Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Futures-Studies

Futures-Studies

Published by pawnin.chaiyabat, 2021-01-20 03:05:27

Description: Futures-Studies

Search

Read the Text Version

2 | อนาคตศกึ ษา

อนาคตศกึ ษา | 3 อนาคตศกึ ษา อภิวัฒน์ รตั นวราหะ หนังั สืือเล่่มนี้ไ้� ด้ร้ ัับการสนัับสนุนุ จาก สำำ�นัักงานคณะกรรมการส่่งเสริมิ วิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวััตกรรม (สกสว.) และ สำำ�นักั งานการวิจิ ััยแห่ง่ ชาติิ (วช.) ภายใต้แ้ ผนงานบูรู ณาการยุุทธศาสตร์์เป้้าหมาย (Spearhead) ด้า้ นสังั คม คนไทย 4.0

4 | อนาคตศกึ ษา อนาคตศึึกษา โดย อภวิ ัฒน์ รัตนวราหะ สงวนลขิ สทิ ธ์ิตามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธ์ิ 2563 ห้ามคัดลอกเนอ้ื หากอ่ นได้รบั อนญุ าต พิิมพ์์ครั้�งที่่� 2 จำำ�นวน 1,000 เล่่ม ราคา 250 บาท ข้อ้ มููลทางบรรณานุุกรมหนัังสือื อภิิวัฒั น์์ รัตั นวราหะ อนาคตศึึกษา.-- พิมิ พ์์ครั้�งที่่� 2.-- เชีียงใหม่่ : แผนงานบููรณาการยุุทธศาสตร์เ์ ป้า้ หมาย (Spearhead) ด้้านสัังคม คนไทย 4.0, 2563. 320 หน้้า. 1. อนาคตศึกึ ษา. I. ชื่�อเรื่อ� ง. 116. ISBN: 978-974-326-678-2 จัดพิมพแ์ ละจำ� หนา่ ยโดย แผนงานบููรณาการยุทุ ธศาสตร์์เป้า้ หมาย (Spearhead) ด้้านสังั คม คนไทย 4.0 สนัับสนุุนโดยสำ�ำ นัักงานการวิิจััยแห่ง่ ชาติิ เลขที่�่ 239 ถนนห้ว้ ยแก้ว้ ตำ�ำ บลสุุเทพ อำำ�เภอเมืืองเชีียงใหม่่ จังั หวััดเชีียงใหม่่ 50200 โทรศััพท์์ 053-327-590-1 พิมพ์ท่ี หจก. ลอ๊ คอินดีไซนเ์ วริ ์ค 127/31 หมู่ 2 ต�ำบลชา้ งเผือก อ�ำเภอเมอื งเชียงใหม่ จงั หวัดเชยี งใหม่ 50300

อนาคตศกึ ษา | 5 แด่แม่ ผู้ให้อนาคตแกล่ ูก

6 | อนาคตศึกษา ค�ำ นำ� สกว./สกสว. “อนาคตศึกึ ษา” เป็น็ การสร้า้ งองค์ค์ วามรู้�และนวัตั กรรมที่ก่� ้า้ วทันั หรือื ก้า้ วนำ�ำ การเปลี่ย�่ นแปลงของโลก และตอบสนองการพัฒั นาของประเทศ การศึกึ ษาอนาคตจึงึ เป็น็ ศาสตร์ท์ ี่เ�่ ป็น็ พื้�นฐานเพื่่อ� การวางแผนใน เชิิงนโยบาย การสร้้างต้้นแบบในการพััฒนา และกรอบการทำำ�งานต่่อไปในอนาคตอย่่างเป็็นระบบ การทำ�ำ ความเข้้าใจและเรีียนรู้�อนาคตจึึงเป็็นสิ่�งสำำ�คััญและเป็็นยุุทธศาสตร์์สำ�ำ คััญที่�่สำำ�นัักงานกองทุุน สนัับสนุนุ การวิิจัยั (สกว.) หรืือ สำ�ำ นักั งานคณะกรรมการส่ง่ เสริมิ วิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม (สกสว.) ให้ก้ ารสนับั สนุุนทุนุ วิิจัยั โดยหวัังเป็น็ อย่่างยิ่ง� ว่่าผลลััพธ์ท์ ี่ไ่� ด้้จะนำ�ำ ไปสู่่�การนำ�ำ ไปใช้ป้ ระโยชน์์ และเป็็น เครื่�องมืือที่่�สำำ�คััญในแง่่มุุมการส่่งเสริิมและพััฒนา การเผยแพร่่ความรู้� รวมถึึงการมองภาพอนาคตใน การทำำ�งานอย่า่ งมีีส่ว่ นร่ว่ มจากทุุกภาคส่ว่ น และเกิดิ การบููรณาการร่่วมกัันอย่า่ งมีีประสิทิ ธิภิ าพ หนังั สือื “อนาคตศึกึ ษา” นี้�เป็น็ ส่ว่ นหนึ่่ง� ในการขับั เคลื่อ� นผลงานวิจิ ัยั ให้เ้ กิดิ การนำำ�ไปใช้ป้ ระโยชน์์ สู่�สาธารณะ โดยนำ�ำ องค์์ความรู้้�ที่�ได้้จากการศึึกษาและประมวลความรู้� มาวิิเคราะห์์ สัังเคราะห์์ เป็็นกระบวนการและเป็็นรููปแบบการจััดการในหลากหลายมุุมมอง รวมถึึงการกำำ�หนดทิิศทางเพื่่�อ การวางแผนนโยบายในอนาคต และข้้อเสนอสำำ�หรัับสำ�ำ นัักงานกองทุุนสนัับสนุุนการวิิจััย (สกว.) หรืือ สำ�ำ นักั งานคณะกรรมการส่่งเสริิมวิทิ ยาศาสตร์์ วิิจััยและนวััตกรรม (สกสว.) ที่ม�่ ีีบทบาทสำ�ำ คัญั ในฐานะ หน่ว่ ยงานที่ส�่ ร้า้ งองค์ค์ วามรู้้�ผ่านกระบวนการวิจิ ััยและบริิหารจัดั การงานวิิจัยั และเป็น็ ช่่องทางในการ ถ่่ายทอดแหล่ง่ ความรู้�และข้้อมููลอัันจะเป็็นประโยชน์ต์ ่อ่ ประเทศไทยในอนาคต ในนามส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) หรือ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วทิ ยาศาสตรว์ จิ ัย และนวตั กรรม (สกสว.) ขอขอบคุณผูเ้ ขียนที่สร้างสรรค์ผลงานท่ีดี มีข้อเสนอท่เี ป็น ประโยชน์ต่อหน่วยงาน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะส่งมอบความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการ เผยแพร่ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจสามารถต่อยอดแนวคดิ และองคค์ วามรใู้ หม่เพอื่ การมองภาพอนาคต ทสี่ �ำคัญต่อไป ศาสตราจารย์น์ ายแพทย์์สุุทธิพิ ันั ธ์์ จิิตพิมิ ลมาศ ผู้้�อำ�ำ นวยการ สำ�ำ นักั งานคณะกรรมการส่่งเสริิมวิิทยาศาสตร์์ วิิจััย และนวัตั กรรม

อนาคตศึกษา | 7 คำ�น�ำ สกว./สกสว. สกว. เห็นถึงความส�ำคัญและความจ�ำเป็นในการสนับสนุนทุนวิจัยในประเด็นการพัฒนาความรู้ ด้าน “อนาคตศึกษา” ซึ่งเป็นเรื่องประเด็นวิจัยเก่ียวกับอนาคตและเป็นหัวข้อท่ีค่อนข้างใหม่ส�ำหรับ ประเทศไทย ประกอบกับองค์ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาอนาคตท่ีมีมาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันยังมี คอ่ นข้างจ�ำกัด ผลงานชน้ิ น้ีถอื เปน็ ส่วนส�ำคัญในการประมวลและจดั การองค์ความรดู้ ้านอนาคตศึกษา อย่างเป็นระบบ จะเป็นส่วนส�ำคัญที่จะใช้สนับสนุนการพัฒนาเครื่องมือและกระบวนการศึกษาการ จัดการวางแผนอนาคตในมิติต่างๆ เพ่ือสร้างความเข้าใจและให้ความส�ำคัญกับอนาคตศึกษากับผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องได้ อันจะน�ำไปสู่กระบวนการน�ำความรู้ที่มีไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคน การน�ำไปสู่ การปฏิบัติและวางแผนนโยบายในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และน�ำไปสู่การพัฒนาของประเทศ อยา่ งยง่ั ยนื หนัังสืือ “อนาคตศึึกษา” โดย รองศาสตราจารย์์ ดร.อภิิวััฒน์์ รััตนวราหะ เล่่มนี้�เป็็นผลงานที่่� มีีการวิิเคราะห์์และร้้อยเรีียงข้้อมููลและองค์์ความรู้ �เกี่่�ยวกัับอนาคตศึึกษาอย่่างรอบด้้านทั้ �งในและต่่าง ประเทศ และที่ส่� ำำ�คััญได้ช้ี้�ให้้เห็็นความท้า้ ทายและช่่องว่า่ งความรู้้�ประเด็น็ ต่่างๆ และโอกาสการพัฒั นา ด้้านนี้� หนัังสืือเล่่มนี้้�จะเป็็นส่่วนสำำ�คััญในการขัับเคลื่�อนการนำ�ำ ผลงานวิิจััยไปใช้้ประโยชน์์ต่่อสาธารณะ กระตุ้�นความคิิดส่่งเสริิมการพััฒนาการเรีียนรู้�เกี่�่ยวกัับอนาคตศึึกษา อัันประกอบด้้วยความรู้้�ด้้าน วิิวััฒนาการของอนาคตศึึกษา แนวคิิดพื้�นฐานของอนาคตศึึกษา จนไปสู่่�วิิธีีการศึึกษาในอนาคต การ คาดการณ์์เชิิงยุุทธศาสตร์์ และได้ต้ ่่อยอดองค์์ความรู้�เรื่�องอนาคตศึกึ ษาในประเทศไทย ที่�่จะสามารถนำ�ำ ไปประยุกุ ต์ใ์ ช้ส้ นัับสนุุนการวางแผนยุุทธศาสตร์์และนโยบายสาธารณะในอนาคตต่่อไป ขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.อภิวัฒน์ รัตนวราหะ ในความมุ่งมั่นและความทุ่มเทในการ สรา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั และงานเขยี นเลม่ น้ี หวงั เปน็ อยา่ งยิง่ วา่ หนงั สอื “อนาคตศกึ ษา” จะเปน็ สือ่ กลาง ในการส่งต่อผลการตกผลกึ ความรู้และเผยแพร่องค์ความรสู้ ูส่ าธารณะไดใ้ นวงกว้าง เกดิ เป็นประโยชน์ ส�ำหรบั ผทู้ ส่ี นใจ น�ำไปสแู่ นวทางทสี่ ามารถสรา้ งการเปลยี่ นแปลงทสี่ �ำคญั ในการน�ำไปปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ และ เกดิ องค์ความร้ทู สี่ �ำคญั ในอนาคตของประเทศตอ่ ไป รองศาสตราจารย์ ดร.ชนาธปิ ผาริโน ผอู้ �ำนวยการภารกิจอนาคตเชิงยุทธศาสตรแ์ ละรเิ ร่ิมงานวิจัยและนวตั กรรมส�ำคญั ส�ำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วจิ ัย และนวตั กรรม

8 | อนาคตศึกษา ค�ำ น�ำ แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ ป้าหมายด้านสังคม คนไทย 4.0 เป็็นที่�่ประจัักษ์์ชััดแล้้วว่่าโลกในทุุกวัันนี้้�มีีการเปลี่่�ยนแปลงที่่�รวดเร็็วและรุุนแรงอย่่างไม่่เคยปรากฏมา ก่อ่ นในประวัตั ิศิ าสตร์ม์ วลมนุษุ ยชาติิ ขณะเดีียวกันั ผลกระทบจากความเปลี่ย่� นแปลงดังั กล่า่ วก็ม็ ีีขอบเขต ปริมิ ณฑลที่ล่� ึกึ ซึ้�งและแผ่ค่ ลุมุ เป็น็ วงกว้า้ งจนเกินิ กว่า่ ผู้�ใดจะจินิ ตนาการไปถึงึ ได้้ กระนั้�นการเสาะแสวงหา วิธิ ีีการปรับั ตัวั เพื่่อ� รับั มือื กับั หลากหลายความท้า้ ทายใหม่่ ๆ ที่ถ�่ าโถมเข้า้ มาก็ย็ ังั เป็น็ เรื่อ� งจำ�ำ เป็น็ ที่เ�่ ราจะ ต้อ้ งเรีียนรู้�และเข้า้ ใจ ในการจัดั ทำ�ำ แผนยุทุ ธศาสตร์ข์ องประเทศหรือื ของหลายหน่ว่ ยงานที่ผ่� ่า่ นมา ผู้้�มีีส่ว่ นเกี่ย่� วข้อ้ งกับั การจััดทำ�ำ แผนมัักจะคุ้�นเคยกัับการใช้้ข้้อมููล บทเรีียน รวมทั้�งประสบการณ์์ที่�่เกิิดขึ้�นในอดีีตมาปรัับใช้้ สำ�ำ หรับั การดำ�ำ เนินิ การ หนังั สือื “อนาคตศึกึ ษา” โดย รศ.ดร.อภิวิ ัฒั น์์ รัตั นวราหะ เล่่มนี้� นัับเป็็นหนัังสืือ เล่่มสำำ�คััญที่่�เสนอทางเลืือกในการวางแผนโดยใช้้วิิธีีการมองอนาคตอย่่างเป็็นระบบ โดยมีีเนื้�อหา ครอบคลุุมรอบด้้านตั้�งแต่่การทบทวนแนวคิิดการศึึกษาเกี่�่ยวกัับอนาคต วิิวััฒนาการความเป็็นมา วิิธีีการศึึกษาและทบทวนองค์์ความรู้�ทั้�งในต่่างประเทศและในประเทศไทย ตลอดจนถึึงแนวทางการ คาดการณ์์เชิงิ ยุทุ ธศาสตร์เ์ พื่่อ� นำ�ำ มาใช้ส้ ำ�ำ หรับั การวางแผน เมื่�อครั้�งที่�่หนัังสืือเล่่มนี้�ได้้รัับการตีีพิิมพ์์เป็็นครั้�งแรก ก็็ได้้รัับการตอบรัับจากผู้้�อ่่านอย่่างอุ่�นหนา ฝาคั่ง� ทำ�ำ ให้ห้ นังั สือื หมดไปอย่า่ งรวดเร็ว็ แม้จ้ ะมีีฉบับั ที่ส�่ ามารถดาวน์โ์ หลดให้อ้ ่า่ นได้ใ้ นรูปู แบบหนังั สือื อิเิ ล็ก็ ทรอนิกิ ส์์ แต่ห่ นังั สือื ที่เ�่ ป็น็ เล่ม่ ก็ย็ ังั เป็น็ ที่ต�่ ้อ้ งการและพูดู ถึงึ อยู่� ยิ่ง� กว่า่ นั้�นสาระประโยชน์ท์ ี่ห�่ นังั สือื เล่ม่ นี้้�มีีก็น็ ับั เป็น็ เรื่อ� งสำ�ำ คัญั และทันั การณ์์ ด้ว้ ยเหตุนุี้�แผนงานยุทุ ธศาสตร์เ์ ป้า้ หมายด้า้ นสังั คม คนไทย 4.0 ซึ่ง� สนับั สนุนุ โดยสำ�ำ นักั งานการวิจิ ัยั แห่ง่ ชาติิ (วช.) มีีพันั ธกิจิ สำ�ำ คัญั ในการสร้า้ งองค์ค์ วามรู้�เพื่่อ� นำ�ำ ไปสู่่�การ ออกแบบนโยบายสาธารณะที่ด�่ ีีสำ�ำ หรับั คนไทยในอนาคต จึงึ เห็น็ ควรสนับั สนุนุ การจัดั พิมิ พ์ห์ นังั สือื เล่ม่ นี้� ขึ้�นใหม่อ่ ีีกครั้�ง เพื่่อ� เผยแพร่ใ่ ห้ผู้้้�ที่ส� นใจได้เ้ รีียนรู้�และเข้า้ ใจอนาคตศึกึ ษาอย่า่ งถ่อ่ งแท้ต้ ่อ่ ไป ศาสตราจารย์เ์ กียี รติิคุุณ ดร.มิ่�งสรรพ์์ ขาวสอาด ประธานแผนงานยุทุ ธศาสตร์์เป้า้ หมายด้้านสังั คม คนไทย 4.0

อนาคตศึกษา | 9 คำ�นำ� ผ้เู ขียน การพมิ พค์ ร้ังท่ี 1 การเปลี่�่ยนแปลงในโลกปััจจุุบัันบ่่อยครั้ �งเกิิดขึ้ �นในลัักษณะที่�่ไม่่คาดคิิดมาก่่อนและแพร่่กระจายใน วงกว้า้ งอย่า่ งรวดเร็ว็ บางเหตุกุ ารณ์แ์ ม้เ้ ริ่ม� ต้น้ ในวงแคบ แต่ภ่ ายในเวลาเพีียงชั่ว� พริบิ ตา กลับั ปะทุกุ ลาย เป็็นวิิกฤตการณ์์รุุนแรงระดัับโลกที่�่ส่่งผลกระทบต่่อระบบเศรษฐกิิจ สัังคม สิ่�งแวดล้้อม การเมืืองและ ชีีวิติ ผู้�คนจำ�ำ นวนมาก ตัวั อย่า่ งที่ช�่ ัดั เจนคือื โรคระบาดจากโคโรนาไวรัสั สายพันั ธุ์�ใหม่่ 2019 จากที่ค�่ นจีีน ในเมือื งอู่�ฮั่น่� เพีียงไม่่กี่ค�่ นเจ็บ็ ป่ว่ ยและมีีอาการปอดอักั เสบเมื่อ� เดือื นธันั วาคม พ.ศ. 2562 ภายในเวลา เพีียง 6 เดืือน โรคติิดต่่อในระดัับท้้องถิ่�นได้้กลายเป็็นโรคระบาดใหญ่่ที่่�กระจายไปทุุกทวีีปทั่่�วโลก ไม่่ เว้น้ แม้แ้ ต่ก่ ลุ่�มชนเผ่า่ ในป่า่ แอมะซอนและหมู่�เกาะฟิจิ ิิ โดยมีีผู้้�ป่ว่ ยถึงึ กว่า่ 5 ล้า้ นคนและผู้�เสีียชีีวิติ กว่า่ 3 แสนคน โรคระบาดนี้้�ยังั ทำ�ำ ให้ผู้้�คนหลายร้อ้ ยล้า้ นคนทั่่ว� โลกต้อ้ งตกงาน และทำ�ำ ให้เ้ ศรษฐกิจิ โลกเข้า้ สู่� ภาวะถดถอยครั้�งใหญ่่รอบร้้อยปีี ความเสี่ย่� งในการติดิ เชื้�อและผลกระทบที่เ่� กิดิ จากโรคระบาดทำำ�ให้ผู้้�คนจำำ�นวนมากต้อ้ งปรับั เปลี่ย่� น พฤติิกรรมและวิิถีีชีีวิิตอย่่างที่�่ไม่่เคยทำ�ำ มาก่่อน ขณะเดีียวกััน ความไม่่แน่่นอนของวัันเวลาที่�่ผู้�คนจะ สามารถกลับั ไปใช้ช้ ีีวิติ ได้แ้ บบเดิมิ ทำำ�ให้ร้ ะบบเศรษฐกิจิ สังั คม สิ่ง� แวดล้อ้ มและการเมือื งที่เ�่ ปราะบางอยู่� แล้้ว ยิ่ง� มีีความเสี่่�ยงมากขึ้�นไปอีีก ทั้�งนี้� ภาพอนาคตที่เ่� ต็ม็ ไปด้้วยความเสี่�่ยงและความไม่แ่ น่น่ อนที่ผ่�ู้�คน ทั่่ว� โลกประสบอยู่�ในปัจั จุบุ ัันนี้� ไม่่ได้เ้ กิดิ จากโรคระบาดใหญ่เ่ พีียงอย่า่ งเดีียว หลายเหตุุการณ์ท์ ี่อ�่ าจเกิิด ขึ้�นในอนาคตไม่่เพีียงแค่่ทำ�ำ ให้้เกิิดความลำำ�บากในการดำำ�รงชีีวิิตและเกิิดความเสีียหายต่่อทรััพย์์สิิน แต่่ มีีความร้้ายแรงที่่�อาจนำำ�ไปสู่่�การล่่มสลายของมนุุษยชาติิเลยก็็เป็็นได้้ เหตุุการณ์์หายนะในอนาคต ดังั กล่า่ วอาจเกิดิ จากการเปลี่ย่� นแปลงสภาพภููมิอิ ากาศโลก การเกิิดสงครามนิวิ เคลีียร์์ หรือื แม้แ้ ต่่ความ ก้้าวหน้้าของปััญญาประดิิษฐ์์ ความไม่แน่นอนของอนาคตจึงกลายเป็นภาพปกติของโลกในปัจจุบัน ด้วยความรวดเร็ว ขนาด และขอบเขตของการเปล่ียนแปลงท่ีเพิ่มมากขึ้นน้ี การเตรียมพร้อมเพ่ือรับมือกับส่ิงที่จะเกิดขึ้นใน อนาคตจึงยิ่งส�ำคัญมากขึ้นกว่าเดิม ความสามารถในการวางแผนเพื่อชี้น�ำและก�ำหนดทิศทางของ อนาคต และเตรียมพร้อมรับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันจึงเป็นเร่ืองส�ำคัญมาก ทั้งส�ำหรับการตัดสิน ใจของปัจเจกบุคคลและครัวเรือน ไปจนถึงองค์กรและสังคมโดยรวม ไม่ว่าจะเป็นในระดับท้องถิ่น

10 | อนาคตศึกษา ระดับประเทศหรือระดับโลก ด้วยเหตุน้ี เราจึงจ�ำเป็นต้องท�ำความเข้าใจอย่างถ่องแท้เกี่ยวกับการ เปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน ทั้งในรูปแบบของปรากฏการณ์ พฤติกรรม และสาเหตุและผลลัพธ์ของการ เปลีย่ นแปลง รวมถึงความเชอ่ื มโยงระหวา่ งเหตกุ ารณ์และปัจจัยขับเคลือ่ นตา่ ง ๆ การสร้างองค์ความ รแู้ ละเครอ่ื งมอื ในการท�ำความเขา้ ใจและจดั การกบั อนาคต จงึ เปน็ เรอื่ งจ�ำเปน็ ส�ำหรบั ทกุ คน ทกุ องคก์ ร และทุกสังคมท่ตี ้องการวางแผนรบั มือกบั การเปล่ียนแปลงที่จะเกดิ ขึน้ อนาคตศึกษาหรืออนาคตศาสตร์เป็นสาขาวิชาการหนึ่งที่มุ่งสร้างองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ เกีย่ วกับการเขา้ ใจในอนาคต ทง้ั อนาคตทอ่ี าจเกิดขนึ้ ได้ อนาคตที่เชอื่ วา่ เกิดขึ้นได้ และอนาคตทค่ี าด หวงั ใหเ้ กิดข้นึ โดยมีเนื้อหาครอบคลมุ พ้ืนฐานด้านปรชั ญา ดา้ นวธิ ีการวทิ ยา รวมถึงกรอบแนวคดิ และ ทฤษฎที ่อี ธิบายการเปลย่ี นแปลงดา้ นต่าง ๆ ขอบเขตของอนาคตศกึ ษายงั ครอบคลุมถึงการวิเคราะห์ อิทธิพลของภาพลักษณเ์ ก่ยี วกบั อนาคตของปจั เจกบคุ คลและสังคมต่อพฤตกิ รรมและการตัดสนิ ใจใน ปจั จบุ นั รวมไปถงึ การสรา้ งกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการสรา้ งภาพอนาคตรว่ ม กนั และการสอ่ื สารผลลพั ธก์ ารศกึ ษาอนาคตสสู่ าธารณะเพอ่ื ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงทางนโยบายและ ทางสงั คม การศกึ ษาอนาคตจงึ เปน็ ทง้ั ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ เปน็ ทงั้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละศลิ ปศาสตร์ ใชท้ งั้ ความ รูเ้ ชิงตรรกะในการวเิ คราะห์และจินตนาการที่กา้ วพ้นออกจากกรอบแนวคิดเดิม ๆ อนาคตศกึ ษายังมี ความเปน็ พหุศาสตร์ สหศาสตรแ์ ละข้ามศาสตร์ไปพรอ้ มกัน งานวจิ ยั และงานเขยี นในวงการอนาคตศกึ ษาไดพ้ ฒั นามาระยะหนงึ่ แลว้ ในระดบั โลก นอกเหนอื ไปจากงานศกึ ษาทว่ี เิ คราะหแ์ ละคาดการณอ์ นาคตดว้ ยแนวคดิ และเครอ่ื งมอื ทน่ี ยิ มใชใ้ นแตล่ ะศาสตร์ ท่มี ีอย่แู ล้ว ส�ำหรับในประเทศไทย การวิเคราะห์แนวโน้มเพื่อพยากรณก์ ารเปล่ียนแปลงส�ำหรับการ วางแผนนโยบายสาธารณะและยุทธศาสตร์ทางธุรกิจก็มีมาได้ระยะหน่ึงแล้ว ส่วนหนังสือและต�ำรา เกยี่ วกบั อนาคตศกึ ษาและอนาคตศาสตรพ์ อมอี ยบู่ า้ ง แตใ่ นภาพรวม การศกึ ษาอนาคตอยา่ งเปน็ ระบบ และตอ่ เนอ่ื งยงั มอี ยไู่ มม่ ากนกั หนงั สอื เลม่ นจ้ี งึ พยายามประมวลความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั อนาคตศกึ ษา เพื่อใชเ้ ป็นพืน้ ฐานส�ำหรับการพัฒนาศาสตรน์ ี้ในประเทศไทยต่อไป เนื้อหาในหนังสือเล่มน้ีเหมาะส�ำหรับนักวิชาการ นักนโยบายการวางแผน นิสิตนักศึกษา และ ผู้อ่านท่ัวไปท่ีสนใจในการศึกษาอนาคต ทั้งเพ่ือเสริมความรู้เชิงวิชาการและเพ่ือใช้ในการวางแผน ยุทธศาสตรใ์ นระดบั องคก์ รและระดับนโยบายสาธารณะ อนงึ่ หนังสอื เล่มนไี้ มไ่ ด้มุ่งเป็นคู่มือที่อธิบาย ขนั้ ตอนและกระบวนการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ แตเ่ นน้ ความรพู้ นื้ ฐานและภาพรวมเกย่ี วกบั อนาคต ศกึ ษาเปน็ หลกั ส�ำหรบั ผอู้ า่ นทส่ี นใจในรายละเอยี ดเกย่ี วกบั กระบวนการและวธิ กี ารคาดการณอ์ นาคต สามารถอ่านเพ่ิมเติมได้ตามเอกสารอ้างอิงทแ่ี นะน�ำไวใ้ นหนังสือเล่มนี้ ผเู้ ขยี นขอขอบพระคณุ ส�ำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (สกสว.) ทส่ี นบั สนนุ โครงการวจิ ยั “ปรทิ ศั นส์ ถานภาพความรดู้ า้ นอนาคตศกึ ษา” ในปี 2562 และสนบั สนนุ การ ปรับปรุงเนื้อหาและเผยแพร่ผลลัพธ์จากโครงการวิจัยดังกล่าวจนกลายมาเป็นหนังสือเล่มนี้ ขอขอบพระคณุ รองศาสตราจารย์ ดร.ชนาธปิ ผารโิ น ทท่ี าบทามใหผ้ เู้ ขยี นรบั ผดิ ชอบการปรทิ ศั นค์ วามรู้ ดา้ นอนาคตศกึ ษาและใหค้ วามเชอ่ื มน่ั ในการท�ำงาน ขอขอบคณุ ดร.นเรศ ด�ำรงชยั ดร.พนั ธอ์ุ าจ ชยั รตั น์

อนาคตศกึ ษา | 11 คณุ โสภดิ า ทองโสภติ Tanja Hichert และ Ozcan Saritas ทใี่ หค้ �ำปรกึ ษาเกย่ี วกบั ทศิ ทางและประเดน็ ในการทบทวน และอนเุ คราะหใ์ หเ้ อกสารและขอ้ มลู หลายชุดทใี่ ชใ้ นงานเขยี นนี้ รวมทง้ั ศาสตราจารย์ ดร.ม่ิงสรรพ์ ขาวสอาด ศาสตราจารย์ ดร.สุริชัย หวันแก้ว อาจารย์ นพ.ดร.สรภพ เกียรติพงษ์สาร และผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ า่ นอน่ื ทใ่ี หข้ อ้ คดิ เหน็ และค�ำแนะน�ำในการปรบั ปรงุ เนอ้ื หารายงาน และคณุ ชนมณี ทองใบ คุณอรรถพันธ์ สารวงศ์ คุณวัชรินทร์ ขวัญไฝ และคุณกิตติณัฐ พิมพขันธ์ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ออกแบบรปู เล่มและช่วยเหลือการจดั ท�ำหนงั สือเล่มน้­ี ผู้เขียนหวังว่าเนื้อหาการปริทัศน์ความรู้เบื้องต้นในหนังสือน้ีจะเป็นพ้ืนฐานในการต่อยอดความรู้ ดา้ นอนาคตศกึ ษา เพอ่ื จนิ ตนาการ คน้ หา และสรา้ งอนาคตทด่ี ยี งิ่ ขน้ึ ของสงั คมไทยและสงั คมโลกตอ่ ไป อภิวฒั น์ รตั นวราหะ ค�ำ น�ำ ผ้เู ขยี น การพมิ พ์ครั้งที่ 2 หนังั สือื อนาคตศึกึ ษา ตีีพิมิ พ์เ์ ผยแพร่ค่ รั้�งแรกเมื่อ� เดือื นมิถิ ุนุ ายน พ.ศ. 2563 โดยได้ร้ ับั การสนับั สนุนุ จาก สำ�ำ นักั งานคณะกรรมการส่ง่ เสริมิ วิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม (สกสว.) และได้ร้ ับั การตอบรับั อย่า่ งดีี จากผู้้�อ่านจากหลายสาขาวิชิ าการและวิชิ าชีีพ การตีีพิมิ พ์ค์ รั้�งที่�่ 2 นี้�ได้ร้ ับั การสนับั สนุนุ จากแผนงานบูรู ณาการยุทุ ธศาสตร์เ์ ป้า้ หมาย (spearhead) ด้า้ นสังั คม คนไทย 4.0 ซึ่ง� สนับั สนุนุ โดยสำ�ำ นักั งานการวิจิ ัยั แห่ง่ ชาติิ (วช.) ในการพิมิ พ์ค์ รั้�งนี้� ผู้�เขีียนได้แ้ ก้ไ้ ข คำ�ำ ผิดิ และปรับั ปรุงุ แผนภาพและตารางให้อ้ ่า่ นง่า่ ยมากขึ้�น ผู้�เขีียนหวังั ว่า่ หนังั สือื เล่ม่ นี้้�จะเป็น็ ประโยชน์์ สำ�ำ หรับั ผู้้�อ่านที่ส�่ นใจในความเป็น็ มาและแนวคิดิ พื้�นฐานของอนาคตศึกึ ษา และสำ�ำ หรับั นักั วิเิ คราะห์แ์ ละ นักั วางแผนนนโยบายในการประยุกุ ต์ใ์ ช้ค้ วามรู้�ที่ไ� ด้ใ้ นการทำ�ำ งานต่อ่ ไป อภิวิ ัฒั น์์ รัตั นวราหะ

12 | อนาคตศกึ ษา 1 สารบญั 8 ค�ำน�ำ 9 สารบัญ 12 บทน�ำ 19 26 1 | วิวฒั นาการของอนาคตศกึ ษา 32 อนาคตอยใู่ นสมอง 38 ญาณวทิ ยาของการรับรูอ้ นาคต 41 สงคราม การวางแผนและอนาคต 45 อนาคตเชิงพยากรณ์และประจกั ษน์ ิยม 47 อนาคตเชงิ วพิ ากษแ์ ละปทัสถาน 51 อนาคตเชิงวัฒนธรรมและการตีความ อนาคตเชิงการมีส่วนร่วมและขับเคลือ่ นสังคม 56 อนาคตเชงิ บูรณาการและข้ามศาสตร์ 57 ทศวรรษล่าสุดของอนาคตศึกษา 59 เครือขา่ ยด้านอนาคตศกึ ษา 72 78 2 | แนวคดิ พืน้ ฐานของอนาคตศกึ ษา 86 รู้อนาคตไปท�ำไม 97 หลกั การและวตั ถปุ ระสงค์ของการศกึ ษาอนาคต 100 ขอ้ สมมตใิ นการศกึ ษาอนาคต อนาคตศึกษากับทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง 104 ทฤษฎกี ารเปลี่ยนแปลง 105 ประเภทของงานอนาคตศึกษา 111 ขอ้ จ�ำกดั เชงิ ทฤษฎขี องอนาคตศกึ ษา 118 122 3 | วธิ ีการศึกษาอนาคต 127 ประเภทวธิ กี ารศึกษาอนาคต 134 การกวาดสญั ญาณ 141 การท�ำเหมืองขอ้ มลู และข้อความ 144 เดลฟาย วงล้ออนาคตและรปู อนาคตหลายเหลี่ยม การวิเคราะหผ์ ลกระทบ การวเิ คราะห์โครงสร้าง เหตไุ ม่คาดฝัน

อนาคตศึกษา | 13 แบบจ�ำลองการตัดสินใจ 154 แบบจ�ำลองทางสถิติ 157 การวิเคราะหส์ ณั ฐานและตน้ ไม้ความเกยี่ วขอ้ ง 160 ฉากทศั น ์ 168 ระบบการตัดสินใจทใี่ ชไ้ ดก้ ับหลายสถานการณ ์ 175 การคาดการณอ์ ย่างมีส่วนรว่ ม 179 การจ�ำลองสถานการณ์และเกม 185 ตลาดการพยากรณ์ 189 วสิ ัยทศั น ์ 191 แผนทนี่ �ำทางด้านวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี 194 การวเิ คราะห์แบบจ�ำลองตามพฤติกรรมผกู้ ระท�ำ 199 การวเิ คราะหช์ นั้ สาเหตุ 202 4 | การคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร ์ 208 การคาดการณเ์ พ่ือการวางแผน 209 การคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ 210 การคาดการณเ์ พอ่ื ก�ำหนดนโยบายสาธารณะ 213 ระบบคาดการณข์ องฟินแลนด์ 217 ระบบคาดการณข์ องสิงคโปร ์ 222 5 | อนาคตศกึ ษาในประเทศไทย 228 อนาคตในภาษา 229 ประสบการณ์ดา้ นอนาคตศกึ ษาในประเทศไทย 231 การศึกษาอนาคตด้วยวิธีชาตพิ ันธ์ุวรรณนา 242 หนังสือด้านอนาคตศาสตร์ภาษาไทย 248 การคาดการณเ์ ชงิ ยุทธศาสตร์เพื่อวางนโยบายสาธารณะ 255 6 | บทสง่ ท้าย 266 ช่องวา่ งความร ู้ 267 ช่องวา่ งเชงิ สถาบนั 274 ข้อเสนอเชงิ นโยบาย 277 ความเป็นธรรมในการรับร้อู นาคต 279 เชงิ อรรถ 283 บรรณานกุ รม 289 ดรรชนี 299

14 | อนาคตศึกษา สารบัญ แผนภาพ แผนภาพท่ี 1 ภาพประกอบหนงั สอื Utopia ของโทมสั มอรใ์ นปี 1516 หนา้ แผนภาพที่ 2 ภาพจากโปสการด์ ชดุ En L'An 2000 14 แผนภาพท่ี 3 กรวยอนาคต (Futures Cone) 17 แผนภาพท่ี 4 รูปแบบววิ ฒั นาการ 65 แผนภาพที่ 5 ตัวอยา่ งระบบการกวาดสัญญาณในการคาดการณ ์ 91 แผนภาพที่ 6 ตัวอย่างภาพวงลอ้ อนาคต แผนภาพท่ี 7 ตัวอยา่ งวงลอ้ อนาคตของนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 112 แผนภาพที่ 8 ตวั อย่างวิธีการแสดงวงลอ้ อนาคตทใ่ี ชจ้ �ำนวนลกู ศรแทนล�ำดับข้นั 128 129 ของผลกระทบ แผนภาพที่ 9 รปู อนาคตหลายเหลยี่ มแสดงความเปน็ ไปไดข้ องเหตกุ ารณใ์ นอนาคต 130 แผนภาพท่ี 10 การผสมผสานวธิ ีการรปู อนาคตหลายเหลีย่ มกับ 132 วธิ ีการคาดการณ์อนื่ ๆ แผนภาพที่ 11 แนวคดิ การวิเคราะห์ผลกระทบต่อแนวโน้มในอนาคต 133 แผนภาพที่ 12 ประเภทแนวโนม้ 136 แผนภาพท่ี 13 ตวั อยา่ งการวิเคราะห์ผลกระทบตอ่ แนวโน้ม 136 แผนภาพท่ี 14 ตวั อยา่ งกราฟแสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างอทิ ธพิ ลกับ 137 การพงึ่ พาของตวั แปร แผนภาพที่ 15 แนวคดิ เส้นการอุบตั ใิ หม่ของประเด็น 143 แผนภาพที่ 16 ตวั อยา่ งต้นไม้ความเกย่ี วขอ้ ง 149 แผนภาพที่ 17 ภาพรวมกระบวนการคาดการณ์ดว้ ยฉากทศั น ์ 167 แผนภาพท่ี 18 มติ ขิ องการตดั สนิ ใจที่ใชไ้ ดก้ ับหลายสถานการณ ์ 171 แผนภาพท่ี 19 วงลอ้ ซนิ คอนทแ่ี สดงประเดน็ ยอ่ ย 177 แผนภาพท่ี 20 กระบวนการใชว้ งลอ้ ซนิ คอนเพอ่ื สรา้ งฉันทามต ิ 183 แผนภาพที่ 21 ตัวอยา่ งแผนท่นี �ำทางเทคโนโลยีระดบั พ้ืนฐาน 183 แผนภาพท่ี 22 วิธีการวเิ คราะห์ชั้นสาเหต ุ 195 แผนภาพท่ี 23 การคาดการณ์ในกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร ์ 204 แผนภาพท่ี 24 ระบบคาดการณร์ ะดับชาตขิ องฟนิ แลนด ์ 212 แผนภาพที่ 25 ระบบคาดการณ์ระดับชาตขิ องสงิ คโปร ์ 220 223

อนาคตศึกษา | 15 สตาารรางบัญ ตารางท่ี 1 ขอบเขตของความรู้ 3 รูปแบบตามความคดิ ของฮาเบอรม์ าส หน้า ตารางท่ี 2 การแบ่งกลมุ่ ความร้แู ละประสบการณ์ตามทฤษฎบี รู ณาการ 35 ของเคน วลิ เบอร ์ ตารางที่ 3 วิธกี ารส�ำคัญในศึกษาอนาคต 95 ตารางท่ี 4 ประเภทวิธกี ารศึกษาอนาคตแบ่งตามข้ันตอนการคาดการณ ์ 106 ตารางท่ี 5 ตวั อยา่ งประเดน็ การกวาดสัญญาณด้านความม่ันคงทางส่ิงแวดล้อม 109 ตารางที่ 6 ตัวอย่างปจั จัยขับเคล่อื นทนี่ า่ จะมผี ลตอ่ อนาคตของเมอื ง 115 ตารางท่ี 7 ประเภทขอ้ มูลด้านเทคโนโลย ี 116 ตารางที่ 8 ตวั อยา่ งตารางวเิ คราะหผ์ ลกระทบไขว ้ 119 ตารางที่ 9 ประเภทของเหตุไม่คาดฝัน 139 ตารางท่ี 10 ตวั อย่างตารางการวเิ คราะหย์ ทุ ธศาสตร ์ 146 ตารางท่ี 11 ตวั อย่างตารางวเิ คราะห์ความตอ้ งการของมนุษย์ 155 และทางเลือกนโยบาย ตารางที่ 12 ตวั อยา่ งเขตสัณฐานที่มพี ารามเิ ตอร์ 5 ตวั 156 ตารางท่ี 13 ตวั อยา่ งเขตฉากทศั นท์ ่ีเปน็ ไปตามเกณฑ์พารามิเตอรท์ ้ังหมด 161 และทสี่ อดคลอ้ งกัน ตารางท่ี 14 ตัวอย่างเขตยุทธศาสตร์ท่ีเปน็ ไปตามเกณฑพ์ ารามิเตอร์ทั้งหมด 163 และสอดคล้องกนั ตารางท่ี 15 ความสอดคลอ้ งระหว่างยทุ ธศาสตร์กบั ฉากทศั น ์ 164 ตารางท่ี 16 ประเภทของวธิ กี ารคาดการณ์แบบมสี ว่ นรว่ ม 165 ตารางท่ี 17 ฉากทศั นอ์ นาคตประเทศไทยตามการแบง่ กลมุ่ คนของเทกสเตอร์ 181 ตารางท่ี 18 ตวั อย่างงานคาดการณ์ทีด่ �ำเนินการโดย 243 ศนู ยค์ าดการณเ์ ทคโนโลยเี อเปค 260

1 | อนาคตศกึ ษา

อนาคตศึกษา | 2 บทนำ� To expect the unexpected shows a thoroughly modern intellect. Oscar Wilde, An Ideal Husband

3 | อนาคตศึกษา บทน�ำ หากเปรียบเทียบการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์เหมือนกับการเดินเท้า ทุกย่างก้าวไปในอนาคตข้างหน้า ย่อมมีเท้าหน่งึ ที่ยังคงอยู่ในอดีตข้างหลัง ในขณะที่ร่างกายท่ีอยู่ตรงกลางพยายามสร้างสมดุลในแต่ละ ก้าวของการเดิน โดยก�ำหนดจังหวะและระยะก้าวท่ีเหมาะสม เพื่อให้การเดินบรรลุวัตถุประสงค์ที่ ตงั้ ใจไว้ ฉันใดก็ฉนั นนั้ กิจกรรมตา่ ง ๆ ที่มนษุ ยต์ ดั สนิ ใจท�ำในปจั จุบนั มีสาเหตไุ มเ่ พียงเฉพาะจากความ เปน็ ไปในอดตี แตค่ วามนกึ คดิ และความคาดหวงั เกย่ี วกบั อนาคตกม็ อี ทิ ธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรมของคนเราใน ปจั จบุ นั ไมย่ งิ่ หยอ่ นไปกวา่ กนั จนิ ตนาการและความปรารถนาเกย่ี วกบั อนาคตจงึ เปน็ องคป์ ระกอบและ คณุ ลกั ษณะส�ำคญั ของการด�ำเนนิ ชวี ติ และเปน็ พน้ื ฐานส�ำคญั ของระบบสงั คมวฒั นธรรมและเศรษฐกจิ ที่มนุษย์สร้างข้ึนมา ขณะเดียวกัน มนุษย์ไม่ได้เกิดมาแล้วเดินได้เลย เด็กทารกเริ่มเรียนรู้ตั้งไข่และ เดินเตาะแตะผ่านประสบการณ์ล้มลุกคลุกคลานมามากจนกว่าจะสามารถเดินได้อย่างคล่องแคล่ว การเรียนรู้และจินตนาการเกี่ยวกับอนาคตก็ต้องมีการฝึกฝนและสั่งสมประสบการณ์ลองผิดลองถูก เชน่ กัน ด้วยเวลาเปน็ พน้ื ฐานของอนาคต ตราบใดทีเ่ รายงั เชอ่ื ในกฎฟสิ กิ สแ์ บบนวิ ตนั ท่ีว่า เวลามอี ยูจ่ รงิ อย่างอิสระ ไมไ่ ด้ขนึ้ อยู่กับความคิดของมนุษย์ และเคลอ่ื นไหวไปข้างหน้าอยา่ งสม�่ำเสมอไมม่ ีย้อนกลบั อนาคตก็เป็นส่วนหนึ่งของล�ำดับเวลาที่จะเกิดข้ึนและหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่หากเราเชื่อว่าเวลาไม่ได้ไหล เปน็ เสน้ ตรงไปขา้ งหนา้ ไมไ่ ดล้ ว่ งเลยผา่ นไป แตห่ วนกลบั มาเปน็ วฏั จกั รและวงจร และขน้ึ อยกู่ บั การรบั รขู้ องมนุษย์เราเอง ความเขา้ ใจเก่ียวกับอนาคตย่อมตอ้ งแตกต่างออกไป ย่งิ ถ้าหากเราเชื่อตามแนวคดิ ปรชั ญาวา่ ดว้ ยเวลาในแนวปจั จบุ ันนยิ ม (presentism) ทเี่ สนอวา่ ทุกอย่างในอดีตและอนาคตไม่มอี ยู่ จรงิ สง่ิ ทเี่ ปน็ จรงิ มเี พยี งสภาพปจั จบุ นั ยง่ิ ท�ำใหม้ โนทศั นเ์ กยี่ วกบั อนาคตตอ้ งปรบั เปลยี่ นไป ทงั้ น้ี มนษุ ย์ พยายามท�ำความเขา้ ใจเกย่ี วกบั อนาคตมานาน แนวคดิ เกย่ี วกบั อนาคตจงึ มอี ยใู่ นทกุ เสย้ี วทกุ มมุ ของการ ใชช้ วี ติ และการคงอยขู่ องมนษุ ยชาติ ทกุ ศาสนาทกุ ลทั ธใิ นโลกกลา่ วถงึ อนาคตในบรบิ ททแี่ ตกตา่ งกนั ออก ไป ทัง้ เร่ืองกรรม ชวี ติ หลงั ความตาย และเหตกุ ารณท์ ่ีท�ำนายหรือก�ำหนดไว้วา่ จะเกิดขึน้ ในคัมภีรห์ รือ ค�ำสอนของศาสดา ทกุ สงั คมวฒั นธรรมมแี นวคดิ และวธิ กี ารในการคดิ ค�ำนงึ และจดั การเกยี่ วกบั อนาคต ในรูปแบบและวธิ ีการทแี่ ตกต่างกนั การศึกษาอนาคตจึงไม่ใช่เป็นเรอ่ื งใหม่ของมนษุ ยชาติแตอ่ ย่างใด

อนาคตศกึ ษา | 4 อย่่างไรก็็ตาม ในช่่วงคริิสต์์ศตวรรษที่�่ 20 ที่่�ผ่่านมามีีพััฒนาการด้้านกรอบความคิิด ทฤษฎีีและ วิิธีีการที่่�ใช้้ศึึกษาอนาคตในเชิิงวิิทยาศาสตร์์อย่่างเป็็นระบบ ซึ่�งได้้รัับความนิิยมและแพร่่หลายมากขึ้�น จนกลายมาเป็น็ ศาสตร์แ์ ละวิชิ าชีีพหนึ่่ง� ในปััจจุบุ ััน ศาสตร์์ดังั กล่่าวเรีียกกัันโดยทั่่�วไปว่า่ อนาคตศึึกษา หรืืออนาคตศาสตร์์ (Futures Studies) ซึ่ง� มุ่�งสร้้างทฤษฎีี กรอบแนวคิิด หลัักการ และวิิธีีการในการ ทำ�ำ ความเข้้าใจกัับปรากฏการณ์์ เหตุุการณ์์และสิ่ �งต่่าง ๆ ที่�่เกิิดขึ้�นในอนาคต งานวิิจััยในสาขาที่่�ถืือว่่า ใหม่่นี้�พยายามคาดการณ์์ด้้วยการทำำ�ความเข้้าใจกัับปรากฏการณ์์ที่่�เกิิดขึ้�นอยู่�ในปััจจุุบััน แนวโน้้มและ เหตุกุ ารณ์์ ที่�เ่ กิดิ ขึ้�นมาในอดีีต ทั้�งความเชื่�อ ค่่านิยิ ม แนวคิดิ ธรรมเนีียมปฏิิบัตั ิิ รวมถึึงปัจั จัยั อื่น� ๆ ที่ม่� ีี ผลต่อ่ อนาคตระยะยาว อนาคตที่ว�่ ่า่ นี้�มีทั้�งอนาคตที่อ�่ าจเกิดิ ขึ้�นได้้ (possible futures) ซึ่ง� ครอบคลุมุ ถึงึ อนาคตแบบเหตุุไม่่คาดฝันั (wild cards) อนาคตที่�เ่ ชื่อ� ว่า่ เกิิดขึ้�นได้้ (plausible futures) และอนาคต ที่่�คาดหวัังให้้เกิิดขึ้�นหรืืออนาคตที่�่พึึงประสงค์์ (preferable future) การสำ�ำ รวจภาพอนาคตในระดัับ ความเป็็นไปได้้ต่่าง ๆ นี้้�ทำำ�ให้้อนาคตศึึกษามีีฐานะเป็็นสาขาวิิชาหนึ่่�ง ซึ่�งแตกต่่างไปจากการศึึกษา แนวโน้้มและการเปลี่่ย� นแปลงในอนาคตที่่�ทำำ�อยู่�แล้ว้ ในศาสตร์แ์ ละสาขาอื่�น ด้วยจุดก�ำเนิดและแนวคิดพื้นฐานของศาสตร์ท่ีมองภาพอนาคตเป็นระบบที่เช่ือมโยงสัมพันธ์กัน อนาคตศึกษาจงึ เปน็ สหสาขาวิชาทมี่ คี วามหลากหลายทัง้ ในหวั ขอ้ และประเด็นวจิ ยั ท้งั ค�ำถามพ้นื ฐาน ในระดับญาณวทิ ยาเก่ียวกบั ความรู้ว่าดว้ ยอนาคต เคร่อื งมือและวิธกี ารทใี่ ชว้ ิเคราะห์ ไปจนถงึ ประเด็น การวิเคราะห์ทางเลือกของอนาคตในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่สนใจ ท้ังในด้านสังคม เทคโนโลยี เศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ้ มและการเมอื ง แนน่ อนวา่ เรอ่ื งอนาคตเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการสรา้ งองคค์ วามรใู้ นสาขา วชิ าและวชิ าชพี ตา่ ง ๆ อยแู่ ลว้ ดงั ในกรณขี องการพยากรณอ์ ากาศ การคาดประมาณจ�ำนวนประชากร การคาดการณก์ ารเตบิ โตทางเศรษฐกจิ การคาดการณก์ ารระบาดของโรคตดิ ตอ่ ฯลฯ แตอ่ นาคตศกึ ษา ถอื เปน็ ศาสตรท์ พ่ี ยายามสรา้ งองคค์ วามรแู้ ละทกั ษะเกยี่ วกบั อนาคตไวอ้ ยา่ งเปน็ ระบบและใหเ้ หน็ ภาพท่ี เปน็ องคร์ วม โดยมีปรชั ญา ทฤษฎแี ละกรอบแนวความคดิ ทช่ี ดั เจนมากขนึ้ คณุ ลกั ษณะส�ำคญั อกี ประการ หนง่ึ ของงานดา้ นอนาคตศกึ ษาคอื การมงุ่ ทา้ ทายและรอ้ื แยกขอ้ สมมตทิ ซี่ อ่ นอยใู่ นมโนทศั นแ์ ละความคดิ เก่ียวกับอนาคตท่ีเป็นกระแสหลักอยู่ในปัจจุบัน การคาดการณ์อนาคตจึงมักเริ่มต้นจากความเชื่อว่า ความเขา้ ใจและความคดิ ทเี่ รามอี ยใู่ นปจั จบุ นั เกยี่ วกบั การเปลย่ี นแปลงที่จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต มกั ก�ำหนด โดยกรอบความคดิ และขอ้ สมมตทิ อี่ าจใชไ้ มไ่ ดอ้ กี ตอ่ ไป งานวิจิ ัยั ด้า้ นอนาคตศึกึ ษายังั มุ่�งสร้า้ งองค์ค์ วามรู้�เกี่ย่� วกับั กระบวนการและวิธิ ีีการที่แ่� ต่ล่ ะบุคุ คลและ องค์์กรสามารถนำ�ำ มาประยุุกต์์ใช้้ได้้ในการวางแผนเพื่่�อเตรีียมพร้้อมและรัับมืือกัับอนาคตที่่�ไม่่แน่่นอน รวมถึงึ การคิิดค้น้ สิ่�งประดิษิ ฐ์์ การบริิการหรืือสถาบัันใหม่่ ซึ่ง� เป็น็ นวัตั กรรมที่ต�่ อบสนองภาพอนาคตที่�่ เชื่อ� ว่า่ เกิดิ ขึ้�นได้้ หรือื อาจเป็น็ นวัตั กรรมที่ก่� ำำ�หนดอนาคตได้้ ความรู้�และทักั ษะเกี่ย�่ วกับั อนาคตศึกึ ษาเริ่ม� ประยุกุ ต์์ใช้อ้ ย่่างแพร่ห่ ลายในสาขาวิชิ าและวิิชาชีีพต่า่ ง ๆ ในวงกว้้างมากขึ้�น ไม่ว่ ่า่ จะเป็น็ การวางแผน ยุทุ ธศาสตร์ธ์ ุรุ กิจิ ของบริษิ ัทั เอกชนหรือื การวางแผนนโยบายสาธารณะของหน่ว่ ยงานภาครัฐั บริษิ ัทั ชั้�นนำ�ำ ของโลกจำำ�นวนมากให้ค้ วามสำำ�คัญั อย่า่ งยิ่ง� กับั การรู้�ถึงแนวโน้ม้ และปัจั จัยั การเปลี่ย�่ นแปลงที่อ�่ าจเกิดิ ขึ้�น

5 | อนาคตศกึ ษา และมีีผลต่่อธุุรกิิจของตนเอง ในขณะเดีียวกััน รััฐบาลในหลายประเทศก็็ให้้ความสำำ�คััญกัับการเพิ่่�มขีีด ความสามารถของหน่ว่ ยงานรัฐั ในการวิเิ คราะห์แ์ ละคาดการณ์์ เพื่่อ� นำำ�ผลการวิเิ คราะห์น์ั้�นมาวางนโยบาย ยุุทธศาสตร์แ์ ละกลยุทุ ธ์์ของรัฐั บาล ในประเทศไทยเอง หลายองค์กรได้พยายามใช้ความรู้และเคร่ืองมือด้านอนาคตศึกษาในการ วิเคราะห์และวางแผนองค์กรและนโยบายสาธารณะมากว่าย่ีสิบปีแล้ว หมุดหมายหนึ่งที่ส�ำคัญคือการ จัดตัง้ ศนู ย์คาดการณ์เทคโนโลยีเอเปค (APEC Center for Technology Foresight) เพือ่ วิเคราะห์ และวางแผนอนาคตในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก จากนั้นก็มีโครงการศึกษาอนาคตด้านต่าง ๆ มาพอ สมควร ในช่วงสองสามปีท่ีผ่านมา หน่วยงานภาครัฐหลายแห่งเร่ิมให้ความส�ำคัญกับการคาดการณ์ เชิงยุทธศาสตร์มากขึ้น ท้ังหน่วยงานการวางแผนพัฒนาภาพรวมระดับประเทศ เช่น ส�ำนักงานสภา พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ (สศช.) และหน่วยงานวางแผนพัฒนารายสาขา เช่น ส�ำนักงาน สภานโยบายการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมแหง่ ชาติ (สอวช.) และส�ำนกั งานนวตั กรรม แหง่ ชาติ (สนช.) บริษัทชนั้ น�ำหลายแห่งกไ็ ด้เริ่มใช้วธิ ีการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ (strategic fore- sight) ในการวางแผนยทุ ธศาสตรข์ ององค์กร แม้ว่างานวิจัยและงานวางแผนในแต่ละศาสตร์และสาขาต่างมีกรอบแนวคิดและวิธีการศึกษา อนาคตอยู่แล้ว แต่พื้นฐานความคิดและวิธีวิทยาแตกต่างพอสมควรจากงานศึกษาอนาคตในกลุ่ม วิชาการด้านอนาคตศาสตร์ โครงการวิจัยและงานเขียนหลายช้ินในประเทศไทยได้ประยุกต์ใช้กรอบ แนวคิดด้านอนาคตศึกษามาแล้วบ้าง แต่ท่ีผ่านมายังไม่มีการประมวลความรู้ในด้านน้ีอย่างเป็นระบบ จึงเป็นโอกาสอันดีที่จะประมวลความรู้ในด้านนี้อย่างจริงจังเพื่อสร้างฐานความรู้ในการพัฒนาศาสตร์ นใี้ นประเทศไทยตอ่ ไป ด้วยเหตุผลดังท่ีกล่าวมา วัตถุประสงค์หลักของหนังสือเล่มนี้มีอยู่ 3 ประการด้วยกัน ประการ แรกคือ เพ่ือประมวลความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับอนาคตศึกษาจากงานเขียนและงานวิจัยส�ำคัญระดับโลก ประการที่สองคือ เพ่ือทบทวนตัวอย่างงานวิจัยและงานวางแผนที่ประยุกต์ใช้แนวคิดและวิธีการด้าน อนาคตศึกษาในต่างประเทศและในประเทศไทย และประการท่ีสามคือ เพ่ือระบุช่องว่างความรู้ด้าน อนาคตศึกษาที่เป็นประเดน็ ส�ำคญั ส�ำหรบั งานวิจัยในประเทศไทยที่ควรส่งเสริมในอนาคต เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้มาจากแหล่งความรู้และข้อมูลสามกลุ่มหลัก ส่วนแรกมาจากการทบทวน วรรณกรรม ทงั้ ท่เี ปน็ บทความวชิ าการ รายงานการวิจยั หนงั สือ และอาจรวมถึงบทความแสดงความ คิดเห็นของผู้เช่ียวชาญด้านอนาคตศึกษาในวารสารและส่ือสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ รวมท้ังรายงานผล การด�ำเนนิ งานของหนว่ ยงานและองค์กรตา่ ง สว่ นที่สองมาจากการสัมภาษณ์ โดยผู้เขยี นได้สัมภาษณ์ ผทู้ รงคณุ วุฒิท่ีมีประสบการณใ์ นดา้ นอนาคตศกึ ษา เพ่อื สอบถามความเห็นเก่ียวกบั ช่องว่างความรู้ที่นา่ จะมีการศึกษาวิจัยต่อไปในอนาคต และน�ำมาประกอบในการเขียนบทสรุปและข้อเสนอแนะจากการ ประมวลความรใู้ นหนงั สอื เลม่ น้ี สว่ นทส่ี ามมาจากการประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย ซง่ึ ผเู้ ขยี นไดจ้ ดั ขนึ้ 2 ครง้ั เพอ่ื น�ำ เสนอผลการวจิ ยั และแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ กบั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ แลว้ น�ำผลการประชมุ มาปรบั ปรงุ รายงาน การวิจยั “ปรทิ ัศน์สถานภาพความร้ดู า้ นอนาคตศกึ ษา” จากน้ัน จงึ ไดป้ รบั ปรงุ และเพิม่ เตมิ เนื้อหาให้ สมบรู ณ์มากข้ึนจนเปน็ หนงั สือเล่มนี้

อนาคตศึกษา | 6 เนื้อหาในหนงั สือนแ้ี บง่ ออกเปน็ 6 บท บทที่ 1 ตอ่ จากบทน�ำนเ้ี ป็นการทบทวนวิวฒั นาการของ อนาคตศึกษาอย่างเป็นระบบนับตั้งแต่ช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ท้ังงานเขียนและงานวิจัยใน เชิงวิชาการและผลงานเพื่อการวางแผนนโยบาย บทที่ 2 อธิบายแนวคดิ พ้นื ฐานเกี่ยวกับอนาคตศึกษา บทที่ 3 อธบิ ายวธิ กี ารวเิ คราะหอ์ นาคตทใ่ี ชอ้ ยา่ งแพรห่ ลายในวงการวชิ าการดา้ นอนาคตศกึ ษาและการ คาดการณเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ บทที่ 4 เปน็ เนือ้ หาเกยี่ วกับการคาดการณ์เชงิ ยุทธศาสตร์ ซงึ่ น�ำเอาความรู้ ด้านอนาคตศึกษามาประยุกตใ์ ชต้ อ่ เพอื่ วางแผนนโยบายในองคก์ รและนโยบายสาธารณะ บทท่ี 5 น�ำ เสนอผลการประมวลความรดู้ า้ นอนาคตศึกษาของประเทศไทย บทท่ี 6 บทสดุ ทา้ ยระบชุ อ่ งว่างความ รแู้ ละประเด็นการวิจัยท่ีควรมกี ารส่งเสริมตอ่ ไป การน�ำเสนอเน้ือหาการปรทิ ศั น์ในบทหลงั ๆ จะเน้นที่ ประเด็นหลักของความรู้เกีย่ วกบั อนาคตศกึ ษา โดยไมล่ งรายละเอียดในแต่ละประเดน็ มากนกั แตส่ รุป เนอื้ หาจากบทความวชิ าการและรายงานวจิ ยั พรอ้ มระบแุ หลง่ อา้ งองิ ไวอ้ ยา่ งชดั เจน เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นทสี่ นใจ ในด้านนส้ี ามารถค้นคว้าเพ่มิ เติมได้ด้วยตนเองต่อไป

7 | อนาคตศกึ ษา

อนาคตศึกษา | 8 1 ววิ ฒั นาการ ของอนาคต ศกึ ษา Memories are the key not to the past, but to the future. Corrie ten Boom, The Hiding Place

9 | อนาคตศึกษา อนาคตอยใู่ นสมอง มนษุ ย์ตา่ งจากสตั ว์ในหลายด้าน ในด้านศาสนา พุทธศาสนสุภาษิตหนงึ่ มีอยวู่ ่า “อาหารนทิ ทฺ า ภยเม ถุนญจฺ สามาญญเมตปฺปสภิ นรานํ ธมโฺ ม หิ เตสํ อธโิ ก วิเสโส ธมฺเมน หนี า ปสภุ ิ สมานา” หมายความ วา่ การแสวงหาอาหารกนิ การแสวงหาความสขุ จากการนอน ความรู้จักขข้ี ลาด ว่งิ หนี อันตราย และ การประกอบเมถนุ ธรรม มนษุ ยม์ เี สมอกนั กบั สตั ว์ ธรรมะเทา่ นนั้ ที่จะท�ำความผดิ แปลกแตกตา่ งระหวา่ ง คนกับสัตว์ เมื่อปราศจากธรรมะแล้ว คนกับสตั วก์ ็เหมือนกัน1 สว่ นในคัมภรี ไ์ บเบลิ ของครสิ ต์ศาสนา มีขอ้ ความระบถุ งึ ความแตกตา่ งระหวา่ งมนุษย์กับสัตว์ไว้อยา่ งชัดเจนว่า “เน้ือนน้ั ไมเ่ หมอื นกนั ทั้งหมด เนอ้ื มนษุ ยก์ อ็ ยา่ งหนง่ึ เนอื้ สตั วก์ อ็ ยา่ งหนง่ึ เนอ้ื นกกอ็ ยา่ งหนง่ึ เนอ้ื ปลากอ็ ยา่ งหนง่ึ ” (1 โครนิ ธ์ 15:39)2 มนษุ ยเ์ ทา่ นนั้ ทมี่ คี วามสามารถในการเรยี นรแู้ ละบชู าพระเจา้ ดว้ ยพระเจา้ ได้ “ทรงสรา้ งมนษุ ยต์ ามแบบ พระฉายาของพระองค”์ (ปฐมกาล 1:27)3 ทงั้ ในดา้ นอตั ลกั ษณ์สว่ นบุคคล ความสามารถในการเลอื ก อารมณ์ ศีลธรรม และความคดิ สรา้ งสรรค4์ ในด้านวิทยาศาสตร์ มนุษย์แตกต่างจากสัตว์และสิ่งมีชีวิตประเภทอื่นตรงท่ีสมองของมนุษย์มี พฒั นาการทท่ี �ำใหเ้ ราสามารถนกึ คดิ จนิ ตนาการและพจิ ารณาสง่ิ ทเ่ี ปน็ นามธรรมได้ ดงั ทสี่ ะทอ้ นในชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ท่ใี ช้เรยี กสปชี ีส์มนุษย์ในปจั จุบนั คือ homo sapiens ซงึ่ เปน็ ภาษาละตินท่ีแปลว่า “คน ฉลาด” หรอื \"ผรู้ \"ู้ นกั วชิ าการในอดตี ยกตวั อยา่ งคณุ ลกั ษณะของ “ความฉลาด” ทท่ี �ำใหม้ นษุ ยแ์ ตกตา่ ง จากสตั ว์ประเภทอื่น เชน่ ภาษา เครื่องมอื และเทคโนโลยี และการจดั การทางสงั คมวัฒนธรรม แตง่ าน วจิ ยั จ�ำนวนมากแสดงหลกั ฐานแยง้ วา่ สตั วก์ ม็ ภี าษา ใชเ้ ครอ่ื งมอื และรว่ มมอื กนั และอยดู่ ว้ ยกนั เปน็ สงั คม แมว้ ่าอาจไมม่ ีพัฒนาการใหซ้ บั ซอ้ นและละเอยี ดเท่ากบั มนษุ ย์ ดังทีช่ าลส์ ดารว์ ิน (Charles Darwin) เขียนไวใ้ นหนงั สอื “The Descent of Man” วา่ มนษุ ยก์ บั สตั วแ์ ตกต่างกันที่ระดบั (degree) ไมใ่ ช่ ประเภท (kind) ดังน้นั ค�ำว่า sapiens ท่สี ่ือถึงความฉลาดของมนษุ ย์นัน้ จงึ อาจมีมากกวา่ คุณลักษณะ เหล่าน้ี และความแตกต่างในระดับความคิดของมนุษย์นั่นเองท่ีท�ำให้มนุษย์แตกต่างมากจากสัตว์ใน ดา้ นอ่นื ๆ คุณลักษณะหนึ่งของมนุษย์ที่แตกต่างหรือท�ำได้ดีกว่าสัตว์คือมนุษย์มีความสามารถในการคาด การณ์อนาคต งานวิจัยด้านจิตวิทยาและประสาทวิทยาศาสตร์ (neuroscience) จ�ำนวนหน่ึงค้นพบ หลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีสนับสนุนสมมติฐานท่ีว่า ความส�ำเร็จพ้ืนฐานในวิวัฒนาการของมนุษย์คือการ คาดหมายและประเมนิ ความเปน็ ไปไดข้ องเหตกุ ารณท์ ี่จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต เพอื่ สรา้ งกรอบและแนวทาง

อนาคตศกึ ษา | 10 ในการพจิ ารณาทางเลอื กและตัดสินใจด�ำเนินกิจกรรมตอ่ ความสามารถในการคาดการณน์ เ้ี ป็นความ ฉลาดของมนุษย์ที่ท�ำให้เกิดเทคโนโลยีและสถาบันทางสังคมวัฒนธรรม และท�ำให้อารยธรรมมนุษย์ มีวิวัฒนาการและคงอยู่ต่อไปได้ บทบาทและหน้าท่ีส่วนส�ำคัญของสมองมนุษย์จึงอยู่ท่ีการมองไปยัง อนาคต ไม่วา่ จะโดยเจตนาหรือไม่กต็ าม แนวคิิดนี้้�ถืือว่่าใหม่่สำำ�หรัับวงการวิิชาการด้้านจิิตวิิทยาและประสาทวิิทยาศาสตร์์ เนื่่�องจาก ที่่�ผ่่านมาข้้อสมมติิหลัักของศาสตร์์ดัังกล่่าวคืือมนุุษย์์ติิดกัับดัักอยู่่�กัับอดีีตและปััจจุุบััน งานวิิชาการ ด้้านจิิตวิิทยามัักเน้้นไปที่่�อดีีต คืือความทรงจำำ� (memory) และปััจจุุบััน คืือการรัับรู้�และแรงจููงใจ (perception and motivation) ด้้วยข้้อค้้นพบจากการประมวลงานวิิจััยเกี่่�ยวกัับบทบาทของสมอง ในการมองอนาคต นัักวิิจััยด้้านปรััชญาและจิิตวิิทยากลุ่�มหนึ่่�งจากมหาวิิทยาลััยในสหรััฐอเมริิกาจึึง เสนอให้้ใช้้คำำ�ว่่า homo prospectus เพื่่�อสื่�อถึึงความสามารถของมนุุษย์์ที่�่แตกต่่างจากสััตว์์อื่�น ๆ  ในการมองภาพในอนาคต5 หากจิิตหรืือความคิิด (mind) ของมนุุษย์์ไม่่ได้้สนใจแต่่เพีียงเรื่�องในอดีีตและปััจจุุบััน แต่่มุ่�งไป ที่�่อนาคต การทำำ�ความเข้้าใจเกี่�่ยวกัับพฤติิกรรมมนุุษย์์และการเปลี่่�ยนแปลงด้้านต่่าง ๆ ทั้�งเศรษฐกิิจ สังั คม วัฒั นธรรมและการเมือื ง จึงึ ต้อ้ งสำำ�รวจลงไปถึงึ บทบาทและหน้า้ ที่ข�่ องการมองอนาคตของมนุษุ ย์์ ในขณะเดีียวกััน การเรีียนรู้�ไม่ไ่ ด้เ้ กิิดจากการเก็บ็ และวิเิ คราะห์ส์ิ่ง� ที่เ่� ก็็บรวบรวมมาเป็็นข้้อมููลจากอดีีต เท่่านั้�น แต่่เกิิดจากการปรัับเปลี่�่ยนความทรงจำำ�ไปพร้้อมกัับการจิินตนาการเกี่่�ยวกัับความเป็็นไปได้้ใน อนาคต โลกทััศน์์ของมนุุษย์์เราไม่่ได้้เกิิดจากการประมวลผลจากทุุกเสี้�ยวของภาพที่�่เห็็นตรงข้้างหน้้า เพีียงอย่า่ งเดีียว แต่เ่ กิดิ จากการมุ่�งหาสิ่ง� ที่ไ�่ ม่ค่ าดคิดิ มาก่อ่ นไปพร้อ้ มกันั นอกจากนี้� การคาดการณ์ท์ ำำ�ให้้ เราแต่ล่ ะคนฉลาดมากขึ้�น ไม่ใ่ ช่เ่ ฉพาะจากประสบการณ์ข์ องตนเองเท่า่ นั้�น แต่จ่ ากการเรีียนรู้�เกี่ย่� วกับั สิ่ง� ที่เ�่ กิิดขึ้�นรอบตััวเราไปพร้้อมกันั กัับผู้�อื่น� นอกจากนี้ เป็นท่ีรับรู้กันท่ัวไป และมีหลักฐานจากงานวิจัยทางสังคมศาสตร์โดยเฉพาะด้าน มานุษยวิทยาและเศรษฐศาสตร์ว่า มนุษย์เรายินดียอมเสียสละอะไรบางอย่างในวันน้ี เพื่อให้ได้ผล ตอบแทนทม่ี ากกวา่ ในอนาคต ไม่วา่ จะเปน็ การออมและฝากเงินไวใ้ นธนาคาร การลงทุนในการศกึ ษา หรือแม้แตก่ ารท�ำบุญด้วยความเชื่อว่าจะท�ำใหช้ าติหน้าเกดิ มาสบายขน้ึ การที่มนุษย์เราเป็นสัตวส์ ังคม ที่ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจสังคมกับผู้อ่ืนอยู่ตลอดเวลา และสร้างสถาบัน (institutions) ท่ี เป็นธรรมเนยี มปฏบิ ตั ิ กฎเกณฑ์และระเบยี บของสงั คมขึน้ มานน้ั สว่ นหน่ึงกเ็ พราะมนุษยย์ อมควบคมุ พฤตกิ รรมตนเอง เพ่ือใหไ้ ด้มาซ่ึงประโยชนใ์ นอนาคต ความก้าวหนา้ ของอารยธรรมมนษุ ยท์ ี่ขบั เคลือ่ น ด้วยการค้นพบด้านวิทยาศาสตร์และการค้นคิดส่ิงประดิษฐ์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึงการ เปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมของมนุษย์ ล้วนแล้วแต่เกิดจากการมองเห็นผลประโยชน์ที่จะเกิดข้ึนกับ ตนเองและผู้อนื่ ในอนาคต การมองไปในอนาคตของมนุษุ ย์์มีีความซับั ซ้อ้ นมากกว่า่ และมีีระยะเวลายาวกว่า่ สัตั ว์์ กระรอกใน เมืืองหนาวขุุดฝัังลููกโอ๊๊คไว้้ใต้้ดิินหรืือยััดไว้้ในโพรงไม้้เพื่่�อเตรีียมเสบีียงไว้ส้ ำำ�หรัับช่่วงที่�่หาอาหารลำำ�บาก กบในเขตร้อ้ นชื้�นเตรีียมตััวขุุดหลุุมและหมกตัวั อยู่�ใต้ด้ ิินเพื่่�อจำ�ำ ศีีลในช่่วงความร้อ้ นสูงู และขาดน้ำำ�� แต่่ พฤติิกรรมการเตรีียมตััวเหล่่านี้�เกิิดจากสััญชาตญาณ ไม่่ได้้เกิิดจากการคาดการณ์์การเปลี่�่ยนแปลง

11 | อนาคตศกึ ษา ของฤดููกาล ส่่วนมดและผึ้�งแบ่่งงานกัันทำ�ำ และร่่วมมืือกัันในการสร้้างรัังโดยอััตโนมััติิตามที่�่กำำ�หนดมา ในพัันธุุกรรม โดยไม่่ได้้มีีการปรึึกษาหารืือและตกลงร่่วมกัันของสมาชิิกในรัังว่่า จะร่่วมมืือทำ�ำ อะไรกััน บ้า้ งในอนาคต อยา่ งไรกต็ าม ในชว่ งหลงั เรม่ิ มงี านวจิ ยั ทแ่ี สดงหลกั ฐานวา่ สตั วก์ ม็ คี วามสามารถในการจนิ ตนาการ เหตุการณ์ในอนาคตเช่นเดยี วกันกับมนษุ ย์ กลุม่ นักวจิ ัยท่ีมหาวทิ ยาลัยคอลเลจลอนดอน (University College London) ไดใ้ ชห้ นู (Rattus rattus) ในการทดลองและตดิ ตามการท�ำงานของสมองสว่ นฮปิ โป แคมปัส (hippocampus) ซ่ึงเป็นส่วนประกอบท่ีส�ำคัญของสมองของมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อืน่ ๆ คณะวจิ ยั นี้คน้ พบวา่ ในชว่ งเวลาที่หนหู ลับหรือพักผ่อนอยู่ สมองสว่ นฮปิ โปแคมปัสจะกอ่ สร้าง สว่ นประกอบของเหตกุ ารณ์ทย่ี งั ไม่เกิดข้นึ และเตรยี มพร้อมส�ำหรับกิจกรรมท่มี เี ป้าหมายว่าจะท�ำเมือ่ ต่ืนมาแล้ว6 ขอ้ คน้ พบดังกลา่ วสนับสนุนข้อเสนอที่วา่ การคาดการณไ์ ม่ได้มีเฉพาะในมนุษย์ และสมอง ส่วนฮิปโปแคมปัสมีบทบาทในการจ�ำลองสถานการณ์ในอนาคตได้ อย่างไรก็ตาม สมมติฐานที่ว่าการ จ�ำลองสถานการณอ์ นาคตในสมองเกดิ ขนึ้ ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งมีประสบการณโ์ ดยตรงมากอ่ น ไดร้ บั การวพิ ากษ์ วิจารณ์ว่ายงั ไมม่ ขี ้อมูลเชิงประจักษท์ ี่พสิ ูจนไ์ ดว้ ่าเป็นจรงิ 7 แม้ว่าหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยังสรุปไม่ได้ว่า การคาดการณ์เป็นคุณลักษณะเฉพาะของมนุษย์ เทา่ นนั้ หรอื ไม่ แตเ่ ปน็ ทแี่ นช่ ดั วา่ มนษุ ยม์ คี วามสามารถในการคดิ พจิ ารณาเกย่ี วกบั ระยะเวลาทยี่ าวนาน กว่าสัตว์ ไม่ว่าจะย้อนกลับไปในอดีต หรือก้าวหน้าไปยังอนาคต แม้แต่ในวิวัฒนาการของมนุษย์เอง การมองอนาคตของมนุษย์ในอดีตคงไม่ได้ซับซ้อนและมีระยะเวลายาวไกลดังเช่นในปัจจุบัน ในสมัย ดึกด�ำบรรพ์ท่ีมนุษย์ยังไล่ล่าหาอาหาร ก่อนยุคที่สามารถเก็บรักษาอาหารไว้ได้ก่อนบูดเน่า การค�ำนึง ถงึ อนาคตคงไมไ่ ด้ยาวไกลอะไรมาก ดงั เชน่ สตั วป์ ่าทลี่ ่าเหยอ่ื และหาอาหารกนิ ไปเปน็ มือ้ ๆ เป็นวัน ๆ ไป แต่เมอื่ มนษุ ยพ์ ฒั นามากขนึ้ ในยคุ ต่อมา มกี ารท�ำเกษตรกรรม มีการตง้ั ถิ่นฐานเป็นชมุ ชนและเมือง และมีอุตสาหกรรมและระบบเศรษฐกิจท่ีซับซ้อนมากข้ึน การมองไปยังอนาคตจึงมีระยะเวลาที่ไกล มากข้นึ กว่าเดมิ กลา่ วไดว้ า่ มนษุ ยใ์ หค้ วามสนใจเกยี่ วกบั เวลามาโดยตลอด และการมองอนาคตกเ็ ปน็ พน้ื ฐานของ การรบั รแู้ ละการพยายามท�ำความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ตวั เองและสงิ่ แวดลอ้ มมาตง้ั แตจ่ ดุ เรมิ่ ตน้ ของความเปน็ มนษุ ย์ ดงั นนั้ การมองอนาคตจงึ เปน็ องคป์ ระกอบพน้ื ฐานของความเปน็ มนษุ ย์ แตก่ ไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ มนษุ ยท์ กุ คนและทกุ สงั คมใชเ้ วลากบั ความพยายามในการมองไปยงั อนาคตเทา่ กนั บางคนหรอื บางสงั คม อาจพยายามหาวิธีแก้ไขปัญหาในการจัดการและเตรียมพร้อมกับอนาคตมากกว่าคนอ่นื หรือสังคมอ่ืน บางสังคมอาจพัฒนากระบวนการและเครื่องมอื มองอนาคตที่เปน็ ระบบและครอบคลุม เพ่ือการตดั สิน ใจและด�ำเนนิ การทีม่ ีประสิทธภิ าพมากกวา่ สังคมอน่ื กไ็ ด้ ด้ว้ ยเหตุุผลดัังกล่า่ ว วััตถุุประสงค์ส์ ำำ�คัญั ประการหนึ่่�งของอนาคตศาสตร์์คือื เพื่่�อยกระดัับความรู้� และความสามารถในกระบวนการตััดสิินใจและประสิิทธิิภาพในการดำำ�เนิินกิิจกรรมทั้ �งของปััจเจกและ สัังคม การที่น่� ัักวิิชาการและนัักนโยบายได้้คิิดค้น้ และนำ�ำ เสนอแนวคิดิ ที่�่มุ่�งไปสู่่�อนาคตในช่ว่ งเกือื บร้้อย กว่า่ ปีที ี่่ผ� ่่านมา แสดงถึงึ ความพยายามของมนุษุ ย์ใ์ นการเพิ่่ม� ประสิทิ ธิภิ าพในการตัดั สินิ ใจในระดับั ต่า่ ง ๆ นั่่น� เอง

อนาคตศกึ ษา | 12 ญาณวิทยา ของการรบั รู้อนาคต การท�ำความใจเก่ียวกับศาสตรข์ องความรู้ใด ๆ อย่างถ่องแท้ จ�ำเปน็ ต้องรถู้ ึงญาณวิทยาของศาสตรน์ ้นั ญาณวิทยา (epistemology) เปน็ การศึกษาเกี่ยวกับความรู้ ทัง้ บ่อเกิดทมี่ าของความรู้ ธรรมชาติของ ความรู้ ขอบเขตของความรู้ รวมถงึ ความสมเหตสุ มผลของความรู้ ส�ำหรบั ในอนาคตศกึ ษานน้ั งานเขยี น ทเ่ี ปน็ พน้ื ฐานองคค์ วามรขู้ องการท�ำความเขา้ ใจในอนาคตสามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 5 กลมุ่ ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ กลมุ่ แนวคดิ เชงิ ศาสนา กลมุ่ แนวคดิ เชงิ อดุ มคติ กลมุ่ แนวคดิ เชงิ ประวตั ศิ าสตรน์ ยิ ม กลมุ่ นยิ ายวทิ ยาศาสตร์ และกลุ่มความคดิ เชิงระบบ แมว้ า่ วทิ ยาศาสตรเ์ ชงิ ปฏฐิ านนยิ ม (positivism) และประจกั ษน์ ยิ ม (empiricism) กลายเปน็ พนื้ ฐานหลกั ของการพฒั นาความรดู้ า้ นในแทบทกุ ดา้ นมาระยะหนง่ึ แลว้ กต็ าม แตใ่ นความเปน็ จรงิ การรบั รู้ อนาคตของมนษุ ยใ์ นหลายสงั คมหลายวฒั นธรรมยงั คงรบั อทิ ธพิ ลมาจากแนวคดิ ทไ่ี มย่ ดึ หลกั ปฏฐิ านนยิ ม และประจกั ษน์ ยิ มอยมู่ าก แนวคดิ เชงิ ศาสนามีประวตั ศิ าสตรย์ าวนานในการก�ำหนดกรอบความคดิ ของ มนษุ ยใ์ นการรบั รเู้ กย่ี วกบั อนาคต ในขณะเดยี วกนั กลมุ่ แนวคดิ เชงิ อดุ มคตหิ รอื ยโู ทเปยี และกลมุ่ แนวคดิ เชงิ ประวตั ิศาสตรน์ ิยมในอดตี ได้วางพื้นฐานทางความคดิ ใหก้ ับอนาคตศกึ ษาในยคุ ปจั จุบัน นอกจากนี้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสถานการณท์ ีแ่ ตง่ ขึน้ ในนยิ ายวทิ ยาศาสตร์อาจดเู หมือนเพ้อฝนั แตก่ เ็ ป็น สง่ิ ทชี่ ว่ ยขยายขอบเขตจนิ ตนาการของมนษุ ยท์ อ่ี าจน�ำไปสกู่ ารพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละ นวตั กรรมจรงิ ขนึ้ ได้ เนอื้ หาในสว่ นนน้ี �ำเสนอแนวคดิ เกยี่ วกบั การรบั รอู้ นาคตในยคุ กอ่ นสงครามโลกครงั้ ท่สี อง เมอ่ื การศกึ ษาอนาคตเชงิ วทิ ยาศาสตรด์ ้วยแนวคดิ เชงิ ระบบได้เรมิ่ กอ่ รา่ งขน้ึ กล่มุ แนวคิดเชงิ ศาสนา ความคิดเกี่ยวกับอนาคตปรากฏอยู่ในทุกศาสนา ในกลุ่มศาสนาอับราฮัม (Abrahamic religions) ทงั้ ศาสนายดู าห์ ศาสนาอสิ ลาม และศาสนาครสิ ตล์ ว้ นแลว้ แตร่ ะบวุ า่ อนาคตและโชคชะตา ของมนุษย์ก�ำหนดโดยพระเจ้า (God) ท่เี ปน็ นริ นั ดร์ (eternal) และมีความร้ไู ม่จ�ำกดั (omniscience)8 โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในนกิ ายในศาสนาครสิ ตท์ ใ่ี หค้ วามส�ำคญั กบั การเสดจ็ กลบั มาครง้ั ทสี่ อง (the second coming) ของพระเยซูคริสตแ์ ละโลกาวนิ าศศาสตร์ (eschatology) ทก่ี ลา่ วถึงชะตากรรมสดุ ทา้ ยของ มนษุ ยชาติ พนื้ ฐานความเชอ่ื ดงั กลา่ วขดั กบั แนวคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในยคุ เรอื งปญั ญา (Enlightenment) ซงึ่ มงุ่ เน้น

13 | อนาคตศึกษา การใชห้ ลักเหตผุ ลมากกว่าการใช้หลกั จารตี ประเพณแี ละความเชอื่ ในพระเจา้ ตามความคิดปรัชญาใน สายน้ี อิสรภาพของมนุษย์เกิดจากเหตุผลและการกระท�ำของมนุษย์เอง แต่ด้วยความเช่อื ในศาสนามี มาเป็นเวลานานและฝังรากลึกในความคิดของมนุษย์ การศึกษาและท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับอนาคต ในอดีตจึงเป็นไปตามความเชื่อที่ว่า มนุษย์ไม่มีทางเลือกอ่ืน แต่ต้องท�ำตามวัตถุประสงค์ของพระเจ้า การพยากรณ์หรือมองอนาคตจึงเป็นเพียงการรับ “ความรู้” เก่ียวกับอนาคตผ่านทางศาสดา ผู้วิเศษ หรือโหรทส่ี ามารถท�ำนายส่ิงที่จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตได้ ความพยายามในการเข้าถึงความรู้เกี่ยวกับอนาคตแบบตายตัว (deterministic) ปรากฏ อยู่ในความเชื่อของผู้คนในสมัยโบราณ ทั้งวิญญาณนิยม (animism) ลัทธิบูชาอ�ำนาจของผู้วิเศษ (shamanism) และความเชือ่ ในศาสนาต่าง ๆ การพยากรณอ์ นาคตแบบตายตัวมีต้งั แต่การสงั เกตและ ท�ำนายอนาคตจากการแปลสญั ญาณการเปลย่ี นแปลงบางอยา่ ง เชน่ การดคู วามเคลอ่ื นไหวของดวงดาว ไปจนถึงการนั่งสมาธหิ รอื การใช้พลังจิตเพอื่ มองอนาคตโดยผู้วิเศษ ความเชื่อในวิธีการท�ำนายอนาคต แนวทางนี้ยังมีหลงเหลืออยู่ทั่วไปมาจนถึงปัจจุบันในทุกสังคม ไม่ใช่เฉพาะในกลุ่มชนเผ่าดั้งเดิม ท้ัง ในรูปแบบท่ีมีอยู่ท่ัวไป เช่น การอ่านลายมือและไพ่ยิปซี การเส่ียงเซียมซี และการท�ำนายจากกาก ใบชา และในวิธีการเฉพาะในบางพ้ืนที่ เช่น การเส่ียงทายผ้านุ่งในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระ นังคัลแรกนาขวัญของไทย และการพยากรณ์อากาศในแต่ละฤดูกาลจากการอ่านลายเส้นบนม้าม ของหมูในรฐั ซสั แคตเชวัน (Saskatchewan) ประเทศแคนาดา9 กลา่ วไดว้ า่ การพยากรณอ์ นาคตแบบตายตวั ทผ่ี สมผสานกบั ความเชือ่ ทางศาสนาและเรือ่ งราวทมี่ ี ความขลงั และลกึ ลบั ไมไ่ ดห้ ายไปเมอื่ มกี ารพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยใี นสงั คมมนษุ ย์ และยงั คง เปน็ สว่ นหนงึ่ ของวฒั นธรรมมาจนถงึ ปจั จบุ นั สว่ นหนงึ่ คงเปน็ เพราะความเชอ่ื ดงั กลา่ วยงั คงมีประโยชน์ อยู่ส�ำหรับการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ เพียงแค่วิธีการอาจเปล่ียนแปลงไปตามบริบทสังคมวัฒนธรรมท่ี เปลี่ยนไปเทา่ นั้น แนวคดิ เชงิ ศาสนาในการมองอนาคตนจ้ี ดั อยใู่ นกลมุ่ ทเี่ ชอ่ื วา่ อนาคตก�ำหนดไวต้ ายตวั อยแู่ ลว้ และ เราสามารถรถู้ งึ อนาคตไดถ้ า้ ใชว้ ธิ กี ารทถี่ กู ตอ้ ง แตว่ ธิ กี ารรถู้ งึ อนาคตในแนวทางนมี้ กั มคี วามลกึ ลบั และ มีเฉพาะผูว้ เิ ศษที่ไดร้ บั เลอื กมา หรอื เปน็ วธิ กี ารพิเศษทผ่ี เู้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านเท่านั้นทส่ี ามารถใช้ได้ กล่มุ แนวคดิ เชิงอุดมคติ กลมุ่ แนวคดิ ทอี่ าจถอื วา่ เปน็ รากฐานของการศกึ ษาอนาคตในยคุ สมยั ใหมค่ อื กลมุ่ ยโู ทเปยี (utopia) หรือแนวคิดเชิงอุดมคติ10 ซึ่งเน้นภาพอนาคตในอุดมคติท่ีพึงประสงค์และอยากให้เกิดข้ึนในโลกแห่ง ความเปน็ จรงิ แนวคิดยูโทเปียมีท้ังที่เป็นภาพอุดมคติของอนาคตท่ียังไม่เกิดข้ึนและภาพอุดมคติของ อีกสถานท่ีหน่ึงที่แสดงถึงความปรารถนาสุดขั้ว สังคมยูโทเปียที่ปรากฏในงานเขียน นวนิยายหรือ ภาพยนตร์มักแสดงภาพของสถานที่หนึ่งในจินตนาการท่ีเกิดข้ึนในอนาคต ไม่ใช่ภาพในปัจจุบัน ใน ทางกลับกัน สงั คมดสิ โทเปยี (dystopia) แสดงถงึ สงั คมและสถานทท่ี ไี่ มพ่ งึ ประสงคแ์ ละนา่ สะพรงึ กลวั ซึ่งมักเป็นฉากในภาพยนตร์นิยายวิทยาศาสตร์ (sci-fi) ท่ีอาจเป็นสถานท่ีหน่ึงบนโลกใบนี้ในอนาคต หรอื ในดวงดาวอ่ืน ทมี่ นุษย์ไปต้ังอาณานิคมใหม่ในอนาคต ท้ังนี้ ไม่ว่าจะเป็นสถานท่ีแบบไหนและเม่อื ไหร่กต็ าม ภาพยูโทเปียและดสิ โทเปยี ล้วนแลว้ แตส่ อ่ื ถงึ สถานที่และเวลาทไี่ มใ่ ช่ทนี่ ่แี ละไมใ่ ช่ปัจจบุ ัน11

อนาคตศึกษา | 14 ค�ำว่ายูโทเปียใช้เป็นคร้ังแรกในนวนิยายเชิงปรัชญาการเมืองชื่อเดียวกันของโทมัส มอร์ (Thomas More) ซ่ึงเป็นเรอ่ื งราวเก่ยี วกบั ผู้คนบนเกาะสมมติในสงั คมทม่ี ีความสมบูรณใ์ นทกุ ด้าน แต่ แนวคดิ สงั คมในอดุ มคตสิ ามารถยอ้ นกลบั ไปไดถ้ งึ หนงั สอื ชอ่ื รพี บั บลกิ (Republic) ของเพลโต (Plato) ซง่ึ ไดเ้ สนอแนวคดิ ตน้ แบบสงั คมอุดมคติในด้านการเมอื งการปกครองและองคป์ ระกอบอื่น ๆ ของการ ด�ำรงชีวิตที่ดี แนวคิดสังคมอุดมคติในยุคกรีกโบราณสื่อถึงสถานท่ีอ่ืนท่ีดีกว่าท่ีเป็นอยู่ และสื่อว่าถ้ามี การปรับเปลี่ยนสังคมท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบัน ก็จะท�ำให้สังคมในอนาคตเข้าใกล้สภาวะอุดมคติได้มากข้ึน ในทางกลบั กนั สงั คมดสิ โทเปยี คอื สงั คมทอี่ ยภู่ ายใตค้ วามไมส่ งบและความหวาดกลวั และมกั ถกู รกุ ราน โดยสตั วร์ า้ ยและมังกร ภแาผพนปภราะพกทอี่ บ1หนงั สอื Utopia ของโทมัส มอรใ์ นปี 1516 ที่มา: Biblioteca nacional de Portugal ต่่อมาในคริิสต์์ศตวรรษที่่� 18 แนวคิิดสัังคมยููโทเปีียที่่�ปรากฏในงานเขีียนตะวัันตกได้้เปลี่�่ยนจาก ภาพของสถานที่อ�่ื่�นที่ด�่ ีีกว่า่ ในเวลาเดีียวกััน เป็น็ สถานที่�เ่ ดีียวกันั ในอนาคตที่่�ดีีกว่่า คือื เป็็นภาพอนาคต ในอุดุ มคติิ ภาพสังั คมอุดุ มคติใิ นหลายกรณีีได้ก้ ลายเป็น็ อุดุ มการณ์ท์ างการเมือื งและการปกครองที่เ่� ป็น็ พื้�นฐานแนวคิดิ ของรัฐั บาลเผด็จ็ การแบบเบ็ด็ เสร็จ็ (totalitarianism) ที่ม�่ ีีจุดุ มุ่�งหมายปรับั เปลี่ย่� นสังั คม ด้ว้ ยการชี้้�นำ�ำ หรือื บังั คับั สังั คมไปสู่่�สภาพสมบูรู ณ์แ์ บบตามที่ไ�่ ด้ก้ ำ�ำ หนดไว้ใ้ นภาพยูโู ทเปียี นั้�น ตัวั อย่า่ งที่ม�่ ักั เป็น็ ที่อ่� ้า้ งอิงิ ถึงึ ในกรณีีนี้้�คือื สังั คมคอมมิวิ นิสิ ต์ใ์ นสหภาพโซเวีียตและสาธารณรัฐั ประชาชนจีีนในยุคุ หนึ่่ง� ที่�่รััฐบาลได้้จัดั ระเบีียบสัังคมตามกรอบคิดิ ที่ช�่ ััดเจนและอย่่างเข้ม้ งวด ภาพสงั คมอดุ มคตใิ นบางครงั้ เปน็ ภาพอนาคตทด่ี กี วา่ อดตี และปจั จบุ นั โดยเปน็ ภาพของอารยธรรม ทีพ่ ฒั นาไปขา้ งหนา้ (progress) และกา้ วพ้นความดงั้ เดมิ และลา้ หลงั ของสังคมในอดีต ในทางกลบั กัน ภาพอดุ มคตใิ นบางกรณกี ลบั เปน็ ภาพของอดตี ทด่ี กี วา่ ปจั จบุ นั และอนาคตทนี่ า่ จะแยล่ ง เปน็ เหมอื นการ ถวลิ หาภาพทดี่ ใี นอดตี ซงึ่ พบเหน็ บอ่ ยครงั้ ในละครทวี แี นวโรแมนตกิ ยอ้ นยคุ แมก้ ระทัง่ แนวคดิ ทางเลอื ก อนาคต (alternative futures) ซึง่ เปน็ พืน้ ฐานของอนาคตศกึ ษาในปัจจุบนั กม็ อี งคป์ ระกอบสว่ นหน่ึง

15 | อนาคตศกึ ษา เปน็ อนาคตทีพ่ ึงประสงค์ (preferable futures) แนวคดิ น้อี าจมีพนื้ ฐานแนวคดิ ไปในแนวเดียวกนั กับ กลุ่มยูโทเปีย แต่ข้อแตกต่างคือการยอมรับในความจริงว่า ส่งิ ต่าง ๆ หลายอย่างในสังคมมีท้ังส่วนได้ และส่วนเสีย (trade-offs) ทสี่ งั คมตอ้ งตดั สินใจเลือก กลมุ่ แนวคดิ เชงิ ประวัตศิ าสตรน์ ยิ ม ประวัติศาสตร์นิยม (historicism) เป็นแนวคิดและวิธีการท่ีเน้นความสนใจและให้ความส�ำคัญ กับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในช่วงเวลาอดีตช่วงหน่ึง เฉพาะในพื้นที่ใดพ้ืนท่ีหน่ึง หรือเฉพาะในสังคมและ วฒั นธรรมกลมุ่ ใดกลมุ่ หนึง่ ดว้ ยความเชือ่ ทวี่ า่ แตล่ ะสงั คมวฒั นธรรมและแตล่ ะพน้ื ทม่ี คี วามแตกตา่ งกนั มีวิวัฒนาการและความเป็นมาที่ไม่เหมือนกัน การวิเคราะห์แนวนี้เน้นการตีความข้อมูลอย่างละเอียด และระมัดระวัง โดยไม่แยกส่วนออกจากบริบทและเง่ือนไขที่ท�ำให้เกิดเหตุการณ์ท่ีสนใจ แนวคิด ประวตั ศิ าสตรน์ ยิ มจะเปดิ กวา้ งกวา่ แนวคดิ แบบคตนิ ยิ มลดทอน (reductionism) ทพ่ี ยายามยอ่ สว่ นและ ลดทอนความซบั ซอ้ นของปรากฏการณล์ ง และสรา้ งความเปน็ สากล (universality) ของความรทู้ ไ่ี ดม้ า อยา่ งไรกต็ าม มีข้อวพิ ากษว์ ่า แนวคดิ ประวัติศาสตรน์ ิยมมลี ักษณะตายตวั (deterministic) มาก เกนิ ไป ตามที่คารล์ พอปเปอร์ (Karl Popper) ได้วิเคราะห์ไว้ว่า ประวตั ศิ าสตรน์ ิยมเปน็ แนวทางการ ศกึ ษาดา้ นสงั คมศาสตรท์ ม่ี วี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั อยทู่ กี่ ารคาดการณเ์ ชงิ ประวตั ศิ าสตร์ (historical predic- tion) ซง่ึ มขี อ้ สมมตวิ า่ การวเิ คราะหเ์ พอ่ื หาจงั หวะ (rhythms) หรอื รปู แบบ (patterns) และกฎ (laws) หรือแนวโน้ม (trends) จะท�ำให้สามารถเข้าใจถึงวิวฒั นาการหรือการเปลีย่ นแปลงของประวตั ศิ าสตร์ ได1้ 2 กล่าวคือ ประวัติศาสตร์ก�ำหนดโดยเง่อื นไขเฉพาะ และการเปลยี่ นแปลงเชิงประวตั ิศาสตร์เปน็ ไปตามกฎพื้นฐานบางอย่าง นักคิดชาวตะวันตกกลุ่มหน่งึ ในอดีตจึงได้คาดการณ์การเปล่ียนแปลงของ อนาคตตามกฎเกณฑแ์ ละแนวโน้มตามทไ่ี ดว้ ิเคราะหส์ ง่ิ ทเี่ กดิ มาก่อนหนา้ นน้ั ในประวัตศิ าสตร์ ตวั อยา่ งเชน่ มาร์กี เดอ กองดอร์เซท์ (Marquis de Condorcet) นักปรัชญาและคณิตศาสตร์คน ส�ำคัญในขบวนการเรอื งปัญญา (Enlightenment) ของฝร่ังเศส ไดเ้ สนอกฎวา่ ด้วยการพัฒนาความคิด ของมนษุ ยต์ ามหลกั เหตผุ ล (Esquisse d'un tableau historique des progrès de l'esprit humain หรือ Sketch for a Historical Picture of the Progress of the Human Mind) กองดอรเ์ ซทเ์ ชื่อ ว่า การพัฒนาความรู้ในด้านวิทยาศาสตร์กายภาพและสังคมศาสตร์จะน�ำไปสู่อนาคตท่ีเป็นธรรมมาก ขนึ้ โดยที่ปจั เจกชนมเี สรภี าพ มคี วามมง่ั คง่ั ทางวตั ถุ และมคี วามเมตตากรณุ าทางศีลธรรมมากขนึ้ ทา้ ย ทสี่ ดุ จะน�ำไปสูส่ ังคมท่ีลดความเหลอ่ื มล�้ำและเป็นธรรมมากข้ึน สว่ นนกั ปรัชญาชาวฝร่ังเศสอีกคนหน่งึ ในยคุ ต่อมา คอื ออกุส กงต์ (Auguste Comte) ไดเ้ สนอแนวคิดเกย่ี วกับวิวฒั นาการความรขู้ องมนษุ ย์ เรียกว่า กฎแหง่ ขั้นสามขั้น (The Law of Three Stages) ตามหลกั การพัฒนาจติ ของมนษุ ย์ โดยมี สาระหลกั คอื การพฒั นาความรแู้ บง่ เปน็ 3 ขนั้ ขน้ั แรกเปน็ ขนั้ เทววทิ ยาหรอื ขน้ั ศาสนา (Theological/ religious) ขัน้ ทส่ี องเป็นข้นั ปรชั ญาหรอื ข้ันแห่งเหตผุ ล (Metaphysical/reason) และท้ายสดุ เปน็ ขน้ั วิทยาศาสตร์ (Positive/scientific) ตามความคิดนี้ มนุษย์มีศักยภาพที่จะพัฒนาความคิดไปทีละข้ัน จนถึงระดบั วทิ ยาศาสตร์ได้ในทีส่ ุด สว่ นคาร์ล มากซ์ (Karl Marx) ได้วิเคราะห์โครงสร้างและปัจจัย การเปล่ียนแปลงด้านเศรษฐกิจสังคมที่เป็นไปในอดีต แล้วน�ำกฎเกณฑ์ท่ีวิเคราะห์ได้มาคาดการณ์ ของสังคมมนุษย์ไว้อย่างชัดเจนว่า ระบอบทุนนิยมจะล่มสลายไป แล้วทดแทนด้วยระบอบสังคมนิยม

อนาคตศกึ ษา | 16 จะเหน็ ไดว้ า่ ตามแนวคดิ ของทง้ั ของกองดอรเ์ ซท์ กงตแ์ ละมากซ์ การเปลย่ี นแปลงในประวตั ศิ าสตรจ์ าก อดตี จนถงึ ปจั จบุ ันและไปสู่อนาคตก�ำหนดโดยกฎเกณฑ์บางอยา่ งที่ตายตัว นอกจากนักคิดในอดีตเหล่าน้ี ยังมีนักอนาคตศึกษาในยุคหลังท่ีมีแนวความคิดไปในทิศทาง ประวตั ศิ าสตรน์ ยิ ม อาทิ ในหนงั สอื The Year 2000: A Framework for Speculation on the Next Thirty-Three Years เฮอร์มัน คาน (Herman Kahn) และแอนโทนี วีนเนอร์ (Anthony Wiener) ไดว้ เิ คราะหเ์ หตกุ ารณแ์ ละปจั จยั การเปลยี่ นแปลงในประวตั ศิ าสตร์ เพอื่ หากฎเกณฑข์ องการเปลย่ี นแปลง ทสี่ ามารถน�ำมาใชใ้ นการคาดการณ์ แลว้ น�ำเสนอฉากทศั น์ (scenarios) ของภาพอนาคตทเี่ ชอ่ื วา่ เกดิ ขนึ้ ได1้ 3 แนวคดิ ประวตั ศิ าสตรน์ ยิ มทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การศกึ ษาอนาคตกลมุ่ นใี้ นขอ้ สมมตทิ วี่ า่ เกณฑห์ รอื ปจั จยั บางอยา่ งเปน็ ตวั ก�ำหนดเหตกุ ารณท์ ี่จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต งานอนาคตศกึ ษาทคี่ าดการณด์ า้ นเศรษฐกจิ และ เทคโนโลยมี กั มแี นวโนม้ ไปในทศิ ทางน้ี โดยมงุ่ ไปทแี่ นวโนม้ การเปลยี่ นแปลงทต่ี ายตวั และเนน้ การวเิ คราะห์ ล�ำดบั การพฒั นาทางเศรษฐกจิ และเทคโนโลยี กลมุ่ นิยายวิทยาศาสตร์ ส่ิงตีพิมพ์และผลผลิตส�ำคัญอีกกลุ่มหน่งึ ที่แสดงถึงจินตนาการของมนุษย์เก่ียวกับภาพอนาคตคือ นิยายวิทยาศาสตร์ ซึ่งขยายขอบเขตจินตนาการของมนุษย์ไปกว้างกว่าท่ีพบเห็นอยู่จริงในช่วงเวลา น้ัน ทั้งนี้วงการศึกษาอนาคตได้รับอานิสงส์อย่างมากจากเรื่องราวในนิยายวิทยาศาสตร์ การพัฒนา เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมจ�ำนวนมากปรากฏในนยิ ายวทิ ยาศาสตรก์ อ่ นมกี ารคน้ คดิ และผลติ ขนึ้ จรงิ เสยี อีก นิยายวิทยาศาสตร์ที่เราอ่านหรือที่กลายเป็นภาพยนตร์ท่ีรับชมกัน จึงถือเป็นส่วนหน่ึงของความ พยายามของมนุษย์ในการศกึ ษาและจติ นาการเกย่ี วกับอนาคตทอี่ าจเกดิ ขึ้นได้ นยิ ายวทิ ยาศาสตรม์ รี ากฐานยอ้ นกลบั ไปถงึ ความกา้ วหนา้ ดา้ นความรทู้ างวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี ในยคุ เรอื งปญั ญา ในยุโรปในช่วงศตวรรษที่ 16 องค์ประกอบส�ำคัญของยคุ เรืองปญั ญาคอื การค้นพบ ทางวทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ สรา้ งความรทู้ ก่ี ลายเปน็ พนื้ ฐานของการเปลย่ี นแปลงดา้ นเทคโนโลยี เศรษฐกจิ และ สังคมในยุคตอ่ มา ในช่วงเดียวกันน้ี วรรณกรรมแนวใหม่ได้แพร่หลายมากขน้ึ ตวั อย่างส�ำคญั ทีม่ ีเน้อื หา เกยี่ วกบั อนาคตคอื นวนยิ ายเชงิ ปรชั ญาการเมอื งชอ่ื ยโู ทเปยี (Utopia) ของโทมสั มอร์ (Thomas More) ทก่ี ล่าวถึงไปก่อนหน้านี้ ต่อมาในช่วงปลายศวรรษท่ี 19 นักเขียนหลายคนได้สร้างรากฐานวรรณกรรมที่เน้นเรื่อง วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยที ก่ี ลายเปน็ นยิ ายวทิ ยาศาสตรม์ าจนถงึ ปจั จบุ นั หนงึ่ ในนน้ั คอื ฌลู กาเบรยี ล แวรน์ (Jules Gabriel Verne) หรือทรี่ ู้จักกนั ว่า จลู ส์ เวิรน์ เป็นนกั เขยี นชาวฝร่งั เศสผบู้ กุ เบิกการเขียนนิยาย วทิ ยาศาสตรท์ ม่ี ชี อื่ เสยี งจากการเขยี นเรอ่ื งราวการผจญภยั ในอวกาศ ใตน้ ำ้� และการเดนิ ทางตา่ ง ๆ กอ่ น การประดษิ ฐเ์ รอื ด�ำนำ้� หรอื อากาศยานขน้ึ จรงิ เปน็ เวลานาน บทประพนั ธส์ �ำคญั ทแ่ี ปลเปน็ ภาษาองั กฤษ ไดแ้ ก่ Around the World in Eighty Days, Five Weeks In a Balloon และ 20,000 Leagues Under the Sea งานประพันธ์ของแวร์นในยุคท้าย ๆ สะท้อนผลกระทบด้านลบของเทคโนโลยี รวม ถึงการน�ำเทคโนโลยีไปใช้อย่างผิดทาง เช่น The Clipper of the Clouds, The Master of the World นักเขียนอีกคนหนึ่งท่ีได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งนิยายวิทยาศาสตร์โลกร่วมกับแวร์นคือ เอช. จี. เวลส์ (Herbert George Wells) นักเขียนชาวอังกฤษท่ีได้ประพันธ์นิยายวิทยาศาสตร์

17 | อนาคตศกึ ษา ร่นุ บกุ เบิกที่ส�ำคญั อาทิ The Time Machine (ค.ศ. 1895) The Invisible Man (ค.ศ. 1897) The War of the Worlds (ค.ศ. 1898) The Outline of History (ค.ศ. 1920) และ The Shapes of Things to Come (ค.ศ. 1933) นิยายวิทยาศาสตร์เหล่านี้ไม่ได้เป็นเพียงแค่เร่ืองราวที่ผู้เขียนจินตนาการข้ึนมา แต่มักให้แนวคิด เก่ียวกับทางเลือกของอนาคตที่อาจเกิดข้ึนได้ เน้ือหาของนิยายวิทยาศาสตร์จ�ำนวนหน่งึ เป็นเร่ืองเชิง บวก ซ่ึงพรรณนาภาพอุดมคติของสังคมในอนาคตที่มนุษย์สร้างขึ้นจากการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นิยายบางเร่ืองได้คาดการณ์ส่ิงประดิษฐ์และนวัตกรรมที่จะเกิดข้ึนในอนาคต แต่นิยาย วิทยาศาสตร์จ�ำนวนมากมีเนื้อหาไปในทางลบ โดยแสดงถึงผลกระทบและผลร้ายของการพัฒนา ด้านเทคโนโลยี ภาพยนตร์ฮอลลีวูดจ�ำนวนมากเป็นเร่ืองอนาคตที่อาจเกิดข้ึนได้จากการพัฒนาด้าน วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี นยิ ายวทิ ยาศาสตร์จงึ นับเป็นวิธกี ารหนง่ึ ของการศกึ ษาอนาคตท่เี ปดิ โอกาสให้ มนุษยส์ ร้างจินตนาการทั้งในด้านบวกและด้านลบของการพฒั นาเทคโนโลยีและนวตั กรรม จินตนาการเกี่ยวกับอนาคตปรากฏอยู่ไม่เพียงเฉพาะในนิยายวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มีอยู่ในส่ือ รปู แบบอน่ื เชน่ กัน อาทิ ชุดโปสการ์ด En L'An 2000 ที่วาดโดยฌอ็ งมารก์ โกเต (Jean-Marc Côté) และศลิ ปนิ ชาวฝรง่ั เศสคนอื่น ๆ ในช่วงปี 1899-1910 แสดงภาพอนาคตของฝร่ังเศสในปี 2000 ซ่ึงมี ท้ังบุรุษไปรษณีย์บินส่งจดหมายในพื้นที่ชนบท เด็กนักเรียนฟังการสอนจากเครื่องปั่นหนังสือออกมา เปน็ เสยี ง หนุ่ ยนตน์ กั ดนตรอี อรเ์ คสตรา และสถาปนกิ ควบคมุ หนุ่ ยนตก์ อ่ สรา้ งอาคาร ภาพเหลา่ นแ้ี สดง ใหเ้ ห็นว่า แม้ว่าจินตนาการหลายอย่างไมไดเ้ กิดข้นึ จริงตามทีค่ าดคดิ ไว้ แตห่ ลายอย่างกก็ ลายเป็นจรงิ หรอื ใกล้ความเป็นจริงข้ึนมาได้ นักอนาคตศึกษาในปัจจุบันจึงให้ความส�ำคัญกับกระบวนการ จินตนาการมาก เพราะเชอ่ื ว่าเป็นพื้นฐานเกยี่ วกบั การสรา้ งความร้เู กยี่ วกับอนาคต ภแาผพนจภาากพโทป่ี ส2การด์ ชุด En L'An 2000 ทมี่ า: The Public Domain Review (publicdomainreview.org)

อนาคตศึกษา | 18 กลุ่มแนวคดิ เชิงระบบ แนวคิดหลักท่ีเป็นพื้นฐานของอนาคตศึกษายุคใหม่ที่กลายมาเป็นแนวคิดหลักของอนาคต ศึกษาจนถึงปัจจุบันคือแนวคิดเชิงระบบ (systems thinking) แนวคิดเชิงระบบมีคุณลักษณะ หลักคือการค�ำนึงถึงความสัมพันธ์ระหวา่ งส่วนประกอบ (part) กบั องคร์ วม (whole) และการเปล่ยี น จากกรอบความคดิ เชิงโครงสรา้ ง (structure) เป็นกรอบความคดิ เชงิ กระบวนการ (process) แนวคดิ เชงิ ระบบที่เปน็ พนื้ ฐานของอนาคตศึกษาสมยั ใหมเ่ กดิ ข้นึ ในวงการวชิ าการในสหรฐั อเมริกาในชว่ งก่อน สงครามโลกคร้ังที่ 1 โดยรับอิทธิพลโดยตรงจากทฤษฎีวิทยาศาสตร์แนวปฏิฐานนิยมและวิธีการวิจัย แบบประจกั ษน์ ิยม ซึ่งลว้ นแล้วแต่มีพนื้ ฐานของโลกทัศน์แบบฟสิ ิกสข์ องนิวตนั แนวคดิ ดงั กล่าวเช่ือว่า ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งรวมทั้งธรรมชาติของมนุษยส์ ามารถยอ่ ส่วนลงมาเป็นกลไก ได้ จงึ สามารถท�ำนายและพยากรณไ์ ดว้ า่ สง่ิ เหลา่ นนั้ จะเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งไรในอนาคต แนวคดิ นเี้ ช่ือ ในความจริงที่เป็นหนึ่งเดียวและเป็นสากล จึงเป็นรากฐานของความคิดที่ว่า อนาคตท่ีท�ำนายได้มีอยู่ หนึ่งเดียว (one predictable future) และสามารถทดลองและพิสูจน์ได้ด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์14 ด้วยอิทธิพลของแนวคิดปฏิฐานนิยมและประจักษ์นิยม ซ่ึงเป็นกระบวนทัศน์หลักในวงการวิชาการ ในยุคต้นศตวรรษที่ 20 นกั อนาคตศึกษาในยุคนน้ั จึงเนน้ การท�ำนายอนาคตทเ่ี ป็นหนง่ึ เดียว ดว้ ยวธิ คี ดิ และวิธกี ารท่มี งุ่ พฒั นาให้การศึกษาอนาคตเปน็ วิทยาศาสตร์ แนวคิดอนาคตศึกษาแบบการท�ำนายอนาคตเกิดขึ้นในห้วงเวลาท่ีระบบเศรษฐกิจสังคม ในประเทศตะวันตกพัฒนาไปอย่างรวดเร็วตามแรงผลักดันของความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ในช่วงเวลาดังกล่าว ระบบเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงวิถี ชีวิตและความเป็นอยู่ของผู้คนท่ัวไปปรับเปลี่ยนไปตามกระแสเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการ ผลิตแบบใหม่ ทั้งในด้านวิธีการผลิตในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการบริการ รวมท้ังใน ด้านการบริโภค การด�ำรงชีวิตประจ�ำวันในครัวเรือน การแพทย์และสาธารณสุข ไปจนถึงด้านการ พักผ่อน นันทนาการและประเพณีวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม ปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้ศาสตร์ด้านการ ศึกษาอนาคตได้รับความสนใจและมีการลงทุนพัฒนาแนวคิดและวิธีการอย่างจริงจังในช่วงต่อมา คือการวางแผนเพ่ือการทหาร กล่าวได้ว่า ความจ�ำเป็นด้านการทหารในช่วงสงครามโลกครั้งท่ีสอง เป็นปจั จยั เรง่ ทท่ี �ำใหก้ ารศกึ ษาอนาคตก้าวข้ามแนวคิดอนาคตแบบตายตวั ท่ีมมี าแต่เดิม และมุ่งพฒั นา เข้าหากระบวนทศั น์แบบวทิ ยาศาสตรท์ ี่เนน้ การวิเคราะห์ด้วยข้อมลู การวางแผนยทุ ธศาสตร์ และการ บรหิ ารจัดการสถานการณ์ทีซ่ บั ซอ้ น

19 | อนาคตศึกษา สงคราม การวางแผน และอนาคต อนาคตกับการวางแผนเป็นของคู่กัน เป้าหมายของการวางแผนไม่ได้อยู่ท่ีอดีตหรือปัจจุบัน แต่อยู่ท่ี อนาคต การวางแผนเกดิ ขึ้นมาพรอ้ มกบั สงั คมมนุษย์ กลุ่มชนเผ่าในอดตี มีกจิ กรรมท่ีเรยี กไดว้ า่ เป็นการ วางแผนเพ่ือความอยู่รอด นับตั้งแต่การวางแผนออกไปล่าสัตว์และการวางแผนเพาะปลูก ไปจนถึง การประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ เม่ือสังคมมนุษย์มีวิวัฒนาการ โดยที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจ สังคมและ การเมอื งมคี วามซบั ซอ้ นมากขน้ึ ความจ�ำเปน็ และขอบเขตในการวางแผนของมนษุ ยย์ งิ่ เพมิ่ มากขนึ้ ตาม การสร้างปราสาทและเมืองโบราณดังที่เห็นหลงเหลือในกลุ่มปราสาทนครธมและนครวัด การสร้าง ปิระมิดในอารยธรรมโบราณทั้งอียิปต์และอินคา การสร้างก�ำแพงเมืองจีน โครงการก่อสร้างท่ีย่ิงใหญ่ เหล่านี้ลว้ นส�ำเร็จไดด้ ้วยการวางแผนทั้งสนิ้ กิจกรรมส�ำคัญของสังคมมนุษย์ที่ต้องวางแผนเป็นพิเศษนับตั้งแต่สมัยโบราณคือการท�ำสงคราม เจงกสี ขา่ น สามารถบกุ ยดึ ครองแผน่ ดนิ เกอื บทว่ั เอเชยี และยโุ รปตะวนั ออกได้ กด็ ว้ ยการวางแผนก�ำลงั ในการเคลอ่ื นยา้ ยเสบยี งและล�ำเลยี งพล พระเจา้ บเุ รงนองตอ้ งวางแผนระดมพลและทรพั ยากรมากอ่ น หนา้ การยกทพั เขา้ มาตกี รงุ ศรอี ยธุ ยาจนน�ำมาสกู่ ารเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาครง้ั ทหี่ นงึ่ กลศกึ ในวรรณกรรมสาม กก๊ แสดงถงึ การเตรยี มพรอ้ มและการน�ำเอาทรพั ยากรทกุ อยา่ งทมี่ อี ยนู่ �ำมาใชอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพในการ ท�ำศกึ สงคราม โดยเฉพาะความส�ำคญั ของการวางกลยทุ ธแ์ ละยทุ ธวธิ กี ารสรู้ บ ซงึ่ สามารถท�ำใหเ้ อาชนะ ข้าศึกไดแ้ มอ้ าจมีก�ำลงั ไพร่พลนอ้ ยกว่า นับตัง้ แตต่ น้ ศตวรรษที่ 20 เปน็ ต้นมา กจิ กรรมการวางแผนที่ เป็นระบบและมีข้ันตอนท่ีชัดเจนขยายออกไปจากขอบเขตของการเตรียมพร้อมเพื่อการสงคราม โดย ครอบคลุมถึงการวางแผนเศรษฐกิจและสังคม การวางแผนชีวิตด้านการเงินของแต่ละคน แม้กระทั่ง ในเร่ืองพ้ืนฐานธรรมชาติของมนุษย์เช่นการมีบุตรยังต้องวางแผนครอบครัว แต่กระนั้นก็ตาม การ วางแผนส�ำหรับสงครามยังคงเป็นกิจกรรมที่ต้องระดมความคิดและทรัพยากรทุกด้าน มากกว่าการ วางแผนนโยบายดา้ นอ่ืน เหตกุ ารณส์ �ำคญั ในด้านการเมืองการปกครองและการทหารท่เี กดิ ข้นึ ในยโุ รป สหรัฐอเมริกา และ บางส่วนในเอเชียตะวันออกในช่วงตั้งแต่สงครามโลกครั้งท่ีหน่ึงไปจนถึงสงครามโลกครั้งท่ีสอง ท�ำให้ เกิดความจ�ำเป็นและการผลักดันแนวคิดการรวมศูนย์ของการวางแผนโดยรัฐบาล เพื่อระดมพลและ ทรัพยากรในการเตรียมพร้อมส�ำหรับการท�ำสงคราม ในช่วงนี้เองท่ีเกิดแนวคิดการมองอนาคต

อนาคตศึกษา | 20 อย่างเป็นระบบ โดยขยายขอบเขตจากงานด้านการทหารไปจนถึงการวางแผนด้านเศรษฐกิจและ สังคม ชุดเหตุการณส์ �ำคญั ที่เป็นปจั จัยเรง่ ให้เกิดการเปลี่ยนกระบวนทศั นใ์ นการมองภาพอนาคตและ การวางแผน เริ่มต้ังแต่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำครั้งใหญ่ ตามด้วยการก่อตัว และเข้ากุมอ�ำนาจของระบบคอมมวิ นสิ ตใ์ นสหภาพโซเวยี ต และลทั ธิฟาสซิสตใ์ นอิตาลีและระบบนาซี เยอรมนี จนถงึ การเกิดสงครามโลกคร้งั ทีส่ องและระบบการวางแผนพัฒนาเพอื่ การฟืน้ ฟปู ระเทศหลงั จากสงครามสงครามโลกครัง้ ที่หนึ่ง สงครามโลกครั้งท่ีหน่งึ การวางแผนการท�ำสงครามในยโุ รปและสหรฐั อเมรกิ าไดส้ รา้ งเมลด็ พนั ธส์ุ �ำหรบั การศกึ ษาอนาคต อยา่ งเปน็ ระบบ โดยเรมิ่ ตน้ ในชว่ งสงครามโลกครงั้ ท่ี 1 (ค.ศ.1914-1918) จนเตบิ ใหญก่ ลายเปน็ อนาคต ศึกษามาจนถึงในปัจจุบัน ก่อนหน้านั้น องค์กรหรือกลุ่มคนที่สามารถระดมคนและทรัพยากรจ�ำนวน มากเพ่ือบรรลุเป้าหมายร่วมกันของท้ังประเทศมักเป็นเพียงผู้น�ำด้านการทหารในการเตรียมพร้อม เพื่อท�ำสงคราม แต่การระดมพลและทรัพยากรท้ังประเทศเพื่อสงครามโลกครั้งที่หน่ึง ไม่ได้จ�ำกัดอยู่ เพยี งกองทัพ แตร่ วมไปถงึ ผู้น�ำฝ่ายพลเรอื นทต่ี ้องยกระดับความสามารถด้านการศกึ ษา การผลติ ทาง อุตสาหกรรม และความพร้อมด้านสาธารณสุข เพอ่ื เสริมสร้างศักยภาพเทคโนโลยแี ละความสามารถ ในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ การสื่อสาร การขนส่ง รวมไปถึงการผลิตเสบียงอาหาร การเตรียมตัว รับมือกับสงครามจ�ำเป็นต้องวางแผนอย่างละเอียดและซับซ้อน ท้ังระบบการจัดสรรทรัพยากรวัตถุ และบุคลากรในการผลิต และการกระจายและจัดส่งอาหารและเครือ่ งนงุ่ หม่ การเตรยี มพร้อมส�ำหรบั สงครามโลกคร้ังที่หนึ่งเพิ่มขีดความสามารถด้านองค์กรในการสร้างระบบการคาดการณ์ของหลาย ประเทศในยุคต่อมา15 ภาวะเศรษฐกจิ ตกต�ำ่ ครง้ั ใหญ่ อีกสถานการณ์ส�ำคัญท่ีสร้างฐานความคิดและความจ�ำเป็นในการสร้างระบบการคาดการณ์คือ ภาวะเศรษฐกจิ ตกต�่ำครง้ั ใหญ่ (The Great Depression) ในชว่ ง พ.ศ. 2472-2482 ระหวา่ งสงครามโลก ครง้ั ทห่ี นง่ึ กบั สงครามโลกครง้ั ทส่ี อง ภาวะตกต�่ำของตลาดหนุ้ และเศรษฐกจิ ในภาพรวมสง่ ผลกระทบไป ทวั่ โลก ท�ำใหแ้ นวคดิ และขอ้ เสนอในการจดั การกบั เศรษฐกจิ แนวใหมแ่ พรข่ ยายและเปน็ ทยี่ อมรบั มาก ขน้ึ กอ่ นหนา้ นนั้ เปน็ ทเ่ี ชอื่ กนั วา่ เมอื่ เศรษฐกจิ ตกต�่ำ กลไกตลาดจะสามารถปรบั เขา้ สดู่ ลุ ยภาพไดด้ ว้ ย ตนเอง แตก่ ารทภ่ี าวะเศรษฐกจิ ไดต้ กต�่ำเปน็ เวลานานและไมม่ วี แ่ี วววา่ จะฟน้ื ตวั ขนึ้ เปน็ เหตใุ หแ้ นวคดิ เศรษฐศาสตรแ์ บบเคนส์ (Keynesian economics) ไดร้ ับการตอบรบั มากขน้ึ รฐั บาลหลายประเทศ เล็งเห็นบทบาทในการแทรกแซงในตลาดเพื่อลดผลกระทบจากการว่างงานและเงินเฟ้อ ด้วยวิธีการ ควบคมุ และชน้ี �ำระบบเศรษฐกจิ พรอ้ มกบั การลงทนุ ของรฐั ในโครงการขนาดใหญเ่ พอ่ื กระตนุ้ เศรษฐกจิ ตััวอย่า่ งสำ�ำ คัญั ที่�่สะท้อ้ นแนวคิิดนี้้�คืือนโยบายนิวิ ดีีล (New Deal) ของประธานาธิิบดีีแฟรงกลิิน ดีี โรสเวลต์์ (Franklin D. Roosevelt) รัฐั บาลกลางสหรััฐฯดำำ�เนินิ นโยบายพััฒนาเศรษฐกิจิ ขนาดใหญ่่ เพื่่�อกระตุ้�นเศรษฐกิิจ หนึ่่ง� โครงการตามนโยบายนี้้�คืือโครงการพัฒั นาลุ่�มแม่น่ ้ำำ��เทนเนสซีี(Tennessee Valley) ซึ่ง� เริ่ม� ต้น้ ใน ค.ศ.1933 โดยมีีโครงการย่อ่ ยที่ม�ุ่่�งไปที่ก�่ ารพัฒั นาภูมู ิภิ าคที่ไ่� ด้ร้ ับั ผลกระทบอย่า่ ง มากจากภาวะเศรษฐกิิจตกต่ำำ�� อาทิิ การพััฒนาเขื่�อนและระบบชลประทานที่ใ่� ช้น้ ้ำ�ำ �เพื่่อ� การผลิติ ไฟฟ้า้

21 | อนาคตศึกษา การเกษตร และการป้อ้ งกันั น้ำำ��ท่ว่ ม ไปจนถึงึ การพัฒั นาฐานการผลิติ อุตุ สาหกรรมปุ๋๋ย� และการเกษตรแปรรูปู องค์ก์ ารพัฒั นาลุ่�มแม่น่ ้ำำ��เทนเนสซีี (Tennessee Valley Authority) เป็น็ ตัวั อย่า่ งสำ�ำ คัญั ขององค์ก์ รที่จ่� ัดั ตั้�งขึ้�นเพื่่อ� มุ่�งพัฒั นาเศรษฐกิจิ และสังั คมในระดับั ภูมู ิภิ าค และเป็น็ ต้น้ แบบของการวางแผนภาค (regional planning) ในยุคุ ต่อ่ มา นโยบายและโครงการท่ีมุ่งแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจตกต�่ำคร้ังใหญ่นี้ท�ำให้เกิดแนวคิดและข้ันตอนที่ ต่อมากลายเป็นพื้นฐานของการศึกษาและวางแผนเพ่อื อนาคตท่ียังคงใช้อยู่ท่วั ไปในปัจจุบัน ล�ำดับขั้น ตอนของการวางแผนตามแนวทางดังกล่าวมีดังน้ี 1. การวิเคราะห์และตีความจากหลักฐานเชิงปริมาณและคุณภาพเพื่อเข้าใจเกี่ยวกับแนว โนม้ จากอดตี จนถงึ ปจั จุบัน 2. การคาดคะเนการเปล่ียนแปลงที่จะเกิดข้ึนในอนาคตถา้ ไม่ด�ำเนนิ การใด ๆ 3. การสรา้ งทางเลอื กของแนวทางด�ำเนินการและผลลพั ธท์ ่ีอาจเกิดขึน้ ในแตล่ ะทางเลือก 4. การประเมินว่าทางเลือกของภาพอนาคตไหนพงึ ประสงคท์ ี่สุด 5. การก�ำหนดนโยบายและโครงการเพอ่ื ด�ำเนินการใหบ้ รรลุภาพอนาคตทพี่ งึ ประสงค์ จะเหน็ ไดว้ า่ ขนั้ ตอนทงั้ หา้ นเ้ี ปน็ พน้ื ฐานของกระบวนการวางแผนทยี่ งั คงใชอ้ ยทู่ ว่ั ไปในการวางแผน พัฒนาในปัจจุบัน ไม่ว่าจะในระดับองค์กร เมืองหรือประเทศ และเป็นแบบยึดหลักการเหตุผลและ ครอบคลุม (rational-comprehensive planning model) ซึ่งเป็นแนวคิดกระแสหลักของวงการ วางแผนนโยบายมาเป็นเวลานาน ระบอบคอมมวิ นิสตข์ องโซเวยี ต อกี แนวคดิ หนง่ึ ที่ปพู น้ื ฐานแนวคดิ การศกึ ษาอนาคตอยา่ งเปน็ ระบบเพอ่ื การวางแผนพฒั นาประเทศ คอื แนวคดิ ระบอบคอมมวิ นสิ ต์ ซงึ่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลอยา่ งมากจากงานเขยี นเรอื่ ง “ทนุ ” (Das Kapital) ของ คารล์ มากซ์ (Karl Marx) งาน “แถลงการณพ์ รรคคอมมวิ นสิ ต”์ (The Communist Manifesto) ของ คาร์ล มากซ์ และฟรีดรชิ เองเงลิ ส์ (Friedrich Engels) และ “จักรวรรดนิ ิยม: ขั้นสูงสดุ ของทนุ นยิ ม” (Imperialism, the Highest Stage of Capitalism) ของวลาดมี ีร์ เลนนิ (Vlademir Lenin) การ ปฏวิ ตั ลิ ม้ ลา้ งระบบกษตั รยิ ข์ องรสั เซยี หรอื ทเี่ รยี กวา่ การปฏวิ ตั บิ อลเชวคิ (Bolshevik) น�ำไปสรู่ ะบบการ ปกครองและการบรหิ ารเศรษฐกจิ สงั คมแบบใหม่ ซง่ึ ยดึ หลกั การปกครองโดยชนชนั้ กรรมาชพี (prole- tariat) การยกเลิกทรพั ยส์ นิ สว่ นตวั ของเอกชนและการควบคมุ วิธกี ารผลติ โดยรัฐ การวางวสิ ยั ทศั นใ์ นการวางแผนพฒั นาประเทศกลายเปน็ องคป์ ระกอบส�ำคญั ของนโยบายรฐั หลงั จากทพี่ รรคบอลเชวคิ เขา้ ยดึ ครองอ�ำนาจ เมอ่ื รฐั บาลไดย้ ดึ ทดี่ นิ และบรษิ ทั ของเอกชนใหเ้ ปน็ ของรฐั เกอื บ ทงั้ หมดแลว้ จงึ กอ่ ตง้ั องคก์ รของรฐั ทม่ี งุ่ เนน้ การวางแผนเพอื่ พฒั นาดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานและเศรษฐกจิ ได้แก่ องคก์ ร GOELRO หรอื องค์การไฟฟ้าของรัฐบาล (State Commission for Electrification of Russia) และองคก์ ารวางแผนของรฐั บาล Gosplan16 ภายใต้การท�ำงานขององค์กร Gosplan นเ้ี องท่ี มีการวางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ 5 ปี ส�ำหรับช่วง พ.ศ. 2471-2476 นับเปน็ จุดเริม่ ตน้ ของแนวคิดการ วางแผน 5 ปีท่ีได้รับความนิยมแพร่หลายจนเป็นแนวทางการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาตขิ องสหภาพโซเวยี ตและหลายประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย

อนาคตศึกษา | 22 การวางแผนพัฒนาระดับประเทศในยุคแรกเป็นไปในลักษณะแบบลองผิดลองถูก เนื่องจากไม่มี สังคมหรือรัฐบาลไหนเคยท�ำมาก่อน จึงไม่มีตัวอย่างให้ลอกเลียนแบบได้ ส�ำหรับรัฐบาลคอมมิวนิสต์ ในช่วงนน้ั การวางแผนถอื เป็นการทดลองทมี่ คี วามซับซ้อน17 แตเ่ มอื่ เวลาผ่านไป ได้พฒั นาปรับเปล่ยี น แนวคิดจากที่แต่เดิมการวางแผนเป็นกิจกรรมที่จ�ำเป็นต้องท�ำเพ่ือจัดการกับปัญหาเฉพาะหน้า กลาย เป็นการวางแผนเพื่อก�ำหนดเป้าหมายของอนาคตท่ีไกลกว่าสิ่งท่ีเห็นอยู่ในปัจจุบัน พร้อมกับก�ำหนด วธิ กี ารในการบรรลุเปา้ หมายนัน้ แนวคดิ ดงั กลา่ วขยายขอบเขตจนครอบคลุมทัง้ ภาพอนาคตระยะยาว (10 ปีขน้ึ ไป) ระยะกลาง (5-10 ปี) ระยะส้ัน (1-5 ปี) และแผนด�ำเนินการ (1 ปี หรอื ทกุ ไตรมาส)18 แนวคิิดหลัักในการวางแผนของกลุ่�มบอลเชวิิคถืือว่่าจุุดเปลี่่�ยนที่่�สำ�ำ คััญในเชิิงประวััติิศาสตร์์การ วางแผน ตรงที่�่การมองว่่า ภาพอนาคตไม่่จำ�ำ เป็็นต้้องเป็น็ ไปตามแนวโน้้มที่�่ผ่า่ นมาเสมอไป การกระทำ�ำ ในปััจจุบุ ัันสามารถทำำ�ให้ภ้ าพอนาคตตััดขาดจากภาพอดีีตและปััจจุบุ ันั ที่่�ไม่พ่ ึงึ ประสงค์ไ์ ด้้ ทั้�งนี้� ตามข้อ้ เสนอของเลนิิน การปฏิิวััติิไม่่จำำ�เป็็นต้้องรอให้้ระบบเศรษฐกิิจและสัังคมของสัังคมนั้�นพััฒนาจนถึึงขั้�น ระบบทุนุ นิยิ มสุกุ งอมแบบเยอรมนีีตามที่ม่� ากซ์เ์ สนอไว้้ แต่ส่ ามารถดำ�ำ เนินิ การได้เ้ ลยโดยชนชั้�นแรงงานที่่� สามารถรวมตััวและก่อ่ การปฏิวิ ัตั ิิ แนวคิิดดัังกล่่าวสะท้้อนอยู่�ในแผนพัฒั นาเศรษฐกิิจ 5 ปีีฉบับั แรก ซึ่�ง กรอบแนวคิดิ ของการวางแผนไม่ไ่ ด้ย้ ึดึ กับั การยืดื แนวโน้ม้ จากอดีีตที่ว�่ ิเิ คราะห์จ์ ากข้อ้ มูลู ในอดีีตต่อ่ ออก ไปเป็น็ ภาพอนาคต ที่เ�่ รีียกว่า่ genetical planning แต่ใ่ ห้ค้ วามสำ�ำ คัญั กับั การวางแผนแบบ teleological planning ซึ่ง� เน้น้ การกำ�ำ หนดเป้า้ หมายยิ่ง� ใหญ่ท่ ี่ส�่ ังั คมต้อ้ งการเข้า้ ไปให้ถ้ ึงึ แ ล้ว้ ให้ก้ ารวางแผนมีีบทบาท ในการกำ�ำ หนดวิธิ ีีการบรรลุเุ ป้า้ หมายนั้�น19 ความเชื่อ� หลักั ในส่ว่ นนี้้�คือื อดีีตไม่ไ่ ด้เ้ ป็น็ ตัวั ชี้้�นำ�ำ อนาคต และ สังั คมสามารถก้้าวข้า้ มอดีีตได้้ด้้วยการตัดั สินิ ใจและการดำ�ำ เนินิ การที่ม่�ุ่�งมั่น� โดยเฉพาะอย่า่ งยิ่ง� ความมุ่�ง มั่น� ทางการเมืือง จะเห็น็ ว่า่ แนวคิดิ นี้้�มีีอิทิ ธิพิ ลต่่อกรอบความคิิดในการวางแผนมาจนถึึงปัจั จุบุ ันั และ มักั ปรากฏในการตั้�งวิสิ ัยั ทััศน์์ในการพััฒนาประเทศและองค์์กรในระดัับต่่าง ๆ ทั่่�วโลก ลัทธฟิ าสซิสต์ในอติ าลีและระบบนาซีเยอรมนี แนวคิดิ การวางแผนเพื่่อ� อนาคตยิ่ง� ได้ร้ ับั ความสำำ�คัญั ในการปกครองแบบเผด็จ็ การของรัฐั บาลลัทั ธิิ ฟาสซิิสต์์ในอิิตาลีี ซึ่ง� ครอบครองอำำ�นาจอย่า่ งเด็็ดขาดในช่ว่ ง พ.ศ. 2465-2486 และการปกครองของ รััฐบาลนาซีีในเยอรมนีีในช่ว่ ง พ.ศ. 2476-2488 รััฐบาลทั้�งสองดำำ�เนิินนโยบายกุมุ อำ�ำ นาจการบริหิ าร จััดการอย่่างเด็็ดขาด โดยมีีเป้้าหมายในการสร้้างความเป็็นเลิิศของชาติิในด้้านการเศรษฐกิิจและด้้าน การทหาร ไปพร้้อมกัับการรวบอำำ�นาจของหน่่วยงานส่่วนกลางในด้้านการจััดการสัังคมและการเมืือง แม้้ว่่าระบบเศรษฐกิิจในทั้�งสองประเทศยัังคงเป็็นแบบทุุนนิิยม แต่่ไม่่ได้้เป็็นทุุนนิิยมที่�่เป็็นไปตามกลไก ตลาด แต่่ขึ้�นอยู่่�กัับการควบคุุมและจััดการโดยรััฐบาลกลาง เครื่�องมืือสำำ�คััญของการวางแผนระบบ เศรษฐกิิจคืือแผนพััฒนาเศรษฐกิิจแบบครอบคลุุม (comprehensive planning) ซึ่�งกำำ�หนดนโยบาย และกลไกในการพััฒนาเศรษฐกิิจในแทบทุุกด้้านของระบบเศรษฐกิิจและสัังคม แผนพััฒนาเศรษฐกิิจ 4 ปีี ของรััฐบาลนาซีีฉบัับแรกดำ�ำ เนินิ การใช้ค้ รั้�งแรกใน พ.ศ. 2476 และฉบับั ที่�ส่ องใน พ.ศ. 247920 สงครามโลกครั้งทส่ี อง การวางแผนพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมในยุโรป สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออกใน ทศวรรษที่ 1930 ไม่ได้มุ่งไปท่ีการผลิตด้านการเกษตร แต่ให้ความส�ำคัญอย่างมากกับการผลิตทาง อุตสาหกรรมหนัก เบื้องหลังของการปรับเปลี่ยนกรอบเป้าหมายของนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจใน

23 | อนาคตศึกษา ชว่ งดงั กลา่ วคอื แนวคดิ ทเ่ี ชอื่ วา่ การพฒั นาและยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ และอ�ำนาจของประเทศใหย้ งิ่ ใหญ่ ขน้ึ นั้น ตอ้ งเน้นท่อี ตุ สาหกรรมการผลติ อีกเปา้ หมายหนงึ่ ทสี่ �ำคัญมากคอื การเตรยี มพรอ้ มส�ำหรบั การ ท�ำสงครามที่เริ่มคุกรุ่นขึ้นทัว่ ทัง้ ยุโรปและเอเชียตะวันออก การเตรียมพร้อมดังกล่าวสะท้อนให้เห็นในนโยบายการวางแผนประเทศ ไม่เฉพาะในรัฐบาล ฟาสซิสต์อิตาลีและนาซีเยอรมนี แต่รวมไปถึงสหรัฐอเมริกา รัสเซีย และญี่ปุ่น การวางแผนประเทศ ครอบคลุมรายละเอียดทุกด้านของระบบเศรษฐกิจและสังคม ท้ังการจัดสรรพลังงาน วัตถุดิบใน การผลิต อาหาร ยา และเคร่ืองนุ่งหุ่ม ไปจนถึงการจัดการระบบขนส่งและนโยบายด้านการศึกษา การวางแผนเพอ่ื กระตนุ้ เศรษฐกจิ ทต่ี กต�่ำอยา่ งมากมากอ่ นหนา้ นน้ั ถกู แทนทโ่ี ดยการวางแผนเพอ่ื เตรยี ม พรอ้ มส�ำหรบั สงครามครงั้ ใหญท่ คี่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ อกี ไมน่ าน หลงั จากนนั้ เมอื่ เกดิ สงครามโลกครง้ั ทสี่ อง ขน้ึ กรอบแนวคดิ และการวางแผนเพื่ออนาคตจึงก�ำหนดโดยความจ�ำเปน็ เร่งด่วนในการท�ำสงคราม การวางแผนพัฒนาประเทศย่ิงเพ่ิมความส�ำคัญย่ิงเม่ือสงครามโลกครั้งที่สองจบส้ินลง แทบทุก ประเทศที่เข้าร่วมในสงครามต้องวางแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจท่ีตกต�่ำลงอีกคร้ัง หลังจากทุ่มเททรัพยากร ไปในการตอ่ สู้สงคราม นบั ตัง้ แต่การบูรณะและสรา้ งโครงสรา้ งพืน้ ฐานของเมืองขน้ึ มาใหม่ หลงั จากที่ ถูกท�ำลายไปจากการถล่มระเบิด รวมถงึ การฟื้นฟแู ละกอ่ ตง้ั สถาบันทางเศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื ง ข้ึนมาใหม่ ความจ�ำเป็นในการวางแผนเพ่อื อนาคตน้ีไม่ใช่เกิดกับเฉพาะประเทศแพ้สงคราม ทั้งญี่ปุ่น เยอรมนี และอิตาลี แต่ครอบคลมุ ถงึ ประเทศพนั ธมิตรด้วยเช่นกัน ความเสียหายและสญู เสียครั้งใหญ่ จากสงครามโลกครงั้ ทส่ี องท�ำใหต้ อ้ งปรบั เปลยี่ นแนวคดิ และแนวทางในการวางแผนเพอ่ื อนาคตในระดบั ขนาด ขอบเขตและความเรว็ ท่ีอาจไมเ่ คยมีมากอ่ นในประวัตศิ าสตรโ์ ลก21 แนวคิดการวางแผนพัฒนาระดับประเทศเป็นที่ยอมรับมากข้ึนในหลายประเทศในยุโรปในช่วง ระหว่างสงครามโลกครัง้ ทส่ี องเป็นตน้ มา อาทิ อังกฤษ นอรเ์ วย์ เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส22 ส่วนหนง่ึ ด้วยเพราะผู้น�ำของประเทศเหล่าน้ีเรียนรู้จากประสบการณ์ของหลายประเทศในช่วงสงครามแล้วว่า รัฐบาลสามารถควบคมุ และจดั การกับระบบเศรษฐกิจในด้านตา่ ง ๆ ได้ ท้ังดา้ นอุตสาหกรรมการผลิต ดา้ นการแลกเปลยี่ นเงนิ ตรา และดา้ นการก�ำหนดนโยบายและงบประมาณเพอ่ื การลงทนุ ของรฐั บาลไป ในอนาคต องคป์ ระกอบส�ำคญั ของการวางแผนพฒั นาประเทศตามแนวทางนค้ี อื การก�ำหนดเปา้ หมาย และทศิ ทางการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ รวมทงั้ นโยบายและมาตรการที่จะใชเ้ พอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทต่ี ง้ั ไว้ การวางแผนพัฒนาประเทศของฝรั่งเศสเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีท�ำให้วงการวิชาการด้านอนาคตศึกษา ได้ก่อตัวข้ึนอย่างแพร่หลายในฝรั่งเศสในทศวรรษท่ี 1950 หลังจากที่แกสตอง แบร์เจย์ (Gaston Berger) ก่อต้ังศูนย์นานาชาติว่าด้วยการศึกษาอนาคต (Centre International de Prospective) ขน้ึ ใน พ.ศ. 2500 และเรม่ิ ตพี มิ พเ์ ผยแพรว่ ารสารวชิ าการชอ่ื Prospective ในชว่ งเดยี วกนั นกั วชิ าการ ด้านอนาคตศึกษาของฝรั่งเศสหลายคนได้เข้าไปมีบทบาทส�ำคัญในการวางแผนพัฒนาประเทศ โดย รับหน้าท่ีวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและภาพอนาคตด้านเศรษฐกิจสังคมของฝรั่งเศสไปจนถึง พ.ศ. 252823 ตอ่ มา แบรท์ รอ็ ง เดอ จูวีเนล (Bertrand de Jouvenel) ไดก้ ่อตัง้ สมาคมนานาชาติการศกึ ษา อนาคต (Association Internationale de Futuribles) ท่กี รุงปารีสเม่ือ พ.ศ. 2503 และเปน็ แรง ส�ำคัญในการขยายเครอื ข่ายระดับโลกของนกั วิชาการด้านอนาคตศกึ ษา เดอ จวู ีเนลยงั ตีพิมพห์ นังสอื ชอ่ื L'Art de la Conjecture (The Art of Conjection) ซ่ึงถอื เป็นหมุดหมายส�ำคญั ในวิวัฒนาการ

อนาคตศึกษา | 24 ของอนาคตศาสตร์ หนังสือเล่มนี้อธิบายแนวคิดและปรัชญาพ้ืนฐานที่เป็นกรอบของอนาคตศึกษา รวมถึงรูปแบบ วัตถุประสงค์และวิธีการศึกษาอนาคต โดยเช่อื มโยงกับความจ�ำเป็นและกิจกรรมด้าน การวางแผนพัฒนาประเทศทง้ั ในระยะสน้ั และระยะยาว สรุปไดว้ า่ การศกึ ษาอนาคตอย่างเป็นระบบที่เปน็ พน้ื ฐานของอนาคตศกึ ษาในปจั จุบัน มีรากฐาน มาจากการวางแผนพัฒนาประเทศ ซึ่งสามารถย้อนกลับไปถึงการเตรียมพร้อมด้านการทหารและ ด้านอุตสาหกรรมการผลิตเพ่ือท�ำสงคราม รวมไปถึงการวางแผนเพ่ือฟื้นฟูโครงสร้างพ้ืนฐานทาง เศรษฐกิจและสังคมที่เสียหายไปในช่วงสงครามโลกท้ังสองครั้ง แนวคิดการศึกษาอนาคตในช่วงแรก ของววิ ฒั นาการของศาสตรน์ จ้ี งึ แยกไมอ่ อกจากกจิ กรรมดา้ นการวางยทุ ธศาสตรก์ ารทหารและดา้ นการ วางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คมระดบั ประเทศ ทง้ั ในประเทศทนุ นยิ มตะวนั ตกและในประเทศคอมมวิ นสิ ต์ ในยุโรปตะวันออก กิจกรรมพ้ืนฐานของการคาดการณ์ได้กลายเป็นส่วนหน่ึงของการวางแผนพัฒนา ประเทศนับจากน้ันเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งการวิเคราะห์แนวโน้มการเปล่ียนแปลงจากอดีตใน เชงิ ปรมิ าณ การคาดประมาณการเปลย่ี นแปลงในอนาคต การตัง้ เปา้ หมายทีต่ ้องบรรลใุ นอนาคต รวม ถงึ การก�ำหนดนโยบายและมาตรการ การด�ำเนนิ แผนงานและโครงการตามนโยบาย และการประเมิน และปรบั เปลย่ี นเปา้ หมายและนโยบาย อนาคตกับการวางแผนสรา้ งชาติ แนวคดิ การศกึ ษาอนาคตอยา่ งเปน็ ระบบเพอ่ื การวางแผนพฒั นาดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมแพรข่ ยายจาก ประเทศในยโุ รปไปยงั พนื้ ทอ่ี น่ื ของโลกในทศวรรษที่ 1950-1960 ตามกระแสการประกาศเอกราชของ ประเทศท่ีตงั้ ขึน้ ใหมจ่ ากท่แี ตเ่ ดมิ ทเี่ คยอยภู่ ายใตอ้ าณานคิ มของประเทศในยุโรปมากอ่ น ประเทศใหม่ เกิดข้ึนจ�ำนวนมากท่ัวโลก ทัง้ ในเอเชีย เช่น อินเดยี อินโดนเี ซียและมาเลเซีย ในแอฟรกิ า เช่น โมซมั บกิ และเคนยา และหมเู่ กาะในทะเลแครบิ เบยี น เช่น จาเมกาและบาร์เบโดส ในชว่ งระหวา่ งการรณรงค์ เรียกรอ้ งเอกราชและหลงั จากที่ไดร้ ับเอกราชแล้ว ผู้น�ำของประเทศเหล่านี้มีพนั ธกจิ ตอ้ งน�ำสงั คมเขา้ สู่ อนาคตในรปู แบบและสถานการณท์ ไี่ มเ่ คยเกดิ ขนึ้ มากอ่ น ภาพอนาคตทแี่ ตเ่ ดมิ ก�ำหนดไวโ้ ดยกฎระเบยี บ ของเจา้ อาณานคิ มตอ้ งแทนทด่ี ว้ ยภาพอนาคตทเี่ ปน็ ทางเลอื กใหม่ ค�ำถามและประเดน็ ส�ำคญั จ�ำนวนมาก ทต่ี อ้ งหาค�ำตอบ อาทิ โครงสรา้ งสถาบนั ดา้ นการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คมส�ำหรบั อนาคตจะเปน็ อยา่ งไร จะยงั คงใชข้ องเดมิ ทตี่ กทอดหลงเหลอื มาจากชว่ งอาณานคิ ม จะสรา้ งขน้ึ มาใหมห่ มด หรอื จะผสมผสาน ของเก่ากับของใหม่ได้หรือไม่และอย่างไร นอกจากนี้ ยังมีค�ำถามในด้านอัตลักษณ์และสัญลักษณ์ของ ประเทศ เช่น ธงชาตแิ ละเพลงชาติ หรือแมแ้ ตช่ ่อื ของประเทศจะเป็นอยา่ งไร เปน็ ต้น ในประเทศเกดิ ใหมเ่ หลา่ น้ี การประกาศเอกราชจากเจา้ อาณานคิ มเดมิ เสมอื นหนง่ึ เปน็ การประกาศ ว่า อนาคตต่อไปจะไมเ่ หมือนประวตั ิศาสตรท์ ี่ผ่านมา กระน้ันกต็ าม แมว้ ่าประวัติศาสตรแ์ ละความเป็น ตัวตนในสังคมวัฒนธรรมดัง้ เดมิ ที่มมี ากอ่ นในประเทศเหลา่ น้ี อาจใชเ้ ป็นพ้นื ฐานแนวคิดและวาทกรรม ในการสรา้ งชาตไิ ดบ้ า้ งกต็ าม แนวทางการพฒั นาและสรา้ งชาตใิ นภาพรวมทเี่ กดิ ขนึ้ นน้ั กลบั เปน็ ไปตาม แนวคดิ สมยั ใหมแ่ ละการพฒั นาตามตน้ แบบของประเทศตะวนั ตกเสยี เปน็ สว่ นใหญ2่ 4 สาเหตสุ �ำคญั เปน็ เพราะผนู้ �ำการรณรงคป์ ระกาศเอกราชและผนู้ �ำประเทศในชว่ งแรกของการสรา้ งชาตใิ หมน่ นั้ โดยมากได้ รบั การศกึ ษาจากประเทศตะวนั ตก จงึ รบั อทิ ธพิ ลดา้ นความคดิ เกย่ี วกบั การสรา้ งชาตทิ มี่ งุ่ เนน้ การพฒั นา เศรษฐกิจสงั คมทีท่ ันสมัย ไม่ผูกตดิ อยู่กบั กรอบแนวคดิ ตามสังคมวฒั นธรรมแบบดั้งเดิม

25 | อนาคตศึกษา นอกจากนี้ นักวางแผนนโยบายการพัฒนาในประเทศใหม่เหล่าน้ียังเช่ือในบทบาทส�ำคัญของรัฐ ในการก�ำหนดเป้าหมายด้านเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต รวมถึงบทบาทในการด�ำเนินนโยบายเพ่ือ บรรลุเป้าหมายท่ไี ด้ตัง้ ไว้ ทง้ั น้ี ความเช่อื ในบทบาทของรัฐในการพัฒนาประเทศนไ้ี ด้รบั การสนบั สนุน และผลักดนั จากรฐั บาลของประเทศพัฒนาแลว้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สหรัฐอเมรกิ า และองคก์ รระหวา่ ง ประเทศ เช่น ธนาคารโลก การช่วยเหลือประเทศก�ำลังพัฒนามีทั้งในระดับการวางแผนนโยบายการ พัฒนา และในระดับการด�ำเนินโครงการพัฒนาด้วยมาตรการต่าง ๆ อาทิ การให้เงินช่วยเหลือและ เงนิ กู้ยืม และการให้ถา่ ยทอดความร้แู ละเทคโนโลยี องคป์ ระกอบพ้นื ฐานท่มี ผี ลอย่างยิ่งต่อการศึกษา อนาคตและการวางแผนในยุคดังกล่าวคือ ความช่วยเหลือด้านการเงินและด้านเทคนิคของประเทศ พัฒนาแล้วมักมาพร้อมกับชุดกรอบแนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับการพัฒนา ภาพอุดมคติของความเป็น สงั คมท่ีพฒั นาแลว้ รวมถึงวธิ กี ารวางแผนที่จะน�ำไปสรู่ ะบบเศรษฐกจิ และสงั คมทันสมัยทคี่ าดวา่ ดกี วา่ ของดงั้ เดมิ กรอบความคดิ และทฤษฎเี หลา่ นมี้ ผี ลอยา่ งยงิ่ ตอ่ การมองภาพอนาคตของสงั คม โดยเฉพาะ มโนทัศน์ของกลุ่มชนชั้นน�ำและนักเทคโนแครตที่มักเป็นผู้ก�ำหนดภาพอนาคตของประเทศที่ใช้ เป็นกรอบในการวางแผนนโยบาย จะเห็นได้วา่ อนาคตศึกษาในยุคแรกไดร้ บั อิทธิพลอยา่ งมากจากแนวคิดระบบศาสตร์ (systems science) ในวงการวชิ าการและแนวคดิ การวางแผนพฒั นาดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมระดบั ประเทศ ซึง่ รฐั บาล หลายประเทศในยโุ รปไดใ้ ชอ้ ยา่ งจรงิ จงั ในยคุ หลงั สงครามโลกครง้ั ทสี่ อง โดยเฉพาะสหภาพโซเวยี ตและ ฝรงั่ เศส แนวความคดิ การวางแผนนตี้ อ่ มาแพรข่ ยายไปยงั ประเทศก�ำลงั พฒั นาอนื่ ๆ รวมถงึ ประเทศไทย ซ่งึ เร่ิมจัดท�ำแผนพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตมิ าตั้งแต่ พ.ศ. 2504 เป็นตน้ มา การวางแผน พฒั นาประเทศนใ้ี ชก้ รอบแนวคดิ และวธิ กี ารในการวเิ คราะหแ์ นวโนม้ ในอดตี และการคาดการณอ์ นาคต ท่ีเรยี นรมู้ าจากประเทศตะวนั ตกเป็นหลกั แนวคิดการวางแผนแบบนไ้ี มไ่ ด้จ�ำกดั อย่เู ฉพาะในประเทศที่ประกาศเอกราชจากชาติอาณานคิ ม เทา่ นนั้ หลายประเทศไม่ไดต้ กเป็นอาณานคิ มของประเทศตะวันตกอย่างเปน็ ทางการ แตไ่ ดร้ ับอิทธิพล ด้านแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแบบสมัยใหม่ และมีการก�ำหนดนโยบายการวางแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศทกุ 4-5 ปี ในกรณขี องประเทศไทย รฐั บาลไทยได้จดั ตงั้ สภาเศรษฐกิจ แหง่ ชาตขิ น้ึ ใน พ.ศ. 2493 โดยมหี นา้ ทเ่ี สนอความเหน็ และค�ำแนะน�ำตอ่ รฐั บาลในเรอื่ งเกย่ี วกบั เศรษฐกจิ ของประเทศ ต่อมาใน พ.ศ. 2502 ได้เพิ่มบทบาทหน้าท่ีวางแผนพัฒนาประเทศเป็นการเฉพาะตาม ค�ำแนะน�ำของผู้เช่ียวชาญจากธนาคารโลก และเปลี่ยนช่ือเป็นส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ แหง่ ชาติ หรอื ทเ่ี รยี กกนั ติดปากวา่ สภาพัฒน์ อาจกลา่ วไดว้ ่า สภาพัฒน์ในฐานะท่ีเปน็ องค์กรวางแผน พัฒนาประเทศเป็นองค์กรแรกในประเทศไทยที่ได้น�ำเอาวิธีการศึกษาอนาคตอย่างเป็นระบบมาใช้ใน การวางแผนพฒั นา สรุปได้ว่า ในยุคทศวรรษที่ 1950 และ 1960 การสร้างชาติของประเทศก�ำลังพัฒนาภายหลัง การประกาศเอกราชจากเจ้าอาณานิคม ท�ำให้เกิดความต้องการในการวิเคราะห์และมองภาพอนาคต ของประเทศอยา่ งเปน็ ระบบ เนือ่ งดว้ ยความจ�ำเป็นในการวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมในระดับ ประเทศ และความเรง่ ดว่ นในการสรา้ งอตั ลกั ษณแ์ ละภาพลกั ษณข์ องความเปน็ ชาตหิ ลงั จากทไี่ ดป้ ระกาศ เอกราชแล้ว แนวคิดและวิธีการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในประเทศพัฒนามาก่อนในยุโรป และสหรัฐอเมรกิ า จึงได้แพร่หลายไปทั่วโลกในช่วงเวลาเดยี วกันนเ้ี อง

อนาคตศึกษา | 26 อนาคตเชงิ พยากรณ์ และประจกั ษ์นยิ ม ไมว่ า่ ในศาสตรใ์ ดกต็ าม การแบง่ กลมุ่ ทฤษฎี แนวคดิ และวธิ กี ารวเิ คราะหย์ อ่ มมอี ยหู่ ลากหลาย โดยขน้ึ อยู่ กบั เกณฑแ์ ละวธิ ีการทนี่ ักวเิ คราะหแ์ ตล่ ะคนเลอื กใช้ การแบง่ กลมุ่ ทฤษฎแี ละแนวคดิ ดา้ นอนาคตศกึ ษา ก็เชน่ กนั นักวชิ าการด้านอนาคตศกึ ษาหลายคนไดเ้ สนอวธิ กี ารแบง่ กลมุ่ แนวคดิ พ้นื ฐานของศาสตร์น้ไี ว้ หลายแบบ หนง่ึ ในนนั้ คอื นกั อนาคตศึกษาท่มี ชี อื่ เสยี งคนหนึ่งคอื เจนนิเฟอร์ ก๊ิดลยี ์ (Jennifer Gidley) ซงึ่ แบง่ กลมุ่ แนวความคดิ ดา้ นอนาคตศกึ ษาไว้ 5 กลมุ่ ไดแ้ ก่ (1) เชงิ พยากรณแ์ ละประจกั ษน์ ยิ ม (predic- tive-empirical) (2) เชงิ วพิ ากษแ์ ละบรรทดั ฐาน (critical-normative) (3) เชิงวฒั นธรรมและตีความ (cultural-interpretive) (4) เชงิ การมสี ว่ นรว่ มและรณรงคท์ างสงั คม (participatory-advocacy) และ (5) เชิงบูรณาการและองคร์ วม (integral-holistic)25 เนอ้ื หาสว่ นตอ่ จากนี้อธิบายแนวคดิ ทง้ั ห้ากลุ่มนี้ กลุ่มแรกคืองานอนาคตศึกษาเชิงพยากรณ์และประจักษ์นิยม กระแสความรู้หน่ึงท่ีได้เกิดขึ้นใน ช่วงสงครามโลกคร้ังท่ีสองและกลายมาเป็นพ้ืนฐานส�ำคัญของอนาคตศึกษาในยุคต่อมาคือการวิจัย ด�ำเนินงาน (Operations Research หรือ OR) ใน พ.ศ. 2482 นักวิทยาศาสตร์ในกองทัพอังกฤษ ได้รับค�ำสั่งให้วิเคราะห์หาวิธีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเรดาร์ในปฏิบัติการทั่วไปของกองทัพอากาศ จนท้ายที่สุดสามารถพัฒนาระบบปฏิบัติการ (operational system) ท่ีใช้ระบบเรดาร์ในการสู้รบ ทางอากาศกับฝูงบินของเยอรมนี และท�ำให้อังกฤษสามารถเอาชนะการต่อสู้ทางอากาศบนน่านฟ้า อังกฤษได้ใน พ.ศ. 248326 ระบบปฏบิ ตั กิ ารดงั กลา่ วมอี งค์ประกอบส�ำคัญทกี่ ลายเป็นพน้ื ฐานส�ำหรบั การศกึ ษาอนาคตในยคุ ตอ่ มา นัน่ คอื ระบบวิเคราะหท์ ี่ใช้เทคโนโลยเี รดาร์เพื่อคาดการณ์วา่ เครื่องบิน ท้ิงระเบิดของเยอรมนีจะมุ่งไปที่ไหนและเมื่อใด ระบบคาดการณ์ดังกล่าวช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพของ เครอื่ งบนิ รบขององั กฤษในการตดั สนิ ใจทา่ มกลางทางเลอื กของสถานการณท์ ค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต ความส�ำเร็จของการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการวิเคราะห์และคาดการณ์ทางเลือกในการสู้ รบคร้ังนั้น ท�ำให้กองทัพของประเทศอื่นให้ความส�ำคัญกับแนวทางนี้มากขึ้น รัฐบาลหลายประเทศได้ สรา้ งทมี นกั วเิ คราะหใ์ นดา้ นนโ้ี ดยเฉพาะ โดยในประเทศอังกฤษเรียกงานศึกษาแนวน้ีว่า Operational Research ส่วนในสหรัฐอเมริกา มักเรียกว่า Operations Research และ Systems Analysis27 ใน ชว่ งเวลาที่ผา่ นมา ศาสตรด์ า้ นนีพ้ ฒั นามามาก โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในการใชแ้ บบจ�ำลองเชิงคณิตศาสตร์ และสถิติศาสตร์เปน็ สว่ นหนง่ึ ของวธิ ีการที่ชว่ ยในการตัดสนิ ใจขององค์กร การวจิ ยั ด�ำเนนิ งานมักสรา้ ง

27 | อนาคตศกึ ษา แบบจ�ำลองขึ้นมาเพื่อใช้วิเคราะห์ระบบที่มีความซับซ้อนในโลกความเป็นจริง โดยมีเป้าหมายเพ่ือ ให้การด�ำเนนิ งานมีประสทิ ธภิ าพทสี่ ดุ การศกึ ษาอนาคตอยา่ งเปน็ ระบบมีจดุ เรม่ิ ตน้ ทพ่ี ฒั นาเปน็ คขู่ นานกนั ในสหรฐั อเมรกิ าและในยโุ รป ส�ำหรับในสหรัฐอเมริกา การวิเคราะห์อนาคตพัฒนาขึ้นจากการพัฒนากรอบแนวคิดและเครื่องมือใน การวเิ คราะหร์ ะบบ (systems analysis) ทใ่ี ชใ้ นการเตรยี มพรอ้ มรบั มอื ดา้ นการทหารและการสงคราม เปน็ หลกั นักวจิ ัยในมหาวิทยาลยั สแตนฟอร์ด (Stanford University) ไดก้ อ่ ตั้งชมรมวจิ ยั ระบบท่วั ไป (The Society for General Systems Research) ขนึ้ ใน พ.ศ. 2498 เพื่อหาช่องทางในการประยกุ ต์ ใช้ความร้ดู ้านระบบศาสตร์ (systems sciences) และไซเบอรเ์ นติกส์ (cybernetics) ซ่ึงแตเ่ ดิมหมาย ถึงการศกึ ษาข้ามศาสตร์ (transdisciplinary) เพอ่ื ท�ำความเข้าใจในระบบการควบคุม (control) และ สอื่ สาร (communication) ของสง่ิ มชี วี ติ และเครอ่ื งจกั ร28แตใ่ นปจั จบุ นั หมายถงึ การศกึ ษาการควบคมุ ระบบด้วยเทคโนโลยี จะเหน็ ไดว้ า่ งานวิจัยดา้ นอนาคตศึกษายุคแรกในกล่มุ น้ไี ด้รบั อิทธพิ ลหลักจากคตนิ ยิ มในปรชั ญา วิทยาศาสตรแ์ บบปฏฐิ านนิยมตามโลกทศั นแ์ บบนิวตันทีม่ องธรรมชาติของมนษุ ย์และการเปล่ยี นไปใน โลกตามกลไก และสามารถท�ำนายหรอื พยากรณ์ (predict) ได้ ความเชอ่ื พน้ื ฐานของแนวคดิ ปฏฐิ านนยิ ม คอื ความจรงิ ท่สี ามารถรับรู้ได้ดว้ ยกระบวนการวทิ ยาศาสตร์มีความเปน็ หนงึ่ เดียว โดยสามารถทดสอบ และพสิ ูจน์ไดด้ ว้ ยกระบวนการเชงิ วิทยาศาสตร์แบบประจกั ษน์ ยิ ม อนาคตศึกษาในยุคแรกเน้นการพยากรณ์อนาคตด้วยกระบวนการและวิธีการเชิงวิทยาศาสตร์ จึงสะท้อนกระบวนทัศน์หลักในวงการวิชาการในยุคน้ัน ท้ังวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและสังคมศาสตร์ที่ พยายามพัฒนากรอบแนวคิดและวิธีการวิจัยตามแนวคิดปฏิฐานนิยม เพ่อื ให้มีความเป็นวิทยาศาสตร์ มากขึ้น ภายใต้กระแสทรรศน์ดังกล่าว นักอนาคตศึกษาในยุคน้ีจึงเน้นการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการ ทม่ี คี วามเป็นกลางหรอื ภววิสยั (objectivity) เพอื่ ใหภ้ าพอนาคตทคี่ าดการณม์ ีความน่าเช่อื ถอื มากขึ้น อีกนัยหน่ึงคอื นักวจิ ัยดา้ นอนาคตศาสตร์ต้องการผลกั ดันให้การศกึ ษาอนาคตเปน็ วทิ ยาศาสตร์และได้ รบั การยอมรับมากข้ึน จุดเริ่มต้นของการวิเคราะห์อนาคตด้วยวิธีการเชิงวิทยาศาสตร์อยู่ท่ีโครงการศึกษาแนวโน้ม การเปล่ียนแปลงทางสังคมของสหรัฐอเมริกาในช่วง พ.ศ. 2467-2479 โดยกลุ่มนักวิจัยท่ีแต่งต้ังโดย ประธานาธบิ ดสี หรัฐ (President's Research Committee on Social Trends)29 ในงานดังกล่าว คณะผูศ้ ึกษา ซึ่งน�ำโดยนักสงั คมวทิ ยาช่ือ วิลเลียม ออกเบริ น์ (William Ogburn) ไดร้ วบรวมข้อมลู จากแหล่งตา่ ง ๆ โดยเฉพาะจากขอ้ มูลส�ำมะโนประชากรของประเทศ แล้วใช้เคร่อื งมือทางสถิติในการ วเิ คราะหแ์ นวโน้มการเปล่ยี นแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคมและทศั นคติของผู้คน จากนนั้ จงึ พยากรณก์ าร เปลีย่ นแปลงท่ีคาดว่าจะเกดิ ขน้ึ ตามแนวโนม้ จากอดตี ตอ่ มาใน พ.ศ. 2480 คณะกรรมการทรัพยากร แหง่ ชาตขิ องสหรัฐอเมริกา (U.S. National Resources Committee) ซ่ึงมีออกเบิร์นเปน็ กรรมการ อยู่ด้วย ได้เผยแพร่รายงานชื่อ Technological Trends and National Policy, Including the Social Implications of New Inventions ซึ่งไดว้ เิ คราะหแ์ ละน�ำเสนอแนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงดา้ น เทคโนโลยี และผลกระทบทีม่ ีต่อสังคม

อนาคตศึกษา | 28 วิธีการศึกษาหลักที่ใช้ในรายงานทั้งสองฉบับคือการคาดการณ์โดยใช้วิธีเชิงปริมาณในการค้นหา แนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงจากอดตี จนถงึ ปจั จบุ นั แลว้ จงึ ประมาณคา่ ในอนาคตโดยการลากเสน้ แนวโนม้ ตอ่ ไปยงั ขา้ งหนา้ อกี 2-3 ทศวรรษ ทฤษฎกี ารเปลยี่ นแปลงทางสงั คมทเี่ ปน็ พน้ื ฐานของการวเิ คราะหแ์ นว โนม้ และการคาดการณข์ องออกเบริ น์ คอื การผลติ สงิ่ ประดษิ ฐท์ างเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมท�ำใหเ้ กดิ การ เปลยี่ นแปลงทางโครงสรา้ งเศรษฐกจิ ซึง่ ท�ำใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงของสถาบนั ทางสงั คมตามมา ตงั้ แต่ ระดบั ครอบครัวไปจนถงึ รฐั บาล ในขณะเดียวกัน การเปลีย่ นแปลงของสถาบันทางสังคมท�ำใหป้ รัชญา ทางสงั คมของผูค้ นในยคุ นัน้ เริม่ เปล่ียนไป ท้ังความเชอ่ื ทศั นคตแิ ละคา่ นยิ ม การเปลย่ี นแปลงดงั กลา่ ว ย้อนกลับไปท�ำให้เกิดความต้องการในสินค้าและส่งิ ประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยแี ละการผลติ นวตั กรรมสืบเนือ่ งตอ่ ไปเป็นวฏั จักร แนวคิดผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคมของออกเบิร์นเป็นท่ียอมรับอย่างแพร่หลายและกลาย เป็นพ้ืนฐานของแนวคิดของการประเมินเทคโนโลยี (technology assessment) ซ่ึงพัฒนาต่อมา เป็นวิธีการหนึ่งที่ส�ำคัญของงานวิจัยด้านอนาคตศึกษา อีกท้ังยังได้กลายเป็นพันธกิจหลักขององค์กร ส�ำคัญด้านอนาคตศกึ ษา อาทิ ส�ำนักงานประเมินเทคโนโลยี (Office of Technology Assessment) ของรัฐสภาสหรัฐฯ รายงานแนวโน้มทางสังคมฉบับดังกล่าวยังเป็นจุดเร่ิมต้นของแนวคิดการแสดงดัชนีเชิงปริมาณ ท่ีแสดงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและสถานการณ์ปัจจุบันของประเทศ เพื่อก�ำหนดและตัดสินใจใน นโยบายส�ำหรับอนาคต แนวคิดนี้ต่อมาได้แพร่หลายและพัฒนากลายเป็นขบวนการตัวบ่งชี้ทางสังคม (Social Indicators Movement) นับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 เป็นต้นมา ดัชนีเชิงปริมาณเหล่านี้มี ตัง้ แตด่ ้านประชากร เศรษฐกจิ แรงงาน ไปจนถึงดา้ นการศึกษา สาธารณสขุ และการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยี30 การสร้างดัชนีด้านประชากร เศรษฐกิจและสังคมกลายพื้นฐานของการวางแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คมของรฐั บาลสหรฐั อเมรกิ าในยคุ ตอ่ มา นอกจากนี้ ดว้ ยการสง่ เสรมิ ของสหประชาชาติ และเงนิ ชว่ ยเหลอื ของรฐั บาลสหรฐั ฯ รฐั บาลในหลายประเทศทวั่ โลกไดเ้ กบ็ รวบรวมและวเิ คราะหต์ วั เลข เหลา่ นี้ เพื่อใชใ้ นการวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกจิ และสังคม สืบเนอ่ื งมาจนถงึ แนวคิดตวั ช้ีวดั คณุ ภาพ ชีวิตท่ีเป็นพ้ืนฐานของการวางแผนนโยบายสาธารณะในปัจจุบัน31 และตัวช้ีวัดด้านการพัฒนาอย่าง ย่ังยืนในปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่า การเก็บข้อมูลเพื่อวางแผนนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศไทยที่เริ่มมาตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2500 ก็รับอิทธิพลมาจากขบวนการตัวบ่งช้ีทางสังคม ดงั กล่าวดว้ ยเชน่ กนั แนวคดิ และวธิ กี ารพยากรณอ์ นาคตอยา่ งเปน็ ระบบตามแนวปฏฐิ านนยิ มและประจกั ษน์ ยิ มน้ี ไดร้ บั การสนบั สนนุ อยา่ งจรงิ จงั ในสหรฐั อเมรกิ าในชว่ งหลงั สงครามโลกครงั้ ทสี่ อง และในชว่ งเขา้ สยู่ คุ สงคราม เย็นระหว่างกลุ่มประเทศตะวันตกท่ีน�ำโดยสหรัฐอเมริกากับกลุ่มประเทศตะวันออกที่น�ำโดยสหภาพ โซเวียต กลุ่มมหาอ�ำนาจท้ังสองฝ่ายพยายามพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์ท่ีทันสมัยและแสนยานุภาพให้ เหนือกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง พร้อมกันนี้แต่ละฝ่ายได้พยายามพัฒนาเทคนิคต่าง ๆ ที่ช่วยให้สามารถวางแผน และก�ำหนดยุทธศาสตร์ทางทหารได้อย่างเฉียบคม ความส�ำเร็จในการใช้การวิจัยด�ำเนินงานหรือการ วเิ คราะห์ระบบในชว่ งสงครามโลกคร้ังท่สี อง น�ำไปสูก่ ารจัดตงั้ โครงการพเิ ศษขนึ้ มาในชว่ งหลังสงคราม

29 | อนาคตศกึ ษา ใน พ.ศ. 2488 กองทพั อากาศสหรฐั ฯ รเิ รม่ิ โครงการรว่ มกบั บรษิ ทั ดกั ลาส แอรค์ ราฟ (Douglas Aircraft Company) ช่ือ Project RAND (“Research ANd Development) เพ่ือวางแผนการพัฒนา อาวุธในอนาคตระยะยาว โครงการดังกล่าวพัฒนาต่อมาเป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาก�ำไร (non-profit organization) ชอ่ื ว่าแรนด์ คอรป์ อเรชัน (RAND Corporation) ซึง่ มีบทบาทหน้าที่หลักเป็นองคก์ รท่ี ปรกึ ษา (think tank) ใหก้ บั หนว่ ยงานของรฐั บาลสหรฐั อเมรกิ า แมว้ า่ แรนดไ์ มถ่ อื วา่ เปน็ องคก์ รที่ปรกึ ษา แหง่ แรก แตถ่ อื ว่ามีช่ือเสียงและทรงอิทธิพลมากทสี่ ุดแห่งหน่งึ ของโลก ในชว่ งแรก กจิ กรรมหลกั ของแรนดค์ อื การคาดการณใ์ นประเดน็ ดา้ นการทหาร โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ โครงการของกระทรวงกลาโหมสหรฐั อเมรกิ า โดยเนน้ การวเิ คราะหท์ างเลอื กเชงิ นโยบาย การประเมนิ เทคโนโลยี และการเสนอข้อแนะน�ำและข้อควรระวังในด้านต่าง ๆ หัวข้อการวิเคราะห์ครอบคลุม ต้ังแต่การใช้ประโยชน์จากดาวเทียมวิทยาศาสตร์ การใช้เครื่องยนต์จรวดส�ำหรับขีปนาวุธ การใช้ ขีปนาวุธข้ามทวีป การใช้ระบบขับเคลื่อนพลังงานนิวเคลียร์ ไปจนถึงการเลือกต�ำแหน่งท่ีตั้งของ ฐานทัพ การวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมและการคาดการณ์การตดั สนิ ใจของผู้น�ำประเทศคอมมวิ นสิ ต์ รวมถึง สถานการณด์ า้ นการทหารอน่ื ๆ อกี มากมาย32 นอกจากการวเิ คราะหป์ ระเดน็ เชงิ ยทุ ธศาสตรเ์ หลา่ นแ้ี ลว้ นักวิจยั ของแรนดย์ งั พฒั นาวิธกี ารวเิ คราะห์และคาดการณ์ที่ถอื ว่าทนั สมัยมากในยุคนัน้ โดยเน้นการใช้ แบบจ�ำลองคณิตศาสตร์และการใช้ประโยชน์จากความสามารถในการค�ำนวณของคอมพิวเตอร์ท่ีเร่ิม พฒั นาขึน้ ในยคุ น้นั อาทิ การวเิ คราะห์ตน้ ทุนด้านการทหาร และวธิ กี ารเดลฟีหรอื เดลฟาย (Delphi) แนวคดิ และวธิ กี ารดงั กลา่ วไดร้ บั การพฒั นาตอ่ ดว้ ยนกั วจิ ยั ในแรนด์ คอรป์ อเรชนั และสถาบนั เพือ่ อนาคต (Institute for the Future) ซง่ึ เปน็ องคก์ รไมแ่ สวงหาก�ำไรทแี่ ยกตวั มาจากแรนดใ์ น พ.ศ. 2511 ตัวอย่างของวิธกี ารที่นักวิชาการในองคก์ รเหลา่ น้พี ฒั นาขนึ้ มา ได้แก่ แบบจ�ำลองทางคณิตศาสตรแ์ ละ สถิตศิ าสตร์ การจ�ำลองสถานการณ์ (simulation) การใชเ้ กม (gaming) รวมถึงวิธกี ารเดลฟายท่ียังคง มใี ชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในงานวจิ ยั ดา้ นอนาคตศกึ ษาและสงั คมศาสตรส์ าขาอน่ื งานวเิ คราะหข์ องแรนด์ ในช่วงต่อมาในทศวรรษท่ี 1970 ครอบคลมุ ประเด็นทีไ่ ม่เกย่ี วขอ้ งกับการทหาร เช่น การเปล่ียนแปลง โครงสรา้ งประชากร การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ปญั หาการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานในเมอื ง รวมถงึ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศของโลก งานวิจยั ของแรนด์และอกี หลายหน่วยงานของสหรฐั อเมรกิ าใน ช่วงสงครามเย็นได้ประยุกต์ใช้กรอบแนวคิดและเทคนิคท่ีพัฒนาเพ่ือการทหารในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมในเมอื ง ทงั้ การวจิ ยั ด�ำเนนิ งาน การวเิ คราะหร์ ะบบ การวเิ คราะหภ์ าพถา่ ย (photo imaging) และไซเบอร์เนติกส์ หนง่ึ ในผลลัพธ์ของงานวจิ ัยในแนวนคี้ ือโครงการฟน้ื ฟูเมือง (urban renewal) ใน เมืองใหญท่ ั่วสหรฐั อเมริกา33 ไม่ว่ ่า่ ประเด็น็ วิเิ คราะห์จ์ ะเป็น็ ด้า้ นการทหารหรือื ด้า้ นสังั คมเศรษฐกิจิ ทั่่ว� ไป กรอบแนวคิดิ ที่เ�่ ป็น็ พื้�นฐาน หลัักของการวิิเคราะห์์และคาดการณ์์ของทีีมวิิจััยของแรนด์์ ยัังคงเป็็นการวิิเคราะห์์เชิิงระบบ โดยให้้ ความสำำ�คัญั กับั การมองปััญหาแบบองค์์รวม (holistic) และความสััมพัันธ์แ์ ละปฏิสิ ััมพัันธ์์ระหว่า่ งองค์์ ประกอบต่่าง ๆ ในระบบ และระหว่่างองค์์ประกอบแต่่ละส่่วนกัับระบบทั้�งหมด กรอบแนวความคิิด นี้้�ยัังเป็็นพื้�นฐานของการใช้้คณะนัักวิิจััยจากสหสาขาที่�่ทำ�ำ งานร่่วมกััน พร้้อมกัับการวิิเคราะห์์ปััญหา เดีียวกันั จากมุมุ มองที่แ่� ตกต่า่ งกันั ทั้�งมุมุ มองในเชิงิ ทฤษฎีีและเชิงิ ปฏิบิ ัตั ิิ และจากมุมุ มองของผู้�เชี่ย�่ วชาญ

อนาคตศกึ ษา | 30 และนัักวิิชาการไปพร้้อมกัับมุุมมองของผู้้�ปฏิิบััติิการและผู้้�สัังเกตการณ์์ทั่่�วไป คุุณลัักษณะสำ�ำ คััญอีีก ประการหนึ่่�งของแนวคิิดและแนวทางการทำำ�งานของทีีมวิิจััยของแรนด์์คืือ การสร้้างแบบจำำ�ลองที่่�ย่อ่ ส่่วนระบบที่�่กำำ�ลัังศึึกษาอยู่�ให้้มีีความซัับซ้้อนน้้อยลง เพื่่�อสามารถนำำ�เอาแบบจำ�ำ ลองนั้�นไปทดลองและ พิสิ ูจู น์ส์ มมติฐิ านต่อ่ ได้ด้ ้ว้ ยวิธิ ีีการต่า่ ง ๆ แนวทางนี้�เป็น็ ไปตามแนวคิดิ พื้�นฐานของการวิจิ ัยั ดำ�ำ เนินิ การที่ไ�่ ด้้ พััฒนามาก่่อนหน้้านี้� ซึ่�งเน้้นการวิิเคราะห์์โครงสร้้างเชิิงองค์์กรของประเด็็นปััญหาที่�่ต้้องการวิิเคราะห์์ การสื่อ� สารและปฏิิสัมั พัันธ์์ระหว่่างองค์ป์ ระกอบของระบบ รวมไปถึงึ การควบคุมุ กำ�ำ กัับระบบ เพื่่�อระบุุ ถึึงปััจจััยที่�่มีีผลต่่อการทำ�ำ งานของระบบและปััจจััยที่�่สามารถจััดการปรัับเปลี่�่ยนให้้ดีขึ้�นได้้ ทั้�งนี้� จุุดมุ่�ง หมายหลัักของการวิิเคราะห์์คืือ เพื่่�อช่่วยให้้ผู้�บริิหารสามารถตััดสิินใจดำ�ำ เนิินกิิจกรรมที่�่นำำ�ไปสู่่�การเพิ่่�ม ประสิิทธิิภาพของระบบนั้ �น การคาดการณ์ระยะยาวและการใช้กรอบอนาคตในการวิเคราะห์นโยบายเป็นกิจกรรมส�ำคัญ ที่กลายเป็นภาพลักษณ์หลักของแรนด์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการน�ำเอาเหตุการณ์ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนใน อนาคตมาเปน็ สว่ นส�ำคญั ของการวเิ คราะหน์ โยบาย นกั วจิ ยั ของแรนดย์ งั ไดพ้ ฒั นาวธิ กี ารคาดการณแ์ บบ ใหมไ่ ปพรอ้ มกบั ปรบั ปรงุ วธิ กี ารทมี่ อี ยแู่ ลว้ แตเ่ ดมิ อาทิ การจ�ำลองสถานการณโ์ ดยคอมพวิ เตอร์ การใช้ เกมและการแสดงบทบาทสมมติ (role-playing) เทคนคิ เชิงคณิตศาสตร์ เช่น โปรแกรมเชิงเสน้ และไม่ เชิงเสน้ (linear and non-linear programming) วิธีการมอนติคาร์โล (Monte Carlo method) วธิ กี ารคาดการณเ์ ทคโนโลยี ซง่ึ รวมถงึ แบบเดลฟาย รวมถงึ การตงั้ งบประมาณแบบแผนงาน (program budgeting) และการวิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผล (cost-effectiveness analysis)34 วิธีการเหล่าน้ี ยังคงใช้อย่างแพรห่ ลายในวงการวชิ าการและวงการวางแผนนโยบายทัว่ โลกในปัจจุบนั แรนด์ คอร์ปอเรชันถือว่าเป็นองค์กรต้นแบบของอนาคตศึกษาท่ีส�ำคัญของโลก นักอนาคต ศึกษาของแรนด์ท่ีมีผลงานส�ำคัญในยุคแรกนี้คือเฮอร์มัน คาน (Herman Kahn) ซึ่งเชี่ยวชาญด้าน การวางแผนยุทธศาสตร์ โดยเฉพาะด้านความม่ันคงและการทหาร หนังสือส�ำคัญของคานได้แก่ “On Thermonuclear War” ที่เผยแพร่ใน พ.ศ. 2503 “Thinking about the unthinkable” ใน พ.ศ. 2505 และ “The Year 2000: a framework for speculation on the next thirty-three years” ใน พ.ศ. 2510 นักวิจัยท่ีเคยท�ำงานท่ีแรนด์แยกตัวออกมาต้ังองค์กรและสถาบันเก่ียวกับการศึกษา อนาคตหลายแหง่ ในสหรัฐอเมรกิ า อาทิ สถาบันฮดั สัน (Hudson Institute) ทก่ี อ่ ต้งั โดยเฮอรม์ ัน คาน สถาบนั ส�ำหรับอนาคต (Institute for the Future) และ เดอะ ฟวิ เจอร์ส กรุ๊บ (The Futures Group) รวมถงึ องคก์ รและบรษิ ทั ที่ปรกึ ษาจ�ำนวนมากทวั่ โลกที่ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ เชงิ ระบบและวธิ กี าร อน่ื ๆ ในการวิเคราะห์และคาดการณเ์ หตุการณใ์ นอนาคตทีพ่ ัฒนาข้นึ ทีแ่ รนด์ แนวทางวิเคราะห์แบบน้ีนอกจากเน้นการพยากรณ์เชิงประจักษ์ (predictive-empirical) แล้ว ยังคงเป็นการประมาณค่าตามแนวโนม้ (conformist-extrapolative) ซงึ่ คาดการณ์การเปลย่ี นแปลง (prognosis) การวางแผน และการคาดการณด์ า้ นเทคโนโลยแี ละดา้ นเศรษฐกจิ เปน็ หลกั จดุ แขง็ ขอ้ หนงึ่ ของแนวคดิ และแนวทางการศกึ ษาอนาคตแบบนค้ี อื ความเปน็ กลางหรอื ภววสิ ยั และไมม่ อี คตหิ รอื ขนึ้ อยู่ กบั คุณค่าหรอื คา่ นยิ มใด ๆ แต่แนวทางนไ้ี ด้รบั การวพิ ากษว์ ่า ประเดน็ และกรอบการวิเคราะหม์ ักแคบ และไม่ตระหนักถงึ บรบิ ทเงื่อนไขของเรอื่ งนน้ั ๆ นอกจากน้ี การพยากรณ์ท่มี ีผลลัพธเ์ ปน็ ภาพอนาคต

31 | อนาคตศกึ ษา ตามแนวโน้มอาจส่อื ถึงการหลกี เลี่ยงไมไ่ ด้และตอ้ งยอมรบั ตามชะตากรรม หากแนวโน้มมีผลลัพธ์เชิง ลบอาจให้ผเู้ กยี่ วข้องรู้สกึ หมดหวัง ถา้ คดิ วา่ ไมส่ ามารถท�ำอะไรเพอ่ื แกไ้ ขปรบั เปลีย่ นแนวโนม้ นน้ั ได้ การพยากรณเ์ ปน็ ความพยายามที่จะรถู้ งึ ภาพอนาคตทม่ี อี ยหู่ นง่ึ เดยี ว นกั พยากรณจ์ งึ ตอ้ งพฒั นา วิธีการศึกษาที่จะท�ำให้ภาพอนาคตมีความคมชัดและแม่นย�ำที่สุด นักอนาคตศึกษาหลายคนเสนอ แนวทางการแบ่งประเภทของการพยากรณ์ไว้ หน่ึงในน้นั คือ แบรท์ รอ็ ง เดอ จวู เี นล (Bertrand de Jouvenel) ซ่งึ เสนอในหนังสอื ชอ่ื L'Art de la Conjecture (The Art of Conjection) ไวว้ า่ การ พยากรณแ์ บง่ ออกเปน็ 2 ประเภทหลกั คอื การพยากรณเ์ ชงิ วทิ ยาศาสตร์ (scienctific prediction) และ การพยากรณเ์ ชงิ ประวตั ศิ าสตร์ (historical conjection) แบบแรกเปน็ การพยากรณก์ ารเปลยี่ นแปลง ของสภาพกายภาพทเี่ กดิ จากการพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ และการสร้างตน้ แบบทางวศิ วกรรมในห้องทดลองถอื วา่ เปน็ การพยากรณ์เชงิ วทิ ยาศาสตร์ เนอื่ งจาก มีการต้ังสมมติฐานข้ึนมาตามกรอบแนวคิด แล้วเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเพ่อื พิสูจน์ความเป็นไปได้ ทางทฤษฎีที่ได้ต้ังไว้แต่ตอนต้น กระบวนการวิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์ที่ด�ำเนินการอย่างเป็นระบบ นี้ ใช้ท่ัวไปในการพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือการ พยากรณ์อากาศ อย่างไรก็ตาม การพยากรณ์เชิงวิทยาศาสตร์มีข้อจ�ำกัดอยู่มาก แม้ว่าความสามารถในการ พยากรณ์อากาศได้พัฒนาขึ้นมาก แต่กระน้ันนักวิเคราะห์ก็ยังไม่สามารถพยากรณ์การเกิดขึ้นของ ภัยพิบัติทางธรรมชาติได้อย่างแม่นย�ำเสมอไป การเกิดพายุไต้ฝุ่น แผ่นดินไหว คล่นื สึนามิ อาจพอ พยากรณไ์ ดใ้ นระดบั ภาพรวมและในระยะสน้ั เมอ่ื ภยั พบิ ตั นิ น้ั ไดก้ อ่ ตวั ขน้ึ แลว้ แตย่ งั ไมส่ ามารถพยากรณ์ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจริงในแต่ละพ้ืนท่ีได้อย่างแม่นย�ำเท่าใด แบบจ�ำลองด้านภูมิอากาศในระดับโลก อาจสามารถแสดงอุณหภูมิและระดับน�้ำทะเลที่เพิ่มข้ึนและสภาพภูมิอากาศที่ปรวนแปร แต่ยังไม่ สามารถพยากรณ์ได้อย่างแม่นย�ำวา่ ปริมาณฝนท่ีตกลงมาในแต่ละพ้นื ที่จะมมี ากนอ้ ยเทา่ ใด และจะ มีผลกระทบโดยตรงอย่างไรบ้างกับคนในพ้ืนท่ีนั้น ตัวอย่างน้ีแสดงถึงข้อจ�ำกัดในการพยากรณ์ทาง วทิ ยาศาสตรท์ ี่มอี ย่ใู นปัจจุบัน สว่ นการพยากรณ์เชิงประวัติศาสตร์นั้น เดอ จูวีเนล หมายถึงการพยายามรู้ถึงอนาคตของ พฤติกรรมมนุษย์ ข้อเสนอของเดอ จูวีเนลแตกต่างจากนักสังคมศาสตร์ในยุคศตวรรษท่ี 19 และ 20 ที่พยายามพัฒนาศาสตร์ว่าด้วยมนุษย์กับสังคมให้มีความเป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น ตัวอย่าง เช่น ออกุสต์ กองต์ (Auguste Comte) เสนอแนวคิดของศาสตร์ที่เรียกว่า ฟิสิกส์สังคม (social physics) ซึ่งต่อมากลายเป็นพ้ืนฐานความคิดหน่ึงในสังคมวิทยา เดอ จูวีเนล แย้งว่า การใช้ ทฤษฎีและเครอ่ื งมอื บางอยา่ งเพอ่ื รถู้ งึ อนาคตของพฤตกิ รรมมนษุ ยถ์ อื เปน็ การพยากรณแ์ บบหนง่ึ แต่ เนอ่ื งจากมนษุ ยแ์ ละปัจจยั ดา้ นสังคมวัฒนธรรมมคี วามซบั ซ้อนมาก การใช้เคร่อื งมอื ทางวิทยาศาสตร์ ในการพยากรณ์อนาคต จึงไม่น่าจะมีความแม่นย�ำมากไปกว่าการท�ำนายโชคชะตาในสมัยโบราณ การท�ำความเข้าใจในอนาคตของมนุษย์และสังคมจ�ำเป็นต้องใช้เครื่องมืออ่ืนที่เข้าใจถึงและยอมรับ ในความซบั ซ้อนดงั กล่าว

อนาคตศึกษา | 32 อนาคตเชงิ วพิ ากษ์ และปทสั ถาน อนาคตศกึ ษาเชิงวิพากษแ์ ละเชิงปทสั ถานหรอื บรรทัดฐาน (critical-normative) พฒั นาขึน้ ในยคุ ต่อ มา โดยม่งุ วพิ ากษก์ ลมุ่ นกั อนาคตศึกษาแนวประจักษ์นิยมที่มมี าก่อนหน้าน้ัน ซึ่งถอื ว่าเป็นนกั วชิ าการ กระแสหลักในทศวรรษที่ 1950 อนาคตศกึ ษาเชิงวิพากษ์เนน้ ความร้เู ชงิ ปลดปลอ่ ย (emancipatory knowledge) ซ่งึ มองวา่ ความรเู้ กย่ี วกบั อนาคตไมไ่ ด้ปราศจากอคติและคณุ ค่า ดังทีน่ กั อนาคตศึกษา แนวปฏฐิ านนยิ มยดึ ถอื มาตลอด นกั คดิ หลายสาขาในทศวรรษที่ 1950 เรม่ิ วพิ ากษว์ จิ ารณก์ ารพยากรณ์ อนาคตเพ่ือตอบรับนโยบายของรัฐบาลในการวางแผนด้านการทหาร โดยเฉพาะแนวคิดและวิธีการ พยากรณอ์ นาคตของกลมุ่ นกั วเิ คราะหข์ องแรนด์ คอรป์ อเรชนั ทสี่ รา้ งฉากทศั น์ ทางทหารส�ำหรบั รฐั บาล สหรฐั ฯ ในยคุ สงครามเยน็ นกั วชิ าการเชงิ วพิ ากษเ์ สนอวา่ ภาพอนาคตไมไ่ ดม้ อี ยหู่ นงึ่ เดยี ว และรฐั บาล หรอื คนกลมุ่ หนง่ึ ไมค่ วรยดึ ภาพอนาคตมาครอบครองและควบคมุ เพอ่ื ประโยชนข์ องตนเอง แตอ่ นาคต มีอยู่หลายภาพ และคนกลุม่ อน่ื สามารถจินตนาการ ออกแบบ และสรา้ งข้ึนมาร่วมกนั ได้ นกั วชิ าการเชงิ วพิ ากษห์ ลายกลมุ่ กอ่ ตงั้ กลมุ่ วจิ ยั และตพี มิ พผ์ ลงานทเี่ สนอแนวคดิ การศกึ ษาอนาคตท่ี ใหค้ นเปน็ ศนู ยก์ ลาง และเสนอใหล้ ดความส�ำคญั ของการวางแผนของรฐั และการพยากรณอ์ นาคตทมี่ งุ่ เนน้ การวเิ คราะหฉ์ ากทศั นข์ องการท�ำสงคราม นกั วชิ าการเหลา่ นว้ี พิ ากษแ์ นวคดิ การศกึ ษาอนาคตดว้ ยวธิ กี าร พยากรณอ์ นาคตแบบของแรนด์ พรอ้ มเสนอแนวคดิ ทางเลอื กในการศกึ ษาและวางแผนอนาคตทมี่ คี วาม หลากหลายมากขนึ้ แนวคดิ ทางเลอื กเหลา่ นโี้ ดยมากน�ำเสนอโดยนกั คดิ ชาวยโุ รป นกั เขยี นและนกั วชิ าการดา้ นสนั ตภิ าพเปน็ กลมุ่ หนง่ึ ทวี่ พิ ากษก์ ารศกึ ษาอนาคตเพอ่ื การท�ำสงคราม35 นกั คดิ กลมุ่ นเ้ี ชอื่ วา่ การศกึ ษาอนาคตตอ้ งใหค้ วามส�ำคญั กบั สนั ตภิ าพและวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาความขดั แยง้ ตวั อยา่ งนกั เขยี นในกลมุ่ นไ้ี ดแ้ ก่ โรเบริ ต์ ยงุ ค์ (Robert Jungk) นกั เขยี นชาวออสเตรยี ซงึ่ ตพี มิ พห์ นงั สอื ชอ่ื Tomorrow is Already Here ใน พ.ศ. 2495 โดยมเี นอ้ื หาวพิ ากษส์ งั คมอเมรกิ นั ทพี่ ง่ึ พาการใชเ้ ทคโนโลยี และการครอบครองอนาคต (colonization of the future) โดยกลมุ่ ชนชนั้ น�ำ ในท�ำนองเดยี วกนั โยฮาน กลั ตงั (Johan Galtung) กอ่ ตง้ั สถาบนั วจิ ยั สนั ตภิ าพ (Peace Research Institute) ขน้ึ ในกรงุ ออสโล นอรเ์ วย์ ใน พ.ศ. 2502 เพอ่ื ศกึ ษาอนาคตของสนั ตภิ าพในโลก สว่ นนกั สงั คมวทิ ยาและอนาคตศกึ ษาชาวดทั ชช์ อื่ เฟรด โพลกั (Fred Polak) ตพี มิ พห์ นงั สอื ชอื่ The Image of the Future ใน พ.ศ. 2498 เปน็ ภาษาดทั ช์ ซงึ่ ตอ่ มาไดแ้ ปลเปน็ ภาษาองั กฤษใน พ.ศ. 250436 โพลกั น�ำเสนอแนวคดิ อนาคตทางเลอื กที่จนิ ตนาการได้

33 | อนาคตศึกษา (imagined alternative futures) ซ่ึงกลายเป็นพ้ืนฐานแนวคิดส�ำคัญของอนาคตศึกษาในยุคต่อมา โพลกั เสนอวา่ ความรงุ่ เรอื งหรอื ความตกต�่ำของสงั คมมกั เกดิ ขน้ึ จรงิ หลงั จากทคี่ นในสงั คมนน้ั มมี โนภาพของ อนาคตทแ่ี สดงถงึ ความรงุ่ เรอื งขน้ึ หรอื ความตกต�่ำลง ดงั นน้ั ตราบใดทผ่ี คู้ นในสงั คมยงั มภี าพอนาคตทเี่ ปน็ บวก และแสดงความรงุ่ เรอื งอยู่ สงั คมวฒั นธรรมนนั้ คงยงั พฒั นาตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ แตเ่ มอ่ื ไหรท่ ภี่ าพอนาคตของ ผคู้ นเรมิ่ แสดงถงึ ความตกต�่ำและความเสอื่ มลง สงั คมวฒั นธรรมนนั้ กย็ ากที่จะรงุ่ เรอื งตอ่ ไป ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ ว กระบวนการสรา้ งภาพอนาคตทเ่ี ปน็ ทางเลอื กของสงั คมจงึ มคี วามส�ำคญั อยา่ งยง่ิ ส�ำหรบั สงั คมนน้ั กลมุ่ นกั อนาคตศาสตรเ์ ชงิ วพิ ากษค์ า่ ยยโุ รป ซง่ึ น�ำโดย โยฮาน กลั ตงั รว่ มจดั การประชมุ นานาชาติ ของนกั วจิ ยั ดา้ นอนาคตศกึ ษา (The First International Future Research Conference) เปน็ ครงั้ แรก ทก่ี รงุ ออสโล ประเทศนอรเ์ วยใ์ น พ.ศ. 2510 ครง้ั ตอ่ มาทเ่ี มอื งเกยี วโต ประเทศญี่ปนุ่ ใน พ.ศ. 2513 และ กรงุ บคู าเรสต์ ประเทศโรมาเนยี ใน พ.ศ. 2515 จนน�ำไปสกู่ ารจดั ตง้ั สมาพนั ธอ์ นาคตศกึ ษาโลก (World Futures Studies Federation) ทกี่ รงุ ปารสี ใน พ.ศ. 251637 พรอ้ มกนั นวี้ งการอนาคตศกึ ษาทางเลอื ก เรม่ิ กอ่ ตวั ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ ในฝรงั่ เศส แกสตอง แบรเ์ จย์ (Gaston Berger) จดั ตงั้ ศนู ยน์ านาชาตวิ า่ ดว้ ยการ ศกึ ษาอนาคต (Centre International de Prospective) ใน พ.ศ. 2500 เพอ่ื สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มใน กระบวนการศกึ ษาและวางแผนอนาคต สว่ นแบรท์ รอ็ ง เดอ จวู เี นลไดจ้ ดั ตงั้ สมาคมนานาชาตกิ ารศกึ ษา อนาคต (Association Internationale de Futuribles) ทกี่ รงุ ปารสี ใน พ.ศ. 2503 สว่ นเดนนสิ เกเบอร์ (Dennis Gabor) นกั อนาคตศกึ ษาชาวองั กฤษ เขยี นหนงั สอื ชอื่ Inventing the Future ใน พ.ศ. 2506 และ The Mature Society: A View of the Future ใน พ.ศ. 2515 นกั อนาคตศกึ ษากลมุ่ นเ้ี ชอ่ื ในความจ�ำเปน็ และความส�ำคญั ของการศกึ ษาอนาคตระดบั โลกทเ่ี นน้ คน เปน็ ศนู ยก์ ลาง โดยเฉพาะนกั อนาคตศกึ ษาดา้ นสนั ตภิ าพยำ้� เนน้ วา่ วงการอนาคตศกึ ษาไมค่ วรปลอ่ ยให้ ทศิ ทางของงานอนาคตศกึ ษาถกู ก�ำหนดโดยนกั วเิ คราะหแ์ ละผวู้ า่ จา้ งทส่ี นใจในเรอ่ื งการท�ำสงครามและ การทหารแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว กระนน้ั กต็ าม งานศกึ ษาอนาคตทไี่ ดร้ บั ความส�ำคญั และเงนิ สนบั สนนุ สว่ นมาก ในชว่ งกอ่ นทศวรรษท่ี 1990 ยงั คงเปน็ งานเชงิ ยทุ ธศาสตรท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การทหาร เนอื่ งดว้ ยสถานการณ์ และเงอื่ นไขของสงครามเยน็ ระหวา่ งคา่ ยทนุ นยิ มตะวนั ตกทมี่ สี หรฐั อเมรกิ าเปน็ ผนู้ �ำกบั คา่ ยคอมมวิ นสิ ต์ ทม่ี สี หภาพโซเวยี ตเปน็ พใ่ี หญ่ จดุ เปลย่ี นครง้ั ส�ำคญั เกดิ ขนึ้ หลงั จากการสงครามเยน็ ไดส้ น้ิ สดุ ลงในชว่ งตน้ ทศวรรษที่ 1990 เมอื่ ระบอบการปกครองในยโุ รปตะวนั ออกมกี ารเปลย่ี นแปลงครง้ั ใหญ่ ประเดน็ ปญั หา และหวั ขอ้ อน่ื จงึ ไดร้ บั ความส�ำคญั มากขนึ้ ในวงการอนาคตศกึ ษา อาทิ การพฒั นาระบบเศรษฐกจิ และ ระบบการเมอื งแบบประชาธปิ ไตยในอดตี ประเทศคอมมวิ นสิ ต์ การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื และการเปลยี่ นแปลง สภาพภมู อิ ากาศของโลก เปน็ ตน้ ในทศวรรษที่ 1950 ทง้ั ฝรงั่ เศสและสหภาพโซเวยี ตตอ้ งฟน้ื ฟปู ระเทศตนเองหลงั จากสงครามโลก ครง้ั ทส่ี อง นกั คดิ ชาวฝรง่ั เศสพยายามเสนอแนวคดิ ในการสรา้ งอนาคตทดี่ กี วา่ ส�ำหรบั ฝรง่ั เศสและส�ำหรบั ประชาคมโลกหลงั สงคราม สว่ นสหภาพโซเวยี ตกพ็ ยายามสรา้ งระบบเศรษฐกจิ ขน้ึ มาใหมภ่ ายใตแ้ นวคดิ คอมมวิ นสิ ตท์ รี่ วมศนู ยก์ ารวางแผนเศรษฐกจิ และสงั คมในระดบั ประเทศ ความพยายามของทงั้ สองประเทศ นี้ แมแ้ ตกตา่ งกนั ในแนวคดิ พน้ื ฐานและกระบวนการ แตท่ งั้ คกู่ ม็ งุ่ ไปทกี่ ารเปลย่ี นแปลงเชงิ โครงสรา้ งของ เศรษฐกจิ และสงั คมในระยะยาว การศกึ ษาอนาคตจงึ กลายเปน็ กจิ กรรมส�ำคญั ของวงการวชิ าการและ วงการวางแผนระดบั ประเทศของทง้ั สองประเทศในยคุ ดงั กลา่ ว

อนาคตศกึ ษา | 34 จะเห็น็ ได้ว้ ่า่ ในช่ว่ งแรกของการพัฒั นาวงการอนาคตศึกึ ษา แนวคิดิ และวิธิ ีีการพื้�นฐานในการศึกึ ษา ภาพอนาคตในสหรัฐั อเมริกิ าและในยุโุ รปแตกต่า่ งกันั อย่า่ งชัดั เจน นักั อนาคตศึกึ ษาในสหรัฐั อเมริกิ าเน้น้ งานวิิเคราะห์เ์ ชิิงประยุุกต์์ที่�่มุ่�งไปที่�ก่ ารตัดั สิินใจเชิงิ นโยบาย โดยใช้้วิธิ ีีการเชิิงปริิมาณและการวิเิ คราะห์์ ระบบ ในขณะที่�่นัักอนาคตศึึกษาในยุุโรปเน้้นภาพอนาคตระยะยาวของโลกและมนุุษยชาติิ โดยมีี กระบวนการ วิธิีีการและผู้�เข้า้ ร่ว่ มกระบวนการที่ห�่ ลากหลายมากกว่า่ นักั วิชิ าการและนักั วางแผนนโยบายทั่่ว� ไป พหนุ ิยมในอนาคตศกึ ษา กระบวนทััศน์เ์ กี่�ย่ วกับั อนาคตเริ่�มเปลี่ย�่ นไปในช่ว่ งต้น้ ทศวรรษที่�่ 1960 จากเดิมิ ที่เ�่ ชื่อ� ในอนาคตที่�่ เป็็นหนึ่่�งเดีียว (singular) เป็็นอนาคตที่ม�่ ีีความเป็น็ พหุุ (plural) การเปลี่�ย่ นแปลงนี้�เป็็นไปตามกระแส ความคิดิ ในวงการวิชิ าการด้า้ นสังั คมศาสตร์ใ์ นยุโุ รปและสหรัฐั อเมริกิ า นักั ปรัชั ญา นักั วิทิ ยาศาสตร์แ์ ละ นัักสัังคมศาสตร์์จำำ�นวนมากเริ่�มวิิพากษ์์แนวคิิดปฏิิฐานนิิยมและประจัักษ์์นิิยม โดยเริ่�มยอมรัับมาก ขึ้�นว่่า วิิทยาศาสตร์์ไม่่ได้้มีีเฉพาะความรู้� (knowledge) อยู่�หนึ่่�งเดีียว แต่่ประกอบด้้วยพหุุความรู้� (knowledges) ที่�่ขึ้�นอยู่่�กัับบริิบทของประเด็็นปััญหาและชุุมชนนัักปฏิิบััติิ (community of practice) แต่่ละกลุ่�มมีีพื้้�นฐานทางทฤษฎีีแนวคิิด ความเชื่�อ วััตถุุประสงค์์และวิิธีีการแสวงหาความรู้� แตกต่า่ ง กััน นัักคิิดสำำ�คััญที่่�วิิพากษ์์ทฤษฎีีว่่าด้้วยความรู้�และวิิทยาศาสตร์์แบบปฏิิฐานนิิยมมีีอยู่�หลายสำ�ำ นัักคิิด แต่ล่ ะคนมีีมุุมมองในการวิิพากษ์์แตกต่า่ งกััน หนึ่่ง� ในนั้�นคืือธอมััส คูนู (Thomas Kuhn) นักั ฟิิสิิกส์์ และนักั ปรัชั ญาวิทิ ยาศาสตร์ช์ าวอเมริกิ ันั ซึ่ง� เสนอว่า่ ความจริงิ ทางวิทิ ยาศาสตร์์ ณ เวลาใดเวลาหนึ่่ง� ไม่่ สามารถกำำ�หนดโดยเกณฑ์เ์ ชิงิ วัตั ถุวุ ิสิ ัยั (objective) แต่ก่ ำ�ำ หนดโดยฉันั ทามติขิ องกลุ่�มชุมุ ชนวิทิ ยาศาสตร์์ ในขณะเดีียวกันั กระบวนทัศั น์์ (paradigm) ที่แ่� ข่ง่ ขันั กันั อยู่�ในแต่ล่ ะช่ว่ งเวลามักั ไม่ส่ ามารถนำำ�มาเปรีียบ เทีียบกัันได้้ (incommensurable) เนื่่อ� งจากแต่ล่ ะกระบวนทััศน์์อธิิบายความจริิงที่�แ่ ตกต่่างกัันอย่่าง สิ้�นเชิงิ ด้ว้ ยเหตุุนี้� ความเข้า้ ใจในวิทิ ยาศาสตร์จ์ ึงึ ไม่่สามารถพึ่่�งวัตั ถุุวิสิ ัยั อย่่างเดีียวได้้ และต้้องคำ�ำ นึึงถึงึ มุมุ มองที่�เ่ ป็็นอัตั วิิสััย หรืือความคิิดเห็็นของผู้้�ที่�่เกี่�่ยวข้้องด้้วยเช่่นกันั ข้อ้ สรุปุ ที่อ่� ้า้ งว่่าเป็็นวัตั ถุุวิิสัยั ท้า้ ย ที่�่สุดุ แล้้วยัังคงตั้�งอยู่�บนเงื่อ� นไขและโลกทััศน์์ที่่�เป็น็ อััตวิสิ ัยั ของนัักวิจิ ัยั อยู่�ดี นอกจากนี้ เยอร์เกน ฮาเบอร์มาส (Jürgen Habermas) นกั ปรัชญาและสังคมวิทยาชาวเยอรมนั เป็นอีกคนหนึง่ ทเ่ี สนอแนวคิดที่ปฏเิ สธทฤษฎีความร้แู บบปฏฐิ านนิยม ข้อเสนอของฮาเบอร์มาสจดั อยู่ ในกลุ่มส�ำนกั คดิ แฟรงคเ์ ฟิร์ต (Frankfurt School) ซ่ึงเป็นผู้น�ำดา้ นทฤษฎีวิพากษ์ (Critical Theory) ที่เน้นการไตร่ตรองความคิดและวิพากษ์สังคมและวัฒนธรรม โดยใช้ความรู้จากหลากหลายสาขาใน สังคมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์ เพื่อปลดปล่อยมนุษย์จากโครงสร้างและเงอื่ นไขที่กดทับอยู่ ความคิด พหนุ ยิ ม (pluralism) จงึ พฒั นามาจากการวพิ ากษแ์ นวคดิ เชงิ ปฏฐิ านนยิ มในปรชั ญาความรแู้ ละปรชั ญา วิทยาศาสตร์ทีม่ มี ากอ่ นหนา้ น้ัน ฮาเบอร์ม์ าสแบ่ง่ ขอบเขตความสนใจทั่่ว� ไปของมนุษุ ย์์ (generic domains of human interest) ที่ส่� ร้า้ ง ความรู้�ไว้้ 3 กลุ่�มด้ว้ ยกันั ได้แ้ ก่่ ความรู้�เกี่ย่� วกับั การทำ�ำ งาน (work) เกี่ย่� วกับั ปฏิสิ ัมั พันั ธ์์ (interaction) และ เกี่ย่� วกับั อำำ�นาจ (power) ความรู้�เกี่ย�่ วกับั การทำ�ำ งานหมายถึงึ วิธิ ีีการและความสามารถที่ม่� นุษุ ย์ส์ ามารถ ใช้้ในการควบคุุมและจััดการสิ่�งแวดล้้อมรอบตนเอง หรืือที่่�เรีียกว่่า กิิจกรรมเชิิงเครื่�องมืือ

35 | อนาคตศึกษา (instrumental action) ความรู้้�ลัักษณะนี้�ขึ้�นอยู่่�กัับการวิิเคราะห์์และพิิสููจน์์เชิิงประจัักษ์์และอยู่�ภาย ใต้้ข้้อกำำ�หนดเชิิงเทคนิิค กระบวนการทางวิิทยาศาสตร์์ที่�่เน้้นกรอบทฤษฎีีด้้วยการตั้�งสมมติิฐานและ การอนุุมาน (hypothetico-deductive) ถืือเป็็นกระบวนทััศน์์หลัักของการสร้้างความรู้�รูปแบบนี้� ดังั นั้�น ความรู้้�จากวิทิ ยาศาสตร์ก์ ายภาพทั่่�วไป ทั้�งฟิิสิิกส์์ เคมีีและชีีววิทิ ยา ถืือว่่าอยู่�ในกลุ่�มความรู้�แบบนี้� ความรู้กลุ่มที่สองที่เรียกว่าความรู้เชิงปฏิบัติ (practical knowledge) มุ่งไปที่ปฏิสัมพันธ์ทาง สังคมของมนุษย์ หรือกิจกรรมเชิงสื่อสาร (communicative action) ความรู้เชิงปฏิสัมพันธ์ทาง สังคมนี้ก�ำหนดและควบคุมโดยการสร้างบรรทัดฐานทางสังคม (norms) ที่สมาชิกร่วมกันสร้างข้ึน มา เพ่ือก�ำหนดความคาดหวังซ่ึงกันและกันเกี่ยวกับพฤติกรรมของสมาชิกในสังคมนั้น ๆ ตามความ คิดของฮาเบอร์มาส บรรทัดฐานทางสังคมอาจเกิดจากข้อเสนอเชิงประจักษ์ (empirical) หรือเชิง วิเคราะห์ (analytical) ก็ได้ แต่ความถูกต้องหรือความสมเหตุสมผล (validity) ของความรู้ในรูป แบบนี้ไม่ได้ข้ึนอยู่กับเกณฑ์ท่ีเป็นวัตถุวิสัย แต่ขึ้นอยู่กับอัตวิสัยร่วม (intersubjectivity) ของความ เข้าใจซึ่งกันและกันเกี่ยวกับความตั้งใจของแต่ละคนในชุมชนน้ัน งานเขียนและงานวิชาการด้าน สังคมศาสตร์ ประวัติศาสตร์ นิติศาสตร์ มนุษยศาสตร์และศิลปศาสตร์ จัดว่าอยู่ในขอบเขตความรู้ เชิงปฏิบัติ (practical domain) น้ี ขอบเขตความรู้�เชิิงปลดปล่่อย (emancipatory domain) หรืือความรู้�เกี่�่ยวกัับตนเอง (self-knowledge) เกิดิ มาจากการตรึกึ ตรองและสะท้อ้ นความคิดิ ของตนเอง ทั้�งในด้า้ นพัฒั นาการของ ตนเอง รวมถึึงบทบาทและความคาดหวัังของสัังคมที่�่แต่่ละคนประสบอยู่� การปลดปล่่อยในที่่�นี้�หมาย ถึึงการหลุุดพ้้นจากข้้อจำำ�กััดต่่าง ๆ ทั้�งด้้านสิ่�งแวดล้้อมและสถาบัันที่�่ทำำ�ให้้มนุุษย์์ไม่่สามารถเป็็นอิิสระ ได้้ การเข้้าใจอย่่างถ่่องแท้้และความตระหนัักเกี่่�ยวกัับตนเองถืือว่่าเป็็นการปลดปล่่อยตนเอง เพราะ อย่่างน้้อยก็็รู้�ว่าสาเหตุุของปััญหาที่�่ตนเองประสบอยู่�นั้�นอยู่�ตรงไหน ความรู้้�จากการปลดปล่่อยตนเอง ด้้วยการไตร่่ตรองเกี่่�ยวกัับตนเองนี้้�นำำ�ไปสู่่�การปรัับเปลี่�่ยนมุุมมอง (perspective transformation) และตามความคิดิ ของฮาเบอร์ม์ าส ความรู้�ในรูปู แบบนี้�เกิดิ ขึ้�นในศาสตร์เ์ กี่ย่� วกับั จิติ วิเิ คราะห์์ (psychoanalysis) ทฤษฎีีสตรีีนิิยม (feminist theory) เป็็นต้้น ขตอารบาเขงทต่ีข1องความรู้ 3 รูปแบบตามความคดิ ของฮาเบอรม์ าส ท่ีมา: Tinning (1992)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook