75 การกระโดดดว้ ยขาข้างเดียว ยกเขา่ สูง (Hopping) เปน็ การกระโดดโดยใช้ขาข้างทถ่ี นดั ส่งแรงกระโดดจากฝา่ เทา้ สว่ นขาอีกข้างให้งอ หัวเข่ายกสูงระดับสะโพก ลงพน้ื ดว้ ยขาข้างที่ใชก้ ระโดด ผอ่ นแรงด้วยการยอ่ เข่า การกระโดดดว้ ยขาข้างเดียว ยกเข่าสงู (Hopping) การกระโดดด้วยขาขา้ งเดยี วแบบไมย่ กเขา่ (Skipping) เปน็ การกระโดดด้วยขาข้างเดยี วคล้ายกับ Hop แต่เขา่ จะไม่ยก บางครั้งยงั สามารถพบั ขาไปดา้ นหลังได้อีกดว้ ย การกระโดดด้วยขาข้างเดียว (Skipping) การว่ิงสไลดด์ ้านขา้ ง (Side slide stepping) เป็นการเคล่ือนท่ีไปด้านข้าง โดยการก้าวเท้าขา้ งใดข้างหนึ่งไปด้านข้าง แล้ว ลากหรือยกเท้าเข้ามาชดิ พรอ้ มถ่ายนา้ หนักตาม ภาพประกอบ : นวิ ฒั น์ ศรจี ันทร์
76 การวิ่งสไลด์ดา้ นข้าง (Side slide stepping) การควบมา้ (Gallop) ใชท้ กั ษะการสไลด์ (ก้าว-ชิ-ดก้าว) โดยจะเป็นการเคล่อื นท่ีไปข้างหน้า มือเท้า เอว หรือแกว่งแขนตามธรรมชาติ การควบมา้ (Gallop) ภาพประกอบ : นวิ ัฒน์ ศรจี นั ทร์
77 กระโดดขาเดียว (One Leg Jumps) เป็นการกระโดดโดยใช้ขาข้างท่ีถนัดข้างเดียว ส่งแรงกระโดดจากฝ่าเท้า ส่วนขาอกี ข้างใหพ้ ับงอ ไวด้ ้านหลงั การกระโดดขาเดียว กระโดดสองขา (Jumping) (One Leg Jumps) 3. การเคล่ือนไหวประกอบอุปกรณ์ (Manipulative Movement) หมายถึง การเคล่ือนไหวร่างกายแบบเคล่ือนท่ี โดยผู้ปฏิบัติใช้รา่ งกายหรือควบคุมวัตถุประกอบการ เคลื่อนไหว ซึ่งเก่ียวข้องกับมอื และเทา้ ประกอบการเคล่อื นไหว เชน่ การขว้าง การรับ การ เล้ยี ง การตดี ้วย แรก็ เกต การกระโดดเชือก การโยนหรือขว้างมอื เดยี วเหนอื ไหล่ (Throw) ภาพประกอบ : นิวฒั น์ ศรจี ันทร์
78 การเตะบอล (Kick) การรับ (Catch) ภาพประกอบ : สรุ เชษฐ์ วศิ วธรี านนท์ นวิ ฒั น์ ศรีจนั ทร์ รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเคลื่อนไหวข้นั พ้ืนฐาน 1. การเดนิ เดินบนเสน้ ตรง เดินบนเส้นรอบวงกลม เดนิ และหยดุ ตามสญั ญาณ การเดนิ ทรงตัวบนเส้น
79 การเดนิ สะพานโคง้ การหยุดเดนิ การหยุดวิง่ 2. การวง่ิ วิ่งอยู่กับท่ี ว่งิ ตรงไปขา้ งหนา้ กระโดดทาท่าเลียนแบบสัตว์ กระโดดหมนุ ตวั การว่งิ ภาพประกอบ : สรุ เชษฐ์ วศิ วธีรานนท์
80 3. การกระโดดขาเดียว กระโดดขาเดียวอยู่กับท่ี กระโดดขาเดียวไปข้างหน้า กระโดดขาเดยี วบนเส้นตรง กระโดดขาเดยี วประกอบการเล่นเกม การกระโดดสองขา การกระโดดขาเดียวและสองขา ทมี่ า: เวบ็ ไซตโ์ รงเรียนสาธติ จฬุ าฯ ฝ่ายประถม, 2561 4. กจิ กรรมการใชบ้ อล 4.1 การฝึกหัดโยนรับวัตถุเบา ๆ (เช่น ถุงถว่ั ลูกบอลท่ีทาด้วยไหมพรม ลูกปงิ ปอง หรอื ลกู เทนนสิ ) ด้วยตนเอง เช่น - น่งั หรือโยนถุงถว่ั หรอื ลูกบอลขน้ึ แล้วรบั ดว้ ยมอื ทั้งสองขา้ ง - โยนถงุ ถวั่ หรือลกู บอลขนึ้ ดว้ ยมือข้างเดยี วและรับด้วยมอื ขา้ งน้นั ภาพประกอบ : สรุ เชษฐ์ วศิ วธีรานนท์
81 - โยนถุงถวั่ หรือลกู บอลขน้ึ แลว้ ตบมอื 1 ครั้ง กอ่ นรับ เมอื่ ทาไดด้ ี เพมิ่ การตบ มอื เป็น 2, 3, 4 ครง้ั ตามลาดบั - โยนถุงถั่วหรอื ลกู บอลขนึ้ แลว้ หมนุ ตัว 1 รอบ กอ่ นรับ - โยนถงุ ถว่ั หรอื ลูกบอลข้นึ แลว้ กม้ แตะพน้ื ก่อนรบั การโยนรบั ลกู บอลสลับมอื 4.2 การฝึกหัดสร้างความคุ้นเคยกับลูกบอล ลูกบอลท่ีใช้ควรมีขนาดเล็ก หรือ หากใหญต่ ้องมีนา้ หนักเบา เหมาะกบั มอื เด็ก เช่น - ท่านง่ั ขัดสมาธิ กลงิ้ ลูกบอลไปทางซ้ายขวา และกลง้ิ ลกู บอลรอบ ๆ ตัว - ท่านง่ั งอเข่า กลิง้ ลูกบอลไปบนพ้นื ลอดใตเ้ ข่า - นั่งยอง ๆ กล้งิ ลูกบอลรอบเทา้ ท้ังสองขา้ ง แลว้ กลง้ิ ลูกบอลรอบเท้าขา้ งหนึ่ง และไปยงั เท้าอีกข้างหนึ่งเป็นรูปเลย 8 - กลิ้งลกู บอลลม้ กระป๋องทตี่ ั้งไวข้ า้ งหน้า - กลิ้งลูกบอลแลว้ วง่ิ ตามไปเกบ็ ลูกบอล - 4.3 การฝึกหัดรับส่งลูกบอลกับคู่ ลูกบอลควรมีขนาดใหญ่และเบา ถ้าเป็นไปได้ ควรมีหลาย ๆ สี กจิ กรรม เชน่ - น่งั หนั หนา้ เขา้ หาคู่ห่างกนั ประมาณ 1 เมตร แลว้ กล้งิ หรอื ส่งลกู บอลรับส่ง เม่ือผเู้ รยี นทาไดใ้ ห้ขยายระยะทางออกไปเรือ่ ย ๆ
82 - ยืนกลิ้งหรอื ส่งลูกบอลรบั ส่งกับคู่ - ยืนแยกขาหันหลังให้ค่กู ล้งิ หรอื ส่งลูกบอลลอดใต้ขาใหค้ ู่รบั - สาหรับการรับส่งลูกบอลกลางอากาศน้ัน ในระยะแรกผู้สอนควรจะเป็นผู้ โยนใหผ้ เู้ รียนรบั ไมค่ วรให้ผู้เรียนยังไมส่ ามารถกะระยะทางและความแรงของลกู บอลได้ - รูปภาพแสดงท่าทางการรบั ส่งลกู บอลกับคู่ 1) การฝกึ หัดขว้างวัตถุทม่ี ีขนาดเลก็ เช่น ลูกเทนนสิ กระดาษที่ทาเป็นก้อนกลม ๆ กิจกรรม ได้แก่ - ขวา้ งวัตถไุ ปข้างหนา้ ให้ไกลทีส่ ดุ - ขว้างวตั ถุให้เข้าเปา้ บนกาแพง - ขว้างวัตถุให้เขา้ ตะกรา้ ท่วี างบนพน้ื - ขวา้ งวตั ถุให้เข้าตะกร้าท่แี ขวนสูง การขวา้ งวัตถุที่มีขนาดเลก็
83 กลา่ วโดยสรุป ประเภทของการเคล่ือนไหวข้ันพ้นื ฐานสามารถแบ่งไดอ้ อกเปน็ 3 ประเภท ได้แก่ การเคลื่อนไหวแบบอยู่กับท่ี การเคล่ือนไหวแบบเคลื่อนที่ และการ เคล่ือนไหวประกอบอุปกรณ์ ซ่ึงทั้งสามประเภทนี้มีลักษณะของการเคลื่อนไหวท่ี แตกต่างกันตามลักษณะโดยรวม แต่ในทุกประเภทจะส่งผลให้เกิดการเคล่ือนไหวที่ เชอ่ื มโยงกนั ระหว่างระบบกลา้ มเนอื้ และระบบประสาท
84 งานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการเคลอ่ื นไหวขน้ั พนื้ ฐาน สิริพรรณ ลิยะวราคุณ และศศิลักษณ์ ขยันกิจ (2557) ทาวิจัยเรื่อง ผลของการจัด กจิ กรรมดนตรีตามแนวคดิ มิวสิคฟอรล์ ิตเต้ิลโมสาร์ทที่มีต่อความสามารถในการเคลอื่ นไหว ประกอบจังหวะของเด็กอนุบาล ผลการวิจัยพบว่า 1) หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมี คา่ เฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการเคล่ือนไหวประกอบจังหวะสงู กวา่ กอ่ นการทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียของ คะแนนความสามารถในการเคลื่อนไหวประกอบจังหวะสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี นัยสาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั .05 พรพิมล เวสสวัสดิ์ และศศิลักษณ์ ขยันกิจ (2558) ทาวิจัยเรื่อง ผลของการจัด กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้แนวคิดการเต้นเชิงสร้างสรรค์ท่ีมีต่อคว ามคิด สร้างสรรค์ของเด็กอนุบาล ผลการวิจัยพบว่า 1) หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย คะแนนความคดิ สรา้ งสรรค์ใน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ความคดิ คล่องตัว ความคดิ ริเริม่ และ จินตนาการ สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ . 01 2) หลังการ ทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความคิดสร้างสรรค์ใน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ความคิดคล่องตัว ความคิดริเริ่ม และจินตนาการ สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทาง สถติ ทิ ีร่ ะดบั .01 ณัชชา เตชะอาภรณ์ชัย (2558) ทาวิจัยเร่ืองผลการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว ประกอบบทเพลงพน้ื เมืองสาหรบั เดก็ ปฐมวัยที่มีต่อความเข้าใจจงั หวะมวี ัตถุประสงค์คือ 1) เพ่ือนาเสนอกิจกรรมการเคล่ือนไหวประกอบบทเพลงพื้นเมืองสาหรับเด็กปฐมวัย ท่ีมีต่อ ความเข้าใจด้านจังหวะ 2) เพื่อศึกษาผลของการใช้กิจกรรมการเคล่ือนไหวประกอบบท เพลงพ้ืนเมืองสาหรับเด็กปฐมวัย ที่มีต่อความเข้าใจด้านจังหวะ กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยน้ี ได้แก่ นักเรียนช้ันอนุบาล 3 โรงเรียนวัดกัลยาณมิตร จานวน 18 คน โดยแบ่งนักเรียน ออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 9 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัด กิจกรรมการเคล่ือนไหวประกอบบทเพลงพ้ืนเมืองไทย ท่ีมีต่อความเข้าใจด้านจังหวะ 2) แผนการจัดกิจกรรมการเคลอ่ื นไหวประกอบบทเพลงพ้ืนเมอื งนานาชาติ ที่มตี ่อความเข้าใจ
85 ด้านจังหวะ 3) แบบสังเกตการตอบสนองต่อจังหวะดนตรี 4) แบบสังเกตการเต้นรา พ้ืนเมือง การดาเนินการวิจัยประกอบด้วยการศึกษาจากเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องและ เปน็ ผู้ช่วยฝกึ สอน สร้างเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ จากนั้นนารูปแบบดังกล่าวทดลองใช้กับ กลุ่มตัวอย่าง จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้โดยการวิเคราะห์เน้ือหาและสถิติเชิงบรรยาย คือ ร้อยละ คา่ เฉล่ยี เลขคณติ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานและค่าที (t-test) ผลการวิจัยมดี ังน้ี 1) กจิ กรรมการเคล่ือนไหวประกอบบทเพลงพื้นเมืองสาหรบั เด็ก ปฐมวัย ที่มีต่อความเข้าใจด้านจังหวะ ท่ีผู้วิจัยพัฒนาขึ้น สามารถแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ 1.1) กิจกรรมเพ่ือพัฒนาจังหวะ อันได้แก่จังหวะตบ (Steady Beat) จังหวะทานอง (Rhythm) และสัญลักษณ์โน้ต (Note Duration) 1.2) กิจรรมการเคล่ือนไหวประกอบบท เพลงพืน้ เมืองดว้ ยเพลงขน้ั ต้น 1 เพลง และข้ันกลาง 1 เพลง 2) ผลของการใช้กิจกรรมการ เคล่ือนไหวประกอบบทเพลงพ้ืนเมืองสาหรับเด็กปฐมวัย ที่มีต่อความเข้าใจด้านจังหวะ พบว่าคะแนนรวมอยู่ในเกณฑด์ ีมากโดยกลมุ่ ท่ีใช้บทเพลงพื้นเมืองไทยมีคะแนนสูงกว่ากลุ่ม ที่ใช้บทเพลงพ้ืนเมืองนานาชาติ (M = 4.56 , SD = .16), (M = 3.20, SD = .21) และจาก การเปรยี บเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธ์ินะหว่างกลุ่มไทยและกลมุ่ นานาชาติด้วยคา่ ที พบว่าไมแ่ ตกต่างกนั อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05 พลพรรธน์ บัวแก้ว (2559) ทาวิจัยเรื่อง การพัฒนาแบบประเมินตามสภาพจริง ด้านทกั ษะการเคลอื่ นไหวขัน้ พนื้ ฐาน สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษามีวัตถปุ ระสงค์ เพื่อพัฒนาแบบประเมินตามสภาพจริงด้านทักษะการเคล่ือนไหวพื้นฐาน สาหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา ดาเนินการพัฒนาแบบประเมินการเคลื่อนไหวพ้ืนฐานโดยหาความ ตรงและความเท่ียงของแบบประเมิน กลุ่มตัวอย่างในการหาคุณภาพเคร่ืองมือด้านความ เท่ียงเป็นนักเรียนประถมศึกษา จานวน 30คน และนาไปใช้จริงกับนักเรียนจานวน 120 คน กลุ่มตัวอยา่ งไดม้ าจากการสมุ่ อย่างงา่ ย เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ัย เป็นแบบประเมินตาม สภาพจริงด้านทักษะการเคล่ือนไหวพ้ืนฐาน ประกอบด้วย การเดิน การวิ่ง การกระโดด สองขาพร้อมกัน การกลิ้งบอล การขว้าง การตีบอลด้วยมือ การเตะ การรับบอลสองมือระดับ อก และการสง่ บอลกระดอนพืน้ และนาแบบประเมินไปประเมินค่าความตรง ความเทย่ี ง ผลวิจัยพบว่า 1) แบบประเมินตามสภาพจริงด้านทักษะการเคล่ือนไหวพ้ืนฐาน สาหรับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ
86 0.95 2) แบบประเมินตามสภาพจริงด้านทักษะการเคลื่อนไหวพื้นฐาน สาหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเที่ยงอยู่ในเกณฑ์สูง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟาอยู่ระหว่าง 0.765 – 0.865 3) การประเมินความเป็นปรนัยของแบบประเมิน 3.1) การประเมินระหว่างครูพลศึกษา 2 ท่าน มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) อยู่ระหว่าง 0.948- 0.994 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.2) ความสอดคล้องกันระหว่างผู้ ประเมิน มีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.891 - 0.987 ในทุกพฤติกรรมบ่งช้ี อย่างมี นยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 อรอุมา ขาวิจิตร์ (2559) ทาการวิจัยเร่ือง ผลการพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมด้วย กิจกรรมดนตรีและการเคล่ือนไหว ของเด็กปฐมวัย ระดับช้ันอนุบาล 1 โรงเรียนสาธิต จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฝา่ ยประถม ผลการวจิ ัยพบว่า ผลการพัฒนาพฤตกิ รรมทางสังคม ของเด็กปฐมวัย ระดับช้ันอนุบาล 1 ภายหลังการจัดกิจกรรมดนตรีและการเคล่ือนไหว มี ค่าเฉลย่ี (Mean = 17.22) สูงกว่า พฤตกิ รรมกอ่ นการจัดกิจกรรม (Mean = 9.63) อย่างมี นัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05 ดุสิต บุญศิริ, ผ่องลักษณ์ จิตต์การญุ และวิราพร พงศ์อาจารย์ (2560) ทาวิจัยเรื่อง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้เกม เพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติในการว่ายน้าของเด็ก ปฐมวัย ผลการวิจัยพบว่า 1) เด็กปฐมวัยส่วนใหญ่ จานวน 32 คน มีทักษะปฏิบัติในการ วา่ ยน้าอยู่ในระดบั ดีมาก และเม่ือพิจารณาทักษะปฏิบัติในการว่ายน้าของแต่ละด้าน พบว่า เด็กส่วนใหญ่มีทักษะปฏิบัติในการดาน้าและการลอยตัว อยู่ในระดับดีมาก ส่วนทักษะ ปฏิบัติในการเตะขา อยู่ในระดับดี 2) เด็กปฐมวัยมีพฤติกรรมการเล่นทั้ง 4 แบบ โดยส่วน ใหญ่ในพฤตกิ รรมการเลยี นแบบ เด็กสามารถทาตามคาสง่ั ครูและเลียนแบบครูผู้สอนได้ ใน พฤติกรรมการสารวจ เด็กมีความกระตือรือร้นและสนใจในการเล่นเกม ในพฤติกรรมการ ทดสอบ เด็กสามารถเล่นเกมให้ถูกวิธี ตามกฎ กติกาได้ และในพฤติกรรมการสร้าง เด็กมี ความความสัมพันธ์กบั เพื่อนในกลุ่ม และให้ความรว่ มมอื ในการทากิจกรรม
87 บทสรุป ทักษะการเคลื่อนไหวขัน้ พ้ืนฐาน คอื การท่อี วยั วะส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกายได้มกี าร เปล่ียนแปลงตาแหนง่ อย่างตอ่ เน่ืองกนั โดยมอี วยั วะส่วนท่ีเก่ียวข้องกัน คือ ระบบประสาท กบั ระบบกล้ามเน้อื ระบบประสาทจะมีหน้าท่ีควบคุมและสั่งการใหก้ ล้ามเน้ือสว่ นต่าง ๆ ได้ มกี ารเคลื่อนไหว และปฏิบตั กิ ิจกรรมได้ตามที่สมองส่ังการ ซ่ึงมาจากความรู้สกึ นึกคดิ ของผู้ ปฏบิ ัติเอง การเคลอ่ื นไหวขั้นพื้นฐานแบง่ เปน็ 3 ประเภท 1. การเคลื่อนไหวแบบอยู่กบั ท่ี (Non-Locomotor Movement) ประกอบดว้ ย การกม้ ตวั (Bend) การยดื หรือเหยียดตัว(Stretch) การบิดตัว(Twist) การ แกวง่ หรอื การเหวีย่ ง(Swing) การเอียง(Sway) การโยกตัว(Rock) การหมุนตวั (Turn) การ ดนั (Push) การดงึ (Pull) 2. การเคล่ือนไหวแบบเคล่ือนท่ี (Locomotor Movement) ประกอบด้วย การ เดิน (Walk) การวิ่ง(Run) การหยุดเดิน –หยุดว่ิง(Stop) การกลับตัว(Shuttle Run) การ สไลด์(Slide) การควบม้า(GaLLop) การกระโจน(Leap) การกระโดด 2 ขา(Jump) การ กา้ วเขยง่ (Skip) การกา้ วกระโดด(Hop) และการเดินทรงตัว(Balance) 3. ก า ร เค ล่ื อ น ไห ว ป ร ะ ก อ บ อุ ป ก ร ณ์ (Manipulative Movement) ประกอบด้วย การขว้าง(Throw) การรับ(Catch) การเตะ(Kick) การตี(Strike) การเล้ียง บอลโดยใช้ขา(Dribble) การเล้ียงบอลโดยใช้มือ (Dribble) การโยนหรือขว้างมือเดียว เหนือไหล่ (Throw) การหมุน(Twira ) การใช้ขาเตะลูกในอากาศ (Punt) การใช้มือหรือ แขนเล่นลูกในอากาศ (Volley) หลักการฝกึ การเคล่อื นไหวแบบเคล่อื นที่ 1. การเดนิ ใหแ้ กวง่ แขนขา้ งลาตวั 2. การว่งิ ให้แกว่งแขนเร็วเม่ือวง่ิ เรว็ และลงด้วยปลายเท้าทุกครัง้
88 3. การหยุดเดินและการหยุดว่ิง ให้เท้าใดเท้าหนึ่งอยู่ข้างหน้า ใช้การย่อขา เพ่ือ ถา่ ยเทน้าหนักตวั 4. การกลับตัว เป็นทักษะต่อเนื่องจากการเดินหรอื วิ่ง ใช้การหมุนตัวหรือกลับหลัง หัน เพอ่ื เคลื่อนทกี่ ลบั มาเสน้ ทางเดิม 5. การวง่ิ สไลด์ เป็นการเคลือ่ นท่ไี ปดา้ นขา้ ง แขนควรแกว่งไปด้วย วธิ ีการคอื ก้าวชดิ ก้าว จงั หวะจะติดกัน 6. การควบม้า เปน็ การก้าวเท้าใดเทา้ หนง่ึ นา แลว้ กา้ วอีกเทา้ หนง่ึ เข้าไปชิดสน้ เทา้ นา โดยนา้ หนักตัวจะอยู่ท่ีเท้านา เท้าไหนนาจะตอ้ งนาตลอด และปลายเท้าต้องไม่เปิด 7. การกระโจน ให้สายตามองไปให้ไกล ใช้เท้าหลักออกแรงถีบให้พุ่งตัวไปข้างหน้า เหยียดขาหน้าวางเทา้ ใหไ้ กลจากเท้าหลงั ลงเต็มฝ่าเทา้ 8. การกระโดด 2 ขา ย่อเข่าแล้วให้เท้าทั้งสองข้างถีบให้ตัวพุ่งไปข้างหน้า ลงพื้น ดว้ ยฝา่ เท้าพรอ้ มกนั 9. การก้าวเขย่ง เป็นทักษะพื้นฐานในการฝึกกีฬาประเภทกรีฑา ใหก้ ้าวเท้าซ้ายวาง ทีพ่ ้ืนดา้ นหน้า แลว้ เตะเทา้ ขวาไปข้างหน้าพรอ้ มกับเขย่งเท้าซา้ ย ทาสลับกนั ซ้ายและขวา 10. การก้าวกระโดด เป็นทักษะพื้นฐานในการฝึกกีฬาประเภทกระโดดสูง ให้ก้าว เท้าซ้ายวางที่พื้นด้านหน้า แล้วยกเข่าขวาไปข้างหน้าพร้อมกับแกว่งแขน ทาสลับกันซ้าย และขวา 11. การเดินทรงตัว เป็นการเดินท่ีผู้เดินจะต้องควบคุมตนเองให้อยู่บนพื้นที่ ท่ี กาหนดให้ได้ เช่น เดินบนเส้น เดินบนทางต่างระดับ เดินบนท่ีสูง นักเรียนจะต้องฝึกโดย การกางแขนออก เพอ่ื ใหค้ วบคุมตนเองได้ พร้อมกับกา้ วเท้าไปข้างหนา้ สลบั ซา้ ยและขวา
89 คาถามท้ายบท 1. จงแปลความหมายคาศพั ทแ์ ละอธบิ ายตามหวั ข้อที่กาหนดให้ครบถว้ นและถกู ตอ้ ง ลาดับ ช่ือทกั ษะ ชอื่ ภาษาไทย ข้นั ตอนการฝกึ ทกั ษะ ประเภทการ ภาษาอังกฤษ เคลอื่ นไหว ตวั อยา่ ง Bend ก้มตวั ยืนเท้าชิดกัน ก้มตัวนามือไป แตะที่พืน้ หรือปลายเท้า 1 Stretch .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 2 Twist .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 3 Swing .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 4 Sway .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 5 Rock .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 6 Turn .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 7 Sway .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 8 Push .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 9 Pull .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 10 Walk .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 11 Run .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. ..........................
90 ลาดับ ชื่อทกั ษะ ชือ่ ภาษาไทย ขัน้ ตอนการฝกึ ทกั ษะ ประเภทการ ภาษาอังกฤษ เคล่อื นไหว 12 Stop .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 13 Shuttle .......................... .................................................. .......................... Run .......................... .................................................. .......................... 14 GaLLop .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 15 Leap .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 16 Jump .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 17 Skip .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 18 Hop .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 19 Balance .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 20 Strike .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 21 Dribble .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 22 Twira .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 23 Punt .......................... .................................................. .......................... .......................... .................................................. .......................... 24 Volley ........................ .................................................. ..........................
91 รายการอา้ งองิ ภาษาไทย กิตตยิ า ธนกาลมารวย. (2561). กิจกรรมการเคล่อื นไหวเสรมิ ทักษะพฒั นาการเดก็ . สบื ค้นเม่ือ 2 มกราคม 2562, จาก: http://talkaboutsex.thaihealth.or.th/ knowledge/ กุลยา ตันตผิ ลาชวี ะ. (2551). การจดั กิจกรรมการเรียนรู้สาหรบั เด็กปฐมวยั . กรุงเทพฯ : เบรน-เบส บคุ๊ ส.์ เชาวลิต ภมู ิภาค และคณะ. (2554). การออกกาลงั กายเพ่ือสขุ ภาพ. กรุงเทพฯ: วฒั นาพานชิ . ณชั ชา เตชะอาภรณ์ชยั . (2560). ผลการจดั กิจกรรมการเคลื่อนไหวประกอบบทเพลงพนื้ เมอื ง สาหรบั เด็กปฐมวัยทม่ี ีต่อความเข้าใจจงั หวะ. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศลิ ปะ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. 18 (2) : 36 – 42. ดุสิต บุญศิริ, ผ่องลักษณ์ จิตต์การุญ และวิราพร พงศ์อาจารย์. (2560). การจัด ประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้เกม เพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติในการว่ายน้าของเด็ก ปฐมวัย. วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราช ภฏั พบิ ลู สงคราม 11(1), 62-76. พรพมิ ล เวสสวสั ดิ์ และศศิลักษณ์ ขยนั กิจ. (2558). ผลของการจดั กิจกรรมเคล่ือนไหวและ จังหวะโดยใชแ้ นวคิดการเต้นเชิงสร้างสรรค์ทีม่ ีตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรค์ของเด็ก อนบุ าล. วารสารอเิ ล็กทรอนิกสท์ างการศกึ ษา 10(2) : 63-73. พลพรรธน์ บัวแกว้ . (2559). การพัฒนาแบบประเมินตามสภาพจริง ดา้ นทักษะการ เคลอ่ื นไหวขนั้ พื้นฐานสาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศกึ ษา. วทิ ยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ภาคหลกั สตู รและการสอน คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ภาคภูมิ พิลึก. (2560). ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการ เคล่ือนไหว. สืบคน้ เม่ือ 10 มถิ นุ ายน 2561 จาก https://www.slideshare.net/ PopJaturong/1-1-57-wk-24
92 สาวิตรี แก้วรัก. (2557). การเคลอ่ื นไหวเบือ้ งต้น. สืบคน้ เม่ือ 2 มกราคม 2561, จาก : https://sites.google.com/site/sawitreekaewruk/article/ bthkhwammimichux-1 สริ ิพรรณ ลิยะวราคุณ และศศิลกั ษณ์ ขยันกจิ . (2557). ผลของการจดั กจิ กรรมดนตรีตาม แนวคิดมิวสิคฟอร์ลติ เตล้ิ โมสารท์ ทีม่ ีต่อความสามารถในการเคลอ่ื นไหวประกอบ จังหวะของเดก็ อนุบาล. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา 9(4) : 352-364. สุรเชษฐ์ วิศวธีรานนท.์ (2560). กีฬาแชร์บอลและทักษะการเคลือ่ นไหวข้ันพ้ืนฐาน. กรงุ เทพฯ : บริษัทไซเบอร์พริ้นทก์ รปุ๊ จากดั . อรอมุ า ขาวิจิตร์. (2559). ผลการพฒั นาพฤตกิ รรมทางสังคมดว้ ยกิจกรรมดนตรแี ละการ เคลอ่ื นไหว ของเด็กปฐมวัย ระดบั ช้ันอนบุ าล 1 โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ฝ่ายประถม. วารสารครุศาสตร์ 44(4) : 267-279. ภาษาองั กฤษ Falgueras, A.G. (2011). The human nervous system third edition. Retrieved 10 June, 2018, from: https://www.researchgate.net/ publication/ 262990206_THE_HUMAN_NERVOUS_SYSTEM_THIRD_EDITION
93 บทที่ 5 การออกแบบการสอนและการเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ How to design Lesson Plans for Motion Activities กจิ กรรมการสอนทีห่ ลากหลายจะช่วยให้เดก็ มีประสิทธิภาพในการเรียนรกู้ าร เคลอ่ื นทไี่ ดด้ ี การออกแบบการสอนทดี่ ีจะชว่ ยใหเ้ ด็กมีการเคลอื่ นไหวอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ได้ ขนึ้ อยูก่ บั ลักษณะวิธีการฝกึ ฝนและแนวทางการสอนของผู้สอน (Buschner, C.A., 1994). การออกแบบการสอนทเ่ี หมาะสมสาหรับการเคลอ่ื นไหวและทกั ษะอ่นื ๆ การออกแบบการเรียนการสอนพลศึกษาใน 1 บทเรียน ควรจะมีแค่ 1 หรือ 2 แนวคิดเท่าน้ัน เพื่อไม่ให้ผู้เรียนเกิดความสับสนและเกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง การ ออกแบบบทเรยี นจะมีรูปแบบดังนี้ - 1. เขียนชือ่ หรอื หวั ขอ้ ที่ได้เรยี น 2. นึกถึงทักษะท่ีจาเป็นท่ีต้องเรียนรู้มาก่อนที่จะทาให้การเรียนรู้ครั้งนี้ประสบ ความสาเรจ็ 3. อธิบายวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ทางด้านทักษะพิสัย พุทธิพิสัย และจิตพิสัย ให้ผ้เู รียนได้ทราบถึงผลลัพธท์ ีจ่ ะเกดิ ขึน้ ในการเรียนรู้ 4. ระดับผลลพั ธ์ของเกรดที่ควรจะเปน็ สาหรับการเรยี นรู้ 5. จานวนอุปกรณ์ท่ีตอ้ งการในการนาเสนอการเรยี นรู้ 6. การสาธิตการเรียนการสอนของครพู ลศึกษาที่สามารถนาเสนอให้กับนักเรียนให้ เขา้ ใจได้ 7. ผู้สอนต้องรู้ถึงพฤติกรรมที่นักเรียนต้องแสดงออกมาเพ่ือที่จะสามารถประเมิน จากการสงั เกตการและปรับใหม้ คี วามกา้ วหน้าในการเรียนรู้ได้ 8. ผู้สอนจะต้องเรียนรู้ และพร้อมท่ีจะปรับวิธีการเพื่อพัฒนาให้มีทักษะเพิ่มขึ้น หรือลดลงเพื่อใหเ้ หมาะสมตามความสามารถของแตล่ ะบุคคลได้
94 9. การสอนทักษะการเคล่ือนไหวต้องอาศัยโอกาสท่ีเหมาะสม ก่อนหรือหลังเรียน จะต้องสอนให้ผู้เรียนมีความรู้และสามารถปฏิบัติได้ในด้านพุทธิพิสัยและจิตพิสัย โดยผ่าน การเรียนรู้ที่เกิดจากประสบการณ์น้ีได้ สรุปการออกแบบการเรียนการสอนการเคลื่อนไหวในช่ัวโมงพลศึกษา ผู้สอน จะต้องมีความสามารถท่ีจะออกแบบการสอนให้เป็นลาดับขั้นตอนจากง่ายไปยากได้ และต้องอาศัยประสบการณ์ท่ีถูกต้อง การเสริมแรงและความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือท่ีจะ ออกแบบการเรียนรูก้ ารเคล่ือนไหวให้ดีท่ีสุด การออกแบบการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ เป็นสิ่งท่ีมีอยู่ในตัวผู้สอนที่ทาหน้าที่สอนมานาน แต่ในการสอน เด็กจะต้องพบกับ ผู้สอนท้ังไม่เคยมีประสบการณ์และมีประสบการณ์มากมาย สิ่งสาคัญคือแนวคิดในการ เคล่ือนไหวที่ถูกต้องที่ผู้สอนทุกคนต้องมีเหมือนกัน จึงจะออกแบบการจัดกิจกรรมการ เคล่ือนไหวท่ีหลากหลายได้เหมอื นกนั การออกแบบการสอนแบบเดิมเดิมจะสร้างความ เบื่อหน่ายให้กับผู้เรียนและลดความน่าสนใจของกิจกรรมลง ทาให้การฝึกฝนการ เคลื่อนไหวไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นการออกแบบการสอนจึงเป็นส่ิงสาคัญยิ่งที่ควรจะ ดาเนนิ การควบคไู่ ปกบั การเขยี นแผนการจดั การเรียนรู้ การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ มีความสาคัญหลายประการเพ่ือเป็นแนวทางให้กับผู้สอน สอนด้วยความม่ันใจ ในการจัดการเรียนรู้นั้น ผู้สอนจาเป็นต้องศึกษา วิเคราะห์ วางแผน และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้มาใช้ในการจัดการชั้นเรียนเพ่ือให้ผู้เรียนได้รับ ประสบการณ์ท่ีหลากหลาย เกิดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับวัย และคานึงถึงความแตกต่าง ระหว่างผู้เรียนเป็นสาคัญ นักการศึกษาได้ให้ความหมายของการวางแผนการสอนไว้ใน แนวเดียวกัน ดงั น้ี กรมวิชาการ (2545) ให้ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู้ไว้ว่า แผนการ จัดการเรียนร้กู ็คือ แผนการสอนน่นั เองแต่เปน็ แผนท่ีเน้นให้นักเรียนไดพ้ ฒั นาการเรียนของ ตนดว้ ยกิจกรรมท่ีหลากหลาย มีครเู ป็นผแู้ นะนาหรือจัดแนวการเรียนแก่นักเรียน แผนการ
95 จัดการเรียนรู้ควรจัดกิจกรรมให้นักเรียนรู้จักคิด ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์วิจารณ์ข้อมูลและ สังเคราะห์เป็นความรู้ของตนเอง นักเรียนจะอ่านหนังสือ จดบันทึก และควรจะได้เรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เรียนรู้จากวิทยากรในท้องถิ่น จากสถานท่ีต่าง ๆ ในชุมชน จากสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ เชน่ อินเทอรเ์ น็ต ซีดรี อม วีดิทัศน์ เปน็ ตน้ ชนาธิป พรกุล (2552) ได้ให้ความหมายไว้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้เป็นแนว ทางการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่เขียนไว้ล่วงหน้าทาให้ผู้สอนมีความพร้อม และ มนั่ ใจวา่ สามารถสอนได้ บรรลุจดุ ประสงค์ท่ีตามท่กี าหนดไว้ และดาเนนิ การสอนได้ราบรน่ื ชวลิต ชูกาแพง (2553) ได้อธิบายไว้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง เอกสารที่ เป็นลายลักษณ์อักษรของครูผู้สอน ซึ่งเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละ คร้ัง โดยใช้สื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง เนื้อหา เวลา เพอื่ พฒั นาการเรียนรู้ ของผ้เู รียนใหเ้ ปน็ ไปอย่างเต็มศักยภาพ ณัฐวุฒิ กิจรุ่งเรือง และคณะ (2545) ให้แนวคิดว่าแผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง การเตรียมการจัดการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อใช้ เปน็ แนวทางในการดาเนินการจดั การเรียนรูใ้ นรายวชิ าใดวิชาหน่ึง ใหบ้ รรลตุ ามจุดมงุ่ หมาย ที่หลักสูตรกาหนดและแผนการจัดการเรียนรู้มี 2 ระดับ ได้แก่ ระดับหน่วยการเรียน และ ระดบั บทเรยี น รุจิ ภู่สาระ (2545) อธิบายว่าแผนการจัดการเรียนรู้เป็นการเตรียมการสอนหรือ โครงการที่จัดทาเป็นลายลักษณ์อักษรเพ่ือใช้ในการปฏิบัติการสอนในรายวิชาใดรายวิชา หน่ึงอย่างเป็นระบบ และเป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้ครูพัฒนาการตัดการเรียนการสอนตาม วัตถปุ ระสงค์ วิมลรตั น์ สุนทรวิโรจน์ (2553) ไดอ้ ธบิ ายไวว้ ่า แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นแผนการ จัดกิจกรรมการเรียน การจัดการเรียนรู้ การใช้ส่ือการจัดการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล ให้สอดคล้อง กับเน้ือหาและจุดประสงค์ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร หรือกล่าวอกี นัยหนึ่งได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นแผนที่จัดทาข้ึนจากคู่มือครู หรือแนวทางการจัดการเรียนรู้ของ กรมวิชาการ ทาให้ผู้จัดการเรียนรู้ ทราบว่าจะจัดการเรียนรู้เนื้อหาใด เพื่อจุดประสงค์ใด จดั การเรียนรู้อย่างไร ใช้สือ่ อะไร และวดั ผล ประเมนิ ผลโดยวธิ ีใด
96 สาลี รกั สุทธี (2546) ให้ความหมายของแผนการจัดการเรียนรไู้ วว้ า่ เป็นการนาวิชา หรือกลุ่มประสบการณ์ท่ีต้องทาการสอนตลอดภาคเรียนมาสร้างเป็นแผนการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน การใช้ส่ือ อุปกรณ์การสอน และการวัดผลประเมินผล สาหรับเนื้อหา และจุดประสงค์การเรียนย่อยๆให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หรือจุดเน้นของหลักสูตร สภาพผู้เรียนความพร้อมของโรงเรียน ในด้านวัสดุอุปกรณ์ตรงกับชีวิตจริงในท้องถิ่น ซึ่ง กล่าวอีกนัยหนึ่งแผนการจัดการเรียนรู้ก็คือ การเตรียมการสอนเป็นลายลักษณ์อักษร ล่วงหนา้ หรอื บันทึกการสอนตามปกตนิ ัน่ เอง เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ (2552) อธิบายว่าแผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง วัสดุหลักสูตรท่ีควรพัฒนามาจากหน่วยการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ เพ่ือให้การจัดการเรียนการ สอนบรรลุเป้าประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร เป็นส่วนที่จะแสดงการ จดั การเรียนการสอนตามบทเรยี น และประสบการณ์การเรยี นรูเ้ ปน็ รายวันหรือรายสัปดาห์ กล่าวโดยสรุป แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง แนวทางการสอนท่ีครูที่จัดทาข้ึน ภายใต้กรอบหลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้น ๆ และทาให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ตามท่ีครู ต้องการ ถือเป็นแนวทางที่สาคัญโดยจะช่วยให้ครูสามารถสอนได้ครบตามวัตถุประสงค์ที่ กาหนดข้ึน ทั้งน้ี แผนการจัดการเรียนรู้สามารถยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมของผู้เรียน และบริบทของโรงเรยี น เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้สงู สุดและมีประสทิ ธภิ าพ ความสาคัญของแผนการจัดการเรียนรู้ การวางแผนการจัดการเรียนรู้มีส่วนสาคัญจะทาให้การจัดการเรียนรู้ประสบ ความสาเร็จ หรือล้มเหลวน้ัน ต้องศึกษาวิเคราะห์และออกแบบหลายประการ จาก การศึกษารวบรวมข้อมูล ทัศนะของนักวิชาการได้อธิบายความสาคัญของแผนการจัดการ เรียนรไู้ ว้ดงั น้ี ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย และมาเรียม นิลพันธ์ุ (2553) ได้อธิบายไว้ว่า แผนการ จดั การเรียนรู้มี รายละเอยี ดสาคัญดงั น้ี 1) แผนการจัดการเรียนรู้เป็นหลักฐานท่ีแสดงถึงการเป็นครูมืออาชีพ มีการเตรียม ล่วงหน้า แผนการจัดการเรียนรู้จะสะท้อนให้เห็นถึงการใช้เทคนิคการสอน ส่ือนวัตกรรม
97 และจิตวิทยาการ เรียนรู้มาผสมผสานกันหรือประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพของ นกั เรียนทีต่ นเองสอนอยู่ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ช่วยส่งเสริมให้ผู้สอนได้ศึกษาค้นคว้า หาความรู้เกี่ยวกับ หลักสูตร เทคนิคการสอน สื่อนวัตกรรม และวิธกี ารวัดและประเมนิ ผล 3) แผนการจัดการเรียนรู้ทาให้ครูผู้สอนและครูที่จะปฏิบัติการสอนแทน สามารถ ปฏิบตั กิ าร สอนแทนได้อยา่ งมนั่ ใจและมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเป็นหลักฐานที่แสดงข้อมูลด้านการเรียนการสอน การวัดและ ประเมนิ ผลท่จี ะนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการจดั การเรียนรู้ในครงั้ ต่อไป อาภรณ์ ใจเท่ียง (2550) ได้อธิบายไว้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้มีความสาคัญ หลายประการดังน้ี 1) ทาให้ผู้สอนสอนด้วยความมั่นใจ เมอ่ื เกิดความมน่ั ใจในการสอนย่อมจะสอน ด้วยความ คล่องแคล่ว เป็นไปตามลาดับขั้นตอนอย่างราบร่นื ไม่ติดขัด การสอนจะดาเนิน ไปสู่จุดหมายปลายทาง อยา่ งสมบรู ณ์ 2) ทาให้เป็นการสอนที่มีคุณค่าคุ้มกับเวลาท่ีผ่านไป เพราะผู้สอนอย่างมีแผนมี เป้าหมายและมีทิศทางในการสอน มิใช่สอนอย่างเล่ือนลอย ผู้เรียนจะได้รับความรู้ ความคิด เกิดเจตคติ เกิดทักษะ เกิดประสบการณ์ใหม่ตามที่ผู้สอนวางแผนไว้ ทาให้เป็น การจดั การเรียนการสอนท่ีมคี ณุ ค่า 3) ทาใหเ้ ป็นการสอนที่ตรงตามหลกั สูตร ทั้งนีเ้ พราะในการวางแผนการจัดการ เรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรท้ังด้านจุดประสงค์ เนื้อหาสารท่ีจะสอน การจัดกิจกรรม การเรียนการสอน การใช้ส่ือการสอน และการวดั ผลและประเมินผล แล้วจดั ทาออกมาเป็น แผนการจัดการเรียนรู้ 4) ทาให้การสอนบรรลุผลอย่างมีประสิทธิ เนื่องจากผู้สอนต้องวางแผนการจัดการ เรียนรู้ อย่างรอบคอบในทุกองค์ประกอบของการ รวมทั้งการจัดเวลาเวลา สถานที่ และสิ่งอานวย ความ สะดวกต่าง ๆ ดังน้ัน เม่ือมีการวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่รอบคอบ และปฏิบัติตามแผนการ จัดการ เรยี นรทู้ ีว่ างไว้ ผลของการสอนยอ่ มสาเรจ็ ไดด้ ีกวา่ การไม่ไดว้ างแผนการจัดการเรยี นรู้
98 5) ทาให้ผ้สู อนมีเอกสารเตือนความจา และสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการ สอนต่อไป ไม่ให้เกดิ ความซ้าซ้อนและเป็นแนวทางในการทบทวนหรอื การออกข้อสอบเพ่ือ วัดผลและประเมนิ ผลผ้เู รยี นได้ 6) ทาให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ดีต่อผู้สอนและต่อวิชาที่เรียน ทั้งนี้เพราะผู้สอน สอนด้วยความ พร้อมเป็นความพร้อมท้ังทางด้านจิตใจคือ ความมั่นใจในการสอน และ ความพร้อมทางด้านวัตถุ คือ การที่ผู้สอนได้เตรียมเอกสาร หรือส่ิงการสอนไว้อย่างพร้อม เพรียง เมื่อผู้สอนมีความพร้อมในการสอน ย่อมสอนด้วยความกระจ่างแจ้ง ทาให้ผู้เรียน เกิดความเข้าใจอย่างชัดเจนในบทเรียน อันจะส่งให้ ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ดีต่อผู้สอนและ ตอ่ วชิ าท่ีเรียน ธวัช วนั ชชู าติ (2542) ไดใ้ ห้ความสาคัญของแผนการจัดการเรยี นรู้ ดงั นี้ 1) ช่วยให้ครูมีความเข้าใจในจุดมุ่งหมายของบทเรียนท่ีจะนามาสอนและช่วยให้ การเรียนการสอนเป็นไปตามเจตนารมณข์ องหลกั สตู ร 2) ชว่ ยใหค้ รไู ด้มโี อกาสปรบั ปรุงแกไ้ ขข้อบกพร่อง ในการสอนของตนเองให้ดีข้ึนเพราะ มีแผนการสอนเป็นต้นแบบสาหรับการปรับปรุงแก้ไขอยู่แล้ว ครูจะปรับเปลี่ยนรูปแบบของ กิจกรรม หรอื ส่ือการเรยี นการสอนได้อยา่ งรวดเร็วข้นึ กวา่ การทไ่ี มม่ แี ผนการสอนไวต้ รวจสอบ 3) ช่วยให้ครูมีความม่ันใจในการสอน สอนได้ทันเวลา และครูอื่นก็สามารถสอน แทนไดเ้ มือ่ ถงึ คราวจาเปน็ 4) นกั เรียนจะเรยี นรู้ได้อยา่ งรวดเรว็ และเป็นตามลาดบั ขัน้ ตอน 5) นักเรยี นจะเกดิ เจตคตทิ ่ีดตี ่อการเรยี น และมคี วามศรัทธาในตวั ครู วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542) ได้อธิบายความสาคัญของแผนการจดั การเรียนรูไ้ วด้ งั นี้ 1) ก่อให้เกิดการวางแผนและการเตรียมการสอนล่วงหน้าเป็นการนาเทคนิค วิธีการสอน การเรียนรู้สื่อเทคโนโลยีและจิตวิทยาการเรียนการสอนมาผสมผสาน ประยกุ ต์ใช้ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพแวดล้อมต่าง ๆ 2) ส่งเสริมให้ครูผู้สอนค้นคว้าหาความรู้เก่ียวกับหลักสูตร เทคนิคการเรียนการสอน การเลือกใช้ส่ือ การวัดและประเมนิ ผลตลอดจนประเด็นตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วขอ้ งและจาเปน็ 3) เป็นคู่มือการสอนสาหรับครูผู้สอนและครูที่สอนแทนนาไปใช้ปฏิบัติการในการ สอนไดอ้ ย่างม่นั ใจ
99 4) เปน็ หลักฐานแสดงขอ้ มลู ด้านการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลทีจ่ ะ เป็นประโยชน์ตอ่ การจัดการเรียนการสอนต่อไป 5) เป็นหลักฐานแสดงความเชี่ยวชาญของครูผู้สอน ซ่ึงสามารถนาไปเสนอเป็น ผลงานทางวชิ าการได้ ณฐั วฒุ ิ กจิ รุง่ เรอื ง และคณะ (2545) ได้ให้ความสาคัญของการทาแผนการจัดการเรียนรู้ ดังน้ี 1) เพือ่ ให้เห็นความตอ่ เนอ่ื งของการจัดการเรยี นรู้ตามหลกั สตู ร 2) เพ่ือให้การจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ และความ ต้องการของผเู้ รยี น 3) เพ่อื ใหส้ ามารถเตรยี มวัสดุ อปุ กรณ์ และแหล่งการเรียนรใู้ ห้พร้อมกอ่ นทาการสอน 4) เพ่อื ใหผ้ ู้สอนมคี วามม่ันใจและเชื่อม่นั ในการจดั การเรยี นรู้ 5) เพอ่ื ใหเ้ กดิ การปรบั ปรงุ วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้จากขอ้ จากดั ท่พี บ 6) เพือ่ ใหผ้ อู้ น่ื สอนแทนไดใ้ นกรณีทมี่ เี หตุจาเป็น 7) เพอ่ื ให้เป็นหลักฐานสาหรับการพจิ ารณาผล และหาคุณภาพในการปฏิบตั ิการสอน 8) เพ่ือเป็นเคร่ืองบ่งชี้ความเป็นวิชาชีพของครูผู้สอน (แผนการจัดการเรียนรู้เป็น ลกั ษณะเฉพาะของวชิ าชีพครู) กล่าวโดยสรุป แผนการจัดการเรียนรู้มีความสาคัญอย่างมาก ช่วยให้ครูมั่นใจ ควบคุมเวลาในการจดั กิจกรรมได้ โดยเฉพาะครูท่ีทาแผนการจัดการเรียนรู้เอง จะทาให้รู้ สภาพการณ์ และปรับปรุงการสอนได้ทันทีหลังจากที่สอนเสร็จ และที่สาคัญคือ ในกรณี สอนแทน ครูท่ีมาสอนแทนจะเข้าใจหลักการ แนวทางการจัดการเรียนการสอนของวิชานี้ ไดง้ ่ายขึน้ และมคี วามตอ่ เนอื่ งในการจัดการเรียนการสอน องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ สวุ ิทย์ มลู คา (2551) ได้กลา่ วถึงองค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ดังนี้ สว่ นประกอบทีส่ าคญั ของแผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้มีหลายรูปแบบอาจอยู่ในรูปของความเรียงหรือตาราง หรือ ทั้งความเรียงและตารางรวมกันก็ได้ ซึ่งผู้สอนสามารถเลือกรูปแบบได้ตามความเหมาะสม จะเหน็ วา่ แผนการจัดการเรียนรู้ ควรประกอบดว้ ยสว่ นสาคญั 3 สว่ น คือ
100 ส่วนท่ี 1 ส่วนนาหรือหัวแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นส่วนประกอบท่ีแสดงให้เห็น ภาพรวมของแผนฯ ว่าเป็นแผนฯ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด เรื่องอะไร ใช้เวลาในการจัด กจิ กรรมนานเท่าใด สว่ นท่ี 2 ตวั แผนการจดั การเรยี นรู้ (องค์ประกอบทส่ี าคญั ) 1. สาระ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ 3. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น 4. ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวัง 5. สาระสาคัญ 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ ประกอบด้วย 6.1 จดุ ประสงค์ปลายทาง 6.2 จุดประสงค์นาทาง 7. สาระการเรยี นรูเ้ นื้อหา 8. กิจกรรม/กระบวนการเรยี นรู้ 9. สอ่ื นวตั กรรม/แหล่งเรยี นรู้ 10.การวัดและประเมินผลประกอบด้วย 10.1 วธิ ีประเมนิ 10.2 เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการประเมิน 10.3 เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน 11.เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 12.บันทกึ ผลการจัดการเรยี นรู้ สว่ นที่ 3 ท้ายแผนการจัดการเรยี นรู้ ประกอบด้วยบันทึกผลการใช้แผนการจัดการ เรียนรู้ ซึ่งเป็นส่วนที่ผู้สอนใช้บันทึก การสังเกตท่ีพบจากการน าแผนไปใช้ เช่นปัญหาและ แนวทางการแก้ไข กิจกรรมเสนอแนะและข้อมูลอ่ืนๆ เพ่ือประโยชน์ในการปรับปรุงแผนฯ ในการไปใช้ต่อไป อีกส่วนหนึ่งของท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ได้แก่ เอกสารประกอบ การสอนได้แก่ใบงาน แบบทดสอบท่ใี ช้ในการจัดการเรยี นรู้ ตามแผนน้นั ๆ เป็นต้น
101 สุวิมล สุวรรณจันดี (2554) กล่าวว่า องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยส่วนนา หรือหัวของแผนการจัดการเรียนรู้ ตัวแผนการจัดการเรียนรู้ซึ่ง ประกอบด้วย การนาเข้าสู่บทเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การสรุป ส่ือการเรียนการสอน การวดั ผลประเมินผล เอกสารประกอบการสอน บันทกึ ผลหลงั สอน วมิ ลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2553) ไดอ้ ธบิ ายวา่ องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ เกิดข้ึนจากความพยายามตอบคาถามดังตอ่ ไปนี้ 1. จดั การเรยี นรอู้ ะไร (หน่วย หัวเรือ่ ง ความคิดรวบยอด หรือสาระสาคญั ) 2. เพอ่ื จุดประสงคอ์ ะไร (จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม) 3. ตวั สาระอะไร (โครงรา่ งเน้อื หา) 4. ใช้วธิ กี ารใด (กจิ กรรมการเรยี น การจดั การเรียนร)ู้ 5. ใช้เคร่อื งมืออะไร (สอ่ื การเรียน การจัดการเรียนรู้) 6. ทราบได้อยา่ งไรว่าประสบความสาเร็จหรอื ไม่ (วัดผลประเมนิ ผล) ดังน้ันเพื่อตอบคาถามดังกล่าว วมิ ลรตั น์ สุนทรโรจน์ (2553) จึงกาหนดให้แผนการ จดั การเรยี นรมู้ อี งคป์ ระกอบดงั น้ี 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้ หนว่ ยท่ีจัดการเรยี นรู้ และสาระสาคัญของเรือ่ ง 2. จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 3. สาระการเรยี นรู้ 4. กจิ กรรมการเรียน การจดั การเรยี นรู้ 5. ส่อื การเรยี น การจดั การเรยี นรู้ 6. วัดผลประเมินผล กล่าวโดยสรุป สิ่งท่ีสาคัญขององค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ คือ การ เขยี นแผนการจัดการเรียนรู้เพือ่ ตอบคาถามให้ได้ว่า จดั การเรยี นรู้อะไร เพื่อจุดประสงค์ อะไร ตัวสาระอะไร ใช้วิธีการใด ใช้เคร่ืองมืออะไร และทราบได้อย่างไรว่าประสบ ความสาเร็จหรือไม่ ซึ่งสิ่งเหล่าน้ีล้วนเป็นวัตถุระสงค์ของการเขียนแผนการจัดการ เรียนรทู้ าให้เกิดองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ท้ัง 6 อย่างข้างต้น และนาไปสู่ การจัดการเรียนการสอนทท่ี าใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดประสิทธภิ าพมากทีส่ ดุ ในการจดั การเรียนรู้
102 ลกั ษณะของแผนการจดั การเรียนรู้ทีด่ ี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี ควรมีลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้ (อาภรณ์ ใจเท่ยี ง, 2550) 1. เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ให้ผเู้ รยี นได้ลงมอื ปฏิบัติให้มากท่ีสุด โดยมีผู้สอนเป็น ผู้ให้คาแนะนา ส่งเสริม หรือกระตุ้นให้กิจกรรมท่ีผู้เรียนดาเนินการเป็นไปตามจุดประสงค์ การเรยี นร้ทู ี่กาหนดไว้ 2. เป็นกิจกรรมทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นคน้ พบคาตอบ หรอื ทาสาเร็จด้วยตนเอง โดย ผู้สอนต้องลดบทบาทจากผู้บอกคาตอบมาเป็นผู้คอยกระตุ้นด้วยคาถามหรือปัญหา ให้ ผ้เู รียนคดิ แก้ไขหรอื หาแนวทางไปส่คู วามสาเรจ็ ในการทากจิ กรรมดว้ ยตนเอง 3. เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งให้ผู้เรียนรับรู้ และเรียนรู้อยา่ งเป็นกระบวนการ และสามารถ นากระบวนการไปใชไ้ ด้จรงิ ในชีวิตประจาวนั 4. เป็นกิจกรรมท่ีผู้สอนได้ใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับ จดุ ประสงค์การเรยี นรูเ้ หมาะสมกับสาระการเรียนรู้และผ้เู รียน 5. เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวัสดุอุปกรณ์ แหล่งการเรียนรู้ใน ชมุ ชนและภูมิปญั ญาท้องถิ่น สาลี รกั สทุ ธี (2546) กลา่ วถึงลักษณะของแผนการจดั การเรยี นร้ผู ู้รู้ได้สรุปไว้ ตรงกนั ดงั นี้ 1. เปน็ ค่มู ือการสอนทีค่ รูพัฒนาขึ้นจากวิชาทตี่ นเองสอน ใชส้ อนเป็นประจาและ ผ้อู ่ืนสามารถใชส้ อนแทนไดเ้ ม่ือตนเองไมอ่ ยู่ 2. เป็นเอกสารการสอนท่มี ลี ักษณะสมบูรณ์ เพราะในแต่ละแผนจะประกอบไปดว้ ย ส่วนต่าง ๆ ท่จี ะนาพาให้นกั เรียนรู้อยา่ งมชี ีวิตชีวา 3. มีลักษณะเหมอื นชุดการสอน เพราะในแตล่ ะแผนมีความสมบรู ณใ์ นตวั 4. แตล่ ะแผนเมอ่ื สอนจบจะสามารถวดัผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นหรอื ผลสะท้อน ป้อนกลับไดท้ ันที ทาใหค้ รเู ข้าใจนักเรียน และนกั เรยี นร้ตู นเองไดด้ ี 5. การอธบิ าย สาธิต บรรยายเปน็ ขัน้ ตอนการจัดกจิ กรรมชัดเจน งา่ ย เนน้ ผู้เรียน เปน็ ศนู ยก์ ลาง
103 สุวิมล สุวรรณจันดี (2554) กล่าวว่า ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี เป็นแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีความชัดเจนทั้งในด้านเนื้อหา วัตถุประสงค์ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้วัสดุอุปกรณ์ที่จัดหาได้ในท้องถิ่น นักเรียนมี ส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนได้มากท่ีสุด ส่งผลให้บรรลุจุดประสงค์ในการจัดการ เรยี นการสอน บญุ นา เกษี (2555) กลา่ ววา่ แผนการจัดการเรียนร้เู ป็นคู่มือการสอนท่คี รพู ัฒนาขึ้น จากวิชาท่ีตนเองสอน โดยเป็นเอกสารการสอนท่ีสมบูรณ์ ในส่วนประกอบไม่ว่าจะเป็นเนื้อหา จดุ ประสงค์ กิจกรรมการเรียนการสอน สอ่ื อุปกรณ์ รวมทง้ั การวดั และประเมินผล กล่าวโดยสรุป ลักษณะของแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ีดีมีจุดท่ีสาคัญคือ การเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ ไม่ว่าจะเป็น การให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติให้มากท่ีสุด การค้นพบหาความรู้ด้วย ตนเอง เป็นต้น ท้ังน้ี ผู้สอนจะต้องกากับและควบคุมการจัดการเรียนรู้ให้ดาเนินไปตาม แผนการจัดการเรียนรู้ที่วางไว้ จงึ จะทาใหเ้ กิดประสิทธขิ องแผนการจดั การเรยี นรูใ้ ห้มากทีส่ ุด ขั้นตอนการจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้ การจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ มีลาดับขัน้ ตอน ดงั น้ี (อาภรณ์ ใจเทย่ี ง, 2550) 1. วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา รายปี หรือรายภาค และหน่วยการเรียนรทู้ ี่สถานศึกษา จัดทาข้นึ เพ่ือประโยชน์ในการเขยี นรายละเอียดของแตล่ ะหัวข้อของแผนการจดั การเรียนรู้ 2. วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเพ่ือนามาเขียนเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยใหค้ รอบคลมุ พฤตกิ รรมทั้งดา้ นความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ เจตคติ และคา่ นิยม 3. วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ โดยเลือกและขยายสาระท่ีเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ ผเู้ รียนชุมชน และท้องถิน่ 4. วิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้ โดยเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคญั 5. วิเคราะห์กระบวนการประเมินผล โดยเลือกใช้วิธีการวัดและประเมินผลท่ี สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้
104 6. วิเคราะห์แหละแหล่งการเรียนรู้ โดยคัดเลือกสื่อการเรียนรู้ และแหล่งการ เรียนรู้ทง้ั ในและนอกหอ้ งเรียน ใหเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกับกระบวนการเรียนรู้ กล่าวโดยสรุป ข้ันตอนการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ถือได้ว่าเป็นการวิเคราะห์ องค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ใหม่ โดยเร่ิมจาก การ วิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ กระบวนการจัดการ เรียนรู้ การประเมินผล และแหล่งการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม เพ่ือให้ได้มาซ่ึงแผนการจัดการ เรยี นรทู้ ่ดี ีต่อไป รปู แบบของแผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้มีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้สอน หรือสถานศึกษาจะ เลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมและสะดวกต่อการนาไปใชอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ (ศศิธร เวยี งวะลยั , 2556) รูปแบบการเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าพลศกึ ษา การเขียนแผนการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยการเรียนการสอนอย่างละเอียด ประกอบดว้ ยองค์ประกอบสาคัญดังน้ี (จริ กรณ์ ศริ ปิ ระเสริ ฐ, 2543) 1) เริม่ จากการพิจารณากาหนดสาระสาคัญและจุดประสงค์ของการเรียนการสอน ให้สอดคลอ้ งกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ระดบั ความสามารถ และความสนใจของนกั เรียน โดยแบ่งออกเป็นจุดประสงคก์ ารเรียนรู้และจุดประสงคร์ ะดับหนว่ ยการสอน 2) วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับเน้ือหา จุดประสงค์ สถานท่ี อุปกรณ์ และส่ิงอานวยความสะดวกที่มีอยู่ ตลอดจนลักษณะของนักเรียน โดยทั่วไป แลว้ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนระดับหน่วยจะประกอบดว้ ย 5 ข้ันครา่ ว ๆ คอื 2.1) ขน้ั ตรวจความเรียบร้อยและอบอุน่ รา่ งกาย 2.2) ขั้นอธบิ ายและสาธติ 2.3) ขั้นฝึกปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 2.4) ขั้นนาไปใช้ 2.5) ขน้ั สรุปและสขุ ปฏิบตั ิ
105 3) วางแผนกาหนดสื่อการเรียนการสอน เพื่อช่วยให้กิจกรรมการเรียนการสอน ดาเนนิ ไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4) หาวิธีการในการวดั ผลและประเมนิ ผล เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ กลา่ วโดยสรุป รูปแบบการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้วชิ าพลศึกษามีจุดเริ่มต้น ที่สาคัญคือการศึกษาพัฒนาการของผู้เรียนก่อน เพื่อให้ผู้สอนรู้ว่าผู้เรียนสามารถทา อะไรได้บ้าง มีความต้องการด้านใดบ้าง และที่สาคัญจะทาให้ผู้สอนสามารถเลือก กิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้เรียน ท้ังน้ี ในรูปแบบการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้วิชา พลศึกษาจะประกอบไปด้วย 5 ข้ันท่ีสาคัญดังนี้ ข้ันท่ี 1 ตรวจความเรียดบร้อยและ อบอุ่นร่างกาย ขั้นที่ 2 อธิบายและสาธิต ขั้นที่ 3 ข้ันฝึกปฏิบัติกิจกรรม ขั้นท่ี 4 ขั้น นาไปใช้ และข้ันท่ี 5 ขั้นสรุปและสุขปฏิบัติ โดยท่ี 5 ข้ันดังกล่าว จะเป็นส่วนที่สาคัญ และถอื ไดว้ า่ เป็นแนวทางท่ใี หผ้ ู้สอนสามารถจดั การเรียนการสอนได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ การเขยี นรายละเอียดในองคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรียนรู้ การจัดทาแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่มปี ระสทิ ธภิ าพนนั้ นอกจากต้ังอาศยั ความเขา้ ใจเก่ียวกับ รูปแบบ และองค์ประกอบของแผนจัดการเรียนรู้ดังที่กล่าวมาแล้ว ยังต้องมีความเข้าใจเก่ียวกับ วิธีการเขียนรายละเอียดภายในองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยประการหนึ่ง แผนการ จัดการเรียนรูท้ ี่เขียนข้ึนจงึ เป็นแผนจัดการเรยี นรู้ที่สมบูรณ์และมีประสิทธิภาพในการนาไปใช้ดังท่ี จะเสนอตอ่ ไปนี้ (ณฐั วุฒิ กิจรุ่งเรอื ง, วชั รินทร์ เสถยี รยานนท์ และวชั นีย์ เชาวด์ ารง, 2545) การเขียนส่วนหวั เร่ือง (Heading) ส่วนหัวเร่ือง เป็นส่วนแรกของแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นส่วนที่บอกรายละเอียด เบื้องต้นของแผนการจดั การเรยี นรู้ มแี นวทางการเขยี นดังต่อไปน้ี 1) ระบลุ าดับที่ของแผนการจดั การเรียนรู้ 2) ระบกุ ลมุ่ สาระการเรยี นรู้ / สาขาวชิ า 3) ระบุระดับชนั้ ทส่ี อน 4) ระบุหัวขอ้ เรื่อง
106 5) ระบเุ วลาท่ใี ช้จัดการเรียนรู้ 6) ระบวุ ันที่ เดือน ปี และชว่ งเวลาฝนการจัดการเรียนรู้ การเขยี นสาระสาคญั (Concept) สาระสาคัญ คือ ข้อความท่เี ขียนเพื่อระบใุ ห้เห็นแก่น หรือเห็นข้อสรุปที่ต้องการให้ เกิดขึ้นกับผู้เรียนหลังจากการเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหน่ึง ท้ังด้านเนื้อหา ความรู้ ด้านทักษะ หรอื ด้านเจตคติ ซง่ึ ขึ้นอยกู่ ับลกั ษณะเหมาะของเรือ่ งทีน่ าเสนอ สาระสาคัญ เป็นคาท่ีใช้ในความหมายเดียวกับสังกัป ความคิดรวบยอด มโนทัศน์ และมโนมติ ข้นึ อยู่กับหนว่ ยงานหรอื ความนยิ มใช้ มีแนวการเขียนดังต่อไปนี้ 1) เขียนในลักษณะของการสรุปเนื้อหาความรู้ ทักษะ หรือเจตคติที่เป็น เปา้ หมายดว้ ยภาษาที่รัดกมุ และชดั เจน 2) เขียนในลกั ษณะความเรียงและเขยี นเป็นข้อในกรณีท่ีการจัดการเรียนรู้ ครง้ั นัน้ มมี ากกวา่ 1 สาระสาคัญ 3) การจัดการเรียนรู้ในระดับชั้นต้น ๆ ควรมีสาระสาคัญเดียวในการ จัดการเรียนรคู้ รัง้ หน่ึง การเขียนวัตถุประสงค์ (Objective) จุดประสงค์หรือวัตถุประสงค์ คือ ข้อความที่ระบุคุณลักษณะด้านเน้ือหา ความรู้ ด้านทักษะ หรือด้านเจตคติท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน หลังจากท่ีได้เรียนรู้เร่ืองใดเรื่อง หนึ่ง การเขียนจุดประสงค์ในแผนการจัดการเรียนรู้มีวิธีการเขียนหลายลักษณะ แต่ โดยทว่ั ไปนิยมเขยี นในลักษณะของจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ซ่ึงมีรายละเอียดดงั นี้ จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objective) คือ จุดประสงค์ที่บ่งชี้ ถึงพฤติกรรมที่ผู้เรียนสามารถแสดงออกหลังจากท่ีได้เรียนรู้ตามแผนจัดการเรียนรู้ท่ีครู กาหนดไว้ พฤติกรรมดังกล่าวต้องเป็นพฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมท่ีสมบูรณ์ควรประกอบไปด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน ได้แก่ สถานการณ์หรือ เงื่อนไขท่ีครูตั้งขึ้น (Condition) พฤติกรรมของผู้เรียนที่คาดหวังให้แสดงออก (Terminal Behavior) และเกณฑบ์ ่งชี้ความสามารถของนกั เรียนทจี่ ะแสดงพฤตกิ รรม (Criteria)
107 1. สถานการณ์ท่ีครตู ัง้ ขึ้น มักใชค้ าว่า: หลงั จากท.่ี ......,เมอ่ื กาหนด............., เม่ือนา.............,เมอื่ ......................ฯลฯ 2. พฤติกรรมของนกั เรียนที่ครคู าดหวงั ใหแ้ สดงออก มักใช้คาว่า: อธบิ าย, บรรยาย, บอก, เขยี น, วาด, ชี,้ คานวณ, ตอบ, ทอ่ ง, เปรียบเทยี บ. สรา้ ง, ทดลอง, วิเคราะห,์ ยกตัวอย่าง, สาธิต ฯลฯ คาท่ไี ม่ควรนามาใช้: ร,ู้ เข้าใจ, ซาบซ้งึ , ตระหนกั , จนิ ตนาการ ฯลฯ 3. เกณฑ์ของระดับความสามารถของพฤตกิ รรมท่ีนักเรยี นแสดงออก มักจะใช้คาว่า: ได้ถูกต้อง, ได้ทุกข้อ, ได้ 8 ข้อ ใน 10 ข้อ, อย่างน้อย 5 ช่ือ, ภายใน 10 นาที ฯลฯ ในการเขียนจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมหากไม่สามารถเขียนไดค้ รบท้ัง 3 ส่วน ให้ ยึดพฤติกรรมทค่ี าดหวงั ไวเ้ ปน็ หลักในการเขยี น แนวการเขยี นวตั ถุประสงค์ 1) เขียนให้สมั พันธก์ บั สาระสาคญั 2) เขียนให้ครอบคลุมทั้งด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ด้านจิต พสิ ัย (Affective Domain) และด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ด้านพุทธิพิสัย เป็นจุดประสงค์ท่ีเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมนิ หรอื ตดั สินคุณค่าของส่ิงตา่ ง ๆ ด้านจิตพิสัย เป็นจุดประสงค์ท่ีเก่ียวกับอารมณ์ ความรู้สึก การเห็นคุณค่า การยอมรบั หรือไมย่ อมรบั ส่งิ ใดส่ิงหนง่ึ ด้านทักษะพิสัย เป็นจุดประสงค์ที่เกี่ยวกับความคล่องแคล่วในการปฏิบัติ โดยใชอ้ วัยวะตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย 3) เขยี นให้เหน็ รายละเอียดของพฤติกรรมทสี่ ามารถวดั และสังเกตได้ 4) เขยี นด้วยภาษาท่ีรดั กุม ชดั เจน สอื่ ความได้ดี 5) หากมจี ดุ ประสงค์ขอ้ เดียวไมต่ อ้ งใสล่ าดบั เลขหวั ขอ้
108 ตวั อยา่ งของการเขียนจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ตวั อยา่ งการเขยี น คากริยาเชิง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ พฤติกรรม 1.ความรู้ (K) - เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนบอกความหมายเกมเบด็ เตลด็ ได้ บรรยาย อธิบาย เขยี น - เพ่ือให้ผู้เรียนอธิบายถึงวิธีการเล่นเกมกลุ่ม บอก เปรียบเทียบ สัมพันธไ์ ด้ บอกความสัมพนั ธ์ - เพ่ือใหผ้ เู้ รียนบอกความแตกต่างของเกมสง่ เสริม อธิบายเหตผุ ล จับคู่ สมรรถภาพทางกายและเกมนาไปสู่กีฬา 2.กระบวนการ (P) -เพ่ือให้ผู้เรยี นสาธติ การเล่นเกมเสือข้ามห้วยได้ สาธิต บอก อธิบาย แสดง -เพื่อให้ผู้เรยี นยิงลูกบอลลงห่วงได้ 10 ลูก ภายใน เหวย่ี ง ขว้าง โยน สง่ เวลา 5 นาที -เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนแสดงทา่ ทางในการเล่นเกมประกอบ วิ่ง เต้น กระโดด เพลงได้อย่างมีความสขุ ควบม้า คลาน 3. คุณลักษณะอัน -เพอ่ื ให้ผู้เรยี นเห็นคุณค่าของประโยชนท์ ไี่ ดจ้ ากการ บ อ ก ค ว า ม ส า คั ญ พงึ ประสงค์ (A) เลน่ กฬี าในชั่วโมงเรยี น แสดงออก - เพื่อสง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี นเป็นผู้นาและผ้ตู ามที่ดีในการ เปน็ ผ้นู า ผตู้ าม เลน่ เกม ให้ความร่วมมือ มี ส่วนรว่ ม เชอื่ ถือผอู้ นื่ เพ่อื ให้ผู้เรียนมคี วามมงุ่ ม่นั ต่อการเล่นใหถ้ ูกตอ้ ง พอใจ ตั้งใจ ทาสาเร็จ ตามกติกาทก่ี าหนด -เพ่อื ให้นกั เรียนยอมรับ รู้จักแพ้ รจู้ ักชนะ รู้จกั ความซื่อสตั ย์ มนี า้ ใจ การให้อภยั เปน็ นกั กีฬา
109 การเขยี นเนอื้ หา (Content) เนื้อหา เป็นองค์ประกอบที่ทาให้ผู้สอนเห็นภาพของส่ิงที่จะต้องสอนโดยรวม อาจ ประกอบด้วย ทฤษฎี หลักการ วิธีการ ขั้นตอน หรือแนวปฏิบัติ การระบุเน้ือหาในแผน จดั การเรียนรู้มีแนวการเขยี น ดังต่อไปนี้ 1) เขยี นใหส้ อดคลอ้ งกับสาระสาคัญและจดุ ประสงค์ 2) กาหนดเน้ือหาของการจัดการเรียนรู้แต่ละครั้งให้เหมาะสมกับ ระยะเวลา วัย และความสามารถของผเู้ รยี น 3) เขียนเน้ือหาแบบย่อโดยสรปุ เป็นหัวข้อ หรือเป็นประเด็น หากมเี น้ือหา มากให้ทาเป็นใบความรูร้ ะบไุ ว้ในภาคผนวกทา้ ยแผนการจดั การเรียนรู้ 4) เขียนเนื้อหาท่จี ะให้ผูเ้ รียนรู้ไว้ตามลาดับ หากแบ่งเปน็ หัวข้อยอ่ ยได้ควร แบ่งเพื่อความชัดเจน การเขยี นกจิ กรรมการเรียนรู้ (Activities) กจิ กรรมการเรียนรู้ คือ สภาพการณ์ที่ครูออกแบบเพื่อนาเสนอเนื้อหาวิธกี าร หรือ การปฏิบัตใิ ห้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ มแี นวทางการเขยี นดงั ตอ่ ไปน้ี 1) เขยี นใหส้ อดคล้องกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้และเนอ้ื หา วิธกี ารหรอื การปฏิบตั ิ 2) เขียนเป็นข้อตามลาดับข้ันตอนของการจัดการเรียนรู้ หรือเขียนโดย แบง่ เป็นขัน้ ไดแ้ ก่ ขัน้ เตรียมและอบอุ่นรา่ งกาย ขัน้ อธิบายและสาธิต ข้นั ฝกึ ปฏิบัตกิ จิ กรรม ข้นั นาไปใช้ และขั้นสรุปและสุขปฏิบัติ โดยเขียนเป็นข้อเรียงตามลาดับขั้นตอนของการจัด กานเรยี นร้ใู นแตล่ ะขน้ั หากขน้ั ใดมีกจิ กรรมเดยี วไมต่ ้องใสเ่ ลขลาดบั หัวข้อ 3) เขียนโดยระบุให้รู้ว่ากิจกรรมการเรียนรู้แต่ละข้ันใครเป็นผู้มีบทบาท ผู้เรยี น ผ้สู อน หรือท้งั ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกันกระทา เปน็ ต้น 4) ไมค่ วรระบรุ ายละเอยี ดของคาพูด ทง้ั คาพูดของผูส้ อนและผูเ้ รียน การเขยี นสอื่ การเรยี นรู้ (Material & Media) สื่อการเรียนรู้ คือ สิ่งท่ีเป็นตัวกลางท่ีช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มแี นวทางการเขียน ดังตอ่ ไปนี้ 1) ระบุสอื่ ใหส้ อดคล้องกบั กิจกรรมการเรียนรู้
110 2) ระบุเฉพาะส่อื ท่ีใชจ้ รงิ ในการจดั การเรียนรู้ 3) ระบุชนิดและรายละเอียดของส่ือการเรียนรู้ เช่น รูปภาพการทาทักษะ ม้วนหน้า แผนภมู เิ พลงกราวกีฬา เป็นตน้ 4) กรณีที่เป็นสื่อท่ีใช้เพื่อทากิจกรรมเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลให้ระบุ จานวนชิ้นต่อกลุ่มหรือตอ่ รายบุคคล 5) ไม่ควรระบุสิ่งที่มีอยู่แล้วอย่างถาวรในห้องเรียนว่าเป็นส่ือการเรียนรู้ เชน่ กระดานดา ชอร์ก ดนิ สอ ปากกา เปน็ ต้น การเขยี นวิธีวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ (Assessment) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นการกระทาเพ่ือตรวจสอบว่า ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ตามจุดประสงค์ท่ีกาหนดไว้หรือไม่ การวัดเป็นการรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือและ วิธีการต่าง ๆ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การสอบถาม การตรวจผลงาน และการทดสอบ เป็นต้น ส่วนการประเมินผลเป็นการกาหนดค่าหรือตัดสินส่ิงที่วัด เช่น ผ่าน – ไม่ผ่าน, ดี – ปานกลาง – อ่อน หรอื กาหนดค่าเป็นระดบั 4 3 2 1 0 เป็นตน้ มีแนวการเขียนดังตอ่ ไปน้ี 1) ระบวุ ธิ ีการวดั และประเมินผลการเรยี นร้ใู หส้ อดคล้องกับจดุ ประสงค์ 2) ระบวุ ิธกี ารวัดและประเมินผลการเรยี นรวู้ ่าจะใชว้ ธิ ีการใดบา้ ง 3) ระบเุ น้อื หาท่ตี ้องการวดั และประเมินผล กล่าวโดยสรุป ผู้สอนควรศึกษาการเขียนรายละเอียดในองค์ประกอบของ แผนการจัดการเรยี นรู้ เพราะจะทาให้เข้าใจคานิยามต่าง ๆ ของรูปแบบการเขียนแผน โดยประกอบไปด้วย การเขียนส่วนหัวเรื่อง สาระสาคัญ จุดประสงค์ เน้ือหา กิจกรรม การเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ และการเขียนวิธีวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ถา้ ผู้สอนเข้าใจ หลักการและแนวทางในการเขียนจะทาให้สามารถออกแบบการเขียนแผนการจัดการ เรยี นรไู้ ด้อยา่ งถกู ต้อง และนาไปสู่แนวทางในการจดั การเรียนรอู้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
111 รูปแบบการเขยี นแผนการจดั การเรียนรูว้ ิชาพลศกึ ษา แผนการจดั การเรยี นรู้รายคาบ สาขา / กลมุ่ สาระ............................................................................ สาระวิชาพลศึกษา หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี........................................................... กจิ กรรม.................................................... เรอ่ื ง...................................................................................สปั ดาหท์ .่ี .............. ช่วั โมงที่....................... ช้ันเรียน...........................................................................ภาค........ช่วงท.ี่ ........ ปีการศกึ ษา.............. ผสู้ อน.................................................................................จานวนคาบ................คาบ (...............นาท)ี สถานท่สี อน ...............................วนั ทส่ี อน...(ห้องเรยี น)..น. วนั ที่.............................. เวลา ...........................น. _________________________________________________________________________ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ................................................................................................................................. มาตรฐานที่ ............................................................................................................ ............................................................................................................................................. มาตรฐานท่ี ............................................................................................................ ............................................................................................................................................. 2. สาระสาคัญ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 …………………………………………………………………......…………………………………………… 3.2 …………………………………………………………………………………………………………………... 3.3 …………………………………………………………………………………………………………………... 4. ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง 4.1 …………………………………………………………………………………………………………………... 4.2 …………………………………………………………………………………………………………………... 4.3 …………………………………………………………………………………………………………………...
112 5. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ 1. ขั้นเตรยี ม / อบอุ่นร่างกาย (.........นาท)ี 2. ขนั้ นา (นาเข้าสู่บทเรยี น) อธบิ าย สาธติ และขัน้ ฝกึ ทบทวน (.........นาท)ี 3. ขั้นฝึกทกั ษะ (.........นาท)ี 4. ขั้นนาไปใชเ้ พือ่ ความสนุกสนาน (........นาที) 5.ขั้นสรปุ และสุขปฏิบัติ (........นาที) 6. สื่อ แหล่งเรียนรู้ 6.1 …………………………………………………………………………………………………………………... 6.2 …………………………………………………………………………………………………………………... 6.3 …………………………………………………………………………………………………………………... 7. การวดั และประเมนิ ผล (วิธีการวดั , เครอ่ื งมือวัดผล) 7.1 …………………………………………………………………………………………………………………... 7.2 …………………………………………………………………………………………………………………... 7.3 …………………………………………………………………………………………………………………...
113 ตัวอย่างการเขียนแผนการจดั การเรยี นรูก้ ิจกรรมการเคลอื่ นไหวขนั้ พน้ื ฐาน โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ฝ่ายประถม แผนการจดั การเรยี นรู้รายคาบ กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา สาระวชิ าพลศึกษา หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 กิจกรรม การเคล่ือนไหวข้นั พ้ืนฐาน เร่อื ง การว่งิ ซิกแซก็ , วิ่งซกิ แซ็กอ้อมหลัก สปั ดาห์ท่ี 2 ชว่ั โมงที่ 2 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคต้น ช่วงท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 ผสู้ อน อาจารย์นสิ ติ ศวิ ณัฐ เลอ่ ยิ้ม จานวนคาบ 1 คาบ (60 นาที) สถานท่สี อน ชั้นลา่ งอาคารบรหิ ารและปฏบิ ตั กิ าร วนั ที่สอน ป.2/7 วนั จันทร์ท่ี 11 มิถุนายน 2561 เวลา 10.40 – 11.40 น. ป.2/2 วันอังคารท่ี 12 มถิ นุ ายน 2561 เวลา 10.40 – 11.40 น. ป.2/1 วนั พุธที่ 13 มิถุนายน 2561 เวลา 10.40 – 11.40 น. มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐานที่ 3.1 เข้าใจ มีทกั ษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา มาตรฐานที่ 3.2 รกั การออกกาลงั กายการเลน่ และการเลน่ กีฬาเปน็ ประจาอย่าง สมา่ เสมอ มีวนิ ยั กฎกตกิ า มีน้าใจนักกีฬา มีวิญญาณในการแขง่ ขัน และชนื่ ชมในสุนทรยี ภาพใน การกฬี า สาระสาคัญ การวิ่งซิกแซ็ก เป็นการฝึกการเคล่ือนไหวร่างกายในส่วนของ แขน ขา ลาตัว และ ศีรษะ รวมถึงการควบคุมการเคล่ือนไหว การทรงตัว ซ่ึงเป็นการพัฒนาความสามารถใน การใช้กล้ามเน้ือมัดใหญ่ และเป็นการฝึกให้นกั เรียนว่งิ หลบหลีกสิ่งกีดขวางหรือการว่ิงอ้อม ส่ิงกีดขวางที่พบในชีวิตประจาวันซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นที่นักเรียนจะต้องได้เรียนรู้ และฝึก
114 การปฏิบัติจริง อีกท้ังนักเรียนยังสามารถนาไปใช้ในการเล่นเกม กีฬา หรือ ใน ชวี ติ ประจาวันได้อกี ดว้ ย จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เพอื่ ใหน้ ักเรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ และบอกวธิ กี ารวิ่งซกิ แซก็ ได้อย่างถกู ต้อง (IQ) 2. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถปฏิบตั ิทกั ษะการว่ิงซกิ แซก็ และวงิ่ ซิกแซ็กออ้ มหลักได้ อย่างถูกต้องอย่างนอ้ ย 80% ของจานวนนักเรียนทง้ั หมด (SQ) 3. เพ่ือให้นักเรียนได้พัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพในด้านความอดทนของระบบ ไหลเวยี นหติ และระบบหายใจโดยการวิง่ ซกิ แซ็ก ตามคาส่งั 60 วินาที (PQ) 4. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนเขา้ แถวได้อย่างเป็นระเบียบ เคารพกติกาภายในห้องเรียน แตง่ กายครบถ้วนและเรยี บรอ้ ย (MQ) 5. เพือ่ ให้นกั เรียนมีความสนุกสนาน จากการฝึกทักษะ และการเล่นเกมในระหว่างการ เรียนได้ (AQ) ผลการเรียนรูท้ ีค่ าดหวัง 1. นักเรียน 80% ของจานวนนกั เรยี นท้ังหมด สามารถปฏิบัติทกั ษะการวิ่งซกิ แซ็ก ออ้ มหลกั ได้ตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2. นกั เรียนนาเอาความรู้เบอื้ งตน้ เกย่ี วกับทักษะการว่งิ ซิกแซก็ ไปใช้ในการเรียน วชิ าอื่น ๆ และเล่นกีฬาในชีวติ ประจาวนั ได้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขน้ั ตอนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ าร สาระการเรียนรู้ เรยี นรู้ การว่ิงซิกแซก็ 1. ข้ันเตรียม / อบอุ่นร่างกาย และพัฒนา เป็นการฝกึ วง่ิ เพอื่ ใช้ในการหลบหลีกสง่ิ กดี สมรรถภาพทางกาย (10 นาท)ี ขวางและฝกึ ในการความสามารถเปล่ียนทิศ 1.1 ครูไปรับนักเรียนที่หน้าห้องแล้วพา ทางการเคล่อื นทีไ่ ด้อย่างรวดเร็ว รวมถงึ เป็น นักเรียนมาทส่ี ถานท่ีเรียน ให้นักเรียนวางถุง การฝึกการเคลอื่ นไหวร่างกายในส่วนของ พลศึกษาไว้ที่ชั้นวางของ (ผู้ชายวางชั้นบน แขน ขา ลาตวั และศรี ษะ รวมถึงการควบคุม ผหู้ ญงิ วา่ งชน้ั ล่าง)
115 สาระการเรยี นรู้ ข้ันตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ าร เรยี นรู้ การเคล่อื นไหว การทรงตวั ซ่งึ เป็นการพฒั นา 1.2 ครูให้นกั เรยี นเข้าแถว ความ สามารถในการใช้กลา้ มเนอ้ื มัดใหญ่ - นักเรียนเข้าแถว ไ ด้ อ ย่ า ง เป็ น ลกั ษณะของการวงิ่ ซกิ แซก็ ระเบี ยบ เคารพ เป็นการเคลื่อนท่ีเพ่ือเปล่ียนทิศทางจาก กติกาภายในห้อง จุดหนึ่งไปอีกจุดหน่ึง (ลักษณะของการว่ิง เรี ยน แ ต่ งกาย สลับฟนั ปลา) เรียบรอ้ ย = ครู = นกั เรยี นชาย นกั เรยี นหญงิ ภาพที่ 1 ภาพลักษณะการวงิ่ ซกิ แซ็ก 1.3 จากน้ันครูสารวจนักเรียนที่ขาดเรียน นักเรียนป่วยและลาป่วย ให้นักเรียนขยาย แถวสองช่วงแขนเพื่อนานักเรียนอบอุ่น ร่างกาย ภาพท่ี 2 ภาพจาลองการวิ่งซิกแซ็กไม่มีสิง่ ขั้นอบอนุ่ ร่างกายและพัฒนาสมรรถภาพ กีดขวาง 1) ครูนานักเรียนยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 4 ทา่ ๆ ละ 20 วนิ าที การวงิ่ ซกิ แซ็กอ้อมหลกั เป็นการนาทักษะการว่ิงซิกแซ็กมาใช้
สาระการเรียนรู้ 116 ผลลัพธ์การ เรยี นรู้ ข้ันตอนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ร่วมกับการว่ิงอ้อมหลัก ใช้สาหรับการ เคลื่อนไหวในเกมกีฬาประเภททีม เช่น บาสเกตบอล ฟุตบอล แฮนด์บอล หรือ กีฬาประเภทเดี่ยว เช่น แบดมินตัน เทนนิส ฯลฯ การสะบดั ขอ้ มือ และหมนุ ข้อเท้า ภาพที่ 3 ภาพจาลองการว่ิงซิกแซ็กมีสิง่ กดี ขวางอย่ดู ้านหนา้ การบริหารหัวไหล่ การหมุนเอว
117 สาระการเรยี นรู้ ขัน้ ตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ าร เรยี นรู้ การยดื กลา้ มเน้ือบริเวณตน้ ขา 2) พฒั นาสมรรถภาพร่างกาย 1.3.1 ครูให้นักเรียนวิ่งซิกแซก ระยะทาง 3 เมตร (ไป-กลับ) ในเวลา 30 วินาที - นั ก เรี ย น ไ ด้ พั ฒ น า สมรรถภาพทาง กายเพื่อสุขภาพ 2. ข้ันนา (นาเข้าสบู่ ทเรยี น) อธิบาย และ ใน ด้ า น ค ว า ม สาธิต (10 นาที) อดทนของระบบ 2.1 ครทู บทวนบทเรยี นในคาบท่ีแล้ว ไห ล เวี ย น หิ ต 2.2 ครูนาเสน อภ าพ ก ารว่ิงซิ กแซ็ ก แ ล ะ ร ะ บ บ จากนั้นครถู ามนักเรียนว่า หายใจ “นักเรียนคนใดรู้บ้างว่า ภาพที่ครูโชว์ คือ การวิง่ แบบใด” เฉลยช่วงทา้ ยชัว่ โมง การว่ิงซิกแซ็ก คือ การว่ิงเพื่อหลบหลีกสิ่งกีด - นั ก เ รี ย น มี ขวางที่อยู่ด้านหน้า การวิ่งจากอีกจุดหน่ึงไปยัง ค วาม รู้ ค วาม อีกจดุ หนงึ่ นาไปสู่การว่ิงอ้อมหลกั เข้าใจและบอก วิธีการว่ิงซิกแซ็ก ได้อยา่ งถกู ต้อง
สาระการเรยี นรู้ 118 ผลลพั ธ์การ เรียนรู้ ขนั้ ตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 2.3 ครูสาธิตการวง่ิ ซกิ แซก็ แบบไปหนึง่ รอบและ ว่งิ ซกิ แซ็กแบบไป-กลับหนง่ึ รอบ 2.4 ครูเปิดโอกาสใหน้ กั เรียนซักถาม ในส่งิ ท่คี รู อธบิ ายและนักเรยี นไม่เขา้ ใจให้นักเรียนยกมอื ข้ึน แลว้ ถามคาถาม 3. ขน้ั ฝึกหัด/ฝึกหัดทักษะ (15 นาท)ี 3.1 ครูใหน้ ักเรียนฝึกการวงิ่ ซิกแซ็กหลบหลีก - นั ก เ รี ย น กรวยท่ีอยู่ด้านหน้า ครูจะปล่อยนักเรียนทีละ สามารถปฏิบัติ แถว ตามแถวหน้ากระดานของกลุ่ม เม่ือได้ยิน ทั ก ษ ะ ก า ร ว่ิ ง สัญญาณนกหวีดเรม่ิ ใหน้ ักเรียนปฏบิ ัติ ดงั นี้ ซิกแซ็กได้อย่าง รอบท่ี 1 ครูจะให้ว่ิงซิกแซ็กแบบไปหนึ่ง ถูกตอ้ ง รอบ แลว้ น่ังลงที่จุดหมายตามกลุ่มตนเอง รอบท่ี 2 ครูจะให้นักเรียนวิ่งแบบไปกลับ เมื่อถึงจุดหมายให้นักเรียนน่ังลงตามกลุ่ม ตนเอง 3.2 เมื่อครเู ปา่ สัญญาณนกหวีด ยาว 1 ครัง้ ให้ ทกุ คนกลับมานงั่ ประจาท่ี 4. ขนั้ นาไปใชเ้ พื่อความสนกุ สนาน (15 นาท)ี - นักเรียนมีความ - ครใู หน้ กั เรยี นเล่นเกมแปะแข็ง 4.1 ครูกาหนดเขตสาหรับในการเล่นเกมเป็น สนุกสนาน จาก รูปส่ีเหล่ียนผืนผ้า โดยครูจะเป็นคนที่ว่ิงแปะ การฝึกทักษะและ นักเรียน นักเรียนจะเป็นคนที่วิ่งหนีครู นักเรียน การเล่ นเกมใน
119 สาระการเรยี นรู้ ข้นั ตอนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธ์การ เรยี นรู้ คนใดท่ีถูกครูแปะตัว ให้หยุดนิ่งอยู่กับที่ ไม่ ระหว่างการเรียน สามารถว่งิ ต่อได้ ได้ 4.2 เมื่อครูให้สัญญาณให้นักเรียนคนทุกคน เขา้ ไปอยู่ในเขตแดนสี่เหลย่ี มผืนผา้ จากนั้นครู จะเริ่มวิ่งแปะนักเรียนให้ครบทกุ คน แผนภาพการเลน่ เกมแปะแขง็ 5.ขั้นสรปุ และสุขปฏบิ ัติ (5 นาท)ี 5.1 ครูให้นักเรียนไปล้างมือ ล้างหน้า ดื่ม น้า และหวีผม 5.2 ครูสรุปการฝึกทักษะการวิ่งซิกแซ็ก และวิ่งซิกแซ็กอ้อมหลักแล้วแจ้งให้นักเรียน กลับไปทบทวนเพม่ิ เติมนอกเวาเรยี น 5.3 ครูเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นซักถามข้อสงสยั 5.4 ครูชมเชยนักเรียนที่มีความตั้งใจใน ชวั่ โมงเรียน 5.5 ครูให้นักเรียนสารวจอุปกรณ์ และ ของใช้ของนักเรยี นด้วยตนเอง
120 สาระการเรียนรู้ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การ วัสดุอปุ กรณ์/สื่อการเรียนรู้ เรยี นรู้ 5.6 ครูให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์ใส่ถุงพล ศึกษาและแตง่ กายให้เรยี บร้อย 5.7 ครูให้นักเรียนทาความเคารพก่อน กลับห้องเรียนและส่ังเลิกแถว นักเรียนพูด พร้อมกันว่า “เรียนเด่น /ปรบมือ 2 ครั้ง /เล่นดี / ปรบมือ 2 คร้ัง /มีวินัย/ปรบมือ 2 ครั้ง / ไชโย กำมือหลวม ๆ อยู่บริเวณหัวใจ ชู มอื ชน้ึ ” 5.8 ครูเดินนำแถวนักเรียนเดินกลบั ห้องเรยี น เพ่อื เรียนในวชิ ำต่อไป 1. นกหวีด 2. กรวย และ โคน 3. ปากกาไวท์บอร์ด แปรงลบ การวิง่ ซิกแซ็ก กระดาน กระดาน 4. บัตรคา การวง่ิ ซิกแซก็ แหล่งการเรียนรู้ ฉัตรชยั ยังพลขนั ธ.์ (ม.ป.ป.). การจดั กจิ กรรมบรหิ ารรา่ งกาย ยดื หยุน่ และเกม. (ตวั เอยี ง) กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ (อดั สาเนา)
121 นติ ิธร ปิลวาสน์. (2558). เล่นกฬี า Sport. การเล่นกีฬาสาคัญอย่างไร (ตสั เอียง). สืบคน้ เมอ่ื 12 มถิ นุ ายน 2558 จาก : http://taamkru.com/th/ การวดั และประเมินผล วิธกี ารวดั /สง่ิ ทีว่ ัด 1. สังเกตความสนใจและการมสี ่วนร่วมในกจิ กรรม 2. ตรวจสอบผลสาเรจ็ จากการฝึกทกั ษะและการปฏบิ ัตขิ องนกั เรียนรายบุคคล เครื่องมือวดั ผล - แบบประเมินความสนใจและการมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมและผลสาเร็จของการฝึก ทกั ษะและการปฏบิ ตั ิของนักเรียนรายบคุ คล
122 งานวจิ ัยที่เก่ยี วขอ้ งกบั การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย และมำเรียม นิลพันธุ์ (2553) ทำกำรวิจัยเรื่อง กำร พัฒนำรูปแบบกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้แบบผู้ปกครองมีส่วนร่วมเพ่ือพัฒนำทักษะ ทำงสังคมสำหรับนักเรียนปฐมวัย ผลกำรวิจัยพบว่ำ รูปแบบกำรจัดประสบกำรณ์กำร เรียนรู้มีชื่อว่ำ 3PDIE มีองค์ประกอบหลักคือ ข้ันตอนกำรมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง 3 ขั้นตอนคือ 1) กำรมีส่วนร่วมในกำรวิเครำะห์ ตัดสินใจ 2) กำรมีส่วนร่วมในกำรปฏิบัติ และ 3) กำรมีส่วนร่วมในกำรประเมินผล และมีกระบวนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ เพื่อพัฒนำทักษะทำงสังคม 3 ขั้นตอนคือ 1) ขั้นเตรียมผู้เรียน 2) ข้ันปฏิบัติ และ 3) ข้ัน กำรประเมินผล ผลกำรทดลองใช้รูปแบบพบว่ำนักเรียนปฐมวัยมีทักษะทำงสังคมหลังกำร ใชร้ ปู แบบกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรแู้ บบผู้ปกครองมีส่วนร่วมเพิ่มขึ้นอย่ำงมีนัยสำคัญ ทำงสถิติที่ระดับ .01 สุดใจ พรหมเสนำ และไชยำ ภำวะบุตร (2556) ทำกำรวิจัยเร่ือง กำรวิจัยเชิง ปฏิบัติกำรแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนำผู้ดูแลเด็กด้ำนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้สำหรับ ปฐมวยั ศนู ย์พัฒนำเด็กเล็กสังกัดองค์กำรบริหำรส่วนตำบลโพธไ์ิ ทร อำเภอดอนตำล จงั หวัด มุกดำหำร ผลกำรวิจัยพบว่ำ 1. สภำพและปัญหำกำรพัฒนำผู้ดูแลเด็ กด้ำนกำรจัด ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้สำหรับปฐมวัยศูนย์พัฒนำเด็กเล็กองค์กำร บริหำรส่วนตำบลโพธ์ิ ไทร พบว่ำ สภำพกำรจัดประสบกำรเรียนรู้ ผู้ดูแลเด็กขำดควำมรู้ควำมเข้ำใจใน กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ระดับปฐมวัย จึงทำให้ไม่สำมำรถจัดกำรเรียนสบกำรณ์กำรรู้ ระดับปฐมวัยได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ซึ่งผู้ดูแลเด็กท้ังหมดมีควำมต้องกำรที่จะพัฒนำ ตนเอง ด้ำนกำรจัดประกำรเรียนรู้ระดับปฐมวัยท้ังภำคทฤษฎีและภำคปฏิบัติ 2. วิธีกำร พัฒนำครูผู้ดูแลเด็กด้ำนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้สำหรับปฐมวัยศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก องค์กำร บริหำรส่วนตำบลโพธ์ิไทรพบว่ำ กำรอบรมเซิงปฏิบัติกำรแบบมีส่วนร่วม กำรนำ แผนกำรจดั ประสบกำรณไ์ ปใช้ และกำรนิเทศภำยใน เปน็ แนวทำงที่เหมำะสมในกำรพัฒนำ ผู้ดูแลเด็กด้ำนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้สำหรับปฐมวัย 3. กำรติดตำมและประเมิน
123 ผลกำรพัฒนำครูผู้ดูแลเด็กด้ำนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้สำหรับปฐมวัยศูนย์ พัฒนำ เด็กเล็กองค์กำรบริหำรส่วนตำบลโพธ์ิไทร พบว่ำ 3.1 จำกกำรอบรมเชิงปฏิบัติกำร พบว่ำ ก่อนกำรอบรมกลุ่มผู้ร่วมวิจัยมีคะแนน Pre-Test ร้อยละ 47.11 หลังจำกกำรอบรมเชิง ปฏิบัติกำร กลุ่มผู้ร่วมวิจัยมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ในกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้สำหรับ ปฐมวัย ร้อยละ 81.78 โดยรวมมีควำมเหมำะสมอยู่ในระดับมำก 3.2 จำกกำรนำแผนกำร จัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ไปใช้ พบว่ำ ผู้ดูแลเด็กสำมำรถเขียนแผนกำรจัดประสบกำรณ์ กำรเรียนรู้สำหรับปฐมวัย โดยรวมมีควำมเหมำะสมอยู่ในระดับมำก 3.3 จำกกำรนิเทศ ภำยใน ผู้ดูแลเด็กสำมำรถจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพฤติกรรมกำร เรียนรู้ โดยรวมมีควำมเหมำะสมอยูใ่ นระดบั มำก ญำณิศำ บุญพิมพ์, นภสั ศรีเจริญประมง และวรำลี ถนอมชำติ (2562) ทำกำรวจิ ัย เร่ือง รูปแบบกำรจัดกำรเรียนรู้โดยกำรใช้โครงกำรเป็นฐำนเพื่อพัฒนำคุณภำพของเด็ก ปฐมวัยในท้องถิ่นเขตภำคตะวันออก ผลกำรวิจัยพบว่ำ 1. รูปแบบกำรจัดกำรเรียนรู้โดย กำรใช้โครงกำรเป็นฐำน เพ่ือพัฒนำคุณภำพเด็กปฐมวัยท่ีมีต่อเด็กปฐมวัย เป็นกำรจัด ประสบกำรณ์ที่ยึดเด็กเป็นศูนย์กลำง ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1) กำรเริม่ ต้นโครงกำร เป็นกำรหำควำมสนใจของผู้เรียน และทบทวนประสบกำรณ์เดิม 2) กำรพัฒนำโครงกำร เป็นกำรวำงแผนกำรและทำกำรสืบค้นตำมแหล่งข้อมูลต่ำงๆ เพ่ิมเติม และ 3) กำรสรุป และประเมินโครงกำร เป็นระยะสรุปและนำเสนอส่ิงที่ได้เรียนรู้ 2. กำรจัดกำรเรียนรู้ ตำม รูปแบบกำรจัดกำรเรียนรู้โดยกำรใช้โครงกำรเป็นฐำนในประเด็นท่ีเก่ียวกับกำรส่งเสริม พัฒนำกำร ท้ัง 4 ด้ำน ของเด็กปฐมวัย คือ 1) พัฒนำกำรด้ำนร่ำงกำย ส่งผลให้เด็กปฐมวัย มีพัฒนำกำรด้ำนร่ำงกำยสมวัย ได้แก่ ด้ำนกำรทรงตัวและกำรประสำนสัมพันธ์ของ กล้ำมเน้ือใหญ่และกล้ำมเนื้อเล็ก ด้ำนกำรรกั ษำสุขภำพ ด้ำนกำรรักษำควำมปลอดภัยของ รำ่ งกำย 2) พัฒนำกำรด้ำนอำรมณ์และจิตใจ ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนำกำรด้ำนอำรมณ์ และจิตใจ ได้แก่ ด้ำนดนตรี ด้ำนสุนทรียภำพ ด้ำนกำรเล่น ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม 3) พัฒนำกำรด้ำนสังคม ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนำกำรด้ำนสังคม ได้แก่ ด้ำนกำรเล่นและ กำรทำงำนร่วมกับผู้อื่น และ 4) พัฒนำกำรดำ้ นสติปัญญำ พบวำ่ กำรจัดกำรเรียนรู้โดยกำร
124 ใช้โครงกำรเป็นฐำน ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนำกำรด้ำนสติปัญญำ ได้แก่ ด้ำนกำรคิด ดำ้ นกำรใชภ้ ำษำ ดำ้ นจำนวน ดำ้ นเวลำ บทสรุป แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีดีท่ีสุด คือ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้สอนเขียนขึ้นมาเอง เพื่อตนเอง และเพ่ือบุคคลอื่นที่จะมาสอนแทนเราเม่ือคราวจาเป็น การเขียนแผนการ จัดการเรียนรู้ มีองค์ประกอบท่ีสาคัญท่ีจะทาให้แผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วน และ นาไปใชไ้ ด้อย่างสาเรจ็ ดังน้ี 1. หัวขอ้ เรอ่ื ง (Heading) 2. สาระสาคญั (Concept) 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (Objective) 4. เน้อื หา (Content) 5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (Activities) 6. ส่อื การเรยี นรู้ (Materia & Media) 7. วิธวี ดั และประเมินผลการเรียนรู้ (Assessment) แผนการจัดการเรียนรู้ควรมีการปรับเปล่ียนหรือเขียนใหม่ทุก 2 - 4 ปี เพื่อความ ทันสมัยของข้อมูลและรูปแบบการสอนทต่ี ้องทันยุคสมัย โดยองค์ประกอบในแตล่ ะข้ออาจ มีการปรับเปล่ียนตามบริบทของกลุม่ สาระการเรียนรู้หรือสถานศึกษาในแตล่ ะแห่งอกี ครงั้ เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนหรอื การจัดกิจกรรมทางพลศกึ ษามีความเหมาะสม กับสมัยปัจจุบัน ที่เน้นผู้เรียนให้ได้ปฏิบัติมากกว่าการฟังคาอธิบายเพียงอย่างเดียว ผู้เขียนจึงขอสรุปขั้นตอนการสอนที่เหมาะสมกับนิสิตเพื่อใช้ในการเขียนแผนการจัดการ เรยี นรู้ โดยขนั้ ตอนการสอนจะแบ่งออกเป็น 4 ขัน้ ตอน ดังนี้ 1) ข้นั นา เปน็ การอธบิ ายทักษะดว้ ยวาจาหรือการเขยี น 2) ขน้ั สาธิตทกั ษะ ผสู้ อนจะแสดงท่าทางประกอบการอธิบายเพ่ือให้เหน็ ภาพ 3) ขน้ั ฝึกทักษะและนาไปใช้ เปน็ การเช่ือมโยงทักษะที่สอน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217