Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติศาสตร์จานเดียว พม่า

ประวัติศาสตร์จานเดียว พม่า

Description: ประวัติศาสตร์จานเดียว พม่า

Search

Read the Text Version

ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว พงศาวดารพม่าหรือตำ�ราประวัติศาสตร์ของพม่าน้ันระบุว่าฝ่ังอังกฤษเร่ิม ยั่วยุก่อน และยงั วิเคราะหก์ ันไปอกี ว่าทั้งหมดน้ันเป็นแผนขององั กฤษท่ี พยายามทา้ ทายให้เกดิ สงครามขน้ึ เพราะวา่ กันตามสภาพแลว้ พม่าสู้ไม่ได้ ด้วยประการท้งั ปวง แตจ่ ู่ๆ องั กฤษจะจูโ่ จมเขาดือ้ ๆ ก็ดูจะเสอื่ มพระเกียรติ ของสมเด็จพระราชินี โลกมนั เปลย่ี นไปแลว้ จะมาใชก้ �ำ ลงั ยดึ บ้านเมืองอนื่ เพ่ือขยายอาณาจกั รเหมือนสมัยโบราณเห็นจะไม่ได้ แตถ่ า้ มีเหตุพอสมอา้ ง ได้นัน่ ก็อีกเรอ่ื งหน่ึง องั กฤษนั้นกท็ ำ�เนยี นใชไ้ ด้ ข้าหลวงใหญท่ กี่ ัลกัตตาท�ำ ทีไม่พอใจกับ การกระท�ำ ของนายพลแลมเบริ ต์ วา่ ทำ�ใหเ้ กิดความร้าวฉานทางการทูต ทำ�ให้ เกิดความเสียหายและเสียเกยี รติ ก็ใหแ้ ปลกใจท่ีไมม่ ีการไตส่ วนหรือลงโทษ ใดๆ กับนายพลแลมเบิรต์ กลบั มีการเตรยี มการจะบุกย่างกุ้งอย่างต่อเนอื่ ง เสยี ดว้ ย ขณะนน้ั ทางพมา่ กส็ ่งคณะทตู มาเจรจาไกล่เกลีย่ องั กฤษกเ็ สนอข้อ เรียกร้องกลบั ไปซงึ่ ลว้ นแต่เอาเปรยี บกันเหน็ ๆ ฝา่ ยพมา่ เห็นว่าขอ้ เรยี กรอ้ งช่างไม่ยุตธิ รรม ไมใ่ หเ้ กียรติ และแสดง ท่าทีคุกคามอย่างโจง่ แจง้ จึงไม่ขอรับขอ้ เสนอท้งั ปวง ถึงตอนน้ีการทำ� สงครามกับอังกฤษคงจะหลกี เลย่ี งยากเสียแลว้ และทางพระเจ้าพุกามแมง คงตาสวา่ งแลว้ ว่าแทจ้ รงิ น้ันองั กฤษต้องการยา่ งกงุ้ หรอื อาจจะรวมถึงพม่า ท้งั ประเทศ ******************** ถึงตรงนี้ผู้เขียนขออนุญาตไม่เล่าถึงรายละเอียดการทำ�สงครามคร้ัง ที่ ๒ ระหว่างพมา่ กบั องั กฤษ ภาพรวมๆ น้ันกค็ อื พม่าสู้เขาไมไ่ ด้ด้วยประการ ทัง้ ปวง ทั้งไพร่พลและยทุ โธปกรณ์ก็สอู้ ังกฤษไม่ได้ อาวุธปนื ไฟท้ังหลายก็สง่ั ซือ้ มาจากองั กฤษเองท้งั นั้น แลว้ มหี รอื ทีอ่ ังกฤษจะยอมขายของดๆี มาให้ ๙๓

ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว แม้กระทงั่ กระสุนดินปนื ท้ังหลายก็ขาดแคลน ปนื ท่มี ีกจ็ ึงไม่ต่างอะไรไปจาก ท่อนเหลก็ มเี พียงหัวจติ หัวใจเท่านั้นที่ทำ�ใหท่ หารพมา่ รวมก�ำ ลังส้กู ับศัตรู แต่ นานวันเขา้ ก�ำ ลังใจกเ็ ริม่ เสื่อมถอยเพราะรบไปก็มแี ต่แพก้ ับแพเ้ ทา่ นนั้ แมท่ ัพ องั กฤษบุกเข้ายึดเมาะตะมะได้เป็นทแี่ รก ขณะที่กองทพั ไทยกค็ อยแซะโจมตี ตามตะเข็บชายแดน หลังจากไดเ้ มาะตะมะแล้วอังกฤษก็เข้าตีย่างกุ้ง ยึดเอา พระมหาเจดยี ช์ เวดากองเป็นทม่ี น่ั ยิ่งทำ�ให้ทหารพม่าทอ้ แท้และส้ินหวังขน้ึ ไปอีก ต่อมาอกี ไม่นานพะสมิ กแ็ ตก เป็นอันวา่ อังกฤษสามารถยึดเอาดนิ แดนปากแม่น�ำ้ ของพม่าได้ทั้งหมด เปน็ การปดิ กน้ั พมา่ ไม่ใหม้ ีทางออกทะเล เทา่ กบั ว่าตอนนีพ้ ม่าอยภู่ ายใตอ้ ุ้งมอื ของอังกฤษแล้ว นบั เป็นการสูญเสียและสร้างความอปั ยศท่สี ดุ แก่ชาวพมา่ การถูก ปิดก้ันทางออกทะเลเช่นนี้เท่ากับว่าพม่าต้องเสียภาษีเดินเรือให้กับอังกฤษ บนแผ่นดินตัวเองแทๆ้ และเหนืออื่นใด พระมหาเจดยี ์เชวดากอง ศาสน สถานอันเป็นศูนย์รวมใจของชาวพม่าต้องตกอยู่ภายใต้เง้ือมมือของฝรั่งนอก ศาสนา คิดแล้วน�ำ้ ตาตกในจริงๆ เม่ือเหน็ วา่ แพ้แน่นอนแลว้ พม่ากย็ อมทำ�สญั ญาสงบศึก ถงึ ตอนน้ี พระเจ้าพุกามแมงก็ทดท้อพระทัยเหมือนเช่นพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อน ทต่ี ้องเสียทีแกฝ่ ร่ัง บางตำ�รานน้ั เลา่ ว่าพระองค์ทรงเสียพระจรติ และไม่เป็น อันออกวา่ ราชการ เจา้ ชายมินดง พระราชโอรสจึงถูกอัญเชิญข้ึนเปน็ กษัตริย์ พระองค์ใหมท่ รงพระนาม พระเจ้ามินดง การท่ีพมา่ ตอนใตถ้ กู ปกครองโดยองั กฤษนนั้ ก็เป็นโอกาสให้ ความเจริญตามอยา่ งตะวนั ตกหลงั่ ไหลเข้ามา คนพม่าที่อยแู่ ถบนแี้ ตเ่ ดมิ ก็ รสู้ กึ พอใจเพราะเบอ่ื หน่ายกับสงครามเตม็ ที พวกอังกฤษกน็ �ำ เอาระเบยี บ กฎหมายอยา่ งตะวันตกมาใช้ ซงึ่ ก็ดูยตุ ธิ รรมกับพวกเขาดี ไม่เหมอื นการ ปกครองโดยพวกขา้ ราชการพม่าทมี่ กั เอารดั เอาเปรียบ ดังนั้นสถานการณ์ใน ๙๔

ประวัติศาสตรจ์ านเดียว พมา่ ตอนใตจ้ ึงสงบเรยี บรอ้ ย การคา้ ขายก็กลับมาเปน็ ปกติ สภาพของเมือง โดยรวมจงึ เจริญขึ้นทกุ ทๆี ฝั่งราชสำ�นักนครอมรปุระเมื่อทราบข่าวก็เกิดความรู้สึกว่าหาก ปล่อยให้หัวเมืองตอนใต้เจริญแซงหน้าเมืองหลวงต่อไปจะเป็นการเส่ือมพระ เกยี รตยิ ศ จึงกราบบังคมทลู แนะนำ�ให้ยา้ ยเมอื งหลวง ซ่งึ พระเจา้ มินดงกเ็ ห็น ชอบดว้ ย ดังนนั้ ราวปี พ.ศ. ๒๔๐๐ พระองคจ์ งึ มีพระบรมราชโองการโปรด เกลา้ ฯ ใหต้ ง้ั เมอื งมณั ฑะเลยเ์ ป็นเมืองหลวงแหง่ ใหม่ของพมา่ การย้ายราชธานีแห่งใหม่เปรียบเสมือนว่าพระเจ้ามินดงทรง ปรารถนาจะฟ้ืนฟูพระราชอาณาจักรใหม่อีกครั้งให้ยิ่งใหญ่ทัดเทียมในสมัย คร้ังโบราณกาล แต่การสร้างกรุงมัณฑะเลยก์ ็ตอ้ งใชเ้ งนิ จำ�นวนมหาศาล แมว้ า่ ในทอ้ งพระคลังยังพอจะอดุ มไปดว้ ยทรพั ยม์ ากมาย ก็ใช่ว่าจะมีเพิม่ พูน กลับมาสักก่ีมากนอ้ ย แตเ่ มอื่ เป็นพระราชประสงคข์ องเจา้ ชีวิตจงึ ไม่มใี ครกลา้ ปฏเิ สธได้ พระองคย์ งั คงตัง้ พระราชหฤทัยเฉกเชน่ พระเจ้าแผ่นดนิ พระองค์ กอ่ นๆ คอื หวงั ทจ่ี ะรวบรวมพมา่ เปน็ ปกึ แผน่ และเป็นศนู ย์กลางแหง่ พระพทุ ธ ศาสนาเหมือนเชน่ สมยั พระเจา้ อนรุ ทุ ธ แตก่ ลบั มิได้มองดูสถานการณ์วา่ บัดนี้ โลกไดเ้ ปลยี่ นแปลงไปแลว้ ในสมัยน้ันตรงกับแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ ของกรงุ สยาม พระเจา้ มนิ ดงทรงหวงั จะฟน้ื ฟคู วามสมั พันธ์กับ ไทย แตเ่ กรงไทยจะไม่ยอมรับ จึงพลิกแพลงด้วยการสานสัมพันธ์ทางศาสนา แทนโดยส่งสมณฑตู มาเจริญสมั พนั ธก์ ับสมเด็จพระสงั ฆราชในไทย พระบาท สมเดจ็ พระจอมเกลา้ ฯ ทรงยนิ ดกี บั มติ รภาพครั้งนี้ และไดส้ ่งสมณฑูตไปเจรญิ สมั พนั ธก์ บั สมเดจ็ พระสงั ฆราชที่กรงุ มณั ฑะเลย์ดว้ ยเช่นกนั ความสมั พันธ์ ระหว่างพมา่ และไทยจงึ เร่มิ ดขี ้นึ ตามล�ำ ดบั แตค่ วามสมั พนั ธก์ ับองั กฤษกลับตรงกนั ข้าม อังกฤษท่ปี กครองพมา่ ทางตอนใตพ้ ยายามหม่นิ พระเกียรติของพระองค์ทุกวิถีทาง การไดก้ ราบ ๙๕

ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว นมัสการพระมหาเจดีย์ชเวดากองนับเป็นบุญกุศลอันแรงกล้าและเป็นราช ประเพณีทพ่ี ระมหากษัตริย์ทุกพระองคป์ ฏบิ ัตสิ ืบมา แต่ครง้ั นีอ้ งั กฤษกลับ กีดกั้นมิให้พระองค์เสด็จพระราชดำ�เนินมาประกอบพิธีตามพระราชประสงค์ แตง่ านนช้ี าวพมา่ เกิดไม่ยอมข้นึ มา ด้วยเหน็ วา่ อย่างไรเสียกค็ อื พระเจ้าแผ่น ดนิ ของพวกเขา แมจ้ ะขัดแยง้ กนั ทางการเมืองแตก่ ับพระพุทธศาสนานั้นไมใ่ ช่ คนต่างศาสนาไมค่ วรเขา้ มาปดิ กน้ั ศรัทธาของชาวพม่า อังกฤษจึงต้องจำ�ยอม ผอ่ นปรนแตก่ ไ็ ม่อนญุ าตให้พระเจา้ มินดงเสด็จมาดว้ ยพระองค์เอง พระองคจ์ งึ ทำ�ได้แคส่ ง่ คณะทตู มาประกอบ พิธยี กฉตั รทองคำ�ถวายเปน็ พระราชกุศลประดบั ยอดพระมหาเจดีย์ พระเจ้ามนิ ดงทรงสถาปนา เจ้าชายคะนอง พระอนชุ าข้นึ เป็น รชั ทายาท สรา้ งความไมพ่ อใจพระทยั ให้กับพระราชโอรสคอื เจ้าชายมยินกัน จึงกอ่ การกบฎขน้ึ ในปี พ.ศ. ๒๔๐๙ เหตุการณ์คร้งั นน้ั ทำ�ให้เจา้ ชายคะนอง ส้นิ พระชนม์และยงั เปน็ เหตุใหเ้ สนาบดผี ใู้ หญใ่ นสภาลดุ ดอ (สภาสูงสุดคล้าย องคมนตรีผทู้ �ำ หนา้ ทเี่ ป็นทีป่ รึกษาข้อราชการใหก้ บั พระเจ้าแผ่นดิน) เสียชวี ิต ลงเกือบทั้งหมด ซึ่งราชสำ�นกั เชอ่ื ว่าเบ้ืองหลงั การกบฎมอี งั กฤษหนนุ หลงั อยู่ การส้ินรัชทายาทในครั้งน้ีทำ�ให้พระเจ้ามินดงกร่ิงเกรงว่าจะเกิด เหตุซ้ำ�รอยเพือ่ แย่งชงิ อ�ำ นาจ จึงยงั มิไดส้ ถาปนาเจา้ นายพระองคใ์ ดข้นึ เปน็ รัชทายาท แมก้ ระทงั่ จวบใกล้จะสิ้นรชั กาล อันเป็นเหตุน�ำ มาซ่งึ ความล่ม สลายของพระราชอาณาจกั รในภายหลงั ******************** ในช่วงแรกๆ ของรัชสมยั พระเจา้ มินดง แผ่นดนิ พมา่ ดจู ะสงบสุขได้ ประมาณหน่ึง แต่แล้วอังกฤษกเ็ ร่มิ แสดงทที า่ ข่มเหงหวังจะกลนื กินพม่าทัง้ แผน่ ดนิ อังกฤษส่งคณะทูตมาเจรจาการค้าซ่งึ พระเจ้ามินดงจำ�ต้องยอมรับ ๙๖

ประวัตศิ าสตรจ์ านเดียว ข้อเสนอ แม้วา่ ข้อเสนอนัน้ จะเอาเปรียบพมา่ ทกุ ประตู ขอ้ ท่ีนา่ เจ็บใจและถือ เป็นการไม่รักษาหน้าอย่างมากคือข้อเสนอท่ีว่ากษัตริย์จะต้องยินยอมและให้ ความช่วยเหลือเจ้าหน้าท่ีอังกฤษในการติดต่อทำ�การค้ากับจีนผ่านดินแดน พมา่ การกระทำ�เช่นนีเ้ สมือนวา่ อังกฤษเหน็ พม่าเป็นเพียงทางผา่ นทีค่ ิดจะ เดินทางเข้านอกออกในไปไหนไดต้ ามสะดวก ขอ้ เสนออ่นื ท่ีเหน็ วา่ เอาเปรยี บอีก เช่น กษตั ริย์ต้องยกเลิกการ ควบคมุ สนิ ค้าทงั้ หมด เว้นแตไ่ ม้ นำ้�มัน เพชรพลอย หรือกษตั ริย์จะสงั่ ซื้อ อาวุธไดจ้ ากอังกฤษเท่านัน้ หากจะกระท�ำ การผ่านดนิ แดนองั กฤษ (หรือกค็ ือ พมา่ ตอนลา่ งท่อี ังกฤษถือวา่ เป็นของพวกเขาไปแลว้ ) ต้องไดร้ บั การเห็นชอบ จากขา้ หลวงอังกฤษก่อน กลายเป็นว่ากษตั ริย์พมา่ แทบไมเ่ หลือพระราชอำ� นาจใดๆ บนแผ่นดนิ ของพระองค์เอง แม้พระเจ้ามินดงจะทรงทราบดีว่าอังกฤษไม่เคยเห็นพระองค์อยู่ใน สายตา ซ้ำ�ยังกระทำ�การหมิ่นพระเกยี รตอิ ยู่เสมอ แตพ่ ระองค์ก็ยงั เชือ่ ม่ัน ว่าหากได้ดำ�เนินการทางการทูตอย่างเป็นทางการกับราชสำ�นักเซนต์เจมส์ สถานะของพม่าจะต้องดีข้ึนอย่างแน่นอนทั้งในสายตาของข้าหลวงอังกฤษ หรือในสายตาของชาวโลก พระองคส์ ่งคณะราชทตู ไปถงึ ประเทศองั กฤษ แต่ ก็ต้องเสียเวลาค้างเต่ิงอยู่ท่ีน่ันเป็นเวลานานหลานเดือนกว่าจะได้เข้าเฝ้า สมเด็จพระราชินีนาถวิคตอเรีย แถมการเขา้ เฝ้าครั้งนนั้ ยังน�ำ โดยเสนาบดฝี ่าย กิจการอินเดีย ยิ่งเปน็ การตอกย้ำ�ถงึ สถานะของพม่าวา่ ไมใ่ ชร่ ัฐอสิ ระ หรอื จะ วา่ งา่ ยๆ กค็ ืออังกฤษเข่ียพมา่ ให้อยูต่ �่ำ กวา่ อนิ เดียเสียอีก พระเจ้ามินดงยิ่งเจ็บชำ้�ระกำ�ทรวงขึ้นไปอีกกับกรณีแคว้นกะเหร่ียง ท่ีเป็นของพมา่ มาตัง้ แตย่ ุคพระเจา้ อนรุ ทุ ธ ตอ้ งถกู อังกฤษเข้าแทรกแซงเปน็ ตวั ตัง้ ตัวตียุยงใหก้ บฎต่อรัฐบาลกลางจนเกดิ สงครามภายในคร้ังใหญ่ จนเมอื่ สถานการณส์ กุ งอม องั กฤษจงึ ส่งคณะทตู มาเจรจาความเรอ่ื งแควน้ กะเหรีย่ ง เพือ่ ให้รัฐบาลกลางยอมรับว่าแควน้ กะเหร่ียงเป็นอิสระต่อพม่าแลว้ ๙๗

ประวัติศาสตรจ์ านเดยี ว ถึงตรงนี้พระเจ้ามินดงก็แทบจะทอดอาลัย ทรงมองไมเ่ หน็ หนทาง ใดท่ีจะกูพ้ ระเกียรตยิ ศและพระราชอำ�นาจกลบั คืนมา แผน่ ดินพมา่ ที่เคยยง่ิ ใหญท่ �ำ ได้เพียงแค่รอวันที่จะตกเป็นของอังกฤษอยา่ งสมบรู ณ์ ๙๘

พมา่ เสียเมอื ง ต้องขออนุญาตตั้งช่ือตอนโดยหยิบเอาชื่อผลงานคลาสสิก ของ อาจารย์ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ มาใชส้ กั หน่อย เพราะไม่เห็นจะมีคำ�ไหนจะตรงประเด็นเท่ากับสำ�นวนของท่านอีกแล้วกับ ประวัตศิ าสตร์ช่วงหนึ่งทช่ี าวพม่าไม่อยากจดจ�ำ ก็คงเหมอื นกบั ท่ีคนไทยเอง กไ็ มค่ ่อยอยากจะจดจำ�เรื่องราวครง้ั เสียกรงุ ทัง้ สองครงั้ นน้ั กระมงั หลงั สงครามกับองั กฤษครัง้ ท่สี าม พม่าตอ้ งเสียดินแดนทางตอนใต้ ไป แมพ้ มา่ จะยงั ไม่ไดถ้ ูกกลนื กนิ หมดท้ังประเทศ แต่ในทางพฤตินยั แล้วก็ แทบไมต่ า่ งจากการตกเป็นเมอื งขึ้นของอังกฤษ รฐั บาลกลางของพมา่ แทบ ไมม่ อี �ำ นาจใดๆ ขนาดพระเจา้ มนิ ดงยังต้องขอนญุ าตขา้ หลวงอังกฤษเสีย ก่อนท่ีจะเสดจ็ มานมัสการพระมหาเจดยี ์ชเวดากองที่กรงุ ยา่ งกุง้ พระราช อำ�นาจของพระองค์ยังคงใช้ได้เพียงแค่ในพระนครมัณฑะเลย์และพม่าตอน บน ไม่ตา่ งอะไรกบั การถูกจองจ�ำ บนแผ่นดนิ ของพระองคเ์ อง หากยังจำ�กรณีท่ีข้าหลวงหรือตัวแทนของอังกฤษเคยบ่นถึง ธรรมเนยี มการเขา้ เฝ้ากษตั ริยข์ องพม่าได้ เร่ืองการหมอบคลานและตอ้ ง ถอดรองเทา้ ทุกครั้งเมอ่ื เข้าสูเ่ ขตพระราชฐาน เรอื่ งน้ีถกู หยิบมาเปน็ ประเด็น อกี ครง้ั เหมอื นจงใจจะหาเรื่อง ช่วงปลายรัชสมัยพระเจ้ามนิ ดง ราวปี พ.ศ. ๙๙

ประวัตศิ าสตร์จานเดียว ๒๔๑๘ เม่อื คณะทตู จากอังกฤษเดินทางมาเขา้ เฝ้าเพอ่ื เจรจากับพระเจา้ มนิ ดงในกรณีกบฎแคว้นกะเหรี่ยง ซึ่งไม่อยากจะเรียกว่าเจรจา เพราะเปน็ การ บบี ใหพ้ ระองค์ทรงยอมรับการเปน็ อสิ ระของแควน้ กะเหรี่ยงเสยี มากกว่า ทตู อังกฤษแสดงความรังเกียจต่อธรรมเนียมปฏิบัติการเข้าเฝ้ากษัตริย์ที่ต้องถอด รองเท้า แมว้ า่ จะมกี ารปพู รมไวต้ ลอดทางแลว้ กต็ าม แตท่ ตู อังกฤษยงั มอง ว่าเป็นประเพณีทลี่ ้าหลังและไมใ่ หเ้ กียรติ ถงึ กบั ทำ�หนงั สือรอ้ งเรียนไปยัง ขา้ หลวงใหญซ่ ึ่งก็รบั ลูกกนั เปน็ อยา่ งดี ฝ่ายข้าหลวงใหญ่ก็เออออไปกับคำ�ร้องนั้นถึงกับประกาศให้ผู้แทน ของอังกฤษสามารถสวมรองเท้าและสะพายดาบเข้าเฝ้าได้ท้ังที่ยังไม่ได้แจ้ง ใหท้ างราชสำ�นักพม่าทราบความดว้ ยซ้�ำ คล้ายกบั มองข้ามพระเจา้ มนิ ดงไป เสีย คดิ อยากจะทำ�สง่ิ ใดกต็ ามแตอ่ ำ�เภอใจ ทางราชส�ำ นักจะขดั ขนื อะไรมาก กม็ ิได้ เพราะเกรงจะเกดิ ความไมส่ งบขึ้นอกี พระเจ้ามินดงกไ็ ดแ้ ต่กล้ำ�กลนื ฝืนพระทัยท่ีพระเกียรติยศแห่งพระมหากษัตริย์ราชวงศ์อลองพระถูกยำ่�ยี เพยี งน้ี จนทรงพระประชวรจนมิอาจออกว่าราชการได้ ******************** ปัญหาอยู่ที่ว่าขณะน้ันพระองค์ยังมิได้สถาปนาเจ้านายพระองค์ ใดขน้ึ รง้ั ต�ำ แหน่งรชั ทายาท เมอ่ื คร้ังกบฎเจา้ ชายมยนิ กนั ไดเ้ สียรัชทายาท คือเจ้าชายคะนอง ซำ�้ ยังเกดิ การสงั หารหมสู่ มาชกิ สภาลดุ ดอและเจ้านาย ราชนกิ ลู อกี หลายพระองค์ เปน็ เหตใุ หพ้ ระองคย์ งั ทรงรีรอท่จี ะสถาปนาองค์ รัชทายาทเพอ่ื ปอ้ งกนั เหตนุ องเลือด แต่กลบั เปน็ วา่ การที่พระองคย์ ังไม่ ตัดสินพระทัยกเ็ ปน็ โอกาสใหม้ กี ารวางแผนยดึ อ�ำ นาจด้วยเช่นกัน ขณะที่ราชสำ�นักกำ�ลังปั่นป่วนด้วยกษัตริย์ทรงพระประชวรและยัง ไมม่ กี ารสถาปนารัชทายาท พระนางอาเลนันดอ พระอคั รมเหสีจงึ เข้ามามี ๑๐๐

ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว บทบาทในการวางตัวกษตั ริย์พระองค์ใหมเ่ พือ่ หวังกุมอำ�นาจ จนเป็นเหตุให้ เกิดความวิบัตสิ นิ้ ชาติในเวลาต่อมา มีพระราชโอรสหลายพระองค์ท่ีมีความเหมาะสมที่จะข้ึนสืบทอด บัลลงั ก์ แต่ว่าทุกพระองค์กย็ งั คงมีบางส่งิ บางอย่างที่ดูจะเปน็ อปุ สรรคต่อการ ครองอำ�นาจสบื ตอ่ จากพระราชบดิ า อาทิ เจา้ ชายนยองยาน ทรงเปน็ ทรี่ กั ใคร่ของประชาชนแม้จะมีความสนิทชิดเช้ือกับตัวแทนจากอังกฤษมากอยู่ เสียหน่อย เจ้าชายเมกขระ ซงึ่ กินตำ�แหน่งเสนาบดอี ุตสาหกรรม แตพ่ ระองค์ แสดงออกอยา่ งชดั เจนวา่ มไิ ดป้ รารถนาครองบัลลงั ก์ หรือ เจ้าชายตอนเช ที่ มีความรู้ความสามารถแต่ว่าทรงเก็บตัวและไม่เป็นท่ีรู้จักของประชาชนนัก เป็นต้น แมว้ ่าทุกพระองคจ์ ะมีจุดบกพร่องเลก็ ๆ นอ้ ยๆ ถงึ กระน้นั กย็ งั มศี กั ด์ิ และสิทธิ์ที่เหมาะสมต่อการเป็นกษตั ริย์พระองค์ตอ่ ไป แต่เหตุการณ์กลับกลายเป็นว่าพระนางอาเลนันดอทรงร่วมมือ กบั เตียงดามนิ จแี ละกนิ หวุ่นมินจี (เป็นช่ือต�ำ แหนง่ ของเสนาบดีชั้นผู้ใหญ)่ ท�ำ การรวบอำ�นาจไวโ้ ดยการผลกั ดันให้ เจา้ ชายธบี อ ขนึ้ สบื ทอดราชสมบัติ ทนั ทหี ลงั จากทีพ่ ระเจา้ มนิ ดงเสดจ็ สวรรคต เจา้ ชายธีบอหรอื ท่ีคนไทยคุน้ ชื่อว่าเจา้ ชายสปี ่อเปน็ พระราชโอรสที่ ประสตู ิจากมเหสเี ช้อื สายไทยใหญ่ แม้จะเปน็ พระเจ้าลกู เธอลำ�ดบั ชนั้ ปลายๆ แต่ก็อยใู่ นเกณฑท์ จี่ ะสืบทอดราชสมบัตไิ ดอ้ ยเู่ หมือนกัน ปัญหาอยู่ตรงนล้ี ะ่ เพราะพระราชโอรสที่มศี ักด์ิและสทิ ธ์ใิ นล�ำ ดับช้นั ต้นๆ น้นั ยังมีพระชนมช์ พี อยู่ ถงึ จะดนั เจ้าชายธบี อขนึ้ เปน็ กษตั รยิ ์ได้แตก่ ต็ ้องเผชิญกบั กลมุ่ เจ้านายอีก หลายพระองคท์ ี่เตรียมกอ่ การยดึ อำ�นาจอยู่เหมอื นกัน พระนางอาเลนันดออาศัยความท่ีได้ถวายงานใกล้ชิดพระเจ้ามินดง ขณะท่ที รงพระประชวรรบี เร่งดำ�เนนิ การตามแผนทนั ที โดยขัน้ แรกจำ�เป็น ต้องสลายขว้ั อ�ำ นาจตา่ งๆ ทีอ่ าจจะกอ่ ให้เกิดปัญหา พระนางส่ังจบั กุมเจ้า นายราชนกิ ูลหลายพระองค์ทั้งเด็กและผ้ใู หญ่ใสต่ รุจองจำ�ไว้ เป็นการจู่โจม ๑๐๑

ประวัตศิ าสตรจ์ านเดียว แบบไม่ทันให้ต้ังตัวเน่ืองจากบัดนี้อำ�นาจส่ังการทั้งหลายในราชสำ�นักและ ก�ำ ลงั ทหารอย่ใู นมือของพระนางผู้เดียว โดยมเี ตียงดามนิ จีและกินหวนุ่ มินจี เป็นผู้สนบั สนุน ข้ันตอนต่อมาคือทำ�อย่างไรท่ีจะให้พระเจ้ามินดงยอมรับและ ประกาศให้เจ้าชายธีบอเป็นรัชทายาทอย่างถูกต้องตามธรรมเนียมราช ประเพณี เพื่อป้องกันคำ�ครหาและมิใหอ้ ังกฤษอ้างเหตเุ ขา้ มาก้าวกา่ ยกิจการ ภายในได้ เมอื่ พระเจ้ามินดงยังมิไดส้ ถาปนารชั ทายาท บรรดาเสนาบดีผู้ใหญ่ ในสภาลุดดอจึงจำ�เป็นท่ีจะต้องประชุมคัดเลือกเจ้านายพระองค์ใดพระองค์ หนึ่งทเี่ หมาะสม และเม่ือเจา้ นายเกือบท้งั หมดถกู จองจ�ำ ไปแล้วเชน่ น้ี ก็คง เหลือเพียงเจา้ ชายธบี อพระองค์เดยี ว พระเจา้ มนิ ดงทท่ี รงพระประชวรหนัก จนแทบจะไมร่ สู้ ึกพระองค์จึงพระราชทานอนุมัติโดยง่าย พระเจา้ มินดง เสด็จสวรรคตเมอ่ื เดือนตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๒๑ เหลา่ เสนาบดจี งึ กราบบังคมทูลเชิญ เจ้าชายธีบอ ซง่ึ ยังทรงผนวชอยู่ ใหเ้ สดจ็ เสวย ราชสมบัติเปน็ พระมหากษัตริยส์ ืบทอดราชวงศ์อลองพระสืบไป ทรงพระนาม พระเจ้าธบี อ ก่อนที่พระเจ้าธีบอจะได้ขึ้นเสวยราชย์นั้นได้เกิดกบฎข้ึนโดยสองเจ้า ชายพระราชโอรสในพระเจ้ามนิ ดง คอื เจา้ ชายนยองยานและเจ้าชายนยอง โอ๊ก แตก่ อ่ การไมส่ �ำ เรจ็ จึงได้หนีไปพ่งึ อังกฤษ ทางฝงั่ พมา่ ได้รอ้ งขอใหท้ าง อังกฤษส่งตัวเจา้ ชายทั้งสองกลบั มาแตไ่ ม่เป็นผล ท�ำ ใหบ้ ัลลังก์ของพระเจ้า ธบี อยงั ไมม่ ั่นคงนกั แต่โดยพฤตินัยน้ันอ�ำ นาจการตดั สนิ ใจโดยสว่ นใหญ่มไิ ด้ กระท�ำ โดยพระเจา้ ธีบอ กลับเป็นพระนางอาเลนนั ดอและบรรดาเสนาบดีใน สภาลุดดอเสียมากกวา่ แต่ตอ่ มาไม่นานอำ�นาจของพระนางอาเลนนั ดอก็มีอันส้นิ สดุ เม่ือ พระราชธิดาของพระนางคอื พระนางศุภยลตั ผเู้ ปน็ พระอัครมเหสีในพระ เจา้ ธีบอเปน็ ผ้รู วบอ�ำ นาจไวเ้ พยี งผู้เดียว ในตำ�ราประวตั ิศาสตรห์ ลายสำ�นกั ๑๐๒

ประวัติศาสตร์จานเดียว ตา่ งบันทึกเปน็ ทางเดยี วกันว่าพระนางเปน็ ผู้มกั ใหญใ่ ฝ่สงู ลุม่ หลงในพระราช อำ�นาจ เปน็ ผบู้ งการชี้เปน็ ชี้ตายเร่ืองราวต่างๆ ในราชสำ�นักตลอดจน กา้ วก่ายราชกิจ อันเป็นเหตุหน่งึ ท่ีท�ำ ให้พม่าของสูญเสยี เอกราชในท้ายท่สี ดุ ******************** ช่วงที่พระเจ้ามิดงใกล้จะเสด็จสวรรคตน้นั พระนางอาเลนนั ดอได้ ปฏิบัติการเงียบ สง่ั คมุ ขงั เจ้านายเชอ้ื พระวงศห์ ลายพระองค์เพอ่ื ปอ้ งกัน ปัญหาการชงิ ราชสมบตั ิ แตม่ าถงึ คราวทีพ่ ระนางศภุ ยลัตกมุ อำ�นาจกลบั ปฏิบัติการท่ีต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นการสังหารหมู่เช้ือพระวงศ์ ครัง้ ใหญ่ ด้วยเหตุท่ีพระนางวติ กวา่ หากปล่อยไวเ้ นิ่นนาน กลมุ่ อำ�นาจเก่า อาจจะกอ่ หวอดขน้ึ มาเปน็ ปญั หาอีกครง้ั ในการนบ้ี างตำ�รากว็ ่าพระนางเป็น ผู้จัดการเพียงฝา่ ยเดียว แตบ่ างตำ�ราก็เช่ือวา่ พระเจ้าธบี อทรงทราบแต่มิได้ สนพระทยั เท่าไหรน่ กั การส�ำ เร็จโทษบรรดาเจ้านายและเชื้อพระวงศท์ ีอ่ าจเปน็ เสี้ยนหนาม นนั้ ทำ�กันแบบปกปิด โดยวางแผนใหจ้ ดั งานร่นื เรงิ ข้ึนในพระนคร มีการออก รา้ น การแสดงมรสพตลอดทง้ั วันท้งั คืนเพ่ือดึงความสนใจจากพระเจ้าธีบอ และประชาชนท้ังหลายให้มัวแตส่ นกุ สนาน สว่ นเบอ้ื งหลงั น้ันก็จบั เอานกั โทษ ชน้ั สูงเหลา่ น้ีออกมาประหารกันทลี ะคนๆ เจ้านายเหลา่ นบี้ ้างกช็ ราจวนจะ ไม่รอดอยแู่ ลว้ ก็มี บา้ งก็เปน็ เดก็ เล็กไม่รู้ประสา ในประวัติศาสตรบ์ ันทกึ ไว้วา่ มีจ�ำ นวนมากถงึ ๗๐-๘๐ พระองค์ เสยี งมรสพดงั อึกทึกกลบเสยี งโหยหวล และสาปแช่งของผูใ้ กล้จะตายจนไมม่ ใี ครได้ยนิ เปน็ บันทกึ หน้าทีโ่ หดร้าย ที่สุดในประวัตศิ าสตร์พม่า ไม่เพยี งแต่บรรดาเชอ้ื พระวงศ์ นกั โทษการเมอื งที่ถูกจบั กุมในชว่ ง ปลายรชั กาลกอ่ นกอ็ ยูใ่ นแผนการกำ�จดั ครง้ั น้ดี ้วย แผนการมอี ยู่ว่างให้แสรง้ ๑๐๓

ประวตั ิศาสตร์จานเดียว ท�ำ เป็นว่ามีนกั โทษแหกคุกและกอ่ การจลาจล จากนนั้ จงึ ส่งั ให้บรรดาผ้คู ุม และทหารจบั ตายเสียให้หมด งานนไี้ ม่เพยี งเฉพาะนักโทษการเมอื ง นักโทษ อืน่ ๆ และประชาชนที่ไม่ร้เู รอ่ื งด้วยกพ็ ลอยถูกลกู หลงกนั ถว้ นหน้า ผลของการสังหารหมู่แบบกินรวบในคร้ังนั้นมีผู้เสียชีวิตทั้งเจ้านาย และประชาชนมากกวา่ ๓๐๐ ศพ พมา่ เข้าสูย่ ุคมืด ประชาชนอย่กู นั อยา่ ง หวาดกลวั ชวี ิตไมม่ คี วามมัน่ คง การทำ�มาหากนิ ฝดื เคอื ง ผดิ กับชีวิตในราช สำ�นักท่ียังคงเคร่งครัดประเพณีปฏิบัติและยังใช้ชีวิตอย่างหรูหราฟุ่มเฟือย มไิ ด้อนาทรตอ่ ความทกุ ขย์ ากของราษฎร ท�ำ ใหเ้ กดิ ซ่องโจรเขา้ ชิงปลน้ กัน ทั่วไป ขณะท่ีทั่วโลกกำ�ลังพัฒนาท้ังด้านความเป็นอยู่และเทคโนโลยี พระนครหลวงมัณฑะเลย์กลับยังล้าหลังยิ่งเมื่อเทียบกับพม่าทางตอนใต้ท่ีถูก อังกฤษเขา้ ยึดครอง พ.ศ. ๒๔๒๓ เกดิ ไขท้ รพษิ ระบาดหนักอันเนอ่ื งมาจาก ระบบสาธารณสขุ ทย่ี ำ่�แย่ สภาลดุ ดอกลับแก้ปญั หางา่ ยๆ ดว้ ยการทลู เสนอ ให้ยา้ ยเมืองหลวง ซ่งึ เป็นไปไม่ได้เลยในชว่ งเวลาทที่ ้องพระคลังแทบจะไม่ เหลอื ทรัพย์สินใดๆ อกี ทัง้ เพ่งิ จะยา้ ยเมอื งหลวงมาไดเ้ พยี งแค่ ๒๓ ปีเทา่ น้ัน เมอ่ื ไม่ย้ายกห็ าวิธีแกป้ ญั หากนั ดว้ ยการท�ำ พิธสี ะเดาะเคราะห์ แกด้ วงชะตา เมืองกนั ไปตามธรรมเนยี ม ซ่ึงดลู ้าหลังมาก ราวกับวา่ เวลาของกรุงมัณฑะ เลย์หยดุ อยู่กับท่ีเมือ่ หลายรอ้ ยปกี ่อน ตอ่ มาเมอ่ื ปฏิบัตกิ ารสงั หารหมูช่ ่วงต้นรชั กาลเกดิ ไปเขา้ หอู งั กฤษ จึง มกี ารประท้วงกนั วนุ่ วาย หากเปน็ สมัยน้ีคงมกี ารอ้างถงึ เรือ่ งการละเมิดสทิ ธิ มนษุ ยชน อังกฤษจึงปา่ วประกาศการกระทำ�อนั โหดร้ายของรัฐบาลพมา่ ให้ชาวโลกรับรู้ เขา้ ใจว่าอังกฤษไมไ่ ดจ้ ะสวมบทคนดอี ะไร แต่เปน็ แผนการ ทำ�ลายชื่อเสียงและความชอบธรรมของรฐั บาลพมา่ เพราะพวกเขาเลง็ เอา ไว้ว่าจะยกเอาเจ้าชายพม่าท่ีล้ีภัยมาอยู่ด้วยน้ันขึ้นเป็นกษัตริย์หุ่นเชิดแทน มากกว่า ๑๐๔

ประวัตศิ าสตร์จานเดียว ตอนทพ่ี ระเจา้ ธบี อขึ้นครองราชย์น้นั พระองค์ประกาศชัดเจนว่าจะ ไม่พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหฝ้ รง่ั เข้าเฝ้าอยา่ งเด็ดขาด ก็น่าจะ เน่ืองมาจากไม่อยากคบค้าสมาคมกับพวกฝร่ังท่ีมักจะเข้ามาเอาเปรียบและ เห็นพม่าเป็นท่ีแสวงหาผลประโยชน์ จนพม่าตอ้ งเสยี ดนิ แดนเหมอื นอย่างใน สมยั พระเจา้ มินดง และยังตดั ปญั หาที่พวกฝร่ังชอบอ้างเรือ่ งไมส่ ะดวกในการ ถอดรองเทา้ และหมอบกราบเวลาเข้าเฝา้ เสียด้วย ถงึ อยา่ งนัน้ การค้าการขาย ระหว่างพ่อคา้ ต่างชาตกิ ับพอ่ คา้ ชาวพมา่ ก็ยังดำ�เนนิ อยู่เปน็ ปกติ คือใครจะ รบใครจะเขม่นกันกเ็ ชญิ ฉันจะคา้ จะขายกนั ตามประสา แต่ทนี ก้ี ารท่ีพระองค์ ไม่ยินยอมให้พวกฝร่ังเข้าเฝ้าก็เป็นการปิดโอกาสในการเจรจาทั้งทางการค้า และการทตู ฝรัง่ เองก็เสยี โอกาสในการเขา้ มาทำ�การคา้ ในพม่าตอนบนเพราะ อย่างไรเสียก็ยังคงเป็นระบบกษัตริย์ท่ีจะทำ�อะไรให้ราบร่ืนก็ต้องขอพระบรม ราชานุญาตเสียก่อน นานเขา้ เมือ่ เงินทองในทอ้ งพระคลังร่อยหรอ พระองคก์ ็จำ�เปน็ ตอ้ ง หันมายนิ ยอมให้พวกฝร่ังเข้าเฝ้าตามเดิมเพอ่ื เจรจาการคา้ แต่มิไดห้ มาย ความว่าพระองคย์ อมออ่ นขอ้ ใหฝ้ รง่ั แต่เป็นการแสดงถึงน�้ำ พระทัยที่กวา้ ง ขวางของกษัตริยต์ า่ งหาก พระคลังหลวงจึงเร่ิมกลับมาอู้ฟู่อีกคร้ังหลังจากท่ีราชสำ�นักยอม ท�ำ การคา้ กบั บริษัทฝร่งั โดยเฉพาะกิจการปา่ ไม้และเหมอื งแร่ บรษิ ัทที่ ใหญ่โตมากแห่งหนงึ่ ทท่ี ำ�การคา้ ด้วยคือ บริษัท บอมเบย-์ เบอร์มา่ เทรดด้ิง คอร์ปเปอเรชนั่ ซ่งึ ผูกขาดการท�ำ ปา่ ไมใ้ นพมา่ ตอนใต้อยกู่ ม็ าได้สัมปทานใน พมา่ ตอนบนเพม่ิ อีก ยงิ่ ท�ำ ใหบ้ ริษทั ขยายกิจการใหญโ่ ตและมีอทิ ธิพลมากข้นึ ส่วนทางราชสำ�นกั ก็ยินดีเพราะได้เงนิ มามากโขเช่นกนั ทางการทูตนั้นนับจากท่ีพม่าต้องถูกแบ่งเป็นเหนือ-ใต้จากฝีมือของ อังกฤษ ความสัมพันธอ์ ย่างเปน็ ทางการในระดบั รฐั ตอ่ รฐั ของท้ังสองประเทศ ก็ขาดจากกัน อังกฤษไมม่ ีผู้แทนอยู่ในกรงุ มัณฑะเลย์เลย (อังกฤษในทนี่ ้หี มาย ๑๐๕

ประวตั ิศาสตรจ์ านเดียว ถึงข้าหลวงอังกฤษท่ีมีฐานบญั ชาการอยู่ท่ีอนิ เดีย) มีเพียงผ้แู ทนจากอิตาลี และฝรัง่ เศสที่เขา้ มายุ่มย่ามในพม่าตอนบน ไม่ทราบเหมอื นกนั ว่าราชสำ�นกั พม่านั้นรู้หรือไม่ว่าฝร่ังพวกน้ีก็ไม่ต่างอะไรจากอังกฤษที่หวังจะเข้ามาตักตวง ผลประโยชน์ หรืออาจจะคดิ ว่าพมา่ เองนล่ี ะ่ คือฝา่ ยตักตวงผลประโยชน์จาก ฝร่งั ไม่รูใ้ ครหลอกใช้ใคร แตพ่ ม่ากด็ นั ท�ำ สญั ญารว่ มทนุ กบั รฐั บาลฝร่ังเศสใน การสรา้ งทางรถไฟเชือ่ มพม่า โดยหวงั ประโยชนเ์ บ้ืองหนา้ ว่าคราวน้ลี ่ะจะได้ เกบ็ ภาษีรถไฟกับองั กฤษใหห้ นำ�ใจ และการคา้ ระหวา่ งประเทศกจ็ ะสะดวก ข้นึ เงนิ ทองจะไดห้ ล่งั ไหลเข้าประเทศกันละ่ คราวน้ี ******************** ความขัดแย้งคุกรุ่นข้ึนอีกเม่ือพม่าส่งคณะทูตไปเจรจาการค้ากับ ประเทศฝรั่งเศสท่ามกลางการจับตามองของทูตอังกฤษในกรุงปารีสว่าจะ เจรจาแค่เร่ืองการคา้ อย่างเดยี วจริงละ่ หรอื แต่กไ็ ดร้ บั การยนื ยนั วา่ สนธิ สัญญาท่ีท�ำ ตอ่ กนั นนั้ มีแต่เรื่องการค้าเพยี งเท่านน้ั คณะทูตพมา่ หอบเอา ความหวังเล็กๆ จากกรุงปารีสเดนิ ทางกลับกรุงมัณฑะเลยโ์ ดยแอบหวังวา่ ที่ สุดแลว้ ฝร่ังเศสนา่ จะชว่ ยหนุนหลังพม่าในยามคับขนั เรื่องมาวุ่นวายเอาจากการปล่อยข่าวลือของบรรดาพ่อค้าชาว อังกฤษ พวกเขาเชือ่ ว่าสนธสิ ญั ญากบั ฝรง่ั เศสตอ้ งมีเบื้องหลงั ต่อใหไ้ ม่มีเบ้อื ง หลังพวกพ่อค้ากย็ งั ปล่อยข่าวอยูด่ ี เพราะในสนธสิ ญั ญานั้นระบุว่าจะมีการ ให้สัมปทานการค้าขนาดใหญห่ ลายอยา่ งใหก้ บั ฝร่งั เศส เชน่ เหมืองแร่ การ ไปรษณีย์ การสรา้ งทางรถไฟ แบบนพี้ อ่ ค้าอังกฤษกห็ วาดเสยี ว คา้ ขายก�ำ ไร งามอยู่ดๆี เกิดจะมคี แู่ ข่งมาแซงทางโค้งแบบนี้ และเหนอื อ่ืนใดยงั มีสญั ญา การคา้ อาวธุ พว่ งเขา้ มาด้วย ลอื หรือไม่ลอื กไ็ มท่ ราบได้ แตก่ งสลุ อังกฤษเต้น ผางทนั ที ๑๐๖

ประวัติศาสตร์จานเดียว ระหวา่ งนั้นรัฐบาลพมา่ กเ็ กิดคดีกบั บริษทั บอมเบย์-เบอรม์ ่าฯ กรณี ทีป่ ่าไม้พมา่ ฟ้องว่าบริษัทคา้ งคา่ สัมปทานอยู่ แถมตัวเลขในบัญชีก็ยงั ดูน่า สงสยั ชอบกล เนือ่ งจากต้องมกี ารส่งภาษเี ขา้ ท้องพระคลังแตจ่ ากการตรวจ สอบพบวา่ มีการจ่ายภาษีไม่ครบจ�ำ นวน แน่นอนวา่ ฝา่ ยอังกฤษย่อมปฏเิ สธ ข้อกล่าวหา จากกรณนี ีผ้ สมโรงไปกับข่าวลอื ตา่ งๆ ท�ำ ให้เรอ่ื งราวกเ็ ร่มิ บาน ปลาย กรณนี บ้ี ้างก็เชื่อวา่ เปน็ แผนของพม่าเองที่อยากจะหาเรอื่ งรบิ เงินของ บรษิ ทั อังกฤาเขา้ ตวั เอง ราชสำ�นักพม่าทเ่ี ปน็ เหมอื นเสือกระดาษ กองทพั ก็ใชว่ า่ จะเข้มแขง็ ยังลับดาบร�ำ ทวนยดึ เอาตำ�ราพิชยั สงครามสมยั พระเจา้ บุเรงนองกันอยู่ ขณะ ที่โลกเขาพฒั นากนั ไปไหนตอ่ ไหน อังกฤษทจ่ี ้องจะเขมือบพม่าอย่ตู ง้ั แตต่ น้ ก็ อาศยั โอกาสทองน้เี ข้าล้อมพมา่ ตอนบน ล่องเรือรบมาจอดคมุ เชิงที่บรเิ วณ ปากแม่น้ำ� สง่ คณะทตู มาเจรจาแกมบังคับใหพ้ ระเจา้ ธบี อยอมรับข้อเสนอ มากมายทีแ่ สดงเปน็ นัยว่าใหย้ อมเปน็ ขององั กฤษเสยี โดยดี แตพ่ ระเจา้ ธีบอ ยงั คงไวซ้ ่งึ พระเกยี รตยิ ศ ไม่ยอมรับขอ้ เสนอนน้ั กลบั ยอมสู้กบั อังกฤษอยา่ ง ไวล้ าย ท่ีว่าสู้อย่างไว้ลายเพราะพระองค์เชื่อว่ากองทัพพม่ายังคงเกรียงไกร และมีแสนยานุภาพท่จี ะเอาชนะพวกฝรง่ั ได้ พระองค์อยู่แต่ในพระราชวงั หาความสขุ สำ�ราญโดยไม่เคยร้วู ่าโลกภายนอกไปถึงไหนกนั แลว้ ไหนจะมี บรรดาข้าราชการท่คี อยสอพลอบวกแรงยุเขา้ ใหอ้ กี โดยเฉพาะพระนางศภุ ยลตั ที่เชอื่ มน่ั ว่าพม่ายงั คงเขม้ แข็งอยู่ ดังนนั้ การส้อู ยา่ งไว้ลายจึงเป็นการ ไวล้ ายอยา่ งทไี่ ม่เจียมพระองค์ สไู้ ด้หรือไม่ไดก้ ต็ ้องสู้ แต่พอส้เู ขา้ จรงิ ๆ พม่าก็หนา้ หงายเพราะ จะเอาอะไรไปสกู้ บั กองทัพองั กฤษทเ่ี ขาเอาชนะมาได้ตัง้ ครงึ่ โลกแล้ว ธงทิว ปลิวสไว ของกองทพั ที่จัดแต่งอย่างสวยงามแตกกระเจงิ เมอื่ เจอปืนใหญ่ ขององั กฤษเข้าให้ จนพ่ายแพ้ยับเยินตั้งแตด่ า่ นแรกที่ปากแม่น�ำ้ กระนัน้ ๑๐๗

ประวตั ิศาสตร์จานเดียว พวกข้าราชการสอพลอก็ยังไม่วายส่งข่าวเท็จมายังพระนครว่าเหตุการณ์ เรียบรอ้ ยดี องั กฤษมแี ต่ราคาคยุ กองทัพพมา่ เอาชนะใส กวา่ ทพี่ ระเจา้ ธบี อ จะรสู้ กึ พระองค์กส็ ายเสียแลว้ ทพั อังกฤษรกุ คืบเข้ามาจนใกลถ้ ึงชานพระนคร พระนางศุภยลัตเสด็จข้ึนหอคอยเพื่อทอดพระเนตรทัพอังกฤษว่ามาจริงหรือ ไม่ พอเห็นทัพเรอื องั กฤษจ่อทช่ี านพระนครก็ทรงกนั แสง ตอี กชกตวั ฟมู ฟาย วา่ อวสานมาถึงเสียแล้ว พระเจา้ ธีบอจงึ ส่งคณะทตู มาเพ่ือขอเจรจาสงบ ศึกโดยหวังว่าสงครามจะยุติและพระองค์จะยังทรงพระเกียรติยศในฐานะ กษตั รยิ แ์ หง่ พมา่ เหมือนเช่นทุกครง้ั แต่ครัง้ น้ีอังกฤษเซยโ์ นทา่ เดยี ว ยนื ยันว่า พระเจา้ ธบี อตอ้ งยอมแพแ้ ต่โดยดี สว่ นชะตากรรมของพมา่ จะเป็นอยา่ งไรต่อ ไปกข็ ึน้ อย่กู บั การพิจารณาของกงสุลอังกฤษ ๑๑ วันเทา่ นน้ั ทัพพมา่ ยืนสอู้ ยู่ได้เพียง ๑๑ วัน ก็แพอ้ ย่างราบคาบ พระเจา้ ธบี อไม่มีทางเลอื กใดๆ นอกจากยินยอมตามขอ้ เสนอของอังกฤษ วนั ท่ี ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๒๘ พลตรีเพรนเดอกาสต์ แม่ทพั อังกฤษนำ�ขบวนนายหารเข้าไปยังพระราชวังมัณฑะเลย์เพ่ือเข้าเฝ้าพระเจ้า ธีบอ บดั นีพ้ ระราชวงั ทีเ่ คยยงิ่ ใหญ่แทบจะไมเ่ หลอื ขา้ ราชบรพิ าร ผูค้ นตา่ ง อพยพหนตี ายกนั จ้าละหวนั่ ทรัพย์สนิ มีค่าถูกหยิบฉวยอย่างไม่กลัวเกรง คง เหลือเพียงผู้ที่ยังคงจงรักภักดีเพียงหยิบมือหมอบอยู่เคียงข้างกษัตริย์และ ราชนิ ีที่พวกเขารักจนถึงนาทสี ุดทา้ ย ******************** พระเจ้าธีบอและพระนางศุภยลัตยังคงมีความหวังว่าพลตรีเพรน เดอกาสต์จะยงั มีเมตตา แตท่ ่านนายพลทำ�ลายความหวงั น้ันเสยี โดยแจ้ง ใหท้ ราบว่ากษตั ริย์จะถูกเนรเทศไปยงั อินเดียและถวายเวลา ๔๕ นาที ให้ สำ�หรบั เกบ็ ฉลองพระองค์และทรพั ย์สนิ สว่ นพระองค์ แตแ่ ทนที่อังกฤษจะ ๑๐๘

ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว ถวายความเคารพด้วยการนำ�เสด็จอย่างเป็นทางการด้วยวอหรือช้างทรง กลบั หยามพระเกียรติด้วยการเตรยี มเพียงรถเทียมโคสองตวั ไว้ใหเ้ ทา่ น้นั วันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๒๘ คือวนั สดุ ท้ายทม่ี ีสถาบัน กษัตริยใ์ นประเทศพม่า นบั จากทพ่ี ระเจา้ ธีบอประกาศยอมจ�ำ นนเพียงหนึง่ วนั บลั ลังกแ์ หง่ ราชวงศ์อลองพญาท่ยี งิ่ ใหญ่ถูกปลอ่ ยให้ว่างลง และคงว่าง อยเู่ ชน่ นนั้ อยา่ งถาวรสืบมา เพยี งไมก่ เี่ ดอื นใหห้ ลัง คอื ในวันท่ี ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๕ มหาอาณาจักรอนั ยง่ิ ใหญแ่ ห่งสุวรรณภมู ิก็ถูกผนวกเข้าเป็น ส่วนหนึง่ ของจกั รวรรดอิ นิ เดีย กษัตริยแ์ ห่งพม่าเสดจ็ ลี้ภยั มาประทับที่เมอื งรัตนคริ ี ในเขตปกครอง ของอินเดยี พระองค์ประทบั อย่ทู นี่ ีจ่ วบจนเสดจ็ สวรรคตเม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๕๙ ส่วนพระนางศุภยลัตน้นั ทางอังกฤษอนญุ าตใหเ้ สดจ็ กลับมาประทบั ทีพ่ มา่ ได้ในภายหลงั โดยเลย้ี งพระชนมช์ ีพดว้ ยเงินทอี่ งั กฤษจัดถวายเพียงเดือนละ ไมก่ ่พี นั รูปี พระนางเสด็จสวรรคตเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๖๘ การสูญสิ้นของสถาบันกษัตริย์ทำ�ให้ชาวพม่าเกิดความหว่ันวิตก กษตั รยิ ์คือเจา้ ชวี ิต ทรงอยู่ในฐานะผู้พิทักษส์ นั ตสิ ขุ ของราษฎร เปน็ พระผู้ อุปถัมภ์คำ้�ชูพระพุทธศาสนา เมื่อสถาบันถูกล้มลา้ ง ชาวพม่าจงึ อยใู่ นอาการ หลงทาง เคว้งควา้ งและสับสน เสมอื นวา่ โลกน้ไี ดด้ ับสญู ไปแลว้ ไมเ่ พยี ง สถานะทางการเมือง แตว่ ิถีชีวติ ด้ังเดิมของชาวพมา่ ทกุ คนต้องเปลี่ยนแปลง ซึ่งแน่นอนวา่ พวกเขายังไมอ่ าจท�ำ ใจรบั สิง่ ท่เี กิดข้ึนนีไ้ ด้ ดังนั้น ภายหลังจากทถี่ ูกองั กฤษเข้ายดึ ครอง แผน่ ดินพมา่ ก็เกดิ ความอลหมา่ นพอสมควร ทีแรกน้นั มอี งั กฤษความคดิ ท่ีจะหาเจ้านายสกั พระองค์ข้ึนครองราชย์เป็นกษัตริย์หุ่นเชิดเพื่อคงความสงบเรียบร้อยเอาไว้ สกั ชว่ งเวลาหนง่ึ แต่ก็เปล่ยี นใจแลว้ ผนวกให้พมา่ กลายเป็นดินแดนส่วนหน่งึ ของจักรวรรดอิ นิ เดยี กลายเปน็ ว่าพม่าอยภู่ ายใตอ้ นิ เดยี อีกทอดหน่ึง ย่งิ สรา้ งความเจบ็ ช�้ำ ใหแ้ ก่คนพม่ามากยง่ิ ขึน้ จนเกดิ การประท้วงและปฏวิ ัติโดย ๑๐๙

ประวตั ิศาสตร์จานเดียว กล่มุ กองโจรชาวพมา่ แตก่ ็ไม่ได้กอ่ ใหเ้ กดิ ผลอะไรเพราะถกู องั กฤษเก็บกวาด จนเรยี บ กว่าท่ีพมา่ จะสงบไดก้ ต็ ้องใชเ้ วลานานพอสมควร ชาวพมา่ มไิ ดก้ ลวั เกรงบทลงโทษของอังกฤษแมแ้ ต่นอ้ ย ศักด์ศิ รคี วามเปน็ พมา่ นั้นเขม้ ข้นเกิน กวา่ จะยอมกม้ หวั ให้คนนอกศาสนา แม้วา่ ข้าหลวงใหญ่ประจ�ำ พมา่ จะใช้ มาตรการเด็ดขาดจดั การกับกลุ่มต่อตา้ น เชน่ หากพบว่าหมบู่ ้านใดมกี าร ซอ่ งสมุ กองกำ�ลงั กจ็ ะใช้ก�ำ ลงั เขา้ ปราบปราม เผาจนวอดวายและหา้ มสรา้ ง ขน้ึ มาใหม่ มีการจบั ผ้ตู ้องสงสัยท้ังทผี่ ดิ จรงิ และไม่จริงประหารกันไม่เว้นวัน วา่ กันว่าต้นไมต้ ามรายทางในพม่ามแี ตศ่ พถูกแขวนประจาน ชว่ งหา้ ปแี รก ของการปกครองจึงเป็นช่วงเวลาแหง่ การพลีชพี ของผ้รู กั ชาติอยา่ งแทจ้ ริง เข้าสปู่ ที ห่ี ก ความวนุ่ วายต่างๆ เรม่ิ ซาลง อาจเพราะคนพมา่ เร่มิ อ่อนลา้ หมดหนทางตอ่ สแู้ ละเร่มิ ท�ำ ใจยอมรบั ความเป็นจริง ประกอบกบั ข้าราชการชาวองั กฤษเรม่ิ เห็นใจและมที ่าทผี ่อนปรน ระบบระเบยี บการ ปกครองของอังกฤษท่ีนำ�เข้ามาใช้ดูเป็นแบบแผนและเป็นรูปธรรมมากกว่าใน อดีต ชาวพม่าเรมิ่ หันมาสนใจและร้สู กึ ถึงการเปลี่ยนแปลงจนเปิดใจยอมรบั มากข้นึ ชาวพม่าจำ�เป็นตอ้ งท�ำ ใจยอมรับความเปลยี่ นแปลง ความร่งุ เรอื ง แต่หนหลัง ความเปน็ ประเทศมหาอำ�นาจกลายเป็นอดีต ไม่มีเจ้าชวี ิตของ พวกเขาอกี ตอ่ ไป ถึงอย่างน้นั ยังคงมบี างสิ่งทพ่ี วกเขาไม่มวี นั เปลีย่ น นัน่ คอื พทุ ธศาสนาทพี่ วกเขายงั คงศรทั ธา และวถิ ชี วี ติ ความเป็นพมา่ ทย่ี งั คงด�ำ เนิน ต่อไป แต่ลึกๆ ในใจของชาวพมา่ ทกุ คนยังคงถวิลหาเสรภี าพและเอกราชของ แผน่ ดนิ เกดิ ๑๑๐

ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว มหาเจดียช์ เวดากอง ถา่ ยไว้โดยชา่ งภาพฝร่งั (P. Klier ) เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๒๓ (ภาพจาก http://www.luminous-lint.com) สงิ หค์ ู่ บริเวณทางข้ึนมหาเจดยี ช์ เวดากอง ถา่ ยไว้โดยชา่ งภาพฝรง่ั (P. Klier ) เมือ่ พ.ศ. ๒๔๓๓ (ภาพจาก http://www.luminous-lint.com) ๑๑๑

ประวตั ิศาสตรจ์ านเดียว การแต่งกายของสตรีช้นั สงู ชาวพม่า ถ่ายโดยชา่ งภาพฝร่งั ราว พ.ศ. ๒๔๑๓ (ภาพจาก http://www.luminous-lint.com) ๑๑๒

ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว สตรใี นราชสำ�นกั พมา่ (ภาพจาก http://www.luminous-lint.com) ผชู้ ายชาวพม่ามธี รรมเนียมสกั ขาเพือ่ แสดงความเปน็ ชายชาตรี (ภาพจากหนงั สือ Burma : Art and Archaeology) ๑๑๓

ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว พระสงฆพ์ ม่าก�ำ ลังศกึ ษาพระธรรม (ภาพจากหนังสือ Burma : Art and Archaeology) ช้างเผือกที่พระราชวงั มณั ฑะเลย์ ไดร้ บั การปฏบิ ัตริ าวกบั เทพ (ภาพจาก http://www.luminous-lint.com) ๑๑๔

ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว สภาพของนักโทษในคุกพมา่ (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ชาวบา้ นกำ�ลังสาดน้ำ�ใส่ทหารอังกฤษในช่วงเทศกาลปีใหม่ (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ๑๑๕

ประวัติศาสตรจ์ านเดยี ว หญงิ สาวชาวพม่ากำ�ลงั สบู ยาสูบ คนพมา่ ตดิ ยาสบู อยา่ งหนักมาตัง้ แต่สมัยโบราณ (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ๑๑๖

ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว พระเจ้าธบี อ หรอื พระเจา้ สปี ่อ กษตั ริย์พม่าพระองคส์ ดุ ท้าย ๑๑๗

ประวตั ิศาสตร์จานเดียว พระเจา้ ธบี อ พระนางศุภยลัต (กลาง) และพระเจ้าพี่นางเธอ ถ่ายไว้ราว พ.ศ. ๒๔๒๘ หรอื ก่อนหน้านี้เลก็ น้อย (ภาพจาก http://www.luminous-lint.com) พระราชวงั มณั ฑะเลย์ ไมท่ ราบเวลาทบ่ี ันทกึ แต่น่าจะเปน็ ภายหลงั ที่เสยี เอกราชให้อังกฤษแล้ว (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ๑๑๘

ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว พระราชวังมัณฑะเลย์ ไม่ทราบเวลาที่บนั ทกึ (ภาพจาก British Library) ทหารอังกฤษเตรียมปนื ใหญ่เข้ารบกับพมา่ (ภาพจาก วกิ ิพีเดีย) ๑๑๙

ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว คณะทตู พม่าทีเ่ ดินทางไปเจรจาการคา้ ท่กี รุงปารสี ประเทศฝรง่ั เศส คณะนายทหารอังกฤษเข้าเฝา้ ฯ พระเจา้ ธบี อ หลังยึดนครมณั ฑะเลยไ์ ด้ส�ำ เรจ็ ๑๒๐

ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว ภาพเขยี นแสดงเหตุการณต์ อนที่พระเจ้าธบี อและพระนางศุภยลัตถูกคุมพระองคโ์ ดยทหารอังกฤษ มีราษฎรพมา่ จ�ำ นวนมากออกมารอดูเพราะไมเ่ คยให้เห็นกษตั รยิ ข์ องพวกเขาเอง พระราชวังมณั ฑะเลย์ ภายใต้การควบคมุ ของกองทพั องั กฤษ (ภาพจาก British Library) ๑๒๑

ประวัติศาสตร์จานเดยี ว หอคอยแห่งพระราชวงั มณั ฑะเลย์ เชือ่ ว่าเปน็ ทท่ี ่ีพระนางศภุ ยลัตเสดจ็ มาทอดพระเนตรกองทัพอังกฤษ (ภาพจาก วิกิพเี ดีย) ๑๒๒

พม่าในปากสงิ โต (ยคุ แรก) สมยั ทีพ่ มา่ ยงั เปน็ เอกราช ชาวต่างชาติท่ีเข้ามาท�ำ มาหากินใน พม่าต่างต้องยอมรบั กฎเกณฑท์ กุ อย่างท่ถี ูกตงั้ ไว้ เม่อื ถงึ คราวทพี่ วกเขาตอ้ ง มาปกครอง จึงไมแ่ ปลกท่อี งั กฤษจะยกเอาระเบยี บแบบแผนของตนมาใชบ้ น แผน่ ดินพมา่ แลว้ ยงั ใหเ้ จ้าของแผ่นดินเดิมปฏิบัติตามอยา่ งไมม่ ีข้อโต้แย้งอกี ด้วย ภายหลังที่อังกฤษเข้ายึดครองกรุงมัณฑะเลย์ได้ก็นับว่าสามารถ ครองพม่าได้อย่างเบด็ เสรจ็ ทง้ั ประเทศ หลงั จากทีเ่ ข้าครองพมา่ ตอนลา่ งอยู่ นานกวา่ สามทศวรรษ จนเม่ือองั กฤษปลดพระเจ้าธบี อออกจาราชบลั ลงั ก์ ก็ เกดิ กบฎขึน้ หลายครงั้ ในพมา่ ตอนล่างที่ซ่ึงอังกฤษคาดไมถ่ งึ เน่อื งจากตกอยู่ ใต้อาณัติของพวกเขามานาน การกอ่ ความวนุ่ วายเกดิ ขน้ึ ในรปู แบบกองโจร ชาวพม่ารวมกลุม่ เป็นขบวนการตามหมูบ่ า้ นต่างๆ เขา้ โจมตีองั กฤษอย่างต่อเนือ่ ง แตก่ เ็ ปน็ เพียงกลุ่มกบฎเล็กๆ ที่ยงั ไม่อาจสร้างความสัน่ สะเทอื นให้กองทพั องั กฤษได้ อังกฤษเองก็มิได้นอนใจ ตราบใดท่ียงั ไม่อาจปราบปรามใหร้ าบคาบไดก้ ็ยังมิ อาจปกครองพม่าไดอ้ ย่างสงบเสียที หน่ึงปีหลังจากยดึ มณั ฑะเลย์ องั กฤษเรยี กตัว เซอร์เฟรเดอริค รอ ๑๒๓

ประวัตศิ าสตร์จานเดียว เบิร์ต ผ้บู ัญชาการทหารสงู สดุ ท่ีประจ�ำ การในอินเดียเขา้ มาประจ�ำ การในพมา่ แทน และยังเคลือ่ นกองกำ�ลงั ทหารบางสว่ นจากอินเดยี เขา้ มาเสรมิ ในพมา่ อกี จำ�นวนมาก กองทหารของเซอร์รอเบริ ต์ คอ่ ยๆ โจมตขี บั ไล่กลุ่มกบฎ ทางตอนใต้จน เจา้ ฟ้าชเวโจบายู หวั หน้ากลุม่ กบฎตอ้ งล้ภี ยั ออกจากพืน้ ที่ และหัวหน้ากลมุ่ อน่ื ๆ ก็ถกู สงั หารลงทีละคนๆ บ้างก็ยอมจ�ำ นวนด้วยส้ทู หาร อังกฤษท่ีเหนอื กวา่ ทัง้ จำ�นวนและความทนั สมยั ของอาวุธไม่ได้ ทางพม่าตอนบนมนี ายพลแพรนเดอกาสต์ ผ้ปู ลดพระเจา้ ธบี อลง จากบัลลังกค์ อยสง่ั การให้จัดการพวกกบฎอย่างเดด็ ขาดและรนุ แรง ซึ่งก็นับ วา่ ไดผ้ ล แตถ่ งึ อย่างนั้นกย็ ังมีเสียงทัดทานจากนายทหารและนักการเมือง ขา้ งองั กฤษเองด้วยซำ้�ว่านโยบายน้ีรุนแรงเกินจ�ำ เป็น แตส่ ดุ ทา้ ยก็ไมไ่ ดม้ กี าร ท�ำ อะไรไปมากกวา่ นัน้ การใช้ก�ำ ลงั เข้าปราบปรามทำ�ให้อังกฤษเรม่ิ ท่จี ะจัด ระเบยี บพมา่ ให้เขา้ ทเ่ี ขา้ ทางได้งา่ ยดายและรวดเร็วมากย่ิงขนึ้ อังกฤษเร่ิมเขา้ ปกครองพมา่ โดยวางรากฐานจากหน่วยเล็กๆ โดย เริ่มดงึ เอาข้าราชการท้องถนิ่ ของพม่าเข้ามาเปน็ พวก ให้ยอมออ่ นนอ้ มและ ยอมรับการบรหิ ารแบบใหม่ องั กฤษฉลาดพอทจ่ี ะไม่ยกเลกิ รูปแบบการ บรหิ ารแบบเก่าแบบยกกระบิ โครงสร้างหลักๆ ของชุมชนและอทิ ธิพลใน ท้องถิ่นยังคงมอี ยู่ แตอ่ งั กฤษใช้การโน้มนา้ วดว้ ยผลประโยชน์เพ่ือให้การ บริหารเปน็ ไปตามทพ่ี วกตนตอ้ งการ จากบันทึกที่มีนั้นสามารถแบ่งเร่ืองราวพฤติกรรมของอังกฤษที่มีต่อ พมา่ ไดเ้ ปน็ สองฝา่ ย คอื ถา้ เปน็ บันทึกจากฝั่งพมา่ ก็จะบอกว่าองั กฤษนน้ั เลว ร้ายและต่ำ�ช้ามากในการปกครอง ไมว่ า่ จะเป็นการใช้กำ�ลังเขา้ กดขี่ การเขา้ มาตักตวงผลประโยชน์อย่างเห็นแก่ตวั ขณะที่ถ้าเปน็ บนั ทึกจากฝงั่ องั กฤษ หรือกระทั่งชาวยุโรปอนื่ ๆ กจ็ ะบอกวา่ การปกครองนัน้ ดำ�เนนิ ไปอยา่ งละมุน ละม่อม มกี ารใช้กำ�ลังบา้ งเท่าทจี่ �ำ เป็น ซ่งึ ก็เป็นธรรมดาของการบนั ทึก ประวตั ิศาสตรท์ ย่ี ่อมจะมคี วามเอนเอยี งอยู่บา้ ง ดังน้นั ผูศ้ ึกษาประวตั ิศาสตร์ ๑๒๔

ประวตั ิศาสตร์จานเดียว จงึ ตอ้ งพจิ ารณาใหถ้ ่ถี ว้ น ******************** ศาสตราจารยพ์ ิเศษ เสฐียร พนั ธรังษี ราชบัณฑิต ท่านได้วเิ คราะห์ เอาไว้ตง้ั แตก่ ่อนปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ในหนงั สือ ราชบัลลังกพ์ ม่า ซึง่ เปน็ ความ เหน็ นา่ สนใจและเปน็ ไปได้ค่อนขา้ งมาก ท่านวเิ คราะหว์ ่าในช่วงสงครามน้นั องั กฤษอาศยั พระมหาเจดยี ์ชเวดากองเปน็ ตัวประกัน เหมือนท่เี คยเลา่ ไวใ้ น ตอนตน้ ๆ ว่าทหารอังกฤษตั้งฐานท่ีมัน่ โดยอาศยั พระมหาเจดีย์เป็นฉากหลัง คนพม่าน้นั กลัวจะทำ�ให้พระมหาเจดยี พ์ งั จงึ ขอยอมแพ้มากกว่า อนั นน้ั ก็ สว่ นหนง่ึ แตภ่ ายหลงั จากที่อังกฤษเขา้ ครอบครองดินแดนปากแม่น้ำ�ได้แลว้ นสี่ ิ อังกฤษนา่ จะอา่ นออกวา่ ปกครองแผน่ ดนิ เปล่าๆ ท่ีไม่มคี นมนั จะ มีประโยชน์อะไร พระมหาเจดยี น์ ้ันใช่วา่ จะมผี ู้ศรทั ธาเฉพาะชาวพม่า คน อินเดยี คนธิเบต ทีน่ บั ถอื ศาสนาพุทธเขากศ็ รทั ธา เขากเ็ ดนิ ทางมานมัสการ กนั อย่ทู ุกบ่อย เทียบกับยุคนกี้ ไ็ ม่ตา่ งอะไรกบั นักทอ่ งเท่ยี วทีแ่ ห่กันไปเท่ียว พม่า สงิ่ ท่ีตามมาคือการหมนุ เวยี นทางเศรษฐกจิ เม็ดเงินทไ่ี หลเข้ามาจากผู้ แสวงบญุ แต่ละปนี ้ันมหาศาล เกิดรายได้ เกดิ การจ้างงาน เมอื งก็มชี ีวิตชีวา ไม่ใช่แคเ่ มืองรา้ งเปล่าๆ ในชว่ งต้นนน้ั คนพม่ายงั คงเกรงกลวั อังกฤษ พากนั อพยพหนไี ปอย่ตู อนบนเสียหมด พอไดเ้ ข้ามาครอบครอง องั กฤษกเ็ ร่มิ บูรณะพระมหาเจดยี ์ ตลอด จนฟ้นื ฟสู ภาพบา้ นเมอื ง ปรับปรงุ การคมนาคมใหส้ ะดวก ไมเ่ ฉพาะในเขต พม่า แตร่ วมไปถึงเสน้ ทางระหวา่ งประเทศดว้ ย คนพมา่ ทอี่ พยพไปทางตอน บนกใ็ ช่วา่ จะไปเจอชวี ติ ท่ดี กี วา่ เมือ่ เห็นบา้ นเกดิ เมอื งเก่าได้รับการฟืน้ ฟู เขา กอ็ ยากกลบั มาถนิ่ เดมิ ของตนมากกว่า ย่ิงพระมหาเจดีย์ยังคงอยู่ ต่อใหม้ คี น ๑๒๕

ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว อังกฤษปกครองก็ไม่เห็นเปน็ ไร คอื รกั พระมหาเจดีย์มากกวา่ ว่ากนั ตรงๆ การปรับปรุงเส้นทางคมนาคมนั้นแน่นอนว่าเป็นการมองการณ์ ไกลขององั กฤษ ประโยชน์สำ�หรบั พวกตนน่มี าทห่ี นึ่งละ่ ไม่ว่าจะเปน็ การขน เสบียง เคลือ่ นย้ายกำ�ลังพลหรอื กระท่ังการขนส่งสนิ คา้ เป็นการจัดระบบ Logistic ตามประสาคนยุโรปทเี่ ป็นระเบียบกว่าแตก่ อ่ น คนพมา่ ก็พลอยได้ ประโยชน์ไปด้วย จงึ ไมแ่ ปลกท่พี ม่าตอนใตจ้ ึงเจริญเอาๆ จนเมื่อส้ินแผ่นดินทัง้ หมดแลว้ กอ็ าจจะยงั คนพม่าบางสว่ นที่ไม่ได้ เหน็ วา่ เปน็ เรื่องโลกแตก แนน่ อนวา่ เกียรตภิ มู ขิ องความเปน็ พม่าและเอกราช ของประเทศตอ้ งสูญเสยี ไป แตช่ วี ิตกย็ ังตอ้ งดำ�เนนิ ตอ่ ไปอยดู่ ี ปญั หาทเี่ กิด จงึ น่าจะมาจากราชสำ�นักมากกวา่ จากราษฎร อังกฤษเร่ิมจัดระบบการปกครองเสียใหม่โดยเร่ิมจากการปกครอง ทอ้ งถนิ่ มกี ารยกเลกิ ตำ�แหน่ง เมียวสจุ ี หรอื ต�ำ แหนง่ เจา้ เมอื ง ซง่ึ ไดร้ ับการ แตง่ ตั้งจากกษัตรยิ ์ แมจ้ ะไม่มีเงินเดือนประจ�ำ แต่จะมีรายได้จากการเกบ็ สว่ น อากร ค่าธรรมเนียมตา่ งๆ รวมถึงการกะเกณฑไ์ พร่พลแรงงาน ท�ำ ใหเ้ จา้ เมอื งกลายเป็นผมู้ อี ิทธพิ ลมากในระดบั ทอ้ งถ่นิ ยงั คงเหลอื เพยี งตำ�แหนง่ ผู้ใหญ่บา้ น สว่ นการดูแลในระดับเขตหรือเมอื งนนั้ ข้าราชการชาวอังกฤษจะ เป็นผดู้ ูแล ส่ิงที่อังกฤษต้องการจากพม่าอย่างมากคือทรัพยากรธรรมชาติและ เสบียง พมา่ จึงกลายเปน็ เหมอื นตเู้ ย็นขนาดใหญ่สำ�หรับอังกฤษในการผลิต อาหารเลยี้ งอาณานิคม รวมถึงส่งขายเป็นสินค้าออกส�ำ คญั เรยี กเม็ดเงินเข้า กระเป๋าองั กฤษจนแน่นตุง อังกฤษใช้วิธีการขุดคลองเชื่อมแม่น้ำ�สายหลักในบริเวณตอนใต้ของ ประเทศ จากเดมิ ทีเ่ ป็นป่าทบึ เน่ืองจากคนพม่าไมน่ ยิ มเพาะปลกู บริเวณน้ี เพราะนำ�้ ทะเลหนุนข้นึ อยู่เสมอ อังกฤษกป็ รบั สภาพพน้ื ท่ใี หเ้ หมาะแก่การ เพาะปลูก แรงงานชาวพม่าที่เดิมเป็นแรงงานไพร่ของกษัตริยก์ ็กลายเปน็ ๑๒๖

ประวัติศาสตรจ์ านเดียว แรงงานอิสระเมอ่ื ระบอบกษัตริยถ์ กู ยกเลิก คนกล่มุ นี้จงึ เขา้ มาจบั จองพ้ืนที่ และกลายเป็นเกษตรกรเต็มตวั ท�ำ หน้าทส่ี รา้ งความเจริญทางเศรษฐกิจให้ กับประเทศ แมใ้ นช่วงแรกๆ การบกุ เบิกพ้นื ทอ่ี าจจะยากลำ�บากอยูไ่ มน่ อ้ ย แต่ เม่อื ผ่านไปเพียง ๓-๔ ปี เมื่อสภาพพ้ืนทแ่ี ละชาวพม่าเร่มิ ปรับตวั ได้ ดินแดน ตอนใตป้ ากแมน่ ำ้�กก็ ลายเป็นอูข่ ้าวอนู่ ำ้�สำ�คัญ ไม่เพียงเลย้ี งปากทอ้ งคนพม่า เทา่ นั้น แตย่ งั เปน็ แหล่งอาหารส�ำ คัญของอนิ เดียและองั กฤษดว้ ย ******************** ชาวพม่าได้ย้มิ หน้าใสอยไู่ ม่นานนกั กเ็ รมิ่ มีปัญหา ชาวนาที่เหน่ือย ยากไม่ไดร้ บั ผลประโยชนอ์ ยา่ งเต็มท่ี คนท่ีรบไปเตม็ ๆ คือชาวอังกฤษ รวม ถึงชาวอินเดียที่เร่มิ แห่กนั เข้ามาในประเทศมากขน้ึ โดยเขา้ มาท�ำ การค้าและ ปลอ่ ยเงินกู้ ภาพแขกเดนิ เกบ็ เงนิ คงไมใ่ ช่มเี ฉพาะในบา้ นเราเท่านั้น น่าจะมมี า ตง้ั แตส่ มยั โนน้ เลยทีเดยี ว ชาวนาพม่าจ�ำ เปน็ ต้องปรับสภาพพืน้ ที่เพ่อื ทำ� กิน แต่กต็ อ้ งใชเ้ งนิ ทนุ อยู่มากโข รัฐบาลพมา่ คงไมไ่ ดม้ ีการรณรงค์ใหค้ นใน ประเทศร้จู กั การออมเงินกระมงั จงึ ต้องหยบิ ยืมกหู้ นี้มาจากแขกหน้าเลือด ครั้นจะไปกู้ธนาคารอังกฤษเขาก็ไมย่ อม เพราะไมม่ อี ะไรไปค�ำ้ ประกัน จะ เอาทด่ี ินไปคำ�้ นายแบงค์องั กฤษก็ไมร่ บั เขาคงคดิ ว่าทำ�ไมจะต้องรบั ประกัน ทด่ี นิ ท่เี ปน็ ของเขาเองด้วย เพราะองั กฤษถือว่าแผน่ ดนิ พม่าคือแผน่ ดินของ อังกฤษ ชาวนาพมา่ จงึ ตอ้ งจ�ำ ใจกจู้ ากแขกอินเดยี ในอัตราดอกเบีย้ ท่สี งู ลบิ อัตราดอกเบี้ยท่ีชาวอินเดียต้ังขึ้นนี้ไม่ได้ถูกควบคุมจากรัฐบาล องั กฤษเลย เพราะอังกฤษมองว่าเมอื่ สมยอมกนั แลว้ จะเขา้ ไปวุ่นวายอีก ท�ำ ไม ชาวนาพมา่ ก็กล้�ำ กลืนท�ำ นาไป อังกฤษเข้าครอบครองตลาดคา้ ขา้ ว ๑๒๗

ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว ของพม่าทงั้ ประเทศ ส่วนชาวอินเดยี กบั จีนน้ันแบ่งผลประโยชนก์ ันในตลาด ค้าปลกี คนที่ซวยคอื เจ้าของประเทศนน่ั ไง ในยุคสมยั นนั้ พม่าคือประเทศผู้สง่ ออกข้าวอันดบั หน่งึ ของโลก แต่ คนพม่ากลับยังยากจน ขณะทค่ี นองั กฤษ คนอนิ เดีย กลบั มั่งมีขึ้นเสยี อย่าง นัน้ เปน็ ชว่ งเวลาแหง่ การกอบโกยของคนตา่ งชาตเิ สยี จรงิ ๆ ชาวนาพมา่ ยงั ไมส่ ามารถปรบั ตวั กบั ระบบเศรษฐกจิ แบบใหมน่ ไ้ี ด้ ด้วยเพราะขาดความรู้ และทนุ รอน จงึ ตกเปน็ เหย่อื ของบรรดานายทนุ ท้งั หลาย ทงั้ ทีพ่ มา่ ส่งออก ข้าวมากมายแต่พ้ืนที่กว่าครึ่งหนึ่งนั้นไม่ได้เป็นของชาวนาหรือไม่ได้เป็นแล้ว กลายเปน็ ว่าคนพมา่ เป็นเพียงชาวนารบั จา้ งทีท่ �ำ นาใหก้ ับนายทุน นอกจากปัญหาทางเศรษฐกจิ แลว้ พมา่ กเ็ ริม่ มปี ญั หาทางสังคมมาก ข้นึ โดยเฉพาะการอพยพเข้ามาของชาวอินเดยี และชาวจนี จากเดิมทป่ี ัญหา ชนกล่มุ นอ้ ยกม็ มี ากพออยู่แล้วการอพยพเข้ามาในพม่านัน้ เปน็ เพราะอังกฤษ ไมไ่ ดม้ มี าตรการในการควบคมุ คนพม่าเองกร็ ู้สกึ วา่ แผ่นดนิ ของพวกเขากลาย เปน็ พืน้ ที่สาธารณะทีใ่ ครจะเขา้ จะออกกนั ได้อย่างอิสระ เม่ือผู้คนมากขน้ึ ก็ เร่มิ เกดิ ปญั หาแรงงานตามมา คนที่อพยพเข้ามาก็แยง่ งานของคนในพ้ืนท่ี ทั้งงานในภาคการผลติ อย่างชนช้นั แรงงาน เกษตรกร งานชา่ ง หรอื อาชีพ เฉพาะทางอยา่ ง แพทย์ นักกฎหมาย เสมียน ประกอบกับอตั ราการเพ่มิ ของ ประชากรพมา่ เองก็ทวขี ้นึ เร่อื ยๆ คงเพราะไม่มีสงครามแล้ว ครอบครวั ไดอ้ ยู่ กนั พร้อมหน้า เม่อื วา่ งหนักเขา้ ก็ผลติ ลูกกนั ดกี ว่า เมอ่ื คนมากขึน้ แตอ่ าชพี มจี ำ�กัดก็เริ่มยุ่งยาก อังกฤษไม่ได้ปอ้ งกัน การทะลักเขา้ มาของแรงงานอนิ เดยี ทง้ั ทค่ี วรจะท�ำ เพราะองั กฤษเหน็ ว่าพม่า เปน็ ส่วนหน่ึงของอาณานคิ มอนิ เดยี ดังน้ันการเดินทางยา้ ยถน่ิ ก็เปน็ สิทธท์ิ ี่ คนอนิ เดยี พงึ จะกระท�ำ ได้ ขณะเดียวกนั กต็ อ้ งพิจารณาถึงอปุ นสิ ัยดั้งเดมิ ของ คนพมา่ เองด้วย คนพม่าโดยสว่ นใหญ่เป็นเกษตรกร ทำ�งานกนั ตามฤดู เมื่อ เก็บเก่ยี วเสร็จกจ็ ะวา่ งในช่วงฤดูแล้ง เมอ่ื ยุคสมยั เปล่ียนไปแต่คนพมา่ ยังปรบั ๑๒๘

ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว ตวั ไม่ได้ จึงตกเป็นเบี้ยรองบอ่ นใหก้ ับแรงงานจากอนิ เดียและจนี จะเพราะการละเลยของอังกฤษหรือเพราะคนพม่าท่ีปรับตัวไม่ทัน เองกต็ ามแต่ ท�ำ ใหค้ นพมา่ คอ่ นขา้ งมีความรสู้ ึกในแงล่ บกบั ชาวต่างชาติ อันน้ไี ม่ไดห้ มายความวา่ เป็นกนั ทกุ คนนะครับ แตภ่ าพรวมแล้วคงไมม่ ใี คร ชอบใจนักหรอกท่ีถูกคนอื่นเข้ามายึดอาชีพหรือมาแย่งผลประโยชน์บนแผ่น ดนิ ของตัวเอง ประกอบกบั เมอ่ื มเี ร่ืองเช้ือชาติเขา้ มาเกยี่ วขอ้ งดว้ ย แอบถาม ชาวพม่าในปจั จบุ นั เขากย็ ังมคี วามรสู้ กึ ไมค่ อ่ ยดกี ับพวกแขกอนิ เดียอยู่นะ ครบั แลว้ ตอนน้ีก็เจอปญั หาการเขา้ มาของชาวมุสลิมเพิม่ ขนึ้ ไปอกี จนเกิด ปญั หาความรุนแรงข้ึนในพม่าหลายต่อหลายหน ******************** แม้วา่ การปกครองของอังกฤษในชว่ งแรกๆ จะสร้างความพอใจให้ คนพม่า เพราะมรี ะบบการปกครองที่เป็นแบบเป็นแผน ดูมีความยตุ ธิ รรม มากกว่าในสมัยก่อน แต่ความยตุ ิธรรมทว่ี ่านกี้ แ็ คด่ เู หมือนวา่ จะดี เพราะ สุดทา้ ยแลว้ องั กฤษก็มองพม่าวา่ เป็นเมอื งขึน้ จะยำ่�ยอี ย่างไรก็ไดต้ ามสะดวก ข้อดีประการหน่ึงที่ผมนึกถึงก็คืออังกฤษส่งเสริมเรื่องการศึกษา แม้วา่ จะมีการหวังผลทางศาสนาแอบแฝงอยกู่ ต็ าม เนอื่ งจากการเผยแผ่ ศาสนาคริสต์นั้นนบั เป็นหนา้ ท่สี �ำ คัญประการหนึง่ แต่กค็ งยากทีจ่ ะดึงชาว พม่าออกจาพุทธศาสนาที่หย่งั รากลกึ มานานเป็นพนั ปี จากเดิมที่วัดคอื ศนู ย์กลางความรู้ในทางโลกและทางธรรมเพยี งแห่งเดยี วส�ำ หรับชาวพมา่ ก็ ถูกลดทอนความสำ�คัญลงไปเม่ืออังกฤษเปิดโรงเรียนรัฐและโรงเรียนของมิช ชนั นารีข้ึน ขอ้ ดขี องโรงเรยี นเหลา่ น้คี ือมุ่งให้ความรูแ้ ก่เยาวชนพม่าส�ำ หรับ ประกอบสมั มาอาชีพทใ่ี ช้ไดจ้ ริงในสงั คมยคุ ใหม่ การเรียนในวัดไมส่ ามารถ ใช้เลย้ี งชพี ได้จรงิ แตว่ ดั กย็ ังเป็นท่ีพึง่ ทางการศึกษาส�ำ หรบั เยาวชนทไ่ี ม่มี ๑๒๙

ประวัติศาสตรจ์ านเดียว ทนุ ทรพั ย์ เพราะการสง่ บุตรหลานเข้าเรยี นในโรงเรียนรฐั น้ันตอ้ งเสียค่า ธรรมเนียมแม้จะเลก็ น้อยมากแตส่ �ำ หรบั คนพมา่ โดยส่วนใหญ่ก็ยังถือว่าหนกั หนาอยู่ เมอ่ื เทยี บกบั การเรยี นทีว่ ดั ท่ีไมเ่ สยี เงินเลย ถงึ อยา่ งนนั้ เพ่ืออนาคต ท่ีมั่นคง คนพม่าจงึ ยอมกดั ฟันส่งบตุ รหลานเขา้ เรียนในโรงเรยี นรัฐให้ได้ แต่ข้อเสียของการเรียนในโรงเรียนรัฐคือสร้างความห่างเหินกับพุทธ ศาสนา เดก็ น้อยไม่อาจซาบซ้งึ ในพระธรรมไดเ้ หมอื นสมัยกอ่ น แม้พวกเขา จะไม่ไดห้ นั ไปนับถอื ครสิ ต์ตามความต้งั ใจขององั กฤษ แต่ระยะห่างของพทุ ธ ศาสนากบั เดก็ ๆ กท็ ำ�ใหผ้ ปู้ กครองเร่ิมวิตกอยบู่ ้าง ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษยใ์ นโรงเรียนรัฐกม็ ปี ญั หา ครูท�ำ หน้าท่สี อนหนังสือเสมือนเป็นงานรับจ้าง โดยที่ไม่ได้ผกู พันเหมอื นการเรียน กบั พระสงฆ์ สอนเสรจ็ ก็เปน็ อันจบ ไมม่ ปี ฏิสมั พันธ์ทด่ี ีต่อกนั อกี ทัง้ ยงั ปราก ฎว่ามีการปฏิบัติต่อกันอย่างเหลื่อมลำ้�ระหว่างนักเรียนท่ีนับถือศาสนาคริสต์ กับพุทธ จนเกดิ ความขดั แย้งขน้ึ หลายตอ่ หลายครงั้ พาลไปถงึ การกอ่ หวอด ประท้วงและนดั หยุดเรียน ถึงอย่างนั้นคนพม่าที่พอจะมีทรัพย์ก็พยายามส่งเสียให้บุตรหลาน ของตนร�่ำ เรียนสงู ๆ โดยสง่ มาเรียนในยา่ งกงุ้ อนิ เดีย หรอื กระทั่งทมุ่ ทนุ ส่ง ไปเรยี นท่ีลอนดอน เพราะโอกาสในการเข้ารับราชการน้นั มมี าก ข้าราชการ กลายเป็นงานท่ีมีเกียรตแิ ละรายได้งาม หนุ่มสาวชาวพมา่ จึงขวนขวายหา ทางเขา้ รบั ราชการมากขน้ึ แต่การปฏิบัติต่อคนพม่าอย่างไม่เท่าเทียมยังปรากฎให้เห็นอยู่ แมว้ ่าองั กฤษจะเปดิ โอกาสให้คนพมา่ เข้ารับราชการได้ แต่กย็ งั ไดร้ บั การ ปฏบิ ตั เิ สมือนเป็นพลเมอื งชน้ั สอง ข้าราชการพมา่ ที่อังกฤษแตง่ ตั้งน้ันไม่ไดม้ ี อำ�นาจสทิ ธิข์ าดใดๆ กระทงั่ การปกครองในระดบั ทอ้ งถน่ิ ข้าราชการพมา่ เร่ิม ไม่พอใจท่ีเห็นว่าพวกตนได้รับเงินเดือนและสิทธิพิเศษที่ด้อยกว่าชาวอังกฤษ ทีท่ �ำ งานในต�ำ แหน่งเดยี วกนั เวน้ เสียแต่จะไม่รับราชการและหันมาประกอบ ๑๓๐

ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว อาชพี อิสระทีด่ ูมเี กียรติอย่างทนายความ ซึ่งกต็ ้องเป็นคนท่ีมเี งนิ เทา่ นัน้ นอกเหนือจากความบีบค้นั ทางเศรษฐกจิ สงั คม และความเปน็ อยู่ แล้ว ชาวพม่ายงั ร้สู กึ วา่ พุทธศาสนาของพวกเขาไมไ่ ดร้ ับความดแู ลและใหก้ าร สนบั สนนุ จากองั กฤษเทา่ ทีค่ วร แมว้ ่าอังกฤษจะให้อสิ ระในการนบั ถือศาสนา แก่ชาวพม่า แต่องั กฤษก็ไม่เคยให้ความสำ�คญั กบั พุทธศาสนา ปล่อยให้คณะ สงฆด์ ูแลกนั เอง ทำ�ให้เกดิ ความยุ่งยากขึ้นตามมาภายหลัง ในอดตี น้นั กษัตริยจ์ ะทรงเป็นอัครศาสนูปถมั ภก แม้ว่ากษัตรยิ ์บาง พระองค์อาจจะไม่ทรงต้งั อยู่ในทศพศิ ราชธรรม แต่ความเปน็ ผ้อู ุปถมุ ภ์ค�ำ้ จุน พระพทุ ธศาสนานับเปน็ ภาระกิจสำ�คญั ทีแ่ ทบจะไมม่ พี ระองค์ใดละเลย บาง พระองคก์ ลับทมุ่ เทในทางนจ้ี นเกินพอดีเสียดว้ ยซำ้� คราวท่เี กิดความว่นุ วาย ในหมสู่ งฆ์หรือเม่ือเกิดวิกฤตศรทั ธาในแงใ่ ดก็ตามแต่ กไ็ ดพ้ ระมหากษัตริย์ เปน็ ผูย้ ่ืนมือเข้ามาจดั การ ไมว่ ่าจะเป็นกจิ การใดในพทุ ธศาสนา หากมพี ระเจา้ แผ่นดินเปน็ เจ้าภาพก็เป็นอนั สนิ้ ปัญหา แต่พอพมา่ ไมม่ กี ษตั รยิ ์อกี ตอ่ ไปแลว้ ใครล่ะจะเป็นเสาหลักในการคำ้�ชูพุทธศาสนา ในธรรมเนียมโบราณนั้นพระมหากษัตริย์จะเป็นผู้แต่งตั้งพระ สงั ฆราช หรือผู้นำ�คณะสงฆ์ในพม่า ถ้ายงั จำ�กนั ได้ในหลายยุคหลายสมัย พระมหากษัตริย์บางพระองค์ก็เข้ามายุ่มย่ามในกิจการของสงฆ์อยู่เนืองๆ แต่ก็ด้วยเพราะการท่ีพระองค์เป็นเจา้ ชวี ิต แม้กระท่งั ในหมู่พระสงฆก์ ็ไมเ่ ว้น อกี ทั้งการทรงเป็นอัครศาสนปู ถัมภก จึงถอื เป็นหนา้ ที่ในการดแู ลพระพทุ ธ ศาสนา แม้บางครั้งออกจะเกนิ เลยไปบา้ งกต็ ามที เมือ่ ไม่มสี ถาบันกษตั รยิ ์ แล้ว จงึ ไม่มีใครดำ�เนินการแตง่ ตั้งพระสังฆราช ตำ�แหนง่ ผู้นำ�สงฆใ์ นพมา่ จึง ขาดตอนในบางช่วงเวลา อังกฤษไมข่ อเขา้ มายุ่งเกีย่ วกบั กิจการใดๆ ของสงฆ์ เนือ่ งจาก อังกฤษประกาศให้อสิ ระในการเลือกนบั ถือศาสนาอยู่แลว้ และกช็ ดั เจนดว้ ย วา่ พวกเขาพยายามเผยแผ่ศาสนาครสิ ตม์ ากกว่า การใหเ้ สรีภาพทางศาสนา ๑๓๑

ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว จึงหมายถึงว่าอังกฤษจะไม่เขา้ มาข้องเกีย่ วกบั ศาสนจกั รในพม่า กระทง่ั การ ท�ำ นงุ บ�ำ รงุ วดั วาอาราม เมื่อพุทธศาสนาถกู ละเลยและปลอ่ ยคว้าง ก็เกิด ความแตกแยกในหม่สู งฆ์ และสรา้ งความไม่พอใจให้กบั พทุ ธศาสนิกชนชาว พมา่ ความไม่พอใจเร่ืองศาสนานี้ก่อให้เกิดความวุ่นวายตามมาภาย หลงั อยา่ งที่อังกฤษกค็ าดไม่ถงึ โดยมีพระสงฆเ์ ปน็ แกนนำ� เพราะเมือ่ ผู้น�ำ สงั คมดงั้ เดิมคือกษัตรยิ ์ถูกท�ำ ลายไป พระซง่ึ แต่ในอดตี เปน็ ผนู้ ำ�ทางอ้อมทาง ดา้ นจิตใจกก็ ลายเป็นกล่มุ บุคคลเดียวทีเ่ หลืออยู่ ชาวพม่าจึงหันมาใหค้ วาม ศรัทธาและเช่ือม่นั ในพระสงฆ์ยง่ิ กวา่ แตก่ ่อน พระสงฆจ์ งึ มบี ทบาทสำ�คญั ในการแสดงการต่อต้านและความไม่พอใจที่มีต่อการปกครองของอังกฤษ โดยเรม่ิ ตน้ ดว้ ยประเด็นทางศาสนา ประเพณแี ละวัฒนธรรม จนลุกลามเปน็ ประเดน็ ทางการเมอื งในเวลาตอ่ มา ******************** หากยังจำ�เรื่องกฎเกณฑ์การห้ามสวมรองเท้าเข้าวัดของชาวพม่า ไดอ้ ยู่ มันจะไม่เป็นเรอ่ื งเลยถา้ ชาวตะวันตกเปดิ ใจยอมรบั ธรรมเนยี มของ เจา้ ของประเทศ อันนีต้ อ้ งวพิ ากษ์กนั ตรงๆ วา่ เพราะชาวตะวนั ตกถือดวี ่า ตวั เหนอื กวา่ คนพมา่ ดว้ ยตรรกะใดก็ไม่ทราบได้ พวกฝรัง่ มกั จะคดิ เชน่ นี้กบั ทุกดินแดนใหม่ที่พวกเขาไปเหยียบท้ังที่ดินแดนนั้นอาจจะมีประวัติศาสตร์ ยาวนานกว่าตวั เองเสียดว้ ยซ้ำ� เร่ืองขอ้ หา้ มการสวมรองเทา้ เข้าวัดหรอื เขตพระราชฐานในพมา่ นน้ั มี มานมนาน ฝรัง่ หัวทองทเ่ี ขา้ มาในพมา่ ยุคแรกๆ กเ็ ห็นจะทำ�ตามกันดี เพราะ ความจริงแลว้ กไ็ ม่ใช่จะเปน็ เร่อื งเหลอื บา่ กวา่ แรง อยา่ ลืมวา่ ฝร่ังไม่เขา้ วดั พุทธ ดังนนั้ จะสวมหรือถอดรองเท้าในวัดก็ไมเ่ ดือดร้อน สว่ นการเขา้ เฝา้ พระเจ้า ๑๓๒

ประวัติศาสตร์จานเดียว แผน่ ดนิ หรือเขา้ ไปติดตอ่ ราชการในเขตพระราชฐานนน้ั ปหี นึ่งๆ จะทำ�กนั สกั กีห่ นเชียว จึงไมเ่ ห็นจะเป็นเรอื่ งเดือดรอ้ นอันใด ทิฐิและความทะนงตนจึงนา่ จะเป็นเหตผุ ลส�ำ คัญ ท่ฝี รง่ั บน่ ว่าเปน็ ธรรมเนียมท่ีล้าหลังและไมใ่ หเ้ กยี รติ ก็ ไม่ทราบวา่ มันไมใ่ ห้เกียรตติ รงไหน ถา้ บังคับใหค้ นพม่าสวมรองเท้ายามทไ่ี ป เขา้ เฝ้าควนี ของเขา แบบนจี้ ะเรยี กว่าไมใ่ ห้เกียรติบ้างไดไ้ หม บ้านใครก็บา้ น มนั การปฏิบัตติ ามธรรมเนียมของเจ้าบา้ นจึงนา่ จะเหมาะสมทส่ี ุด ที่ว่ามายืดยาวน้ีเพราะเห็นวา่ เร่อื งเล็กๆ อย่างการถอดรองเทา้ นี่ กลายเป็นจุดเร่ิมต้นหน่ึงของขบวนการปฏวิ ัตอิ งั กฤษเลยทีเดียว สมยั ทีอ่ าณาจกั รพม่ายังเปน็ มหาอ�ำ นาจนั้น เรื่องการถอดรองเทา้ นี่ เป็นข้อห้ามทไ่ี มม่ ีการผ่อนปรน จะเร่ิมมีการผ่อนปรนบา้ งเอาในยุคหลงั ถงึ อยา่ งน้นั เวลาเข้าในเขตพระราชฐานก็ยงั ต้องถอดอยู่ดี เพยี งแตร่ าชส�ำ นกั ก็ อตุ สา่ ห์ปูพรมไว้ใหฝ้ ร่งั เดิน จะได้ไมบ่ ่นว่าร้อนหรอื ไม่สะอาดอกี อยา่ งในสมยั พระเจา้ มนิ ดงท่ถี อื ว่ามีการปฏิรูปประเทศมากพอสมควร แต่ฝร่ังก็ยังแอบ บ่นอกี อยูด่ ีวา่ ปา่ เถื่อนเหลอื เกิน พระเจา้ แผ่นดินพมา่ เองก็เคยตดั รำ�คาญ ดว้ ยการตัดสมั พนั ธ์กบั ฝรง่ั อยูห่ ลายครง้ั ฝรงั่ กท็ �ำ เป็นงอนไปอย่างนั้นเพราะ อย่างไรเสียถ้าอยากจะทำ�การค้าในพม่าก็ต้องขอพระบรมราชานุญาตอยู่ ดี ไปๆ มาๆ พมา่ กย็ อมฟืน้ สัมพนั ธ์ ฝร่ังกย็ อมถอดรองเท้าเฝ้า เป็นอยา่ งนี้ หลายคราว จนเมอื่ องั กฤษยดึ พมา่ ได้เตม็ ๆ กส็ วมรองเท้าเข้าวังด้วยความร่าเรงิ อย่างตอนทีเ่ ขา้ เฝ้าพระเจ้าธบี อในช่วงสงครามแตกหกั นายพลอังกฤษก็สวม รองเท้าสะพายดาบเตม็ ยศเขา้ เฝา้ หนา้ ตาเฉย คนชนะท�ำ อะไรก็ไมผ่ ิด และยงั เป็นการหยามพระเกยี รติเสียอีกดว้ ย เรื่องถอดรองเท้าเข้าวัดจึงเกี่ยวโยงกับเร่ืองศาสนาซ่ึงย่อมมีพระสงฆ์ เขา้ มาเก่ียวข้อง พทุ ธศาสนาเร่ิมไม่เป็นระเบียบตามทเ่ี ลา่ ไว้ตอนตน้ หลงั เขา้ ยึดครองพมา่ ไดย้ ่ีสบิ ปเี ศษ พระสงฆพ์ ม่ากบั ประชาชนบางสว่ นเรม่ิ คิดว่า ๑๓๓

ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว สมควรจะตอ้ งท�ำ อะไรบางอยา่ งเสียแลว้ ประกอบกับคนหนุม่ สาวชาวพม่า หวั ปฏิรปู ทไ่ี ด้รบั การศึกษามแี นวในการสรา้ งคา่ นยิ มรกั ชาติ จงึ รว่ มกันก่อตง้ั องค์กรเลก็ ๆ ขน้ึ ในปี พ.ศ. ๒๔๔๙ ช่ือวา่ สมาคมยุวพุทธพมา่ หรอื Young Men Buddhist Association : YMBA คล้ายกับสมาคม YMCA ของตะวันตก เปน็ การแสดงพลังของคนพมา่ รุ่นใหม่เปน็ ครงั้ แรกหลงั จากสญู เสียเอกราช สมาคมยุวพุทธพมา่ กลายเป็นแกนนำ�ของขบวนการชาตินยิ ม ในพม่าด้วยประเด็นทางศาสนาและวฒั นธรรม ไมน่ านนักสมาคมก็เริ่มแผ่ ขยายสาขาไปทวั่ ประเทศ และเร่มิ มอี ทิ ธพิ ลกดดันอังกฤษในการมอบเงนิ ชว่ ยเหลอื กจิ การของสมาคม โดยเฉพาะการก่อต้ังโรงเรยี นสอนพทุ ธศาสนา เนือ่ งจากถือวา่ เปน็ สมาคมท่จี ัดต้ังขึน้ ถูกตอ้ งตามกฎหมาย อกี ทงั้ องั กฤษเอง ที่ประกาศชดั เจนเรอื่ งเสรภี าพและความเสมอภาคทางศาสนา อังกฤษเองก็ ยังจ่ายเงินชว่ ยเหลอื โรงเรยี นครสิ ตท์ ัว่ ประเทศ ดงั นั้นก็ตอ้ งจ่ายให้โรงเรียน พุทธด้วยเช่นกัน กิจกรรมที่ถือว่าประสบความสำ�เร็จของสมาคมยุวพุทธพม่าคือ การต่อตา้ นการสวมรองเท้าเขา้ วดั ของชาวต่างชาติ ท่จี รงิ ฝรัง่ เองก็คงมีท้ัง ทีย่ อมรับธรรมเนยี มดง้ั เดมิ กับฝรั่งนิสัยไมด่ ที ี่ถอื เอาวา่ เปน็ เจ้านาย จะสวม รองเท้าเข้าวัดใครจะท�ำ ไม คนพมา่ จึงไม่ชอบใจและเกดิ การต่อตา้ นข้ึน เรียก ขานกนั ว่า กบฎเกือก เรียกรอ้ งใหช้ าวต่างชาติเคารพต่อธรรมเนยี มปฏิบัติ ของชาวพมา่ ผลคอื ชาวตา่ งชาติต้องยอมรับและปฏิบตั ติ าม นับเป็นชยั ชนะ ที่สำ�คัญของสมาคมและเป็นจุดเร่ิมต้นที่ดีสำ�หรับการสร้างแนวคิดชาตินิยม แตก่ ต็ อ้ งไมล่ มื ว่าฝรง่ั ไมเ่ ดือดรอ้ นอะไรนกั ไมเ่ ขา้ วัดกไ็ มเ่ ห็นเปน็ ไรอย่ดู ี ถงึ อย่างน้นั ก็ดี ชัยชนะเลก็ ๆ คร้ังนี้ก็เปน็ จุดเริ่มตน้ ความเช่ือมน่ั ของคนรนุ่ ใหมท่ ี่มองว่าพวกเขายังคงเป็นเจ้าของแผน่ ดิน แม้จะเปน็ เมอื งขน้ึ ของอังกฤษ แต่กใ็ ชว่ า่ อังกฤษจะควบคุมชวี ิตของพวกเขาได้ จากทส่ี มาคม ดำ�เนนิ กิจกรรมทางศาสนาและวฒั นธรรมในยุคแรก กเ็ ริ่มมีแนวคดิ ชาตนิ ิยม ๑๓๔

ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว และการเมอื งเพิ่มขึน้ และจากสาขาท่มี ีอยทู่ ั่วประเทศกท็ ำ�ใหแ้ นวคดิ เหลา่ น้ี กระจายไปสู่คนพมา่ ผู้รักชาตจิ นก่อใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงในเวลาตอ่ มา ๑๓๕

ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว ชาวพม่าและชนกล่มุ น้อยถกู เกณฑไ์ ปใช้แรงงาน (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ๑๓๖

พมา่ ในปากสงิ โต (ยคุ ปฏิวัต)ิ ขณะที่ชาวพม่ากล้ำ�กลืนกับการอยู่ภายใต้กรงเล็บของพญา สิงโตเพือ่ นบา้ นใกล้เคยี งกก็ ล�ำ้ กลืนไมย่ ง่ิ หยอ่ นไปกว่ากนั อดตี ดนิ แดนที่ อาณาจักรอันรุ่งเรืองเคยครอบครองต้ังแต่สมัยพุกามเรืองอำ�นาจอย่าง บริเวณฝ่ังตะวนั ออกของอนิ โดจีน กถ็ กู ฝรัง่ เศสรกุ คืบมากลืนกินด้วยเชน่ กัน ปี พ.ศ. ๒๓๙๘ ฝร่งั เศสบกุ ยึดอา่ วตังเกยี๋ ได้สำ�เร็จ และยงั รกุ คืบ โจมตีจนครอบครองดนิ แดนฝัง่ ตะวนั ออกของเอเชยี อาคเนย์ไดท้ ง้ั หมด กอ่ ตง้ั เป็น สหภาพอินโดจีน ในระยะเวลาใกล้เคยี งกบั ทีอ่ งั กฤษเข้ายดึ ครอง พมา่ หากยังจ�ำ กันไดฝ้ รง่ั เศสกเ็ คยมีเป้าหมายที่จะครองพม่าอยเู่ หมอื นกนั แต่ตดิ อยทู่ ี่มอี ังกฤษเป็นกา้ งชิ้นใหญ่ขวางคออยู่ ดังน้ันสภาพความเป็นอยู่ และอุดมการณ์ของประชาชนที่ตกเป็นเบี้ยล่างของฝรั่งตะวันตกจึงมีความ คลา้ ยคลึงกัน คือใฝห่ าสันติภาพและความรงุ่ เรอื งในอดีต รวมถึงความ รงั เกยี จและชิงชงั ชาวตา่ งชาติ ถึงจะชิงชังอย่างไรแต่คนพม่าก็ต้องยอมรับว่าฝร่ังหัวทองยังคงล้ำ� หนา้ พวกเขา คนผวิ ขาวเปน็ ชนชาติทยี่ ง่ิ ใหญ่ อาจเพราะถกู ปกครองและ ด้วยวถิ ชี ีวิตทดี่ ูหรูหรา อกี ท้งั พม่าในช่วงกอ่ นท่จี ะเสยี เอกราชยงั ถกู ครอบงำ� ดว้ ยแนวคดิ แบบโบราณ ล้าหลงั ปิดประเทศ ไมส่ นใจโลกภายนอก จึงไม่น่า ๑๓๗

ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว แปลกที่ประชาชนชาวพมา่ จะคดิ ไปเองว่าตนดอ้ ยกว่าคนผิวขาว จนเมอื่ เกดิ สงครามโลกครงั้ ท่ี ๑ ขน้ึ ในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ คนพมา่ กเ็ รม่ิ เปล่ียนทศั นคตใิ หม่ องั กฤษเกณฑแ์ รงงานชาวพม่ากว่าแปดพนั คนไปท�ำ งานยังตา่ งแดน พวกเขา ได้พบกับความเลวรา้ ยของสงครามยคุ ใหม่ และพบว่าคนผวิ ขาวไม่ไดศ้ ิวไิ ลซ์ ไปกว่าพวกเขา สงครามโลกคร้งั ที่ ๑ ยังเปน็ การปลกุ จติ ส�ำ นกึ และมอี ทิ ธิพล ต่อขบวนการชาตนิ ิยมอย่างมาก เมื่อชาวอินเดียถูกอังกฤษเกณฑ์ไปใช้แรงงานและเป็นทหารร่วมรบ ในสงครามโลกครั้งท่ี ๑ รฐั บาลองั กฤษจึงพยายามเอาใจด้วยการใหส้ ัญญาวา่ จะให้อนิ เดียปกครองตนเอง ข่าวนส้ี รา้ งความหวงั ให้กับชาวพม่าเชน่ กัน แต่ อังกฤษก็ยังไม่ยอมปล่อยให้พม่าปกครองตนเองอยู่ดีเพราะมองว่าพม่ายังล้า หลัง คนพมา่ ส่วนใหญย่ ังขาดการศึกษาทเ่ี พียงพอ ซึ่งสรา้ งความไมพ่ อใจให้ ชาวพม่าเปน็ อยา่ งมาก ความจริงแล้วอังกฤษเองก็ใช่ว่าจะปล่อยให้อินเดียปกครองตนเอง ตามทีใ่ ห้ค�ำ มั่นไว้ เพราะกวา่ อนิ เดียจะเป็นอสิ ระอยา่ งสมบรู ณ์ได้ก็ต้องรอ จนถงึ หลังสงครามโลกครง้ั ที่ ๒ ดังนน้ั ความหวงั ในการเปน็ อสิ ระของพม่าก็ เป็นเพยี งแคค่ วามฝนั ต่อไป ******************** ได้เคยเกริ่นไว้เม่ือบทท่ีแล้วว่าการที่อังกฤษเข้ามาปกครองพม่าน้ัน ยงั คงมีความดอี ย่บู า้ งตรงทีเ่ ปดิ กวา้ งทางการศกึ ษา โดยเฉพาะการศกึ ษา แบบสากลทีส่ ามารถนำ�ความร้ไู ปใช้ได้จริงๆ แทนการร�ำ่ เรยี นจากวัดเหมือน ในสมยั โบราณ ปี พ.ศ. ๒๔๒๑ ไดม้ กี ารก่อตงั้ มหาวทิ ยาลัยยา่ งกงุ้ ขึน้ ทเี่ มอื ง ย่างกงุ้ และไดก้ ลายเป็นรากฐานส�ำ คญั ของการศกึ ษายุคใหมข่ องพมา่ มา จนถงึ ปัจจบุ นั การเปดิ มหาวทิ ยาลยั ในครั้งนน้ั เปรยี บเสมือนการเปิดโลกทศั น์ ๑๓๘

ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดียว ทางการศึกษาให้แก่ชาวพมา่ ขณะทพี่ มา่ ตอนบนยังคงคร�ำ่ ครกึ ับแนวคิดแบบ เก่าที่ยังคิดว่าพม่าเป็นศูนย์กลางของจักรวาลและยังไม่เปิดใจรับวิทยากร ใหม่ๆ มหาวทิ ยาลัยยา่ งกุ้งนี้เองทีต่ อ่ มาไดก้ ลายเป็นจดุ เริ่มตน้ ของขบวนการ กชู้ าตทิ ี่อังกฤษเองกอ็ าจไม่ไดน้ กึ ถึง ในช่วงแรกๆ กจิ การของมหาวทิ ยาลยั ย่างก้งุ กใ็ ช่ว่าจะราบร่ืน แมจ้ ะ อยู่ในเมืองย่างกุ้งแต่ก็เป็นเพียงมหาวิทยาลัยสาขาท่ีแตกแขนงมาจากมหาวิ ทยาลัยกัลกตั ตา เสรีภาพทางการศึกษายงั ไมเ่ ป็นรูปธรรมชัดนกั เมอื่ เกดิ การ ประท้วงเรียกร้องเอกราชในกลั กัตตา ทำ�ใหส้ ่งผลกระทบเป็นลกู โซ่เชื่อมมาถงึ เมอื งย่างกุ้ง อังกฤษจงึ จบั แยกทง้ั สองมหาวิทยาลัยออกจากกนั โดยหวงั ว่าจะ ไดก้ ุมการบรหิ ารแบบเบด็ เสรจ็ ในมหาวทิ ยาลยั ย่างก้งุ เพ่อื จะได้ไมเ่ กดิ ความ วุ่นวายเหมือนในกัลกตั ตา แต่สมาชิสภามหาวทิ ยาลยั กลับไม่มีชาวพม่าเลย สกั คนเดยี ว สรา้ งความไม่พอใจใหน้ ักศกึ ษาจนเกิดการประทว้ งและนดั หยุด เรียน กรณกี บฎเกือกโดยสมาคมยุวพทุ ธพมา่ (YMBA) ทีป่ ระสบความ ส�ำ เรจ็ คือโมเดลส�ำ คญั ท่ีแสดงใหเ้ หน็ วา่ เสยี งของชาวพม่ายังคงมพี ลังหาก รว่ มมือกัน แตก่ ารเคลื่อนไหวเรียกรอ้ งทางศาสนาและวฒั นธรรมไมเ่ พียงพอ เสยี แล้ว ปี พ.ศ. ๒๔๖๓ จึงไดม้ ีการประกาศยุบสมาคมยวุ พทุ ธพม่าและจัด ตัง้ สมาคมใหมค่ อื General Council Burmese Association : GCBA เปน็ การ ประกาศเจตนารมยท์ ่ีตา่ งออกไปจากเดิมเมื่อเปลีย่ นจาก Buddhist เป็น Burmese ในความหมายของชนชาตแิ ละชาตนิ ิยม เน้นการปฏบิ ัตกิ าร ทางการเมอื งโดยตรง สมาชิกของสมาคมจงึ ขยายวงกวา้ งออกไปมากยงิ่ ขึ้น ไมเ่ พยี งเฉพาะวงการการศึกษาของคนหนุ่มสาวเทา่ น้นั ในหมพู่ ระ สงฆก์ เ็ ริ่มมกี ารเคลอื่ นไหว ซง่ึ ไดร้ ับการสนบั สนุนอย่างนา่ พอใจ พระสงฆ์เข้า มามีบทบาทางการเมอื งในยคุ นี้เอง เกดิ พระสงฆท์ ่ีเป็นแกนนำ�เคลอ่ื นไหว ทางการเมืองท่มี ีชอ่ื เสยี งรูปหน่ึงคือ พระอูอุตมะ ทมี่ ีแนวคดิ ท่วี า่ การหลดุ พ้น ๑๓๙

ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว ในทางธรรมน้ันจะไมม่ ีทางเกดิ ข้ึนไดห้ ากไรอ้ ิสระในทางโลก เปน็ การน�ำ เอา พุทธศาสนามาเช่อื มโยงกับการเมืองอยา่ งมนี ัยสำ�คญั กลายเป็นการประกาศ ว่าพระสงฆม์ ีความชอบธรรมในการเขา้ ร่วมขบวนการกู้ชาตดิ ว้ ยเช่นกนั จน อาจจะกลายเป็นวัฒนธรรมของพม่าท่ีพระสงฆ์สามารถเข้ามามีส่วนทางการ เมอื งได้แมจ้ ะไมม่ ีบัญญัติไวใ้ นพระวนิ ัยก็ตาม หลงั สงครามโลกคร้ังท่ี ๑ พม่ากเ็ กดิ สมาคมหรือองค์กรอิสระข้ึน มากมาย ดว้ ยแนวคิดชาตนิ ยิ มทีม่ ุ่งหวงั จะผลกั ดนั ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลง ในสังคม โดยเฉพาะการเรียกรอ้ งอสิ ระจากการปกครองของอังกฤษ การเกดิ ขึ้นของสมาคมตา่ งๆ เหลา่ น้ี สว่ นหน่ึงมาจากคนหนุ่มสาวชาวพม่ารุน่ ใหม่ ทไี่ ด้รับการศกึ ษาดี มแี นวคิดกา้ วหน้ามากกวา่ กลุ่มผู้น�ำ เก่าที่ยังคงยึดม่นั กับ แนวคดิ อนรุ กั ษน์ ิยม กลุ่มเกา่ นนั้ ยงั คงฝงั แน่นกบั ความพยายามเรียกรอ้ ง เอกราชเพ่ือที่จะน�ำ พมา่ กลับสู่ความเปน็ มหาอำ�นาจแบบพกุ าม องั วะ หง สาวดี มณั ฑะเลย์ แตค่ นหนมุ่ สาวกลบั มองไปข้างหน้าโดยมชี าตทิ ีเ่ จรญิ แลว้ เปน็ ต้นแบบมากกว่า หลังสงครามโลกครัง้ ท่ี ๑ องั กฤษเร่ิมปกครองอาณานิคมอนิ เดีย และพมา่ ได้ลำ�บากข้ึนทกุ ที โดยเฉพาะกบั อินเดียทไ่ี ดส้ ญั ญาไว้ว่าจะยอมยก อำ�นาจปกครองตนเองให้ ซ่งึ พมา่ กเ็ ห็นวา่ พวกเขาก็นา่ จะได้สทิ ธิน์ ้นั ด้วยเชน่ กัน ปี พ.ศ. ๒๔๖๖ องั กฤษยนิ ยอมให้พมา่ จัดตั้งรฐั บาลของตนเองได้แตก่ ็ ยงั อยภู่ ายใตก้ ารควบควมของอังกฤษ คอื จัดตัง้ เปน็ รฐั บาลครู่ ว่ มกบั บรหิ าร ประเทศ วิธีน้ดี เู หมือนจะใชไ้ ม่ไดผ้ ลกบั ทีอ่ ินเดีย แตใ่ นพมา่ กระแสความไม่ พอใจยังไมค่ ุกรนุ่ มากเท่า แม้จะมีรัฐบาลเป็นของตนเองครึ่งหนึ่งแต่อำ�นาจการบริหารราชการ แผน่ ดินในเรอ่ื งส�ำ คญั ๆ ยังคงเป็นของอังกฤษ ได้แก่ การตา่ งประเทศ การ ทหาร ความมัน่ คง การพาณิชย์ การคลัง ที่สำ�คัญคอื อังกฤษยงั คงแผนการ แบง่ แยกแลว้ ปกครอง โดยแยกชาวพม่าออกตามชาตพิ ันธ์ุ ซ่งึ ไมไ่ ดก้ อ่ ใหเ้ กิด ๑๔๐

ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว ผลดีใดๆ ข้ึนเลย โดยอา้ งว่าชนกลุ่มนอ้ ยเหลา่ นีย้ งั ล้าหลัง ต้องได้รบั การดแู ล จากขา้ หลวงองั กฤษเหมอื นเชน่ อดีต การดำ�เนินกิจกรรมทางการเมืองกลายเป็นอีกหน่ึงปัญหาสำ�คัญ คนพมา่ ยงั ใหม่ตอ่ ระบบการเลือกตั้ง เกอื บครง่ึ คอ่ นประเทศไม่รจู้ ักระเบยี บ วิธีการเชน่ น้ี ฝ่ายนักการเมืองกป็ ระสบปญั หาเรอื่ งเงนิ ทุน คนพม่าใช่ว่าจะ ร�ำ่ รวย คนท่มี ีเงนิ คอื คนองั กฤษ คนอนิ เดยี และจีน คร้นั นกั การเมอื งพมา่ จะ หันไปพ่ึงคนต่างชาติก็ลำ�บากเพราะจะถูกมองว่าเป็นหุ่นเชิดให้กับคนต่าง ชาติ การเลือกต้งั ในพม่าจึงดำ�เนนิ ไปอยา่ งถลู ู่ถกู งั ผลก็คือเละเทะ สภาของ พมา่ ยงั คงถูกครอบง�ำ โดยอังกฤษ นกั การเมอื งในสภาเรม่ิ แตกความคิดเหน็ กนั จนแบง่ ออกเป็นพรรคการเมอื งยอ่ ยๆ อีกหลายพรรค ทง้ั ฝา่ ยที่สนบั สนุน องั กฤษและฝ่ายชาตนิ ิยม บทสรปุ สุดท้ายกค็ ือพม่ายังไมอ่ าจปกครองตนเอง ได้โดยขาดอังกฤษคอยพยุง ปี พ.ศ. ๒๔๗๓ เกดิ แผน่ ดนิ ไหวคร้ังในในเมอื งพะโค ประกอบกบั สภาพเศรษฐกิจตกต�่ำ ท่วั ประเทศ ประชาชนชาวพม่าโยนความผดิ ให้กับการ ปกครองของอังกฤษและนักการเมืองพมา่ ประชาชนสูญสิ้นศรัทธากับทุกสิง่ จนเม่อื ชาวนาท่ัวประเทศลกุ ฮือขึน้ รวมตัวประท้วงภายใตก้ ารนำ�ของ ซายา ซาน นายแพทย์ท้องถิน่ คนหน่ึงท่อี ้างคำ�ท�ำ นายของเขาเองถงึ การเกิดแผน่ ดนิ ไหว ซงึ่ เปน็ ลางบอกเหตุว่าพมา่ ก�ำ ลงั จะเกิดการเปลย่ี นแปลงแบบลม้ กระดาน และเขาจะเป็นผู้สถาปนาระบบกษัตรยิ ์ข้นึ มาใหม่ การอ้างเรอ่ื งเหนือธรรมชาติและผสานแนวคดิ ของพุทธศาสนา รวม กบั สภาพบา้ นเมอื งท่ียากแค้น ไร้ทพี่ งึ่ พงิ จงึ ไม่ใช่เรือ่ งยากทก่ี ลุ่มกบฎของซา ยาซานจะทวอี ทิ ธพิ ลมากข้ึนทกุ ที วิธกี ารของซายาซานอาจดงู มงายแต่นน่ั ก็ เป็นวิธีเดียวท่ีจะปลุกระดมให้ประชาชนพม่าหันมาเชื่อถือด้วยคติความเช่ือ เรอ่ื งท�ำ นองนีฝ้ ังรากในคนพมา่ มาช้านาน แตใ่ ชว่ า่ ซายาซานจะไมม่ ีความรู้ ความสามารถ เขาเองเปน็ สมาชกิ ระดบั สงู ของ GCBA และมแี นวคิดต่อต้าน ๑๔๑

ประวัติศาสตรจ์ านเดียว องั กฤษมาชา้ นาน เขาเกดิ และเติบโตในช่วงปลายของราชวงศค์ องบอง จึงมี ประสบการณ์ตรงกับความล้มเหลวของระบอบกษัตริย์และทันเห็นอังกฤษเข้า ยำ�่ ยแี ผ่นดินแม่มาตงั้ แต่ต้น ปัญหาใหญ่ของประเทศที่กลุ่มกบฎเรียกร้องคือเศรษฐกิจท่ีตำ�ตำ่� ถึงขดี สดุ ระบบการจัดเกบ็ ภาษีท่จี ากเดมิ สามารถจา่ ยเป็นเงินหรอื สินค้าก็ได้ กลายมาเป็นตอ้ งจา่ ยเปน็ ตวั เงินอยา่ งเดยี วเท่าน้ัน ไหนจะกฎหมายห้ามตัด ไม้หากไมไ่ ด้รบั อนญุ าต คนพมา่ ยิง่ หมดหนทางท�ำ มาหากินเข้าไปอีก ในชว่ ง แรกกลมุ่ กบฎพยายามขอเจรจากบั อังกฤษแตไ่ ดร้ ับการปฏเิ สธ เมอ่ื เจรจา ไมไ่ ด้ผลจงึ เร่ิมใช้ความรนุ แรงกอ่ กวนสถานทรี่ าชการ จนทส่ี ดุ องั กฤษต้องใช้ ก�ำ ลังเข้าปราบปราม ถึงจะเหนือกว่าในทกุ ๆ ด้าน แตก่ ็ต้องใช้เวลานานถึงสองปีกวา่ จะก�ำ ราบกลมุ่ กบฎซายาซานไดร้ าบคาบ ซายาซานถูกจบั กมุ และถูกตดั สนิ ประหารชวี ติ มีผู้เสยี ชวี ติ จากการปราบปรามหลายพันคน สถานการณ์ใน ประเทศกลบั สู่ความสงบ แตก่ ลับสร้างความแค้นเคอื งในความรสู้ ึกของ ประชาชนชาวพม่า และรอทจ่ี ะระเบดิ ขึ้นในสกั วัน ******************** การต่อสู้เพื่อเอกราชที่ดูจะเป็นผลมากกว่าเกิดจากกระบวนการท่ี จัดตั้งข้นึ โดยนักศกึ ษา ผูน้ ำ�นักศึกษาที่ตอ่ มามีบทบาทอย่างมากเชน่ ออง ซาน อูซอ และ อูนุ ขณะทีน่ กั การเมอื งหลายคนกเ็ ติบโตมาจากกระบวนการ นักศึกษา เช่น อูบาปี อจู ิตชเลียง ส่วนนักการเมืองทมี่ ีชื่อเสียงและมีบทบาท ตอ่ กระบวนเรยี กร้องเอกราช เช่น อูปู หมอ่ งกยี อขู ิ่น อลู อมยนิ ดร.บามอ ฯลฯ แตค่ นกลมุ่ หลงั นไี้ ม่ค่อยได้รับความเชอ่ื ใจจากประชาชนมากเทา่ ทีค่ วร เพราะประชาชนมองว่าพวกเขามุ่งหมายเพ่ือผลประโยชน์ทางการเมือง ๑๔๒