Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่ม

รวมเล่ม

Published by Parichat Wongwarissara, 2020-08-06 22:47:22

Description: Test 7JULY

Keywords: Test

Search

Read the Text Version

28

บทท่ี 2 เทคโนโลยีสารสนเทศทเ่ี กี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบสารสนเทศ การนาระบบสารสนเทศไปใชเ้ พื่อพัฒนาองคก์ ร มีองคป์ ระกอบที่องค์กรต้องคานึงถึงคือข้อมูล บคุ ลากร ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม ซ่ึงในองค์ประกอบ ที่กล่าวมาแล้วน้ันส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีท่ีบุคลากรต้องบริหารจัดการให้เหมาะสมกับ การนาไปใช้พัฒนาระบบสารสนเทศ ซ่ึงเทคโนโลยีน้ันมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มที่จะ พัฒนาไปอย่างต่อเน่ือง แต่อย่างไรก็ตามในการพัฒนาน้ันยังคงอยู่บนพ้ืนฐานการทางานลักษณะเดิม แต่พัฒนาใหเ้ กิดการทางานร่วมกันและแบ่งปันการใช้ทรัพยากรมากข้ึน หากองค์กรมีความเข้าใจและ สามารถวิเคราะห์แนวโน้มการทางานของเทคโนโลยี จะช่วยให้องค์กรเลือกใช้เทคโนโลยีท่ีคุ้มค่าและ เหมาะสมกับระบบสารสนเทศที่ต้องการ โดยประเด็นสาคัญท่ีควรทราบได้แก่ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โทรคมนาคมและระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ จากความสาคัญและประโยชน์ของการใช้ระบบสารสนเทศในองค์กรท่ีสนับสนุนให้องค์กร สามารถดาเนนิ งานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วมากข้ึน องค์กรจึงได้นาเทคโนโลยีเข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพ ของระบบสารสนเทศให้มากข้ึน ซึ่งปัจจัยสาคัญท่ีองค์กรต้องพิจารณาในการนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ได้แก่ งบประมาณที่เพียงพอและคุ้มค่าต่อการลงทุน บุคลากรที่มีความรู้ความชานาญ และ ความก้าวหน้าของระบบคอมพิวเตอร์ทเี่ ปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว องค์กรจึงควรมีหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาเทคโนโลยีที่เหมาะสม รองรับแนวโน้มการเปล่ียนแปลงในอนาคตได้ (จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. คณะครศุ าสตร์. 2553 : 194) ตามประเดน็ ตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. แนวคิดเกยี่ วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเคร่ืองมือหน่ึงท่ีสนับสนุนให้การทางานของระบบสารสนเทศ สมบรู ณ์ เปน็ ส่วนหนง่ึ ในองคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศ ซง่ึ มคี วามหมายและความสาคัญดงั นี้ 1.1 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology – IT) มีผู้ให้ความหมายไว้ หลากหลาย ดงั นี้

30 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2553 : 193) ได้นิยามไว้ในการอบรม บรรณารักษ์ ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงเทคโนโลยีที่เก่ียวกับการนาระบบคอมพิวเตอร์และ ซอฟตแ์ วรม์ าทาหนา้ ที่ในการแปลง จัดเก็บ ประมวลผล ส่งผ่านและค้นคืนเพ่ือการเรียกใช้สารสนเทศ ทมี่ อี ย่หู ลากหลายประเภทได้อย่างรวดเรว็ ถกู ต้องและสะดวกในการเข้าถงึ สราวธุ ปิตยิ าศักด์ิ (2555 : 2) ไดน้ ิยามว่าเปน็ การนาวิทยาการทางวิทยาศาสตร์ คือ คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต มาใช้ในกระบวนการสร้าง จัดเก็บ จัดหา ประมวลผล รับ ส่ง และ เผยแพร่สารสนเทศ ในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว และเสยี ง จากความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ จะเห็นว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเป็น เคร่ืองมือท่ีสาคัญในการจัดการกับระบบสารสนเทศ เริ่มตั้งแต่การนาข้อมูลเข้ามาประมวลผลหรือ แปลงให้อยใู่ นรูปแบบทีใ่ ชง้ านได้ จดั เกบ็ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้สะดวก ประมวลผลตามเงื่อนไข ทผ่ี ูใ้ ชก้ าหนด จนถึงการนาเสนอสารสนเทศให้อยูใ่ นรปู แบบทีต่ รงกบั ความตอ้ งการของผ้ใู ช้ 1.2 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศน้ันมีผลต่อการ เปล่ียนแปลงพฤติกรรม ซึ่งณัฐพร เห็นเจริญเลิศ และทรงลักษณ์ สกุลวิจิตร์สินธุ (2554 : 1-20) ได้ จาแนกการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทางานเป็น 3 ด้าน ได้แก่ การทางานท่ีไม่มีข้อจากัดเรื่องเวลา และสถานท่ี การเชื่อมโยงสัมพันธ์กันเป็นเครือข่าย และการเปล่ียนแปลงเป็นสังคมสารสนเทศ มี รายละเอยี ด ดังนี้ 1.2.1 การทางานที่ไม่มีข้อจากัดเรื่องเวลาและสถานท่ี เน่ืองจากเทคโนโลยี สารสนเทศช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถทางานได้ทุกสถานที่อย่างสะดวก รวดเร็วผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา หรือเรียกว่าการให้บริการแบบ 24/7 หมายถงึ สามารถให้บริการได้ 24 ช่ัวโมง ตลอด 7 วันในสปั ดาห์ 1.2.2 การเช่ือมโยงสัมพันธ์เป็นเครือข่าย เพราะมีการติดต่อส่ือสารระหว่างกันท้ัง ภายในและภายนอกองค์กรผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ปฏิบัติงานสามารถแลกเปล่ียนข้อมูล ข่าวสารในการทางานมากข้ึน ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานสามารถส่ือสารเพื่อทาความเข้าใจได้สะดวก สนบั สนุนใหเ้ กิดการทางานในแนวทางเดยี วกัน ลดปญั หาความขดั แย้งได้ 1.2.3 การเปล่ียนแปลงเป็นสังคมสารสนเทศ สารสนเทศกลายเป็นส่ิงที่เก่ียวข้องกับ ชวี ติ ประจาวันของทกุ คน จึงมีการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการสารสนเทศ

31 ต้ังแต่การผลิต จัดเก็บและค้นคืน เพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานทุกระดับผ่านช่องทางการ ใหบ้ รกิ ารทส่ี ะดวกและรวดเรว็ 2. โครงสร้างพ้นื ฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการทางานร่วมกันของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือฮาร์ดแวร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือซอฟต์แวร์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคม จึงมักเรียกรวมกันเป็น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology – ICT) และเนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศคือการนาเทคโนโลยีมาจัดการกับสารสนเทศ ดังน้ัน โครงสร้าง พืน้ ฐานจงึ รวมถึงสารสนเทศหรอื ขอ้ มูลดว้ ย จึงอาจแบ่งโครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศได้ 3 ประการ คือ ระบบประมวลผล ระบบส่ือสารโทรคมนาคมและการจัดการข้อมูล (ณัฏฐพันธ์ เขจรนันท.์ 2551 : 27) 2.1 ระบบประมวลผล ประกอบไปด้วยการทางานร่วมกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และ ซอฟตแ์ วร์ เพื่อจดั การและประมวลผลขอ้ มลู ให้เปน็ สารสนเทศ 2.2 ระบบส่ือสารโทรคมนาคม เพื่อช่วยในการส่ือสารสารสนเทศท่ีได้ไปยังผู้ใช้ ท้ังน้ีผู้ใช้ อาจหมายถงึ พนักงาน ลกู คา้ หรอื ผ้รู ว่ มลงทุน เป็นตน้ 2.3 การจดั การขอ้ มลู เปน็ การใหบ้ รกิ ารจัดเกบ็ และบริหารจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบท่ี สามารถเรียกใช้หรือค้นคืนได้ในทันที สรุปกระบวนการทางานร่วมกันของโครงสร้างพ้ืนฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศได้ ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ เกิดจากการทางานร่วมกันของระบบประมวลผลกับระบบสื่อสารโทรคมนาคม เพอ่ื ไปจัดการกบั ข้อมูลตามแนวทางท่ีกาหนด อธบิ ายไดด้ งั ภาพที่ 2.1 ระบบประมวลผล + การจัดการข้อมลู = เทคโนโลยี สารสนเทศ + ระบบสือ่ สารโทรคมนาคม ภาพที่ 2.1 องคป์ ระกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีม่ า : ณฏั ฐพนั ธ์ เขจรนนั ทน์. 2551 : 28.

32 3. พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีการพัฒนามายาวนานตั้งแต่ยุคเร่ิมต้นใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จนถึง ปัจจุบัน สามารถแบ่งได้เป็น 5 ยุค โดยใช้เกณฑ์ของความสามารถในการประมวลผล ได้แก่ ยุคของ เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์และมินิคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer and Minicomputer) ยุคเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer – PC) ยุคเครือข่ายเครื่องรับ-ให้บริการ (Client-Server Networks) ยุคการประมวลผลแบบเอนเทอร์ไพรส์ (Enterprise Computing) และ ยคุ การประมวลผลแบบคลาวดแ์ ละการประมวลผลแบบเคล่ือนที่ (Cloud and Mobile Computing) (Laudon and Laudon. 2012 : 196) ซึ่งการประมวลผลในแต่ละยุคนั้นยังคงมีการใช้งานอยู่จนถึง ปัจจุบัน ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมของจานวนสารสนเทศและแนวทางการดาเนินงานขององค์กร เช่น ธนาคารยังคงใช้เคร่ืองเมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ในการประมวลผล เน่ืองจากมีสารสนเทศจานวนมาก แต่ เพิ่มเตมิ การใหบ้ รกิ ารแกล่ กู คา้ ผ่านการประมวลผลแบบเคลอ่ื นที่รว่ มดว้ ย 3.1 ยคุ ของเครือ่ งเมนเฟรมคอมพิวเตอร์และมินคิ อมพวิ เตอร์ เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.2502 (ค.ศ. 1959) เปน็ ต้นมา เมนเฟรมคอมพิวเตอรเ์ ป็นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ สามารถรองรับการทางาน พร้อมกนั จากผู้ใช้ได้จานวนมาก มีการประมวลผลด้วยความเร็วสูง นิยมใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ท่ีต้อง มีการเข้าถึงขอ้ มูลของผู้ใชจ้ านวนมากในคราวเดียวกนั เช่น ธนาคาร สายการบิน เน่ืองจากการทางาน กับเคร่ืองเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ต้องใช้ผู้ชานาญและใช้ต้นทุนสูง จึงเริ่มมีการพัฒนามาใช้เครื่อง มินิคอมพิวเตอรป์ ระมาณ พ.ศ.2508 (ค.ศ.1965) มินิคอมพิวเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลางท่ีมีความเร็วในการประมวลผลและ การจัดเก็บข้อมูลน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ส่งผลให้มีค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อน้อยกว่า แต่ สามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้จานวนมากได้เช่นกัน นิยมนามาใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจอง ห้องพักของโรงแรม การทางานด้านบัญชีขององค์กรธุรกิจ (ศรีไพร ศักด์ิรุ่งพงศากุล และเจษฎาพร ยุทธนวิบลู ย์ชัย. 2549 : 34-35)

33 ภาพที่ 2.2 เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ ทมี่ า : Hinks. Online. 2014. การทางานในยุคของเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์และมินิคอมพิวเตอร์นั้น องค์กร ต้องมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์สาหรับพนักงานไว้ใช้ติดต่อกับเคร่ืองเมนเฟรมคอมพิวเตอร์และ มินิคอมพิวเตอร์ เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวน้ันจะไม่สามารถประมวลผลด้วยตนเองได้ มี เพียงจอภาพเพ่ือแสดงผลและอุปกรณ์เพ่ือนาข้อมูลเข้าไปประมวลผลที่เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือมินิคอมพิวเตอร์เท่าน้ัน เรียกเคร่ืองคอมพิวเตอร์เหล่านั้นว่า เคร่ืองปลายทางใบ้ (Dumb Terminal) เครื่องเมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ เครือ่ งปลายทางใบ้ ภาพที่ 2.3 การประมวลผลในยุคของเคร่ืองเมนเฟรมคอมพวิ เตอร์และมนิ คิ อมพิวเตอร์ ทีม่ า : Laudon and Laudon. 2012 : 197.

34 3.2 ยคุ เครอ่ื งคอมพิวเตอรส์ ่วนบุคคล เร่มิ ประมาณปี พ.ศ.2513 (ค.ศ.1970) ซึ่งเป็นช่วงที่ เร่ิมมีการขายเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กท่ีเหมาะกับการวางท่ีโต๊ะทางาน ในช่วงแรกการส่ังงานคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลต้องใช้ การพิมพ์คาสั่งดว้ ยภาษาเฉพาะ ในปจั จุบันเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีการพัฒนาไปมาก สามารถ ทางานได้หลากหลายขึ้นจนถึงสามารถรองรับการทางานของผู้ใช้ได้มากกว่าหน่ึงคน แต่ยังไม่สามารถ รองรับได้เท่าเคร่ืองเมนเฟรมคอมพิวเตอร์และมินิคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันนับว่าเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โน้ตบ๊กุ (Notebook) เปน็ เครอื่ งคอมพิวเตอรส์ ว่ นบุคคลด้วย ภาพท่ี 2.4 เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์สว่ นบุคคล ท่มี า : TechDudes. Online. 2014. เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลสามารถรองรับการประมวลผลสาหรับงานเฉพาะของ แต่ละบุคคลโดยอาศัยซอฟต์แวร์ในการทางาน เช่น การใช้โปรแกรมประเภทประมวลผลคา การใ ช้ โปรแกรมประเภทตกแต่งภาพ และในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลยังสามารถเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบ เครือขา่ ยเพอื่ ใหเ้ กิดการแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ไดต้ ลอดเวลาอีกดว้ ย 3.3 ยุคเครือข่ายเคร่ืองรับ-ให้บริการ เร่ิมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 (ค.ศ.1983) เป็นต้นมา ลักษณะของเครือข่ายเครื่องรับ-ให้บริการประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 ชุด ชุดแรกคือเคร่ืองรับ บริการ (Client) มักเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดท่ีสองคือเครื่องให้บริการ (Server) ซึ่งเป็น เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีมีความสามารถในการประมวลผลสูงกว่าเคร่ืองรับบริการ สาหรับเคร่ืองรับ บริการนั้นสามารถประมวลผลด้วยตัวเองได้ แต่จะเก็บข้อมูลสาคัญหรือส่วนที่ต้องใช้การประมวลผล จากเครื่องท่ีมปี ระสิทธภิ าพสงู กวา่ ไวท้ เี่ ครอ่ื งใหบ้ รกิ าร

35 เดิมที เคร่ืองให้บริการใช้เคร่ืองเมนเฟรมคอมพิวเตอร์หรือมินิคอมพิวเตอร์ แต่ใน ปัจจุบันนี้เทคโนโลยีการประมวลผลได้พัฒนาจนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ท่ีมีประสิทธิภาพสูง สามารถประมวลผลเป็นเคร่ืองให้บริการได้ในระดับหนึ่ง โดยจะต้องมีการติดต้ังโปรแกรมหรือตั้งค่า การทางานให้เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคลสามารถทางานในรปู แบบเคร่ืองให้บริการได้ ซ่ึงการใช้งาน ในรูปแบบเคร่ืองรับ-ให้บริการนี้ จะมีค่าใช้จ่ายในการติดต้ังระบบน้อยกว่าการใช้รูปแบบการ ประมวลผลแบบเมนเฟรมคอมพิวเตอร์และมินิคอมพิวเตอร์ จึงเป็นท่ีนิยมสาหรับองค์กรที่ต้อง ประมวลผลข้อมลู ที่ไมม่ ากนกั เช่น ข้อมลู ของผู้ใชบ้ รกิ ารในห้องสมุดมหาวทิ ยาลยั เคร่อื งรับบรกิ าร เคร่อื งใหบ้ ริการ ภาพท่ี 2.5 การประมวลผลในยุคเครือขา่ ยเคร่อื งรบั -ให้บริการ ทีม่ า : Laudon and Laudon. 2012 : 197. 3.4 ยคุ การประมวลผลแบบเอนเทอร์ไพรส์ ในช่วงปี พ.ศ.2535 (ค.ศ.1992) องค์กรต่าง ๆ เร่ิมนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อการทางานในระบบเครือข่ายมากข้ึน มีการเชื่อมโยงข้อมูลกันระหว่าง องค์กร ประกอบกับการพัฒนาของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สนับสนุนให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง องค์กรมีประสิทธิภาพสูงขึ้น องค์กรสามารถเข้าถึงข้อมูลของสาขาอ่ืน หรือเข้าถึงข้อมูลของคู่ค้าที่ ดาเนินธุรกิจร่วมกัน โดยอาจมีเครื่องให้บริการกลางเพื่อให้ทุกองค์กรเข้าถึงข้อมูลได้ เช่น บริษัท ประกอบรถยนต์กับบริษัทผลิตยางรถยนต์ จะมีฐานข้อมูลที่สามารถแลกเปล่ียนข้อมูลได้ บริษัทผลิต ยางรถยนต์จะทราบจากฐานข้อมูลได้ทันทีว่าเมื่อใดที่บริษัทประกอบรถยนต์จาเป็นต้องสั่งซื้อยาง รถยนต์เพิ่ม องค์ประกอบท่ีสาคัญในยุคการประมวลผลแบบเอนเทอร์ไพรส์คือระบบเครือข่าย คอมพวิ เตอร์

36 เคร่อื งให้บรกิ าร เอนเทอรไ์ พรส์ ภาพที่ 2.6 การประมวลผลแบบเอนเทอร์ไพรส์ ท่ีมา : Laudon and Laudon. 2012 : 197. 3.5 ยุคการประมวลผลแบบคลาวด์และการประมวลผลแบบเคล่ือนที่ เริ่มข้ึนประมาณปี พ.ศ.2543 (ค.ศ.2000) เน่ืองจากความก้าวหน้าของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ีส่งผลให้การประมวลผล แบบเครือข่ายเครื่องรับ-ให้บริการก้าวหน้ามากขึ้น จากการแบ่งปันสารสนเทศเพียงอย่างเดียว ได้ ขยายเป็นการแบ่งปันการประมวลผลและทรัพยากรคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ให้ใช้ร่วมกันท้ังที่อยู่ต่าง สถานที่ เชน่ อปุ กรณ์จัดเกบ็ ขอ้ มูล ซอฟต์แวร์ ตัวประมวลผล และบริการต่าง ๆ คาว่าคลาวด์มาจาก ภาษาอังกฤษว่า Cloud หมายถึงก้อนเมฆ จึงมีคาเรียกว่าเป็นการประมวลผลบนก้อนเมฆ หมายถึง อุปกรณแ์ ละตัวประมวลผลต่าง ๆ อยตู่ า่ งสถานที่โดยผ้ใู ช้ไม่จาเปน็ ตอ้ งทราบว่าอยู่ที่ใด เสมือนอุปกรณ์ ต่าง ๆ ลอยอยู่บนก้อนเมฆ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วคือการทางานร่วมกันโดยอาศัยการเช่ือมต่อของ เครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตนั่นเอง เมื่ อ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง อุป ก ร ณ์ ป ร ะ เ ภ ท มื อ ถื อ ห รื ออุ ป ก ร ณ์ เ ค ลื่ อ น ท่ี ส า ม า ร ถ ประมวลผลและเข้าถึงข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้สะดวกมากข้ึน จึงทาให้เป็นยุคท่ีมี การแลกเปล่ียนการประมวลผลผา่ นอปุ กรณ์เคล่ือนทดี่ ว้ ยเชน่ กัน

37 ภาพท่ี 2.7 การประมวลผลแบบแบบคลาวดแ์ ละการประมวลผลแบบเคลือ่ นที่ ท่มี า : Cloud computing from the home. Online. 2012. ฮาร์ดแวร์ จากความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีหมายถึงการทางานร่วมกันของเคร่ือง คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และระบบส่ือสารโทรคมนาคมน้ัน มักเรียก ส่วนท่ีเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ว่า ฮาร์ดแวร์ โดยฮาร์ดแวร์หมายถึงชุดของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้มองเห็นและสามารถจับต้องได้ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์นาเข้า อุปกรณ์ ประมวลผล อุปกรณ์จัดเก็บและอุปกรณ์แสดงผล ซึ่งอุปกรณ์เหล่าน้ีต้องทางานร่วมกัน (วรัญญา ปุณณวฒั น์. 2554 : 2-1) 1. อปุ กรณน์ าเข้า อุปกรณ์นาเข้า หมายถึง อุปกรณ์ท่ีเป็นเคร่ืองมือสาหรับรวบรวมและนาข้อมูลเข้าสู่ คอมพิวเตอร์ โดยทาหน้าท่ีแปลงสัญญาณให้อยู่ในรูปแบบท่ีคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนาไป ประมวลผลได้ ในท่ีน้ีแบ่งอุปกรณ์นาเข้าได้ 2 กลุ่มคือ อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลจากผู้ใช้โดยตรง และ อปุ กรณ์นาเขา้ ข้อมูลจากสอ่ื บันทึกข้อมลู 1.1 อุปกรณน์ าเขา้ ขอ้ มูลจากผ้ใู ช้โดยตรง คือ อุปกรณ์ท่ีผู้ใช้เป็นผู้บันทึกข้อมูล พิมพ์ หรือ นาอุปกรณ์ไปรับข้อมูลโดยตรง ได้แก่ แผงแป้นอักขระ (Keyboard) เมาส์ (Mouse) จอสัมผัส (Touch Screen) เครือ่ งกราดภาพ (Scanner) เป็นต้น

38 1.2 อปุ กรณ์นาเขา้ ขอ้ มูลจากสอื่ บนั ทกึ ข้อมูล คอื อปุ กรณ์ท่ีมีการเก็บข้อมูลไว้แล้ว เมื่อผู้ใช้ ต้องการนาข้อมูลเหล่าน้ันให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล ผู้ใช้จะต้องนาสื่อไปยังอุปกรณ์อ่านข้อมูลท่ี เหมาะสม เชน่ รหัสแทง่ (Bar Code) บตั รเอทีเอ็ม (ATM) ซดี ีเพลง ดังภาพท่ี 2.8 เป็นตัวอย่างอุปกรณ์นาเข้า ประกอบด้วยเมาส์แบบแผ่นสัมผัสบนเคร่ือง คอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊ค (Notebook) เรียกว่า ทัชแพด (Touchpad) เคร่ืองกราดภาพ เมาส์และ จอยสติก (Joy Stick) หรืออุปกรณ์ท่ีใช้ในการควบคุมการเคล่ือนไหว และเมาส์แบบปากกา (Pen Mouse) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ส่ังงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้เช่นเดียวกับเมาส์ แต่อยู่ในรูปแบบของ ปากกา ภาพท่ี 2.8 ตัวอยา่ งอปุ กรณน์ าเขา้ ทมี่ า : Beekman and Beekman. 2009 : 69. 2. อปุ กรณ์ประมวลผล อุปกรณ์ประมวลผลหรือหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit – CPU) เป็นองค์ประกอบที่เปรียบเสมือนสมองของคอมพิวเตอร์ เพราะทาหน้าท่ีในการควบคุมอุปกรณ์ คานวณและประมวลผลโดยใช้หลักการพืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์จากคาสั่งทผี่ ้ใู ชน้ าเข้าไปในระบบ โดย หน่วยประมวลผลกลางจะถูกติดตั้งลงบนเมนบอร์ด (Mainboard) หรือแผงวงจรหลักของเคร่ือง คอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เช่ือมการทางานระหว่างชิ้นส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน หน่วยประมวลผลกลางมี

39 ส่วนประกอบหลักอยู่ 3 ส่วน ได้แก่หน่วยควบคุม (Control Unit – CU) หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit – ALU) และหน่วยความจาแคช (Cache Memory) 2.1 หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ควบคุมการทางานทุกส่วนประกอบของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และประสานการทางานให้เป็นไปโดยราบรื่น เปรียบเสมือนสมองของมนุษย์ที่ควบคุมการทางานของ อวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกาย (วเิ ชียร วสิ งุ เร. 2556 : 15) 2.2 หน่วยคานวณและตรรกะ ทาหน้าที่คานวณทางคณิตศาสตร์และเปรียบเทียบค่าของ ตัวเลข แปลคาสั่งคอมพิวเตอร์ท่ีอ่านเข้ามาและคานวณเพ่ือให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลให้ได้ผลลัพธ์ ตามคาสง่ั ที่ผใู้ ช้กาหนด ในหน่วยคานวณและตรรกะนี้จะมีเรจิสเตอร์ (Register) เป็นหน่วยความจาที่ มีความเรว็ สูง ทาหน้าทเี่ ก็บข้อมลู ท้ังก่อนและหลังประมวลผล ซึ่งเรจิสเตอร์มีหลายชนิด แต่ละชนิดจะ มีหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูลแตกต่างกันไป เช่น เก็บที่อยู่ของข้อมูลในเคร่ือง เก็บคาสั่งสาหรับหน่วย ควบคุม เก็บคาสง่ั เพ่อื รอประมวลผลต่อไป 2.3 หน่วยความจาแคช เป็นหน่วยความจาท่ีอยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ทาหน้าท่ีเก็บ ข้อมูลหรือคาสั่งที่เรียกใช้บ่อยและถ่ายโอนข้อมูลระหว่างหน่วยประมวลผลกลางกับหน่วยความจา หลัก เพือ่ ให้หน่วยประมวลผลกลางทางานไดร้ วดเรว็ ขึ้น (วรัญญา ปุณณวัฒน์. 2554 : 2-13) ภาพท่ี 2.9 อปุ กรณ์ประมวลผลหรือหนว่ ยประมวลผลกลาง ท่ีมา : วิโรจน์ ชยั มูล และสุพรรษา ยวงทอง. 2552 : 121.

40 3. อปุ กรณ์แสดงผล อปุ กรณ์แสดงผลจะทาหนา้ ทแี่ ปลงข้อมลู ให้อย่ใู นรูปแบบท่ีผู้ใช้ต้องการและสามารถเข้าใจ ได้ ซึ่งอุปกรณ์แสดงผลสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลักคืออุปกรณ์แสดงผลแบบช่ัวคราว (Soft Copy) และอปุ กรณ์แสดงผลแบบถาวร (Hard Copy) 3.1 อุปกรณแ์ สดงผลแบบชั่วคราว จะแสดงผลในรปู แบบของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์แบบ ชวั่ คราว ต้องใช้กระแสไฟหลอ่ เลยี้ ง ผใู้ ชไ้ มส่ ามารถจบั ต้องผลลัพธ์นน้ั ได้ ตัวอย่างของอุปกรณ์แสดงผล แบบชั่วคราวไดแ้ ก่ จอภาพ เคร่อื งฉาย (Projector) ลาโพง เปน็ ตน้ 3.2 อุปกรณ์แสดงผลแบบถาวร จะแสดงผลลัพธ์ท่ีผู้ใช้สามารถจับต้องได้ เช่น กระดาษ แผ่นใส ผ้า ซ่ึงอุปกรณ์ท่ีสามารถผลิตผลลัพธ์แบบถาวรนี้ได้แก่ เครื่องพิมพ์ (Printer) โดยท่ัวไป เครอื่ งพิมพ์สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภทหลัก ไดแ้ ก่ 3.2.1 เครื่องพิมพ์แบบจุด (Dot-matrix Printer) เป็นเคร่ืองพิมพ์ที่ใช้หลักการตอก หัวเข็มผ่านแผ่นหมึกลงบนกระดาษ มีต้นทุนในการพิมพ์ต่า สามารถพิมพ์งานท่ีต้องทาสาเนาได้เป็น จานวนมาก เชน่ เคร่ืองพมิ พ์ใบเสร็จรับเงนิ ในห้างสรรพสินค้า สมุดบัญชธี นาคาร ดังภาพที่ 2.10 ภาพที่ 2.10 เครอ่ื งพมิ พ์แบบจุด ที่มา : วโิ รจน์ ชยั มูล และสุพรรษา ยวงทอง. 2552 : 136. 3.2.2 เครือ่ งพมิ พแ์ บบฉีดหมึก (Ink Jet Printer) ใช้หลักการในการพ่นหมึกลงไปบน วัสดุ สามารถพิมพ์ได้ท้ังสีและขาวดา ซึ่งเคร่ืองพิมพ์แบบฉีดหมึกน้ีจะไม่กระทบกับวัสดุที่ใช้พิมพ์ แต่ เน่ืองจากเป็นการพ่นน้าหมึกเพื่อให้ซึมลงบนวัสดุ หากวัสดุนั้นโดนน้าหรือของเหลวอาจทาให้ผลลัพธ์ เสียหายได้ จึงจาเป็นต้องใช้วัสดุหรือกระดาษสาหรับเครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึกโดยเฉพาะ ปัจจุบัน

41 เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึกมีราคาต่ากว่าเครื่องพิมพ์ประเภทอ่ืน จึงเป็นท่ีนิยมใช้โดยทั่วไป ตัวอย่าง ผลลพั ธท์ ีไ่ ดจ้ ากเครอ่ื งพิมพ์แบบฉดี หมึกได้แก่ ภาพถา่ ย ภาพพมิ พ์บนสติกเกอร์ (Sticker) เปน็ ตน้ ภาพที่ 2.11 เคร่อื งพมิ พแ์ บบฉดี หมึก ท่มี า : วโิ รจน์ ชยั มูล และสพุ รรษา ยวงทอง. 2552 : 137. 3.2.3 เคร่อื งพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer) มหี ลักการทางานคลา้ ยเคร่ืองถ่ายเอกสาร คือปล่อยแสงเลเซอร์มากระทบกระจกเพ่ือให้สะท้อนผ่านเลนส์รวมแสงไปวาดภาพเพ่ือให้เกิดประจุ ไฟฟา้ ขึ้นบนแท่งท่ีเรียกว่าดรัม (Drum) จากนั้นจะดูดผงหมึกเพื่อให้ติดบนดรัมและใช้ความร้อนอัดผง หมึกไปบนกระดาษ ต้นทุนของเครื่องพิมพ์เลเซอร์จะสูงกว่าเครื่องพิมพ์ทั้งสองประเภทดังที่กล่าวไป แลว้ แต่ผลลัพธ์ทไี่ ดจ้ ะมคี วามคมชัดกวา่ มกั ใชก้ บั งานพิมพ์ทตี่ ้องการคณุ ภาพสงู ภาพท่ี 2.12 เคร่ืองพมิ พ์เลเซอร์ ทม่ี า : วิโรจน์ ชัยมลู และสุพรรษา ยวงทอง. 2552 : 137.

42 4. อุปกรณจ์ ัดเก็บขอ้ มลู อปุ กรณจ์ ัดเกบ็ ขอ้ มลู หรอื หน่วยความจา (Memory) ทาหน้าที่เป็นสื่อบันทึกข้อมูลเพื่อลด ทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลสาหรับการประมวลผล โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ หนว่ ยความจาหลัก (Primary Memory) และหน่วยความจารอง (Secondary Memory) 4.1 หน่วยความจาหลัก จะทางานประสานกับหน่วยประมวลผลกลาง ทาหน้าท่ีจดจา คาส่ังและข้อมูลท่ีหน่วยประมวลผลกลางต้องเรียกใช้บ่อย เพื่อเตรียมสาหรับการส่งต่อให้หน่วย ประมวลผลกลางทาการประมวลผลอย่างรวดเร็ว แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แรม (Random Access Memory - RAM) และ รอม (Read Only Memory – ROM) 4.1.1 แรม เป็นหน่วยความจาชั่วคราว ทาหน้าท่ีอ่านและจดจาข้อมูลตราบเท่าท่ี เครื่องคอมพวิ เตอร์เปดิ ใชง้ านอยู่หรอื มกี ระแสไฟฟา้ คอยหล่อเล้ยี ง เม่อื ปดิ เคร่ืองคอมพิวเตอร์หรือหยุด การทางานโดยที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน ข้อมูลในแรมจะหายไป แรมจึงเปรียบเสมือนที่พักข้อมูลให้กับ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เช่น เมื่อเปิดโปรแกรมพิมพ์งาน ในระหว่างพิมพ์งานเครื่องคอมพิวเตอร์จะเก็บ ข้อมูลลงไปทแ่ี รม จนกวา่ ผูใ้ ช้จะบันทกึ งานพิมพ์นัน้ ลงในสื่ออ่ืน ๆ เช่น บันทึกลงในฮาร์ดดิสก์ หากยัง ไม่มีการบันทึกลงในส่ืออื่น ๆ แล้วผู้ใช้สลับไปใช้โปรแกรมอื่น เช่น เปิดโปรแกรมเพื่อตกแต่งภาพ ใน ระหวา่ งนัน้ เคร่อื งคอมพวิ เตอรจ์ ะยังคงจดจาข้อมลู ท่ผี ใู้ ชพ้ ิมพไ์ วใ้ นโปรแกรมประมวลผลคาได้ ภาพท่ี 2.13 แรม ท่มี า : Beekman and Beekman. 2009 : 40. 4.1.2 รอม เปน็ หนว่ ยความจาถาวรทผี่ ผู้ ลติ ติดต้ังมาพร้อมเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูล จะไม่ลบเลือนแม้จะไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง รอมทาหน้าท่ีเก็บข้อมูลท่ีไม่ต้องการเปล่ียนแปลง

43 ใช้ควบคุมการทางานส่วนใหญ่ของเครื่องคอมพิวเตอร์และเป็นค่าที่ได้รับการติดตั้งมาจากโรงงาน ผู้ผลิต คาส่ังทใี่ ช้ควบคมุ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ท่ตี ิดตงั้ มาบนรอม เรยี กวา่ เฟริ ม์ แวร์ (Firmware) 4.2 หน่วยความจาสารอง ทาหน้าท่ีเก็บข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ ไว้อย่างถาวร จะอยู่ ภายนอกแผงวงจรหลัก แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเล้ียงเม่ือปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แต่หน่วยความจา สารองจะยังคงเก็บข้อมูลไว้ ไม่ลบเลือนไป ตัวอย่างของหน่วยความจาสารอง เช่น ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ซีดรี อม (CD-ROM) เทปแมเ่ หลก็ (Magnetic Tape) แฟลชไดร์ฟ (Flash Drive) ดังภาพ ท่ี 2.14 ภาพที่ 2.14 ตวั อย่างหน่วยความจาสารอง ที่มา : วโิ รจน์ ชัยมลู และสุพรรษา ยวงทอง. 2552 : 125. ซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีสารสนเทศจะทางานได้ครบองค์ประกอบนั้น ต้องมีส่วนที่ทาหน้าท่ีประสานงาน ระหว่างผู้ใช้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือฮาร์ดแวร์ ส่วนท่ีทาหน้าที่ดังกล่าวคือซอฟต์แวร์ การ เลือกใช้ซอฟต์แวร์ให้ตรงต่อความต้องการเป็นส่วนสาคัญที่ช่วยให้การทางานของเทคโนโลยี สารสนเทศสามารถตอบสนองการดาเนินงานขององค์กรได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 1. ความร้ทู ว่ั ไปเกีย่ วกับซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ หรือนิยมเรียกโดยท่ัวไปว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง ชุดคาส่ังที่ เก่ยี วขอ้ งกันเปน็ ลาดับข้ันตอน ใชส้ ั่งการให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทางาน (สมลักษณ์ ละอองศรี. 2554 :

44 3-5) โดยทั่วไปผู้ที่ทาหน้าที่ในการเขียนคาสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม (Programmer) การพัฒนาซอฟต์แวร์นับเป็นงานประเภททรัพย์สินทางปัญญา เป็นสินค้าที่มีมูลค่า แต่ เน่ืองจากความจาเป็นที่ต้องมีการใช้งานซอฟต์แวร์ควบคู่กับฮาร์ดแวร์ จึงเป็นช่องทางให้เกิดการ ละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์เป็นจานวนมาก ผู้ใช้จึงต้องทาความเข้าใจถึงความเป็นเจ้าของสิทธ์ิของ ซอฟต์แวร์เพื่อจะได้แยกประเภทของซอฟต์แวร์ได้ชัดเจนยิ่งข้ึน (สมลักษณ์ ละอองศรี. 2554 : 3-9) ความเปน็ เจา้ ของสิทธิแ์ บง่ เปน็ ประเด็นของลขิ สทิ ธ์ิ (Copyright) และใบอนุญาต (License) 1.1 ลิขสิทธ์ิ คือสิทธิ์ในความเป็นเจ้าของ เมื่อผู้ใดพัฒนาซอฟต์แวร์ข้ึนมา ผู้น้ันได้สิทธิ์ ความเป็นเจ้าของทันทีโดยไม่ต้องจดทะเบียน เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ที่มีต่อทรัพย์สินทางปัญญา ประเภทซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ผู้ได้รับสิทธิ์สามารถสาเนา เผยแพร่ แก้ไข ดัดแปลงหรือโอนสิทธิ์ ให้แก่บุคคลอื่น ดังนั้นซอฟต์แวร์ทุกตัวจึงถือว่ามีลิขสิทธิ์หรือมีเจ้าของโดยท่ีไม่จาเป็นต้องมีข้อความ ระบุ หากผู้ใช้นาไปคัดลอก ทาซ้า สาเนาโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์จะถือว่าละเมิด ลิขสทิ ธิ์และถอื วา่ เป็นความผดิ ตามกฎหมาย 1.2 ใบอนุญาต คือข้อตกลงว่าอนุญาตให้ใช้งานซอฟต์แวร์น้ันได้ สืบเน่ืองมาจากลิขสิทธ์ิ การนาซอฟต์แวร์มาใช้โดยท่ัวไปมักมีค่าใช้จ่าย ยกเว้นเจ้าของหรือผู้พัฒนาซอฟต์แวร์จะอนุญาตให้ใช้ งานไดโ้ ดยไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ย ใบอนุญาตมีหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการกาหนดจานวนผู้ใช้ เช่น ถ้าองค์กรซื้อ ใบอนุญาตสาหรับผู้ใช้คนเดียว จะสามารถติดต้ังซอฟต์แวร์นั้นได้เพียงเครื่องเดียว ทั้งนี้ประเภทของ ใบอนุญาตได้แก่ ใบอนุญาตแบบผู้ใช้คนเดียว (Single-user License) ใบอนุญาตแบบผู้ใช้หลายคน (Multiuser License) ใบอนุญาตแบบผู้ใช้ซึ่งใช้งานพร้อมกัน (Concurrent-user License) ใบอนญุ าตสถานท่ี (Site License) และใบอนญุ าตแบบสาธารณะท่ัวไป (General Public License – GPL) นอกจากการเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมกับการใช้งานแล้ว ผู้ใช้จึงควรคานึงถึงข้อ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องในการใช้งาน เนื่องจากการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์จะส่งผลต่อการพัฒนาธุรกิจ ซอฟต์แวร์และอาจส่งผลกระทบต่อผู้ใช้ได้ แต่ท้ังน้ีในปัจจุบันได้มีความพยายามในการพัฒนา ซอฟต์แวร์ท่ีอนุญาตให้ผู้ใช้นาไปเผยแพร่ต่อโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นทางเลือกในการใช้งานและ ไมใ่ หเ้ กดิ การผูกขาดในธุรกิจซอฟต์แวร์

45 การแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์น้ัน สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ซอฟต์แวร์ ระบบ (Systems Software) และซอฟต์แวร์ประยุกต์หรือนิยมเรียกว่าโปรแกรมประยุกต์ (Application Software) ดงั นี้ 2. ซอฟต์แวรร์ ะบบ ซอฟต์แวร์ระบบ เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ประสานงานระหว่างผู้ใช้และฮาร์ดแวร์ ควบคมุ ฮาร์ดแวร์ไม่ว่าจะเป็นส่วนรับข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลให้ทางานประสานกับซอฟต์แวร์ อื่นและสือ่ สารกับผู้ใช้ได้อย่างถูกต้อง ซอฟต์แวร์ระบบจะทางานตลอดเวลานับต้ังแต่เปิดเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดยเริ่มต้ั งแต่ ตรวจสอบอุปกรณ์ที่มีการต่อพ่วงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ รับคาส่ังจากผู้ใช้ แปลงสัญญาณคาส่ังจาก ภาษาที่ผู้ใช้สื่อสารเป็นสัญญาณไฟฟ้าเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้ และแปล ผลลัพธจ์ ากสญั ญาณไฟฟา้ ใหเ้ ป็นภาษาที่ผใู้ ชส้ ามารถเข้าใจได้ 2.1 ความสาคัญของซอฟตแ์ วร์ระบบ สามารถจาแนกไดด้ ังน้ี 2.1.1 จัดการติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น เมื่อผู้ใช้เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ระบบจะทาหน้าท่ีตรวจสอบและเช่ือมต่ออุปกรณ์ท่ีต่อพ่วงอยู่ เช่น จอภาพ เคร่ืองพิมพ์ ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ โดยเตรียมความพร้อมให้ผู้ใช้สามารถใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังกล่าวโดยไม่ต้อง คานงึ ถงึ การสั่งงานใหค้ อมพวิ เตอรเ์ ชื่อมต่ออปุ กรณ์ 2.1.2 จัดการการประมวลผลพร้อมกันของเครื่องคอมพิวเตอร์ ด้วยศักยภาพของ เครื่องคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดการประมวลผลหลายภารกิจพร้อมกัน (Multitasking) โดยใช้หน่วย ประมวลผลกลางเพยี งตวั เดียว เชน่ การใชโ้ ปรแกรมตกแต่งภาพและโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหวใน คราวเดียวกันโดยผู้ใช้หลายคนเข้ามาดาเนินการพร้อมกัน ซอฟต์แวร์ระบบจะทาหน้าท่ีในการจัดสรร ชว่ งเวลาในการประมวลผลให้กับผู้ใชไ้ ด้ ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถรองรับการติดตั้งหน่วยประมวลผลกลาง ได้มากกว่าหน่ึงตัวในเคร่ืองเดียวกัน เพ่ือแบ่งการประมวลผลให้รวดเร็วขึ้น ซ่ึงซอฟต์แวร์ระบบจะทา หน้าที่จดั การการประมวลผลดงั กลา่ ว 2.1.3 จัดการหน่วยความจา ซอฟต์แวร์ระบบจะทาหน้าที่จัดการให้การใช้งาน หน่วยความจาที่มีอยู่มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด โดยกาหนดเวลาในการใช้หน่วยความจาหรือท่ีอยู่ของ

46 ข้อมูลที่จะนาไปจัดเก็บบนหน่วยความจา เพ่ือให้ใช้หน่วยความจาท่ีมีอยู่ร่วมกันได้อย่างมีประโยชน์ สูงสุด 2.1.4 จดั การเรื่องความปลอดภัย ซอฟต์แวร์ระบบสามารถกาหนดระบบรักษาความ ปลอดภัยในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือข้อมูล โดยให้ผู้ใช้ตั้งรหัสผ่านในการใช้งาน รวมถึงสามารถ ติดตามและรายงานผลการใช้ทรัพยากรบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตามท่ีผู้ใช้ต้องการได้ เช่น ต้องการ ทราบว่ามีผู้ใช้คนใดเข้ามาประมวลผลโปรแกรมประยุกต์ในบางช่วงเวลาหรือมีการใช้ โปรแกรม ประยกุ ต์ใดบ้างในแตล่ ะวนั 2.1.5 จัดการการใช้งานโปรแกรมประยุกต์และข้อมูล โดยซอฟต์แวร์ระบบจะทา หน้าท่ีคล้ายบรรณารักษ์ในการจัดหมวดหมู่และตาแหน่งที่ใช้เก็บโปรแกรมประยุกต์และข้อมูลที่ เหมาะสม เมื่อผใู้ ชต้ ้องการเรยี กใช้งาน ซอฟตแ์ วร์ระบบจะนาโปรแกรมประยุกต์และข้อมูลมาแสดงผล โดยผู้ใช้ไม่ต้องคานึงถึงตาแหน่งที่จัดเก็บจริงในหน่วยความจา รวมถึงจัดการเร่ืองการลบข้อมูล แก้ไข ขอ้ มลู และยา้ ยตาแหน่งในการจดั เกบ็ รวมถึงสารองขอ้ มลู โดยอัตโนมตั ิ 2.1.6 ประสานการทางานกบั อปุ กรณ์เครือข่าย ซงึ่ การเช่ือมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ ทางานร่วมกนั มากกว่า 1 เครอ่ื งน้นั อาจเกดิ ปญั หาการสือ่ สารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้อุปกรณ์ หรอื โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ทต่ี ่างกนั ซึง่ ซอฟตแ์ วร์ระบบจะทาหน้าที่ประสานงานดังกล่าว สรุปความสาคัญโดยท่ัวไปของซอฟต์แวร์ระบบ คือทาหน้าที่ประสานระหว่างผู้ใช้ และเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทางานร่วมกันได้ โดยผู้ใช้ไม่ต้องคานึงถึงกระบวนการทางานของ ฮารด์ แวรน์ ัน่ เอง (Beekman and Beekman. 2009 : 153-154) 2.2 ซอฟต์แวร์ระบบสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ (Operating Systems – OS) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Programs) มิดเดิลแวร์และ โปรแกรมขบั อุปกรณ์ (Middleware and Device Driver) 2.2.1 ระบบปฏิบัติการ คือซอฟต์แวร์ที่เป็นตัวกลางประสานการทางานระหว่าง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เพ่ือให้ผู้ใช้สามารถติดต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยตรงในการใช้งาน ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวรต์ า่ ง ๆ ที่เกีย่ วข้อง (สมลักษณ์ ละอองศรี. 2554 : 3-25) สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คอื สแทนด์อโลน (Stand-alone) เครือขา่ ย (Network) และฝงั ตวั (Embedded) 2.2.1.1 สแทนดอ์ โลน เปน็ ระบบปฏบิ ัติการท่ีมุ่งเน้นการให้บริการสาหรับผู้ใช้ เพียงคนเดียวในแต่ละเครื่อง เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ในบ้าน สามารถทางานได้หลายอย่างพร้อมกัน

47 ในปัจจุบันพัฒนาให้มีคุณสมบัติเป็นเคร่ืองลูกข่ายเพ่ือรองรับการทางานในระบบเครือข่ายได้ด้วย ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการน้ี เช่น ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เซเวน (Windows 7) ระบบปฏิบัติการ แมค (Mac) ซ่ึงเป็นระบบปฏิบัติการของบริษัทแอปเปิล ใช้สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชซ่ึง นยิ มใชใ้ นการพัฒนางานกราฟกิ (Graphic) 2.2.1.2 เครือข่าย เป็นระบบปฏิบัติการเพื่อรองรับการทางานในลักษณะ เครือข่าย มีการจัดการงานแบบหลายงานพร้อมกันและรองรับการทางานของผู้ใช้หลายคน เหมาะ สาหรับองค์กรขนาดกลางขึ้นไป เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีติดต้ังระบบปฏิบัติเครือข่ายจะเรียกว่าเคร่ือง ให้บริการ (Server) ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการประเภทเครือข่าย เช่น วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ (Windows Server) ยูนกิ ซ์ (UNIX) ลนิ กุ ซ์ (Linux) 2.2.1.3 ฝังตัว ออกแบบสาหรับใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพา เช่น เครื่องปาล์ม (Palm) พีดีเอ (PDA) สมาร์ตโฟน (Smartphone) แท็บเล็ต (Tablet) ลักษณะของ ระบบปฏิบัติการแบบฝังตัวจะมีขนาดเล็ก ใช้หน่วยความจาน้อย รองรับการทางานผ่านระบบสัมผัส หน้าจอ เสียงพูดและสามารถทางานร่วมกับระบบการทางานของโทรศัพท์มือถือได้ ตัวอย่างของ ระบบปฏบิ ตั กิ ารแบบฝงั ตัว เช่น 1) วินโดวส์โมบาย (Windows Mobile) ใช้ร่วมกับอุปกรณ์ในเคร่ือง พดี เี อและโทรศพั ท์แบบสมารต์ โฟน 2) ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) พัฒนาโดยบริษัทกูเกิล (Google) ซ่ึงเป็นผู้พัฒนาโปรแกรมค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดังน้ันอุปกรณ์ที่ใช้ ระบบปฏิบัติการแอนดรอย์จึงสามารถเชื่อมต่อกับซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของกูเกิลได้ ใชก้ บั อปุ กรณพ์ กพาและโทรศัพทแ์ บบสมารต์ โฟน 3) ระบบปฏิบัติการไอโฟนโอเอส (iOS) นิยมเรียกว่าไอโอเอส เป็น ระบบปฏิบตั ิการทรี่ องรับการทางานของโทรศัพท์แบบสมาร์ตโฟนยี่ห้อไอโฟน (iPhone) และอุปกรณ์ อน่ื ของบรษิ ทั แอปเปิล รองรับการทางานบนอุปกรณท์ ่สี งั่ งานดว้ ยการสัมผัสด้วยนวิ้ มือ 2.2.2 โปรแกรมอรรถประโยชน์ เป็นซอฟต์แวร์ท่ีพัฒนาข้ึนเพ่ือสนับสนุนการทางาน ของระบบปฏิบัติการ มีขนาดเล็กกว่าและมีคุณสมบัติการใช้งานที่หลากหลาย นิยมเรียกว่ายูทิลิต้ี (Utility) แบง่ เป็น 2 ประเภทได้แก่ โปรแกรมอรรถประโยชน์สาหรับระบบปฏิบัติการ และโปรแกรม อรรถประโยชนอ์ นื่ ๆ (วโิ รจน์ ชยั มลู และสุพรรษา ยวงทอง. 2552 : 85)

48 2.2.2.1 โปรแกรมอรรถประโยชน์สาหรับระบบปฏิบัติการ มักติดตั้งมาพร้อม กับระบบปฏบิ ัติการเพือ่ ช่วยอานวยความสะดวกในการทางาน ตวั อยา่ งของโปรแกรมประเภทนี้ เช่น 1) โปรแกรมจัดการแฟ้มข้อมูล (File Manager) มีหน้าท่ีหลักในการ จัดการเกี่ยวกบั แฟ้มข้อมูลได้แก่ การคดั ลอก เปลี่ยนชอ่ื ลบหรือยา้ ยไฟล์ 2) โปรแกรมยกเลิกการติดตั้ง (Uninstaller) จะดาเนินการลบหรือ กาจัดโปรแกรมที่ผู้ใช้ไม่ต้องการใช้ โดยจะทาการลบโปรแกรมพร้อมส่วนประกอบที่ติดต้ังไว้ตาม หนว่ ยความจาส่วนตา่ ง ๆ ผ้ใู ช้ไม่จาเปน็ ต้องไปลบทกุ โปรแกรมด้วยตนเอง การใช้โปรแกรมยกเลิกการ ติดต้ังจะทาการต้ังค่าการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมเม่ือทาการลบโปรแกรมท่ีไม่ตั้ง การนนั้ ๆ ออกแลว้ ด้วย 3) โปรแกรมถนอมหน้าจอ (Screen Saver) หากทาการเปิดจอภาพ ไว้เป็นเวลานานโดยไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ บนหน้าจอ จะทาให้เกิดรอยไหม้บนสารเรืองแสงที่ฉาบ ผิวจอและไม่สามารถเลือนหายออกไปได้ โปรแกรมถนอมหน้าจอจึงเป็นโปรแกรมท่ีช่วยป้องกัน ปัญหาดังกล่าว โดยตรวจสอบและจะเร่ิมทางานเมื่อไม่มีการเคล่ือนไหวบนหน้าจอตามเวลาท่ีกาหนด เช่น 5 นาที หรือ 10 นาที 2.2.2.2 โปรแกรมอรรถประโยชน์อ่ืน ๆ เป็นโปรแกรมที่ผู้ใช้สามารถเลือกมา ติดตั้งเพมิ่ เติม สว่ นใหญ่จะไมต่ ดิ ต้ังมาพรอ้ มกับระบบปฏบิ ัติการ ตวั อย่างของโปรแกรมประเภทน้ี เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัสหรอื ภยั คกุ คามทางคอมพิวเตอร์ โปรแกรมบีบอัดไฟล์ เพ่ือให้ไฟล์มีขนาดเล็กลง จนสามารถบนั ทึกลงในสือ่ ตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสมได้ เป็นต้น 2.2.3 มิดเดิลแวร์และโปรแกรมขับอุปกรณ์ ทาหน้าท่ีประสานงานระหว่าง ระบบปฏิบัติการกับฮาร์ดแวร์ มหี ลกั การทางานดังนี้ 2.2.3.1 มิดเดิลแวร์ เป็นซอฟต์แวร์ท่ีเป็นตัวกลาง ประสานการติดต่อสื่อสาร ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพ่ืออานวยความสะดวกแก่โปรแกรมประยุกต์ในการติดต่อกับระบบ คอมพวิ เตอร์และเช่อื มโยงให้ระบบต่าง ๆ ทางานรว่ มกันได้ ดงั นัน้ ซอฟต์แวร์ใด ๆ ท่ีทางานอยู่ระหว่าง ซอฟต์แวรป์ ระยุกตก์ ับระบบปฏบิ ัติการจึงจัดเป็นมิดเดิลแวร์ เช่น มิดเดิลแวร์ฐานข้อมูล ทาหน้าท่ีเป็น ตวั กลางในการเขา้ ถงึ ฐานขอ้ มลู 2.2.3.2 โปรแกรมขับอุปกรณ์ นิยมเรียกว่าไดร์เวอร์ ทาหน้าที่ควบคุม ฮาร์ดแวร์ท่ีเชื่อมต่ออยู่ให้สามารถทางานร่วมกันกับระบบปฏิบัติการได้อย่างถูกต้อง โดยการติดตั้ง

49 โปรแกรมขับอุปกรณ์นี้จะขึ้นกับบริษัทผู้ผลิตและรุ่นของอุปกรณ์ เช่น โปรแกรมขับอุปกรณ์สาหรับ เคร่ืองพิมพ์เลเซอร์รุ่น LaserJet1010 ซ่ึงผู้ใช้สามารถหาโปรแกรมขับอุปกรณ์จากบริษัทผู้ผลิตมา ติดตั้ง เม่ือผู้ใช้เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการจะดึงข้อมูลของเคร่ืองพิมพ์มาเตรียมความ พร้อมเพอ่ื ใหบ้ รกิ ารผู้ใชต้ ่อไป 3. ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ หมายถึงซอฟต์แวร์ต่าง ๆท่ีออกแบบมาเพื่อช่วยเพ่ิมผลผลิตในการ ทางาน โดยไม่เกี่ยวขอ้ งกับการควบคุมระบบ ผู้ใช้จาเป็นต้องเลือกซอฟต์แวร์ให้ตรงตามความต้องการ ในการใช้งานโดยเฉพาะ เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนาเสนองาน การจัดทาบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการจดั ทาเว็บไซต์ (วิโรจน์ ชัยมลู และสุพรรษา ยวงทอง. 2552 : 89) การแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ สามารถพิจารณาตามเกณฑ์ท่ีกาหนดได้ 2 แบบ คอื แบ่งตามลักษณะการผลิต และแบง่ ตามกลุ่มการใช้งาน 3.1 แบ่งตามลักษณะการผลิต เป็นการแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ตามวิธีการผลิตหรือการ พัฒนา แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ไพรเอทารีซอฟต์แวร์โพร (Proprietary Software) และ แพ็กเกจซอฟต์แวร์ (Packaged Software) 3.1.1 โพรไพรเอทารีซอฟต์แวร์ คือ ซอฟต์แวร์ท่ีสิทธิในการใช้งานและทาซ้าถูก จากัดหรือสงวนสิทธิไว้โดยเจ้าของซอฟต์แวร์หรือผู้จัดทา ผู้อื่นไม่สามารถนามาใช้งานหรือทาซ้าได้ นอกจากได้รับอนุญาตในสิทธินั้นจากเจ้าของ (กรมทรัพย์สินทางปัญญา. 2551 : 3) กล่าวคือเป็น ซอฟตแ์ วรท์ ่อี งค์กรต้องพัฒนาขึน้ มาโดยเฉพาะ โดยวธิ ีการพฒั นาทาได้ 2 วิธคี ือ 3.1.1.1 พัฒนาโดยองค์กรเอง โดยมีแผนกหรือคณะทางานในการพัฒนา ซอฟต์แวร์ วิธีนี้จะช่วยให้องค์กรได้ซอฟต์แวร์ท่ีตรงกับความต้องการขององค์กร เพราะพัฒนาจาก บคุ ลากรในองค์กรเอง 3.1.1.2 ใช้บริการองค์กรภายนอก (Outsource) โดยอาจว่าจ้างบริษัทท่ีมี ความเช่ยี วชาญในการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software House) โดยเฉพาะ 3.1.2 แพ็กเกจซอฟต์แวร์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้ผลิตได้พัฒนาขึ้นและจาหน่ายแบบ สาเร็จรูป ซ่งึ สามารถนาไปใชง้ านได้ทนั ที โดยส่วนใหญ่เป็นซอฟต์แวร์ท่ีใช้กับงานท่ัวไปในองค์กร นิยม เรียกว่า โปรแกรมสาเรจ็ รูป

50 3.2 การแบง่ ตามกลมุ่ การใชง้ าน แบ่งตามลักษณะของการนาซอฟตแ์ วร์ไปใช้งาน สามารถ แบ่งได้ 3 กลุ่มใหญ่ คือ งานด้านธุรกิจ (Business) งานด้านกราฟิกและสื่อประสม (Graphic and Multimedia) และงานด้านเว็บและการติดต่อสื่อสาร (Web and Communication) (วิโรจน์ ชัยมูล และสพุ รรษา ยวงทอง. 2552 : 90) 3.2.1 งานด้านธุรกิจ ซอฟต์แวร์ประเภทน้ีจะเน้นในการใช้งานด้านธุรกิจโดยมุ่งหวัง ใหก้ ารทางานมีประสิทธภิ าพมากขน้ึ กว่าการใช้แรงงานบุคลากร เช่น โปรแกรมประมวลผลคา (Word Processing) สาหรับจัดพิมพ์เอกสาร โปรแกรมแผ่นตารางทาการ (Spread Sheet) สาหรับคานวณ งานดา้ นบญั ชี 3.2.2 งานด้านกราฟิกและสื่อประสม มีความสามารถเสมือนผู้ช่วยในการออกแบบ งาน เช่น ตกแต่งภาพ การสร้างภาพเคล่ือนไหว ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ประเภทนี้ เช่น โปรแกรมช่วย การออกแบบ (Computer Aided Design – CAD) โปรแกรมตกแต่งภาพ โปรแกรมตัดต่อวิดีโอและ เสยี ง 3.2.3 งานด้านเว็บและการติดต่อส่ือสาร ช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการ ติดต่อส่ือสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น โปรแกรมตรวจสอบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-Mail) การเปิดดูเวบ็ ไซต์ การส่งขอ้ ความผ่านทางเครอื ขา่ ย และการประชมุ ทางไกล (Video Conference) ระบบโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศจะมปี ระโยชนส์ ูงสุดเม่ือสามารถส่งตอ่ หรอื แลกเปลี่ยนขอ้ มลู ไปยงั ผู้เก่ียวข้อง ได้ เพราะจะสนับสนุนให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศรวดเร็ว ตรงต่อเวลาในการใช้งานมากขึ้น ดังนั้น เคร่ืองมือที่จาเป็นสาหรับระบบสารสนเทศอีกอย่างหน่ึงคือระบบโทรคมนาคม ซึ่งจะกล่าวถึง ความหมายและการสือ่ สารในรปู แบบไร้สายและใช้สาย 1. ความรทู้ ่ัวไปเกย่ี วกบั ระบบโทรคมนาคม ระบบโทรคมนาคมคือระบบท่ีสนับสนุนให้เกิดการแลกเปล่ียนสารสนเทศ ซ่ึงในปัจจุบัน สามารถแลกเปล่ียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและผ่านส่ือได้หลายรูปแบบมากข้ึน ดังนั้นจึงควรทา ความเข้าใจในหลักการของการระบบโทรคมนาคม เพ่ือเป็นพื้นฐานในการทาความเข้าใจในเรื่องของ การสอื่ สารขอ้ มูลตอ่ ไป

51 1.1 ความหมายของระบบโทรคมนาคม คือการส่งข้อมูลจากแหล่งกาเนิดท่ีต้นทางไปยัง ปลายทางโดยผา่ นช่องสัญญาณหรือตัวกลาง สิ่งที่มีส่งผลให้ระบบโทรคมนาคมมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ได้แก่ปริมาณการใช้ ข้อมูล การพัฒนาบริการใหมแ่ กผ่ ู้รบั บรกิ าร และความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี (Stallings. 2011 : 9) 1.1.1 ปริมาณการใช้ข้อมูล สืบเนื่องมาจากความต้องการนาเสนอข้อมูลจานวนมาก ขน้ึ ทั้งในรูปแบบท่แี ตกตา่ งกัน ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของภาพ เสยี งหรอื ข้อมูลตัวอักษร ในระยะทางท่ี ไกลกว่าเดิม รวมถึงการสั่งงานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เคร่ืองมือแบบอัตโนมัติหรือรีโมท คอนโทรล ด้วยปริมาณข้อมูลท่ีมีการส่งและรับมากขึ้น จึงมีการพัฒนารูปแบบและส่ือในการส่งข้อมูล เพื่อให้เกิดความค้มุ คา่ กับการลงทนุ ด้านโทรคมนาคมสูงสุด 1.1.2 การพัฒนาบริการใหม่แก่ผู้รับบริการ ด้วยความสามารถของการติดต่อส่ือสาร ส่งผลให้ผู้ประกอบการคิดค้นแนวทางในการให้บริการให้ครอบคลุมพ้ืนท่ีกว้าง ขวางมากขึ้นหรือ แม้กระท่ังให้บริการโดยมีการระบุกลุ่มลูกค้าที่ชัดเจนย่ิงข้ึน เช่น การให้บริการข่าวสารผ่านระบบ เครือข่ายความเร็วสูงเพื่อเผยแพร่ข่าวสารไปพร้อมกันท่ัวประเทศ การเจาะจงประชาสัมพันธ์ข้อมูล ให้แก่ลูกค้าท่ีเดินทางเข้ามาในพ้ืนท่ีของร้านค้าโดยใช้เทคโนโลยีโลเคชั่นเบส (Location Based Services) หรอื การระบุตาแหน่งของลกู ค้า 1.1.3 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สนับสนุนให้เกิดการรับส่งข้อมูลที่รวดเร็วและ ข้อมูลไม่สูญหาย โดยมีการพัฒนาทั้งในด้านความเร็วของการส่งข้อมูล ขนาดของส่ือสัญญาณที่ สามารถส่งข้อมูลได้มากข้ึนในแต่ละคร้ัง รวมถึงการเช่ือมต่อกันเป็นเครือข่ายท่ัวโลกด้วยมาตรฐาน เดียวกัน ทาให้เกิดการสง่ ข้อมูลถงึ กันได้ทัว่ โลกตลอดเวลา 1.2 องค์ประกอบของระบบโทรคมนาคม จะประกอบไปด้วยส่วนท่ีเป็นต้นทาง สื่อท่ีใช้นา สัญญาณและปลายทางที่รับสัญญาณเป็นหลัก ซึ่งองค์ประกอบท่ีสาคัญของระบบโทรคมนาคมได้แก่ แหล่งกาเนิดสัญญาณ (Source) เครื่องส่ง (Transmitter) สื่อสัญญาณ (Transmission System) เคร่ืองรบั (Receiver) และเครื่องปลายทาง (Destination) (Stallings. 2011 : 16) 1.2.1 แหล่งกาเนิดสัญญาณ หมายถึงอุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่แปลงข้อมูลสร้างสัญญาณ ข้อมูล เชน่ เคร่อื งโทรศัพท์ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ 1.2.2 เคร่ืองส่ง ทาหน้าท่ีในการส่งสัญญาณข้อมูลจากแหล่งกาเนิด โดยจะทาการ ปรับปรุงสัญญาณให้มีคุณภาพดีขึ้น เหมาะสมกับการส่งไปตามช่องสัญญาณโดยไม่สูญหาย เช่น

52 เครอ่ื งขยายสญั ญาณ (Amplifier) เครื่องเขา้ รหัสสญั ญาณ (Encoder) 1.2.3 ส่อื สญั ญาณ หรอื ตวั กลางในการนาสัญญาณ เปรียบเสมือนถนนเพ่ือให้รถหรือ พาหนะขบั ผา่ นไปได้ ตวั อย่างเช่น อากาศ สายเคเบิล 1.2.4 เครื่องรับ ทาหน้าที่รับสัญญาณจากสื่อสัญญาณและแปลงให้กลับมาอยู่ใน รปู แบบท่อี ุปกรณป์ ลายทางสามารถแสดงผลได้ เช่น เครอ่ื งถอดรหสั สัญญาณ (Decoder) 1.2.5 เครื่องปลายทาง ทาหน้าที่แสดงผลข้อมูลที่ได้รับมาต่อผู้ใช้ปลายทาง เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ จอภาพ แหล่งกาเนิด เครอ่ื งเขา้ รหสั / ภาคสง่ เครื่องสง่ ชอ่ งสญั ญาณ สญั ญาณขอ้ มลู มอดูเลตสัญญาณ ระบบส่งสัญญาณ สัญญาณ เครื่องทวน เครอื่ งขยาย สัญญาณ กาลงั สัญญาณ ช่องสญั ญาณ เครือ่ งรบั สญั ญาณ ภาครบั ปลายทาง ระบบรบั สัญญาณ เคร่อื งถอดรหสั / เครอื่ งขยาย เครือ่ งรับ ดมี อดูเลตสญั ญาณ กาลังสัญญาณ สญั ญาณ ภาพท่ี 2.15 องคป์ ระกอบของการส่อื สารในระบบโทรคมนาคม ทม่ี า : ขจติ พรรณ มกระธัช. 2554 : 4-6. 1.3 ประเภทของสัญญาณท่ีใช้ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือสัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) และสัญญาณดิจิทัล (Digital Signal) ขจิตพรรณ มกระธัช (2554 : 4-8) ได้อธิบายลักษณะ ของสญั ญาณไว้ดงั น้ี 1.3.1 สัญญาณแอนะล็อก เป็นสัญญาณท่ีไม่ได้ผ่านการจัดรูปแบบของข้อมูล และ รูปแบบสัญญาณมีการเปล่ียนแปลงอย่างต่อเน่ือง เช่น ความดังของเสียง ความเข้มของแสง ตัวอย่าง อุปกรณท์ ี่ให้กาเนดิ สัญญาณแอนะล็อก เช่น โทรศัพท์ ไมโครโฟน

53 1.3.2 สัญญาณดิจิทัล เป็นสัญญาณที่มีการจัดรูปแบบของข้อมูลให้อยู่ในรูปของ สัญญาณไฟฟ้าท่ีสามารถใช้งานกับระบบประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ได้ มีลักษณะการเปล่ียนแปลง แบบไมต่ อ่ เนอ่ื ง โดยอยใู่ นรปู ของระดับสญั ญาณ “1” และ “0” อุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่ในการแปลงสัญญาณจากแอนะล็อกไปเป็นสัญญาณดิจิทัล และ แปลงสัญญาณดิจิทัลกลับไปเป็นสัญญาณแอนะล็อก เรียกว่า โมเด็ม (Modulator-Demodulator : Modem) แสดงได้ดงั ภาพท่ี 2.16 ภาพท่ี 2.16 การแปลงสัญญาณโดยใช้โมเดม็ ทีม่ า : คเชนทร์ ชยั รตั น. ออนไลน์. ม.ป.ป. 1.4 รูปแบบการส่งสัญญาณโทรคมนาคม เป็นกระบวนการถ่ายทอดสัญญาณซึ่งแบ่งตาม ทิศทางการรับส่งสัญญาณได้ 3 ประเภท คือการส่ือสารทางเดียว (Simplex) การส่ือสารสองทางคร่ึง อตั รา (Half Duplex) และการส่ือสารสองทางเตม็ อัตรา (Full Duplex) ซง่ึ มีลกั ษณะแตกต่างกนั ดงั นี้ 1.4.1 การสื่อสารทางเดียว เป็นการส่งสัญญาณไปในทิศทางเดียว ทางด้านผู้รับไม่ สามารถส่ือสารกลับมาได้ในช่องทางเดียวกัน เช่น การเปิดเพลงผ่านลาโพง การฟังวิทยุกระจายเสียง การถ่ายทอดสญั ญาณโทรทัศน์ 1.4.2 การสื่อสารสองทางคร่ึงอัตรา คือการส่งสัญญาณท่ีผู้ส่งและผู้รับสามารถสลับ การโตต้ อบหรอื สอ่ื สารกนั ได้ แตไ่ มส่ ามารถสง่ ในชว่ งเวลาเดียวกัน เช่น การใช้วิทยุสื่อสาร ต้องให้ด้าน ใดดา้ นหนึ่งส่งสญั ญาณให้เสรจ็ สน้ิ กอ่ น อกี ดา้ นหนงึ่ จึงจะสง่ สัญญาณส่อื สารกลบั มาได้ 1.4.3 การสื่อสารสองทางเตม็ อตั รา เป็นการสื่อสารที่ผู้สื่อสารทั้งสองด้านสามารถส่ง สัญญาณได้พรอ้ มกนั เช่น การส่อื สารทางโทรศัพท์

54 2. การสื่อสารแบบไร้สาย ข้อมูลท่ีส่งผ่านการส่ือสารแบบไร้สายจะไม่สามารถมองเห็นได้ทางกายภาพ เน่ืองจากใช้ สื่อสัญญาณท่ีกระจายไปบนอากาศ โดยระยะทางที่ข้อมูลสามารถเดินทางข้ึนอยู่กับชนิดของสื่อซ่ึง สามารถรองรับการทางานในสภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างกัน ในที่นี้จะแบ่งการสื่อสารแบบไร้สายตาม ระยะทางการส่งข้อมลู ออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ การส่ือสารด้วยรังสีอินฟราเรด (Infrared Wireless Communications – IR) การสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ (Radio Communications) การสื่อสาร ด้วยคล่ืนไมโครเวฟ (Microwave Communications) การสื่อสารผ่านดาวเทียม (Satellite Communications) และการส่อื สารผา่ นวทิ ยุเซลลูลาร์ (Cellular Radio Communications) 2.1 การส่ือสารด้วยรังสีอินฟราเรด เป็นการสื่อสารระหว่างผู้ใช้งานและอุปกรณ์ใน ระยะทางท่ีห่างกันไม่มาก หรือเรียกว่าอยู่ในระยะท่ีอยู่ในสายตาหรือเส้นสายตา (Line-of-Sight) คือ ต้องไม่มีวัสดุทึบแสงใดมาขวางก้ันระหว่างอุปกรณ์จึงจะสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ จึงมีข้อจากัดเรื่อง พ้ืนท่ีของการส่งข้อมูล ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ส่งข้อมูลด้วยรังสีอินฟราเรด เช่น รีโมทคอนโทรลสาหรับ โทรทัศน์หรือเครือ่ งปรบั อากาศ ภาพที่ 2.17 ตวั อยา่ งอปุ กรณท์ ่สี ่ือสารข้อมูลด้วยรงั สีอนิ ฟราเรด ทมี่ า : Mary. Online. 2012. 2.2 การส่ือสารด้วยคลื่นวิทยุ จะได้พื้นที่ในการส่งครอบคลุมกว้างขวางกว่าการส่ง สัญญาณด้วยรังสีอินฟราเรด โดยคลื่นวิทยุจะเดินทางผ่านอากาศไปยังสายอากาศของฝั่งรับข้อมูล การส่งสัญญาณด้วยคลื่นวิทยุจะเป็นการส่งสัญญาณแบบแพร่สัญญาณ (Broadcast) คือกระจาย สัญญาณโดยท่ัวไป ผู้รับต้องกาหนดช่องสื่อสารเพ่ือให้สามารถรับข้อมูลที่แพร่อยู่บนอากาศ ตัวอย่าง

55 การสื่อสารด้วยคลื่นวทิ ยทุ ีพ่ บเหน็ โดยปกติ เช่น การรบั ฟงั รายการทางสถานีวิทยุ ผู้ฟังจะต้องเปิดวิทยุ และปรับไปยงั ชอ่ งรับคลื่นความถี่ เช่น 106.25 MHz. จึงจะได้รับข้อมูลที่ส่งมาด้วยคล่ืนวิทยุท่ีความถี่ 106.25 MHz. ทั้งน้ีการส่ือสารด้วยคลื่นวิทยุไม่ได้จากัดเฉพาะกับเคร่ืองรับวิทยุเท่านั้น แต่ข้อมูล ประเภทภาพและเสยี งหรือสญั ญาณโทรทศั นแ์ บบแอนะลอ็ กยงั ใช้การสง่ สญั ญาณแบบคลื่นวิทยุเช่นกัน โดยใช้ย่านความถ่ีท่ีแตกต่างกัน ปัจจุบันประเทศไทยได้ปรับสัญญาณโทรทัศน์ส่วนใหญ่จากการรับส่ง สัญญาณแบบแอนะลอ็ กไปเปน็ ดิจิทัลแล้ว การสื่อสารด้วยคล่ืนวิทยุจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ท่ีช่วยทวนสัญญาณเพื่อให้สามารถ ส่ือสารได้ในระยะไกลขึ้นและไม่ติดปัญหาด้านลักษณะภูมิประเทศหรือสิ่งแวดล้อม เช่น การสื่อสาร ขา้ มภเู ขา ภาพที่ 2.18 การส่ือสารด้วยคลืน่ วิทยุ ทีม่ า : Mary. Online. 2012. 2.3 การสื่อสารด้วยคล่ืนไมโครเวฟ เป็นคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีมีความถ่ีสูงระหว่าง 1-300 กกิ ะเฮริ ตซ์ เดินทางเป็นเส้นตรงในชั้นบรรยากาศ เหมาะสาหรับการส่ือสารในระยะทางสั้น ในกรณีที่ ตอ้ งการสอ่ื สารในระยะทางท่ีไกลขึ้น จาเป็นต้องมีสถานีหรืออุปกรณ์ทวนสัญญาณเช่นเดียวกับส่ือสาร ด้วยคล่ืนวิทยุ แต่ทงั้ นี้คลน่ื ไมโครเวฟจะมีคุณภาพสัญญาณสูงกว่ารงั สอี นิ ฟราเรดและคล่ืนวทิ ยุ 2.4 การสือ่ สารผ่านดาวเทยี ม เป็นการสอื่ สารโดยใช้ดาวเทียมที่โคจรอยู่บนชั้นบรรยากาศ ของโลกเป็นจุดรับส่งสัญญาณ โดยมีจุดรับส่งอยู่บนพ้ืนโลกเรียกว่าสถานีภาคพ้ืนดิน เมื่อส่งสัญญาณ

56 ขึน้ ไปจะเรียกว่า ความถี่ขาข้ึน (Uplink Frequency) และสัญญาณที่ส่งกลับมาท่ีสถานีรับภาคพ้ืนดิน เรยี กว่า ความถี่ขาลง (Downlink Frequency) (ขจติ พรรณ มกระธชั . 2554 : 4-23) ดาวเทียมต่าง ๆ จะโคจรอยู่บนชั้นบรรยากาศท่ีแตกต่างกันออกไปและลักษณะการ โคจรจะแตกตา่ งกนั โดยมีข้อตกลงระหว่างประเทศในการใชง้ านการสื่อสารผ่านดาวเทียมว่าดาวเทียม กลมุ่ ใดจะใช้งานในวตั ถุประสงค์ใด เช่น ดาวเทียมท่ีใช้ในการกระจายสัญญาณโทรทัศน์ สามารถใช้ได้ ทั่วประเทศและในภูมิภาคเอเชีย นิยมส่งสัญญาณในความถี่เคยูแบนด์ (Ku-band) ซ่ึงมีความถี่ในการ รบั และส่งสัญญาณท่ี 10-12 กิกะเฮิรตซ์ ดาวเทยี ม อุปกรณข์ ยาย อุปกรณ์ขยาย สัญญาณ สญั ญาณ สญั ญาณขาข้นึ สัญญาณขาลง (Uplink) (Downlink) สถานภี าคพน้ื ดนิ ภาพที่ 2.19 การสื่อสารผ่านดาวเทียม ที่มา : Mary. Online. 2012. 2.5 การสื่อสารผ่านวิทยุเซลลูลาร์ เป็นการสื่อสารที่ใช้คลื่นวิทยุแต่พัฒนาข้ึนเพ่ือให้ สามารถใช้งานกับอุปกรณ์เคล่ือนที่หรือโทรศัพท์มือถือ โดยอุปกรณ์เคลื่อนท่ีจะมีอุปกรณ์ส่งสัญญาณ และรับสัญญาณอยู่ในเครื่องเดียว ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีโทรศัพท์และอุปกรณ์ เคลือ่ นที่ ส่งผลใหก้ ารสอ่ื สารผ่านวทิ ยุเซลลูลาร์เป็นท่ีนิยมใชม้ ากขึ้นด้วย หลักการสื่อสารจะใช้การแบ่งพ้ืนท่ีในการสื่อสาร เช่น พื้นที่ท่ัวประเทศ ออกเป็น เซลล์ (Cell) แต่ละเซลล์จะมีเสาสัญญาณเพื่อใช้รับส่งข้อมูล โดยมีสถานีฐาน (Base Station) คอย

57 ให้บริการในการส่งข้อมูลของแต่ละเซลล์ สถานีฐานนี้จะดูแลการทางานของเซลล์หลาย ๆ เซลล์ท่ีอยู่ ในพ้ืนที่การให้บริการของแต่ละสถานี เม่ืออุปกรณ์เคลื่อนที่ ได้เคล่ือนท่ีผ่านไปยังตาแหน่งของเซลล์ ถัดไป ระบบจะส่งผ่านการเชื่อมต่อจากเซลล์เดิมไปยังเซลล์ใหม่เพื่อให้การเช่ือมโยงข้อมูลไม่ขาดการ ติดตอ่ (Stalling. 2011 : 408) เครอื ขา่ ย สถานี สถานี สถานสี ่ง โทรศพั ท์พื้นฐาน ควบคมุ ฐาน สญั ญาณ สัญญาณ เครือขา่ ย สถานีส่ง สัญญาณ มือถือ (ก) การสง่ สญั ญาณผ่านระบบวิทยเุ ซลลูลาร์ (ข) ลักษณะของ เครือข่ายเซลลลู าร์ ภาพท่ี 2.20 การส่ือสารผ่านวทิ ยุเซลลลู าร์ ทม่ี า : Stalling. 2011 : 415. 3. การส่ือสารแบบใช้สาย การส่ือสารแบบใช้สาย เป็นการสื่อสารข้อมูลแบบท่ีสามารถกาหนดเส้นทางได้ (Guided Media) โดยใช้สื่อนาข้อมูลที่เป็นสาย แต่อย่างไรก็ดีการสื่อสารข้อมูลแบบใช้สายนี้ ผู้ใช้ยังคงต้อง คานึงถึงปริมาณข้อมูลและระยะทางในการจัดส่ง เพ่ือใช้พิจารณาในการเลือกสายส่งสัญญาณท่ี เหมาะสมต่อไป ซ่ึงสามารถแบ่งประเภทของสายสัญญาณเป็น 3 ประเภท (Stallings. 2011 : 102- 115) ได้แก่ สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair) สายเคเบิลร่วมแกน (Coaxial Cable) และเคเบิล เส้นใยนาแสง (Fiber Optic Cable) 3.1 สายค่บู ิดเกลยี ว เปน็ สายนาสญั ญาณทพ่ี นั กนั เปน็ คู่ แต่ละคู่สายเป็นสายทองแดงพัน บิดเป็นเกลียว เพื่อลดการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในสายเดียวกันหรือ จากภายนอก สามารถส่งสญั ญาณได้ทั้งแบบแอนะล็อกและดิจิทัล เช่น สายโทรศัพท์ซึ่งส่งสัญญาณใน แบบแอนะล็อกเป็นสายคู่บิดเกลียวเช่นกัน สายคู่บิดเกลียวเป็นท่ีนิยมใช้เน่ืองจากมีราคาต่าและ

58 เพียงพอสาหรับการส่งข้อมูลในองค์กรทั่วไป ระยะการส่งสัญญาณที่มีประสิทธิภาพจะอยู่ประมาณ 100 เมตร หากตอ้ งการสง่ ข้อมลู ไกลกวา่ นัน้ จาเป็นตอ้ งใชอ้ ุปกรณช์ ่วยกระจายสญั ญาณ สายคู่บิดเกลียว สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือสายยูทีพี (Unshielded Twisted Pair-UTP) และสายเอสทีพี (Shielded Twisted Pair-STP) 3.1.1 สายยูทีพี เป็นสายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนโดยไม่มีสายหุ้ม หรือฉนวน เดิมทีใช้ในระบบโทรศัพท์ และมีการพัฒนามาใช้กับการส่งสัญญาณคอมพิวเตอร์ สายยูทีพยี งั สามารถแบง่ ประเภท (Category) ไปตามรปู แบบการใช้งาน เชน่ ใช้งานในระบบเครือข่าย ทต่ี อ้ งการความเร็วสูง ต้องใช้ Category 6 และผู้ผลิตจะพิมพ์ข้างสายยูทีพีว่า cat6 เพื่อให้ผู้ใช้ทราบ ว่าสายยูทีพีดังกล่าวรองรับความเร็วในการส่งสัญญาณได้ในระดับใด ลักษณะของสายยูทีพี ดังภาพท่ี 2.21 ฉนวนหุ้มสาย ฉนวนหุ้มดา้ นนอก ลวดทองแดง (ก) ส่วนประกอบของสายยูทีพี (ข) ตวั อยา่ งสายยูทีพี ภาพท่ี 2.21 สว่ นประกอบและสายยูทพี ี ทีม่ า : วโิ รจน์ ชัยมูล และสพุ รรษา ยวงทอง. 2552 : 194 ; Videx Limited. Online. 2012. 3.1.2 สายเอสทีพี เป็นสายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวน โดยมีฉนวนหุ้ม เพ่ือป้องกันสัญญาณ เหมาะสาหรับงานที่ต้องการใช้ความถ่ีในการส่งข้อมูลที่สูงกว่าการใช้สายยูทีพี นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรม หรืองานสาคัญท่ีต้องระวังไม่ให้เกิดปัญหาการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า โดยสายเอสทีพีจะมีราคาสูงกว่าสายยูทีพี การเชื่อมต่อภายนอกจะมีลักษณะคล้ายสายยูทีพี ลักษณะ ของสายเอสทีพี ดงั แสดงในภาพท่ี 2.22

59 ลวดถักกันสญั ญาณ ฉนวนหมุ้ สาย ฉนวนหมุ้ ด้านนอก แผ่นฟอยล์ ลวดทองแดง ภาพที่ 2.22 สว่ นประกอบของสายเอสทีพี ทม่ี า : วิโรจน์ ชยั มลู และสพุ รรษา ยวงทอง. 2552 : 194. 3.2 สายเคเบิลร่วมแกน เป็นสายสื่อสารขนาดกลาง มีฉนวนเป็นสายโลหะถักหุ้มเพ่ือ ป้องกันคล่ืนรบกวนและหุ้มด้วยสายท่ีมีความแข็งอีกช้ันหน่ึง สามารถส่งข้อมูลในระยะทางไกลได้ มากกว่าและรองรับการแบ่งปันข้อมูลในกรณีท่ีมีปลายทางท่ีรับสัญญาณหลายแห่งได้ดีกว่าสายยูทีพี นิยมใช้กับการส่งสัญญาณโทรทัศน์ เดิมทีนิยมใช้สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบันได้ถูก แทนท่ีด้วยสายยูทีพีเนอื่ งจากสายยูทีพีมีราคาต่ากว่า ลักษณะของสายเคเบิลร่วมแกน แสดงไว้ในภาพ ท่ี 2.23 ลวดถกั กนั สญั ญาณ ฉนวนชนั้ ใน ฉนวนหมุ้ ด้านนอก ลวดทองแดง (ก) สว่ นประกอบของสายเคเบิลร่วมแกน (ข) ตวั อยา่ งสายเคเบิลร่วมแกน ภาพที่ 2.23 สว่ นประกอบและสายเคเบิลร่วมแกน ทมี่ า : วิโรจน์ ชยั มลู และสุพรรษา ยวงทอง. 2552 : 193 ; โอเลียร่ี, ทิโมที เจ. และ ลินดา ไอ โอเลยี ร่ี. 2553 : 224.

60 3.3. เคเบิลเส้นใยนาแสง จะนาสัญญาณในรูปแบบแสง โดยเป็นหลอดโปร่งใสขนาดเล็ก ทามาจากแก้วและพลาสตกิ สัญญาณท่ีส่งผ่านเคเบิลเส้นใยนาแสงจะเกิดการสูญเสียน้อยมากจนแทบ ไมม่ กี ารสญู เสียสญั ญาณระหว่างทาง และสามารถรองรับการส่งสัญญาณที่มีความเร็วสูงได้ดี ภายในมี แกนกลาง (Core) ยาวตลอดสายและมีวัสดุหุ้ม (Cladding) เพ่ือเพ่ิมความแข็งแรง หลักการส่ง สัญญาณจะให้หลักการสะท้อนกลับของแสงเลเซอร์ท่ีเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว นิยมใช้สาหรับการส่ง สัญญาณในระยะทางไกล เช่น ระหว่างประเทศท่ีต้องเดินสายผ่านใต้ท้องทะเล หรือแม้กระทั่งการส่ง ข้อมูลภายในมหาวิทยาลัย เน่ืองจากปัจจุบันต้นทุนในการผลิตเคเบิลเส้นใยนาแสงต่าลง แต่ยังคงมี ค่าใชจ้ า่ ยในการติดตงั้ ทส่ี งู กวา่ สายในแบบอื่น ในการติดต้ังสายเคเบิลเส้นใยนาแสงนั้น จะต้องใช้อุปกรณ์เฉพาะในการต่อสาย เน่ืองจากสายจะสง่ สญั ญาณในลกั ษณะของกระแสไฟฟ้าซ่ึงไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า อุปกรณ์ ใน การเช่ือมต่อสาย จะอานว ย คว ามส ะดวกให้ ผู้ ติดต้ังสามาร ถกาหน ดร ะย ะการส่ งสั ญญาณแล ะ ตรวจสอบไดว้ า่ การสง่ สญั ญาณนนั้ ตอ่ เน่อื ง ครบถ้วนหรือไม่ ตวั อยา่ งดังภาพที่ 2.24 เสน้ ใยเพ่มิ ความแข็งแรง ฉนวน ฉนวนหุ้มดา้ นนอก เส้นใยแกว้ นาแสง (ก) ส่วนประกอบของเคเบิลเส้นใยนาแสง (ข) การติดตั้งสายเคเบิลเส้นใยนาแสง ภาพท่ี 2.24 ส่วนประกอบและสายเคเบิลเสน้ ใยนาแสง ที่มา : วโิ รจน์ ชยั มลู และสพุ รรษา ยวงทอง. 2552 : 194 ; The fiber optics association. Online. 2012.

61 ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลสารสนเทศ ทาให้การประมวลผลสะดวกข้ึน แต่ ท้ังนี้หากสามารถแบ่งปันและเผยแพร่สารสนเทศน้ันไปสู่แหล่งอ่ืนได้ สารสนเทศนั้นย่อมมีคุณค่ามาก ขึ้น ในขณะเดียวกันหากในองค์กรสามารถท่ีจะใช้เคร่ืองมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกันได้ จะช่วยให้ องคก์ รประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนินงานในบางส่วนเพม่ิ เตมิ จงึ มีแนวคิดในการพัฒนาการใช้งานบน ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ข้นึ เพือ่ รองรับการทางานขององคก์ ร 1. ความรู้ทว่ั ไปเกีย่ วกบั ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางานอยู่บนพ้ืนฐานของหลักการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์และหลักการของการสื่อสารข้อมูล ในที่นี้จะกล่าวถึงความหมาย ความสาคัญและ องค์ประกอบท่ีจาเป็นสาหรบั ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 1.1 ความหมายของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ Computer Network คือระบบท่ี มกี ารเช่ือมต่อเครือ่ งคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ กับเครอื่ งคอมพวิ เตอร์อนื่ ๆ หรือเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อ่ืน ๆ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อรับส่งข้อมูลและใช้ทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ ร่วมกัน ซึ่งการเชื่อมต่อน้ันอาจ เชอื่ มต่อทง้ั แบบใชส้ ายและไร้สาย (ขจิตพรรณ มกระธชั . 2544 : 4-28) 1.2 ความสาคัญของระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ สามารถแบง่ ได้ 3 ประเดน็ ดังนี้ 1.2.1 เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ซึ่งทรัพยากรในที่นี้หมายถึงอุปกรณ์ บุคลากรหรือวัสดุ เช่น เคร่ืองพิมพ์ เครื่องกราดภาพ พ้ืนที่จัดเก็บในหน่วยความจาสารอง หน่วย ประมวลผลกลาง เป็นต้น ซึ่งจะประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่าการซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ แยกไปตาม รายบคุ คล 1.2.2 เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลและสารสนเทศร่วมกัน ในกรณีท่ีต้องการใช้ข้อมูลชุด เดียวกันจากผู้ใช้หลายคนน้ัน จะไม่เหมาะสมหากแยกทาสาเนาไปยังผู้ใช้แต่ละคน เน่ืองจากจะทาให้ การปรับข้อมูลไม่ตรงกันและมีโอกาสผิดพลาด หรือการต้องใช้ข้อมูลจากแหล่งเดียวกัน เช่น รายการ บัญชีเงินสดในสมุดธนาคาร การจองท่ีนั่งในโรงภาพยนตร์ เมื่อมีการจองที่นั่งจากตาแหน่งขายตั๋วท่ี หนง่ึ แลว้ ผู้ขายอืน่ ๆ จะขายท่ีนัง่ ซ้าซ้อนกันไม่ได้ เปน็ ตน้ 1.2.3 เพื่อความสะดวกในการดูแลระบบ โดยผู้ดูแลระบบสารสนเทศหรือระบบ คอมพวิ เตอรส์ ามารถติดตามตรวจสอบสถานะการทางาน ติดต้ังหรือถอดถอนโปรแกรม หรือทาสาเนา

62 ข้อมูลได้จากแหล่งเดียว เช่น ต้องการต้ังค่าการทางานเครื่องให้บริการของสาขาท่ีต่างจังหวัด ผู้ดูแล ระบบไม่จาเป็นต้องเสียค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทาง แตส่ ามารถดาเนนิ การจากสานักงานใหญ่โดยผ่านทาง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ 1.3 องคป์ ระกอบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในการเชอื่ มต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จาเป็นต้องมีองค์ประกอบท่ีเป็นพ้ืนฐาน สาคัญอยู่ 5 ส่วน ได้แก่ คอมพิวเตอร์ ส่ือกลางที่ใช้ส่งผ่านข้อมูล อุปกรณ์เชื่อมต่อระบบ โพรโทคอล (Protocol) และผู้ใชค้ อมพวิ เตอร์ (โกสนิ ทร์ จานงไทย และปยิ พร นุรารักษ์. 2553 : 1-21) 1.3.1 คอมพวิ เตอร์ ในทน่ี ้จี ะร่วมส่วนของฮารด์ แวร์และซอฟต์แวร์ทางเครือข่าย โดย สว่ นของฮาร์ดแวรจ์ ะกล่าวถึงในส่วนของหัวข้ออุปกรณ์และส่ือในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สาหรับ ซอฟต์แวร์ที่จาเป็นน้ันได้แก่ ระบบปฏิบัติการข่ายงาน (Network Operating System – NOS) มี หน้าท่ีควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ บนเครือข่าย การทางานน้ี รวมถึงการส่ือสารอิเล็กทรอนิกส์ การแลกเปลี่ยนสารสนเทศและทรัพยากรต่าง ๆ ตัวอย่าง ระบบปฏิบัติการข่ายงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เช่น ระบบปฏิบัติการวินโดวส์สาหรับเครือข่าย ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) ซ่ึงใช้งานบนโทรศัพท์มือถือ เปน็ ตน้ (โอเลยี รี่ และโอเลยี ร่ี. 2553 : 234) 1.3.2 ส่ือกลางท่ีใช้ส่งผ่านข้อมูล ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งสื่อใช้สายและสื่อไร้สาย ดังที่ได้ กล่าวไปแล้วในหัวขอ้ เรอ่ื งระบบโทรคมนาคม 1.3.3 อุปกรณ์เช่ือมต่อระบบ อุปกรณ์หลักท่ีจาเป็นต้องมีในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ได้แก่ แผ่นวงจรต่อประสานข่ายงาน (Network Interface Card - NIC) มีลักษณะเป็นแผ่นวงจร สาหรับต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์และสายสื่อสาร ตัวอย่างดังภาพที่ 2.25 และอุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่ เชือ่ มตอ่ ระบบ ได้แก่ ฮับ (Hub) หรอื สวติ ช์ (Switch) ซึ่งจะกลา่ วถึงในหวั ข้อถดั ไป

63 ภาพท่ี 2.25 แผ่นวงจรตอ่ ประสานข่ายงาน ท่ีมา : วโิ รจน์ ชัยมลู และสพุ รรษา ยวงทอง. 2552 : 191. 1.3.4 โพรโทคอล คอื กลุ่มของข้ันตอนหรือวิธีการในการสื่อสารข้อมูล ซ่ึงอาจจะเป็น ภาษา สญั ญาณควนั ไฟ รหสั มอสหรอื วธิ ีการอนื่ ๆ ที่สามารถแทนความหมายของการสื่อสารได้ ในท่ีนี้ โพรโทคอลคอื มาตรฐานหรอื ภาษาทใ่ี ชใ้ นการติดต่อส่ือสารกันบนระบบเครือขา่ ย เป็นข้อตกลงระหว่าง กันในการส่งข้อมูลทั้งด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของโพรโทคอลท่ีเห็นโดยทั่วไป คือ โพรโทคอลเอชทีทีพี (Hypertext Transfer Protocol – HTTP) ซ่ึงเป็นโพรโทคอลที่ใช้สาหรับ เรียกดูข้อมูลเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web – WWW) (โกสินทร์ จานงไทย และเผด็จ บุญเลิศ. 2553 : 3-3,3-21) 1.3.5 ผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ นอกจากผู้ใช้งานโดยท่ัวไปแล้ว องค์กรจะกาหนดให้มีผู้ดูแล เครือข่ายหรือผู้จัดการเครือข่าย (Network Administrator) มีหน้าที่ดูแลจัดการระบบครือข่าย ทั้งหมดให้สามารถใช้งานได้อย่างเสถียร รวมถึงการขยายเครือข่ายและกาหนดข้อบังคับในการใช้งาน เพื่อรักษาความปลอดภัยของระบบเครือขา่ ยดว้ ย 2. ประเภทของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ การแบ่งประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับ เกณฑ์ท่ีเลือกใช้ ในท่ีนี้จะใช้เกณฑ์การแบ่งตามระยะทางการเช่ือมต่อหรือขนาดของเครือข่าย โดย สามารถแบ่งได้ 4 ประเภท คือ เครือข่ายส่วนบุคคล (Personal Area Network – PAN) ข่ายงาน บริเวณเฉพาะที่ (Local Area Network – LAN) ข่ายงานบริเวณนครหลวง (Metropolitan Area Network – MAN) และขา่ ยงานบรเิ วณกวา้ ง (Wide Area Network – WAN)

64 2.1 เครือข่ายส่วนบุคคล เป็นระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ที่เช่ือมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ ด้วยกันหรอื กบั อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์อน่ื ๆ ในระยะทางไม่เกิน 10 เมตร รับส่งข้อมูลผ่านกันด้วยรังสี อินฟราเรดหรือบลทู ูธ (Bluetooth) สื่อสารด้วยคลื่นวิทยุความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ์ การใช้งานส่วนใหญ่ ใช้เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น จากโทรศัพท์มือถือกับอุปกรณ์หูฟัง เครื่องโน้ตบุ๊ก คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์มือถอื กับโทรศพั ทม์ อื ถือ 2.2 ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ นิยมเรียกว่าระบบเครือข่ายแลน มักใช้เชื่อมต่อในพื้นท่ี เดียวกัน เช่นภายในสานักงาน ภายในอาคาร ภายในมหาวิทยาลัย เป็นต้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ระบบแลนแบบใช้สายหรืออีเทอร์เน็ต (Ethernet) และระบบแลนแบบไร้สาย (Wireless LAN) การใช้งานข่ายงานบริเวณเฉพาะท่ีทาให้องค์กรสามารถใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ร่วมกันได้ รวมถึงมีความ ปลอดภัยในการใชง้ านเน่อื งจากผดู้ ูแลระบบเครอื ข่ายสามารถกาหนดสิทธ์กิ ารเข้าใชง้ านได้ 2.3 ข่ายงานบริเวณนครหลวง หรือนิยมเรียกว่าระบบเครือข่ายแมน ใช้เช่ือมต่อได้ ประมาณ 160 กิโลเมตร เป็นการเช่ือมต่อข่ายงานบริเวณเฉพาะที่เข้าด้วยกันระหว่างตึกหรือภายใน เมอื งเดียวกัน ข้อแตกต่างระหว่างข่ายงานบริเวณนครหลวงท่ีต่างกับข่ายงานบริเวณเฉพาะท่ีประเด็น หน่ึงคือ ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่จะจากัดการเช่ือมต่อเฉพาะภายในหน่วยงานเดียวกัน แต่ข่ายงาน บริเวณนครหลวงเปดิ โอกาสให้หน่วยงานอ่นื ๆ ภายในจังหวัดหรือภายในเมืองเข้ามาเช่ือมต่อร่วมด้วย ได้ และการเชื่อมต่อจะมอี ปุ กรณ์จดั เส้นทาง (Router) ในการเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งเครอื ข่าย 2.4 ข่ายงานบริเวณกว้าง นิยมเรียกว่าเครือข่ายแวน เป็นการเช่ือมต่อระบบเครือข่าย หลาย ๆ ระบบเข้าด้วยกันเพื่อให้ส่งข้อมูลถึงกันได้ รวมถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ีเป็นที่นิยมอยู่น้ัน นับว่าเป็นขา่ ยงานบริเวณกว้างด้วยเช่นกนั การทางานร่วมกันของระบบเครือข่าย จะมีการเช่ือมต่อถึงกันต้ังแต่เครือข่ายส่วนบุคคลโดย ส่งข้อมูลไปยังข่ายงานบริเวณเฉพาะท่ี และเม่ือต้องการส่งข้อมูลไปยังสถานท่ีอ่ืนจึงจาเป็นต้องเช่ือม ตอ่ ไปยงั ขา่ ยงานบริเวณนครหลวงและสง่ ต่อไปยงั ขา่ ยงานบรเิ วณกวา้ งตอ่ ไป ดงั ภาพท่ี 2.26

65 ข่ายงานบรเิ วณกว้าง (WAN) ข่ายงานบริเวณ นครหลวง (MAN) ขา่ ยงานบรเิ วณ เฉพาะที่ (LAN) ภาพท่ี 2.26 ลักษณะการเช่อื มต่อระหวา่ งขา่ ยงาน ที่มา : โกสนิ ทร์ จานงไทย และปิยพร นรุ ารักษ์. 2553 : 1-25. 3. อุปกรณ์ในระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ใช้อยู่ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีมากมายและหลายรูปแบบ โดยมี วัตถุประสงค์ในการทางานร่วมกันเพ่ือให้การส่ือสารขยายไปได้กว้างขวาง อุปกรณ์พ้ืนฐานโดยทั่วไป แบ่งได้เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ีกระจายสัญญาณ อุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ีเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย และ อุปกรณใ์ นการรักษาความปลอดภยั ดังนี้ 3.1 อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่กระจายสัญญาณ ทาหน้าที่ในการส่งต่อข้อมูลหรือสัญญาณไปยัง อุปกรณ์เครือข่ายอื่น ทาหน้าท่ีในการส่งต่อสัญญาณจากหนึ่งเคร่ืองไปสู่อุปกรณ์อีกหลายเครื่อง หาก เปรียบกับระบบไฟฟ้า อุปกรณ์ชนิดน้ีจะทาหน้าท่ีเหมือนปลั๊กไฟต่อพ่วงซึ่งต่อกระแสไฟฟ้ามาจาก ปลัก๊ ไฟและกระจายกระแสไฟฟา้ ไปยงั อุปกรณ์หลายช้ินพรอ้ มกันได้ 3.1.1 ฮับ (Hub) เปน็ อุปกรณ์กระจายสัญญาณท่ีมีช่องทางหรือพอร์ท (port) ในการ เช่ือมต่อหลายช่องทาง ใช้ในระบบข่ายงานบริเวณเฉพาะท่ี ปัจจุบันองค์กรนิยมเปล่ียนไปใช้อุปกรณ์ สวิตช์แทนฮบั เน่ืองจากมีประสิทธิภาพในการทางานสงู กว่า 3.1.2 สวิตช์ (Switch) เป็นอุปกรณ์กระจายสัญญาณท่ีทาหน้าที่คล้ายฮับ แต่ สามารถจดั เก็บขอ้ มูลท่อี ยขู่ องอุปกรณ์ท่ีเช่ือมต่อต่าง ๆ ไว้ได้ ดังน้ันการส่งข้อมูลของอุปกรณ์สวิตช์จะ ไม่กระจายไปถึงทุกอุปกรณ์ท่ีเช่ือมต่ออยู่ แต่จะส่งไปยังอุปกรณ์ที่เป็นปลายทางได้ทันทีซึ่งแตกต่าง จากฮับซึ่งจะทาการกระจายสัญญาณไปยังอุปกรณ์ปลายทางท่ีเช่ือมต่ออยู่ทุกเครื่อง ทาให้การส่ง

66 ข้อมูลหนาแน่นกว่าการใช้สวิตช์ในการส่งข้อมูล สวิตช์จะใช้ในระบบข่ายงานบริเวณเฉพาะท่ี เชน่ เดยี วกนั กบั ฮบั ในปัจจบุ ันไดม้ ีการรวมเทคโนโลยขี องฮบั ไวใ้ นอุปกรณส์ วติ ช์ เรียกวา่ สวติ ช์/ฮับ ภาพที่ 2.27 อุปกรณส์ วิตช์ ท่ีมา : Cisco systems inc. Online. n.d.a. 3.1.3 แอคเซสพอยต์ (Access Point) หรือจุดเช่ือมต่อ เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ี กระจายสัญญาณในรปู แบบการส่ือสารไร้สาย โดยอุปกรณ์ท่ีจะติดต่อด้วยจะต้องมีอุปกรณ์การรับและ ส่งสัญญาณแบบไร้สาย เช่น ในคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Note Book) ต้องใช้แผงวงจรพีซีเอ็มซีไอเอ (PCMCIA) ในการตดิ ต่อแบบไรส้ ายหรือตดิ ต้ังอยู่ภายในเคร่อื ง ภาพที่ 2.28 อปุ กรณ์แอคเซสพอยต์ ท่มี า : Cisco systems inc. Online. n.d.a. 3.2 อุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย ในการเช่ือมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกัน จะมีการเช่ือมต่อจากเครือข่ายประเภทหน่ึง เช่น จากข่ายงานบริเวณเฉพาะท่ีไปยัง

67 ข่ายงานบริเวณกว้าง เพ่ือรับข้อมูลข่าวสารผ่านทางอินเทอร์เน็ต เป็นต้น การเช่ือมต่อลักษณะน้ี จะตอ้ งใช้อปุ กรณ์เฉพาะทท่ี าหนา้ ทเ่ี ชือ่ มต่อระหวา่ งเครอื ข่าย อุปกรณ์จัดเส้นทาง หรือเราท์เตอร์ (Router) มีหน้าที่หลักในการค้นหาเส้นทางที่ จดั สง่ ขอ้ มลู สามารถใช้เช่ือมต่อเครือข่ายที่ต่างประเภทกัน หรือใช้โพรโทคอลแตกต่างกันได้ สามารถ หาเส้นหาท่ีเหมาะสมในการส่งข้อมูล เช่น เส้นทางท่ีไม่มีการส่งข้อมูลหนาแน่นหรือเส้นทางท่ีมี ระยะทางส้ันท่สี ุดจากตน้ ทางไปยังปลายทาง เป็นต้น ภาพที่ 2.29 อุปกรณ์จดั เสน้ ทาง ที่มา : Cisco systems inc. Online. n.d.b. 3.3 อุปกรณ์ในการรักษาความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัยบนเครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถทาได้โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ แต่ในองค์กรขนาดกลางถึงขนาดใหญ่นิยม ใชฮ้ ารด์ แวร์ในการรักษาความปลอดภัยของระบบเครือขา่ ย การรักษาความปลอดภัยนั้นจะใช้ไฟร์วอลล์ (Firewall) ซ่ึงไฟร์วอลล์นี้สามารถ เป็นได้ท้ังซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ ในกรณีท่ีเป็นฮาร์ดแวร์ จะเป็นการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์หลักของ ระบบเครือข่าย เช่น อุปกรณ์จัดเส้นทาง ส่วนกรณีที่เป็นซอฟต์แวร์ จะทาการติดตั้งไว้ท่ีเคร่ือง คอมพิวเตอร์หลักที่เป็นเคร่ืองสาหรับรับส่งข้อมูลผ่านเข้าสู่ระบบเครือข่าย การทางานของ ไฟร์วอลล์จะเป็นการตั้งค่าเงื่อนไขของข้อมูลที่เข้าออกในระบบเครือข่าย เช่น แหล่งท่ีมาของข้อมูล ลักษณะของข้อมูลที่อาจทาลายระบบหรือไวรัส (Virus) ข้อมูลท่ีจะผ่านเข้าออกระบบเครือข่ายได้ จะตอ้ งตรงกบั เง่อื นไขที่กาหนดไวเ้ ท่านนั้ ทั้งนี้ อุปกรณ์เครือข่ายจะทางานร่วมกันโดยสวิตช์หรือฮับทาหน้าท่ีเช่ือมต่อเครือข่ายภายใน องค์กร เม่ือจะเช่ือมต่อไปยังนอกองค์กรจะต้องมีการรักษาความปลอดภัยโดยมีไฟร์วอลล์ทาหน้าท่ี

68 ป้องกนั ทงั้ ขาส่งข้อมูลออกและรับข้อมูลเข้า จากน้ันอุปกรณ์จัดเส้นทางหรือเราท์เตอร์จะทาการเช่ือม ต่อไปยังระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตต่อไป ดงั แสดงในภาพท่ี 2.30 อินเทอรเ์ นต็ อุปกรณ์จัด ไฟร์วอลล์ ไฟรว์ อลล์ เสน้ ทาง สวิตช/์ ฮับ สวติ ช/์ ฮับ เครอื่ งคอมพวิ เตอรใ์ นระบบเครือขา่ ย ภาพท่ี 2.30 การทางานร่วมกนั ของอปุ กรณเ์ ครอื ขา่ ย ทีม่ า : Fakhroutdinov. Online. 2014. สรปุ เทคโนโลยีที่สาคัญต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศประกอบไปด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์และระบบเครือข่าย ซ่ึงองค์ประกอบทั้งหมดน้ีจะดาเนินการกับข้อมูลหรือ สารสนเทศให้อยใู่ นรูปแบบท่ีเป็นประโยชน์ เหมาะสมกับการใช้งานและเผยแพร่ไปยังผู้ใช้ได้ครบถ้วน และกวา้ งขวางย่งิ ขึน้ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีที่เก่ียวกับการนาระบบคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ มาทาหน้าท่ีในการแปลง จัดเก็บ ประมวลผลส่งผ่านและค้นคืนเพื่อการเรียกใช้สารสนเทศที่มีอยู่ หลากหลายประเภทได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและสะดวกในการเข้าถึง ซึ่งส่งผลให้มีการเปล่ียน พฤติกรรมการทางาน คือ การทางานท่ีไม่มีข้อจากัดเรื่องเวลาและสถานท่ี การเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน เป็นเครือข่าย และการเปล่ียนแปลงเป็นสังคมสารสนเทศ โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญคือระบบ ประมวลผล ระบบส่ือสารโทรคมนาคมและการจัดการข้อมูล ทั้งน้ีเทคโนโลยีสารสนเทศได้พัฒนาจน สามารถแบ่งได้ 5 ยุคตามเกณฑ์ความสามารถในการประมวลผล ได้แก่ ยุคของเครื่อง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์และมินิคอมพิวเตอร์ ยุคเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ยุคเครือข่ายเคร่ืองรับ-

69 ให้บริการ ยุคการประมวลผลแบบเอนเทอร์ไพรส์ และยุคการประมวลผลแบบคลาวด์และการ ประมวลผลแบบเคลอื่ นที่ คอมพิวเตอร์จะสามารถทางานได้ด้วยส่วนประกอบสาคัญ 2 ส่วน ได้แก่ ฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ โดยฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์หรือเรียกโดยทั่วไปว่า ฮาร์ดแวร์ คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ี นามาประกอบเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถมองเห็นและสัมผัสได้ แบ่งเป็น 4 องค์ประกอบได้แก่ อุปกรณ์นาเข้า อุปกรณ์ประมวลผล อุปกรณ์แสดงผล และอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล ซ่ึงฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ผู้มีหน้าท่ีเก่ียวข้องจึงควรพิจารณาในการเลือกฮาร์ดแวร์ท่ี เหมาะสมกับงบประมาณและการใช้งานในองค์กร เพ่ือความคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพในการทางาน สูงสุด ซอฟต์แวร์ ทาหน้าที่ในการประสานการทางานระหว่างอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ รวมทั้งทาหน้าที่สื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และผู้ใช้ โดยซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เป็นชุดคาส่ัง เพ่ือสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามท่ีผู้ใช้ต้องการ โดยซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สามารถ แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ ซอฟต์แวร์ระบบ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ และต้องคานึงถึงข้อ กฎหมายในการใชง้ านในเรือ่ งของลิขสทิ ธ์ิและใบอนญุ าต ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์คือการเชื่อมต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องข้ึนไป หรือ เชื่อมต่อกับอุปกรณ์อ่ืนเพ่ือทางานร่วมกัน โดยทางานอยู่บนพ้ืนฐานของระบบโทรคมนาคม ซึ่งเป็น พน้ื ฐานในเร่อื งประเภทของสญั ญาณข้อมลู ท่ีแบ่งได้ 2 แบบคือสัญญาณแอนะล็อกและสัญญาณดิจิทัล แบ่งลักษณะของการส่ือสารได้ 2 แบบคือแบบไร้สายและแบบใช้สาย สามารถแบ่งการเชื่อมต่อได้ 4 ประเภท คือเครือข่ายส่วนบุคคล ข่ายงานบริเวณเฉพาะท่ี ข่ายงานบริเวณนครหลวงและข่ายงาน บรเิ วณกว้าง คาถามทบทวน 1. การเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจในประเด็นใดบ้างท่ีส่งผลให้องค์กรต้องปรับตัวโดยการนา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใชใ้ นองค์กร 2. จงบอกองคป์ ระกอบทีส่ าคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. นอกเหนือจากอุปกรณ์นาเข้าฮาร์ดแวร์ในบทเรียนน้ี มีอุปกรณ์นาเข้าใดท่ีสามารถพบได้ใน ชวี ิตประจาวัน จงยกตัวอย่างอยา่ งน้อย 2 ประเภท

70 4. จงบอกวา่ ซอฟต์แวรต์ อ่ ไปนี้ เปน็ ซอฟตแ์ วร์ประเภทใด 4.1 โปรแกรมยมื คนื หนงั สอื ของหอ้ งสมดุ 4.2 โปรแกรมวนิ โดวส์ (Windows) 4.3 โปรแกรมปอ้ งกนั ไวรสั คอมพวิ เตอร์ 4.4 โปรแกรมเฟสบุ๊ก (Facebook) 5. หากต้องการติดต้ังระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพ่ือติดต่อกับกระทรวงศึกษาธิการใน กรุงเทพฯ ให้กับโรงเรียนในชนบทที่อยู่บนภูเขาหรือดอยสูง การเดินทางลาบาก ห่างไกลตัวเมือง ควร เลอื กสอื่ ใดเป็นสอ่ื กลางในการส่งขอ้ มูล เหตใุ ดจงึ เลือกสื่อดงั กล่าว 6. จากภาพ เป็นการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กรแห่งหนึ่ง จงบอกว่า อุปกรณ์ A และ B ควรเปน็ อุปกรณ์ชนดิ ใด อนิ เทอรเ์ น็ต AB เอกสารอา้ งองิ กรมทรัพยส์ ินทางปญั ญา. (2551). คู่มือการจดั ซ้ือและตรวจรบั ซอฟตแ์ วร์สาหรบั หนว่ ยงาน ราชการ. กรงุ เทพฯ : กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา. โกสินทร์ จานงไทย และปิยพร นุรารกั ษ์. (2553). “ความรเู้ บอ้ื งต้นเกย่ี วกบั เครือข่ายคอมพิวเตอร์” ใน เอกสารประกอบการอบรมโครงการสง่ เสริมและสนับสนนุ ให้มกี ารเสรมิ สร้าง มาตรฐานบคุ ลากรด้าน ICT ที่ตรงกบั ความตอ้ งการของอุตสาหกรรม ICT ระยะท่ี 2. หน้า 1-21, 25. กรุงเทพฯ : สานักส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สือ่ สาร.

71 โกสนิ ทร์ จานงไทย และเผด็จ บุญเลิศ. (2553). “ความรู้เบือ้ งตน้ เกย่ี วกับโปรโตคอลทีซีพี/ไอพี” ใน เอกสารประกอบการอบรมโครงการสง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้มีการเสริมสร้าง มาตรฐานบุคลากรดา้ น ICT ทีต่ รงกบั ความต้องการของอุตสาหกรรม ICT ระยะท่ี 2. หนา้ 3-3, 3-21. กรุงเทพฯ : สานักส่งเสรมิ อุตสาหกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สอ่ื สาร. ขจิตพรรณ มกระธชั . (2554). “การส่ือสารโทรคมนาคมและระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเบ้ืองต้น หน่วยที่ 1-7 ฉบับปรับปรุง ครัง้ ท่ี 2. หน้า 4-6, 4-8, 4-23, 4-25. นนทบุรี : สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัย ธรรมาธริ าช. คเชนทร์ ชยั รัตน. (ม.ป.ป.). ประเภทของสัญญาณ. [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : http://courseware. payap.ac.th/docu/mk380/f24.3.htm [18 พฤษภาคม 2557]. จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . คณะครุศาสตร์. (2553). คมู่ ือฝึกอบรมบรรณารักษ์ โครงการยกระดับ คณุ ภาพครทู ง้ั ระบบตามแผนปฏิบตั กิ ารไทยเขม้ แข็ง. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . ณัฏฐพันธ์ เขจรนนั ท์. (2551). การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบสารสนเทศ. กรงุ เทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคช่นั . ณัฐพร เห็นเจรญิ เลิศ และทรงลักษณ์ สกุลวิจติ รส์ นิ ธุ. (2554). “สารสนเทศและเทคโนโลยี สารสนเทศ” ใน เอกสารการสอนชดุ วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเบอ้ื งต้น หนว่ ยที่ 1-7 ฉบบั ปรับปรงุ ครั้งท่ี 2. หน้า 1-20. นนทบุรี : สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมา- ธิราช. วรัญญา ปณุ ณวฒั น์. (2554). “ฮาร์ดแวรค์ อมพิวเตอร์” ใน เอกสารการสอนชดุ วิชาเทคโนโลยี สารสนเทศเบื้องตน้ หนว่ ยท่ี 1-7 ฉบับปรบั ปรุงครง้ั ที่ 2. หนา้ 2-1, 2-13. นนทบรุ ี : สานกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. วิเชยี ร วสิ ุงเร. (2556). หนังสือเรียนพ้ืนฐานวิชาชีพ คอมพิวเตอรเ์ พอ่ื งานอาชีพ (Windows 7 และ Office 2007). ปทมุ ธานี : มเี ดีย อินเทลลเิ จนซ์ เทคโนโลยี. วิโรจน์ ชยั มลู และสุพรรษา ยวงทอง. (2552). ความร้เู บื้องตน้ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : โปรวชิ ่ัน.

72 ศรไี พร ศักดริ์ ่งุ พงศากลุ และเจษฎาพร ยทุ ธนวิบูลย์ชัย. (2549). ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี การจัดการความรู้. พมิ พ์ครัง้ ที่ 10. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยเู คชั่น. สมลักษณ์ ละอองศรี. (2554). “ซอฟต์แวร์” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เบือ้ งต้น หน่วยท่ี 1-7 ฉบบั ปรบั ปรงุ คร้ังที่ 2. หนา้ 3-5, 3-9, 3-25. นนทบุรี : สานกั พิมพม์ หาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. สราวธุ ปติ ิยาศกั ดิ์. (2555). กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ. กรุงเทพฯ : นติ ธิ รรม. โอเลียร่ี, ทโิ มที เจ. และลนิ ดา ไอ โอเลียรี่. (2553). คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ สมัยใหม่ (ฉบบั ปรบั ปรุงใหม่ลา่ สุด). แปลโดย ศศลักษณ์ ทองขาว และคนอื่น ๆ. กรงุ เทพฯ : แมคกรอ-ฮิล. Beekman, George. And Ben Beekman. (2009). Tomorrow’s technology and you. 9th ed. New Jersey : Prentice Hall. Cisco systems inc. (n.d.a). Cisco 2801 Integrated Services Router. [Online]. Available : http://www.cisco.com/en/US/products/ps6018/ prod_view_selector.html [25 May 2014]. ________. (n.d.b). Cisco Catalyst 2950 24 Switch. [Online]. Available : http://www.cisco.com/en/US/products/hw/switches/ps628/ps627/prod_ view_selector.html [25 May 2014]. Cloud computing from the home. (2012). [Online]. Available : http://www. tutorialspoint.com/shorttutorials/cloud-computing-from-the-home [24 May 2014]. Fakhroutdinov, Kirill. (2014). Network architecture diagrams. [Online]. Available : http://www.uml-diagrams.org/network-architecture-diagrams.html [25 May 2014]. The Fiber Optics Association. (2012). The FOA self study program on the basics of fiber optics. [Online]. Available : http://www.thefoa.org/tech/ref/ termination /fusion.html [25 May 2014].

73 Hinks, Jamie. (2014). IBM mainframe celebrates 50th birthday [Online]. Available : http://www.itproportal.com/2014/04/07/ibm-mainframe-celebrates-50th- birthday/ [24 May 2014]. Laudon, Kenneth C. and Jane Price, Laudon. (2012). Management information systems : managing the digital firm. Harlow : Pearson Education. Mary, Rose. (2012). Wireless communication and types. [Online]. Available : http:// www.engineersgarage.com/articles/wireless_commnunication?page=1 [18 May 2014]. Stalling, William. (2011). Data and computer communications. 9th ed. New Jersey : Prentice Hall. TechDudes. (2014). End Of Support For Windows XP April 8 2014. [Online]. Available : http://www.techdudesinc.com/wp-content/uploads/2014/01/ PersonalComputer.jpg [24 May 2014] Videx Limited. (2012). Booted Cat5e UTP Patch Cables. [Online]. Available : http:// www.videk.co.uk/section.php/178/1/booted-cat5e-utp-patch-cables [25 May 2014].

74

บทท่ี 3 เครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ และเทคโนโลยเี วบ็ เมื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอรม์ กี ารพฒั นาให้สามารถทางานได้มากขึ้น เช่ือมต่อและแลกเปลี่ยน ขอ้ มูลกันได้ จงึ เร่ิมมีการขยายขดี ความสามารถให้คอมพิวเตอร์เช่ือมโยงกันเป็นเครือข่ายได้กว้างขวาง มากขนึ้ ทรี่ จู้ กั กันโดยทวั่ ไปว่าเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต และมีการพัฒนาบริการต่าง ๆ ให้สามารถทางาน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือให้ผู้ใช้งานสามารถเช่ือมต่อและแลกเปล่ียน ข้อมูลกันได้ทั่วโลก ปัจจัยท่ีส่งผลให้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นที่นิยมนอกเหนือไปจากรูปแบบการใช้ งานที่ไม่ซับซ้อน ได้แก่การกาหนดมาตรฐานของระบบเครือข่ายหรือโพรโทคอล ซ่ึงเป็นข้อกาหนดท่ี ทาให้ผู้พัฒนาและผู้ผลิตอุปกรณ์มีแนวทางในการพัฒนาร่วมกัน และบริการที่เป็นที่นิยมใช้งานบน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้แก่ เว็บ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยในบทน้ีจะกล่าวถึงการ ประยุกต์ใช้งานเว็บเป็นหลัก ซ่ึงประเด็นที่น่าสนใจเก่ียวกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีเว็บ ได้แก่ หลกั การทางานของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ความหมายและความสาคัญของเว็บ พัฒนาการของ เทคโนโลยเี วบ็ และการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยเี วบ็ ในองคก์ ร ความรูท้ ่วั ไปเก่ยี วกับเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) นับเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เช่ือมโยงข้อมูล ถึงกันทั่วโลก จึงเป็นพ้ืนฐานสาคัญในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความรู้และแนวทางการทางาน ร่วมกัน มีการพัฒนาการให้บริการต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมากขึ้น รวมถึงการ พัฒนาการทางานขององค์กรให้สามารถทางานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันนับว่าเครือข่าย อนิ เทอร์เนต็ เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลกและมีเสถียรภาพสูง ในที่น้ีจะกล่าวถึงความรู้ ท่ัวไปเกี่ยวเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในด้านพัฒนาการ โพรโทคอลที่เกี่ยวข้อง วิธีการเชื่อมต่อเข้าสู่ เครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ และรูปแบบเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตทใี่ ช้ในองค์กร 1. ความเป็นมาของเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ เดิมที การแลกเปลี่ยนข้อมูลบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถทาได้โดยการส่งเทปแม่เหล็ก หรือบัตรเจาะรูไปทางไปรษณีย์เพ่ือให้ปลายทางนาไปอ่านในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ จึงได้มีการวิจัยเพื่อ เพิ่มช่องทางในการแลกเปล่ียนข้อมูลทางคอมพิวเตอร์เมื่อ ค.ศ.1960 หรือราวปี พ.ศ.2503 ในช่วง

76 เวลาดังกล่าว ทางประเทศสหรัฐอเมริกาต้องการสร้างระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพ่ือแลกเปลี่ยน ข้อมูลท่ีมีความปลอดภัยสูงเพื่อป้องกันการรั่วไหลของข้อมูล จึงเกิดโครงการวิจัยเพ่ือสร้างเครือข่าย คอมพิวเตอร์อาร์พาเน็ต (ARPANET - Advanced Research Projects Agency NETwork) เริ่มส่ง ข้อมูลจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียไปยังสถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด โดยการส่งข้อมูลนั้น ระบบเครือข่ายจะทาการแบ่งข้อมูลเป็นส่วน ๆ เรียกว่า กลุ่มข้อมูล (Packets) (Beekman and Beekman. 2009 : 317-318) ปัจจบุ ันมีการพัฒนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดนนักวิจัยได้รวมกลุ่มกันเพ่ือจัดตั้งกลุ่มยูเซด (UCAID – University Corporation for Advanced Internet Development) ซึ่งมีบุคลากรทั้ง จากมหาวทิ ยาลัยกับบรษิ ัทเอกชนร่วมกันพัฒนาอินเทอร์เน็ตรุ่นใหม่ให้มีความเร็วสูงและใช้งานง่ายข้ึน ชื่อ อินเทอร์เน็ตทู (Internet 2) ซ่ึงทาให้เกิดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหม่ การสื่อสารที่รวดเร็วขึ้น ความมีเสถียรภาพของเครือข่ายที่สูงข้ึนและการรักษาความปลอดภัยบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ดีข้ึน (ชัยยง ว่องวฒุ กิ าจร. 2554 : 4-19) เครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีการขยายการใช้งานไปท่ัวโลกอย่างรวดเร็ว อาจมีสาเหตุได้จาก หลายประการ ทั้งในด้านความร่วมมือ โดยเมื่อเกิดความร่วมมือจากหลายหน่วยงานในการพัฒนา เครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต จงึ ทาให้เกิดการกระจายค่าใช้จา่ ย ทาให้แตล่ ะหนว่ ยงานลดต้นทุนในการพัฒนา ย่ิงมกี ารเชอื่ มโยงมากย่ิงข้นึ ย่ิงส่งผลใหต้ ้นทนุ ท่มี ีการแบ่งกระจายไปยังผู้ใช้จานวนมากข้ึน ทาให้ผู้ใช้แต่ ละรายเสียค่าใช้จ่ายในการใช้งานต่าลง นอกจากน้ีการทางานของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นลักษณะ การกระจายกล่าวคือไม่กาหนดศูนย์กลางของอุปกรณ์หรือข้อมูลและมีวิธีการเข้าถึ งข้อมูลที่ หลากหลาย สง่ ผลให้ผ้ใู ชเ้ ขา้ ถึงข้อมูลในแหล่งข้อมูลที่สามารถใช้งานได้สะดวก เกิดการเรียนรู้และเข้า ไปพัฒนาการทางานบนเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตได้สะดวก 2. โพรโทคอลทสี่ าคญั ส่วนสาคญั ทีส่ ง่ ผลใหอ้ ินเทอร์เนต็ สามารถพัฒนาไดอ้ ย่างรวดเรว็ และแพร่หลาย นั่นคือการ ใช้มาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ในการพัฒนาร่วมกันหรือโพรโทคอล ทาให้ทุกองค์กรที่จะพัฒนาโปรแกรม หรอื อปุ กรณ์จะต้องคานงึ ถงึ มาตรฐานเดยี วกนั เพ่อื ใหส้ ามารถทางานรว่ มกันได้ โพรโทคอลที่สาคัญในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้แก่ ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) โดยเร่ิมพัฒนา ตั้งแตป่ ี ค.ศ.1972 หรือ พ.ศ.2515 เป็นช่วงเปล่ียนจากเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์อาร์พาเน็ตมาสู่โครงการ

77 อินเทอร์เน็ตมีการปรับลักษณะการส่งข้อมูลเพ่ือให้สามารถส่งกลุ่มข้อมูลในลักษณะจุดต่อจุดและ กาหนดมาตรฐานการสื่อสารทีซีพี หรือโพรโทคอลทีซีพี (TCP – Transmission Control Protocol) ต่อมาจึงได้แบ่งทีซีพีออกเป็น 2 โพรโทคอล คือ ทีซีพีและไอพี (IP – Internetworking Protocol) โดยทีซีพีทาหน้าที่แบ่งกลุ่มข้อมูล รวมกลุ่มข้อมูลและตรวจสอบข้อผิดพลาดในการส่งข้อมูล ส่วนไอพี นั้นทาหน้าท่ีในการแยกเส้นทางการส่งข้อมูลหรือหาเส้นทางในการส่งข้อมูล (ชัยยง ว่องวุฒิกาจร. 2554 : 4-19) 2.1 ทีซีพี ทาหน้าที่ในการจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่พร้อมส่ง เม่ือข้อมูลจะต้องถูก ส่งผ่านไปบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้นจะมีการแบ่งข้อมูลเป็นกลุ่มข้อมูล ในแต่ละกลุ่มข้อมูลจะมีการ กาหนดเส้นทางท่ีจะใช้ส่งไปจนถึงปลายทาง โดยที่ข้อมูลในแต่ละกลุ่มนั้นอาจไม่ได้เดินทางไปใน เส้นทางเดียวกันแตจ่ ะเปน็ การส่งขอ้ มูลผ่านกันไปเป็นระยะ จนกว่าจะถึงเคร่ืองคอมพิวเตอร์ปลายทาง ดังนั้นเมื่อไปถึงยังเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางแล้วอุปกรณ์ที่ทางานบนโพรโทคอลทีซีพีจะทาการ รวมกลมุ่ ข้อมูลและเรยี งลาดบั ข้อมลู ใหถ้ กู ต้องแล้วจงึ แสดงผลใหแ้ กผ่ ้ใู ช้ 2.2 ไอพี ทาหนา้ ทีเ่ สมอื นระบบทอ่ี ยบู่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในการหาเส้นทางในการส่ง ข้อมูลน้ันจาเป็นจะต้องมีสัญลักษณ์ประจาเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพื่อให้ระบบสามารถแยกแยะได้ว่าจะ จัดส่งข้อมูลไปยังเครื่องใด ดังนั้นเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องท่ีเช่ือมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะต้องมีท่ีอยู่ของเคร่ืองเรียกว่า เลขที่อยู่ไอพี (IP address) เป็นกลุ่มของตัวเลข 4 ชุด แบ่งจากกัน ด้วย จุด (.) เช่น 202.23.120.59 โดยมีหน่วยงานท่ีทาหน้าท่ีบริหารจัดการชื่อว่า ไอคานน์ (ICANN - The Internet Corporation for Assigned Names and Numbers) เพ่ือควบคุมให้เลขที่อยู่ไอพีไม่ ซ้ากัน ปัจจุบัน เลขท่ีอยู่ไอพีที่เป็นกลุ่มของตัวเลข 4 ชุดน้ันไม่เพียงพอกับการใช้งานจึงมี การพัฒนามาสู่ชุดของเลขที่อยู่ไอพีท่ีมีกลุ่มของตัวเลข 6 ชุด เรียกว่า ไอพีวีหก (IPv6 - Internet Protocol version 6) และเรียกรูปแบบเลขท่ีอยู่ไอพีแบบเดิมว่า ไอพีวีสี่ (IPv4) สาหรับหลักการส่ง ขอ้ มลู บนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ดว้ ยโพรโทคอลทีซพี ี/ไอพี สามารถสรปุ ได้ดงั ภาพที่ 3.1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook