Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่ม

รวมเล่ม

Published by Parichat Wongwarissara, 2020-08-06 22:47:22

Description: Test 7JULY

Keywords: Test

Search

Read the Text Version

ระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ภณิดา แก้วกูร สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารกั ษศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า 2561

ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ ภณดิ า แก้วกูร คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา 2560

ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ ภณิดา แกว้ กรู วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2560

คำนำ ตำรำเร่ือง “ระบบสำรสนเทศและเทคโนโลยีสำรสนเทศ” ผู้เขียนจัดทำขึ้นเพื่อให้นักศึกษำ หลกั สตู รศิลปศำสตรบณั ฑิต สำขำวิชำสำรสนเทศศำสตร์และบรรณำรักษศำสตร์ใช้เป็นคู่มือกำรเรียน ในรำยวิชำระบบสำรสนเทศและเทคโนโลยีสำรสนเทศและผู้ท่ีสนใจในกำรศึกษำเร่ืองกำรนำระบบ สำรสนเทศและเทคโนโลยีสำรสนเทศไปประยุกต์ใช้ในองค์กร เพื่อให้ทรำบถึงหลักกำรและ สว่ นประกอบของระบบสำรสนเทศ แนวโน้มและกำรนำไปใช้ในสถำบันบริกำรสำรสนเทศและองค์กร ตำ่ ง ๆ สำระสำคัญของตำรำเล่มนี้ ประกอบด้วยควำมร้เู บอื้ งตน้ เก่ยี วกบั ระบบสำรสนเทศ เทคโนโลยี ทเี่ กีย่ วข้องกบั กำรพัฒนำระบบสำรสนเทศ เครอื ข่ำยอนิ เทอร์เน็ตและเทคโนโลยีเว็บ กำรจัดกำรระบบ ฐำนข้อมูล กำรพัฒนำระบบสำรสนเทศ และกำรประยุกต์ใช้ระบบสำรสนเทศในสถำบันบริกำร สำรสนเทศ ผู้เขียนหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำตำรำเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่ำน ทั้งในกำรเรียนรู้ด้ำนระบบ สำรสนเทศและเทคโนโลยีสำรสนเทศ และกำรพัฒนำแนวทำงในกำรประยุกต์ใช้ในองค์กรและ ชวี ิตประจำวัน หำกมขี ้อเสนอแนะในกำรพฒั นำตอ่ ไป ขอได้โปรดนำเสนอแนวทำงกำรปรับปรุงเพ่ือให้ ตำรำนี้มคี ุณภำพยิง่ ขึน้ ต่อไป ภณดิ ำ แกว้ กรู ตุลำคม 2560

สารบญั หนา้ (1) คานา (2) สารบัญ (5) สารบญั ตาราง (6) สารบญั ภาพ 1 บทท่ี 1 ความรู้เบอื้ งตน้ เก่ยี วกับระบบสารสนเทศ 1 7 ความหมายของระบบสารสนเทศ 11 บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์กร กระบวนการทางานพนื้ ฐานและองค์ประกอบของระบบ 13 สารสนเทศ 21 ประเภทของระบบสารสนเทศ 25 การนาระบบสารสนเทศไปใช้ในองค์กร 26 สรุป 26 คาถามทบทวน 29 เอกสารอ้างอิง 29 บทท่ี 2 เทคโนโลยที ่เี กีย่ วขอ้ งกบั การพฒั นาระบบสารสนเทศ 37 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 43 ฮารด์ แวร์ 50 ซอฟต์แวร์ 61 ระบบโทรคมนาคม 66 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 68 สรปุ 70 คาถามทบทวน เอกสารอ้างอิง

(3) หนา้ 73 บทที่ 3 เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยเี ว็บ 73 ความรู้ท่ัวไปเกีย่ วกับเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ 80 ความหมายและความสาคัญของเว็บ 87 พฒั นาการของเทคโนโลยเี วบ็ 91 การประยุกต์ใชเ้ วบ็ ในองคก์ ร 101 สรปุ 102 คาถามทบทวน 102 เอกสารอ้างอิง 107 107 บทท่ี 4 การจัดการระบบฐานข้อมลู 116 แนวคิดเบ้อื งตน้ เก่ียวกบั ขอ้ มูลและการจัดการแฟม้ ข้อมูล 123 การจัดการขอ้ มลู แบบระบบฐานขอ้ มลู 127 การพฒั นาระบบฐานข้อมลู 133 การประยุกต์ใชร้ ะบบฐานข้อมลู 135 สรปุ 135 คาถามทบทวน 137 เอกสารอ้างอิง 137 144 บทท่ี 5 การพฒั นาระบบสารสนเทศ 148 ความรูท้ ัว่ ไปเกยี่ วกบั การพฒั นาระบบสารสนเทศ 152 วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ 156 การเปลย่ี นโอนระบบสารสนเทศ 157 การประเมนิ ระบบสารสนเทศ 158 สรปุ คาถามทบทวน เอกสารอา้ งอิง

(4) หนา้ 161 บทท่ี 6 การประยุกตใ์ ช้ระบบสารสนเทศในสถาบนั บริการสารสนเทศ 161 การจัดการงานในสถาบนั บริการสารสนเทศ 170 การประยุกต์ใชร้ ะบบสารสนเทศในงานธรุ การ 180 การประยุกตใ์ ช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสารสนเทศ 185 การประยุกตใ์ ชร้ ะบบสารสนเทศในงานเทคนิค 189 การประยุกต์ใชร้ ะบบสารสนเทศในงานแผนและนโยบาย 198 สรปุ 198 คาถามทบทวน 198 เอกสารอา้ งอิง 203 บรรณานุกรม

สารบญั ตาราง หนา้ 18 ตาราง 154 1.1 การเปรียบเทียบคุณลกั ษณะของระบบสารสนเทศ 155 5.1 ตวั อย่างแบบสอบถามเพื่อประเมนิ ระบบสารสนเทศ 5.2 การประเมินผลระบบสารสนเทศด้วยวธิ กี ารวัดผลแบบสมดุล

สารบญั ภาพ หน้า 4 ภาพ 4 1.1 ตวั อย่างสญั ญาณข้อมลู แอนะลอ็ ก 12 1.2 ตัวอยา่ งสญั ญาณข้อมลู ดจิ ทิ ัล 12 1.3 กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ 15 1.4 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 16 1.5 ระบบบันทึกข้อมูลการขายอาหาร 17 1.6 ตวั อยา่ งระบบสารสนเทศเพอื่ การจัดการคลงั สนิ ค้า 19 1.7 ตัวอย่างผลลพั ธข์ องระบบสารสนเทศสาหรบั ผูบ้ รหิ าร 20 1.8 ความสัมพนั ธข์ องระบบสารสนเทศ 1.9 ระบบสารสนเทศทางภมู ศิ าสตร์เพ่ือการจดั สรรทรัพยากรภาครฐั 24 และโครงสร้างของระบบราชการที่ฐานลา่ ง 31 1.10 การนาระบบสารสนเทศไปใช้ในองค์กร แยกตามงานหลักของ 33 33 องค์กร 2.1 องคป์ ระกอบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 34 2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ 35 2.3 การประมวลผลในยคุ ของเคร่ืองเมนเฟรมคอมพิวเตอรแ์ ละ 36 37 มนิ คิ อมพวิ เตอร์ 37 2.4 เครอื่ งคอมพิวเตอรส์ ่วนบคุ คล 39 2.5 การประมวลผลในยุคเครือขา่ ยเครื่องรบั -ใหบ้ ริการ 40 2.6 การประมวลผลแบบเอนเทอร์ไพรส์ 41 2.7 การประมวลผลแบบคลาวด์และการประมวลผลแบบเคลื่อนที่ 41 2.8 ตัวอยา่ งอุปกรณน์ าเข้า 42 2.9 อุปกรณ์ประมวลผลหรอื หนว่ ยประมวลผลกลาง 43 2.10 เครอื่ งพมิ พแ์ บบจดุ 52 2.11 เคร่อื งพิมพแ์ บบฉีดหมกึ 2.12 เครื่องพิมพ์เลเซอร์ 2.13 แรม 2.14 ตวั อย่างหน่วยความจาสารอง 2.15 องคป์ ระกอบของการสอื่ สารในระบบโทรคมนาคม

(7) หนา้ 53 ภาพ 54 2.16 การแปลงสัญญาณโดยใชโ้ มเด็ม 55 2.17 ตวั อยา่ งอปุ กรณ์ที่สือ่ สารข้อมูลด้วยรงั สอี ินฟราเรด 56 2.18 การสื่อสารดว้ ยคลน่ื วทิ ยุ 57 2.19 การส่ือสารผ่านดาวเทยี ม 58 2.20 การสอ่ื สารผ่านวิทยุเซลลลู าร์ 59 2.21 ส่วนประกอบและสายยูทีพี 59 2.22 สว่ นประกอบของสายเอสทีพี 60 2.23 ส่วนประกอบของสายเคเบิลร่วมแกน 63 2.24 ส่วนประกอบและสายเคเบลิ เสน้ ใยนาแสง 65 2.25 แผน่ วงจรต่อประสานข่ายงาน 66 2.26 ลกั ษณะการเชื่อมต่อระหว่างข่ายงาน 66 2.27 อปุ กรณส์ วติ ช์ 67 2.28 อุปกรณ์แอคเซสพอยต์ 68 2.29 อปุ กรณ์จัดเส้นทาง 78 2.30 การทางานร่วมกันของอุปกรณเ์ ครือขา่ ย 79 3.1 การส่งข้อมูลบนเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ดว้ ยโพรโทคอลทซี ีพี/ไอพี 81 3.2 การเขา้ สู่อนิ เทอรเ์ นต็ โดยเชอื่ มต่อผ่านข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ 82 3.3 รูปแบบการเชื่อมโยงบนระบบเครือข่ายอินทราเน็ต 84 3.4 รูปแบบการเชือ่ มโยงระบบเครือขา่ ยเอกซ์ทราเน็ต 85 3.5 การทางานของโพรโทคอลเอชทีทพี ี 3.6 การทางานของโพรโทคอลเอชทีทีพี เปรียบเทยี บกบั โพรโทคอล 86 เอชทีทีพีเอส 88 3.7 รูปแบบท่อี ยู่ของเวบ็ โพรโทคอลเอชทีทีพี เปรยี บเทยี บกบั โพรโท 90 91 คอลเอชทีทพี ีเอส 93 3.8 ยอู ารแ์ อล และการแสดงผลเว็บเพจ 3.9 เว็บวกิ พิ ีเดีย เป็นรปู แบบเวบ็ 2.0 3.10 ผลลัพธจ์ ากการคน้ หาคาว่า moon บนเวบ็ 3.0 3.11 การคน้ หาข้อมลู ด้วยเว็บไซต์ http://www.google.com

(8) ภาพ หนา้ 3.12 การคน้ หาข้อมลู ด้วยเว็บไซต์ http://www.bing.com 94 3.13 การคน้ หาข้อมูลดว้ ยเว็บไซต์ http://www.yahoo.com 95 3.14 การค้นหาข้อมูลด้วยเว็บไซต์ http://www.search.com 96 3.15 ส่วนประกอบของท่อี ยู่บนจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ 97 3.16 โปรแกรมสไคพบ์ นโทรศัพท์มือถือ 98 3.17 โปรแกรมสาหรับทางานรว่ มกันบนเว็บ 99 3.18 บล็อก iMenn.com จัดทาบนเวบ็ ไซต์ http://www. 101 wordpress.com 3.19 วิกิของห้องสมดุ สตางค์ มงคลสขุ 102 4.1 แฟ้มขอ้ มูลสมาชิกหอ้ งสมุด 109 4.2 อธบิ ายคาศัพท์เกีย่ วกับแฟม้ ข้อมูล 109 4.3 ประเภทของแฟม้ ข้อมลู 110 4.4 การจดั แฟ้มข้อมูลแบบเรยี งลาดบั 111 4.5 การจดั แฟ้มข้อมลู แบบเขา้ ถึงโดยตรง 112 4.6 การจัดแฟ้มแบบเรียงลาดับดัชนี 113 4.7 การจดั เกบ็ ข้อมูลแบบแฟ้มข้อมลู 113 4.8 การถอนเงินพร้อมกนั ดว้ ยจานวนท่เี ทา่ กัน 116 4.9 การเชื่อมโยงข้อมลู ในฐานข้อมลู การลงทะเบียนเรยี นของนักศกึ ษา 117 4.10 ตัวอย่างแบบจาลองข้อมลู ลาดบั ชั้น 118 4.11 องคป์ ระกอบของระบบฐานข้อมลู 120 4.12 สว่ นประกอบของคลงั ข้อมลู 129 4.13 การทางานกับโปรแกรมฐานข้อมูลทีห่ ลากหลายบนเวบ็ 130 4.14 การเชอ่ื มต่อโดยใช้เอพไี อ 131 5.1 รปู แบบของระบบ 138 5.2 ตัวอย่างการออกแบบเชิงตรรกะ (logical design) 145 5.3 ตวั อย่างการออกแบบเชงิ กายภาพ (physical design) 145 5.4 กระบวนการพฒั นาระบบดว้ ยวงจรพฒั นาระบบ (SDLC) 146 5.5 การพฒั นาระบบแบบทาซ้า 147

(9) ภาพ หนา้ 5.6 การพฒั นาระบบดว้ ยเทคนคิ ต้นแบบ 148 5.7 การเปลยี่ นโอนระบบสารสนเทศแบบขนาน 149 5.8 การเปล่ยี นระบบสารสนเทศแบบทนั ทีทันใด 150 5.9 การเปลี่ยนโดยใชร้ ะบบทดลอง 150 5.10 การเปลี่ยนโอนทีละข้ัน 151 6.1 การแบง่ ส่วนงานของสานักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 168 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา 6.2 โครงสรา้ งการบริหารงาน ห้องสมุดโรงเรยี นลาปางกลั ยาณี 169 6.3 โครงสรา้ งการบริหารงาน สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหนิ ฯ 170 6.4 การกาหนดเลขเอกสารในระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์ 172 6.5 การบนั ทึกรายละเอยี ดของหนังสอื ราชการในระบบสารบรรณ 173 อิเล็กทรอนกิ ส์ 6.6 การลงรายการบญั ชใี นระบบสารสนเทศของบริษัท โปรซอฟท์ 174 คอมเทค จากัด 6.7 การกาหนดรหสั ค่าใชจ้ ่ายในระบบสารสนเทศทางการบญั ชีของ 175 บรษิ ัท โปรซอฟท์ คอมเทค จากัด 6.8 แผนภาพของระบบบรหิ ารจดั การอาคาร 178 6.9 จอภาพแสดงโปรแกรมควบคุมการทางานตามตารางเวลา 179 6.10 แผนภาพอธบิ ายการปิดเปิดของอุปกรณ์ตามภาระการใช้งาน 179 6.11 หลักการทางานของระบบสารสนเทศเพ่ือบริหารจดั การลกู ค้า 182 สมั พนั ธ์ 6.12 หนา้ จอบนั ทกึ การติดต่อจากลูกคา้ ของระบบสารสนเทศเพ่ือบรหิ าร 183 จัดการลกู ค้าสัมพนั ธ์ 6.13 จอภาพแสดงขอ้ มลู การยืมของผใู้ ช้ สานกั วทิ ยบรกิ ารและ 183 เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า 6.14 การใชเ้ คร่ืองบรกิ ารยืมคนื อตั โนมัติ สานกั วทิ ยบริการและ 184 เทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา 6.15 แบบฟอร์มเสนอรายการหนังสือท่ีตอ้ งการโดยใช้ Google docs 188

(10) หนา้ 190 ภาพ 192 6.16 โปรแกรมชว่ ยในการวิเคราะห์สวอท (SWOT) 6.17 ระบบสารสนเทศนโยบายและแผน คณะแพทยศาสตร์ 193 194 มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 194 6.18 โปรแกรมแกนทโ์ พรเจค็ (GanttProject) 196 6.19 โปรแกรมโปรลอค (Prolog) 6.20 โปรแกรมไทม์คอนโทรล (Time Control) 6.21 หนา้ จอการนาเสนอผลการดาเนนิ งานดว้ ยโปรแกรมควิ พีอาร์

บรรณานกุ รม กรมทรัพย์สนิ ทางปญั ญา. (2551). ค่มู อื การจดั ซ้ือและตรวจรบั ซอฟต์แวร์สาหรบั หนว่ ยงาน ราชการ. กรุงเทพฯ : กรมทรัพยส์ ินทางปญั ญา. กรมพัฒนาพลงั งานทดแทนและอนรุ กั ษ์พลงั งาน. (ม.ป.ป.). เอกสารเผยแพรก่ ลุม่ เทคโนโลยีภายใน ศนู ย์แสดงเทคโนโลยกี ารอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน อาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลมิ พระเกยี รติ ภาคอาคารธุรกจิ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจดั การอาคาร (Building Management System). กรงุ เทพฯ : กระทรวงพลงั งาน. กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2558). แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พ.ศ. 2558-2562. กรงุ เทพฯ : กระทรวง วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. กอี อสโต้. (2554). โปรแกรมร้านอาหาร. [ออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า : http://www.kiosqueto.com/ blog/8-pos-restaurant-system.html [5 พฤษภาคม 2557]. โกสินทร์ จานงไทย และปิยพร นรุ ารกั ษ์. (2553). “ความรู้เบือ้ งต้นเกยี่ วกบั เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์” ใน เอกสารประกอบการอบรมโครงการสง่ เสรมิ และสนับสนนุ ใหม้ กี ารเสรมิ สร้าง มาตรฐานบคุ ลากรด้าน ICT ท่ีตรงกบั ความต้องการของอุตสาหกรรม ICT ระยะท่ี 2. กรงุ เทพฯ : สานกั ส่งเสริมอตุ สาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร. โกสนิ ทร์ จานงไทย และเผด็จ บุญเลศิ . (2553). “ความรเู้ บ้ืองตน้ เกย่ี วกบั โปรโตคอลทซี ีพี/ไอพี” ใน เอกสารประกอบการอบรมโครงการส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้มกี ารเสริมสรา้ ง มาตรฐานบุคลากรดา้ น ICT ทต่ี รงกับความต้องการของอุตสาหกรรม ICT ระยะท่ี 2. กรงุ เทพฯ : สานักส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. ขจิตพรรณ มกระธัช. (2554). “การสื่อสารโทรคมนาคมและระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้ืองต้น หน่วยท่ี 1-7 ฉบบั ปรับปรุง ครงั้ ที่ 2. นนทบรุ ี : สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. คเชนทร์ ชยั รตั น. (ม.ป.ป.). ประเภทของสัญญาณ. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า : http://courseware. payap.ac.th/docu/mk380/f24.3.htm [18 พฤษภาคม 2557].

204 ครรชิต มาลัยวงศ์. (2555). “แนวคิดเกย่ี วกับข้อมลู ” ใน เอกสารประกอบการสอนชดุ วิชา การจัดการระบบฐานข้อมลู หน่วยที่ 1-8. หนา้ 12. พิมพ์ครัง้ ท่ี 12. นนทบรุ ี : สานักพมิ พม์ หาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. จกั รกฤษณ์ ตาฬวัฒน์. (2558). บันทึกการเดินทางของชีวติ เม่น. [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า : http:// www.imenn.com [31 กรกฎาคม 2558]. จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. คณะครุศาสตร์. (2553). คูม่ อื ฝึกอบรมบรรณารักษ์ โครงการยกระดับ คุณภาพครทู ้ังระบบตามแผนปฏบิ ัติการไทยเข้มแข็ง. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . ชนวฒั น์ โกญจนาวรรณ. (2550). การจดั การสารสนเทศสาหรับผนู้ าองค์กรและผู้บริหาร. กรงุ เทพฯ : เอก็ ซเปอร์เน็ท. ชัยยง ว่องวุฒกิ าจร. (2554). “โครงสร้างพนื้ ฐานธุรกจิ อิเล็กทรอนิกส์” ใน ประมวลสาระชุดวิชา ธุรกจิ อิเลก็ ทรอนิกส์และการประยุกต์ หนว่ ยท่ี 1-7. หนา้ 4-19, 4-23, 4-25, 4-39. นนทบุรี : สานักพิมพม์ หาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช. ณัฏฐพนั ธ์ เขจรนนั ท์. (2551). การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : ซีเอด็ ยูเคชั่น. ณฐั พร เห็นเจรญิ เลศิ และทรงลักษณ์ สกุลวจิ ติ รส์ นิ ธุ. (2554). “สารสนเทศและเทคโนโลยี สารสนเทศ” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเบ้อื งต้น หน่วยท่ี 1-8. หน้า 1-1, 1-5, 1-6, 1-13, 1-14, 1-16. นนทบรุ ี : สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั สุโขทัย ธรรมาธิราช. ________. (2554). “สารสนเทศและเทคโนโลยสี ารสนเทศ” ใน เอกสารการสอนชุดวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบอื้ งต้น หน่วยที่ 1-7 ฉบับปรบั ปรุงครั้งท่ี 2. หนา้ 1-20. นนทบรุ ี : สานกั พมิ พ์มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช. ดิชิตชยั เมตตารกิ านนท์. (2558). เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพื่อการจัดการ สารสนเทศ. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . เดสเลอร์, แกรี่. (2555). กรอบความคิดสาหรบั การจัดการทรัพยากรมนุษย์. แปลโดย ชานาญ ปยิ วนชิ พงษ์ และคณะ. พิมพ์ครง้ั ที่ 3. กรงุ เทพฯ : เพียร์สัน.

205 นาโนซอฟท์แอนด์โซลูชนั่ . (2542). โปรแกรม CRM. [ออนไลน์]. แหลง่ ที่มา : nanosoft.co.th/ crmnet.htm [23 กรกฎาคม 2559]. นา้ ทพิ ย์ วภิ าวนิ , สภุ าพร ชยั ธมั มะปกรณ์ และจีระพล คุ่มเค่ยี ม. (2555). “เทคโนโลยีกับงาน วิเคราะห์สารสนเทศ” ใน เอกสารการสอนชดุ วิชาการวิเคราะหส์ ารสนเทศ หน่วยที่ 8- 15 ฉบับปรับปรุงคร้งั ท่ี 2. หนา้ ที่ 14-5. พิมพ์ครง้ั ท่ี 3. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. นติ ยา วงศ์ภนิ นั ท์วฒั นา. (2555). ระบบสารสนเทศด้านการเงนิ และการบญั ชีเพื่อการวางแผน ทัรพยากรองคก์ ร (ปรบั ปรงุ ใหม่ 2555). พมิ พค์ รั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัย ธรรมศาสตร์. เนตร์พณั ณา ยาวริ าช. (2556). การจดั การสานกั งาน. พิมพค์ รั้งที่ 12. กรงุ เทพฯ : ทรปิ เพิ้ล เอ็ด ดเู คช่นั . บุรินทร์ รจุ จนพันธ์ุ. (2553). โปรแกรมวิเคราะห์ SWOT ช่วยวาด SWOT Graph. [ออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า : http://www.thaiall.com/blog/burin/1297 [15 กรกฎาคม 2559]. ปานใจ ธารทศั นวงศ์. (2554). การวิเคราะห์และออกแบบระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศในมุมมอง ดา้ นการบริหาร. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. โปรซอฟท์ คอมเทค. (2552). ขนั้ ตอนการทางานระบบสินคา้ คงคลงั . [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า : http://www.prosoftmyaccount.com/ArticleInfo.aspx?ArticleID= 895 [5 พฤษภาคม 2557]. โปรซอฟท์ คอมเทค. (2553). ระบบบัญชซี ้ือเชื่อ. [ออนไลน์]. แหลง่ ที่มา : http://www.prosoft myaccount.com/ArticleInfo.aspx?ArticleID=882 [31 กรกฎาคม 2559]. พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2554. (2557). [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า : http://www.royin.go.th [12 ธันวาคม 2557]. พรรณี สวนเพลง. (2555). ระบบสารสนเทศเชิงกลยทุ ธ์. กรงุ เทพฯ : ซเี อ็ดยูเคชน่ั . ไพโรจน์ ปิยะวงศว์ ฒั นา. (2556). การจัดการเชิงกลยุทธ์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม. พิมพ์ครงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ภทั รสนิ ี ภทั รโกศล. (2555). เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั .

206 ภาคภมู ิ ฤกขะเมธ. (2555). “แนวคดิ และพัฒนาการขององคก์ ารแห่งการเรียนรู้” ใน เอกสาร ประกอบการสอนชดุ วชิ า กลยทุ ธ์การจดั การทรัพยากรมนษุ ยแ์ ละองคก์ ารแหง่ การ เรียนรู้ หน่วยที่ 9-15. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. ภิรมย์ แจม่ ใส. (2555). “ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการทรัพยากรอาคาร” ใน เอกสาร ประกอบการสอนชดุ วชิ า การจดั การทรัพยากรอาคาร หนว่ ยที่ 9-15. หน้า 13-20 – 13-42. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช. มหาวิทยาลัยมหดิ ล. หอ้ งสมุดสตางค์ มงคลสขุ . (2551). วกิ ิ หอ้ งสมดุ สตางค์ มงคลสขุ . [ออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า : http://stang.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php [31 กรกฎาคม 2558]. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา. (2558). มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา. [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : http://www.nrru.ac.th [31 กรกฎาคม 2558]. ________. สถาบันวิจัยไม้กลายเปน็ หนิ และธรณวี ิทยาภาคตะวันออกเฉยี ง เหนอื เฉลิมพระเกียรติ. (ม.ป.ป.). โครงสรา้ งการบริหารงาน. [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า : http://www.khoratfossil.org/museum/index.php [29 กรกฎาคม 2559]. ________. สานักคอมพวิ เตอร์. (2558). คู่มอื การใช้งานระบบ e-document 2014. [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า : http://mis.nrru.ac.th/nrrumis-2013/system/edoc/e- document2014.pdf [29 กรกฎาคม 2559]. ________. สานกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. (ม.ป.ป.). โครงสร้างการบรหิ ารสานกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ. [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : http://www.arc. nrru.ac.th [1 กรกฎาคม 2559]. ________. (2558). แบบฟอร์มแนะนา/สั่งซอื้ หนงั สอื ประจาปงี บประมาณ 2558. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา : http://www.arc.nrru.ac.th [1 กรกฎาคม 2559]. ________. (ม.ป.ป.). ระบบสืบคน้ ทรัพยากรสารสนเทศ Web OPAC. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า : http://arc2.nrru.ac.th/liberty/libraryHome.do [15 สงิ หาคม 2559]. มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์. สานกั วชิ าสารสนเทศศาสตร์. (2554). โครงการพัฒนาระบบห้องสมุด อตั โนมัติ WALAI AutoLib. [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า : http://www.walai.net/ Document/Module.pdf [15 กรกฎาคม 2559].

207 มัลลกิ า นาถเสวี. (2550). การจดั การงานห้องสมดุ . นครราชสีมา : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2548. (2548, 23 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ 122 ตอนพเิ ศษ 99 ง. หนา้ 32-37. โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี. (ม.ป.ป.). โครงสร้างงานห้องสมดุ โรงเรียนลาปางกัลยาณี. [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า : http://www.liblks.com/lib/ [1 สิงหาคม 2559]. ละมัย ไวยโภชน์ และวันชยั เรอื งกาญจนไพศาล. (2554). คมู่ ือการใชง้ านระบบสารสนเทศ นโยบายและแผน (โครงการพฒั นาหนว่ ยงาน) สาหรับผู้ปฏบิ ัติ. ขอนแก่น : คณะ แพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. วรญั ญา ปณุ ณวัฒน์. (2554). “ฮารด์ แวรค์ อมพิวเตอร์” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศเบอ้ื งต้น หนว่ ยท่ี 1-7 ฉบับปรบั ปรงุ ครั้งท่ี 2. หน้า 2-1, 2-13. นนทบรุ ี : สานกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. วิเชียร เปรมชัยสวสั ดิ์. (2555).ระบบฐานข้อมูล. พมิ พค์ รง้ั ที่ 18. กรงุ เทพฯ : สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุ่น). วเิ ชียร วสิ ุงเร. (2556). หนังสอื เรียนพืน้ ฐานวิชาชีพ คอมพวิ เตอร์เพอ่ื งานอาชพี (Windows 7 และ Office 2007). ปทมุ ธานี : มีเดยี อนิ เทลลิเจนซ์ เทคโนโลยี. วิโรจน์ ชัยมลู และสุพรรษา ยวงทอง. (2552). ความรูเ้ บื้องต้นเกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์และ เทคโนโลยสี ารสนเทศ. กรงุ เทพฯ : โปรวิชนั่ . ศรีไพร ศักดร์ิ ่งุ พงศากลุ และเจษฎาพร ยทุ ธนวิบลู ย์ชยั . (2549). ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี การจัดการความรู้. พิมพ์คร้งั ที่ 10. กรงุ เทพฯ : ซีเอด็ ยเู คชนั่ . ศรสี มรัก อินทุจนั ทรย์ ง. (ตุลาคม – ธันวาคม 2556). “การใช้การวดั ผลองคก์ รแบบสมดุล (BSC) ใน การประเมินระบบสารสนเทศ.” บริหารธุรกจิ . 36(140) : 10-14. ศภุ กร ฤกษด์ ิถพี ร. (2555). วันน้ีคุณใช้ HTTPS หรือยัง. [ออนไลน์]. แหล่งทมี่ า : https://www. thaicert.or.th/papers/general/2012/pa2012ge002.html. [31 กรกฎาคม 2558]. ศูนย์โรคหวั ใจ นราธวิ าสราชนครินทร์. (ม.ป.ป.). การตรวจทางหัวใจ. [ออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า : http://psuheartcenter.blogspot.com/2010/11/heart-check.html [5 พฤษภาคม 2557].

208 สมบตั ิ อยูเ่ มือง. (2554). ภมู ิสารสนเทศเพอ่ื การบริหารจดั การบา้ นเมอื งทดี่ ี. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า : http://www.gisthai.org/download/GIS%20FOR%20GOOD% 20GOVERNANCE-by%20Dr%20Sombat%20JUL-2554.pdf [5 พฤษภาคม 2557]. สมพร พทุ ธาพทิ กั ษผ์ ล. (2556). “เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ” ใน เอกสารการสอนชดุ วิชา การพัฒนาทรพั ยากรสารสนเทศ หน่วยที่ 9-15 ฉบับ ปรบั ปรงุ ครัง้ ที่ 2. หนา้ 12-32. พมิ พ์ครง้ั ที่ 3. นนทบรุ ี : มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมา- ธริ าช. สมลกั ษณ์ ละอองศรี. (2554). “ซอฟตแ์ วร์” ใน เอกสารการสอนชดุ วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ เบอ้ื งต้น หน่วยท่ี 1-7 ฉบับปรบั ปรงุ คร้งั ที่ 2. หนา้ 3-5, 3-9, 3-25. นนทบุรี : สานักพิมพม์ หาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. สมลกั ษณ์ ละอองศรี. (2554). “เทคโนโลยเี ว็บ” ใน เอกสารการสอนชุดวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ เบ้ืองตน้ หน่วยท่ี 8-15 ฉบบั ปรับปรงุ ครงั้ ที่ 2. หน้า 8-7. นนทบรุ ี : สานักพมิ พ์ มหาวทิ ยาลัย สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. สมสรวง พฤตกิ ุล. (2554). “ระบบสารสนเทศสานักงานและระบบงานสารบรรณ” ใน เอกสารการ สอนชุดวิชาระบบสารสนเทศสานกั งาน หน่วยท่ี 1-8. หน้า 1-39. พมิ พ์คร้งั ท่ี 9. นนทบรุ ี : สานักพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. สราวธุ ปิติยาศกั ด์ิ. (2555). กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : นิติธรรม. สานักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. ฝ่ายบรกิ ารความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี. (2554). STKS Market Place for Knowledge. ปทมุ ธานี : สานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ. สารวย กมลายตุ ต์. (2555ก). “เทคโนโลยีทเ่ี ก่ียวข้องกบั องคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้” ใน เอกสาร ประกอบการสอนชุดวิชา กลยุทธ์การจัดการทรพั ยากรมนษุ ย์และองคก์ ารแห่งการ เรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 9-15. หน้า 12-2. นนทบรุ ี : มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. สารวย กมลายุตต์. (2555ข). “เทคโนโลยเี พ่ือการบริการสารสนเทศ” ใน ประมวลสาระชุดวชิ า ผู้ใช้และการบรกิ ารสารสนเทศ หน่วยท่ี 9-15. นนทบุรี: สานกั พิมพ์มหาวิทยาลัย สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.

209 สุธญั ญา ด้วงอนิ ทร์. (กนั ยายน – ธนั วาคม 2556). “การประยุกตใ์ ช้เคร่ืองมอื ทางสังคมกบั ห้องสมุด ดจิ ิทัล”. วารสารสารสนเทศศาสตร์. 31(3) : 84-87. อรยา ปรชี าพานชิ . (2557). คู่มือเรียนการวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) ฉบับสมบรู ณ์. นนทบุรี : ไอดซี ี พรีเมยี ร์. โอเลียร่ี, ทิโมที เจ. และลินดา ไอ โอเลียรี่. (2553). คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ สมยั ใหม่ (ฉบับปรบั ปรุงใหม่ลา่ สดุ ). แปลโดย ศศลกั ษณ์ ทองขาว และคนอน่ื ๆ. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮลิ . Beekman, George. And Ben Beekman. (2009). Tomorrow’s technology and you. 9th ed. New Jersey : Prentice Hall. CBS. (n.d.). Search. [Online]. Available : http://www.search.com [31 July 2015]. Cisco systems. (n.d.a). Cisco 2801 Integrated Services Router. [Online]. Available : http://www.cisco.com/en/US/products/ps6018/ prod_view_selector.html [25 May 2014]. ________. (n.d.b.) Cisco Catalyst 2950 24 Switch. [Online]. Available : http://www.cisco.com/en/US/products/hw/switches/ps628/ps627/prod_ view_selector.html [25 May 2014]. Cloud computing from the home. (2012). [Online]. Available : http://www. tutorialspoint.com/shorttutorials/cloud-computing-from-the-home [24 May 2014]. Council, Cameron. (2016). Meridian Prolog. [Online]. Available : http://technology advice.com/products/ prolog-meridian-systems-reviews [21 July 2016]. Doyle, Stephen. (2014). Information Systems for You. 4th eds. London : Oxford University Press. eXo. (2013). Enterprise Digital Collaboration Software. [Online]. Available : http://www.exoplatform.com/company/en/products/features [31 July 2015].

210 Fakhroutdinov, Kirill. (2014). Network architecture diagrams. [Online]. Available : http://www.uml-diagrams.org/network-architecture-diagrams.html [25 May 2014]. GanttProject. (2016). [Online]. Available : http://www.ganttproject.biz [21 July 2016]. Google. (n.d.). Google. [Online]. Available : http://www.google.com [31 July 2015]. Hinks, Jamie. (2014). IBM mainframe celebrates 50th birthday [Online]. Available : http://www.itproportal.com/2014/04/07/ibm-mainframe-celebrates-50th- birthday/ [24 May 2014]. Hoffer, Jeffrey A, V. Ramesh and Heikki Topi. (2011). Modern Database Management. 10th ed. New Jersey : Prentice Hall. Inetsoft. (n.d.). Peoplesoft Dashboard Reports. [Online]. Available : http://www.inetsoft.com/solutions/peoplesoft_dashboard_reports [5 May 2014]. Kroenke, David M and David J. Auer. (2012).Database Processing, Fundamentals, Design and implementation. 12nd ed. Boston : Pearson Education. Laudon, Kenneth C. and Jane Price Laudon. (2012). Management Information Systems : Managing the Digital Firm. London : Prentice-Hall. Mary, Rose. (2012). Wireless communication and types. [Online]. Available : http://www.engineersgarage.com/articles/wireless_commnunication?page= 1 [18 May 2014]. Microsoft. (n.d.). Bing. [Online]. Available : http//www.bing.com [31 July 2015]. Nestor Consulting S.A. (2009). QPR Processes Guide. [Online]. Available : http://www.nestor.com.gr/content.php [22 July 2016]. Platisa, Gordana and Nedo Balaban. (February 2009). “Methodological Approaches to Evaluation of Information System Functionality Performances and Importance of Successfulness Factors Analysis.” Management Information Systems. 4(2) : 13.

211 Protalinski, Emil. (2013). Microsoft redesigns Skype for iOS7, makes accessibility and VoiceOver improvements. [Online]. Available : http://thenextweb. com /microsoft/2013/10/07/microsoft-redesigns-skype-for-ios-7-makes- accessibility-and-voiceover-improvements/ [31 July 2015]. Stalling, William. (2011). Data and computer communications. 9th ed. New Jersey : Prentice Hall. TechDudes. (2014). End Of Support For Windows XP April 8 2014. [Online]. Available : http://www.techdudesinc.com/wp-content/uploads/2014/01/ PersonalComputer.jpg [24 May 2014]. Teorey, Tobey and others. (2011). Database Modeling and Design : Logical Design. 5th ed. Massachusetts : Elsevier. The Fiber Optics Association. (2012). The FOA self study program on the basics of fiber optics. [Online]. Available : http://www.thefoa.org/tech/ref/ termination /fusion.html [25 May 2014]. The TimeControl Interface. (2016). [Online]. Available : http://www.timecontrol. com/features/interface [22 July 2016]. Tutorialspoint. (n.d.) Learn SDLC Software Development Life Cycle. [Online]. Available : http://www.tutorialspoint.com/sdlc/index.htm [11 July 2016]. Valacich, Joe. And Christoph Schneider. (2012). Information Systems Today : Managing in the Digital World. 5th ed. London : Pearson Education. Videx Limited. (2012). Booted Cat5e UTP Patch Cables. [Online]. Available : http:// www.videk.co.uk/section.php/178/1/booted-cat5e-utp-patch-cables [25 May 2014]. Wikipedia. (n.d.) Wikipedia Protal:Contents. [Online]. Available : http://en.wikipedia. org/wiki/Portal:Contents. [31 July 2015]. Wolframalpha. (n.d.). WolframAlpha computational knowledge engine. [Online]. Available : http://www.wolframalpha.com [31 July 2015].

212 Yahoo. (n.d.). Yahoo!. [Online]. Available : http://www.yahoo.com [31 July 2015]. Zikmund, William G. and others. (2009). Business Research Methods. 8th ed. New York : South-Western.

บทท่ี 1 ความรู้เบอ้ื งตน้ เก่ยี วกบั ระบบสารสนเทศ ข้อมูลข่าวสารในปัจจุบันน้ันมีผลกระทบต่อชีวิตประจาวันของบุคคลท่ัวไปรวมถึงองค์กรท้ัง ภาคเอกชนและภาครัฐบาล ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่สนับสนุนให้การจัดรูปแบบ ข้อมูลอยู่ในรูปท่ีเข้าใจง่าย เช่น ภาพ เสียง วิดีทัศน์ เผยแพร่ได้อย่างรวดเร็วผ่านส่ือต่าง ๆ ย่ิงทาให้ องค์กรทุกระดับให้ความสาคัญกับการจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างความได้เปรียบในการ แข่งขันให้กับองค์กร จนอาจเกิดปัญหาการรับข้อมูลในปริมาณท่ีมากเกินไป จึงได้เกิดแนวคิดในการ จัดการกบั ข้อมูลที่มีเป็นจานวนมากใหอ้ ยูใ่ นรปู แบบท่ีเหมาะสมและสามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้อย่าง มีประสิทธภิ าพ ปัญหาของข้อมูลข่าวสารที่มีปริมาณมากจนยากต่อการจัดการ ทาให้เกิดระบบสารสนเทศ เพ่ือให้มีกระบวนการในการเลือก ปรับรูปแบบและนาเสนอผลข้อมูลข่าวสารที่มีจานวนมากนั้นให้ ถูกต้อง และรวดเร็ว เกิดความสะดวกท้ังแก่ผู้ใช้ข้อมูลรวมถึงการนาข้อมูลข่าวสารน้ันไปแลกเปล่ียน หรือให้บริการต่อไป ทั้งน้ี ปัจจัยที่ช่วยให้การจัดการกับข้อมูลข่าวสารเกิดการพัฒนาอย่างรวดเร็ว คือ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร เนื่องจากช่วยให้เกิดการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารได้กว้างไกลย่ิงขึ้น เกิดการขยายโอกาสทางเศรษฐกิจท่ีทาให้องค์กรสามารถดาเนินงานข้าม ประเทศตลอด 24 ช่ัวโมง เพิ่มการแข่งขันในการให้บริการโดยใช้ข้อมูลข่าวสารเป็นเครื่ องมือ ดาเนินการเก่ียวกับข้อมูลจึงเป็นเร่ืองท่ีองค์กรควรให้ความสาคัญเป็นอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน บทนี้จึง นาเสนอความหมาย บทบาทของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบ ประเภทและการนาระบบ สารสนเทศไปใชใ้ นองคก์ ร ความหมายของระบบสารสนเทศ การบริหารงานในองค์กรและการดาเนินกิจกรรมในชีวิตประจาวัน จาเป็นต้องใช้ข้อเท็จจริง ข่าวสาร เร่อื งเลา่ หรือเน้อื หาในรปู แบบต่าง ๆ มารว่ มในการตัดสนิ ใจหรอื ดาเนินกิจกรรม โดยท่ัวไปมัก เรียกว่า ขอ้ มูล เช่น ขอ้ มูลผู้ใช้บรกิ ารของหอ้ งสมุด ขอ้ มูลนักทอ่ งเทีย่ วท่ีมาเที่ยวในประเทศไทย ข้อมูล ประชากร เป็นต้น แตข่ ้อมูลท่ีดีควรอยู่ในรปู แบบท่ีผ่านการประมวลผลใหอ้ ยใู่ นรูปแบบที่เหมาะสมกับ การใช้งาน รวมถึงมีความถูกต้อง ทันต่อเวลาในการใช้งานหรือเรียกว่า สารสนเทศ ซึ่งองค์กรควรมี

2 การจัดกระบวนการจัดการกับข้อมูลหรือสารสนเทศให้มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุดโดยใช้ ระบบสารสนเทศมาดาเนินการ จงึ จาเปน็ ตอ้ งทาความเข้าใจกับคาวา่ ขอ้ มลู และสารสนเทศ 1. ความรูท้ ัว่ ไปเก่ยี วกับข้อมลู ข้อมูลเป็นส่วนเร่ิมต้นของการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยความหมายของข้อมูลและ การแบง่ ชนดิ ของขอ้ มลู มดี ังนี้ 1.1 ขอ้ มูล (Data) ไดม้ ีผูใ้ หค้ านิยามไวห้ ลากหลาย ดงั นี้ พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2544 ได้ให้ความหมายของ คาว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริง หรือสิ่งท่ีถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สาหรับใช้เป็นหลักอนุมานหา ความจริงหรือการคานวณ ณัฐพร เห็นเจริญเลิศ และทรงลักษณ์ สกุลวิจิตร์สินธุ (2554 : 1-5) ให้ความหมาย ว่าหมายถึง ข้อเท็จจริงหรือตัวแทนข้อเท็จจริง ท่ีได้จากการสังเกตปรากฏการณ์ การดาเนินงานหรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ซ่ึงยังไม่ผ่านการประมวลผลและยังไม่มีโครงสร้างท่ี เป็นระบบ ไม่อยู่ในรูปแบบที่สามารถนาไปใช้งานได้สะดวก ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร ตัวเลข ผสมตวั อกั ษร เสยี ง ภาพนงิ่ หรอื ภาพเคลอื่ นไหว Laudon and Laudon (2012 : 8) นิยามไว้ว่า ข้อมูลคือชุดของข้อเท็จจริงที่แสดง เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในองค์กร หรือสภาพแวดล้อมทางกายภาพต่าง ๆ ขององค์กร ที่ยังไม่ได้มีการจัด ระเบยี บและจัดรปู แบบใหผ้ ู้ใช้สามารถเขา้ ใจและนาไปใชไ้ ด้ สรุปได้ว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ขององค์กร อาจอยู่ในรูปแบบ ของตัวเลข ตัวอักษร เสียง รูปภาพ หรือในรูปแบบอ่ืน ท่ียังไม่ได้มีการจัดรูปแบบหรือประมวลผลให้ อยู่ในรปู แบบทพี่ ร้อมใช้ 1.2 ชนิดของข้อมูล (Data types) จากความหมายของคาว่า ข้อมูล พบว่า ขอ้ มูลสามารถ อยู่ในรูปแบบที่หลากหลาย ท้ังตัวอักษร ตัวเลข หรือแม้กระทั่งในรูปแบบของเสียง ภาพนิ่งหรือ ภาพเคล่ือนไหว เน่ืองจากข้อมูลมีรูปแบบท่ีหลากหลาย จึงจาเป็นต้องมีการจัดหมวดหมู่หรือแบ่ง ประเภทของข้อมูลให้เหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งการแบ่งประเภทของข้อมูลของแต่ละสาขาอาจไม่ เหมือนกัน ข้ึนอยู่กับความต้องการของผู้ใช้ ลักษณะของข้อมูลที่นาไปใช้และเกณฑ์ที่นามาพิจารณา โดยในท่ีนี้ใช้หลักเกณฑ์ของณัฐพร เห็นเจริญเลิศ และทรงลักษณ์ สกุลวิจิตร์สินธุ (2554 : 1-5) แบ่ง

3 ข้อมูลเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลท่ีแบ่งตามสถิติ ข้อมูลท่ีแบ่งตามโครงสร้าง ข้อมูลท่ีแบ่งตาม สัญญาณ และขอ้ มูลทีแ่ บ่งตามแหล่งทีม่ า โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ 1.2.1 ขอ้ มลู ท่ีแบ่งตามสถิติ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ และข้อมูล เชงิ คุณภาพ 1.2.1.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) คือ ข้อมูลท่ีสามารถวัด ออกมาเปน็ ตวั เลข สามารถนามาคานวณได้ เชน่ จานวน น้าหนัก สว่ นสงู ระยะทาง 1.2.1.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) คือ ข้อมูลที่ไม่สามารถวัด ออกมาเป็นตัวเลขได้ ไม่สามารถเปรียบเทียบได้ว่ามากกว่าหรือน้อยกว่า แต่มักแสดงให้เห็นการ แบ่งกลุ่มของข้อมลู เชน่ เพศ ศาสนา สีผวิ สาขาท่เี รียน วชิ าเอก 1.2.2 ข้อมูลท่ีแบ่งตามโครงสร้าง แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลท่ีมีโครงสร้าง และข้อมูลที่ไม่มโี ครงสรา้ ง 1.2.2.1 ข้อมูลท่ีมีโครงสร้าง (Structured data) คือ ข้อมูลท่ีมีการกาหนด รูปแบบในการจัดเก็บข้อมูลอย่างชัดเจน มีความหมายในตัวข้อมูลเอง เพื่อใช้ประโยชน์ในการ ประมวลผลหรือแปลความหมาย เชน่ รหัสนกั ศกึ ษา ชอ่ื -ช่ือสกุลนักศกึ ษา ที่อยู่ วิชาเอก 1.2.2.2 ข้อมลู ท่ีไม่มีโครงสรา้ ง (Unstructured data) คอื ข้อมูลที่ไม่ได้มีการ กาหนดรูปแบบในการจัดเก็บข้อมูล เช่น ข่าวจากหนงั สือพมิ พ์ เนื้อหาบนเว็บไซต์ รายงานการประชุม ของบรษิ ัท ภาพถ่าย วิดที ัศน์ ซงึ่ ลักษณะของข้อมูลทพี่ บโดยสว่ นใหญ่จะเป็นขอ้ มูลท่ไี มม่ ีโครงสร้าง 1.2.3 ข้อมูลที่แบ่งตามสัญญาณ เป็นลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ขอ้ มลู แอนะลอ็ กและขอ้ มลู ดจิ ทิ ลั 1.2.3.1 ข้อมูลแอนะล็อก (Analog data) คือ ข้อมูลที่มีลักษณะอยู่ในรูปของ สัญญาณต่อเนื่อง ซง่ึ จะแสดงได้ชัดเจนเมื่อแสดงผลในรูปแบบของกราฟ เช่น สัญญาณเสยี ง สัญญาณ โทรศัพท์ สัญญาณคลน่ื ไฟฟา้ หวั ใจ ดงั ภาพที่ 1.1

4 ภาพที่ 1.1 ตวั อยา่ งสญั ญาณขอ้ มูลแอนะลอ็ ก ทม่ี า : ศูนย์โรคหัวใจนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์. ออนไลน์. ม.ป.ป. 1.2.3.2 ข้อมูลดิจิทัล (Digital data) คือ ข้อมูลท่ีมีลักษณะที่อยู่ในรูปของ สญั ญาณไม่ต่อเน่ือง สถานะของข้อมูลจะมีเพียงสองสถานะ ได้แก่ สถานะปิดและสถานะเปิด โดยใช้ เลขฐานสอง คือ 0 และ 1 ในการแสดงผล ข้อมูลดิจิทัลจะเป็นการเรียงต่อกันของตัวเลขฐานสอง เพ่ือให้แปลค่าเป็นความหมาย เช่น อักษร “ก” คือค่าของเลขฐานสอง 10100001 แสดงได้ดังภาพ ที่ 1.2 ระดบั สญั ญาณ 1 0101001 เวลา ภาพท่ี 1.2 ตวั อย่างสัญญาณข้อมลู ดิจิทัล 1.2.4 ข้อมูลท่ีแบ่งตามแหล่งท่ีมา แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลภายในองค์กร และข้อมลู ภายนอกองค์กร (ณัฐพร เห็นเจรญิ เลศิ และทรงลกั ษณ์ สกลุ วิจติ รส์ นิ ธ.ุ 2554 : 1-6) ดังน้ี 1.2.4.1 ข้อมูลภายในองค์กร (Internal data) คือ ข้อมูลท่ีเกิดข้ึนมาจากการ ดาเนินงานขององค์กรเอง หรือข้อมูลท่ีใช้เฉพาะภายในองค์กร เช่น ข้อมูลพนักงาน ข้อมูลผู้ใช้บริการ รายงานผลประกอบการขององคก์ ร

5 1.2.4.2 ข้อมูลภายนอกองค์กร (External data) คือ ข้อมูลที่เกิดขึน้ จากที่อื่น ท่ีไม่ใช่ภายในองค์กร ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นข้อมูลสาคัญในการตัดสินใจของผู้บริหารองค์กร เพราะ สามารถนามาวิเคราะห์หาแนวโน้ม ผลกระทบต่อผลการดาเนินงานขององค์กรได้ ตัวอย่างของข้อมูล ภายนอกองค์กร เช่น ข้อมูลรายงานผลประกอบการของบริษัทอื่น ข้อมูลสภาวะเศรษฐกิจโลก ข้อมูล กฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ ง 2. ความรู้ทวั่ ไปเก่ยี วกับสารสนเทศ เม่ือข้อมูลมีปริมาณมากข้ึน องค์กรจึงต้องมีกระบวนการในการจัดการให้ข้อมูลอยู่ใน รูปแบบที่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพหรืออยู่ในรูปของสารสนเทศ ในที่น้ีจะกล่าวถึง ความหมายและคุณสมบัตทิ ่ดี ีของสารสนเทศ ดังนี้ 2.1 สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ และอยู่ในรูปแบบตรงตามท่ีผู้ใช้ต้องการใช้งาน มีคุณค่า และถือเป็นสินทรัพย์หรือ ผลประโยชน์ท่ีสาคัญขององค์กร (ณัฏฐพันธ์ เขจรนนั ท์. 2551 : 22) สารสนเทศไม่ได้จากัดอยู่เพียงรูปแบบของข้อมูลคอมพิวเตอร์เท่าน้ัน แต่ยังสามารถ อยู่ในรูปแบบอื่น ๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ที่สาคัญคือต้องมีประโยชน์ตรงตามความต้องการของผู้ใช้และ สามารถนาไปใช้งานได้ทันท่วงที มีความทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น สารสนเทศเพ่ือ แจ้งเตือนภัยพิบัติ ต้องแสดงผลให้เห็นสถานท่ีหรือตาแหน่งท่ีจะเกิดภัยพิบัติรวมถึงเวลาท่ีจะเกิด ภัยพบิ ัติ หากสารสนเทศแจ้งหลังจากเกิดภัยพิบัติแลว้ อาจไม่นบั เป็นสารสนเทศ ในขณะท่ีสารสนเทศ ขององคก์ รหน่ึง อาจไมใ่ ชส่ ารสนเทศของอกี องค์กรหนึง่ เน่ืองจากสารสนเทศดังกลา่ วไมเ่ ปน็ ประโยชน์ ตอ่ องค์กรน้ัน 2.2 คุณสมบัติท่ีดีของสารสนเทศ ถึงแม้ว่าสารสนเทศจะหมายถึงข้อมูลท่ีถูกประมวลผล จนอยู่ในรูปแบบท่ีเหมาะสม สามารถใช้งานได้แล้วน้ัน แต่สารสนเทศที่มีทั้งหมดอาจยังไม่ใช่ สารสนเทศที่ดี สารสนเทศท่ีดีควรมีคุณภาพ ตรงในช่วงเวลาท่ีผู้ใช้ต้องการ มีความสมบูรณ์และตรง ประเด็น (Zikmund and others. 2009 : 21) โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้ 2.2.1 มีคุณภาพ (Quality) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณภาพโดยพิจารณาว่าสารสนเทศ นั้นมีความแม่นยาหรือไม่ ใช้มาตราวัดที่ละเอียดพอท่ีจะใช้ในการตัดสินใจ ตรงกับความต้องการ เช่น

6 คานวณเงินภาษีรายได้ถึงระดับสตางค์ และต้องเช่ือถือได้ หมายถึง เม่ือทาการประมวลผลซ้าเมื่อใด จะตอ้ งไดค้ ่าหรือผลลัพธ์ท่ีเหมือนกนั อย่างสมา่ เสมอ 2.2.2 ใช้งานได้ทันในช่วงเวลาท่ีต้องการ (Timeliness) หากผู้ใช้ได้รับสารสนเทศไม่ ทันในช่วงเวลาที่ต้องตัดสินใจ สารสนเทศดังกล่าวน้ันจะไม่เป็นประโยชน์และไม่มีความหมาย ดังนั้น สารสนเทศจึงควรอยู่ในรูปแบบที่พร้อมใช้เสมอ เช่น สมุดบัญชีธนาคารจะมีการสรุปหรือประมวลผล ทันทีท่ีข้อมูลเปลี่ยนแปลง เพื่อให้ผู้ใช้สารสนเทศหรือเจ้าของบัญชีสามารถใช้ตัดสินใจในการทา ธุรกรรมทางการเงินไดท้ ันทว่ งที 2.2.3 มีความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศควรครอบคลุมทุกด้านท่ีผู้ใช้ ต้องใช้ประกอบในการตัดสินใจ เช่น หากต้องการตัดสินใจลงทะเบียนเรียน ผู้ใช้ควรทราบข้อมูล ทั้งหมดของรายวิชาท่ีเปิดสอน ได้แก่ จานวนหน่วยกิต ค่าลงทะเบียนหน่วยกิต หลักสูตรท่ีเปิดสอน อาจารย์ผสู้ อน เพื่อใชป้ ระกอบการตดั สินใจ 2.2.4 ตรงประเด็น (Relevance) เน้นผลลัพธ์ท่ีผู้ใช้ต้องการนาไปใช้ได้ทันท่วงที ซึ่ง ผูใ้ ช้ทมี่ ีสารสนเทศทต่ี รงประเดน็ จะชว่ ยประหยดั เวลาในการตัดสนิ ใจ 3. แนวคิดพนื้ ฐานของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information system) ประกอบด้วยคาว่า “ระบบ (System)” และ คาว่า “สารสนเทศ (Information)” หมายถึง การนาสิ่งท่ีเป็นระบบมาจัดการกับสารสนเทศที่มีอยู่ เพอ่ื ใหไ้ ดส้ ารสนเทศทเี่ หมาะสมกบั ความต้องการของผใู้ ช้ ณัฏฐพันธ์ เขจรนันท์ (2551 : 22) ได้ให้ความหมายของคาว่า ระบบ ว่าหมายถึง ส่ิงที่ ประกอบด้วยองค์ประกอบหน่วยย่อยหลายๆ หน่วยท่ีมีความสัมพันธ์กัน และทาหน้าท่ีประสานกัน รว่ มกันทางาน โดยมเี ปา้ หมายในการแปรสภาพทรัพยากรทีน่ าเขา้ มา (Input) ใหไ้ ดผ้ ลลัพธ์ (Output) หรือผลผลิต เพ่ือให้การดาเนินงานนั้นบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ ซึ่งหมายรวมถึงการนาเทคโนโลยี คนหรือบุคลากร การประมวลผลและโครงสร้างขององค์กรไว้ด้วยกันภายใต้ขอบเขตท่ีชัดเจน โดย สว่ นประกอบทัง้ หมดจะมีปฏสิ มั พันธต์ อ่ กันและอาจไมจ่ าเปน็ ตอ้ งสมั พนั ธ์กับสภาพแวดล้อม ศรีไพร ศักด์ิรุ่งพงศากุล และเจษฎาพร ยุทธนวิบูลย์ชัย (2549 : 20-21) ให้ความหมาย ของคาว่าระบบว่า หมายถึงกลุ่มของส่วนประกอบหรือระบบย่อยต่าง ๆ ท่ีมีการทางานร่วมกันเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ ซ่ึงส่วนประกอบของระบบประกอบด้วยการนาเข้า (Input) การ

7 ประมวลผล (Process) ผลลัพธ์ (Output) และการให้ข้อมูลสะท้อนกลับ (Feedback) และในที่นี้ยัง ได้ให้ความหมายของคาว่า ระบบสารสนเทศ ว่า เป็นการนาองค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันของ ระบบ มาใช้ในการรวบรวม บันทึก ประมวลผล และแจกจ่ายสารสนเทศเพื่อใช้ในการวางแผน ควบคุม จดั การและสนบั สนุนการตัดสินใจ ปานใจ ธารทัศนวงศ์ (2554 : 42) อธิบายลักษณะของระบบสารสนเทศว่า เป็นการ จัดการสารสนเทศ โดยทั่วไปได้มีการจัดการสารสนเทศอยู่แล้ว แม้จะไม่มีระบบคอมพิวเตอร์ก็ตาม เช่น การบันทึกใส่สมดุ หรอื กระดาษ เป็นต้น ตอ่ มา เมอ่ื มีการพัฒนาระบบคอมพวิ เตอรท์ ี่ทนั สมัย ได้มี การนามาใช้ในการจัดการสารสนเทศ เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งตัวข้อมูลจะเป็นวัตถุดิบของ ระบบในส่วนนาเข้าเพื่อประมวลผลข้อมูลด้วยวิธีต่าง ๆ และได้สารสนเทศเป็นผลลัพธ์ ช่วยทาให้การ ประมวลทาไดร้ วดเรว็ ข้นึ และทาให้สารสนเทศทีไ่ ด้มีคณุ ภาพนา่ เชอื่ ถือมากข้ึน จากความหมายขา้ งต้น เห็นได้ว่าความกา้ วหน้าอย่างรวดเรว็ ของเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ที่ เข้ามามีบทบาทในการจัดการกับสารสนเทศมากข้ึนจนเป็นท่ียอมรับโดยท่ัวไปว่าเป็นเคร่ืองมือท่ี สามารถจัดการข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงอาจให้ความหมายของคาว่าระบบสารสนเทศว่า ระบบสารสนเทศ หมายถึง การทางานร่วมกันของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อทาหน้าท่ีรวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และเผยแพร่สารสนเทศ เพ่ือให้ผู้ใช้สามารถใช้งานสารสนเทศได้ตรงตามความ ต้องการ ในระยะเวลาท่ีเหมาะสม บทบาทและความสาคัญของระบบสารสนเทศในองคก์ ร การจัดทาหรือคัดเลือกระบบสารสนเทศน้ัน ต้องตรงกับความต้องการของผู้ใช้ซึ่งอาจ พิจารณาจากหน้าที่ความรับผิดชอบหรืออานาจในการตัดสินใจของบุคลากร ซ่ึงการใช้งานระบบ สารสนเทศให้ได้ประโยชน์สูงสุดนั้นจะต้องคานึงถึงความเหมาะสมของผู้ใช้เป็นหลักด้วย ดังท่ี Valacich และ Schneider (2012 : 85-87) ได้อธิบายระดับการตัดสินใจในองค์กร และระดับการใช้ สารสนเทศในองค์กร สรปุ ไดด้ ังนี้ 1. ระดบั การตดั สินใจในองคก์ ร ในแต่ละองค์กรอาจมกี ารแบ่งโครงสร้างการบรหิ ารได้หลากหลายรูปแบบ แต่โดยสรุปแล้ว สามารถแบ่งระดับการตัดสินใจในองค์กรได้ 3 ระดับ ได้แก่ ผู้ปฏิบัติการ ผู้บริหารระดับกลางและ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู โดยทกุ ระดับมรี ปู แบบการตัดสินใจที่แตกตา่ งกัน

8 1.1 ผู้ปฏิบัติการ ในการทางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ จาเป็นต้องใช้ข้อมูล ลักษณะวันต่อวัน กล่าวคือต้องเป็นผู้ใช้ข้อมูลในการติดต่อประสานงานกับผู้ใช้บริการ หรือลูกค้า รายละเอียดและวิธีการปฏิบัติงานจะถูกกาหนดไว้จากผู้บริหารระดับสูงกว่า เพื่อให้การทางานเป็น มาตรฐานเดียวกันทั้งองคก์ ร ดังนั้นการตดั สินใจของผู้ปฏิบัติการจึงเป็นลักษณะที่มีรูปแบบท่ีกาหนดไว้ แล้ว เช่น ถ้านักศึกษาคืนหนังสือช้ากว่ากาหนด บรรณารักษ์จะต้องทาการปรบั ตามอัตราที่ได้กาหนด ไว้ ลกั ษณะการตดั สินใจเช่นนีเ้ รียกว่า การตดั สินใจแบบมโี ครงสรา้ ง 1.2 ผู้บริหารระดับกลาง จะทาหน้าท่ีในการประสานงานระหว่างผปู้ ฏิบัติการกับผู้บริหาร ระดับสูง ทาหน้าท่ีควบคุม กากับการทางาน ผู้บริหารระดับกลางจะต้องตัดสินใจให้การดาเนินงานมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือต้องค้มุ ค่าและประหยัดต้นทุนในการดาเนินงาน โดยทั่วไปผบู้ รหิ าร ระดับกลางมักจะต้องแก้ปัญหาด้านการบริหารของแผนกต่าง ๆ มักเป็นปัญหาที่ซับซ้อนมากกว่าท่ีผู้ ปฏิบัติการพบ อาจไม่มีข้อกาหนดในการแก้ปัญหาท่ีเหมือนกันทั้งหมด สถานการณ์หน่ึงอาจต้องใช้ วิธีการแก้ปัญหาแบบหนึ่ง อีกสถานการณ์หน่ึงท่ีคล้ายกันแต่ต่างช่วงเวลาอาจต้องใช้การตัดสินใจอีก แบบหน่งึ ซ่ึงลกั ษณะการตดั สนิ ใจเช่นน้เี รียกว่า การตัดสนิ ใจแบบกงึ่ มีโครงสร้าง 1.3 ผู้บริหารระดับสูง จะมุ่งความสนใจในการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนกลยุทธ์หรือ แผนระยะยาวท่ีได้กาหนดไว้ เช่น การเพ่ิมบริการใหม่ในห้องสมุด การลงทุนขยายสาขาขององค์กร ประเภทสินค้าที่จะผลิตภายใน 5 ปีข้างหน้า การแก้ปัญหาหรือการวางแผนการดาเนินงานมักจะไม่มี รูปแบบหรือขอ้ กาหนดที่คงที่ เน่ืองจากปัญหาและสถานการณ์ทพี่ บสามารถเปลยี่ นแปลงไปตามปัจจัย ภายนอกองค์กรที่มากระทบ ซับซ้อนกว่าผู้ปฏิบัติการระดับอ่ืน ๆ เช่น การตัดสินใจว่าจะวางตลาด ผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ ผู้บริหารระดับสูงต้องคานึงถึงภาวะการตลาด ค่าเงินและการแข่งขันของคู่แข่งใน ขณะนั้น อาจไม่สามารถใช้วิธีการตัดสินใจของผู้บริหารชุดเก่าได้ ลักษณะการตัดสินใจเช่นนี้เรียกว่า การตดั สนิ ใจแบบไมม่ โี ครงสร้าง แม้ว่าแต่ละองค์กรจะมีรูปแบบการบริหาร จานวนแผนกหรือจานวนบุคลากรไม่ เท่ากัน แต่มักจะมีรูปแบบการตัดสินใจอยู่ใน 3 ระดับดังท่ีได้กล่าวไป ซึ่งระดับการตัดสินใจแต่ละ ระดับจะใช้ระบบสารสนเทศท่ีแตกตา่ งกันเพื่อชว่ ยให้ผู้ปฏิบัติงานตดั สินใจได้ถกู ต้องแมน่ ยามากขึ้น

9 2. ระดับการใช้สารสนเทศในองคก์ ร ระดับการใช้สารสนเทศในองค์กร สามารถจาแนกได้ตามระดับการตัดสินใจในองค์กร นั้น คือการใช้สารสนเทศสาหรบั ผู้ปฏิบตั กิ าร ผบู้ ริหารระดับกลาง และผบู้ ริหารระดับสูง โดยแต่ละระดับมี รปู แบบสารสนเทศที่แตกต่างกัน ดงั นี้ 2.1 สารสนเทศสาหรับผู้ปฏิบัติการ เนอื่ งจากผู้ปฏิบัตกิ ารต้องใชส้ ารสนเทศเพ่อื ปฏบิ ตั ิงาน ประจาเป็นรายวัน ท้ังสาหรับการตอบคาถามผู้ใช้บริการ การค้นหาข้อมูลเฉพาะหน้า และใช้ตัดสินใจ ในรูปแบบท่ีเป็นการตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง ดังน้ันสารสนเทศสาหรบั ผู้ปฏิบัติการจึงควรมีรูปแบบที่ สามารถนามาใชแ้ ก้ปัญหาได้ในทันที เช่น การกาหนดเวลาส่งคนื หนังสอื ของสมาชิกห้องสมุด ตาแหน่ง ทจ่ี ดั เกบ็ หนงั สือท่ีผใู้ ช้ตอ้ งการ 2.2 สารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับกลาง รูปแบบการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง จะเป็นลักษณะการตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง เน้นการติดตามและควบคุมการทางานให้เป็นไปตาม แผนงานระยะส้ัน การบริหารให้เกิดการใช้ทรัพยากรในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น สารสนเทศสาหรบั ผู้บริหารระดับกลางควรเปน็ สารสนเทศที่เปน็ ขอ้ สรุป เพ่ือให้ผู้บริหารระดับกลางได้ ใช้ในการตัดสินใจดาเนินงานต่อไป เช่น จานวนสินค้าคงเหลือในคลังสินค้า จานวนสินค้าที่ขายได้ สงู สดุ ในรอบสปั ดาห์ 2.3 สารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง โดยผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้กาหนดทิศทางการ ดาเนินงานขององค์กรให้เป็นไปตามแผนกลยุทธ์หรือแผนระยะยาว ซึ่งจาเป็นต้องใช้ข้อมูลทั้งจาก ภายนอกองค์กรและภายในองค์กร รวมถึงข้อมูลในอดีตมาใช้ประกอบการตัดสินใจซึ่งข้อมูลมีจานวน มาก ต้องใช้เวลานานในการศึกษาข้อมูลทั้งหมด ซ่ึงอาจทาให้เสียโอกาสที่องค์กรจะแข่งขันกับคู่แข่ง ดังนั้น สารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูงจึงควรอยู่ในรูปแบบสรุปที่สามารถเข้าใจและเปรียบเทียบ แนวโน้มได้ง่าย เช่น อยู่ในรูปแบบของตารางสรุป มีกราฟเปรียบเทียบหรืออาจมีการพยากรณ์ แนวโนม้ ในอนาคต รูปแบบของสารสนเทศท่ีผู้ใช้เลือกใช้ จะเป็นแนวทางให้กับองค์กรในการเลือกระบบ สารสนเทศทเี่ หมาะสมตอ่ ไป

10 3. ความสาคญั และประโยชน์ของการใชร้ ะบบสารสนเทศในองค์กร การนาระบบสารสนเทศเข้ามาช่วยสนับสนุนการทางานในองค์กร มีข้อดีหลายประการ แต่สามารถสรุปเป็นประเด็นสาคัญหลัก ๆ ได้ 3 ประเด็น ได้แก่ ช่วยให้การทางานรวดเร็วข้ึน ทาให้ องค์กรเกิดการเรียนรู้ และช่วยสนับสนุนการทางานให้เป็นไปตามแผนกลยุทธ์ (Valacich and Schneider. 2012 : 88-90) 3.1 ระบบสารสนเทศช่วยให้เกิดการทางานแบบอัตโนมัติ (Automate) การทางานโดย อัตโนมัติน้ีจะช่วยลดเวลาในการทางาน ทาให้ผู้ปฏบิ ัติงานทางานได้รวดเรว็ ข้ึน และลดความผิดพลาด ในการทางานอนั เกิดจากการเหน่ือยล้าหรือความผิดพลาดของมนษุ ย์ เชน่ การคน้ หาหมายเลขสมาชิก ห้องสมุดของระบบยืมคนื หนังสือโดยอตั โนมัติ ทาให้บรรณารักษ์สามารถให้บริการยืมหนังสือแก่ผ้ใู ช้ได้ รวดเร็วกว่าการค้นหาจากบัตรสมาชิกห้องสมุด ระบบขายของที่ห้างสรรพสินค้าสามารถคิดราคา สินคา้ และคานวณเงนิ ทอนให้แก่ผขู้ ายโดยอัตโนมัติ ระบบสารสนเทศท่ีสนับสนุนงานในระดับผู้ปฏิบัติการโดยส่วนใหญ่จะเป็นระบบ อัตโนมัติ เพอ่ื ลดเวลาในการทางานในกจิ กรรมที่ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งทาซ้าเปน็ ประจา 3.2 ระบบสารสนเทศช่วยให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ (Organizational learning) สาหรับ การพัฒนาระบบสารสนเทศหนึ่งระบบน้ัน ต้องมีกระบวนการในการศึกษาระบบงานปกติขององค์กร จนได้แนวทางปฏิบัติท่ีเป็นมาตรฐาน ได้รับการยอมรับโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากองค์กรท่ีมีการทางาน ตามมาตรฐาน จงึ จะนามาพัฒนาเปน็ ระบบสารสนเทศได้ ดังนั้นการท่ีองค์กรได้ปฏิบัตงิ านตามขั้นตอน ของระบบท่ีได้ออกแบบมาดีแล้วจึงเป็นแนวทางในการพัฒนางานของตนเองให้เข้าสู่มาตรฐาน หรือ พัฒนาสู่กระบวนการที่ดีข้ึน เช่น การนาระบบยืมคืนหนังสืออัตโนมัติมาใช้งาน ทาให้ผู้ปฏิบัติงานท่ี ต้องทางานได้ตามระบบน้ันได้พัฒนากระบวนการของตนไปตามมาตรฐานท่ีห้องสมุดขนาดใหญ่ใช้ การนาระบบบัญชีสาเรจ็ รูป ซึ่งไดร้ บั การออกแบบระบบใหม้ ีข้ันตอนตามมาตรฐานการลงบัญชี บางกรณีที่องค์กรอาจประสบปัญหาจากการใช้ระบบสารสนเทศที่ไม่ตรงกับขั้นตอน การปฏิบตั ิงาน องค์กรสามารถใชโ้ อกาสนั้นในการทบทวนแนวทางการปฏิบตั ิงาน อยา่ งไรก็ตามแม้ว่า ระบบสารสนเทศท่ีได้รับการออกแบบให้รองรับการทางานตามมาตรฐานแล้ว แต่ต้องสามารถ ปรบั เปล่ยี นตามเงอ่ื นไขการปฏิบตั ิงานขององค์กรไดด้ ้วย 3.3 ระบบสารสนเทศช่วยสนับสนุนให้การทางานเป็นไปตามแผนกลยุทธ์ (Supporting strategy) หรือแผนระยะยาวขององค์กร การใช้ระบบสารสนเทศแบบอัตโนมัติหรือการใช้ระบบ

11 สารสนเทศมาช่วยพัฒนากระบวนการทางานขององค์กร จะส่งผลให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมาย ตามแผนระยะยาวขององคก์ รไดง้ ่ายข้ึน โดยทั่วไปทุกองคก์ รจะมีการวางแผนการดาเนินงานระยะยาว อาจเป็นระยะ 5-10 ปี มีการกาหนดเป้าหมายท่ีจะดาเนินการไว้เรียกว่าแผนกลยุทธ์ องค์กรจะต้อง วางแผนระยะสน้ั หรอื แผนประจาปเี พื่อให้ดาเนนิ งานไปจนถงึ เปา้ หมายตามแผนกลยทุ ธใ์ ห้ได้ ระบบสารสนเทศจะช่วยประมวลผล สรุป วิเคราะห์ข้อมูลแนวโน้มการดาเนินงาน เพอ่ื ใหผ้ บู้ รหิ ารสามารถตัดสินใจได้ถูกตอ้ งมากขึน้ และใชเ้ วลาในการตัดสินใจนอ้ ยลง ซงึ่ ในทางธรุ กิจที่ มีการแข่งขันสูง เวลาในการตัดสินใจเพื่อดาเนินการนับเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้องค์กรได้เปรียบ คแู่ ข่งขนั อ่นื กระบวนการทางานพื้นฐานและองคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศจะอยู่ในรูปแบบท่ีมีประโยชน์สาหรับองค์กรต้องอาศัยกระบวนการหรือ ขั้นตอนการทางานท่ีดี มีองค์ประกอบท่ีสามารถทางานรว่ มกันได้อย่างสอดคล้อง ซ่ึงหลักการที่สาคัญ คือ กระบวนการทางานพน้ื ฐาน และองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1. กระบวนการทางานพ้นื ฐานของระบบสารสนเทศ กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ ประกอบด้วยกระบวนการหลัก 3 กระบวนการ ได้แก่ การนาข้อมูลเข้า (Input) การประมวลผล (Process) และการนาเสนอผลลัพธ์ (Output) ซึ่ง ผลลัพธ์ที่ได้จะกลายเป็นผลป้อนกลับ (Feedback) ดังแสดงในภาพที่ 1.3 และนาผลป้อนกลับมา ย้อนกลับมานาเข้าเพ่ือเป็นข้อมูลเข้าได้อีกครั้ง โดยผลป้อนกลับน้ีอาจนาไปประมวลผลใหม่เพื่อให้ได้ สารสนเทศท่ีทันสมัยมากข้ึนหรือนาไปประมวลผลใหม่ในกรณีที่มีการประมวลผลผิดพลาด (ณัฐพร เหน็ เจริญเลิศ และทรงลักษณ์ สกุลวิจติ รส์ ินธุ. 2554 : 1-13) ดงั น้ี 1.1 การนาข้อมูลเข้า เป็นข้อมูลท่ีใช้เข้าสู่ระบบ เพื่อประโยชน์ในการนาไปประมวลผลให้ อยู่ในรูปของสารสนเทศที่เหมาะสาหรับการบริหารงานหรือการตัดสินใจ เป็นได้ท้ังข้อมูลท่ีผ่านการ ประมวลผลแลว้ หรอื ยังไมผ่ ่านการประมวลผล 1.2 การประมวลผล เป็นการเปล่ียนแปลงขอ้ มลู ทไี่ ด้รับมาจากการนาข้อมูลเข้ามาคานวณ สรปุ หรือกระทาการอ่นื ๆ เพ่อื ใหม้ ีความหมายและสามารถนาไปใช้ประโยชนต์ ามท่ีผใู้ ชต้ ้องการ 1.3 การนาเสนอผลลัพธ์ เป็นการนาเสนอข้อมูลท่ีผ่านการประมวลผลแล้วในรูปแบบท่ี เหมาะสมกับผู้ใช้ เช่น อย่ใู นรูปแบบรายการสรุปผล การเปรียบเทยี บ กราฟหรอื รูปภาพ เป็นต้น

12 1.4 ผลปอ้ นกลับ เปน็ การวัดผลลพั ธ์ที่ไดจ้ ากการนาเสนอผลลพั ธว์ ่าถกู ต้อง ตรงตามความ ต้องการของผู้ใช้หรือไม่ ถ้าผลป้อนกลับออกมาเป็นเชิงบวกจะหมายถึงว่าระบบสารสนเทศน้ัน เหมาะสม สามารถนาไปใช้งานต่อได้ แต่หากผลป้อนกลับเป็นลบ ผู้เกี่ยวข้องกับระบบอาจต้อง พจิ ารณาปรับปรงุ ใหถ้ ูกต้องและเหมาะสมเพื่อใหส้ ามารถใช้งานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพต่อไป การนาข้อมูลเขา้ การประมวลผล การนาเสนอ ผลลพั ธ์ ผลป้อนกลับ ภาพที่ 1.3 กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ ทม่ี า : ณัฐพร เหน็ เจริญเลศิ และทรงลักษณ์ สกุลวจิ ิตร์สนิ ธุ. 2554 : 1-13. 2. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศจะสามารถทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องมีองค์ประกอบ ที่ต้องมาทางานร่วมกัน (ณัฐพร เห็นเจริญเลิศ และทรงลักษณ์ สกุลวิจิตร์สินธุ. 2554 : 1-13) ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม (Computer network and Telecommunication) บุ ค ล า ก ร (People) ก ร ะ บ ว น ก า ร (Procedure) และฐานข้อมลู (Database) สามารถแสดงเปน็ แผนภาพไดด้ ังน้ี ฐานขอ้ มลู ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ กระบวนการ ระบบสารสนเทศ ระบบเครอื ขา่ ย บุคลากร คอมพวิ เตอรแ์ ละ โทรคมนาคม ภาพที่ 1.4 องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศ ที่มา : ณฐั พร เหน็ เจรญิ เลศิ และทรงลกั ษณ์ สกลุ วิจิตร์สนิ ธ.ุ 2554 : 1-14.

13 จากภาพที่ 1.4 สามารถอธบิ ายองคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศได้ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีนามาประกอบเป็นชุดที่ต้องทางานร่วมกัน สามารถมองเห็นและสัมผัสได้ แบ่งเป็นอุปกรณ์นาเข้า อุปกรณ์ประมวลผล อุปกรณ์แสดงผล และ อปุ กรณ์จดั เกบ็ ข้อมลู 2.2 ซอฟต์แวร์ เป็นชุดคาสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานในการประสานการทางาน ระหว่างอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ รวมทั้งทาหน้าท่ีส่ือสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และผู้ใช้ แบ่งได้ เปน็ ซอฟตแ์ วร์ระบบ และซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ 2.3 ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์และโทรคมนาคม คือ การเชื่อมต่ออุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ หรืออปุ กรณ์คอมพิวเตอรต์ ั้งแต่ 2 เครอื่ งขน้ึ ไป เพ่อื ใหเ้ กิดการทางานและแบ่งปนั การใช้ข้อมูลร่วมกัน 2.4 บุคลากร นับเป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญ เพราะเป็นผู้กาหนดกระบวนการทางานของ ระบบสารสนเทศ ต้ังแต่การนาขอ้ มลู เข้า วิธกี ารประมวลผล และออกแบบผลลัพธ์ท่ีต้องการ ซ่ึงระบบ สารสนเทศจะประสบความสาเร็จหรือล้มเหลวมักข้ึนกับการวางระบบการทางาน และความร่วมมือ จากบคุ ลากร 2.5 กระบวนการ คือ ข้ันตอนการทางานกับระบบสารสนเทศขององค์กร มีการกาหนด เป็นวิธีการ และกฎเกณฑ์ในการใช้งาน ตั้งแต่การปฏิบัติงาน การบารุงรักษาและการรักษาความ ปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ 2.6 ฐานข้อมูล เป็นที่เก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันไว้ด้วยกัน โดยจัดระบบให้ข้อมูลไม่ เกิดความซับซอ้ น สามารถจดั เก็บและค้นคนื ไดง้ า่ ย ประเภทของระบบสารสนเทศ ในทุกองค์กรต่างมีสารสนเทศท่ีต้องใช้ในการดาเนินกิจการขององค์กรอยู่หลายรูปแบบ ขน้ึ กับความรับผิดชอบในสว่ นงาน และรูปแบบของการตดั สนิ ใจของบคุ ลากรในส่วนงานน้ัน การเลือก หรือจัดทาระบบสารสนเทศจึงต้องรองรับการทางานในแต่ละรูปแบบได้อย่างเหมาะสม ในแต่ละ องค์กรจึงต้องมีระบบสารสนเทศหลายรูปแบบเพ่ือรองรับการทางานให้ครบถ้วน โดยสามารถจาแนก ได้ 3 ประเภท ได้แก่ ระบบสารสนเทศเพื่อการประมวลผล ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ และ ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (ณัฐพร เห็นเจริญเลิศ และทรงลักษณ์ สกุลวิจิตร์สินธุ. 2554 : 1-16)

14 1. ระบบสารสนเทศเพอ่ื การประมวลผล ระบบสารสนเทศเพื่อการประมวลผล (Transactions Processing Systems : TPS) เป็น ระบบสารสนเทศที่นับได้ว่าเป็นกระบวนการแรกของระบบสารสนเทศทั้งหมด เน่ืองจากเป็นระบบ สารสนเทศที่จะเป็นส่วนรับข้อมูลเข้า เป็นส่วนท่ีช่วยบันทึกรายละเอียดของงานหรือเรียกว่าส่วน ธุรกรรมข้อมูล (Transaction) เช่น รายการสินค้า รายการรับเงิน รายการยืมคืนหนังสือ ข้อมูลที่ จดั เก็บในระบบนี้จึงต้องสามารถเรียกใช้ไดส้ ะดวก เท่ียงตรงและต้องทนั ตอ่ เวลาในการใช้งาน ตวั อย่าง ของระบบนี้ เช่น ระบบงานสาหรับบันทึกรายการทางานของเครื่องเบิกเงินอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine : ATM) ระบบบันทึกการยืมคืนหนังสือในห้องสมุด ระบบบันทึกข้อมูลรายการขาย อาหาร วัตถุประสงค์หลักของระบบสารสนเทศเพื่อการประมวลผลน้ี จะใช้สาหรับตอบคาถามใน งานหรือรายการข้อมูลที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงเป็นประจา เช่น จานวนเงินคงเหลือในธนาคาร รายการหนังสือที่ผู้ใช้ห้องสมุดค้างส่ง เป็นต้น จึงเหมาะกับบุคลากรฝ่ายปฏิบัติการท่ีปฏิบัติหน้าท่ี ประจาส่วนใหบ้ รกิ าร ตัวอยา่ งของระบบสารสนเทศเพ่ือการประมวลผล เช่น ระบบซื้อขายสินค้า ระบบการขาย และส่ังสินค้า ระบบจัดการคลังสินค้า ระบบบัญชี เป็นต้น ดังในภาพท่ี 1.5 เป็นตัวอย่างของระบบ สารสนเทศเพื่อการประมวลผล สาหรับบันทึกข้อมูลการขายอาหารของร้านอาหารแห่งหนึ่ง เพ่ือ อานวยความสะดวกแก่พนักงานในการบันทึกรายการอาหาร และส่งข้อมูลต่อไปยังส่วนงานอื่น ๆ ที่ เกย่ี วข้อง

15 ภาพที่ 1.5 ระบบบนั ทกึ ข้อมูลการขายอาหาร ท่มี า : กีออสโต้. ออนไลน์. 2554. 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (Management Information Systems : MIS) ระบบ สารสนเทศประเภทน้ีจะเป็นระบบสารสนเทศท่ีมีการสรุปข้อมูลท่ีได้รับมาจากระบบสารสนเทศเพื่อ การประมวลผล เช่น รายงานสรุปรายการสินค้าคงเหลือประจาสัปดาห์ รายงานผลประกอบการ ประจาเดือน รายงานจานวนผู้ใช้ห้องสมุดประจาภาคเรียน เป็นต้น ข้อมูลเหล่าน้ีจะเป็นประโยชน์ใน การตัดสินใจในระยะสั้น เช่น การตัดสินใจส่ังซื้อสินค้าเข้าคลังสินค้าเพิ่มเติม เป็นต้น ผลลัพธ์ของ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ จะอยู่ในรูปแบบของรายงานประจาช่วงเวลาต่าง ๆ ท่ีมีการกาหนด ระยะเวลาในการรายงานแน่นอน เช่น รายงานประจาสัปดาห์ รายงานประจาเดือน รายงานประจา ไตรมาส รายงานประจาปี เปน็ ต้น วัตถุประสงค์หลักของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คือออกแบบให้เป็นเคร่ืองมือ สาหรับการตรวจสอบ การควบคุมและใช้ในการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง ข้อมูลจึงควรอยู่ใน รูปแบบการสรุปที่เข้าใจง่ายและกะทัดรัด มีการนาเสนอผลเปรียบเทียบในรูปแบบกราฟ แบบตาราง หรอื แบบอ่นื ที่อานวยความสะดวกในการตดั สนิ ใจปฏบิ ตั งิ าน

16 ตวั อย่างของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เช่น ระบบจัดการเงิน ระบบสารสนเทศเพ่ือ การวางแผนการผลิต ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการคลังสินค้า ตัวอย่างดังภาพที่ 1.6 เป็นระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการคลังสินค้าของบรษิ ัทแห่งหนึ่ง โดยบันทึกว่าในแผนกผลิตวัตถุดิบ มีสินค้าที่ อยู่ในคลังสินค้าจานวนเท่าใด เก็บอยู่ที่คลังสินค้าใด จานวนในการจัดเก็บและเม่ือคิดต้นทุนต่อหน่วย แล้วมีมูลค่าเท่าใด และสามารถสรุปยอดคงเหลือจากการตรวจสอบในรอบระยะเวลาที่ผ่านมา เพ่อื ให้ ผจู้ ดั การตัดสนิ ใจไดว้ า่ จาเป็นต้องหาสินคา้ ดังกลา่ วมาเก็บในคลงั สนิ ค้าหรือไม่ ภาพท่ี 1.6 ตัวอยา่ งระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการคลงั สินค้า ทมี่ า : โปรซอฟท์ คอมเทค. ออนไลน์. 2552. 3. ระบบสารสนเทศสาหรบั ผูบ้ รหิ าร ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บรหิ าร (Executive Information Systems – EIS) เปน็ ระบบ สารสนเทศท่ีจัดทาขึ้นสาหรับสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร ที่ต้องตัดสินใจวางแผนการ ดาเนินงานในระยะยาวหรอื แผนกลยุทธ์ รูปแบบของระบบสารสนเทศสาหรับผบู้ รหิ ารจงึ อยใู่ นรูปแบบ ที่ยืดหยุ่น นอกเหนือไปจากการมีข้อมูลสรุปผลในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ ผู้บริหารยังสามารถกาหนด หรือทดลองใส่ค่าเพื่อคาดคะเนแนวโน้มการดาเนินธุรกิจได้ เช่น พยากรณ์ว่าหากนาสินค้าที่ต้นทุนสูง ออกขายในตลาด จะต้องใชร้ ะยะเวลาในการคืนทุนนานเทา่ ใด

17 วัตถุประสงค์หลักของระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร คือการพยากรณ์แนวโน้มเพ่ือให้ ผู้บริหารเลือกตัดสินใจในการดาเนินงาน ดังน้ัน ตัวระบบจึงมีการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีซับซ้อนกว่าระบบ อื่น ๆ จงึ ตอ้ งประกอบดว้ ยรูปแบบจาลองหลายรปู แบบเพ่อื นามาใช้ในการวเิ คราะห์และแสดงผลให้อยู่ ในรูปแบบท่ีผู้บริหารต้องใช้โดยตรง ผู้ใช้สามารถต้ังคาถามหรือเปลี่ยนแปลงเง่ือนไขเพ่ือดูผลลัพธ์ได้ ตามท่ีต้องการ ตัวอย่างของระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร เช่น ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems : DSS) ดังแสดงในภาพท่ี 1.7 เป็นการแสดงผลข้อมูลจาหน่ายสินค้า โดยแสดงผลเป็นกราฟเพื่อวิเคราะห์แนวโน้มตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การตัดสนิ ใจของผู้บริหาร ภาพท่ี 1.7 ตัวอยา่ งผลลพั ธ์ของระบบสารสนเทศสาหรบั ผู้บริหาร ทีม่ า : Inetsoft Technology. Online. 2014. 4. ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสารสนเทศ ในองค์กรท่ีมีบุคลากรทางานในหลายระดับ จาเป็นต้องใช้ระบบสารสนเทศท่ีแตกต่างกัน โดยระบบสารสนเทศแต่ละระบบจะมีกระบวนการประมวลผลและรูปแบบของผลลพั ธ์ท่ีไม่เหมือนกัน สรุปไดด้ งั ตารางท่ี 1.1

18 ตารางที่ 1.1 การเปรยี บเทียบคุณลกั ษณะของระบบสารสนเทศ ระบบ วตั ถปุ ระสงค์ ขอ้ มูลนาเขา้ ผลลัพธ์ ผใู้ ช้ - รายงาน - ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ระบบสารสนเทศ - สนบั สนนุ การ - รายการ รายละเอียด - ผูค้ วบคมุ งาน - รายการสรปุ เพ่อื การ ปฏบิ ตั ิงาน เปลีย่ นแปลง - บนั ทกึ ย่อ - ผู้บรหิ าร ระดับกลาง ประมวลผล ประจาวนั ขอ้ มูล - รายงานสรปุ ตามชว่ ง - ผู้บรหิ าร - ใช้แก้ปญั หา - เหตุการณท์ วั่ ไป ระยะเวลาที่ ระดับสูง กาหนด เฉพาะหนา้ ทเี่ กดิ ขึ้น ท่ีเกดิ ขึ้น - รายงานความ ในการปฏบิ ตั งิ าน ผดิ ปกติในการ ดาเนินงาน ระบบสารสนเทศ - ควบคมุ จดั การผล - ข้อสรปุ รายการ - รายงานผลการ พยากรณ์ เพอื่ การจัดการ การปฏบิ ตั งิ าน ทางาน เหตกุ ารณห์ รือ แนวโนม้ ของ - สนับสนุนการ - ขอ้ มูลที่มี องค์กร วางแผนและ ปริมาณมาก ตดั สินใจในการ ดาเนนิ งานตามแผน ระยะสั้น ระบบสารสนเทศ - สนับสนุนการ - ข้อมูลจากสว่ น สาหรบั ผูบ้ รหิ าร วางแผนและ งานตา่ ง ๆ ท้งั ตดั สนิ ใจในการ ภายในและ ดาเนนิ งานตาม ภายนอก แผนกลยุทธ์ (แผนระยะยาว) ที่มา : ณัฐพร เหน็ เจรญิ เลศิ และทรงลกั ษณ์ สกุลวจิ ติ รส์ นิ ธ.ุ 2554 : 1-1. จากตารางท่ี 1.1 จะพบว่า ข้อมูลนาเข้าของระบบสารสนเทศเพื่อการประมวลผลคือ ข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงหรือรายการที่เกิดขึ้น ซ่ึงเป็นระบบหลักที่ทาหน้าท่ีรวบรวมข้อมูลเข้ามา เพ่ือเป็นข้อมูลนาเข้าให้แก่ระบบอื่น ๆ ในขณะที่ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารจะรับข้อมูลทั้งจาก ระบบสารสนเทศเพ่ือการประมวลผล และระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารไปใช้เป็นข้อมูลนาเข้าเพื่อ

19 ประมวลผล หากสรุปความสัมพันธ์ของระบบสารสนเทศเป็นภาพ โดยมีลูกศรแสดงถึงเส้นทางของ สารสนเทศที่จะเข้าสแู่ ตล่ ะระบบ จะแสดงได้ดงั ภาพท่ี 1.8 ระบบสารสนเทศสาหรบั ผูบ้ ริหาร ระบบสารสนเทศ เพ่ือการจัดการ ระบบสารสนเทศ เพอ่ื การประมวลผล ภาพที่ 1.8 ความสมั พนั ธ์ของระบบสารสนเทศ 5. ระบบสารสนเทศประเภทอื่น จากท่ีกล่าวมา เป็นการแบ่งประเภทของระบบสารสนเทศตามลาดับชั้นของการตัดสินใจ ซึง่ แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ผู้ปฏิบัติการ ผู้บรหิ ารระดับกลางและผู้บรหิ ารระดบั สูง แต่ยังสามารถแบ่ง ประเภทของระบบสารสนเทศตามวัตถุประสงคก์ ารใชง้ านนอกเหนอื จากท่ีกลา่ วไปแลว้ ดงั นี้ 5.1 ระบบสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการตัดสินใจ เป็นระบบสารสนเทศที่มวี ัตถปุ ระสงค์ใน การจัดทาเพื่อให้องค์กรใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาต่าง ๆ มักเป็นปัญหาที่มีลักษณะท่ีไม่มีโครงสร้างของ คาถามคาตอบที่ชัดเจน มีคาถามในลักษณะ “จะเกิดอะไรขึ้น..ถ้า...” หรือคาถามแบบ what-if เช่น ถ้าต้องการได้รับผลตอบแทนสงู สดุ จะต้องลงทุนในสินคา้ ใดเป็นจานวนเทา่ ใด เปน็ ตน้ รูปแบบของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ผู้ใช้จะสามารถ เปลย่ี นแปลงคา่ ที่ปอ้ นลงในระบบ เพ่ือหาคาตอบหรือผลลพั ธ์ที่ดีทส่ี ุด การนาเสนอผลลัพธ์ของระบบน้ี มักออกมาในรูปแบบทั้งตัวอักษรและกราฟเพื่อผู้ใช้จะได้สามารถเปรียบเทียบผลลัพธ์ได้สะดวกขึ้น ตัวอย่างของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ได้แก่ ปัญญาประดิษฐ์ ท่ีนิยมใช้ในด้าน วิศวกรรม และระบบผู้เชี่ยวชาญ ท่ีนิยมใช้ในวงการแพทย์ เป็นต้น (Valacich and Schneider. 2012 : 285)

20 5.2 ระบบสารสนเทศสานักงาน (Office Information Systems) หรือระบบสานักงาน อัตโนมัติ (Office Automation Systems) เป็นระบบสารสนเทศในองค์กรท่ีดาเนินการต้ังแต่จัดทา สร้าง จัดเก็บ กระจายและเผยแพร่สารสนเทศ ตัวอย่างของระบบสารสนเทศสานักงาน ได้แก่ ระบบ การจัดการเอกสาร ระบบประชุมทางไกล ระบบสนับสนุนสานักงาน ระบบสนับสนุนการทางาน ร่วมกัน เป็นต้น (สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 1-39) ระบบสารสนเทศสานักงานมักใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์พ้ืนฐานทั่วไปในการจัดการกับสารสนเทศ ร่วมกับโปรแกรมประเภทส่ือสารทางไกล และ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ เชน่ เครื่องโทรสาร (Fax) เคร่อื งกราดภาพ (Scanner) กลอ้ งดจิ ทิ ลั 5.3 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographical Information Systems : GIS) คือ ระบบคอมพิวเตอร์เกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพ้ืนที่ สามารถจาลองความสัมพันธ์ระหว่างพื้นท่ีแต่ละช้ันบน พ้ืนโลก มีรายละเอียดของข้อมูลตามเส้นลองจิจูด ละติจูดและระดับความสูงของพ้ืนที่ ตัวอย่างของ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เช่น การจัดเส้นทางการรับส่งสินค้าท่ีประหยัด ค่าใชจ้ ่าย การศึกษาขอ้ มลู เพ่ือขุดเจาะวางระบบระบายน้าท่ีเหมาะสมกบั พื้นที่ ภาพท่ี 1.9 ระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์เพือ่ การจดั สรรทรพั ยากรภาครฐั และโครงสร้างของ ระบบราชการท่ีฐานลา่ ง ที่มา : สมบตั ิ อยู่เมือง. ออนไลน์. 2554.

21 นอกเหนือจากระบบสารสนเทศดังท่ีกล่าวมา ยังมีระบบสารสนเทศแบบอ่ืน ๆ ท่ีองค์กรจะ เลอื กใชต้ ามความตอ้ งการสารสนเทศ ซ่ึงมีวัตถปุ ระสงคแ์ ละรปู แบบการบริหารองค์กรที่ต่างกันและยัง ต้องคานงึ ถึงรูปแบบการปฏบิ ัติงานของบคุ ลากรทแ่ี ตกตา่ งกนั ของแต่ละองคก์ รอีกด้วย การนาระบบสารสนเทศไปใช้ในองค์กร ในองค์กรหน่ึงจะแบง่ ส่วนการทางานหรอื ท่ีเรียกวา่ การจัดโครงสรา้ งขององค์กรแตกตา่ งกันไป ตามความเหมาะสมของการปฏิบัติงาน ซึ่งระบบสารสนเทศที่เลือกใช้ต้องตรงกับระดับการตัดสินใจ และความต้องการของผู้ปฏิบัติงานดังท่ีได้กล่าวไปแล้วข้างต้น ในท่ีน้ีจะยกตัวอย่างการนาระบบ สารสนเทศไปใช้ในองค์กรที่มีการจัดโครงสร้างองค์กรโดยแบ่งตามหน้าที่ หลักตามแนวคิดของ Valacich และ Schneider (2012 : 88) ได้แก่ งานด้านบัญชี งานการเงิน งานบริหารทรัพยากร บคุ คล งานการตลาด และงานการผลติ ซ่ึงในแต่ละองค์กรอาจจะตงั้ ชือ่ หน่วยงานยอ่ ยที่แตกตา่ งกันไป อธิบายได้โดยสรุป ดังนี้ 1. การนาระบบสารสนเทศไปใชใ้ นงานด้านบญั ชี ผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชี มีหน้าที่บันทึกรายการทางการเงินเพ่ือตรวจสอบความถูกต้องของ การเบิกจ่ายหรือรับเงิน จัดทารายงานทางการเงิน จัดเก็บเอกสารทางบัญชีเพื่อให้หน่วยงานที่ เกี่ยวขอ้ งตรวจสอบ ผู้ที่เก่ียวข้องกับงานบัญชี ประกอบไปด้วยพนักงานบัญชี ผู้จัดการงานด้านบัญชีและ ผู้บริหารระดับสูงที่ดูแลกากับงานด้านบัญชี ซ่ึงพนักงานบัญชีจะบันทึกรายการบัญชีประจาวันผ่าน โปรแกรมบัญชีสาเร็จรูป โดยโปรแกรมบัญชีสาเร็จรูปจะช่วยอานวยความสะดวกในการคานวณ ตัวเลขโดยอัตโนมตั ิเพ่ือลดความผิดพลาด จากน้นั จะทาการสรปุ ข้อมูลบญั ชรี ายรบั รายจ่ายเป็นรายวัน รายสัปดาห์ รายเดือนและรายไตรมาส (ทุก 3 เดือน) เสนอต่อผู้บริหารระดับกลางเพ่ือตรวจสอบ ความผิดปกติของรายรับและรายจ่าย จากน้ันผู้บริหารระดับกลางต้องประมวลผลข้อมูลต่อผู้บริหาร ระดับสูงทาการวเิ คราะหอ์ ตั ราส่วนทางการเงนิ เพื่อขยายโอกาสให้องค์กรสามารถทากาไรไดส้ ูงขน้ึ 2. การนาระบบสารสนเทศไปใช้ในงานการเงนิ งานการเงิน ทาหน้าท่ีในการเบิกจ่ายเงินท้ังภายในและภายนอกองค์กร ข้อมูลของฝ่าย การเงินจะต้องสอดคล้องกับงานด้านบัญชี เน่ืองจากเป็นการทางานที่ต้องมีการตรวจสอบซ่ึงกันและ

22 กนั เพ่ือป้องกนั การทุจรติ และเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ถกู ต้องแม่นยาในการตัดสนิ ใจดาเนินงาน ผู้ท่ีเกี่ยวข้องในงานการเงิน ได้แก่ พนักงานการเงิน ผู้จัดการงานการเงิน และผู้บริหาร ระดับสูงที่ดูแลด้านการเงิน โดยพนักงานการเงนิ จะต้องบันทึกข้อมูลการเบิกจ่ายเงินในแต่ละวันไว้ใน โปรแกรมการเงินหรือโปรแกรมบริหารกระแสเงินสด ซ่ึงจะบันทึกรายละเอียดการจ่ายเงินและเก็บไว้ เป็นหลักฐาน เช่น ชื่อท่ีอยู่และเลขประจาตัวประชาชนของผู้รับเงิน หมายเลขเช็คท่ีจ่ายเงิน เป็นต้น จากนั้นระบบจะทาการประมวลผลเพื่อให้ผู้จัดการงานการเงินนาไปประมาณการงบการเงินเพื่อดู ฐานะทางการเงินขององค์กร จากน้ันจึงนาเสนอให้ผู้บริหารระดับสูงนาเข้าระบบบริหารจัดการการ ลงทุน เพ่อื ตดั สนิ ใจในการลงทุนตอ่ ไป 3. การนาระบบสารสนเทศไปใชใ้ นงานบริหารทรพั ยากรบคุ คล งานบริหารทรพั ยากรบุคคล มีหน้าท่ีในการวางแผนอัตรากาลงั ของพนักงานในองค์กรให้มี จานวนท่ีเหมาะสมต่อปริมาณงานและวางแผนในการพัฒนาพนักงานให้มีศักยภาพ มีฝีมือ สามารถ ผลิตสินค้าหรอื บรกิ ารให้สงู กวา่ คู่แขง่ พนักงานในงานบริหารทรัพยากรบุคคลจะมีประวัติส่วนตัว ความเชี่ยวชาญ ตาแหน่ง อัตราเงินเดือนและรายละเอียดของพนักงานทุกคนไว้ในระบบสารสนเทศบุคลากร เช่น ข้อมูล การศึกษาต่อ ข้อมูลการไปอบรมเพื่อเพิ่มทักษะการทางาน ข้อมูลวันลา ซึ่งผู้จัดการที่ดูแลงานบริหาร ทรัพยากรบุคคลจะนาข้อมูลต่าง ๆ เหล่าน้ีมาประมวลเพอื่ ใชใ้ นการบรหิ ารค่าตอบแทนและสวัสดิการ ให้กับพนักงานอย่างเหมาะสม รวมถึงวางแผนในการพัฒนาพนักงาน สาหรับผู้บริหารระดับสูงท่ีดูแล งานบริหารทรัพยากรบุคคลจะนาสารสนเทศเหล่าน้ีมาวิเคราะห์แนวโน้มอัตรากาลังของพนักงานเม่ือ เปรยี บเทียบกบั ผลประกอบการ ว่าควรเพ่ิมหรือลดจานวน หรือควรพัฒนาพนักงานเพ่ือให้รองรับการ ทางานในรูปแบบที่องคก์ รกาลงั จะปรบั เปลย่ี นไป เป็นตน้ 4. การนาระบบสารสนเทศไปใช้ในงานการตลาด พนักงานที่ปฏิบัติงานการตลาดมีหน้าที่ในการสั่งซื้อ ขาย ประชาสัมพันธ์ วิจัยเพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ให้กับองค์กร ซ่ึงพนักงานจะมีระบบสารสนเทศทางการตลาดเพ่ือบันทึกข้อมูล กาหนดการวางขายสินค้าตามร้านค้าปลีกหรือสาขาย่อย ข้อมูลการซื้อวัตถุดิบ ข้อมูลการขาย ผลิตภัณฑ์ตามสาขาต่าง ๆ ผลลัพธ์ของระบบดังกล่าวจะถูกประมวลและสรุปให้กับผู้บริหาร ระดับกลางผ่านทางระบบสารสนเทศเพ่ือบริหารงานขาย ซึ่งระบบสารสนเทศน้ีอาจรวมถึงระบบใน

23 การวิเคราะห์ความพงึ พอใจของลกู คา้ หรือระบบสารสนเทศเพื่อบริหารความสัมพนั ธ์กับลูกคา้ จากนั้น ระบบสารสนเทศจะสรุปผลการดาเนินงานดา้ นการตลาด จุดออ่ น จดุ แข็ง เพ่ือให้ ผบู้ ริหารระดับสงู ตัดสินใจในการวางแผนการโฆษณาและประชาสัมพนั ธส์ นิ ค้าและองคก์ รต่อไป 5. การนาระบบสารสนเทศไปใช้ในงานการผลิต หากองค์กรนั้นผลิตสินค้าเพ่ือขาย งานการผลิตจะหมายถึงส่วนการจัดการโรงงานการ ผลิต เช่น โรงงานตัดเย็บเสื้อผ้า เป็นต้น แต่หากเป็นองค์กรด้านการบริการ งานการผลิตจะหมายถึง การสรา้ งสรรค์การบรกิ ารที่ตรงใจลูกค้า เชน่ งานโรงแรม เป็นต้น ซึ่งท้ังงานผลิตสนิ คา้ และงานบริการ ต่างมีวัตถุดิบในการผลิตและให้บริการทั้งส้ิน เช่น โรงงานผลิตเส้ือผ้าต้องมีการคานวณจานวนผ้า กระดมุ ด้าย เพ่ือตัดเย็บ ในขณะท่ีงานโรงแรมต้องมกี ารคานวณจานวนผ้าปูท่นี อน ปลอกหมอน สบู่ท่ี ให้บรกิ ารกบั ลกู ค้า เปน็ ต้น พนักงานงานที่ดูแลงานการผลิต จะมีระบบสารสนเทศท่ีใช้ตรวจสอบสินค้าคงเหลือหรือ ระบบสารสนเทศสินค้าคงคลังเพื่อบันทกึ ข้อมูลการใช้วตั ถดุ ิบขององค์กร ส่วนผจู้ ัดการงานการผลติ จะ มีระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสินค้าคงคลัง ว่าจะจัดซ้ือวัตถุดิบเข้ามาเพิ่มเติมเม่ือใด และใน จานวนเท่าไร โดยระบบสารสนเทศดังกล่าวจะมีระบบแจ้งเตอื นเมื่อจานวนวัตถุดิบคงเหลือในปริมาณ ที่เหมาะสมกับการสั่งซื้อ ส่วนผู้บริหารระดับสูงจะใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผนทรัพยากรการ ผลิต เพื่อวิเคราะห์และควบคุมการจัดซื้อวัตถุดิบ โดยระบบดังกล่าวสามารถเช่ือมโยงไปยังองค์กรที่ เกี่ยวข้อง เช่น องคก์ รท่ขี ายวตั ถุดบิ เพือ่ จะไดส้ ง่ วตั ถุดบิ ได้อยา่ งทันท่วงที การนาระบบสารสนเทศไปใช้ในงานหลักทั้ง 5 ด้านขององค์กร สามารถอธิบายโดยสรุปดัง ภาพที่ 1.10 ซึ่งเป็นพีระมิดของงานหลัก ได้แก่ งานด้านบัญชี งานการเงิน งานบริหารทรัพยากร บุคคล งานการตลาด งานการผลิต ในแต่ละงานจะมีระบบสารสนเทศที่เก่ียวข้อง 3 ระดับ ได้แก่ ระบบสารสนเทศเพ่ือการประมวลผล เป็นระบบสาหรับพนักงานปฏิบัติการในงานน้ัน ๆ ระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการ สาหรับผู้บริหารระดับกลางในงานน้ัน ๆ และระบบสารสนเทศสาหรับ ผู้บริหาร สาหรับผู้บริหารระดับสูงของแต่ละงาน ในภาพได้ยกตัวอย่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่อยู่ใน รปู แบบของระบบสารสนเทศประเภทต่าง ๆ เช่น งานด้านบัญชี หากเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการซ่ึง ใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือการประมวลผล จะใช้โปรแกรมบัญชีสาเร็จรูปในการปฏิบัติงาน เมื่อมีการ บนั ทึกขอ้ มูลแล้ว ข้อมลู จะถูกปรบั เป็นสารสนเทศและถกู สรุป หรือประมวลผลไปยังระบบรายงานผล

24 การบัญชีซึ่งเป็นรูปแบบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ให้กับผู้บริหารระดับกลางได้ใช้งาน สาหรับผู้บริหารระดับสูงของงานด้านบัญชี จะใช้ระบบวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ซ่ึงอยู่ใน รูปแบบของระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร เพื่อดูสภาพคล่องทางการเงินหรืออัตราส่วนทุน หมุนเวียนขององค์กร เป็นต้น ในขณะที่งานด้านอื่น ๆ จะมีลักษณะการใช้งานระบบสารสนเทศใน รูปแบบที่คล้ายกัน แตกต่างกันเพียงชื่อของระบบหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีนามาใช้งาน เพื่อให้ได้ สารสนเทศท่เี หมาะสมกบั งานมากทส่ี ดุ ระบบ ระบบวิเคราะหอ์ ตั ราส่วนทางการเงนิ สารสนเทศ ระบบบริหารจดั การการลงทนุ สาหรับ ระบบวเิ คราะห์อัตรากาลงั ผู้บรหิ าร ระบบสนับสนนุ การวางแผนประชาสัมพนั ธ์ ระบบสารสนเทศเพอ่ื การวางแผนทรพั ยากรการผลิต ระบบ สารสนเทศ ระบบรายงานผลการบญั ชี เพอื่ การ ระบบประมาณการงบการเงิน จัดการ ระบบบริหารคา่ ตอบแทน ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารงานขาย ระบบ ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การสนิ คา้ คงคลงั สารสนเทศ เพ่อื การ โปรแกรมบญั ชสี าเรจ็ รปู ประมวลผล ระบบบริหารกระแสเงนิ สด ระบบสารสนเทศบุคลากร ระบบสารสนเทศทางการตลาด ระบบสารสนเทศสนิ ค้าคงคลัง ภาพที่ 1.10 การนาระบบสารสนเทศไปใชใ้ นองคก์ ร แยกตามงานหลกั ขององค์กร ที่มา : ปรับปรงุ จาก Valacich and Schneider. 2012 : 88.

25 สรปุ ข้อมูลเป็นสิ่งสาคัญสาหรับองค์กรในการใช้เพื่อการบริหารและตัดสินใจ แต่ข้อมูลที่ดีจะต้อง ผ่านการประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบท่ีสามารถใช้งานได้อย่างเหมาะสมในรูปแบบของสารสนเทศ ซ่ึงระบบสารสนเทศเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการจัดเก็บ ประมวลผลและนาสารสนเทศท่ีได้ไปใช้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งบุคลากรในแต่ละระดับขององค์กรจะมีความต้องการใช้สารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการทางานท่ีแตกต่างกัน เพื่อให้เกิดการสนับสนุนการทางานในแต่ละระดับให้มี ประสิทธิภาพจึงมีการออกแบบระบบสารสนเทศให้เหมาะสมกับความต้องการใช้ของผู้ใช้ในแต่ละ ระดับ โดยแบ่งตามระดับการตัดสินใจในองค์กร ได้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหารระดับกลางและผู้บริหาร ระดบั สูง ระบบสารสนเทศมีองค์ประกอบท่ีต้องใช้ในการทางานร่วมกัน คือข้อมูล บุคลากร ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม ซ่ึงองค์ประกอบทั้งหมดน้ีต้องทางาน ร่วมกันเพื่อรวบรวม ประมวลผลและนาเสนอสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ในการ ตัดสนิ ใจของผูบ้ รหิ ารและผปู้ ฏิบตั งิ าน ทั้งนี้ ความต้องการใช้สารสนเทศของแต่ละองค์กรมีความแตกต่างกันไปตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละ รปู แบบการบริหารขององค์กร ส่งผลให้เกิดการจัดทาระบบสารสนเทศท่ีรองรับการทางานขององค์กร ในแตล่ ะรูปแบบ ในขณะเดียวกันบุคลากรภายในองค์กรซ่ึงปฏบิ ัติงานแตกต่างกันย่อมมีความต้องการ ใช้สารสนเทศท่ีแตกต่างกันด้วย จงึ มีการแบง่ ประเภทของระบบสารสนเทศตามลักษณะการสนับสนุน งานแต่ละรูปแบบในองค์กรเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ระบบสารสนเทศเพ่ือการประมวลผล ระบบ สารสนเทศเพ่ือการจัดการและระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร นอกจากน้ียังมีระบบสารสนเทศใน รูปแบบอ่ืน ๆ ท่ีจัดทาข้ึนมาเพ่ือรองรับงานที่มีลักษณะเฉพาะนอกเหนือไปจากงานในองค์กรปกติ ทว่ั ไป

26 คาถามทบทวน 1. จงอธิบายความแตกต่างของข้อมลู และสารสนเทศ 2. จงอธิบายการแบ่งประเภทของข้อมูลว่าสามารถแบ่งได้ด้วยเกณฑ์ใด และแต่ละเกณฑ์ สามารถแบ่งขอ้ มูลได้ก่ีประเภท 3. จงอธิบายคุณสมบตั ิของสารสนเทศท่ดี ี 4. จงอธิบายวา่ เหตใุ ดองคก์ รจึงควรนาระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในองค์กร 5. จงอธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 6. จงบอกชือ่ ระบบสารสนเทศทเ่ี หมาะสมสาหรบั ตาแหนง่ งานดังต่อไปนี้ 6.1 ผู้จัดการฝ่ายบุคคล ท่ีต้องพิจารณาเลือกหัวข้อการอบรมให้กับพนักงานในบริษัท 6.2 เจ้าหน้าทท่ี ่ปี ฏิบัติหน้าที่ใหบ้ รกิ ารยมื -คืนที่หอ้ งสมดุ 6.3 อาจารย์แนะแนวท่ีต้องแนะนานักเรียนให้ศึกษาต่อในสาขาที่เหมาะสมกับผล การเรยี นและความถนดั ของนกั เรียน 6.4 เจ้าหน้าท่ีกรมทรัพยากรป่าไม้ท่ีมีหน้าท่ีวางแผนในการอนุรักษ์และปลูกต้นไม้ใน บรเิ วณที่แห้งแลง้ เอกสารอ้างองิ กีออสโต้. (2554). โปรแกรมร้านอาหาร. [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : http://www.kiosqueto.com/ blog/8-pos-restaurant-system.html [5 พฤษภาคม 2557]. ณฏั ฐพันธ์ เขจรนันท.์ (2551). การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : ซเี อด็ ยเู คชั่น. ณัฐพร เห็นเจริญเลศิ และทรงลักษณ์ สกลุ วิจติ รส์ นิ ธ.ุ (2554). “สารสนเทศและเทคโนโลยี สารสนเทศ” ใน เอกสารการสอนชดุ วิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศเบอื้ งตน้ หนว่ ยที่ 1-8. หนา้ 1-1, 1-5, 1-6, 1-13, 1-14, 1-16. นนทบรุ ี : สานกั พิมพม์ หาวทิ ยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช.

27 โปรซอฟท์ คอมเทค. (2552). ข้ันตอนการทางานระบบสนิ คา้ คงคลงั . [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า : http://www.prosoftmyaccount.com/ArticleInfo.aspx?ArticleID= 895 [5 พฤษภาคม 2557]. ปานใจ ธารทศั นวงศ.์ (2554). การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศในมมุ มอง ด้านการบรหิ าร. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (2557). [ออนไลน์]. แหล่งทมี่ า : http://www.royin.go.th [12 ธันวาคม 2557]. ศรีไพร ศักด์ริ ่งุ พงศากุล และเจษฎาพร ยุทธนวบิ ูลย์ชยั . (2549). ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี การจัดการความรู้. พมิ พ์คร้งั ท่ี 10. กรุงเทพฯ : ซีเอด็ ยูเคช่นั . ศนู ยโ์ รคหัวใจ นราธิวาสราชนครินทร์. (ม.ป.ป.). การตรวจทางหัวใจ. [ออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า : http://psuheartcenter.blogspot.com/2010/11/heart-check.html [5 พฤษภาคม 2557]. สมบัติ อยเู่ มือง. (2554). ภูมิสารสนเทศเพ่ือการบริหารจดั การบา้ นเมอื งทด่ี ี. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.gisthai.org/download/GIS%20FOR%20GOOD% 20GOVERNANCE-by%20Dr%20Sombat%20JUL-2554.pdf [5 พฤษภาคม 2557]. สมสรวง พฤตกิ ุล. (2554). “ระบบสารสนเทศสานักงานและระบบงานสารบรรณ” ใน เอกสาร การสอนชุดวิชาระบบสารสนเทศสานักงาน หน่วยที่ 1-8. หนา้ 1-39. พมิ พ์คร้ังที่ 9. นนทบรุ ี : สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. Inetsoft Corporation. (n.d.). Peoplesoft Dashboard Reports. [Online]. Available : http://www.inetsoft.com/solutions/peoplesoft_dashboard_reports [5 May 2014]. Laudon, Kenneth C. and Jane Price Laudon. (2012). Management Information Systems : Managing the Digital Firm. London : Prentice-Hall. Valacich, Joe. and Christoph Schneider. (2012). Information Systems Today : Managing in the Digital World. 5th ed. London : Pearson Education. Zikmund, William G. and others. (2009). Business Research Methods. 8th ed. New York : South-Western.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook