�เนินิ ธุรุ กิจิ และได้ร้ ะบุุเหตุกุ ารณ์ไ์ วล์ค์ าร์ด์ และผลกระทบต่่อธุุรกิจิ ที่อ่� าจเกิิดขึ้�นได้้ ร วม ถึึงแนวทางที่บ�่ ริิษัทั สามารถเตรีียมพร้อ้ มรัับมืือกัับไวลด์์คาร์์ดนั้�น23 อย่่างไรก็ต็ าม รายงานดังั กล่่าวไม่่ได้้ อธิิบายวิิธีีการที่�่ได้ม้ าซึ่ง� ปััจจััยไวลด์์คาร์ด์ เหล่า่ นั้�น แม้ว่างานอนาคตศาสตร์ท่ีเสนอทางเลือกของภาพอนาคตอาจกล่าวถึงเหตุไม่คาดคิดแบบไวลด์ คาร์ดมาบ้าง แต่ไม่ได้มกี ารพัฒนาวิธกี ารอย่างชัดเจน จนกระท่งั ใน พ.ศ. 2538 เมอื่ นกั อนาคตศาสตร์ ช่อื จอห์น ปีเตอร์สนั (John Petersen) ตพี มิ พ์หนังสอื ชอ่ื Out of the Blue: How to Anticipate Big Future Surprises หนังสือเล่มดังกล่าวน�ำเสนอวิธีการวิเคราะห์เหตุไม่คาดคิดอย่างเป็นระบบ24 หลงั จากนนั้ นกั อนาคตศาสตรห์ ลายคนน�ำเสนอวธิ กี ารวเิ คราะหไ์ วลค์ ารด์ ทล่ี ะเอยี ดซบั ซอ้ นมากขนึ้ โดย แบง่ แยกชดั เจนระหวา่ งเหตไุ มค่ าดฝนั กบั สญั ญาณออ่ น25รวมถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งการเปลย่ี นแปลง แบบค่อยเปน็ ค่อยไป แต่เหน็ ได้ถึงการปรับเปลยี่ นครง้ั ใหญ่ กบั การเปลย่ี นแปลงพลกิ ผนั ท่ีอยูด่ ี ๆ เกดิ ขนึ้ โดยไมค่ าดฝนั มากอ่ น26 ความตระหนกั เกยี่ วกบั ความเส่ียงทมี่ ผี ลตอ่ ธรุ กิจ เศรษฐกจิ และสังคมท�ำให้ นักวิเคราะห์ใหค้ วามสนใจในเหตไุ ม่คาดฝันมากขึน้ อาทิ ธุรกิจประกัน27 และธุรกจิ ผลติ เครื่องบนิ และ รถยนต2์ 8 ในดา้ นการวางแผนนโยบายสาธารณะ ก็มกี ารวิเคราะห์ไวลด์คารด์ ที่มผี ลต่อเศรษฐกจิ สงั คม ในระดบั ประเทศ ดงั ในกรณีของรฐั บาลสิงคโปร2์ 9 องค์ความรู้ในศาสตรด์ ้านการวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ความเส่ยี งกลายเป็นพนื้ ฐานส�ำคญั ของการวเิ คราะห์เหตุไม่คาดฝนั ในงานอนาคตศาสตร์ เหตไุ มค่ าดฝนั แตล่ ะอยา่ งยงั มรี ปู แบบทแ่ี ตกตา่ งกนั ทง้ั ในเชงิ สาเหตแุ ละเชงิ ผลกระทบ โรคระบาด โควิด 19 ย่อมมีสาเหตุและผลกระทบแตกต่างจากภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิที่ญี่ปุ่น หรือวิกฤต แฮมเบอร์เกอร์หรือวิกฤตซับไฟร์มปี 2008 ก็มีสาเหตุที่แตกต่างจากวิกฤตการเงินต้มย�ำกุ้งปี 1997 ดังน้ัน การแบ่งกลุ่มเหตุไม่คาดฝันจึงมีหลายวิธีการ เหตุไม่คาดคิดคาดฝันอาจเกิดจากแหล่งต้นตอท่ี หลากหลาย ทง้ั ทเี่ ปน็ ผลลพั ธท์ ไี่ มไ่ ดต้ งั้ ใจจากการกระท�ำของมนษุ ย์ เชน่ การคน้ พบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ การพัฒนาเทคโนโลยี รวมถึงกระบวนการทางธรรมชาติทไ่ี ม่รมู้ ากอ่ นวา่ จะเกิดขน้ึ เช่น จุดพลิกผันของ ระบบนเิ วศ แหลง่ ตน้ ตอของเหตไุ มค่ าดฝนั อาจแบง่ ตามรายสาขาในแนวคดิ STEEP คอื สงั คม เทคโนโลยี เศรษฐกจิ ส่ิงแวดล้อมและการเมอื ง (society, technology, economy, environment, politics) อีีกเกณฑ์ห์ นึ่่ง� ในการแบ่ง่ กลุ่�มเหตุไุ ม่ค่ าดฝันั คือื ผลกระทบของเหตุกุ ารณ์์ โดยอาจแบ่ง่ ตามสาขาใน STEEP ที่ไ�่ ด้้รัับผลกระทบและขอบเขตของผลกระทบว่า่ ครอบคลุมุ วิิถีีชีีวิติ ธุรุ กิิจ และพื้�นที่่ก� ว้า้ งใหญ่่ ขนาดไหน ตัวั อย่า่ งเช่น่ ในกรณีีของการระบาดของซาร์ส์ (SARS-CoV) ในพ.ศ.2546เมอร์ส์ (MERS-CoV) ใน พ.ศ. 2555 แม้ม้ ีีผลกระทบอยู่�มาก แต่่ก็จ็ ำำ�กัดั อยู่�ในวงแคบกว่่าในกรณีีของโควิิด 19 ทั้�งกัับชีีวิิตคน ทั่่�วไป ธุุรกิิจที่่�ได้้รัับผลกระทบ และขอบเขตพื้�นที่่�ที่่�ได้้รัับผลกระทบ ตามนิยามพ้ืนฐาน เหตไุ ม่คาดฝันหมายถึงเหตกุ ารณ์ทีม่ คี วามเปน็ ไปไดต้ �่ำมาก แต่เหตไุ ม่คาดฝัน แต่ละเหตุการณ์ก็มีระดับความเป็นไปได้ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับระดับการรู้หรือไม่รู้ของมนุษย์เก่ียวกับ เหตกุ ารณ์นน้ั โดยแบง่ ได้ 3 กลุ่มหลกั ได้แก่ 1. เหตกุ ารณท์ ร่ี วู้ า่ มเี กดิ ขน้ึ และคอ่ นขา้ งแนใ่ จวา่ จะเกดิ ขน้ึ อกี แตไ่ มร่ วู้ า่ จะเกดิ ขน้ึ เมือ่ ไหร่ เชน่ ภยั ธรรมชาตติ า่ ง ๆ อาทิ แผ่นดนิ ไหว สึนามิ น�ำ้ ท่วมใหญ่
อนาคตศึกษา | 146 2. เหตุการณ์ที่คนทั่วไปไม่รู้ แต่เป็นท่ีรู้กันในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ เช่น ผลกระทบของการ เปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ 3. เหตกุ ารณท์ โ่ี ดยพน้ื ฐานแลว้ ไมส่ ามารถรไู้ ดล้ ว่ งหนา้ แมแ้ ตผ่ เู้ ชย่ี วชาญไมม่ แี นวคดิ หรอื เครอื่ ง มอื ในการรถู้ งึ เหตกุ ารณน์ นั้ คอื สงิ่ ทเ่ี ราไมร่ วู้ า่ เราไมร่ ู้ หรอื unknown unknowns ความรู้หรือไม่รู้ดังกล่าวมีนัยเชิงจิตวิทยา บางเหตุการณ์เป็นส่ิงท่ีมนุษย์รับรู้อยู่แล้วและมีความ คิดและโลกทัศนเ์ กย่ี วกับเหตกุ ารณ์นนั้ อยู่แลว้ เชน่ ภยั พบิ ัติธรรมชาติ แตเ่ หตุไมค่ าดฝันบางอย่างอาจ ดูเหมอื นขัดกบั สามัญส�ำนึกหรือแม้แตส่ ญั ชาตญาณของมนษุ ย์ แตไ่ มไ่ ด้เป็นสง่ิ ท่เี ป็นไปไม่ได้ ในกรณนี ี้ เส้นแบ่งระหว่างความเปน็ ไปไดก้ บั ความเป็นไปไม่ไดจ้ ึงอยู่ทวี่ ่า ณ เวลาน้ัน มนษุ ย์หรอื สังคมนน้ั มีความ รเู้ กีย่ วกบั สง่ิ นัน้ หรอื ไม่ และมคี วามคดิ หรือโลกทศั นอ์ ยา่ งไรกับสง่ิ นน้ั เหตุไม่คาดฝันยังสามารถแบ่งได้ตามระดับความสามารถในการตัดสินใจของมนุษย์ ได้แก่ (1) เหตไุ มค่ าดฝนั ทเี่ กดิ จากธรรมชาตทิ อ่ี ยนู่ อกเหนอื ความสามารถและการตดั สนิ ใจของมนษุ ย์ (2) เหตุ ไม่คาดฝันท่ีเกิดจากมนุษย์โดยไม่ได้ต้ังใจ และ (3) เหตุที่เกิดจากมนุษย์โดยต้ังใจ เหตุไม่คาดฝันไม่ จ�ำกัดอยู่เพียงเหตกุ ารณ์ที่มผี ลลัพธ์ในเชงิ ลบ บางเหตุการณอ์ าจมผี ลในเชงิ บวกได้ เช่น การคน้ พบทาง วทิ ยาศาสตร์โดยบงั เอญิ เชน่ ยาเพนนซิ ลิ นิ วัตถุระเบดิ ไดนาไมต์ สารออกฤทธต์ิ อ่ จติ ประสาทแอลเอสดี (LSD) เป็นต้น ประเภทของเหตุไม่คาดฝัน มีผลต่อภาพอนาคตหรือฉากทศั น์ที่อาจเกิดข้ึนได้ รวมถึง แนวทางการจินตนาการและวิธีการวิเคราะห์ภาพอนาคตท่ีอาจเกิดขึ้นตามสถานการณ์และสัญญาณที่ อาจสามารถกวาดหาไดก้ ่อนหน้าที่จะเกดิ เหตุไมค่ าดฝนั (ตารางท่ี 9) ปตารระาเภงททข่ี 9องเหตุไม่คาดฝัน ดัดแปลงจาก iknowfutures.eu
147 | อนาคตศึกษา นอกจากน้ี เหตุไมค่ าดฝันบางอยา่ งอาจข้นึ อยา่ งฉบั พลันและมผี ลกระทบทเ่ี ห็นชดั เจนทนั ทดี งั ใน กรณขี องภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติและท่ีมนุษย์กอ่ ข้นึ แตเ่ หตุไมค่ าดฝันบางอยา่ งอาจใช้เวลาในการกอ่ ตวั ขึ้นมาจนถงึ จุดพลกิ ผัน (tipping point) แลว้ มผี ลกระทบในระยะกลางถงึ ระยะยาว ตวั อย่างในกรณี หลงั ไดแ้ กก่ ารคน้ พบทางวทิ ยาศาสตร์ การเปลย่ี นแปลงระบอบการปกครอง เปน็ ต้น ทฤษฎเี คออสกบั ทฤษฎรี ะบบซบั ซอ้ น แนวคิดเหตุไม่คาดฝันในอนาคตศาสตร์มักอ้างอิงถึงทฤษฎีอลวนหรือเคออสและทฤษฎีระบบซับซ้อน (complex systems theory) ทง้ั สองทฤษฎีมผี ลอย่างมากตอ่ วงการศกึ ษาอนาคตทง้ั ในด้านกระบวน ทัศน์ ทฤษฎีพื้นฐาน และวิธีการ ความตน่ื ตวั ในการพฒั นาทฤษฎเี คออสเกดิ ขนึ้ ในชว่ งกลางของศตวรรษที่ 20 เมอ่ื นกั วทิ ยาศาสตร์ หลายสาขาเร่ิมยอมรับว่า ทฤษฎีท่ีเป็นไปตามระบบเชิงเส้น (linear system) ไม่สามารถอธิบาย พฤติกรรมจ�ำนวนมากในระบบธรรมชาติและระบบสังคม ประโยคหนึ่งท่ีได้ยินอยู่ทั่วไปและสื่อถึง ปรากฏการณต์ ามทฤษฎีเคออส คือปรากฏการณ์ \"ผเี สือ้ ขยบั ปีกท�ำให้เกิดพายุ\" หรอื butterfly effect ปรากฏการณ์นี้หมายถึงการเปล่ียนแปลงเพียงเล็กน้อยในพื้นที่หน่ึงและเวลาหนึ่ง อาจท�ำให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงอย่างมากในอกี พนื้ ที่หนึง่ และอกี เวลาหนึง่ ได้ ในเชิงคณติ ศาสตร์ ทฤษฎีเคออสใช้อธบิ าย ลักษณะพฤติกรรมของระบบพลวตั แบบไม่เชงิ เส้น (non-linear) ทเ่ี ปลีย่ นแปลงตามเวลาและสถานท่ี แมว้ า่ รปู แบบและลกั ษณะการเปลย่ี นแปลงในระบบตามทฤษฎเี คออสอาจดปู น่ั ปว่ นและเปน็ แบบ สมุ่ หรอื ไรร้ ะเบยี บ (random/stochastic) แตต่ ามนยิ ามแลว้ ระบบเคออสเปน็ แบบไมส่ มุ่ หรอื ระบบทมี่ ี ระเบยี บ (deterministic) และมคี วามไว (sensitive) ตอ่ สภาวะเรม่ิ ตน้ กลา่ วคอื ระบบ 2 ระบบทมี่ คี ณุ ลกั ษณะแบบเคออสอาจเรม่ิ ตน้ จากสภาวะทแ่ี ตกตา่ งกนั เพยี งเลก็ นอ้ ย แตเ่ มอ่ื เวลาผา่ นไปและระบบได้ เปลย่ี นไปสกั ระยะหนึง่ สภาวะของระบบทง้ั สองจะแตกตา่ งกนั อยา่ งชดั เจน เนือ่ งจากการเปลย่ี นแปลง น้ันสามารถสืบกลับไปที่สาเหตุต้นตอหนึ่งใดได้ จึงไม่ใช่ระบบแบบสุ่ม (random) แต่เป็นระบบที่มี ระเบียบและก�ำหนดได้ (deterministic) ทฤษฎีระบบซับซ้อนเป็นอีกแนวคิดหนึ่งท่ีมีอิทธิพลอย่างมากต่อวงการพยากรณ์และคาดการณ์ ระบบซับซ้อนหมายถึงระบบที่องค์ประกอบจ�ำนวนมาก และองค์ประกอบเหล่านี้มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกัน และกนั รปู แบบหนง่ึ ของระบบซบั ซอ้ นคอื โครงขา่ ยทมี่ ีจดุ ตอ่ (node) เปน็ องคป์ ระกอบของระบบ โดยที่ เสน้ เชื่อมตอ่ ระหว่างจดุ ตา่ ง ๆ แสดงถึงปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งแตล่ ะจุดต่อ ตวั อย่างระบบซบั ซ้อนไดแ้ กภ่ ูมิ อากาศของโลก ระบบนิเวศ สมองมนษุ ย์ โครงสร้างทางเศรษฐกจิ และสงั คมของเมือง เปน็ ต้น การคาด การณ์และพยากรณ์พฤติกรรมของระบบซับซ้อนท�ำได้ยาก เนื่องจากความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์ทั้ง ระหว่างองคป์ ระกอบภายในระบบ และระหว่างระบบกบั ส่งิ แวดลอ้ มภายนอก คุณลกั ษณะเฉพาะของ ระบบซับซ้อน ได้แก่ ความไม่เป็นเส้นตรง (nonlinearity) ของความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ และพฤติกรรมของระบบ การปรับตัว (adaptation) และระบบการป้อนกลับ (feedback loops) คุณลักษณะเฉพาะเหล่านเี้ ป็นพน้ื ฐานหลกั ของการคาดการณ์ระบบซับซ้อน
อนาคตศกึ ษา | 148 ท้ังทฤษฎีเคออสและทฤษฎีระบบซับซ้อนมีอิทธิพลต่ออนาคตศึกษา วิธีการศึกษาอนาคตหลาย วิธีตั้งอยู่บนกระบวนทัศน์ดังกล่าว ตัวอย่างหนึ่งคือแนวคิดเหตุไม่คาดฝันหรือไวลด์คาร์ดและแนวคิด หงส์ด�ำ (black swans) ทงั้ สองค�ำนส้ี อ่ื ถงึ เหตกุ ารณท์ ม่ี คี วามเปน็ ไปไดต้ �่ำที่จะเกดิ ข้ึน แต่ถา้ เกิดขึน้ แลว้ จะมผี ลกระทบสงู แนวคดิ นมี้ กั ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการคาดการณใ์ นการวางแผนยทุ ธศาสตรข์ ององคก์ ร เพอ่ื สามารถรบั มอื กบั เหตไุ มค่ าดฝนั ได้ ไวลดค์ ารด์ อาจสามารถคาดการณไ์ ดจ้ ากการวเิ คราะหส์ ญั ญาณออ่ น ทีเ่ ปน็ ข้อมลู ท่ีไมส่ มบูรณแ์ ละแยกสว่ น และสร้างฉากทศั น์เพ่ือเตรียมพรอ้ มรับมือกบั เหตุไมค่ าดฝันให้ดี ยง่ิ ขึ้น แนวคิดไวลด์คาร์ดในอนาคตศึกษาได้รับการแพร่หลายจากหนังสือของจอห์น ปีเตอร์ซัน (John Petersen) ตามท่กี ล่าวถึงไปข้างตน้ ต่อมา ใน พ.ศ. 2549 นักอนาคตศกึ ษาชาวออสเตรเลียชอ่ื มาร์คสั บารเ์ บอร์ (Marcus Barber) ไดน้ �ำเสนอแนวคดิ ตารางผลกระทบเชงิ อา้ งองิ (Reference Impact Grid) ซงึ่ พฒั นาแนวคดิ ของปเี ตอรซ์ นั ใหค้ รอบคลมุ มากขนึ้ โดยระบถุ งึ ความออ่ นไหวเปราะบางของระบบ และ ปจั จัยทีอ่ าจท�ำให้ระบบโดยรวมไมม่ เี สถียรภาพ ตามแนวคดิ ของปเี ตอรซ์ นั ไวลดค์ าร์ดเปน็ เหตไุ มค่ าด คิดที่เกิดขึ้นครง้ั เดยี ว ส่วนตามแนวคิดของบาร์เบอร์ ไวลค์ ารด์ ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นเหตุการณ์เดียวเสมอ ไป แต่อาจเป็นชุดเหตุการณ์ท่ีเก่ียวข้องกันที่ท�ำให้เกิดผลกระทบหรอื ผลลัพธแ์ บบเดียวกนั บาร์เบอร์ เรยี กชดุ ปรากฏการณน์ ว้ี า่ ชดุ ความไมต่ อ่ เนอื่ งแบบลดระดบั (cascading discontinuity set) ซงึ่ หมาย ถงึ เหตุการณเ์ ล็ก ๆ จ�ำนวนหนึ่งทไี่ มไ่ ดว้ างแผนหรือคาดคดิ มาก่อน แต่ส่งผลให้ระบบมคี วามไมเ่ สถยี ร จนท้ายทส่ี ุด ท�ำใหเ้ กิดผลกระทบทไ่ี มแ่ ตกตา่ งจากเหตกุ ารณใ์ หญท่ ไ่ี มค่ าดฝนั เหตุการณห์ นึ่งได3้ 0 แนวคดิ “หงสด์ �ำ” (Black Swan) มคี วามคลา้ ยกับไวล์คารด์ นาสซมิ นิโคลัส ทาเลบ (Nassim Nicholas Taleb) ใช้ค�ำว่าหงส์ด�ำในหนังสือชื่อ The Black Swan เพ่ือสื่อถึงเหตุการณ์ท่ีคาดไม่ถึง และท�ำให้เกิดผลกระทบกับองค์กรหรือประเทศ แนวคิดนี้มีข้อแตกต่างจากแนวคิดไวล์คาร์ดตรงที่ ปรากฏการณห์ งสด์ �ำถกู ก�ำหนดไวแ้ ลว้ แมย้ งั ไมเ่ กดิ ขน้ึ ในปจั จบุ นั แตจ่ ะเกดิ ขนึ้ แนน่ อนในอนาคต แนวคดิ หงส์ด�ำอธิบายเหตุการณ์ที่มีผลกระทบสูง แต่เกิดขึ้นน้อยคร้ังมาก และยากที่จะคาดการณ์ด้วยกรอบ แนวคิดและทฤษฎที ม่ี อี ยเู่ ดมิ เหตกุ ารณ์หงส์ด�ำยากที่จะค�ำนวณความเปน็ ไปไดอ้ อกมาเปน็ ตัวเลขดว้ ย เครื่องมือเชิงวิทยาศาสตร์ เน่อื งจากมีโอกาสเกิดต�่ำมาก นอกจากนี้ในเชิงจิตวิทยา คนท่ัวไปมักไม่ให้ ความสนใจเทา่ ทค่ี วรกบั เหตกุ ารณท์ ไ่ี มแ่ นน่ อนและเกดิ ขนึ้ ไดน้ อ้ ยครงั้ อยา่ งไรกต็ าม ขอ้ เสนอของทาเลบ ไมไ่ ดม้ งุ่ ไปทค่ี วามพยายามที่จะคาดการณเ์ หตกุ ารณท์ ค่ี าดการณไ์ ดย้ ากมากหรอื แทบไมไ่ ดเ้ ลย แตเ่ สนอ ให้มุ่งความพยายามไปที่การสร้างขีดความสามารถที่จะจัดการกับผลกระทบเชิงลบเม่อื เกิดเหตุการณ์ นั้นข้นึ ไปพรอ้ มกบั การเพมิ่ โอกาสที่จะสร้างผลลพั ธ์ทีพ่ ึงประสงค์จากเหตุการณ์เชิงบวกใหม้ ากที่สุด นัยและความส�ำคัญของเหตุไม่คาดฝันขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของแต่ละคนและแต่ละองค์กรใน การเตรียมพร้อมรับมือกบั เหตุการณ์นน้ั พร้อมกนั นี้ การตดั สนิ ใจดังกลา่ วข้ึนอยู่กับระดบั ความเช่อื วา่ เหตุการณ์ไมค่ าดฝนั นัน้ จะเกดิ ขน้ึ จริงหรอื ไม่ และมีผลกระทบมากจรงิ หรอื ไม่ จากข้อสงั เกตดังกล่าว อีกเกณฑ์หน่ึงท่ีสามารถใช้ในการแบ่งกลุ่มเหตุไม่คาดฝันคือความน่าเช่อื ถือ (credibility) ของแหล่ง ที่มาและข้อความเก่ียวกับเหตุไม่คาดฝันน้ัน โดยเฉพาะจากมุมมองของผู้มีอ�ำนาจในการตัดสินใจ ดัง นั้น ความน่าเชื่อถือจึงย่อมขึ้นอยู่กับบริบทและเงื่อนไขเฉพาะของแต่ละเรื่อง เหตุไม่คาดฝันท่ีมาจาก
149 | อนาคตศกึ ษา การวเิ คราะห์ของผเู้ ชย่ี วชาญคนหนึง่ หรือกลุม่ หน่ึงในสาขาหรือพ้ืนทห่ี นงึ่ อาจไม่ได้รบั ความเชอ่ื ถอื เท่า กนั ในอกี สาขาหรอื พ้ืนทีห่ นึง่ หรือไม่ได้รบั ความเชื่อถอื จากกลมุ่ ผมู้ อี �ำนาจตัดสนิ ใจ ด้วยเกณฑ์ดังกลา่ ว เหตุไม่คาดฝันสามารถแบ่งออกเปน็ 4 กลุม่ ได้แก3่ 1 1. ไวล์คาร์ดแบบ 1: ความเปน็ ไปไดต้ �่ำ ผลกระทบสูง ความน่าเชื่อถือสงู 2. ไวล์คารด์ แบบ 2: ความเปน็ ไปไดส้ ูง ผลกระทบสงู ความน่าเชื่อถือต�่ำ 3. ไวลค์ าร์ดแบบ 3: ความเป็นไปได้สูง ผลกระทบสงู ความนา่ เชอ่ื ถอื เป็นทถ่ี กเถยี งกนั 4. ไวลค์ าร์ดแบบ 4: ความเป็นไปไดส้ งู ผลกระทบสงู ความนา่ เชื่อถอื สูง เหตุไุ ม่ค่ าดฝันั โดยทั่่ว� ไปคือื แบบที่�่ 1 คือื เป็น็ เหตุกุ ารณ์ท์ ี่ย�่ อมรับั กันั ทั้�งในกลุ่�มผู้�เชี่ย�่ วชาญและผู้้�มีีส่ว่ น ได้ส้ ่ว่ นเสีียหลักั ว่า่ เป็น็ เหตุกุ ารณ์ท์ ี่ม�่ ีีผลกระทบสูงู แต่ค่ วามเป็น็ ไปได้ต้ ่ำ��ำ ส่ว่ นเหตุไุ ม่ค่ าดฝันั แบบที่�่ 2 ถึงึ 4 นั้�น เป็น็ เหตุกุ ารณ์ท์ ี่ม�่ ีีความเป็น็ ไปได้ส้ ูงู ผลกระทบสูงู แต่ม่ ีีระดับั ความเชื่อ� ถือื ที่แ�่ ตกต่า่ งกันั ออกไป แบบ ที่่� 2 คือื เหตุกุ ารณ์ท์ ี่ผ�ู่้�เชี่ย่� วชาญวิเิ คราะห์แ์ ล้ว้ ว่า่ มีีโอกาสเกิดิ ขึ้�นได้ส้ ูงู แต่ค่ นที่ไ�่ ม่ใ่ ช่ผู่้�เชี่ย�่ วชาญไม่เ่ ชื่อ� ว่า่ จะ เกิดิ ขึ้�นได้จ้ ริงิ ส่ว่ นแบบที่�่ 3 คือื เหตุกุ ารณ์ท์ ี่ป่� ระชาชนทั่่ว� ไปเริ่ม� ตระหนักั ถึงึ เหตุกุ ารณ์ด์ ังั กล่า่ วมากพอที่่� ทำ�ำ ให้เ้ กิดิ การอภิปิ รายกันั ในวงกว้า้ ง แม้ว้ ่า่ ยังั ไม่ม่ ีีข้อ้ สรุปุ เกี่ย�่ วกับั ความน่า่ เชื่อ� ถือื เกี่ย่� วกับั การเกิดิ ขึ้�นของ เหตุุการณ์น์ั้�น สำ�ำ หรับั แบบที่�่ 4 นั้�น คืือเหตุุการณ์์ที่่เ� ชื่อ� กันั ทั่่�วไปแล้ว้ ว่า่ มีีความเป็น็ ไปได้้สูงู ที่่�จะเกิิดขึ้�น การแบ่ง่ กลุ่�มดังั กล่า่ วเป็น็ ไปตามแนวคิดิ เส้น้ การอุบุ ัตั ิใิ หม่ข่ องประเด็น็ (Issue Emergence) และ วิวิ ััฒนาการของความชอบธรรมเชิงิ นโยบาย (policy legitimization) ซึ่�งเสนอโดย แกรม มอลิิเตอร์์ (Graham Molitor) ใน พ.ศ. 2 52032 ตามแนวคิดิ นี้� ประเด็น็ ที่เ่� กิิดขึ้�นใหม่่และกลายเป็็นเรื่อ� งสำำ�คััญ ในเชิิงนโยบายมักั ผ่า่ นขั้�นตอนของการตระหนัักรู้�และความเห็น็ ของกลุ่�มคนต่่าง ๆ ผ่า่ นทางช่อ่ งทางสื่�อ ที่แ่� ตกต่่างกัันออกไป ตามที่�แ่ สดงอยู่�ในแผนภาพข้้างล่า่ ง จุุดเริ่ม� ต้้นคืือแนวคิดิ ที่อ�่ ภิิปรายกัันในกลุ่�มนััก วิจิ ััยและผู้�เชี่ย�่ วชาญ จากนั้�นเริ่ม� แพร่่หลายและขยายขอบเขตไปยัังกลุ่�มผู้้�นำ�ำ ทางความคิิด ตามด้้วยการ ถกเถีียงกัันในกลุ่�มประชาชนทั่่�วไปในช่่วงต่่อมา จากนั้�นจึึงกลายเป็็นประเด็็นเชิิงนโยบายที่�่รััฐบาลให้้ ความสนใจและเกิดิ การถกเถีียงกัันจนกลายเป็น็ นโยบายและกฎหมายใหม่ข่ึ้�นมา แแนผวนคภิดาเพสท้น่ี ก1า5รอุบตั ิใหม่ของประเด็น ดัดแปลงจาก iknowfutures.eu
อนาคตศึกษา | 150 ตามแนวคดิ นี้ เหตไุ มค่ าดฝนั กม็ วี วิ ฒั นาการคลา้ ยกนั กลา่ วคอื ในชว่ งแรกเปน็ เหตกุ ารณท์ ใ่ี นกลมุ่ ผู้ เชย่ี วชาญเชอื่ วา่ มคี วามเปน็ ไปไดส้ งู ที่จะเกดิ ขน้ึ แตไ่ มไ่ ดร้ บั ความเชอื่ ถอื ในกลมุ่ ผมู้ อี �ำนาจตดั สนิ ใจ จาก นน้ั จงึ เรมิ่ มกี ารถกเถยี งกนั ในวงกวา้ งมากขนึ้ จนกลายเปน็ ประเดน็ เชงิ นโยบายตอ่ ไปในทส่ี ดุ ตวั อยา่ งของ ววิ ฒั นาการของแนวคดิ ในลกั ษณะนคี้ อื แนวคดิ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ซง่ึ ในชว่ งแรกเปน็ เพยี ง ข้อเสนอเชงิ วิชาการ แตต่ อ่ มามีการถกเถียงกนั จนในปจั จบุ นั ใน พ.ศ. 2563 รฐั บาลหลายประเทศเร่มิ ด�ำเนนิ นโยบายและออกกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ขั้นตอนและวธิ กี าร การแบ่งกลุ่มข้างต้นสะท้อนถึงความจ�ำเป็นในการสร้างกระบวนการวิเคราะห์และติดตามเหตุการณ์ ท่ีอาจกลายเป็นเหตุไม่คาดฝันท่ีมีผลกระทบสูง การวิเคราะห์เพ่อื ระบุถึงเหตุไม่คาดฝันแบ่งออกเป็น 4 ขน้ั ตอนหลกั ตามค�ำถามส�ำคญั 4 ข้อ ได้แก3่ 3 1. การระบุเหตกุ ารณ์ (identification) เหตไุ ม่คาดฝันอะไรบา้ งสามารถเกดิ ข้นึ ได้ 2. การประเมนิ และกล่ันกรอง (assessment/filtering) เหตไุ มค่ าดฝนั อะไรส�ำคญั ทีส่ ดุ 3. การติดตาม (monitoring) เราสามารถคาดหมายและติดตามเหตุการณ์นน้ั ได้หรอื ไม่ 4. ทางเลอื กในการด�ำเนนิ การ (options for action) เราเตรยี มพรอ้ มรบั มือได้อยา่ งไรบ้าง กระบวนการวิเคราะหเ์ หตุไม่คาดฝนั มีขนั้ ตอนโดยสังเขป ดังน้ี การระบเุ หตกุ ารณ์ ความท้าทายหลักของขั้นตอนแรกคือการค้นหาและระบุเหตุการณ์ท่ีไม่ได้เป็นภัยพิบัติหรือ เหตุการณ์อันตรายเดมิ ๆ ทีร่ ู้กันอย่แู ล้ว นักอนาคตศาสตร์หลายคนไดว้ เิ คราะห์และสร้างรายการของ เหตกุ ารณ์แบบไวลด์คารด์ ไวบ้ ้างแลว้ เชน่ จอห์น ปีเตอร์สนั (John Petersen) น�ำเสนอเหตกุ ารณไ์ วล์ คารด์ ใน พ.ศ. 2540 ไว้ 78 เหตุการณ3์ 4 หลังจากนนั้ ใน พ.ศ. 2546 อันเจลา สไตน์มูลเลอร์ (Angela Steinmüller) และคาร์ลไฮนส์ สไตน์มูลเลอร์ (Karlheinz Steinmüller) วิเคราะห์เหตุการณ์ไวลด์ คาร์ดใหม่และระบไุ ว้ 55 รายการ35 ทั้งน้ีทัง้ นัน้ จ�ำนวนและรายละเอยี ดของเหตุการณ์แบบนี้ข้ึนอย่กู บั สถานการณ์ เงือ่ นไขและบรบิ ทของแต่ละพ้นื ทีแ่ ละแตล่ ะชว่ งเวลา วธิ กี ารทใี่ ชใ้ นการคน้ หาและระบถุ งึ เหตไุ มค่ าดฝนั มหี ลากหลาย นบั ตง้ั แตก่ ารจดั ประชมุ ระดมสมอง การสมั ภาษณผ์ เู้ ชยี่ วชาญ และการส�ำรวจพน้ื ที่ ไปจนถงึ การวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณใ์ นประวตั ศิ าสตรเ์ พอ่ื หา บทเรยี นจากสงิ่ ทเี่ คยเกดิ ขน้ึ มากอ่ นแลว้ เปรยี บเทยี บกบั สภาพการณใ์ นปจั จบุ นั เนอ่ื งจากการคน้ หาเหตุ ไมค่ าดฝันจ�ำเป็นต้องใชจ้ ินตนาการสูง นยิ ายวิทยาศาสตร์ หรือนยิ ายอ่ืน ๆ ท่มี ีประเด็นและเนื้อหาที่ กา้ วพน้ ไปจากกรอบแนวคดิ ดั้งเดมิ ท่ัวไป อาจช่วยในการวิเคราะหห์ าเหตุไม่คาดฝนั ได้ การประเมินและกลนั่ กรอง เมอื่ ระบุเหตกุ ารณท์ ่ไี มค่ าดฝันได้มาจ�ำนวนหนง่ึ แลว้ ขั้นตอนต่อไปคือการประเมินและกลนั่ กรอง ว่า เหตกุ ารณ์ไหนท่ีนา่ จะมผี ลกระทบสงู ตอ่ พ้ืนทีห่ รือกลมุ่ เป้าหมายและควรเตรียมพรอ้ มตอ่ ไป วธิ ีการ หน่ึงคือการคาดประมาณระดับผลกระทบออกมาเป็นข้อมูลเชิงปริมาณหรือตัวเลขที่วัดค่าได้ แล้วจัด ล�ำดบั ความส�ำคัญของเหตุการณ์ท้งั หมด กรอบแนวคดิ หนึง่ ที่ประยกุ ต์ใช้ได้ในการประเมนิ ผลกระทบ
151 | อนาคตศกึ ษา จากเหตกุ ารณ์ไม่คาดฝันคือล�ำดับความส�ำคัญของผลกระทบตอ่ มนุษย์ ซง่ึ มอี ยู่ 4 ระดบั ดงั น3้ี 6 1. ตวั ตน (being) ประกอบดว้ ยการรับรู้ คณุ คา่ และค่านิยม สุขภาพและสุขภาวะ และสภาพ แวดล้อมรอบตัว 2. การด�ำรงชีวิต (sustenance) ประกอบด้วยต�ำแหน่งท่ีตั้งของท่ีอยู่อาศัย ปริมาณและ คณุ ภาพของอาหารและน�ำ้ พลังงาน และการขนส่งเดนิ ทาง 3. การกระท�ำ (actions) ประกอบด้วยความสัมพันธ์กับผู้อ่นื การเป็นส่วนหน่งึ ของกลุ่มคน หรือองคก์ ร และการใช้เวลาในการท�ำงานและสันทนาการ 4. เครื่องมือ (tools) คือสิ่งท่ีมนุษย์ใช้เพื่อท�ำให้ชีวิตมีความสะดวกสบายและมีความหมาย มากข้ึน เชน่ เครอ่ื งมอื และเทคโนโลยใี นการสื่อสาร เรยี นรู้ ผลิตและกระจายส่งิ ของ สนิ ค้า และการบรกิ าร เหตุการณ์หรือปัจจัยท่ีไม่คาดฝันอาจมีผลกระทบอย่างเห็นได้ชัดและรวดเร็วในระดับเคร่อื งมือ และการกระท�ำของมนษุ ย์ แตผ่ ลกระทบนน้ั อาจไมล่ กึ หรอื กวา้ งในระดบั ผลกระทบตอ่ การด�ำรงชวี ติ และ ความเป็นตัวตนของมนษุ ย์ การวิเคราะห์ผลกระทบของเหตไุ มค่ าดฝนั จึงต้องค�ำนึงถงึ ระดับของผลกระ ทบดงั กลา่ วใหช้ ดั เจน ในการวเิ คราะหค์ า่ ผลกระทบ เหตกุ ารณใ์ ดมผี ลตอ่ ความเปน็ ตวั ตนมากเทา่ ไหรจ่ ะ ย่ิงมีค่าผลกระทบสูงมากขึ้นเท่าน้ัน สูตรหนึ่งท่ีนักอนาคตศาสตร์เสนอให้ใช้ในการประเมินผลกระทบ ของเหตไุ ม่คาดฝนั คอื ระดบั ผลกระทบอารล์ ิงตนั (Arlington Impact Index)37 ซึ่งแบง่ ผลกระทบออก เปน็ 3 องค์ประกอบคือ ระบบมนุษย์ นัยของผลกระทบ และอตั ราการเปลย่ี นแปลงโดยมสี มการดงั นี้ ระดIAบั Iผล=กรVะท+บ T+ Op + P + O+ ΔC+ R = ความเปราะบาง + จังหวะเวลา + การตอ่ ต้าน + อทิ ธิพล + ผลผลิต + อตั ราการเปล่ยี นแปลง + ขอบเขต ระบบมนุุษย์์ (human systems) ความเปราะบาง (Vulnerability) ค�ำถามหลกั ในการวเิ คราะหส์ ว่ นนค้ี อื กลมุ่ หรอื ระบบเปา้ หมาย ของการวเิ คราะหม์ คี วามเปราะบางตอ่ เหตกุ ารณน์ น้ั มากนอ้ ยขนาดไหน และมคี วามสามารถในการฟน้ื ตวั กลับได้ดีขนาดไหน จัังหวะเวลา (Timing) จัังหวะเวลาที่�่เหตุุการณ์์นั้�นเกิิดขึ้�นมีีผลต่่อระดัับผลกระทบ มนุุษย์์อาจ เรีียนรู้�และสร้้างเครื่�องมืือในการรัับมืือกัับเหตุุการณ์์หนึ่่�งได้้ แต่่ต้้องใช้้เวลา ดัังนั้�นถ้้าเหตุุการณ์์นั้�นเกิิด ขึ้�นก่่อนที่่�มนุุษย์จ์ ะพร้้อมรัับมืือ อาจทำำ�ให้้ผลกระทบรุุนแรงกว่่าถ้้าเกิิดขึ้�นในภายหลััง ในทางกลัับกััน ในบางกรณีี ถ้้าเหตุกุ ารณ์์เกิดิ ขึ้�นก่่อนอาจมีีผลกระทบน้้อย เนื่่อ� งจากมนุุษย์ย์ ัังไม่่ต้อ้ งพึ่่�งพิงิ สิ่�งนั้�นมาก แต่ถ่ ้้าปล่่อยเวลาให้้ยาวนานไป อาจทำำ�ให้ผ้ ลกระทบสูงู เพราะทุกุ คนต้้องพึ่่ง� พาสิ่�งนั้�น ตััวอย่่างหนึ่่ง� คืือ การล่ม่ ของระบบอิินเทอร์์เน็ต็ ที่่�เกิดิ ขึ้�นเมื่�อ 20 ปีกี ่่อนกับั ปัจั จุุบันั ย่อ่ มมีีผลกระทบที่�แ่ ตกต่า่ งกัันมาก
อนาคตศึกษา | 152 การต่่อต้้าน (Opposition) เหตุุการณ์์นั้�นจะถููกต่่อต้้านหรืือขััดขืืนจากคนหรืือกลุ่�มคนมากน้้อย เท่่าใด ระดับั การต่่อต้้านจะมีีผลต่่อระดัับผลกระทบที่เ่� กิดิ ขึ้�นกัับกลุ่�มเป้า้ หมาย อิทธิพล (Power) เหตุการณ์นั้นมีอิทธิพลต่อความเป็นตัวตน การด�ำรงชีวิต การกระท�ำและ เคร่ืองมอื ของมนษุ ยเ์ ทา่ ใด ย่ิงมีอทิ ธพิ ลตอ่ ความเปน็ ตัวตนมากเทา่ ใด ยง่ิ มผี ลกระทบสงู เทา่ นั้น นยั ของผลกระทบ (implications) ขอบเขต (reach) ผลกระทบมีีขอบเขตกว้า้ งเท่่าใด อยู่�ในระดัับไหน ระดับั รายบุุคคล ครอบครััว ชุมุ ชน ท้อ้ งถิ่น� ประเทศ หรือื โลก ผลลัพธ์ (Outcome) เราสามารถคาดการณ์ผลลัพธ์ล่วงหน้าได้เท่าใด ความสามารถในการรับมือ และจัดการกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้นอยู่กับการรับรู้ของกลุ่มเป้าหมายเก่ียวกับผลลัพธ์ที่จะเกิดข้ึน ย่ิงผลลพั ธไ์ มแ่ นน่ อนเทา่ ใด ย่งิ เกิดปฏิกิรยิ าตอบรับทีไ่ มม่ ีประสิทธิภาพและว่นุ วายเท่านน้ั อัตราการเปล่ยี นแปลง อัตราการเปลี่ยนแปลง (Rate of change) เหตไุ มค่ าดฝนั มักเกดิ ขนึ้ อยา่ งรวดเร็วเกนิ กวา่ ที่ระบบ ที่มีอยู่แต่เดิมสามารถปรับตัวและรับมือได้ การระดมทรัพยากรเพื่อรับมือกับเหตุการณ์ท่ีไม่คาดคิดมา กอ่ นจะท�ำได้ยากถ้าหากไมเ่ ตรียมตวั ไว้ เนื่องจากการปรับตวั และปรบั เปลย่ี นองค์ประกอบในระบบมกั ประสบกบั อปุ สรรคและความเฉ่อื ยท่มี ีอยู่แต่เดมิ ในระบบน้นั การตดิ ตาม วตั ถุประสงค์หลกั ของการสรา้ งระบบการติดตาม (monitoring) คอื การลดระดับความไม่คาดฝัน ของเหตกุ ารณห์ นงึ่ ลงใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ ส�ำหรบั เหตไุ มค่ าดฝนั ทเ่ี คยเกดิ ขน้ึ แลว้ วธิ กี ารหลกั ของการตดิ ตาม คือการสังเกตและวเิ คราะห์จากเงือ่ นไขและบริบทที่มีอยู่ของการเกิดเหตกุ ารณ์ แต่ในกรณขี องสง่ิ ที่เรา ไม่รูว้ ่าเราไมร่ ู้ (unknown unknowns) เรายอ่ มไม่สามารถตดิ ตามเหตุการณน์ ้นั ได้ จนกระท่ังสามารถ สังเกตเห็นเป็นสัญญาณออ่ นที่แสดงใหเ้ หน็ วา่ โอกาสในการเกดิ เหตุไม่คาดฝนั น้นั มีความเปน็ ไปได้มาก ข้ึน ดังน้ัน การติดตามในกรณีน้ีจึงหมายถึงการค้นหาและระบุถึงสัญญาณอ่อน และคอยสังเกตและ จับตามองการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์เหล่านั้น แม้ว่าการสร้างระบบติดตามเหตุการณ์ไม่คาดฝัน และสัญญาณอ่อนเป็นส่ิงที่ยาก แต่นักอนาคตศาสตร์จ�ำนวนหนึ่งเช่ือว่า การพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยเฉพาะระบบอินเทอร์เน็ตและการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์อย่างรวดเร็ว ได้เพ่ิมขีดความสามารถในการระบถุ งึ สญั ญาณออ่ นให้ดียงิ่ ข้นึ ทางเลอื กในการดำ� เนนิ การ การเตรียมพร้อมรับมือกับเหตุไม่คาดฝันจ�ำเป็นต้องใช้แนวคิดและแนวทางท่ีหลากหลายและ หลุดออกจากกรอบ (out-of-the-box) ทั้งความคดิ เชงิ ระบบ ความคิดเชงิ สร้างสรรค์ และจินตนาการ วัตถปุ ระสงค์หลักของการด�ำเนินการคอื เพอ่ื หลีกเล่ียงเหตุไม่คาดฝันกอ่ นที่จะเกิดข้ึน ถา้ เปน็ เหตุการณ์ ท่ีไม่พึงประสงค์ แต่ถ้าเป็นเหตุการณ์ท่พี ึงประสงค์ วัตถปุ ระสงคค์ อื เพื่อหาชอ่ งทางกระตนุ้ ให้เหตุการณ์ น้ันเกิดขึ้นจริง อีกวัตถุประสงค์หน่ึงคือเพ่ือบรรเทาผลกระทบจากเหตุการณ์ไม่คาดฝัน ถ้าหลีกเลี่ยง
153 | อนาคตศกึ ษา เหตกุ ารณ์น้ันไม่ได้ และเพื่อปรบั เปลีย่ นระบบเพื่อรบั มอื กับเหตกุ ารณ์ดงั กล่าว แนวคดิ นคี้ ลา้ ยคลึงกับ กรอบแนวคิดท่มี ีอยู่ในการเตรียมพร้อมรับมือกับภยั พิบัติ คอื การป้องกนั (prevention) การบรรเทา ผลกระทบ (mitigation) และการปรับตัว (adaptation) ในปัจจุบัน ระบบการวิเคราะห์และติดตามเหตุไม่คาดฝันได้รับการพัฒนาให้ท่ีมีประสิทธิภาพ มากขึ้น ท้ังการสร้างฐานข้อมูลเหตุไม่คาดฝนั (Wild Card databases) ระบบอนิ เทอรเ์ น็ตทร่ี วบรวม และประเมินเหตุไม่คาดฝัน และระบบการเตือนภัยล่วงหน้าท่ีติดตามสัญญาณอ่อนที่อาจกลายเป็น เหตไุ มค่ าดฝันตอ่ ไปได้ ตวั อย่างของระบบทมี่ ีองค์ประกอบครบท้ังสามส่วนนีค้ ือ โครงการ iKnow ของ ประชาคมยุโรป (http://wiwe.iknowfutures.eu/) ซ่งึ ประกอบดว้ ย iBank หรอื WI-WE Bank ซึ่ง รวบรวมสัญญาณอ่อนและเหตุไม่คาดฝัน จากการสืบค้นเม่ือวันท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2563 ระบบ ฐานข้อมูลดังกล่าวระบุเหตุการณ์ไม่คาดฝันไว้ท้ังหมด 29,613 รายการ และสัญญาณอ่อน 38,363 รายการ รายการเหลา่ นว้ี เิ คราะหแ์ ละประเมนิ โดยสมาชกิ ในเครอื ขา่ ย ซึง่ มมี ากถงึ 18,679 คน38 ในการ สรา้ ง WI-WE Bank โครงการ iKNOW ใชว้ ธิ กี ารทหี่ ลากหลายในการกวาดสญั ญาณหาเหตไุ มค่ าดฝนั และ สญั ญาณออ่ น นบั ตง้ั แตก่ ารกวาดสญั ญาณอยา่ งเปน็ ระบบจากผลลพั ธข์ องโครงการวจิ ยั และคาดการณท์ งั้ ในยโุ รปและทั่วโลก การสมั ภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญดา้ นการคาดการณ์ วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี และการวิจยั ในหวั ขอ้ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง การประชมุ วชิ าการและการปฏบิ ตั กิ าร รวมถงึ การส�ำรวจทง้ั ออฟไลนแ์ ละออนไลน์ ตวั อยา่ งของเหตไุ ม่คาดฝนั ในฐานขอ้ มลู WI-WE Bank ได้แก่ การระบาดของไวรัส ภเู ขาไฟระเบดิ ครั้งใหญ่ การค้นพบอารยธรรมต่างดาว การพัฒนาเม็ดเลือดแดงเทียมที่มีคุณลักษณะเหมือนของจริง การคว�่ำบาตรของสหประชาชาตติ อ่ สหรฐั อเมรกิ า การลม่ ของอนิ เทอรเ์ นต็ และไมส่ ามารถกฟู้ น้ื คนื กลบั มาได้ สงครามระหว่างชนเผา่ ใหม่ในเมือง เทคโนโลยีการแพทย์รักษาโรคส�ำคญั เกือบทัง้ หมดในยโุ รป การสิ้นสดุ ของโลกาภิวตั น์ เป็นตน้
อนาคตศึกษา | 154 แบบจ�ำ ลองการตดั สินใจ วัตถุประสงค์หลักของการศึกษาอนาคตและการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์คือเพื่อเตรียมพื้นฐาน ส�ำหรับการตัดสินใจ วิธีการแบบจ�ำลองการตัดสินใจมุ่งจ�ำลองพฤติกรรมการตัดสินใจท่ีเกิดขึ้นจริง ตามเกณฑ์ท่ีตั้งข้ึนมา แล้วประเมินว่า ทางเลือกยุทธศาสตร์ไหนดีที่สุดตามเกณฑ์ดังกล่าว แต่ละ เกณฑ์อาจมีน้�ำหนักไม่เท่ากัน ข้ึนอยู่กับความส�ำคัญที่ผู้เข้าร่วมกระบวนการให้กับแต่ละเกณฑ์ รวม ถึงความเป็นไปได้และปัจจัยความไม่แน่นอนในอนาคต แบบจ�ำลองการตัดสินใจใช้อย่างแพร่หลาย ในงานคาดการณ์ โดยมคี วามหลากหลายของวิธีการ หัวข้อ เกณฑ์ทใี่ ชใ้ นการประเมิน และวธิ กี ารวดั โดยพ้ืนฐาน แบบจ�ำลองการตดั สินใจเป็นไปตามกรอบทฤษฎอี รรถประโยชน์ (utility theory) ท่ีเสนอว่า คนที่ตัดสินใจด้วยหลักเหตุผล (rationality) จะเลือกสินค้า นโยบาย หรือกิจกรรมท่ีตรง ตามเกณฑท์ ต่ี ง้ั ไว้มากทส่ี ดุ แบบจ�ำลองการตัดสนิ ใจใชท้ ว่ั ไปในการวเิ คราะหร์ ะบบ ทั้งนี้ พฤตกิ รรม ของระบบโดยมากก�ำหนดโดยการตัดสินใจของปัจเจกบุคคล กลุ่มคนหรือองค์กรที่อยู่ในระบบนั้น เชน่ พฤตกิ รรมในตลาดห้นุ เกิดจากการตดั สินใจของผ้ซู อื้ ผขู้ ายหุ้น การตดั สนิ ใจในการประกอบธรุ กจิ ของบรษิ ทั ในตลาดหนุ้ รวมไปถงึ การตดั สนิ ใจทางนโยบายของรฐั บาล สว่ นพลวตั ระบบประชากรของ ประเทศขน้ึ อยกู่ บั การตดั สนิ ใจในการแตง่ งานและการมลี กู ของคนแตล่ ะวยั รวมถงึ การยา้ ยเขา้ ยา้ ยออก และนโยบายคนตา่ งดา้ วของรฐั บาลในแตล่ ะประเทศ ส�ำหรบั ในระบบการขนสง่ ในเมอื ง พฤตกิ รรมการ เดินทางขน้ึ อย่กู บั การตัดสินใจของคนเมอื งในการเลือกทอี่ ยอู่ าศัย การเลอื กแหล่งงาน รวมถึงพาหนะ ทเี่ ลอื กใชใ้ นการเดนิ ทาง จากตวั อยา่ งเหลา่ น้ี เหน็ ไดว้ า่ การท�ำความเขา้ ใจในพฤตกิ รรมของระบบหนึง่ จ�ำเปน็ ต้องเข้าใจในธรรมชาตขิ องการตดั สินใจขององค์ประกอบอืน่ ในระบบนน้ั แบบจ�ำลองการตดั สนิ ใจมกั เรม่ิ จากการตงั้ เกณฑก์ ารตดั สนิ ใจ แลว้ ประเมนิ ทางเลอื กในการตดั สนิ ใจ หรอื ในทางกลบั กนั อาจวเิ คราะหผ์ ลการตดั สนิ ใจ แลว้ จงึ ยอ้ นกลบั ไปหาเกณฑท์ แี่ ตล่ ะคนไดต้ ง้ั ไว้ ใน กรณนี ้ี แบบจ�ำลองจะแสดงกระบวนการตดั สนิ ใจของผตู้ ดั สนิ ใจทมี่ ผี ลตอ่ พฤตกิ รรมของระบบโดยรวม ผตู้ ดั สนิ ใจมตี ง้ั แตผ่ บู้ รโิ ภค ผนู้ �ำองคก์ ร ไปจนถงึ นกั การเมอื ง ฯลฯ ขอ้ สมมตหิ ลกั ของแนวทางวเิ คราะห์ แบบนีค้ ือ ผู้ตัดสนิ ใจค�ำนงึ ถงึ ปจั จัยตา่ ง ๆ ในการประเมนิ ทางเลือกท่มี อี ยู่ และทางเลอื กทไ่ี ด้ตดั สนิ ใจ เลอื กนน้ั โดยรวมสรา้ งอรรถประโยชนม์ ากกวา่ ทางเลอื กอน่ื ถงึ แมว้ า่ ผตู้ ดั สนิ ใจอาจไมไ่ ดแ้ จกแจงเกณฑ์ หรอื ปัจจัยท่ใี ชใ้ นการตดั สินใจออกมาทั้งหมด แลว้ ชัง่ น�้ำหนักและประเมนิ ทางเลือกกต็ าม แตถ่ ือวา่ ได้ คิดค�ำนงึ ถึงคณุ คา่ หรืออรรถประโยชนท์ ่ีใหก้ บั แต่ละปัจจัยไปแล้ว
155 | อนาคตศกึ ษา ในการตัดสินใจแต่ละครั้ง การก�ำหนดว่าทางเลือกไหนดีท่ีสุดน้ันจะข้ึนอยู่กับการเปรียบเทียบ คณุ คา่ ทีใ่ ห้กับแต่ละเกณฑ์ด้วย เช่น ทางเลือกบางอย่างอาจตน้ ทุนต�่ำ แต่ให้ผลตอบแทนน้อยกวา่ บาง ทางเลอื กทตี่ น้ ทนุ สงู แตใ่ หป้ ระโยชนส์ งู กระบวนการตดั สนิ ใจในแนวทางนต้ี อ้ งเลอื กใหน้ ำ�้ หนกั ระหวา่ ง เกณฑแ์ ตกตา่ งกนั ซ่ึงข้ึนอยู่กับสถานการณ์และคุณค่าของผู้ตัดสนิ ใจ นักวิเคราะห์ในหลายศาสตร์ได้พัฒนาเทคนิคท่ีหลากหลายในการสร้างแบบจ�ำลองการตัดสินใจ ตัวอย่างหน่ึงในด้านการตัดสินใจของผู้บริโภคคือวิธีการวัดร่วม (conjoint measurement) ซ่งึ ให้ผู้ ตอบแสดงความเห็นในการตัดสินใจเก่ียวกับความต้องการหรือความพึงพอใจของตนเองเกี่ยวกับองค์ ประกอบหรอื คณุ ลกั ษณะทผ่ี สมรวมกนั ของสนิ คา้ ทต่ี อ้ งการวเิ คราะห์ วตั ถปุ ระสงคค์ อื เพือ่ วเิ คราะหว์ า่ องคป์ ระกอบหรอื คณุ ลกั ษณะสนิ คา้ ใดทผี่ บู้ รโิ ภคพงึ พอใจมากทส่ี ดุ แนวคดิ ท่ีเปน็ พน้ื ฐานของวธิ กี ารวดั รว่ มคอื ถา้ เปน็ ค�ำถามตรง ๆ วา่ ชอบคณุ ลกั ษณะหรอื องคป์ ระกอบไหนอยา่ งไร ผบู้ รโิ ภคอาจไมส่ ามารถ อธบิ ายวา่ ตนเองได้รวบรวมและประมวลคณุ ลกั ษณะของสินค้ามาอยา่ งไร กอ่ นที่จะตัดสนิ ใจเกีย่ วกบั สินค้าน้ัน การใช้วิธีการวัดร่วมสามารถอนุมานพฤติกรรมของแต่ละคนได้จากสิ่งท่ีแต่ละคนได้เลือกไป แทนที่จะให้แต่ละคนระบุถงึ ความส�ำคัญของแตล่ ะองค์ประกอบหรอื คุณลกั ษณะแตล่ ะด้าน แบบจ�ำลองการตัดสินใจใช้อย่างแพร่หลายในการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ เทคนิคหนึ่งท่ีใช้กัน ทวั่ ไปคอื ตารางวิเคราะห์ยทุ ธศาสตร์ (Strategy Analysis Grid) ซง่ึ พฒั นาโดยเจอโรม เกลน (Jerome Glenn)39 ในการวเิ คราะห์และประเมินทางเลือกเชิงยทุ ธศาสตรท์ ่วั ไป ยทุ ธศาสตรท์ ี่จัดอยูใ่ นช่องดา้ น บนซ้ายสุดสามารถด�ำเนินการไดง้ ่าย แตอ่ าจไม่มีประสิทธผิ ลเทา่ กับยทุ ธศาสตร์ในชอ่ งดา้ นล่างขวา ซึง่ ยากกว่าในการด�ำเนนิ การ ตตวัารอายงา่ ทงี่ต1า0รางการวเิ คราะหย์ ทุ ธศาสตร์ ทม่ี า: The Futures Group International (2009a) ยกตวั อยา่ งเชน่ ถา้ เปา้ หมายของนโยบายอยทู่ ก่ี ารลดการสง่ เสยี งดงั ภายในหอ้ งสมดุ ชอ่ งท่ี 1 หมาย ถงึ ยุทธศาสตรใ์ นให้ขอ้ มูลกับนักศกึ ษาและบุคลากร เชน่ การตดิ โปสเตอร์หรือสติกเกอร์รณรงคก์ ารลด การใชเ้ สยี ง ตวั อยา่ งยทุ ธศาสตรใ์ นชอ่ งที่ 2 คอื การขอใหค้ นทสี่ ง่ เสยี งดงั ออกจากหอ้ งสมดุ สว่ นชอ่ งท่ี 3 เปน็ การสรา้ งระบบใหมข่ น้ึ มาแทนทร่ี ะบบเดมิ เชน่ สรา้ งระบบออนไลนท์ ท่ี �ำใหไ้ มม่ คี วามจ�ำเปน็ ตอ้ งมา ใชห้ อ้ งสมดุ โดยตรง หรอื ปรบั เปลย่ี นสง่ิ แวดลอ้ มในระบบ เชน่ เพมิ่ วสั ดปุ อ้ งกนั เสยี งบนผนงั หอ้ ง เปน็ ตน้ 40 ประโยชนห์ นงึ่ ของตารางรปู แบบดงั กลา่ วคอื สามารถเปรยี บเทยี บทางเลอื กตา่ ง ๆ ตามประสทิ ธผิ ลและ ความยากง่ายของการด�ำเนินงาน
อนาคตศกึ ษา | 156 อกี เทคนคิ หนง่ึ ทใ่ี ชต้ ารางในการวเิ คราะหท์ างเลอื กนโยบายคอื การประยกุ ตใ์ ชก้ รอบทฤษฎลี �ำดบั ขนั้ ความต้องการของมาสโลว์ (Maslow's hierarchy of needs) โดยประเมนิ วา่ แต่ละนโยบายหรือ ยุทธศาสตร์ท�ำให้เกิดผลลัพธ์ในด้านความต้องการของผู้คนท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมายอย่างไรบ้าง ทั้งในเชิง บวกและเชิงลบ ดงั ท่แี สดงไว้ในตารางที่ 11 ตตวัารอายงา่ ทงี่ต1า1รางวิเคราะหค์ วามต้องการของมนุษยแ์ ละทางเลอื กนโยบาย ทม่ี า: The Futures Group International (2009a) นอกจากน้ี เทคนิคการสรา้ งแบบจ�ำลองแบบ MULTIPOL ของมเิ ชล โกเดท์ (Michel Godet) เสนอใหใ้ ชข้ อ้ สมมตทิ ว่ี า่ บรบิ ทในอนาคตมมี ากกวา่ หนงึ่ ทางเลอื ก แทนที่จะเปน็ อนาคตเดยี วและมกี าร ใหค้ ณุ คา่ หนงึ่ เดยี ว การวเิ คราะหก์ ารตดั สนิ ใจตามเทคนคิ นจี้ ะปรบั คา่ นำ�้ หนกั ของแตล่ ะการตดั สนิ ใจตาม บริบทในอนาคตทคี่ าดการณไ์ ว้ ตวั อยา่ งเช่น ในการตดั สนิ ใจวา่ จะซอื้ รถยนต์ เกณฑด์ า้ นประสิทธิภาพ ของการใช้เช้ือเพลิงจะได้รับน�้ำหนักในการประเมินมากกว่าในกรณีที่เป็นฉากทัศน์อนาคตที่เน้นการ ประหยัดพลังงานมากกว่าฉากทัศน์ที่ใชพ้ ลังงานมาก เทคนคิ การประเมินน้ที �ำให้มคี วามยืดหย่นุ ในการ วิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บผลลพั ธ์ของนโยบายไดต้ ามสถานการณ์ในอนาคตท่ีหลากหลาย ในปจั จบุ นั มโี ปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ชี่ ว่ ยในการตดั สนิ ใจอยพู่ อสมควร ซงึ่ โดยมากเปน็ ไปตามหลกั การเปรยี บเทยี บอรรถประโยชนข์ องแตล่ ะทางเลอื กของนโยบายตามเกณฑท์ มี่ กี ารถว่ งนำ้� หนกั ทตี่ า่ งกนั หรืออาจใช้การวิเคราะห์ร่วม (conjoint analysis) เพ่อื ระบุระดับความพึงพอใจและแจกแจงเกณฑ์ และน้�ำหนักท่ีให้กับแต่ละเกณฑ์ บางระบบมีฟังก์ช่ันการประเมินความเสี่ยงและประมาณระดับความ เสี่ยงด้วยการจ�ำลองสถานการณ์แบบมอนติคาร์โลในรูปแบบคล้ายคลึงกับการวิเคราะห์ผลกระทบต่อ แนวโน้ม (Trend Impact Analysis) ตัวอยา่ งของโปรแกรมซอฟตแ์ วรแ์ บบจ�ำลองการตดั สนิ ใจมีดังน้ี • LOGICAL DECISIONS (http://www.logicaldecisions.com/) • DECISIONTOOLS® (http://www.palisade.com/decisiontools_suite/) • EXPERT CHOICE (http://www.expertchoice.com/) • Vanguard Software Corporation, (http://www.vanguardsw.com/solutions/appli- cation/decision-support/) • Question Pro (http://www.questionpro.com/info/contactUs.html) • Sawtooth Software (http://www.sawtoothsoftware.com/education/techpap. shtml)
157 | อนาคตศึกษา แบบจ�ำ ลองทางสถติ ิ แบบจ�ำลองทางสถิติ (statistical modeling) เปน็ หนึ่งในวิธกี ารพยากรณ์และคาดการณ์อนาคตท่ีได้ ความนยิ มและแพรห่ ลายมากทส่ี ดุ ในแทบทกุ ศาสตรแ์ ละสาขา ไมว่ า่ จะในสาขาวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ และสงั คมศาสตร์ แบบจ�ำลองทางสถติ สิ �ำหรบั การศกึ ษาอนาคตครอบคลมุ ทกุ วธิ ี การทอ่ี ยบู่ นพนื้ ฐานของตวั เลขและคณติ ศาสตร์ โดยมที ง้ั ทเี่ ปน็ แบบจ�ำลองอนกุ รมเวลา (time series) และแบบจ�ำลองสถานการณ์ (simulation modeling) แบบจ�ำลองอนกุ รมเวลาใชส้ มการคณติ ศาสตร์ ที่อธบิ ายชุดข้อมูลในอดีตเกีย่ วกบั ปจั จยั หนึง่ ได้อยา่ งเหมาะสมที่สุด วิธีการที่ง่ายท่สี ดุ คอื สมการอยา่ ง งา่ ยทลี่ ากเสน้ ตรงหรอื เสน้ โคง้ ทล่ี ดความคลาดเคลอ่ื น (error) ระหวา่ งชดุ ขอ้ มลู กบั เสน้ ทลี่ ากไดใ้ หเ้ หลอื นอ้ ยทส่ี ดุ ส่วนแบบจ�ำลองทซี่ ับซ้อนกวา่ น้ันจะมุ่งใช้สมการคณติ ศาสตรท์ ่ลี ดความคลาดเคลือ่ นสะสม (cumulative error) ระหว่างขอ้ มูลท่มี อี ยกู่ บั ขอ้ มลู ทสี่ ร้างขน้ึ มา (reconstructed data) ข้อมูลที่ ใชอ้ าจเปน็ คา่ เฉล่ยี เชิงสถติ ย์ (static average) หรอื ปรับข้อมลู ให้เรียบ (smooth) มากข้ึนโดยการ ใช้วิธีแบบค่าเฉลี่ยเคลื่อนท่ี (moving average) หรือใช้ค่าเฉลี่ยเคล่ือนท่ีแบบถ่วงน้�ำหนักซับซ้อน (Exponential Moving Average) ที่ให้คา่ น�้ำหนักมากกวา่ กับขอ้ มลู ที่ใหมก่ ว่า เมอื่ สมการท่สี รา้ งขน้ึ สอดคลอ้ งอย่างดีกับขอ้ มลู จรงิ (good fit) จะสามารถใช้แบบจ�ำลองนัน้ ในการพยากรณ์อนาคตต่อไป ส่่วนการสร้้างแบบจำ�ำ ลองสถานการณ์์ครอบคลุุมเทคนิิควิิธีีการหลายแนวทางด้้วยกััน อาทิิ การ วิิเคราะห์ถ์ ดถอยพหุุคูณู (multiple regession) แบบจำำ�ลองสถานการณ์์ (simulation modeling) และแบบจำำ�ลองพลวััตระบบ (system dynamics modeling) การวิิเคราะห์ถ์ ดถอยพหุคุ ููณมุ่�งศึึกษา ความสัมั พันั ธ์์ระหว่า่ งตััวแปรต้น้ หรืือตัวั แปรอิิสระ ซึ่ง� อธิิบายรูปู แบบหรือื คุุณลัักษณะของตััวแปรตาม สมการถดถอยอาจเป็็นแบบเส้้นตรง (linear) หรืือเป็น็ แบบไม่่เป็น็ เส้น้ ตรง (nonlinear) และพหุุนาม (polynomial) สมการถดถอยอาจเป็น็ แบบตัดั ขวาง (cross-sectional) ที่แ่� สดงความสัมั พันั ธ์ร์ ะหว่า่ ง ตัวั แปร ณ จุดุ เวลาหนึ่่ง� หรืือเป็็นแบบอนุุกรมเวลาที่�แ่ สดงความสััมพัันธ์ท์ ี่�่เปลี่�่ยนไปตามช่่วงเวลาด้ว้ ย การพยากรณ์์หรืือคาดการณ์์ไปยัังอนาคตย่่อมเป็็นการวิิเคราะห์์เชิิงอนุุกรมเวลาโดยอััตโนมััติิ ใน หลายกรณีี ตััวแปรตามของสมการหนึ่่�งเป็็นตััวแปรต้้นของอีีกสมการหนึ่่�ง จึึงต้้องสร้้างสมการเกี่�่ยว เนื่่�อง (simultaneous equations) เพื่่�อแสดงความสััมพัันธ์์ของตััวแปรต่่าง ๆ ในระบบที่�่ซัับซ้้อน
อนาคตศกึ ษา | 158 ดัังในกรณีีของระบบเศรษฐกิิจของประเทศ วิิธีีการเหล่่านี้�สามารถใช้้ได้้ในการวิิเคราะห์์แนวโน้้มจาก อดีีตและพยากรณ์แ์ นวโน้ม้ ในอนาคต คณุ ลกั ษณะส�ำคญั ประการหนงึ่ ของการวเิ คราะหท์ างสถติ แิ บบอนกุ รมเวลาคอื สมการจะก�ำหนด โดยความสัมพันธ์เชิงสถติ ทิ ี่เป็นมาแตอ่ ดีต คา่ สมั ประสิทธ์ิของแบบจ�ำลองจงึ ไมม่ ีความหมายหรอื มคี า่ ทางกายภาพ ในขณะท่ีในแบบจ�ำลองพลวัตระบบน้ัน สมการสร้างขึ้นมาเพ่ือให้ลอกเลียนแบบการ ท�ำงานของระบบจรงิ ทต่ี ้องการศกึ ษา โดยแบ่งเปน็ ตวั แปรสองประเภทคอื ตวั แปรสต็อก (stock) กบั ตัวแปรกระแสหรือโฟลว์ (flow) ซ่ึงสามารถใช้ได้ดีในการพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคต ค่าสมั ประสทิ ธข์ิ องแบบจ�ำลองจงึ มีความหมายในเชงิ กายภาพจรงิ ของระบบนัน้ เครอื่ งมอื ทางสถติ ใิ นการศกึ ษาและคาดการณอ์ นาคตใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในวงการวชิ าการและ วางแผนนโยบาย และเปน็ ประโยชน์อย่างยิ่งในการวิจัยอนาคต เนอ่ื งจากช่วยเพ่ิมความเข้าใจเกย่ี วกับ ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในอดีต อีกท้ังยังสามารถช่วยให้เห็นภาพของการพยากรณ์ในกรณีที่ ไม่มีการเปล่ียนแปลงของโครงสร้างระบบและปัจจัยขับเคลื่อนส�ำคัญ หรือท่ีเรียกว่าสถานการณ์หรือ ฉากทัศนฐ์ าน (baseline situation/scenario) แตว่ ธิ กี ารทางสถติ เิ หลา่ นมี้ ขี อ้ จ�ำกดั ส�ำคญั หลายประการ ผศู้ กึ ษาอนาคตจงึ ตอ้ งพงึ ระวงั และเขา้ ใจ ในข้อจ�ำกัดเหล่าน้ี ชดุ ข้อสมมตทิ ่สี �ำคัญของเคร่ืองมือทางสถติ ิคือ (1) ขอ้ มลู ทั้งหมดที่จ�ำเปน็ ในการ คาดการณส์ ามารถหาไดใ้ นขอ้ มลู จากอดตี (2) แบบจ�ำลองทส่ี รา้ งขน้ึ ดว้ ยขอ้ มลู จากอดตี สามารถแสดง โครงสรา้ งทแี่ ทจ้ รงิ ของระบบทต่ี อ้ งการวเิ คราะห์ และ (3) โครงสรา้ งระบบทส่ี มมตไิ วใ้ นแบบจ�ำลองดว้ ย ขอ้ มลู จากอดตี จะไมเ่ ปลยี่ นแปลงไปในอนาคต ขอ้ สมมตเิ หลา่ นมี้ กั ไมร่ ะบไุ วอ้ ยา่ งชดั เจนในแบบจ�ำลอง ทเ่ี หน็ อยทู่ ว่ั ไป นกั วเิ คราะหโ์ ดยทว่ั ไปจงึ อาจมองขา้ มขอ้ สมมตสิ �ำคญั เหลา่ นี้ แตเ่ นอ่ื งจากเปน็ ขอ้ สมมตทิ ่ี ผลอยา่ งมากตอ่ การคาดการณแ์ ละการตคี วามจากผลการคาดการณ์ จงึ ตอ้ งใหค้ วามสนใจในเรอื่ งนม้ี าก ขึ้น ขอ้ สมมตดิ งั กล่าวมีผลอยา่ งยิง่ ต่อความน่าเช่ือถือของการใชส้ มการสถติ ิเชิงเด่ยี วในการพยากรณ์ ในปัจจุบัน มีการพัฒนาวิธีคาดการณ์ท่ีตระหนักถึงข้อสมมตินี้และพยายามลดข้อจ�ำกัดท่ีเกิด ข้ึน หลักการพ้ืนฐานของการสร้างแบบจ�ำลองที่แก้ไขปัญหาข้างต้น โดยเฉพาะในการศึกษาอนาคต คือ การจ�ำลองสถานการณ์ต้องใกล้กับความเป็นจริงมากท่ีสุด โดยเปรียบเทียบโครงสร้าง องค์ ประกอบและเงื่อนไขของแบบจ�ำลองกับสภาพความเป็นจริงอยู่เสมอ โดยมีวัตถุประสงค์ไม่ใช่เพื่อแค่ ให้เข้าใจว่าปรากฏการณ์นั้นเกิดข้ึนได้อย่างไร แต่เพื่อพยากรณ์หรือคาดการณ์ด้วยว่า ปรากฏการณ์ นน้ั จะเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งไรในอนาคตภายในระดบั ความเชอื่ ม่ัน (confidence level) ท่รี ับได้ ตาม แนวทางน้ี นักวิเคราะห์ต้องตรวจสอบข้อสมมติอยู่เสมอ และปรับเปลี่ยนข้อสมมติและแบบจ�ำลอง ตามที่เหมาะสม และอาจต้องเก็บข้อมูลเพิ่มเติม และวิเคราะห์ซ�้ำไปซ้�ำมาจนกระทั่งแบบจ�ำลองนั้น สะท้อนปรากฏการณ์หรือพฤติกรรมจริง ส�ำหรับในงานศึกษาอนาคต แบบจ�ำลองจะต้องมี “เวลา” เป็นตัวแปรอิสระหน่ึงที่ส�ำคัญ ดังน้ัน เทคนิควิเคราะห์ทางสถิติใดท่ีเพียงแค่ศึกษาความสัมพันธ์เชิง สถติ ริ ะหวา่ งตวั แปรต้นกบั ตัวแปรตาม โดยไมม่ ีกรอบแนวคดิ ที่มี “เวลา” เป็นตวั แปรอสิ ระหนงึ่ จะไม่ สามารถใช้ในการคาดการณไ์ ด้
159 | อนาคตศึกษา ในปัจจุบัน แบบจ�ำลองทางสถิติที่ใช้ศึกษาอนาคตมักค�ำนึงถึงปัจจัยที่ไม่แน่นอนมากขึ้น ท้ังใน การก�ำหนดโครงสร้างและองค์ประกอบของแบบจ�ำลอง และการตีความและใช้ประโยชน์จากผลการ วิเคราะห์ ท้ังน้ี ผลการคาดการณ์ควรระบุระดับความเชื่อม่ันอยู่เสมอ ส�ำหรับวิธีการวิเคราะห์เชิง สถิติที่จ�ำลองสถานการณ์ ในการคาดการณ์ ผลการวิเคราะห์ต้องอธิบายทิศทางแนวโน้ม (trajecto- ries) ตามเง่ือนไขเร่ิมต้น (initial conditions) ปัจจัยแทรกซ้อนจากภายนอก และการเปล่ียนแปลง ของปัจจัยภายในระบบ ไม่เช่นนั้น กรอบความคิดทางสถิติท่ีใช้จะเป็นแบบดีเทอร์มินิสติค (deterministic) ซง่ึ มรี ะเบียบและก�ำหนดไดต้ ายตัว จงึ ไม่เปดิ กวา้ งส�ำหรบั ความไม่แน่นอนที่อาจ เกิดข้ึนในอนาคต นอกจากน้ี การใช้เคร่ืองมือทางสถิติในการคาดการณ์ปรากฏการณ์ในอนาคตท่ีมี ความไม่แนน่ อน ยังตอ้ งพจิ ารณาถึงการกระจายตวั ของความเป็นไปได้ (probability distributions) การคาดประมาณค่าพารามเิ ตอร์ (parameter estimation) และการพสิ ูจนส์ มมตฐิ าน
อนาคตศกึ ษา | 160 การวเิ คราะหส์ ณั ฐานและ ตน้ ไมค้ วามเกย่ี วขอ้ ง การวางแผนยทุ ธศาสตรท์ งั้ ในระดบั องคก์ รและระดบั นโยบายการพฒั นาของประเทศมกั ประสบปญั หา และความทา้ ทายในโลกแหง่ ความเป็นจริงที่มคี วามซับซ้อน ซึง่ ไมส่ ามารถหรอื ยากที่จะแสดงออกมา ในเชงิ ปรมิ าณเปน็ ตวั เลขทน่ี �ำมาวเิ คราะหเ์ ปน็ แบบจ�ำลองคณติ ศาสตรไ์ ด้ ทง้ั แบบตดั ขวางและอนกุ รม เวลา วิธีการท่ีใช้กันอยู่ทั่วไปมักเป็นตามแนวคิดแบบลดทอนและย่อส่วนระบบลงเป็นองค์ประกอบ ยอ่ ย โดยแยกสว่ นส�ำคญั ออกจากสว่ นทไ่ี มส่ �ำคญั และวเิ คราะหผ์ ลกระทบของปจั จยั ส�ำคญั ตอ่ ผลลพั ธ์ ที่เกิดขึ้น แล้วจึงเสนอวิธีแก้ไขปัญหาตามแบบจ�ำลองที่สร้างข้ึน ข้อด้อยของแนวคิดและแนวทางน้ี คือ สถานการณ์จริงมักไม่เกิดข้ึนอย่างมีเหตุผล แบบจ�ำลองจึงมักไม่สามารถอธิบายระบบที่ซับซ้อน ได้ โดยเฉพาะในกรณที ี่ปจั จยั ทอ่ี าจดไู มส่ �ำคญั กลายเปน็ ปจั จยั ส�ำคญั ขนึ้ มา นอกจากน้ี พฤตกิ รรมของ องค์ประกอบต่าง ๆ มกั ไม่ได้เกดิ ข้ึนแบบแยกส่วน แต่ข้นึ อยกู่ บั ความสมั พนั ธ์กบั องค์ประกอบอื่น ใน ระบบ จึงอาจถกู ละเลยในการวเิ คราะหแ์ บบทัว่ ไป การวิเคราะห์สัณฐาน (Morphological Analysis) เป็นทางเลือกหน่ึงในการวิเคราะห์ระบบ และปัญหาในรูปแบบดังกล่าว โดยวิเคราะห์หาโครงสร้างและความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ ของระบบสังคมและเทคโนโลยีท่ีมีความซับซ้อน และมีองค์ประกอบหลายมิติท่ีไม่สามารถแปล ออกมาเป็นเชิงปริมาณได้ ข้อจ�ำกัดนี้พบมากในการใช้แบบจ�ำลองแบบวิเคราะห์สาเหตุและผลลัพธ์ (causal modeling) และการจ�ำลองสถานการณ์41 วิธีการวิเคราะห์สัณฐานพัฒนาโดยนักฟิสิกส์ ชื่อฟริทส์ สวกิ กี (Fritz Zwicky) ในช่วงปลายทศวรรษท่ี 1960 เพื่อวเิ คราะหว์ ิธีแก้ไขปัญหาทเ่ี ป็นไป ได้ทัง้ หมดของปัญหาซับซ้อนหลายมิตทิ ีไ่ มส่ ามารถแปลงออกมาเปน็ ตัวเลข วิธกี ารวิเคราะห์สณั ฐาน ประยกุ ตใ์ ชก้ ับการวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยใี นหลายดา้ น เช่น การพฒั นาระบบขบั เคล่อื นจรวดและ เคร่ืองยนไอพ่น การออกแบบทางวิศวกรรม การคาดการณ์เทคโนโลยี การพัฒนาองค์กร และการ วเิ คราะห์นโยบาย42 การวิเคราะห์สัณฐานไม่ละทิ้งปัจจัยหรือองค์ประกอบใด ๆ จากระบบที่ต้องการวิเคราะห์ แต่ ทิศทางการวิเคราะห์เริ่มจากผลลัพธ์กลับไปหาความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างองค์ประกอบใน ระบบ ปฏิสัมพันธ์และความสัมพันธ์จึงเป็นเป้าหมายของการวิเคราะห์แนวนี้ ข้ันตอนหลักคือการ สรา้ งพ้นื ที่พารามิเตอร์ (parameter space) ของปัญหาซับซ้อนท่ตี อ้ งการวเิ คราะห์ และวิเคราะห์
161 | อนาคตศึกษา หาความสัมพันธ์ระหวา่ งตัวแปร โดยเน้นความสอดคล้องภายในของระบบ (internal consistency) พน้ื ที่ของการเช่ือมกนั และสอดคล้องกันนี้เรียกว่าเขตสณั ฐาน (morphological field) การวเิ คราะห์ สณั ฐานดว้ ยคอมพวิ เตอรส์ ามารถสรา้ งเขตสณั ฐานทใ่ี ชเ้ ปน็ แบบจ�ำลองเชงิ อนมุ าน (inference model) ทส่ี รา้ งขอ้ สรปุ จากหลกั ฐานทม่ี อี ยหู่ รอื ขอ้ สรปุ ทม่ี มี ากอ่ นหนา้ วธิ กี ารวเิ คราะหส์ ณั ฐานใชเ้ ทคนคิ ทเ่ี รยี ก วา่ การประเมนิ ความสอดคลอ้ งไขว้ (cross-consistency assessment) ทท่ี �ำใหส้ ามารถยอ่ สว่ นความ ซบั ซอ้ นทดี่ เู หมอื นจะลดไมไ่ ดใ้ หล้ ดลงได้ โดยการคน้ หาวธิ แี กไ้ ขปญั หาทเ่ี ปน็ ไปไดแ้ ละมอี ยจู่ รงิ ไปพรอ้ ม กับการตัดเอาวิธีแก้ไขปัญหาท่ีวิเคราะห์แล้วว่าเป็นไปไม่ได้หรือไม่สมเหตุสมผลออกไป โดยไม่ต้องลด จ�ำนวนตัวแปรในการวเิ คราะหใ์ หน้ อ้ ยลง การวิิเคราะห์์สััณฐานใช้้ประโยชน์์ได้้หลายด้้าน เช่่น ในการพััฒนาฉากทััศน์์และการสร้้างแบบ จำำ�ลองฉากทััศน์์ การพััฒนาทางเลืือกยุุทธศาสตร์์ การวิิเคราะห์์ความเสี่�่ยง การเชื่�อมโยงวิิธีีการกัับ ผลลััพธ์์ในชุุดนโยบายที่�่ซัับซ้้อน การพััฒนาแบบจำำ�ลองเพื่่�อการวิิเคราะห์์ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียและ จุุดยืืน การประเมิินโครงสร้้างองค์์กร รวมถึึงการนำำ�เสนอความสััมพัันธ์์ที่ซ�่ ัับซ้้อนออกมาเป็็นแผนภาพ ที่ค�่ รอบคลุมุ และเข้า้ ใจได้ง้ ่า่ ย ข้ันตอนและวธิ กี าร กระบวนการวิเคราะห์สัณฐานจะใช้การประชุมกลุ่มย่อยของผู้เชี่ยวชาญประมาณ 6-8 คน โดยมี กระบวนกรทมี่ เี ขา้ ใจหลกั ฐานและทฤษฎเี กยี่ วกบั การวเิ คราะหส์ ณั ฐานและมีประสบการณใ์ นการด�ำเนนิ กระบวนการ43 กระบวนการวิเคราะหแ์ บง่ เปน็ 3 ขัน้ ตอน ดังนี้ ตตวัารอายง่าทงี่เข12ตสณั ฐานท่มี พี ารามิเตอร์ 5 ตัว ทม่ี า: Ritchey (2009) การสรา้ งเขตสัณฐาน (morphological field) ขั้�นตอนนี้�เริ่�มจากการระบุุและกำำ�หนดพารามิิเตอร์์หรืือมิิติิของปััญหาที่่�ต้้องการวิิเคราะห์์ แล้้ว จึึงประเมิินค่่าหรืือสถานะ (states) ของแต่่ละพารามิิเตอร์์ เขตสััณฐานคืือค่่าความสััมพัันธ์์ซึ่�งกัันและ กัันของพารามิิเตอร์์แต่่ละตััว รููปแบบ (configuration) แบบหนึ่่�งจะมีีค่่าจากพารามิิเตอร์์หนึ่่�งตััว ซึ่�ง คืือสภาวะ (state) หรืือวิิธีีแก้้ไขปััญหาหนึ่่�งของปััญหาที่�่ซัับซ้้อนนั้�น ๆ ตารางที่�่ 12 แสดงเขตสัณั ฐาน ของพารามิเิ ตอร์์ 5 ตัวั แต่ล่ ะพารามิเิ ตอร์์ (A, B, C, D, E) มีีค่า่ หรือื สถานะเฉพาะของแต่ล่ ะตัวั (4, 3, 5, 2, 5)
อนาคตศึกษา | 162 เมื่อ� รวมกัันแล้ว้ จึงึ ได้้รูปู แบบที่เ�่ ป็็นไปได้ถ้ ึึง 600 รูปู แบบ (4x3x5x2x5) ช่อ่ งที่�ร่ ะบายสีีอยู่�ในตารางที่�่ 12 แสดงเพีียงรูปู แบบเดีียวจากทั้�งหมด 600 รูปู แบบที่�่เป็น็ ไปได้้ หากเขตสณั ฐานหรอื เขตความเปน็ ไปไดข้ องรปู แบบมอี ยไู่ มม่ าก ผวู้ เิ คราะหส์ ามารถวเิ คราะหห์ าวา่ รปู แบบไหนมคี วามสอดคลอ้ งกนั มีความเป็นไปได้ สามารถด�ำเนินการได้ หรอื นา่ สนใจ และรูปแบบ ไหนบา้ งทไี่ มเ่ ปน็ เชน่ นนั้ ขน้ั ตอนนเ้ี รยี กวา่ การสรา้ งพน้ื ทว่ี ธิ แี กไ้ ขปญั หา (solution space) ที่ประกอบ ดว้ ยวิธกี ารทเ่ี ปน็ ไปตามเกณฑ์ทต่ี ง้ั ไว้ โดยเฉพาะความสอดคลอ้ งซง่ึ กันและกนั ภายในระบบ (internal consistency) แต่เม่อื เขตสัณฐานมีพารามิเตอร์อยู่มาก เช่น 7-8 พารามิเตอร์ จะท�ำให้ความเป็นไป ไดข้ องรูปแบบเพม่ิ สูงข้ึนถึงประมาณ 50,000 ถงึ 500,000 รูปแบบ ซงึ่ เกนิ กว่าความสามารถของนัก วิเคราะห์ในการตรวจสอบ ดังน้นั ขนั้ ตอนส�ำคญั ตอ่ ไปการพิจารณาความสัมพนั ธร์ ะหว่างพารามิเตอร์ เพ่ือลดจ�ำนวนรูปแบบท่ีเป็นไปได้ลง โดยตัดเอารูปแบบท่ีไม่สอดคล้องกันหรือขัดแย้งกันเองออก กระบวนการดังกล่าวเรียกว่าการประเมินความสอดคล้องไขว้ (cross-consistency assessment) ซึง่ เปรียบเทยี บค่าพารามิเตอร์ทั้งหมดแบบเชิงคู่ (pairwise) ในลักษณะคลา้ ยกบั ตารางผลกระทบไขว้ (cross-impact matrix) เพอ่ื ตรวจสอบวา่ แตล่ ะคมู่ คี วามสมั พนั ธท์ ส่ี อดคลอ้ งกนั หรอื ไม่ ความไมส่ อดคลอ้ ง กันระหว่างพารามิเตอรแ์ บง่ ออกเป็น 2 รูปแบบคือ ความขัดแย้งเชงิ ตรรกะ (logical contradictions) ของประเด็นหรือแนวคิดท่ีวิเคราะห์ และข้อจ�ำกัดเชิงประจักษ์ (empirical constraints) คือ ความสัมพนั ธท์ ไ่ี มน่ ่าจะเป็นไปไดด้ ว้ ยเหตุผลด้านหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ เมอื่ วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพารามเิ ตอรท์ ง้ั หมดแลว้ สามารถสงั เคราะหอ์ อกมาเปน็ พน้ื ทวี่ ธิ ี แกไ้ ขปญั หา (solution space) และผลลัพธ์ท่ีเป็นเขตสณั ฐาน (morphological field) ซ่งึ สามารถใช้ เปน็ แบบจ�ำลองเชงิ อนมุ านตอ่ ไปได้ เมอ่ื ใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการวเิ คราะห์ จะสามารถปรบั คา่ พารามเิ ตอร์ หน่ึงใหเ้ ป็นขอ้ มูลเข้า (inputs) พร้อมกบั ต้งั เง่ือนไขและค่าเริ่มตน้ (initial conditions) เพือ่ วิเคราะห์ ผลผลติ หรอื ผลลัพธ์ที่เปน็ ทางออกหรือวิธีการแกไ้ ขปญั หา (solutions) ตอ่ ไปได้ ประเมนิ ความสอดคล้องระหว่างยทุ ธศาสตร์กับฉากทัศน์ วธิ กี ารวิเคราะหส์ ณั ฐานเหมาะส�ำหรับการประเมินยทุ ธศาสตรก์ ับฉากทัศน์หรือสถานการณ์ โดย เร่ิมจากการสร้างเขตสัณฐาน (morphological field) ข้ึนมาสองชุด ชุดแรกส�ำหรับฉากทัศน์ท่ีเกิด จากปจั จัยทีไ่ มส่ ามารถควบคมุ ได้ หรือเรยี กวา่ เขตโลกภายนอก (external world field) และอีกชดุ หน่ึงส�ำหรับการสร้างแบบจ�ำลองส�ำหรับยุทธศาสตร์หรือปัจจัยเชิงระบบท่ีสามารถควบคุมหรือปรับ เปล่ียนได้ หรือท่ีเรียกว่าเขตภายใน (internal world field) จากนั้นจึงประเมินความสอดคล้องไขว้ ระหว่างเขตสัณฐานทั้งสอง เพ่ือค้นหาว่ายุทธศาสตร์ไหนจะมีประสิทธิผลมากท่ีสุดและยืดหยุ่นที่สุด ส�ำหรับฉากทัศน์ตา่ ง ๆ ตัวอย่างหน่ึงของการประเมินความสอดคล้องระหว่างยุทธศาสตร์กับฉากทัศน์คืองานศึกษาการ พฒั นาระบบการขยายความรบั ผดิ ชอบของผผู้ ลติ (Extended Producer Responsibility - EPR) ของ กระทรวงสงิ่ แวดลอ้ มสวเี ดน44 ตารางขา้ งลา่ งแสดงเขตฉากทศั น์ (scenario field) ของพารามเิ ตอร์ 8 ตวั ซึง่ แสดงปจั จัยภายนอกท่ีมีผลต่อระบบ EPR ของสวเี ดน จ�ำนวนพารามิเตอร์ดงั กล่าวท�ำให้เกิดรปู แบบ ฉากทศั นจ์ �ำนวน 20,736 รูปแบบ เมือ่ ได้ประเมนิ ความสอดคลอ้ งไขวแ้ ลว้ ท�ำใหส้ ามารถลดฉากทศั น์ เหลอื ประมาณ 2,000 ฉาก ทา้ ยสดุ ทางคณะผศู้ กึ ษาจงึ เลอื ก 8 ฉากทศั นท์ ค่ี รอบคลมุ พารามเิ ตอรท์ ง้ั หมด
163 | อนาคตศกึ ษา ตตวัารอายงา่ ทง่ีเข13ตฉากทัศน์ท่ีเปน็ ไปตามเกณฑ์พารามเิ ตอรท์ ง้ั หมดและท่ีสอดคล้องกนั ฉากทัศั น์์ พฤติซืิก้ �อรรมผู้้� รกสู่ปู า่วบแรนรบบบิิโุรบภิุคโิ กคภคาลคร จ(พผำู้แำ��บฤแนตรนิวิิโิกโกภรนโค้รทดม้ี่ม่ย)� นสิ่โ�แงยแหบ่ว่งาดชยลาด้อ้้ตา้ิมิ น แวเกลัทัตปราีะยีถะรรวุัับหดุับเัติปบิรวปถ่รุา่าีใรุดียุคิหงงุิบบามท่ี่่ � ปเกทริิมาควราัโัสผณนดลุโิขุลิตอย:ีงี กเกเาททารคครปโพโรนันััฒับโโลปลนยยราีีุ:ีุงี สใแนหลนขกภะโอาายสรง่พบง่นเำสอยาำีุ�ยีอยโุเรขก้ปา้ ผกลว(ูิท่ีิกรล่่�่ินะ�ฤติอส่บ่งตอกิผวิโอทลลนกาใกกงนห้า)อ้ รก เผตล็ิม็ ติ ใภจัทัณี่่�จฑ์ะส์ ีซืี้�อ ขทึั้้��นงหมดเพิ่่ม� (คขัวบั าเมคสลื่มอ�ัคันรดใ้วจ้ ย แนนโยวบหาน้ยา้ ร:ะดับั ใปหรัมบั ่่:ปรสูุงู ุง: สูงู ปน้ั้อจั จยุุบกัวัน่่าอย่า่ ง เรพิว่่�มดเขึ้ร�็นว็ อมยา่ก่าง นก้า้อรยจกำำ�วก่ัา่ ดั ในที่่� เขีียว การนำำ�เข้า้ : อุดุ มการณ์)์ แนวคิิดแบบ มาก ปััจจุุบันั เพิ่่ม� ขึ้�น อ(เกศงฎรค์ษหร์ ฐวมกมาิิจย)และ ขกาอรงพวััตร่อ่ถุงุดิิบ เต็ม็ ใจที่�่จะซื้�อ ทั้ �งหมดตาม การจำ�ำ แนกจััด นโยบายระดับั ใหม่่: สููง ค่อ่ นข้า้ งน้้อย เพิ่่ม� ขึ้�นอย่่าง เหนืือนกัับ เยผขิีนิลียิิตดวีีภจั่แา่ัณตย่ฑไ่เ์พมิส์ ่่ี่ี่ม� สปัถัจจาุนุบักนั ารณ์์ กหเรีาีรยืรืองชรสำดาำ�งเหชวัรยัลัับ ไแแมนบ่ใ่ วบช่หอแ่ นนง้คา้ว์แ์รคิวตดิ ่ม่ ปรัับปรุงุ : ต่ำ�ำ� กว่่าปััจจุุบันั มาก ปัจั จุุบััน การบริโิ ภค: (กฎหมาย) เพิ่่ม� ขึ้�น ท(นปัแโาัจนยงจุบวลบุ ัโบาันนย้)้มใน ไสมน่่มีใีจคใวนากมาร ขทึั้้��นงหมด: เพิ่่�ม เกรีาียรงจทำี�ำ่เ่� แผนชิกิญจัดั อพืุ้�ดุนมฐกานารขณอ์งบ์ น ใปหรัมบั ่่:ปรตุ่ำ��ำุง: สููง ปเหััจมจืุอื ุบันนั กัับ เเพลิ็่่็กม� นขึ้้�้อนยเพีียง กกการว่จ่าำำ�ปกััจัดัจุทุบี่ัม่�นั า ซื้ �อผลิิตภํํณฑ์์ กมาารกบเกริิินิโภไปค: กับั การคว่ำำ�� การยอมรัับ สีีเขีียว บาตร โดยสมัคั รใจ ป(ทนัแโาัจนยงจุบวบบุ ัโาวันนยก้ม้ )ใน ทั้�งหมด: มาก การจำ�ำ แนกจัดั การปรัับตััวที่�่ ใหม่:่ ต่ำ��ำ เกิินไป เทีรี่ีส�่ยุดุงที่น่� ้อ้ ย เทีป่็�ส่ ุ็นุดไปได้้น้้อย ปรัับปรุุง: ต่ำ�ำ� การบริิโภค: มากเกินิ ไป ปเรืรือานกกฏรกะาจรกณ์์ Bทเสีู่ท�aงูใคชt้mโ้ นaโลnย:ีขีวัิ้้ธิ �ีนี กทก(วาาัรััสรรพั ดผลุยใุดลาิหกติ กมา่ร่)รใช้้ ต(อุสดุลวมารดกรสาคี์รเี แ์ขณีหีย์่์)ง่ว ทมี่ า: Ritchey (2009)
อนาคตศึกษา | 164 จากน้นั จงึ เปน็ การสร้างเขตยุทธศาสตร์ (strategy field) ทีม่ ีจ�ำนวน 8 พารามิเตอร์เช่นกนั ซึง่ แสดงถึงปัจจัยภายในท่ีมีผลต่อระบบ EPR ของสวีเดนในอนาคต ท�ำให้มีรูปแบบยุทธศาสตร์จ�ำนวน 34,560 รูปแบบ เมื่อวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งไขว้แล้วจะเหลือประมาณ 500 ยุทธศาสตร์ ตารางที่ 14 แสดงตัวอย่างของยุทธศาสตรท์ เ่ี ปน็ ไปตามเงอื่ นไขพารามิเตอรท์ ง้ั 8 ตัว ตตวัารอายงา่ ทง่ีเข14ตฉากทศั นท์ ีเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์พารามิเตอร์ทัง้ หมดและทสี่ อดคล้องกัน ทขก้กร้อธัฎพัุาุรตอรหยกงกวิมาจิคลง์กาขก์แงยรอรแผทใงลนนาะง กอแาาวผรศปดัลัยิลริต้ัรบัอ้ ภะัมตัณบัขัวบฑโอ์สดิ่์ ง�งย กตชั้บั่้อว่ งผงกลขิ้าติอ้ รภมเัูกีัณลู่�ยทีฑ่ว�์์ ระบบขคยััดะแยก ระบรวบบกราวรมเก็บ็ ระบบรีีไซเคิลิ สำตำ�ลหคารรัดขบั อยขEบะอPงำงR��เสทีี่ีย� สสะำเสำเค�รผืหม่่�ารแอัไบัลงหมกะมืก้าอื ้ ราร คสมวับคั รคุใุมจสกาขารา เน้้นวััสดุุ พลัังงานจาก กลุ่�มสินิ ค้้า ใกล้ส้ ถานที่่� การรีีไซเคิลิ โดย นานาชาติิ รีีไซเคิลิ : เพิ่่ม� สะอาด เคมีีภัณั ฑ์์ มกโภลาุ่ค�กมภกััณว่่าฑ์1์ 5 มาก เอนคาารืศน่ัอ� ยัางชจัาักตริิ พลัังงาน: ลด กกต่าฎ่อรบหุผคุมูกู คาขยลาทั่ดไ�วม่ไ่มปีี การผสมที่่� เคมีีภัณั ฑ์์ กลุ่ �มวััสดุุ กลุ่�มวัสั ดุุ การรีีไซเคิลิ โย ระดัับชาติิและ การรีีไซเคิลิ โดย เหมือื นปััจจุบุ ันั มกลาุ่�กมกว่่า 15 มกลาุ่�กมกว่า่ 15 อร้้อาศนััยความ นละานแวากชใากติลิ ้้ อร้อ้าศนัยั ความ เกผสู่กี่ฎ่วกู �ยนขหวามกดัาบั บบกาทัา่ง�วรไป ใเนช้้ท้้นรกัพั ารยลาดกกราร พลังั งานเคมีี เหมืือนปััจจุบุ ััน มรีีะคบวบามbหrนinาg ที่�่ กเคามรีีรีีไซเคิิลทาง ทภูู้มอ้ ิงภิ ถิา่น�คและ พรีีไลซัังเงคิาลิ น::ลเดพิ่่ม� การผลิติ แน่่นต่ำ��ำ ขกึ้�นารสะสม: เพิ่่ม� ขใอรคาะอยรไงรลกอ)ะฎยเ่หอา่ ีงมียไดารย ( สารเคมีีเท่่านั้�น โกกภวลุ่่ค�่ามภส5ัิัณนิ กคฑ้ล์ุ้า่์�มน้อ้ ย นอกิาาเิ วรศัศรยัีีไรซะเคบิิลบโดย กลุ่ �มวััสดุุน้้อย กว่า่ 5 กลุ่�ม ท่มี า: Ritchey (2009) ขนั้ ตอนตอ่ ไปเปน็ การประกอบทงั้ สองตารางเขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื ทดสอบยทุ ธศาสตรก์ บั ฉากทศั นต์ า่ ง ๆ ด้วยการประเมินความสอดคล้องไขว้ระหว่างยุทธศาสตร์และฉากทัศน์ท่ีเหลือจากการวิเคราะห์ก่อน หน้าน้ี โดยอาจประเมินตามแนวทางแบบรวบรัด (quick method) ซึ่งประเมินความสอดคล้อง ระหว่างภาพรวมของแต่ละยุทธศาสตร์กับภาพรวมของแต่ละฉากทัศน์ หรือแนวทางแบบถี่ถ้วน (throrough method) ที่ประเมินความสัมพนั ธ์ภายในระหว่างแต่ละพารามิเตอร์ในแตล่ ะยทุ ธศาสตร์ กับแต่ละพารามิเตอร์ในแต่ละฉากทัศน์ ซ่ึงท�ำให้ต้องใช้เวลามากข้ึน แต่จะท�ำให้การประเมินและการ เลือกยทุ ธศาสตร์เป็นไปอยา่ งละเอียด
165 | อนาคตศึกษา คตวาราามงสทอ่ี ด1ค5ล้องระหว่างยทุ ธศาสตรก์ ับฉากทศั น์ ฉากทััศน์์ ข้อ้ ตกลงและ การปรับั ตัวั ช่ว่ งข้้อมููลที่� ระบบคััดแยก ระบบการเก็็บ ระบบ ตลาด EPR ที่� เครื่่�องมืือ วิิกฤตโลก กฎหมาย โดยอาศัยั ต้อ้ งการเกี่�ยว ขยะ รวบรวม รีีไซเคิลิ ครอบงำ�� สำำ�หรัับการ EPR ในการ ระบบสิ่ �ง สำำ�หรับั ของ สะสมและ วางแผน แวดล้้อมของ กับั กลุ่�มสินิ ค้้า ใกล้้สถานที่่� การรีีไซเคิิล เสียี ขยะ การเผา ทรััพยากร ผลิิตภััณฑ์์ ผลิิตภัณั ฑ์์ โภคภัณั ฑ์์ มาก โดยอาศััย ธุรุ กิิจของ เน้้นวััสดุุ พลังั งานจาก มากกว่่า 15 กลุ่�มวัสั ดุุ เครื่อ� งจัักร นานาชาติิ รีีไซเคิลิ : เพิ่่�ม องค์ก์ ร สะอาด เคมีีภัณั ฑ์์ กลุ่ �ม มากกว่่า 15 นานาชาติิ พลังั งาน: ลด การผสมที่่� เคมีีภัณั ฑ์์ กลุ่�มวัสั ดุุ กลุ่ �ม การรีีไซเคิลิ โย ระดับั ชาติิและ การรีีไซเคิิล สมััครใจ การ เหมืือน พลังั งานเคมีี มากกว่่า 15 ระบบ bring อาศััยความ นานาชาติิ โดยอาศัยั ควบคุมุ สาขา ปัจั จุุบันั กลุ่ �ม ที่่�มีีความหนา ร้อ้ น ละแวกใกล้้ ความร้้อน เน้้นการลด สารเคมีี เหมืือน แน่น่ ต่ำ�ำ� การรีีไซเคิิล ท้้องถิ่ �นและ รีีไซเคิลิ : ลด การพร่อ่ งของ กฎหมาย การใช้้ เท่า่ นั้�น ปััจจุุบันั ทางเคมีี ภูมู ิภิ าค พลังั งาน: วัตั ถุุดิิบ ทั่่�วไปต่อ่ ทรััพยากรการ เพิ่่ม� บุคุ คล ไม่่มีี ผลิิต กลุ่ �มสิินค้า้ การรีีไซเคิลิ การสะสม: การผููกขาด โภคภััณฑ์์ โดยอาศัยั เพิ่่�มขึ้ �น น้อ้ ยกว่า่ 5 ระบบนิิเวศ นโยบาย กฎหมาบทั่่ว� กลุ่ �ม ปััจจุุบััน ( ไปเกี่ย�่ วกัับ แนวโน้ม้ การผูกู ขาด กระทบทาง บางส่ว่ น ลบ) ปรากฏการณ์์ รายละเอีียด เรือื นกระจก ของกฎหมาย (หยุุดการ (ใคร อย่่างไร ปล่่อย) อะไร) Batman: วิิธีี กลุ่�มวััสดุนุ ้้อย ที่ �ใช้้ กว่า่ 5 กลุ่�ม เทคโนโลยีขี ั้้�น สููง ทการัรพั ลยดากการรใช้้ การผลิติ (วััสดุใุ หม่)่ ตลาดสีเี ขียี ว (สวรรค์์แห่ง่ อุดุ มการณ์)์ ที่มา: Ritchey (2009) การสรา้ งแบบจ�ำลองเชงิ อนมุ าน ขั้�นตอนต่อ่ ไปคือื การสร้า้ งสถานการณ์จ์ ำำ�ลองเพื่่อ� วิเิ คราะห์ว์ ่า่ ถ้า้ ปรับั เปลี่ย�่ นพารามิเิ ตอร์ห์ รือื ปัจั จัยั หนึ่่ง� ใดแล้ว้ จะทำำ�ให้เ้ กิดิ ผลลัพั ธ์อ์ ย่า่ งไรบ้า้ ง นักั วิเิ คราะห์ส์ ามารถปรับั เปลี่ย�่ นเงื่อ� นไขและค่า่ พารามิเิ ตอร์์ เพื่่�ออนุุมานต่่อได้้ว่่า ถ้้าปรัับเปลี่่�ยนยุุทธศาสตร์์แล้้ว จะเกิิดอะไรขึ้�นบ้้าง ในสถานการณ์์ไหนบ้้าง แบบจำำ�ลองในส่ว่ นนี้้�จะเป็น็ ประโยชน์ใ์ นการสร้า้ งทางเลือื กเชิงิ นโยบาย แล้ว้ วิเิ คราะห์ว์ ่า่ จะเกิดิ อะไรขึ้�น ในแต่ล่ ะทางเลืือกนโยบายที่่ไ� ด้้กำำ�หนดมา การวิเคราะหต์ น้ ไมค้ วามเกี่ยวข้อง (Relevance Trees) การพััฒนาเทคโนโลยีีใหม่่มัักมีีความซัับซ้้อนมากและขึ้�นอยู่่�กัับปััจจััยมากมาย โดยเฉพาะการปรัับปรุุง
อนาคตศึกษา | 166 ปรัับเปลี่�่ยนเทคโนโลยีีที่่�มีีอยู่�ในปััจจุุบััน แต่่การพััฒนาเทคโนโลยีีมัักไม่่ได้้รัับการประสานกัันอย่่างเป็็น ระบบ นัักวางแผนนโยบายหรืือยุุทธศาสตร์์การพััฒนาเทคโนโลยีีจึงึ ต้้องหาวิิธีีการคาดการณ์์การพัฒั นา ของเทคโนโลยีีต่่าง ๆ ไปพร้้อมกันั เพื่่อ� จัดั เตรีียมทรัพั ยากรได้อ้ ย่า่ งเหมาะสม การวิิเคราะห์ต์ ้น้ ไม้ค้ วาม เกี่�่ยวข้อ้ งหรือื ผังั ต้้นไม้้ (relevance trees) เป็็นเทคนิิคหนึ่่�งที่�่ใช้ใ้ นการ แสดงโครงสร้า้ งประเด็น็ ปััญหา โดยแบ่ง่ หัวั ข้้อหรืือเป้า้ หมายกว้้าง ๆ ออกเป็็นหััวข้้อและประเด็็นย่่อยให้้ละเอีียดที่�่สุุด แล้ว้ แสดงออก มาเป็็นแผนภาพที่�่แสดงโครงสร้้างลำำ�ดัับศัักย์์และทุุกเส้้นทางที่่�เป็็นไปได้้ในการบรรลุุเป้้าหมายนั้�น แล้้ว จึึงแสดงผลการคาดการณ์ม์ ิิติติ ่า่ ง ๆ ของแต่่ละเส้้นทาง เช่น่ ต้น้ ทุนุ ระยะเวลาและความเป็น็ ไปได้ข้ อง การบรรลุุผลลััพธ์์ที่่�ต้อ้ งการ เทคนิคนี้มีพื้นฐานคล้ายกับการวิเคราะห์สัณฐาน ซึ่งเป็นการวิเคราะห์และแสดงภาพทางเลือก เพื่อให้ภาพรวมของวิธีแก้ไขปัญหาที่เป็นไปได้ท้ังหมด การวิเคราะห์ต้นไม้ความเก่ียวข้องและการ วิเคราะห์สัณฐานทอี่ ธิบายไปก่อนหน้านี้ถอื เป็นวธิ กี ารคาดการณเ์ ชิงปทัสถาน (normative) ท่มี ีจุดเร่ิม ตน้ การวเิ คราะหท์ ค่ี วามตอ้ งการหรอื วตั ถปุ ระสงคใ์ นอนาคต แลว้ จงึ ยอ้ นกลบั มาหาสถานการณ์ กจิ กรรม เทคโนโลยีและมาตรการท่ตี อ้ งด�ำเนนิ การเพือ่ ให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคใ์ นอนาคตนน้ั การวเิ คราะหล์ �ำดบั ศกั ยค์ วามเกยี่ วขอ้ งในการระบถุ งึ ปญั หาและวธิ กี ารแกไ้ ข การก�ำหนดความเปน็ ไปได้ของการแก้ไข การเลือกวิธีการแก้ไขท่ีดีท่ีสุด และการคาดประมาณความต้องการเชิงสมรรถนะ (performance requirements) ของเทคโนโลยหี รอื นโยบาย รวมไปถงึ การก�ำหนดแผนงานลงทนุ ดา้ น วจิ ยั และพฒั นา ผลลัพธข์ องการวิเคราะห์ล�ำดับศักยจ์ ะเป็นแผนภูมิทค่ี ล้ายกับผังโครงสร้างองค์กรท่นี �ำ เสนอขอ้ มลู เป็นล�ำดบั ขน้ั โดยขั้นทีส่ งู สุดแสดงแนวคิดเชงิ นามธรรมท่สี ุด แลว้ ลงรายละเอยี ดไปเรือ่ ย ๆ จนถงึ ขน้ั ทลี่ ะเอยี ดทสี่ ดุ โดยที่ปจั จยั หรอื องคป์ ระกอบในขนั้ หรอื ชน้ั เดยี วกนั จะประเมนิ จากมมุ มองหรอื เกณฑ์เดียวกัน การสร้างล�ำดับศักย์ความเกี่ยวข้องจะท�ำให้สามารถเห็นภาพรวมของประเด็นปัญหาที่ ต้องการวิเคราะหไ์ ดเ้ ปน็ อย่างดี ขัน้ ตอนและวิธกี าร กระบวนการวิเคราะหล์ �ำดับศักยแ์ บ่งออกเปน็ 5 ข้นั ตอนหลกั 45 ไดแ้ ก่ 1. ก�ำหนดและระบุขอบเขตของปญั หา 2. ระบแุ ละวเิ คราะหค์ ณุ ลกั ษณะของปจั จยั หรอื พารามเิ ตอรท์ งั้ หมดส�ำหรบั การพฒั นาแนวทาง แก้ไขปญั หา 3. สรา้ งตารางหลายมติ ิ (multidimensional matrix) หรอื แผนภมู ลิ �ำดบั ศกั ยค์ วามเกยี่ วขอ้ ง ที่แสดงรปู แบบส่วนผสมของความสมั พันธ์ระหว่างปัจจัยทั้งหมดท่เี ปน็ ไปได้ 4. ประเมินผลลัพธ์ของส่วนผสมท้ังหมดด้วยเกณฑ์ที่ตั้งไว้ เช่น ความเป็นไปได้และโอกาสใน การบรรลเุ ปา้ หมาย 5. การวิเคราะหเ์ ชิงลึกว่าทางเลือกไหนดที ส่ี ุดเมื่อค�ำนึงถึงทรัพยากรทีม่ ีอยู่
167 | อนาคตศกึ ษา แผนภาพที่�่ 16 แสดงตัวั อย่า่ งของการประยุกุ ต์ใ์ ช้ว้ ิธิ ีีการสร้า้ งต้น้ ไม้ค้ วามเกี่ย่� วข้อ้ งในการคาดการณ์์ อุปุ สงค์ใ์ นการเดินิ ทาง โดยมีีปัจั จัยั หลักั สองประการที่ม�่ ีีผลต่อ่ ความต้อ้ งการในการเดินิ ทาง ได้แ้ ก่่ ความ สามารถในการจ่่ายเพื่่�อการเดิินทางและความจำ�ำ เป็น็ ในการเดินิ ทาง การวิิเคราะห์์ต้น้ ไม้้ความเกี่�่ยวข้้อง แสดงให้เ้ ห็็นว่่ามีีปััจจััยหลายกลุ่�มที่ม่� ีีผลต่อ่ อุุปสงค์์ในการเดิินทาง แต่่หัวั ข้อ้ ย่อ่ ยเกี่�ย่ วกัับการเดิินทางไป ทำำ�งานที่แ่� ยกออกจากกลุ่�มความต้อ้ งการในการเดินิ ทาง อาจเป็น็ หัวั ข้อ้ สำำ�หรับั การวิจิ ัยั หรือื คาดการณ์ท์ ี่่� เหมาะสมที่่�สุุด นัักวิเิ คราะห์์อาจระบุขุ ้้อมูลู และรายละเอีียดอื่น� ๆ ของแต่ล่ ะหััวข้้อ เพื่่�อวิเิ คราะห์์ต่่อว่่า แต่่ละหัวั ข้้อมีีเนื้�อหากว้้างหรืือแคบเกินิ ไป ตแัวผอนยภ่าางพตทน้ ี่ ไ1ม6้ความเกยี่ วขอ้ ง ท่ีมา: Sharpe and Howard (1996)
อนาคตศึกษา | 168 ฉากทศั น์ การสรา้ งฉากทศั น์ (scenarios) เปน็ วธิ กี ารหนงึ่ ทนี่ กั อนาคตศาสตรใ์ นปจั จบุ นั นยิ มใชใ้ นการคาดการณ์ และกระตุ้นความตระหนักเก่ียวกับความเป็นไปได้และทางเลือกที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต ค�ำว่า “ฉาก” หรอื scene ในภาษาองั กฤษมาจากค�ำทใ่ี ชใ้ นศลิ ปะการละครทส่ี อ่ื ถงึ ตอนหรอื ชว่ งของละครที่ มกี ารด�ำเนนิ เรอื่ งราวเปน็ ขนั้ เปน็ ตอนตามเคา้ โครง (plot) ทกี่ �ำหนดไว้ ซงึ่ มรี ากศพั ทม์ าจากภาษาละตนิ และภาษาอติ าเลยี น (scena) ส�ำหรบั ในภาษาไทย ไดม้ กี ารแปลค�ำวา่ scenario เปน็ ค�ำวา่ สถานการณ์ หรอื เหตกุ ารณ์ ดงั ที่ปรากฏในค�ำวา่ “การวางแผนดว้ ยสถานการณ”์ (scenario planning) ในหนงั สอื เลม่ นี้ ผเู้ ขยี นเสนอใหใ้ ชค้ �ำวา่ ฉากทศั น์ เพอ่ื สอ่ื ถงึ การมที างเลอื กของอนาคตและการสาธยายเรอ่ื งราว ที่มีเคา้ โครงเรื่องชัดเจนในการศึกษาอนาคต แนวคิดิ การสร้า้ งฉากทัศั น์เ์ พื่่อ� การศึกึ ษาและวิเิ คราะห์อ์ นาคตเริ่ม� ปรากฏเป็น็ ครั้�งแรกเมื่อ� เฮอร์ม์ ันั คาน (Herman Kahn) ได้้เสนอให้้ใช้ค้ ำำ�ว่า่ scenario ในโครงการวิิเคราะห์์และวางแผนนโยบายด้้าน ยุุทธศาสตร์แ์ ละด้้านการทหารของแรนด์ค์ อร์์ปอเรชัันในช่ว่ งทศวรรษที่�่ 1950 และเผยแพร่่แนวคิดิ ดังั กล่่าวในวงการอนาคตศึึกษาและการวางแผนยุุทธศาสตร์์ทั่่�วโลก คานได้้วิิเคราะห์์ฉากทััศน์์ของการ เกิิดสงครามนิิวเคลีียร์์ในหนัังสืือชื่�อ On Escalation: Metaphors and Scenarios ซึ่�งเผยแพร่่ใน พ.ศ. 2508 และการจััดระเบีียบอำำ�นาจในโลกและความท้้าทายด้้านความมั่ �นคงของสหรััฐอเมริิกา ในหนัังสืือชื่�อ The Year 2000 ซึ่�งเผยแพร่่ใน พ.ศ. 2510 กรอบแนวคิดพื้นฐานของการสร้างฉากทัศน์ของคานคือการแบ่งทางเลือกออกอนาคตออกเป็น 3 ฉากดว้ ยกัน ไดแ้ ก่ ฉากสถานการณต์ ามแนวโนม้ จากอดตี (business as usual) ฉากสถานการณ์ เลวรา้ ยทีส่ ดุ ท่เี กดิ จากจัดการท่ผี ดิ พลาดหรือดวงไมด่ ี (worst case scenario) และฉากสถานการณ์ดี ทสี่ ดุ ทเี่ กดิ จากการจดั การทด่ี ี (best case scenario) แนวคดิ ดงั กลา่ วไดร้ บั การวพิ ากษว์ จิ ารณจ์ ากนกั อนาคตศาสตรใ์ นยคุ ตอ่ มาวา่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี อาจมองวา่ ฉากสถานการณต์ ามแนวโนม้ คอื การท�ำนาย (prediction) และมักตดั สินใจท�ำตามน้ัน เหตกุ ารณ์ท่เี กดิ ขึ้นในอนาคตจงึ เกดิ ขนึ้ จริงตามท่ีคาดการณ์ ไว้ ฉากทัศน์ตามแนวโน้มจึงไม่ได้เป็นทางเลือกของอนาคตอย่างแท้จริง นักอนาคตศาสตร์รุ่นต่อมา จึงเสนอให้สร้างฉากทัศน์ท่ีไม่ได้เป็นไปตามแนวโน้มเดิม โดยอาจมีจ�ำนวนฉากทัศน์มากกว่า 3 ฉาก เพื่อสร้างความยืดหยุ่นในการศึกษาทางเลือกอนาคต และในการสร้างยุทธศาสตร์ใน การเตรียมพรอ้ มรับมอื กับอนาคต
169 | อนาคตศกึ ษา ตัวอย่างหน่ึงที่ประสบความส�ำเร็จในการใช้แนวคิดฉากทัศน์เพ่อื การวางแผนยุทธศาสตร์ในการ รับมือกับอนาคตท่ีผันผวนคือบริษัทเชลล์ (Royal Dutch/Shell) ท่ีใช้วิธีการฉากทัศน์ในการศึกษา อนาคตของตลาดน�้ำมันในช่วงก่อนวิกฤติน�้ำมันใน พ.ศ. 2516 ผลลัพธ์หน่งึ ของการศึกษาดังกล่าวคือ การคาดการณว์ า่ ราคานำ้� มนั จะเพม่ิ สงู ขนึ้ แตจ่ ะตกต�่ำลงอยา่ งรวดเรว็ บรษิ ทั เชลลจ์ งึ วางแผนยทุ ธศาสตร์ เพอ่ื เตรยี มพรอ้ มส�ำหรบั สถานการณด์ งั กลา่ วไวล้ ว่ งหนา้ ตอ่ มาเมอื่ เกดิ เหตกุ ารณน์ น้ั จรงิ ตามทคี่ าดการณ์ และเตรยี มการไว้ บรษิ ทั จงึ ไดร้ บั ผลกระทบนอ้ ยกวา่ บรษิ ทั คแู่ ขง่ หลงั จากนน้ั ในทศวรรษที่ 1980 บรษิ ทั เชลล์ยงั ใช้วิธกี ารฉากทศั นใ์ นการวิเคราะห์อนาคตของสหภาพโซเวยี ต ซงึ่ ถือเป็นค่แู ขง่ ส�ำคญั กับบริษทั เชลลใ์ นตลาดพลงั งานในยโุ รป เนอ่ื งจากเปน็ ประเทศผผู้ ลติ กา๊ ซธรรมชาตทิ สี่ �ำคญั รายหนง่ึ ของโลก หนว่ ย งานการวิเคราะห์อนาคตของบริษัทเชลล์ได้รับความส�ำคัญภายในองค์กรเร่อื ยมาจนถึงปัจจุบัน และมี งานวิเคราะหแ์ ละเผยแพรฉ่ ากทศั นด์ า้ นพลงั งานในอนาคตของโลกในหลายแงม่ ุมเรื่อยมา นอกจากบริษัทเชลล์แล้ว ยังมีหน่วยงานอื่นที่ประยุกต์ใช้แนวคิดและวิธีการศึกษาอนาคตแบบ ฉากทศั นใ์ นการคาดการณอ์ นาคตดา้ นพลงั งานในสหรฐั อเมรกิ า หลงั จากทเ่ี กดิ วกิ ฤตพิ ลงั งานในชว่ งตน้ ทศวรรษท่ี 1970 อาทิ โครงการ Project Independence ใน พ.ศ. 2517 ของส�ำนกั งานพลงั งานแห่ง รฐั บาลสหรัฐฯ (Federal Energy Administration) และโครงการนโยบายพลังงาน (Energy Policy Project) ในปเี ดียวกนั ของมลู นิธิฟอรด์ (Ford Foundation) โครงการเหลา่ นี้สร้างความตระหนกั ด้าน วิกฤตพิ ลังงานทั้งในกลุ่มวงการวางแผนนโยบายและสาธารณชนท่วั ไป วธิ กี ารศกึ ษาอนาคตแบบฉากทศั นไ์ ดร้ บั ความนยิ มและแพรห่ ลายเรอื่ ยมา องคก์ รทงั้ ในภาครฐั และ เอกชน ในระดบั ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก ไดป้ ระยุกต์ใช้วธิ ีการนใี้ นกระบวนการวางแผน ยุทธศาสตร์ขององค์กร โดยเฉพาะในการเตรียมพร้อมรับมือกับความไม่แน่นอนด้านภัยธรรมชาติ เศรษฐกิจ สังคม กฎหมายและการเมือง โดยอาจใชร้ ว่ มกบั วธิ กี ารคาดการณ์อนาคตรปู แบบอืน่ ๆ เชน่ โครงการมลิ เลนเนียมโปรเจกต์ (The Millennium Project) ได้พฒั นาฉากทศั นข์ องอนาคตโลกด้วย ขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมจากความเหน็ ของผเู้ ชยี่ วชาญทว่ั โลกดว้ ยวธิ กี ารเดลฟาย โครงการดงั กลา่ วไดพ้ ฒั นา แหล่งข้อมูลส�ำคัญท่ีรวบรวมบรรณานุกรมเก่ียวกับโครงการวิจัยและคาดการณ์อนาคตด้วยวิธีการฉาก ทศั นก์ ว่า 700 ชดุ ในกล่มุ หวั ขอ้ ที่หลากหลาย อาทิ ประชากรและทรพั ยากรมนษุ ย์ การเปลย่ี นแปลง ด้านส่ิงแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ ขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี การอภิบาลและ ความขดั แยง้ เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศและความมงั่ ค่งั และบูรณาการของอนาคต46 ฉากทศั นเ์ ปน็ เรอื่ งราวทแ่ี สดงความเชอื่ มโยงระหวา่ งปจั จยั ทเ่ี ปน็ สาเหตใุ นปจั จบุ นั กบั ผลลพั ธท์ นี่ า่ จะเกดิ ขนึ้ ไดใ้ นอนาคต (plausible) พรอ้ มกบั ระบแุ ละอธบิ ายถงึ ปจั จยั ส�ำคญั ทเ่ี ชอ่ื มสาเหตแุ ละผลลพั ธ์ เขา้ ดว้ ยกนั ทง้ั การตดั สนิ ใจ เหตกุ ารณแ์ ละผลกระทบ โดยมงุ่ ความสนใจไปทก่ี ระบวนการเชงิ เหตแุ ละผล และการตดั สนิ ใจ47 ฉากทัศนแ์ ตกตา่ งจากการพยากรณ์ (forecast) และการคาดคะเน (projections) ตามแนวโน้มที่เกิดข้ึน แม้ว่าฉากทัศน์ที่ดีจะมีองค์ประกอบท่ีมาจากการคาดคะเนและการคาดการณ์ โดยแสดงถึงความเชือ่ มโยงเชงิ เหตุและผลของเรือ่ งราวตา่ ง ๆ ฉากทัศน์จึงแตกตา่ งจากผลการค�ำนวณ แนวโนม้ ในอนาคตดว้ ยแบบจ�ำลองคอมพวิ เตอรท์ แี่ สดงผลการคาดการณท์ แ่ี ตกตา่ งกนั ไปตามขอ้ สมมติ และเงอื่ นไขของแบบจ�ำลองคณติ ศาสตรท์ ผ่ี วู้ เิ คราะหไ์ ดก้ �ำหนดไว4้ 8 การทผ่ี ลลพั ธเ์ ปลยี่ นไปตามคา่ น�ำเขา้ (input) ไม่ไดส้ ่ือถึงฉากทัศนท์ แี่ ตกตา่ งกัน แต่สอื่ ถงึ ผลการพยากรณท์ ี่แตกตา่ งกนั
อนาคตศกึ ษา | 170 ฉากทศั นม์ กั มีก�ำหนดเวลาทีช่ ัดเจน เชน่ Global Transport Scenarios 205049 ฉากทศั น์ชีวติ คนไทย พ.ศ. 257650 แต่ฉากทัศน์ไม่ใช่เป็นการพยากรณ์ภาพอนาคตหน่งึ เดียว แต่เป็นการประมวล ภาพอนาคตหลายภาพเขา้ ด้วยกันอย่างเป็นระบบ ซึ่งครอบคลมุ ท้งั ปญั หา ความท้าทาย โอกาสและวธิ ี แกไ้ ขปัญหา โดยแสดงถึงพฒั นาการท่นี า่ จะเกดิ ข้ึนจากปจั จยั ตา่ ง ๆ ในปจั จุบนั เนอื่ งจากวตั ถปุ ระสงค์ ของการสรา้ งฉากทศั นไ์ มเ่ หมอื นกบั การพยากรณ์ กลา่ วคอื ไมไ่ ดม้ งุ่ ไปทค่ี วามแมน่ ย�ำของการคาดการณ์ แต่อยู่ที่ประโยชน์ที่ช่วยให้ผู้มีอ�ำนาจสามารถตัดสินใจด�ำเนินการอย่างใดอย่างหน่ึงได้อย่างทันที ไม่ รอให้ผลลพั ธ์เกิดขนึ้ ไม่ว่าผลลัพธ์นัน้ จะเปน็ ไปตามทีร่ ะบไุ วใ้ นเรอ่ื งราวของฉากทศั น์นน้ั หรอื ไมก่ ต็ าม เกณฑห์ ลกั ในการประเมินฉากทัศนท์ ดี่ ีมี 3 ประการ ไดแ้ ก่ (1) มรี ายละเอียดของเหตกุ ารณท์ นี่ ่า จะเกดิ ขน้ึ ไดจ้ รงิ โดยแสดงความเชอ่ื มโยงเปน็ กระบวนการทช่ี ดั เจนระหวา่ งปจั จยั หรอื เหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ สาเหตกุ บั เหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ ผลลพั ธ์ และการตดั สนิ ใจทเ่ี กดิ ขน้ึ ในกระบวนการนนั้ (2) มคี วามสมเหตสุ มผล ของเรือ่ งราวในแต่ละฉากทศั น์ และแต่ละฉากทัศน์มีเนือ้ หาในประเด็นหวั ขอ้ คล้ายกนั เพอื่ ใหส้ ามารถ เปรยี บเทยี บกนั ไดแ้ ละ (3) มเี นอ้ื หาทนี่ า่ สนใจและตืน่ เตน้ พอที่จะท�ำใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มกระบวนการพยายาม คดิ หาวิธีแก้ไขปญั หาเชงิ ยุทธศาสตร์ ในวงการวางแผนนโยบายและอนาคตศึกษาในปัจจุบัน เป็นที่ยอมรับกันอย่างทั่วไปแล้วว่า การวางแผนเพือ่ ปรบั เปลยี่ นสภาพสงั คม เศรษฐกจิ กายภาพและสิง่ แวดลอ้ มเพือ่ เขา้ สภู่ าพอนาคตหนึง่ เดยี วนนั้ ไมเ่ หมาะสมอกี ตอ่ ไป เพราะอนาคตมคี วามไมแ่ นน่ อนและไมส่ ามารถหยัง่ รไู้ ดล้ ว่ งหนา้ แนวคดิ ฉากทัศน์จงึ เปน็ ทางเลอื กในการวางแผนท่สี ร้างชดุ ภาพอนาคตทเ่ี ช่ือว่าเกิดข้ึนได้ แลว้ จึงพฒั นาแผนท่ี เตรยี มพร้อมรับมอื หรอื ปรบั เปล่ียนผลลพั ธ์ในแตล่ ะฉากทศั น์ โดยวิเคราะห์หาปจั จัยและองค์ประกอบ ของแผนทส่ี ามารถรับมอื ได้อย่างเต็มท่กี บั สถานการณ์ทอี่ าจเกิดขึน้ ในแตล่ ะฉากทศั น์ การสรา้ งฉากทศั นม์ งุ่ สรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ทางเลอื กของอนาคตทเี่ ชอื่ วา่ เกดิ ขน้ึ ได้ เพอื่ พฒั นา นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนในระยะยาวท่ีสะท้อนคุณค่าหรือความต้องการขององค์กรหรือสังคม ดังนั้น ฉากทัศน์จึงเสมือนเป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยลดช่องว่างระหว่างสถานการณ์ในอนาคตที่เช่ือว่าเกิด ข้ึนได้กับอนาคตที่คาดหวังให้เกิดข้ึน นอกจากนี้แล้ว กระบวนการสร้างฉากทัศน์ยังช่วยให้ผู้เข้าร่วม กระบวนการสามารถเพมิ่ ความรแู้ ละความเขา้ ใจเกยี่ วกบั สงิ่ ตา่ ง ๆ ทอ่ี าจมผี ลตอ่ อนาคต โดยการน�ำเอา ขอ้ สมมตแิ ละเง่อื นไขท่ีมอี ยู่มาเปดิ เผยและท�ำให้กระจ่างมากข้ึน เนื่องจากกระบวนการสร้างฉากทศั น์ มกั จดั การประชมุ ระดมสมองและอภปิ รายกนั อยา่ งเปดิ เผย จงึ สรา้ งโอกาสใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ คนแลกเปลยี่ น และอภิปรายเก่ียวกับข้อสมมติและเงื่อนไขของแต่ละคนได้ วิธีการฉากทัศน์ยังใช้ได้ในการค้นหาและ พัฒนานวัตกรรมที่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้คนและสังคมในอนาคต ซึ่งน�ำมาใช้เป็นโจทย์ในการ คิดค้นผลิตภัณฑ์และการบริการใหมไ่ ด้ ฉากทัศน์ที่สร้างข้ึนมาอาจเป็นเชิงส�ำรวจ (exploratory) ซ่งึ บรรยายเหตุการณ์และแนวโน้มท่ี พฒั นาไปตามขอ้ สมมตแิ ละเง่ือนไขตา่ ง ๆ และผลลัพธท์ ่ีเกิดขนึ้ จากปจั จัยและเหตกุ ารณ์เหล่านี้ ส่วน ฉากทศั นเ์ ชงิ ปทสั ถานหรอื บรรทดั ฐานจะบรรยายภาพอนาคตทพี่ งึ ประสงคท์ นี่ า่ จะเกดิ ขน้ึ จากปจั จยั ใน ปัจจบุ ัน เน้ือหาในฉากทศั น์อาจแสดงเรือ่ งราวในเชิงลบ เพือ่ ให้ผู้อ่านและผมู้ ีอ�ำนาจตัดสินใจพยายาม ค้นหายุทธศาสตร์หรือวิธีแก้ไขปัญหาที่ท�ำให้เหตุการณ์ในฉากทัศน์นั้นไม่เกิดข้ึน ในทางกลับกัน ฉาก ทัศน์อาจแสดงภาพเชิงบวกท่ีพึงประสงค์พร้อมกับตัวอย่างนโยบายและแนวทางที่ท�ำให้เกิดภาพพึง ประสงคน์ ้นั
171 | อนาคตศกึ ษา ในกรณีที่ต้องการใช้ฉากทัศนเ์ ป็นสว่ นหนง่ึ ของการวิเคราะหแ์ ละวางแผนนโยบาย เนื้อหาในฉาก ทัศน์อาจบรรยายถึงพัฒนาการและเส้นทางการเปล่ียนแปลงที่เกิดจากนโยบายและแผน ดังตัวอย่าง ฉากทัศน์อนาคตความเป็นอยู่ของมนุษย์ในระดับโลกในค.ศ. 2050 ท่ีพัฒนาโดยโครงการมลิ เลนเนยี ม โปรเจกต์ (The Millennium Project) ซ่งึ เน้นตัวอยา่ งนโยบาย เทคโนโลยี การปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม มนุษย์ท่ีน�ำไปสู่การสร้างผลลัพธเ์ ชงิ บวก สว่ นในตวั อยา่ งของการใช้ฉากทศั น์ในการวิเคราะหน์ โยบาย การพฒั นาเมอื ง อาจพฒั นาฉากทศั นท์ มี่ ชี ดุ ขอ้ สมมตแิ ละเงอ่ื นไขทเี่ หมอื นหรอื คลา้ ยกนั แตม่ รี ะดบั คา่ ท่ี แตกต่างกันออกไป อาทิ โครงสร้างประชากร อัตราการเกิดและย้ายถิ่น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี และรปู แบบการจ้างงานและระบบเศรษฐกิจ เมอ่ื มคี า่ ของพารามิเตอรท์ แ่ี ตกต่างกัน จะมเี สน้ ทางของ ววิ ฒั นาการและการเปล่ยี นแปลงที่แตกตา่ งกนั ออกไป ดงั นัน้ ในกระบวนการคาดการณเ์ พ่ือวางแผนยทุ ธศาสตร์ หน่วยงานหรือองค์กรสามารถพัฒนา ฉากทัศน์ขึ้นมาเพื่อประมวลข้อมูลความรู้ที่จ�ำเป็นต้องรู้ไว้ก่อนการตัดสินใจ และเพื่อเข้าใจถึงความ ส�ำคัญของความไม่แน่นอนท่ีมีผลต่อเหตุการณ์และผลลัพธ์ในอนาคต นอกจากนี้ การสร้างฉากทัศน์ ยังเปิดโอกาสให้ผู้น�ำองค์กรต้องคิดและตัดสินใจด�ำเนินการอะไรบางอย่าง เพื่อรับมือหรือด�ำเนินการ กับอนาคตทางเลอื กที่อาจเกดิ ข้ึน ข้นั ตอนและวธิ ีการ นักอนาคตศาสตร์ได้พัฒนาแนวคิดและแนวทางหลายรปู แบบในการสร้างฉากทัศน์ ท้ังแบบท่ีเน้นเชิง คุณภาพหรือเชิงปริมาณ และแบบง่ายหรือแบบซับซ้อน อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นแนวทางรูปแบบ ไหนกต็ าม ทุกแนวทางล้วนแลว้ แตใ่ หค้ วามส�ำคญั กบั การท�ำความเข้าใจในระบบโดยรวมของประเด็น ทตี่ ้องการคาดการณ์ รวมถึงการวิเคราะหห์ าประเดน็ แนวโน้ม ปจั จยั ขบั เคลอ่ื น และเหตกุ ารณท์ ีอ่ าจ เกดิ ขนึ้ ทที่ �ำใหร้ ะบบเปลย่ี นแปลงไปได้ กระบวนการสรา้ งฉากทศั นใ์ นภาพรวมประกอบดว้ ย 5 ขนั้ ตอน หลัก ได้แก่ (1) การระบุขอบเขตของประเด็นท่ีต้องการสร้างฉากทัศน์ (2) การระบุปัจจัยขับเคล่ือน ส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (3) การวิเคราะห์ปัจจัยขับเคล่ือน (4) การสร้างฉากทัศน์ และ (5) การแปลงฉากทศั น์เป็นยุทธศาสตร์ส�ำหรับปัจจบุ ัน ภแาผพนรภวามพกทร่ี ะ1บ7วนการคาดการณด์ ้วยฉากทัศน์ ดดั แปลงจาก: IZT (2007)
อนาคตศึกษา | 172 กระบวนการสร้างฉากทัศน์เริ่มต้นจากข้ันตอนการก�ำหนดขอบเขตของประเด็นท่ีต้องการคาด การณ์ โดยคณะท�ำงานจะวเิ คราะหแ์ ละก�ำหนดขอบเขตของระบบทเ่ี กยี่ วขอ้ งตามกรอบหวั ขอ้ และความ เหน็ ของผนู้ �ำองคก์ รและผเู้ ชย่ี วชาญ ขน้ั ตอนตอ่ มา เปน็ การระบหุ าปจั จยั ขบั เคลอ่ื นทคี่ าดวา่ จะมผี ลตอ่ อนาคตของระบบนน้ั โดยเกบ็ รวบรวมและประมวลขอ้ มลู จากแหลง่ ทห่ี ลากหลาย แลว้ จงึ คดั กรองปจั จยั ทสี่ �ำคญั ใหเ้ หลอื ประมาณ 6-20 ปจั จยั จากนนั้ จงึ เปน็ การวเิ คราะหร์ ะดบั ผลกระทบและความไมแ่ นน่ อน ของแตล่ ะปจั จยั ทเี่ ปน็ พน้ื ฐานของภาพอนาคตทางเลอื ก โดยอาจใชก้ ระบวนการมสี ว่ นรว่ มของผมู้ สี ว่ น ไดส้ ่วนเสียและผเู้ ชี่ยวชาญ เช่น การประชมุ กลมุ่ ย่อย การประชมุ ปฏิบตั ิการ และการส�ำรวจเดลฟาย ผลลพั ธท์ ไ่ี ดค้ อื ปัจจัยส�ำคัญที่จะใช้เปน็ แกนหลกั ของเนื้อหาที่จะพฒั นาตอ่ ในแต่ละฉากทัศน์ ในขน้ั ตอนตอ่ มา คณะท�ำงานจะพฒั นาเรอ่ื งราวในแตล่ ะฉากทศั น์ ซง่ึ มแี นวทางการสรา้ งโครงเรอ่ื ง อยู่หลายประการดว้ ยกัน อาทิ ฉากทศั นฐ์ าน (baseline scenario) คอื เร่อื งราวในอนาคตทเี่ กดิ ขน้ึ ใน กรณีที่ปัจจัยและแนวโน้มในปัจจุบันยังคงด�ำเนินต่อไปโดยไม่มีการเปล่ียนแปลงใด ๆ หรือในกรณีท่ีมี การด�ำเนินนโยบายหรือมาตรการที่น้อยมากจนไม่เกิดผลกระทบท่ีท�ำให้แนวโน้มเปลี่ยนแปลงไปจาก เดมิ พรอ้ มกนั น้ี คณะท�ำงานอาจสรา้ งภาพฉากทศั นใ์ นมมุ กลบั ทแ่ี สดงเรอื่ งราวของการด�ำเนนิ การใหม่ ๆ ซึ่งน�ำไปสู่การเปล่ียนแปลงอยา่ งมากจากแนวโน้มเดมิ อีกแนวทางหน่ึงคือการเขียนฉากทัศน์ด้วยเร่อื งราวในเชิงลบและเชิงบวก ฉากทัศน์เชิงลบแสดง ภาพการเปลยี่ นแปลงที่ปจั จยั ภายนอกท�ำใหเ้ กดิ ผลลพั ธท์ ไี่ มพ่ งึ ประสงคต์ อ่ ระบบหรอื กลมุ่ เปา้ หมาย ใน ทางกลับกัน ฉากทศั น์เชงิ บวกอาจเกิดจากปจั จัยภายนอก เชน่ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ การพฒั นา เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทส่ี �ำคญั และการเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายหรอื กฎหมาย อกี วิธกี ารหนง่ึ ของ การเขยี นเรอ่ื งราวในฉากทศั น์คือการบรรยายเหตุการณ์ส�ำคญั ในอนาคต เชน่ สภาพเศรษฐกิจเฟอ่ื งฟู วกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ ตกต�่ำ และสงคราม โดยผสมผสานเนอื้ หาทง้ั ทเี่ ปน็ ภาพเชงิ บวกและเชงิ ลบเขา้ ดว้ ยกนั 51 ในโครงการคาดการณ์โดยทั่วไป จ�ำนวนฉากทัศนม์ ีประมาณ 2-6 ฉาก เมื่อคณะท�ำงานร่างเร่ืองราวในฉากทัศน์แล้ว ข้ันตอนต่อไปเป็นการวิเคราะห์และประเมินความ เปน็ ไปไดข้ องแตล่ ะเหตกุ ารณใ์ นแตล่ ะฉากทศั น์ ทง้ั ในเชงิ คณุ ภาพและในเชงิ ปรมิ าณ การประเมนิ ความ เปน็ ไปไดด้ งั กลา่ วอาจใชว้ ธิ กี ารเดลฟาย โดยใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญหรอื ผมู้ อี �ำนาจในการตดั สนิ ใจเปน็ ผปู้ ระเมนิ จากน้ัน คณะท�ำงานจึงทบทวนเนื้อหาเพื่อประกันความถูกต้อง ครอบคลุมและสอดคล้องของแต่ละ ประเดน็ ในแต่ละฉากทศั น์ อีกแนวทางหน่งึ ในการพฒั นาฉากทัศนร์ ะดับองคก์ รเรม่ิ จากการที่ผ้บู ริหารองคก์ รก�ำหนดกอ่ นว่า ต้องการรู้ข้อมูลหรือประเด็นอะไรบ้างเพื่อตัดสินใจในการวางแผนยุทธศาสตร์ จากนั้นคณะท�ำงานจะ วเิ คราะหแ์ ละคาดการณภ์ าพอนาคตทางเลอื ก โดยระบแุ ละบรรยายเหตกุ ารณ์ แนวโนม้ และปจั จยั ความ ไมแ่ นน่ อนทมี่ ผี ลตอ่ กระบวนการตดั สนิ ใจ รวมทงั้ ปจั จยั ทคี่ าดวา่ จะมผี ลตอ่ ธรุ กจิ หรอื นโยบายนนั้ วธิ กี าร เฉพาะของแนวทางนค้ี อื การสรา้ งทฤษฎหี รอื ตรรกะของฉากทศั น์ (scenario logics) ซงึ่ หมายถงึ มมุ มอง ทท่ี �ำใหเ้ ห็นภาพอนาคตที่แตกตา่ งและหลากหลาย และแบ่งออกเป็นฉากทศั น์ต่าง ๆ ได้ ตรรกะฉาก ทศั นม์ กั สร้างขน้ึ จากปัจจยั ขบั เคล่อื นส�ำคัญและปจั จัยไม่แนน่ อนทแี่ บ่งฉากทศั นอ์ อกแบบภาพ ๆ และ ใชป้ จั จยั เหลา่ นเ้ี ปน็ แกนในการบรรยายเรอื่ งราวและพฒั นาการในแตล่ ะฉากนน้ั อยา่ งละเอยี ด เพอื่ แสดง ผลลพั ธท์ เ่ี กดิ จากการตดั สนิ ใจในแตล่ ะประเดน็ พรอ้ มไปกบั ทางเลอื กเชงิ ยทุ ธศาสตรใ์ นแตล่ ะฉากทศั น5์ 2
173 | อนาคตศึกษา อีกแนวทางหน่ึงในการสร้างฉากทัศน์เร่ิมจากการสร้างภาพปัจจุบันของระบบที่ต้องการศึกษา โดยระบุและแบ่งกลุ่มตัวแปรท้ังหมดที่ควรค�ำนึงถึง พร้อมค�ำอธิบายเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่าง ปจั จัยเหลา่ นน้ั กบั การเปล่ียนแปลงของระบบโดยรวม53 จากนน้ั จงึ วิเคราะหค์ ้นหาปจั จยั ส�ำคัญและคา่ พารามิเตอร์ของแต่ละปัจจัย รวมถึงกลไกและบุคคลหรือองค์กรที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของ ระบบน้นั วิธีการวิเคราะหท์ ใ่ี ช้ในขัน้ ตอนนคี้ ือการวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ ง (Structural Analysis) จากนัน้ จงึ เปน็ การสรา้ งยทุ ธศาสตร์เพ่อื รับมอื กับความท้าทายต่าง ๆ ในฉากทัศน์ท่ีพฒั นาขน้ึ มา อกี วธิ กี ารหนง่ึ ทนี่ กั อนาคตศาสตรใ์ ชใ้ นการสรา้ งฉากทศั นค์ อื การวเิ คราะหส์ ณั ฐาน (Morphological Analysis) ซ่ึงมุ่งค้นหาและวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสังคมและเทคโนโลยี ในระบบท่ีไม่สามารถวัดได้ในเชิงปริมาณ ท้ังนี้ มีซอฟต์แวร์เพื่อการวิเคราะห์แนวน้ีโดยเฉพาะ เช่น Parmenides EIDOS และ The Tool Suite ที่ประกอบด้วยเคร่ืองมือในการวิเคราะห์ปัจจัยขับ เคล่ือนและการสร้างฉากทัศน์อย่างเป็นระบบ นกั อนาคตศาสตร์กลุ่มหน่งึ เช่ือวา่ กระบวนการสร้างฉากทศั นค์ วรเน้นการมสี ่วนร่วมของผูม้ ีส่วน ไดส้ ว่ นเสยี นอกจากเพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู ส�ำคญั ทเี่ กย่ี วขอ้ งแลว้ ยงั เปน็ การสรา้ งความเปน็ เจา้ ของทที่ �ำให้ การด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ที่สร้างข้ึนเป็นไปได้ง่ายและมีประสิทธิผลมากข้ึน บางโครงการมีผู้เข้า รว่ มเปน็ คนเฉพาะในองคก์ ร บางโครงการเปดิ กวา้ งให้กับคนภายนอกเขา้ ร่วมในประบวนการ จ�ำนวน ผ้เู ขา้ ร่วมในกระบวนการสรา้ งฉากทัศน์จงึ มตี ง้ั แต่ระดบั หลายสิบคนถึงหลายพนั คน ตวั อยา่ งเช่น ใน โครงการมิลเลนเนียมโปรเจกต์มีผู้เชี่ยวชาญและนักวางแผนนโยบายหลายพันคนทั่วโลกเข้ามามีส่วน รว่ มในกระบวนการสรา้ งฉากทัศน์ของการเปลย่ี นแปลงในระดับโลก ฉากทัศน์ท่ีดีและเป็นประโยชน์ควรมีเนื้อหาตรงกับประเด็นส�ำคัญท่ีมีผลกระทบต่อองค์กรหรือ พื้นที่ศึกษา เน่ืองจากประเด็นและปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องมีอยู่มาก และสามารถสร้างฉากทัศน์ได้จ�ำนวน มาก ดังน้ัน การสร้างเร่อื งราวท่ีตรงประเด็น ไม่เย่นิ เย้อ และไม่ยาวเกินไปจึงส�ำคัญมาก ในระหว่าง การเขียนเร่ืองราวในฉากทัศน์ รายละเอียดและทิศทางของเน้ือหาอาจปรับเปล่ียนไปจากเป้าหมายที่ มีอยแู่ ตเ่ ดิม ความสัมพันธ์ระหวา่ งสาเหตุกบั ผลลัพธ์อาจท�ำใหเ้ กิดเรือ่ งราวทไ่ี มไ่ ด้ตง้ั ใจไว้ก่อนหนา้ นั้น ตราบใดทเ่ี ร่ืองราวดังกล่าวยังมีความสอดคล้องและสมเหตุสมผล ซึ่งเป็นเร่ืองปกติและยอมรับได้ใน การเขียนฉากทศั น์ เนื่องจากสอื่ ถงึ จินตนาการเกย่ี วกับเหตกุ ารณท์ ่อี าจทีเ่ กดิ ข้นึ ได้จริง ทั้งนี้ การเขยี น ฉากทัศนค์ วรใหค้ วามส�ำคญั กับผลการวเิ คราะหใ์ นเชงิ คุณภาพกอ่ น แลว้ จึงใช้ผลจากการวเิ คราะห์เชงิ ปริมาณ ทั้งจากแบบจ�ำลองและข้อมูลสถิติมาประกอบเป็นหลักฐานในภายหลัง โดยเฉพาะอย่างย่งิ เมื่อต้องการใช้แบบจ�ำลองเชิงคณิตศาสตร์ในการย่อส่วนระบบและลดทอนความซับซ้อนของประเด็น ปญั หาลง เพ่อื ให้ผลการวเิ คราะหส์ ามารถเขา้ ใจไดง้ ่ายขน้ึ นักอนาคตศาสตร์โดยมากไม่เสนอให้พัฒนาฉากทัศน์ที่น่าจะเกิดขึ้นมากที่สุด (most likely) เนื่องจากจะกลายเป็นการท�ำนายมากกวา่ การสร้างฉากทัศน์ และจะท�ำใหก้ รอบการคดิ ของผู้เข้ารว่ ม กระบวนการไม่หลุดจากการพยากรณ์หรือการคาดคะเนทั่วไป ฉากทัศน์ที่ดีควรสะท้อนปัจจัยและ เหตกุ ารณท์ นี่ า่ จะเกดิ ขนึ้ หลายชดุ เมือ่ พลวตั ทเ่ี กดิ จากปจั จยั และเหตกุ ารณม์ คี วามหลากหลาย จงึ เปน็ ไปไม่ไดท้ ่ฉี ากใดฉากหนึง่ จะกลายเป็นอนาคตไดจ้ รงิ ทงั้ หมด กระบวนการพฒั นาฉากทัศน์จงึ ไม่เน้นที่ การหาหรอื พยากรณภ์ าพอนาคตทเ่ี ชอ่ื วา่ เกดิ ขนึ้ มากทสี่ ดุ แตเ่ นน้ ทผ่ี ลลพั ธท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย
อนาคตศึกษา | 174 การสรา้ งฉากทัศน์เชงิ ปฏิสัมพันธ์ ฉากทัศน์ท่ีสร้างขึ้นมาโดยนักวิเคราะห์กลุ่มหน่ึงอาจน�ำไปประยุกต์ใช้โดยคนอีกกลุ่มหน่ึงที่ไม่ ได้มีส่วนร่วมในการสร้างฉากทัศน์น้ันมาตั้งแต่ต้น ผู้ใช้ฉากทัศน์อาจต้องการปรับเปลี่ยนเน้ือหา และรายละเอียดในฉากทัศน์ แต่ท�ำได้ยาก เนื่องจากโครงสร้างและความสัมพันธ์เชิงสาเหตุกับ ผลลัพธ์ในฉากทัศน์มักร้อยเรียงและสอดคล้องกันมาอยู่แล้ว ด้วยเหตุน้ี กลุ่มนักวิจัยในโครงการมิล เลนเนียมโปรเจกต์จึงพัฒนาวิธีการที่เปิดโอกาสให้คนท่ีไม่ได้พัฒนาฉากทัศน์หน่งึ สามารถปรับเปลี่ยน ฉากทศั นท์ มี่ อี ยแู่ ตเ่ ดมิ ได้ วธิ กี ารทใ่ี ชเ้ พอ่ื วตั ถปุ ระสงคน์ ค้ี อื การวเิ คราะหผ์ ลกระทบไขว้ (cross-impact analysis) ซง่ึ วเิ คราะห์ปฏสิ ัมพนั ธ์ของเหตกุ ารณห์ รือปัจจัยในอนาคต รูปแบบพน้ื ฐานของวธิ กี ารนีค้ ือ ตารางส่ีเหล่ียมท่ีแสดงปัจจัยในอนาคตที่ต้องการวิเคราะห์ในแนวตั้งและแนวนอน พร้อมระดับความ เป็นไปได้ทแี่ ต่ละเหตกุ ารณ์จะเกิดข้ึนได้อย่างอสิ ระและความเปน็ ไปได้ตามเงอ่ื นไขของการเกิดข้ึนของ เหตกุ ารณอ์ ่นื ๆ54 การวิเคราะห์ค่าความเป็นไปได้จะด�ำเนินการตามหลักการมอนติคาร์โล (Monte Carlo) กล่าว คือ นักวิเคราะห์จะส่มุ เลือกเหตุการณห์ นงึ่ ขน้ึ มา แลว้ วเิ คราะห์ตอ่ ว่า ถ้าเหตกุ ารณ์น้เี กดิ ขึน้ ความเป็น ไปไดข้ องเหตกุ ารณ์อื่นทีเ่ หลอื จะแทนคา่ โดยความเปน็ ไปไดเ้ ชิงเงื่อนไข (conditional probabilities) ทเี่ กดิ จากเหตกุ ารณแ์ รก จากนน้ั จงึ สมุ่ เลอื กเหตกุ ารณท์ ส่ี องและสามตอ่ ไป จนทกุ เหตกุ ารณห์ รอื ปจั จยั ได้รับเลือก ผลลัพธ์ของการค�ำนวณน้ีคือฉากทัศน์ฉากหน่งึ เมื่อกระบวนการน้ีท�ำซ�้ำจ�ำนวนหลายครั้ง จะท�ำใหไ้ ดผ้ ลลพั ธท์ เี่ ปน็ คา่ ความเปน็ ไปไดข้ องแตล่ ะเหตกุ ารณ์ ฉากทศั นท์ ไี่ ดจ้ งึ ถอื วา่ เปน็ ฉากทศั นเ์ ชงิ ปฏสิ มั พนั ธ์ (interactive scenarios) เนือ่ งจากเกิดจากการค�ำนวณการปฏสิ มั พันธข์ องเหตุการณ์หรอื ปัจจยั เนือ่ งจากการค�ำนวณมีความซับซอ้ น จงึ ต้องมีการใชซ้ อฟตแ์ วรพ์ เิ ศษท่เี ปิดโอกาสใหผ้ วู้ ิเคราะห์ สามารถเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์หรือปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยได้ ปฏิสัมพันธ์รูปแบบใหม่นี้เป็นพ้ืน ฐานของฉากทัศน์ใหม่ท่ีสามารถน�ำไปใช้ในการวางแผนนโยบายหรือการตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์ต่อ ไป ทั้งน้ี โครงการมลิ เลนเนียมโปรเจกตไ์ ดพ้ ัฒนาซอฟตแ์ วรใ์ นการวิเคราะห์ผลกระทบไขว้ และตพี มิ พ์ ผลลพั ธข์ องตวั อยา่ งการสรา้ งฉากทศั นเ์ ชงิ ปฏสิ มั พนั ธไ์ วใ้ นรายงาน State of the Future ใน พ.ศ. 2552 วิธีการขั้นสูงวิธีการหนึ่งที่ใช้ในการสร้างฉากทัศน์คือเทคนิคที่เรียกว่าการสร้างฉากทัศน์จาก ปฏสิ ัมพันธเ์ ชิงระบบ (Field Anomaly Relaxation - FAR) ซง่ึ มุง่ สรา้ งแผนทขี่ องปฏิสัมพนั ธ์ระหว่าง ปจั จยั ขบั เคลอ่ื นในระดบั ระบบ (systematic scale) โดยแบง่ ปจั จยั ขบั เคลอ่ื นเหลา่ นอี้ อกเปน็ กลมุ่ สาขา (sectors) และกลมุ่ ปัจจยั (factors) การวเิ คราะหป์ ฏสิ มั พันธ์ทซี่ บั ซอ้ นระหว่างสาขาและปจั จยั ตา่ ง ๆ ท�ำใหส้ ามารถสรา้ งฉากทศั นท์ ม่ี คี วามหลากหลายและสมั พนั ธก์ นั ไดม้ ากขนึ้ 55 วธิ กี าร FAR นยิ มใชใ้ นการ คาดการณส์ ถานการณร์ ะดบั มหภาคในระดบั โลก โดยเฉพาะในดา้ นการทหาร เชน่ การวางแผนยทุ ธศาสตร์ ส�ำหรบั กองก�ำลงั พเิ ศษ56 โครงการวเิ คราะหฉ์ ากทศั นด์ า้ นภมู ศิ าสตรก์ ารเมอื งในทะเลจีนใต้57 แตก่ ม็ งี าน ที่ประยกุ ตใ์ ชก้ บั ประเดน็ อนื่ เชน่ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากร58 วธิ กี าร FAR เนน้ การประชมุ ระดมสมอง ของผเู้ ชย่ี วชาญและผมู้ อี �ำนาจในการตดั สนิ ใจ องคก์ ร ADFA ดา้ นความมัน่ คงของออสเตรเลยี ไดพ้ ฒั นา ซอฟตแ์ วรช์ อื่ Groupstorm เพอื่ ใชใ้ นการน�ำเขา้ และประมวลผลขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากกระบวนการระดมสมอง
175 | อนาคตศึกษา ระบบการตดั สนิ ใจทใ่ี ชไ้ ด้ กบั หลายสถานการณ์ อุปสรรคส�ำคัญประการหนึ่งในการศึกษาและคาดการณ์อนาคตคือ ภาพอนาคตท่ีเชื่อว่าเกิดข้ึนได้ (plausible futures) ในระยะยาวมอี ยจู่ �ำนวนมากและอาจทบั ซอ้ นซึ่งกนั และกนั (multiplicity) วธิ ี การและเครอื่ งมอื ศกึ ษาอนาคตทใ่ี ชก้ นั อยทู่ วั่ ไปมกั ประสบกบั ปญั หาน้ี ไมว่ า่ จะเปน็ การเขยี นเรอื่ งราวเชงิ วรรณกรรมทสี่ รา้ งจนิ ตนาการใหก้ บั คนอา่ น การประมวลความรแู้ ละปญั ญาของกลมุ่ ผเู้ ชยี่ วชาญดงั เชน่ วธิ กี ารเดลฟาย หรอื แมแ้ ตก่ ารใชแ้ บบจ�ำลองเชงิ สถติ แิ ละคอมพวิ เตอรใ์ นการจ�ำลองสถานการณ์ รวมไป ถงึ การวางแผนเชงิ ฉากทศั นท์ มี่ งุ่ เตรยี มพรอ้ มเพอ่ื รบั มอื กบั ความไมแ่ นน่ อนในอนาคต ภาพอนาคตทเี่ ชอ่ื ว่าเกดิ ขึน้ ได้มีอยจู่ �ำนวนมากท�ำใหก้ ารคาดการณอ์ นาคตเปน็ ภาพเดยี วมักไม่ถกู ต้อง ในขณะท่ีนโยบาย หรือมาตรการที่จะเตรยี มพร้อมรับมือกับความเสีย่ งตา่ ง ๆ ไว้แล้ว อาจเจอเหตุการณ์ไมค่ าดฝัน จงึ ไม่ ประสบผลส�ำเรจ็ ในการรบั มอื แมก้ ระทง่ั การวางแผนแบบฉากทศั นท์ พี่ ฒั นาขนึ้ อยา่ งละเอยี ดและค�ำนงึ ถงึ ความไมแ่ นน่ อนตา่ ง ๆ อาจไมค่ รอบคลมุ ความเปน็ ไปไดท้ ห่ี ลากหลายมากในอนาคต และไมม่ วี ธิ กี าร ทเี่ ปน็ ระบบในการวเิ คราะหแ์ ละพิจารณาผลกระทบที่เกดิ ขน้ึ จากฉากทศั น์ได้ ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ ว นกั วจิ ยั กลมุ่ หนง่ึ ทแ่ี รนดค์ อรป์ อเรชนั ไดพ้ ฒั นากรอบแนวคดิ เชงิ ทฤษฎกี ารตดั สนิ ใจท่ีเรยี กวา่ ระบบการตดั สนิ ใจที่ใช้ไดก้ ับหลายสถานการณ์ (Robust Decision Making - RDM) ขน้ึ เพอ่ื ใชก้ ารคาดการณอ์ นาคตทไ่ี มส่ มบรู ณท์ มี่ อี ยจู่ �ำนวนมากไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ59วธิ กี ารนยี้ อมรบั วา่ ภาพ อนาคตที่เชื่อว่าเกิดขึ้นได้และทับซ้อนกัน ถือเป็นตัวแทนของฉากทัศน์ท่ีดีท่ีสุดเท่าที่จะมีข้อมูลอยู่ ของทางเลือกในอนาคตที่ไม่สามารถหย่ังรู้ก่อนได้ วิธีการนี้เหมาะสมกว่าวิธีการพยากรณ์ด้วยการ เช่ือมโยงจุดแสดงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง (point forecasts) หรือการท�ำนายด้วยความเปน็ ไปได้ (probabilistic predictions) นอกจากน้ี วธิ กี าร RDM จะชว่ ยใหน้ กั วเิ คราะห์และผู้มอี �ำนาจตดั สินใจสามารถก�ำหนดแนวทาง ด�ำเนินการหรือกิจกรรมท่ีท�ำได้ในระยะสั้น และใช้ได้กับหลายสถานการณ์ (robust) ซึ่งมีความไม่ แนน่ อนในอนาคต การด�ำเนนิ การดงั กลา่ วสามารถท�ำใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของผนู้ �ำได้ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ทางเลือกอืน่ ๆ ไม่วา่ สถานการณใ์ นอนาคตจะเป็นอยา่ งไรกต็ าม วธิ กี าร RDM นับเปน็ การปรบั เปลยี่ น จากการต้ังค�ำถามด้งั เดมิ ว่า อนาคตจะเปน็ อย่างไร เป็นค�ำถามวา่ เราสามารถท�ำอะไรในปัจจุบันที่จะ ท�ำให้อนาคตเป็นไปอย่างท่เี ราต้องการได้
อนาคตศกึ ษา | 176 แนวคิด RDM สะท้อนแนวคิดท่ีเปลี่ยนแปลงในวงการวางแผนยุทธศาสตร์ในช่วงประมาณ 2-3 สามทศวรรษทผี่ า่ นมา นกั คาดการณแ์ ละวางแผนเชงิ ยทุ ธศาสตรท์ งั้ ในระดบั องคก์ ร ระดบั ประเทศและ ระดับโลก เร่ิมให้ความส�ำคัญกับค�ำว่า robust ซ่ึงหมายถึงความทนทานหรือใช้ได้กับทุกสถานการณ์ แทนค�ำว่า optimum ซึ่งหมายถึงดีท่ีสุด เนื่องจากเริ่มตระหนักกันว่า ปัจจัยจ�ำนวนมากที่เกิดข้ึนใน โลกปัจจุบันมีความไม่แน่นอนสูงและมีความผันผวนสูง การท�ำนายและคาดการณ์ว่าอะไรจะเกิดข้ึน ในอนาคตจึงเป็นเรื่องยาก และมักมีเหตุการณ์ไม่คาดฝันเกิดข้ึนอยู่เสมอ นอกจากนี้ ความก้าวหน้า ของความรู้ด้านจิตวิทยาของการตัดสินใจแสดงให้เห็นว่า กรอบแนวคิดแบบเดิมท่ีเน้นอรรถประโยชน์ ที่คาดหวัง (expected utility) ไม่ได้เป็นแนวทางที่ผู้มีประสบการณ์และเช่ียวชาญในการตัดสินใจใช้ จริงในสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน อีกท้ังขีดความสามารถในการเก็บรวบรวมและประมวลผลข้อมูลของ คอมพวิ เตอร์ได้เพม่ิ ขนึ้ อย่างทวีคณู จึงท�ำให้สามารถสรา้ งกรอบแนวคดิ ส�ำหรับการวเิ คราะหก์ ารตัดสนิ ใจในเชงิ ปริมาณไดด้ ียิ่งข้ึน จุดเร่ิมต้นของแนวคิด RDM เกิดข้ึนเม่อื ต้นทศวรรษท่ี 1990 เม่อื นักวิเคราะห์ของแรนด์ประสบ กบั ความทา้ ทายในการวเิ คราะหง์ านดา้ นนโยบายทมี่ คี วามไมแ่ นน่ อนสงู และมพี ลวตั ของระบบทไี่ มม่ ีจดุ ดลุ ยภาพ (non-equilibrium dynamics) ดงั เชน่ ในกรณกี ารเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศของโลกและ การเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจของประเทศยุโรปตะวันออก60 เครื่องมือเชิงปริมาณท่ีใช้ในการตัดสิน ใจเชงิ นโยบายที่มอี ยู่แต่ดง้ั เดิมมักไมเ่ หมาะสมส�ำหรบั สถานการณ์เหล่าน้ี ในขณะเดียวกนั นักวจิ ยั ของ แรนด์เห็นว่า แบบจ�ำลองท่ีไม่สามารถพยากรณ์ได้ดี ยังคงมีข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ได้ ถ้าหากสามารถ วิเคราะห์ซ้�ำแล้วซ้�ำเล่าหลายแสนหลายล้านคร้ังอย่างเป็นระบบ เพื่อแสดงให้เห็นถึงข้อสมมติของแบบ จ�ำลองเกีย่ วกบั อนาคตเหล่าน้นั ดว้ ยแนวคดิ ดงั กลา่ ว นกั วจิ ยั กลมุ่ นจ้ี งึ น�ำเสนอกรอบแนวคดิ เชงิ ทฤษฎขี องระบบการตดั สนิ ใจแบบ ทนทานหรือแบบรับกับหลายสถานการณ์ได้ (RDM) ขึ้นใน พ.ศ. 2539 โดยน�ำไปใช้ในการประเมิน ยุทธศาสตร์การปรับตัวตามสถานการณ์ต่าง ๆ ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ท�ำให้เกิดการ เปลยี่ นแปลงของสภาพภมู อิ ากาศ61 ในปจั จบุ นั วธิ กี าร RDM ไดร้ บั การประยกุ ตใ์ ชว้ เิ คราะหแ์ ละก�ำหนด นโยบายในหลายดา้ น ทงั้ ดา้ นกลาโหมและความมน่ั คง การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ดา้ นการศกึ ษา ข้ันสูง การประกันภัย การวางแผนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัท เอกชน รวมถึงการวิเคราะห์นโยบายระยะยาว เพื่อก�ำหนดการด�ำเนินการในระยะสั้นที่มุ่งผลลัพธ์ไป ท่ีเหตุการณ์และปรากฏการณ์ในช่วงเวลาหลายทศวรรษในอนาคต62 ระบบการตัดสินใจ RDM เป็น วิธีการเชิงปริมาณและค�ำนวณซ้�ำ (interative) เพื่อพัฒนายุทธศาสตร์ที่มุ่งสร้างผลลัพธ์ที่ไม่ผันแปร ไปตามปัจจัยไม่แน่นอนในอนาคต และเพื่อระบุความอ่อนไหวและเปราะบาง (vulnerabilities) ของ ยทุ ธศาสตรด์ งั กลา่ ว ความไมแ่ นน่ อนทวี่ า่ นเี้ กดิ ขนึ้ เมอ่ื องคก์ รหรอื ผนู้ �ำไมร่ หู้ รอื ไมส่ ามารถตกลงกนั ไดว้ า่ จะตอ้ งด�ำเนนิ การอยา่ งไรเพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลลพั ธท์ ต่ี อ้ งการ และไมท่ ราบถงึ คา่ ความเปน็ ไปไดข้ องปจั จยั น�ำเขา้ ในแบบจ�ำลองระบบทใี่ ชใ้ นการคาดการณ์ รวมถงึ เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทใ่ี ชใ้ นการจดั ล�ำดบั ความส�ำคญั ของ ทางเลือกผลลพั ธ์ที่จะเกดิ ขนึ้ วิธกี าร RDM ใช้คอมพิวเตอร์ในกระบวนการค�ำนวณซ�ำ้ กนั หลายครง้ั เพ่ือ ตรวจสอบวา่ ผลลพั ธจ์ ากยทุ ธศาสตรท์ น่ี กั วเิ คราะหไ์ ดค้ ดิ ขน้ึ มานนั้ ยงั คงสามารถบรรลไุ ดต้ ามสถานการณ์
177 | อนาคตศึกษา อนาคตทหี่ ลากหลายหรอื ไมแ่ ละไดด้ เี ทา่ ใด แบบจ�ำลองสถานการณด์ ว้ ยคอมพวิ เตอรส์ ามารถทดสอบ ภาวะวกิ ฤติ (stress test) ของยุทธศาสตรเ์ หล่านี้ และสามารถคาดการณ์ตามแนวโน้มจากขอ้ มลู ทม่ี ี อยวู่ า่ ยทุ ธศาสตรไ์ หนจะสรา้ งผลลพั ธไ์ ดด้ หี รอื ไมอ่ ยา่ งไร กระบวนการวเิ คราะหน์ จ้ี ะใชก้ บั ทกุ ทางเลอื ก ยุทธศาสตรท์ ม่ี ีอยู่ทง้ั หมด วิิธีีการ RDM ไม่่ได้้มุ่�งที่�่การทำำ�นายหรืือพยากรณ์์แนวโน้้มในอนาคตแล้้วดำำ�เนิินการ (predict-then-act) แต่่เน้้นการสร้้างความเข้้าใจอย่่างเป็็นระบบเกี่�่ยวกัับทางเลืือกในระยะสั้�นที่่�จะ กำ�ำ หนดอนาคตระยะยาว โดยพิจิ ารณาถึึงภาพอนาคตที่่เ� ชื่�อว่า่ เกิดิ ขึ้�นได้้ที่่�มีีอยู่�จำ�ำ นวนมาก รวมถึึงทาง เลืือกของเส้้นทางที่�่จะเข้้าถึึงเป้้าหมายระยะยาว และกิิจกรรมที่่�ต้้องดำำ�เนิินการในระยะสั้�นที่�่รัับมืือได้้ กัับทุุกสถานการณ์์ในอนาคต วิิธีีการนี้�ใช้้ประโยชน์์จากความสามารถของมนุุษย์์ในการวิิเคราะห์์และ ตััดสิินใจ ประกอบกัับขีีดความสามารถของคอมพิิวเตอร์์ในการวิิเคราะห์์และประมวลผลจากข้้อมููล เชิิงปริิมาณจำำ�นวนมาก วิิธีีการตััดสิินใจแบบ RDM แตกต่่างจากวิธิ ีีการคาดการณ์แ์ นวทางอื่�น ทั้�งแบบทำ�ำ นายแล้้วดำ�ำ เนินิ การ (predict-then-act) และแบบการวางแผนฉากทัศั น์์ โดยเฉพาะเมื่อ� คำ�ำ ถึึงถึึงระดัับความซับั ซ้้อน ระดับั ความไม่่แน่่นอน และระดับั ของโอกาสในการป้้องกันั ความเสี่�ย่ ง (แผนภาพที่่� 18) วิิธีีการ RDM อาจใช้้ประโยชน์์ได้้ดีีที่่�สุุดในการแสดงคุุณลัักษณะของความไม่่แน่่นอนและจััดการกัับความไม่่แน่่นอน นั้�น โดยเฉพาะในระบบที่่�มีีความซัับซ้้อนเกิินกว่่าที่่�แม้้แต่่นัักวิิเคราะห์์และผู้้�มีีอำ�ำ นาจตััดสิินใจที่่�มีี ประสบการณ์ย์ ังั ไม่ส่ ามารถทราบถึึงผลกระทบของนโยบายที่�่อาจเกิดิ ขึ้�นได้้ในอนาคต มแิตผขินอภงากพาทร่ีต1ดั 8สนิ ใจท่ใี ช้ได้กบั หลายสถานการณ์ ที่มา: Lempert et al. (2009)
อนาคตศึกษา | 178 ขัน้ ตอนและวิธีการ วิธีการ RDM มีองค์ประกอบพ้ืนฐาน 4 ส่วนที่ใช้ในการออกแบบกระบวนการวิเคราะห์ ดังต่อไปน้ี ในข้นั ตอนแรก คณะท�ำงานจะรวบรวมฉากทศั น์หรือสถานการณ์ท่ีน่าจะเกิดข้นึ ให้ไดจ้ �ำนวนมาก และหลากหลายทีส่ ดุ เพือ่ ใช้เป็นเกณฑ์การทดสอบทางเลือกนโยบายในระยะสั้น ข้อมลู และเร่อื งราว ในฉากทัศน์อาจมาจากหลายแหล่ง ท้ังจากเอกสารหรือจากกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วน เสียท่มี คี วามหลากหลายทางความคดิ คุณค่าและความคาดหวังเกย่ี วกบั อนาคต ขนั้ ตอนท่ี 2 เปน็ การพัฒนายุทธศาสตร์ ซึง่ ไม่ใช่ยุทธศาสตรท์ ีด่ ที ส่ี ุด แตด่ พี อที่จะตอบรบั กับทุก สถานการณใ์ นอนาคตทเ่ี ชอ่ื วา่ เกดิ ขนึ้ ได้ จากนนั้ จงึ เปน็ การพฒั นาวธิ กี ารจดั ล�ำดบั ความส�ำคญั ของทาง เลอื กฉากทัศนท์ พ่ี งึ ประสงค์ ขน้ั ตอนที่ 3 เป็นการเลอื กยุทธศาสตร์ที่ปรับเปลย่ี นได้ (adaptive) เพือ่ ใหต้ อบรับกับสถานการณ์ และความไม่แน่นอน โดยปรับเปลี่ยนตามข้อมูลและความรู้ใหม่ท่ีเกิดข้ึนเม่ือเวลาผ่านไป ท้ังนี้ ยุทธศาสตร์แบบปรบั เปล่ยี นไดใ้ นระยะสั้นจะมุ่งไปท่ีผลลพั ธ์ในระยะยาว โดยการสร้างกรอบทางเลอื ก ส�ำหรับการตัดสินใจในอนาคต การออกแบบยุทธศาสตรใ์ นระยะสน้ั จึงเน้นเพื่อสามารถตรวจสอบและ ปรบั เปลี่ยนไดใ้ นอนาคต ข้ันตอนสุดท้ายเป็นการประยุกต์ใช้เครื่องมือคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาเพื่อการวิเคราะห์ภาพอนาคต จ�ำนวนมากได้ซ้�ำกันหลายครั้ง ซึ่งท�ำให้สามารถทดสอบและค้นพบสมมติฐานที่พิสูจน์ได้ว่าใช้ได้กับ สถานการณท์ หี่ ลากหลาย การใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการวเิ คราะหท์ างเลอื กฉากทศั นแ์ ละการตดั สนิ ใจท�ำให้ มนุษย์สามารถค้นพบยุทธศาสตร์ระยะส้ันท่ีสามารถปรับเปลี่ยนและตอบรับกับสถานการณ์อนาคตที่ หลากหลายได้ ในกระบวนการวเิ คราะหจ์ รงิ ระบบคอมพวิ เตอรจ์ ะชว่ ยสรา้ งฉากทศั นท์ น่ี า่ จะเกดิ ขนึ้ ไดเ้ ปน็ จ�ำนวน มาก โดยแต่ละฉากจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับสภาพอนาคตและยุทธศาสตร์ท่ีน�ำไปสู่ผลลัพธ์ในอนาคต ระบบการตดั สินใจแบบ RDM วเิ คราะหป์ ฏสิ มั พันธร์ ะหว่างชุดภาพอนาคตท่เี ช่ือวา่ เกดิ ข้ึนได้ แลว้ สรา้ ง ออกมาเป็นภาพคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ หรือทีเ่ รยี กวา่ visualization ท่ีชว่ ยใหน้ ักวิเคราะห์สามารถสร้าง สมมตฐิ านและยุทธศาสตรท์ เี่ หมาะสม และทดสอบสมมติฐานและยุทธศาสตรเ์ หล่าน้ีตอ่ ไป
179 | อนาคตศึกษา การคาดการณ์ อยา่ งมสี ว่ นรว่ ม แนวคิดส�ำคัญที่มีอิทธิพลต่อวงการอนาคตศาสตร์คือการให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียในกระบวนการคาดการณ์ โดยเฉพาะในการส�ำรวจและพัฒนาภาพอนาคตที่เป็นไปได้และ พงึ ประสงค์ การมสี ่วนรว่ มทวี่ า่ นี้ หมายถงึ กจิ กรรมทมี่ ที งั้ แบบท่ีผเู้ ขา้ ร่วมมาพบหารอื กนั ตวั ตอ่ ตวั แบบ เป็นกลุ่มในสถานท่ีใดสถานทห่ี นง่ึ หรือแบบการประชมุ ผา่ นทางเครื่องมือโทรคมนาคม โดยอาจเปน็ ก ลุ่มคนในองค์กรเดยี วกนั ในพ้ืนที่ ประเทศหรอื ภูมิภาคเดียวกนั หรอื แม้แตใ่ นระดับโลก โดยแต่ละคน เขา้ มามสี ว่ นรว่ มเพอ่ื ศกึ ษาความเปน็ ไปไดข้ องอนาคต และพฒั นาภาพอนาคตรว่ มกนั ผลลพั ธท์ เ่ี กดิ จาก กระบวนการศกึ ษาและพฒั นาภาพอนาคตอยา่ งมสี ว่ นรว่ มนี้ มกั เปน็ ภาพอนาคตเชงิ ปทสั ถาน คอื กลา่ ว ถงึ ภาพอนาคตทคี่ วรจะเปน็ มากกวา่ ภาพอนาคตเชงิ วเิ คราะหท์ มี่ งุ่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ อนาคตจะเปน็ เชน่ ไร ตามเงือ่ นไขและบรบิ ทในอดตี และปัจจุบนั กระบวนการคาดการณ์อย่างมีส่วนร่วมสามารถระบุถึงความปรารถนาของผู้คนที่เข้าร่วม กระบวนการ รวมถึงยุทธศาสตร์โดยทั่วไปในการบรรลุความปรารถนาเหล่านั้น แต่อาจไม่เหมาะสม ส�ำหรับการพัฒนาแผนท่ีมีรายละเอียดเฉพาะเจาะจง ซึ่งควรใช้วิธีการวิเคราะห์และคาดการณ์อื่น ประกอบกันไปดว้ ย ภาพอนาคตทเี่ กดิ จากการวิเคราะห์อยา่ งเปน็ ระบบจะชว่ ยให้รายละเอยี ดทพี่ ฒั นา จากกระบวนการมีส่วนร่วมไม่ห่างจากความเป็นจริงมากจนเกินไป และยุทธศาสตร์ท่ีพัฒนาข้ึนมา สามารถด�ำเนนิ การไดอ้ ย่างมีประสทิ ธผิ ลมากขน้ึ แนวคดิ หนงึ่ ในวงการวางแผนและอนาคตศกึ ษาเชอ่ื วา่ ระดบั การยอมรบั ของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ใน นโยบาย ยทุ ธศาสตรห์ รอื การตัดสนิ ใจจะขนึ้ อยกู่ ับระดบั การมีส่วนรว่ มของผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสียนั้น เชน่ เดียวกันระดับความยากง่ายของการด�ำเนินการตามนโยบายหรือแผน ก็มักแปรผันไปตามระดับการมี ส่วนร่วมของผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจในกระบวนการคาดการณ์และวางแผนเช่นกัน กระบวนการวางแผน ที่พิจารณาและค�ำนึงถึงภาพอนาคตจ�ำนวนมากและหลากหลายเท่าใด ก็จะเพ่มิ โอกาสให้ผลผลิตที่ เป็นนโยบายหรือยุทธศาสตร์สามารถสร้างผลลัพธ์ท่ีดีและยั่งยืนมากเท่านั้น ด้วยเหตุน้ี วัตถุประสงค์ หลกั ของกระบวนการมีสว่ นรว่ ม ท้งั ในการคาดการณ์อนาคตและการวางแผนยทุ ธศาสตร์ คอื เพ่อื ยก ระดับคุณภาพของการตัดสินใจ อีกท้ังยังเป็นการสร้างความตระหนักและการให้ความรู้กับผู้เข้าร่วม กระบวนการอกี ด้วย
อนาคตศกึ ษา | 180 เป็นเร่ืองธรรมดาท่ีกระบวนการมีส่วนร่วมจะเต็มไปด้วยความเห็นที่แตกต่างและมีการโต้แย้งกัน ระหวา่ งผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ยงิ่ ถา้ เปน็ ประเดน็ ส�ำคญั และทา้ ทายเทา่ ไหร่ กจ็ ะยิง่ มคี วามเหน็ ทแี่ ตกตา่ งกนั มากเทา่ นน้ั จงึ คงเปน็ เรอ่ื งแปลกและไมธ่ รรมดา ถา้ กระบวนการมสี ว่ นรว่ มมแี ตค่ วามคดิ เหน็ เดยี วกนั หรอื เหน็ พอ้ งกนั ทง้ั หมด วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ประการส�ำคญั ของกระบวนการคาดการณใ์ นอนาคตศกึ ษาคอื เพอ่ื กระตนุ้ ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มกระบวนการใชจ้ นิ ตนาการของตนเองไดม้ ากทส่ี ดุ ความหลากหลายของจนิ ตนาการ และความคดิ เหน็ จึงเป็นผลลพั ธ์ทต่ี อ้ งการใหเ้ กดิ ขึ้นในกระบวนการคาดการณ์ อยา่ งไรกต็ าม หากกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี เปน็ ไปอยา่ งอสิ ระ และความเหน็ แตกตา่ งกนั มากเกนิ ไป จะไมน่ �ำไปสผู่ ลผลติ และผลลพั ธท์ ชี่ ดั เจน และไมน่ �ำไปสกู่ ารตดั สนิ ใจและด�ำเนนิ การตอ่ ไปได้ กระบวนการทด่ี ีจงึ ตอ้ งชน้ี �ำใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มมีจดุ มงุ่ หมายและขอบเขตทช่ี ดั เจน และรสู้ กึ ถงึ การ มีส่วนรับผิดชอบและความร่วมมือร่วมกัน การวางแผนกระบวนการและการใช้กระบวนกรท่ีดีจึงเป็น ปจั จยั ส�ำคญั ของกระบวนการมีสว่ นร่วม ไม่ว่าจะมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ การคาดการณ์อนาคต การวางแผน ยทุ ธศาสตร์ หรอื การปรกึ ษาหารอื ในรายละเอยี ดโครงการ การพฒั นาดา้ นเทคโนโลยแี ละตน้ ทนุ ทล่ี ดต�่ำลงท�ำใหเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศโดยเฉพาะอนิ เทอรเ์ นต็ ได้แพร่หลายไปทั่วโลก และเปิดโอกาสให้คนทั่วไปสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการคาดการณ์ อนาคตและการตัดสินใจในหลายรูปแบบมากขึ้น วิธีการและกระบวนการมีส่วนร่วมมีอยู่มากมายและ หลากหลาย เนอื่ งจากมีหนังสอื ต�ำราและค่มู อื จ�ำนวนมากที่น�ำเสนอรายละเอียดในเรือ่ งน้ีอยแู่ ล้ว63 จึง ไม่จ�ำเป็นต้องอธิบายโดยละเอียดในที่นี้ ประเด็นส�ำคัญท่ีต้องตระหนักอยู่เสมอในการใช้กระบวนการมี สว่ นร่วมในการคาดการณ์อนาคตคอื แต่ละวธิ กี ารมขี ้อดขี ้อเสยี จดุ แข็งจุดออ่ นของแตล่ ะวธิ ีอยู่ จงึ ตอ้ ง เข้าใจวิธีการเหล่านี้อย่างถ่องแท้ และเลือกใช้วิธีการท่ีเหมาะสมกับวัตถุประสงค์และเงื่อนไขในแต่ละ เรื่องและแต่ละพื้นท่ี ตวั อยา่ งเชน่ การจดั ประชาพจิ ารณอ์ าจเปน็ ทนี่ ยิ มใชท้ วั่ ไป แตม่ ขี อ้ จ�ำกดั ส�ำคญั คอื เปน็ การใหค้ วาม เหน็ ทลี ะคน ท�ำใหจ้ �ำนวนและสดั สว่ นของผทู้ ส่ี ามารถแสดงความเหน็ ไดจ้ รงิ มอี ยนู่ อ้ ย ความทา้ ทายคอื จะ ท�ำอยา่ งไรใหค้ วามเหน็ ทไ่ี ดร้ บั นนั้ เปน็ เสยี งจากตวั แทนจรงิ และเปน็ ความเหน็ เชงิ ลกึ ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การคาดการณ์และการวางแผนจริง แนวทางหนึ่งในการแก้ไขคือการผสมผสานระหว่างการจัดประชา พิจารณ์กลุ่มใหญ่กับการประชุมกลุ่มย่อย แม้ว่าผลลัพธ์จากการประชุมกลุ่มย่อยอาจไม่ถือเป็นตัวแทน ของกล่มุ ใหญท่ ัง้ หมด แต่สามารถใหข้ ้อมลู และความคิดเห็นทีส่ �ำคัญต่อการคาดการณ์และการวางแผน ยทุ ธศาสตร์ต่อไปได้ เปน็ ตน้ วิธีการคาดการณ์แบบมีส่วนร่วมสามารถจ�ำแนกเป็นกลุ่มตามขนาดของกลุ่มตามจ�ำนวนคนและ ตามจ�ำนวนสถานที่ประชมุ ดังน้ี
181 | อนาคตศกึ ษา ปตารระาเภงททข่ี 1อ6งวธิ กี ารคาดการณ์แบบมีส่วนร่วม ท่มี า: Glenn (2009b) ซินคอน วธิ กี ารคาดการณแ์ บบมสี ว่ นรว่ มทเี่ นน้ การมองอนาคตมากทส่ี ดุ และเปน็ องคร์ วมมากทสี่ ดุ คอื วธิ กี ารซนิ คอน (Syncon)64 วธิ กี ารนพี้ ฒั นาขนึ้ ในสหรฐั อเมรกิ าในชว่ งทศวรรษที่ 1970 โดยกลมุ่ The Committee for the Future65 เพ่ือตอบค�ำถามวา่ ภาพอนาคตอะไรทีท่ กุ คนสามารถมงุ่ ท�ำร่วมกนั เพอื่ ใหบ้ รรลภุ าพนน้ั ได้ และความไม่เขา้ ใจกนั (misunderstandings) อะไรทต่ี อ้ งแกไ้ ขก่อนที่จะท�ำใหเ้ กิดความร่วมมอื นั้น ซนิ คอนเปน็ วธิ ีการประชุมแบบหนงึ่ ทีอ่ อกแบบมาให้ผู้เข้ารว่ มประชมุ ค่อย ๆ ก่อรา่ งและสร้างความคิด ทท่ี ้ายสุดสอดคลอ้ งและเปน็ หน่งึ เดียวกันได้ ตามชื่อเต็มคอื synergistic convergence - Syncon วธิ ีการนเี้ ชื่อวา่ ถา้ ผคู้ นที่หลากหลายสามารถมาเจอกนั รว่ มกนั สร้างฝนั และหาจุดยืนร่วมกัน ก็ จะสามารถสร้างความตระหนักท่ีท�ำให้เกิดความก้าวหน้ากับทุกคนได้ จากตัวอย่างภาพวงล้อซินคอน ข้างล่างน้ี จะเหน็ ได้ว่า แต่ละสว่ นเสี้ยวของวงดา้ นในของวงลอ้ แสดงถงึ องคป์ ระกอบและทศิ ทางที่แตก ตา่ งกันของสังคม อาทิ ความตอ้ งการทางสงั คม เทคโนโลยี สิง่ แวดลอ้ ม รัฐบาล การผลติ และภมู ภิ าค อ่ืน ๆ ส่วนวงด้านนอกของวงล้อแสดงศักยภาพท่ีเพิ่มข้ึนของอารยธรรมโลก เช่น การพัฒนาด้าน เทคโนโลยีชีวภาพ ขอ้ มลู ชีวิตนอกโลก ธรรมชาตขิ องมนุษย์ ศิลปะ และปรากฏการณอ์ ื่นที่ไมส่ ามารถ อธิบายได้ ในกระบวนการคาดการณ์อยา่ งมีส่วนรว่ มแนวน้ี ผูเ้ ขา้ รว่ มประชมุ แต่ละกล่มุ จะอภิปรายถึง อนาคตของประเด็นตา่ ง ๆ ตามส่วนเสยี้ วของวงลอ้ จากนัน้ จงึ รวมกลุ่มกบั กลุ่มอ่ืนเพ่อื สร้างอนาคตรว่ ม กนั ทผ่ี สมผสานเอาองคป์ ระกอบและทศิ ทางทแี่ ตกตา่ งกนั เขา้ ดว้ ยกนั จนทา้ ยสดุ เปน็ กลมุ่ ใหญก่ ลมุ่ เดยี ว กระบวนการคาดการณแ์ บบซนิ คอนน้ี ใชเ้ วลาประมาณ 3-4 วนั โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการเชอื่ ม ผู้เข้าร่วมจากสถานท่ีตา่ ง ๆ ที่ไมส่ ามารถเดินทางมาเข้ารว่ มเองได้
อนาคตศกึ ษา | 182 วแงผลน้อภซาินพคทอ่ี น19ท่แี สดงประเด็นย่อย ท่ีมา: Glenn (2009b) ในแตล่ ะกลมุ่ ทเ่ี รยี กวา่ ซนิ คอน ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ ทเ่ี ปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญจากสาขาตา่ ง ๆ จะระดมสมอง กันโดยมีกระบวนกรเป็นผู้ด�ำเนินกระบวนการตามแนวทางที่ก�ำหนดไว้ตามเป้าหมายท่ีตั้งไว้ แต่ละ กลุม่ จะมีเคร่ืองมอื การสอื่ สารที่เชือ่ มต่อการประชมุ กลมุ่ ย่อยหรือซนิ คอนอ่ืนเขา้ ด้วยกนั และอาจมกี าร เผยแพรใ่ นเวลาเดยี วกนั เพอ่ื ใหค้ นทว่ั ไปสามารถเขา้ มามสี ว่ นรว่ มได้ การถา่ ยทอดสดทางโทรทศั นห์ รอื วิธีการอื่นเช่นทางอินเทอร์เน็ต สามารถเพิ่มจ�ำนวนผู้เข้าร่วมกระบวนการคาดการณ์แบบซินคอนจาก 50-500 คนท่ีเข้าร่วมการประชุมกลุ่มซินคอนโดยตรงเป็นหลายพันคน และสามารถถามค�ำถามหรือ ให้ความเหน็ ระหว่างกระบวนการได้ วแงผลนอ้ ภซานิ พคทอี่ น20ทแี่ สดงประเด็นยอ่ ย ทีม่ า: Glenn (2009b)
183 | อนาคตศึกษา กรุ๊ปแวร์ ประเภทซอฟต์แวร์ท่ีช่วยเช่ือมต่อและท�ำให้การส่ือสารและการประชุมออนไลน์เป็นไปได้ง่ายคือ ซอฟตแ์ วรท์ เี่ รยี กวา่ “กรปุ๊ แวร”์ (Groupware) สว่ นกรปุ๊ แวรท์ ใี่ ชใ้ นระบบการตดั สนิ ใจอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม เรียกโดยท่วั ไปวา่ ระบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจกลุม่ (Group Decision Support System) ซอฟต์แวร์ เหล่านีส้ ามารถช่วยท�ำหน้าทีไ่ ดห้ ลายด้าน เช่น • การเกบ็ และน�ำเสนอค�ำตอบและความเหน็ ของผเู้ ขา้ รว่ มกระบวนการไดอ้ ยา่ งทนั ที จงึ ท�ำให้ สามารถต่อยอดข้อมลู ความรูแ้ ละความคดิ เหน็ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ • การจดั การระดมสมองผา่ นทางสือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซึง่ สามารถจดั กลมุ่ ประเดน็ และขอ้ มลู เพือ่ การวเิ คราะหใ์ นอนาคตไดง้ ่ายมากขึน้ • การแสดงภาพหรือกราฟแสดงความเชื่อมโยงของกลุ่มประเด็นและข้อมูล ท�ำให้ผู้เข้าร่วม สามารถเขา้ ใจไดง้ า่ ยขน้ึ และสามารถเสรมิ คดั คา้ นหรอื แสดงความเหน็ เพม่ิ เตมิ ไดง้ า่ ยยง่ิ ขน้ึ • การประเมนิ ทางเลอื ก และการจดั อนั ดบั ตามเกณฑท์ ต่ี งั้ ขนึ้ มาโดยกลมุ่ ผเู้ ขา้ รว่ มกระบวนการ • การสรา้ งชดุ ค�ำส�ำคญั ค�ำอธบิ ายหรอื พจนานกุ รมในประเดน็ ทเี่ หน็ พอ้ งกนั เพอื่ ปอ้ งกนั ความ เข้าใจผดิ ในการส่อื สารและการด�ำเนินงานตอ่ ไป • การสร้างลิงก์ท่ีเชื่อมไปยังข้อมูล เอกสารหรือเน้ือหาเพิ่มเติม เพื่อสามารถอ้างอิงและใช้ ประโยชน์ตอ่ ไปไดใ้ นอนาคต • การร่วมผลิตผลงาน ทั้งการเขียน การแก้ไข การตรวจค�ำและการจัดการรูปแบบในเวลา เดียวกัน ในปจั จบุ นั มกี รุ๊ปแวร์จ�ำนวนมากท่ีใช้ในกระบวนการคาดการณ์และวางแผนอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม ทั้ง ทีเ่ ป็นซอฟต์แวร์ท่ตี อ้ งซอ้ื และท่เี ป็นแบบเปิด (open source) ขน้ั ตอนและวิธีการ เชน่ เดียวกับกระบวนการมสี ว่ นร่วมทั่วไป กระบวนการมีส่วนร่วมในการคาดการณจ์ �ำเปน็ ต้องค�ำนงึ ถงึ ประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี • การกำ� หนดความสำ� เรจ็ ทช่ี ดั เจนในการดำ� เนนิ กระบวนการ เชน่ ไดผ้ ลลพั ธเ์ ปน็ เปา้ หมาย เดยี วกนั ได้ฉันทามติในเร่ืองใดเรือ่ งหนงึ่ หรือแม้แตก่ ารยอมรบั ว่า ภาพอนาคตมอี ยหู่ ลาก หลาย มีหลายฉากทัศนท์ เ่ี กิดข้ึนได้ • การมุ่งเน้นไปท่ีอนาคต ความท้าทายหน่ึงของกระบวนการคาดการณ์อย่างมีส่วนร่วมคือ จะท�ำอย่างไรให้ผู้เข้าร่วมไม่ได้ยึดติดกับปัญหาในอดีต และการประเมินและตัดสินว่า ใคร ถูกใครผิดในอดีต แต่มุ่งให้การสนทนาและการอภิปรายมุ่งไปหาภาพอนาคต บ่อยครั้งท่ี กระบวนการมีส่วนร่วมมักหมดเวลาไปกับการถกเถียงเกี่ยวกับปัญหาท่ีเกิดข้ึนในอดีตและ ปจั จุบัน และไมม่ เี วลาเหลอื ส�ำหรับการพูดถึงอนาคต ดงั น้ัน การอภปิ รายเก่ยี วกับปจั จบุ ัน จงึ ตอ้ งอยใู่ นบรบิ ทของการสรา้ งทางเลอื กส�ำหรบั อนาคต อนงึ่ ในกระบวนการมสี ว่ นรว่ มควร ก�ำหนดปเี ป้าหมายใหช้ ดั เจน เพอ่ื ให้ผเู้ ข้าร่วมกระบวนการสามารถม่งุ เป้าหมายได้ดยี ิง่ ข้นึ • ขอบเขตเนอื้ หา ควรก�ำหนดใหช้ ดั เจนวา่ เนอื้ หาจะมงุ่ เฉพาะเจาะจงไปที่ประเดน็ หรอื หวั ขอ้ หนึ่งเดียว เช่น อนาคตของการเดินทาง อนาคตของการแพทย์แผนไทย หรือครอบคลุม
อนาคตศกึ ษา | 184 หวั ข้อและประเดน็ ท่กี ว้างกวา่ นัน้ เช่น อนาคตชีวิตคนไทย นอกจากนี้ ควรก�ำหนดแนวทาง การด�ำเนนิ กระบวนการไวก้ อ่ นวา่ จะยดึ ตามแนวทางทต่ี งั้ ไวห้ รอื ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ และปรบั เปลย่ี นได้ อกี ทง้ั ยงั ควรตง้ั เปา้ หมายไวก้ อ่ นวา่ ผลลพั ธจ์ ากการกระบวนการมสี ว่ นรว่ มจะตอ้ ง เปน็ ฉนั ทามติในเรือ่ งใดเรื่องหน่งึ หรือเป็นชดุ ทางเลอื กท่มี ีการประเมนิ ผลเปรียบเทียบดา้ น ต้นทุนและผลประโยชน์ • ผู้เข้าร่วมกระบวนการ กระบวนการมีส่วนร่วมต้องมีกรอบคิดและแนวทางในการก�ำหนด จ�ำนวนผู้เข้าร่วม วิธีการและระยะเวลาในการเข้าร่วม โดยค�ำนึงถึงระดับความรู้ความ เช่ยี วชาญและส่วนได้ส่วนเสียทเ่ี กี่ยวข้องกับประเด็นเนื้อหาของกระบวนการคาดการณ์ ใน บางโครงการ อาจเปิดให้สาธารณชนเข้าร่วมกระบวนการได้ แตบ่ างกระบวนการอาจจ�ำกัด เฉพาะระดบั ผู้บรหิ าร เปน็ ต้น • ความซื่อตรง ของกระบวนการมีส่วนร่วมเป็นหลักการส�ำคัญ เนื่องจากมีผลโดยตรงต่อ ความน่าเชื่อถือของกระบวนการ หากกระบวนการถูกชักใยและปรับเปล่ียนได้ตามความ ต้องการของคนบางกลุ่ม หรือท�ำให้เป็นไปตามวาระซ่อนเร้นที่ได้ตั้งไว้ก่อน จะท�ำให้ผู้เข้า รว่ มกระบวนการรสู้ กึ วา่ ถกู หลอกลวงและไมเ่ ชือ่ ถอื ในกระบวนการและผลลพั ธท์ ไ่ี ด้ ดว้ ยเหตุ นี้ ความซ่อื ตรงและซื่อสัตย์ของผู้ด�ำเนนิ กระบวนการจงึ มคี วามส�ำคัญอยา่ งยง่ิ นอกจากหลักการพ้ืนฐานดังกล่าว ยังมีหลักการเก่ียวกับการด�ำเนินกระบวนการที่ผู้ด�ำเนิน กระบวนการและกระบวนกรควรค�ำนึงถงึ เช่น • พยายามกระตนุ้ หรอื สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มบางคนทไ่ี มก่ ลา้ พดู สามารถแสดงความเหน็ ไดม้ ากขนึ้ • เปดิ โอกาสใหม้ ีแนวคดิ ใหม่หรือนวัตกรรมเกดิ ขึ้นในกระบวนการ • สรา้ งช่องทางในการส่ือสาร ท้งั การรับฟังอยา่ งเดียว การพูดคุยและการสนทนากลุ่ม • จดั เวลาท่เี พียงพอส�ำหรบั การคร่นุ คิดและเปลีย่ นความคิดเหน็ ได้ • แยกกลุ่มผู้เข้ารว่ มที่รู้จกั กันออกจากกนั • สร้างบรรยากาศทเ่ี อ้อื ใหผ้ ู้เขา้ รว่ มแสดงความคิดเห็นส่วนตวั ไดอ้ ยา่ งสบายใจ • สร้างความตระหนกั ของการพ่ึงพาซงึ่ กันและกัน เปน็ ชุมชนเดยี วกัน และมีจุดยืนเดียวกนั • เตรียมขอ้ มลู พื้นฐานที่จ�ำเปน็ ไว้ใหพ้ รอ้ ม • กระตนุ้ ใหผ้ ้เู ข้าร่วมคดิ ภาพระยะยาว (20 ปขี ึน้ ไป) • กระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมคิดถึงผลกระทบต่อเนื่องขั้นท่ีสองและสามของปัจจัยหรือการกระ ท�ำหน่ึง • ให้ความส�ำคัญกบั ทุกมมุ มองเกีย่ วกบั ประเดน็ ใดประเดน็ หน่ึง • เปดิ โอกาสใหผ้ ูม้ อี �ำนาจตดั สินใจมีปฏิสัมพนั ธ์กับผ้ทู ่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากการตัดสินใจน้นั • ค�ำนงึ ถึงการน�ำนโยบายหรอื แผนไปปฏบิ ตั ิ • หลีกเลีย่ งการท�ำให้ผเู้ ขา้ ร่วมร้สู กึ ถกู คกุ คาม • สรา้ งความชัดเจนในบทสรปุ เพอ่ื ไม่ใหเ้ กิดการเข้าใจผิดในภายหลัง • ในกรณที เี่ ปน็ ประเดน็ สาธารณะ ควรเปดิ ใหส้ ือ่ สารมวลชนสามารถรายงานผลไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ • เปดิ โอกาสใหท้ ุกคนท่ีเข้าร่วมมีโอกาสในการเสนอความเห็น • สร้างบรรยากาศทแ่ี สดงให้ผมู้ อี �ำนาจตัดสนิ ใจเหน็ วา่ กระบวนการมสี ว่ นร่วมเปน็ สงิ่ ทีด่ ี
185 | อนาคตศึกษา การจ�ำ ลอง สถานการณแ์ ละเกม การจ�ำลองสถานการณแ์ ละการใช้เกม (simulation and games) มีประโยชน์อย่างมากในการคาด การณ์และวางแผนเตรียมพร้อมส�ำหรับอนาคต เน่ืองจากนักวิจัยและนักวางแผนสามารถค้นหาและ ประเมนิ ทางเลอื กทด่ี ที ส่ี ดุ ส�ำหรบั การจดั การกบั ปญั หาและความทา้ ทายในอนาคต รวมทง้ั เตรยี มพรอ้ ม ที่จะใช้ประโยชน์จากโอกาสดีที่อาจเกิดข้ึน โดยไม่มีความเส่ียงหรือต้นทุนสูงในกรณีที่อาจเกิดความ ผดิ พลาด วธิ ีการจ�ำลองสถานการณ์และเกมใช้อยา่ งแพร่หลายในกล่มุ นักอนาคตศาสตร์ นกั วจิ ยั นัก ออกแบบ และนกั วางแผนในหลายสาขาวชิ าและสาขาวชิ าชีพ ทง้ั ในดา้ นการศึกษา ดา้ นผงั เมอื ง ดา้ น การบรหิ ารธรุ กจิ และดา้ นนโยบายสาธารณะ ตวั อยา่ งเกมจ�ำลองสถานการณท์ ท่ี กุ คนรจู้ กั คอื เกมเศรษฐี (monopoly game) ทเี่ ปน็ บอรด์ เกมทค่ี นทว่ั ไปเลน่ ไดแ้ ละยงั สอนหลกั การเศรษฐศาสตรแ์ ละการลงทนุ พน้ื ฐานอกี ดว้ ย แนวคดิ การใชเ้ กมวทิ ยาเพอ่ื วตั ถปุ ระสงคใ์ นการวางแผน หรอื เกมชิ เิ คชนั (gamification) ไดแ้ พรห่ ลายและเปน็ ทยี่ อมรบั มากขนึ้ ทงั้ ในวงการวชิ าการ การวางแผนนโยบาย และการวางแผนธรุ กจิ การจ�ำลองสถานการณแ์ ละเกมมคี วามหมายแตกต่างจากค�ำว่าแบบจ�ำลอง (models) และฉาก ทัศนห์ รือสถานการณ์ (scenarios) แบบจ�ำลองคือการลดทอนหรอื ยอ่ ส่วนของปรากฏการณ์ท่เี กิดข้นึ จรงิ และมคี วามซบั ซอ้ น โดยแสดงองคป์ ระกอบส�ำคญั ของปรากฏการณแ์ ละความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งองค์ ประกอบตา่ ง ๆ เพอ่ื อธบิ ายปรากฏการณห์ รอื น�ำผลวิเคราะหท์ ีไ่ ดไ้ ปใชเ้ พื่อบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ ท่ตี ้งั ไว้ แบบจ�ำลองมีอยู่ทั่วไปรอบตัวเรา ทั้งแบบจ�ำลองที่จับต้องสัมผัสได้ทางกายภาพ เช่น โมเดลบ้านที่ สถาปนิกหรือบริษัทอสังหาริมทรัพย์ท�ำข้ึนเพ่ือแสดงให้ลูกค้าดูก่อนตัดสินใจ ไปจนถึงแบบจ�ำลองทาง คณิตศาสตร์ เช่น แบบจ�ำลองเศรษฐกิจมหภาคของประเทศ และแบบจ�ำลองภูมิอากาศโลกที่แสดง องค์ประกอบระบบดา้ นกายภาพ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลง ภูมิอากาศระดับโลก ส่วนสถานการณ์หรือฉากทัศน์เป็นการพรรณนาว่าเกิดอะไรขึ้นบ้างในกิจกรรม โครงการหรือสถานการณ์ในช่วงเวลาหน่ึง โดยอาจเกิดข้ึนในอดีต ปัจจุบันหรืออนาคต ทั้งท่ีเกิดข้ึน จรงิ และที่จินตนาการได้ ในแต่ละสถานการณ์อาจสามารถแจงแยกย่อยออกเปน็ สถานการณห์ รอื ฉาก ทัศน์ยอ่ ยไดอ้ กี การจ�ำลองสถานการณ์และเกมก็มีความหมายแตกต่างกัน การจ�ำลองสถานการณ์เป็นการ สร้างสถานการณ์ในสถานที่หรือเวลาท่ีแตกต่างออกไปจากสถานการณ์จริง โดยมักเป็นการสมมติ สถานการณ์ท่ีมีโอกาสเกิดข้ึนหรือน่าจะเกิดข้ึน การจ�ำลองสถานการณ์ไม่ได้เป็นเกมเสมอไป และมัก ตง้ั อยบู่ นสถานการณห์ รอื ฉากทศั นท์ สี่ รา้ งขนึ้ ในรปู แบบของแบบจ�ำลอง ดงั นนั้ สถานการณส์ มมตทิ เ่ี รม่ิ ตน้ จากการต้งั เง่ือนไขของการสมมติ (เช่น สมมตวิ า่ ...) ถอื วา่ เป็นการจ�ำลองสถานการณอ์ ย่างงา่ ยแลว้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320