ประวัตศิ าสตร์จานเดยี ว มากกวา่ ทจี่ ะท�ำ เพอ่ื ประเทศชาติ เหตุผลหน่ึงท่ีกระบวนนักศึกษาดูจะไปได้สวยเพราะคนหนุ่มสาว เหล่านไ้ี ด้รบั การศกึ ษาที่ดี แต่พวกเขากม็ ิได้คล้อยตามไปกบั การศึกษาท่ีเชดิ ชู วฒั นธรรมตะวนั ตก กลับมองวา่ การศกึ ษาของรัฐนั้นเน้นใหค้ วามสำ�คญั กบั วฒั นธรรมตะวนั ตกและยกยอ่ งอังกฤษอย่างสุดโตง่ ลดเกยี รตภิ ูมขิ อง กษัตริย์พม่าในอดตี ครบู าอาจารยแ์ ละนกั วิชาการสว่ นใหญ่เปน็ ชาวอังกฤษ เปน็ การลดความสำ�คญั ของนักวิชาการชาวพมา่ กลมุ่ นักศกึ ษาจำ�นวนหนึ่ง จึงท�ำ การทา้ ทายอำ�นาจรฐั ด้วยการกอ่ ความไมส่ งบเลก็ ๆ ในมหาวิทยาลัย เชน่ แตง่ กายไมเ่ รียบร้อย สวมรองเท้าไมเ้ ดินเสียงดงั จดั การแสดงพืน้ บ้าน ในมหาวทิ ยาลยั กอ่ ความรำ�คาญให้ขา้ ราชการ รวมถงึ การนำ�เอาค�ำ ว่า ทะขนิ่ ที่แปลว่าเจ้านาย มาใชน้ �ำ หนา้ ชือ่ เพือ่ เป็นการประชดประชันเจา้ หนา้ ที่รฐั เป็นตน้ ปี พ.ศ. ๒๔๗๙ ขบวนการนกั ศึกษาได้ก่อตัง้ สมาคมชาวพม่า ขึ้น จากความชว่ ยเหลือของนักศึกษารุ่นพี่ไดจ้ บการศึกษาไปแลว้ ในชัน้ แรก กจิ กรรมของสมาคมยังมิได้มงุ่ เน้นทางการเมอื ง แต่แสดงออกถึงความ ตอ้ งการใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงในมหาวทิ ยาลัย ให้มกี ารดำ�เนินงานเพ่อื เปน็ สถาบันท่ใี หก้ ารศกึ ษาอยา่ งแท้จริง มิใช่เคร่ืองมอื ของรัฐ แต่การเคลอื่ นไหว ของนักศกึ ษากลับถูกนกั การเมืองน�ำ มาใชเ้ ป็นเครื่องมอื แสวงหาแนวร่วม อทิ ธิพลขององั กฤษถกู ลดบทบาทลงในช่วงสงครามโลก ครงั้ ที่ ๒ เม่ือสงครามลามเขา้ สู่เอเชยี อังกฤษกำ�ลงั วุ่นวายอยู่กบั สงครามในยุโรป เป็นโอกาสเหมาะที่ผู้นำ�พม่าหวังจะช่วงชิงความได้เปรียบในการเรียกร้อง เอกราชด้วยการเข้าร่วมกบั กองทัพญ่ีปนุ่ การเขา้ มาของญี่ปนุ่ สรา้ งความ เปลี่ยนแปลงในพม่าโดยเฉพาะการล้มล้างอิทธิพลของฝรั่งท่ีมามาช้านาน ญ่ีปุน่ กลายเป็นตวั แทนของเอเชียในการเปน็ มหาอำ�นาจ ชาวพมา่ จำ�นวนไม่ น้อยมองญ่ีปุ่นอย่างยกย่องและหวังว่าญ่ีปุ่นจะเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือใน ๑๔๓
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดียว การนำ�ประเทศกลบั สู่เสรภี าพ แตพ่ ม่าคดิ ผิด ญี่ปุ่นไม่ได้มองพมา่ ว่าเป็นพนั ธมติ ร ญ่ีปุ่นมองพม่า เปน็ เพยี งทางผ่านและเป็นแหล่งเสบียงเทา่ น้ัน เปา้ หมายของญป่ี ุ่นคอื การ รุกเขา้ อนิ เดยี และจนี ชาวพม่าจำ�นวนไมน่ ้อยท่ีไมพ่ อใจอังกฤษแตก่ ไ็ มพ่ อใจ ญี่ปุ่นเช่นกนั ยงิ่ เมอื่ ญ่ีปนุ่ เผยธาตแุ ทอ้ อกมาให้เห็นว่าพวกเขาก็ไม่ไดต้ า่ ง อะไรไปจากองั กฤษ แต่ขณะเดียวกันกย็ ังมีคนพม่าจ�ำ นวนหนง่ึ อาศัยญ่ีปุ่น เพอื่ เปน็ ชอ่ งทางการต่อสกู้ ับองั กฤษหลงั สงครามยุติ กองทัพญ่ีปุ่นแสดงแสนยานุภาพบนแผ่นดินพม่าอย่างหนัก สามารถยึดย่างกุ้งและมัณฑะเลย์ได้แต่กลับยังไม่ยอมมอบเอกราชให้พม่า ญี่ปุ่นแต่งต้ังนายพลอองซานเป็นแม่ทัพแห่งกองทัพพิทักษ์พม่าที่พวกเขาต้ัง ข้ึน แต่อำ�นาจที่แทจ้ ริงกลับอยทู่ นี่ ายพลญ่ปี นุ่ แลว้ ตง้ั ดร.บามอ ข้นึ เป็นผนู้ �ำ พลเรอื น แต่ก็ไม่ได้ให้อ�ำ นาจใดๆ อกี เช่นกัน นอกจากน้ที หารญ่ีป่นุ ยังกระทำ� การอีกมากมายท่ลี บหลู่และไม่ให้เกียรตคิ นพมา่ สร้างความไม่พอใจให้กับ นายพลอองซานเป็นอยา่ งมาก ปี พ.ศ. ๒๔๘๖ ญี่ปุน่ แสดงการยอมรบั รัฐธรรมนูญที่ ดร.บามอ รา่ ง ขนึ้ โดยตง้ั ตนเองเปน็ นายกรฐั มนตรี คณะรฐั มนตรแี ละข้าราชการอืน่ ๆ ต่าง กม็ าจากพรรคการเมืองท้งั ของเขาเองและพรรคอ่ืนๆ ทม่ี ีผลประโยชน์รว่ ม กนั แตญ่ ่ีปุน่ กลบั ยอมรบั อยา่ งงา่ ยๆ และประกาศให้พม่าเปน็ เอกราชใน เดอื นสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ ประชาชนชาวพม่าไมไ่ ด้ยนิ ดียินรา้ ยกบั ประกาศ ดงั กล่าวเพราะมองว่าญ่ีปนุ่ ประกาศขึ้นมาลอยๆ อ�ำ นาจการบริหารประเทศ ยังไม่ได้รับอิสระอยา่ งเตม็ ที่ และรัฐบาลของ ดร.บามอ ก็มาโดยมชิ อบ ใน เวลาเดยี วกัน นายพลอองซานก็รวบรวมพรรคพวกเพอื่ กอ่ การกบฎเน่อื งจาก ไมเ่ ห็นดว้ ยกับแนวทางของ ดร.บามอ ******************** ๑๔๔
ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดียว นายพลอองซาน กา้ วขน้ึ มามีบทบาทตอ่ การเรยี กรอ้ งเอกราชของ พม่าในช่วงท่ีเขายังเป็นนกั ศกึ ษา อองซานเกิดเม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๕๘ เขาเขา้ ศกึ ษาด้านประวตั ศิ าสตร์และวรรณคดีที่มหาวทิ ยาลยั ย่างกุ้ง ทนี่ ่ีเองท่ีเขา ได้แสดงตนอย่างชัดเจนถึงการต่อต้านจักรวรรดินิยมอังกฤษและเรียกร้อง เอกราช อองซานได้รับคัดเลือกขนึ้ เปน็ ผ้นู ำ�นกั ศกึ ษาในการเคลื่อนไหวทาง การเมอื ง เขาถูกมหาวทิ ยาลัยไล่ออกในปี พ.ศ. ๒๔๗๙ จากนัน้ จงึ ไดก้ า้ วเขา้ สูก่ ระบวนการเคล่อื นไหวทางการเมืองอยา่ งเต็มตัว ปี พ.ศ. ๒๔๘๓ อองซานและพรรคพวกร่วมกันก่อตงั้ สมาคมใต้ดิน ขน้ึ ช่อื คณะสามสิบสหาย หลบหนอี อกจากพมา่ ดว้ ยความชว่ ยเหลอื จาก ญปี่ นุ่ ในช่วงสงครามโลก คร้ังที่ ๒ ไปฝกึ วิชาการทหารท่เี กาะไหหล�ำ ภาย หลงั ญี่ปนุ่ ไดแ้ ตง่ ตง้ั ให้เขาเปน็ ผนู้ �ำ แหง่ กองทพั พิทกั ษพ์ มา่ แตอ่ องซานเริม่ อา่ นเกมออกแลว้ วา่ ญ่ปี ่นุ ไมไ่ ดจ้ ริงใจต่อการเรยี กร้องเอกราชของพม่า เขา จึงด�ำ เนินการอย่างลับๆ กอ่ ต้ังองคก์ รใตด้ นิ โดยจบั มอื กบั อังกฤษเพือ่ ต่อ ตา้ นอำ�นาจญีป่ ุ่นท�ำ นองเดียวกบั ขบวนการเสรไี ทของประเทศไทย เขาก่อ ต้ังองค์กร สันนบิ าตเสรีชนต่อตา้ นฟาสซิสต์ (Anti Fascist People’s Free- dom League : AFPFL) ดังนน้ั เมอ่ื ญ่ปี ุน่ แพ้สงคราม พมา่ จึงไมถ่ กู จดั เขา้ เป็น ประเทศผู้แพ้สงครามเพราะอ้างว่าได้มีการดำ�เนินการต่อต้านญ่ีปุ่นอย่าง ลับๆ เชน่ เดยี วกบั ประเทศไทยท่ีอ้างว่าเรามีขบวนการเสรีไท การมองการณ์ไกลของอองซานช่วยให้พม่ารอดพ้นจากหายนะใน ฐานะประเทศท่ีให้ความร่วมมอื กับญ่ีปุ่น ขณะเดยี วกนั กร็ กั ษาสัมพนั ธภาพ กบั อังกฤษท่ีเป็นเจ้าของอาณานคิ ม เหตนุ ้ีเองจึงเปน็ ขอ้ ตอ่ รองสำ�คญั ท่ีท�ำ ให้อองซานกล้าที่จะขอเจรจากับอังกฤษในการปลดปล่อยพม่าจากการเป็น อาณานิคม ในชว่ งแรกนัน้ เปา้ ยหมายแรกของ AFPFL ยงั คงมุ่งหมายให้พมา่ เปน็ สมาชิกในเครือจกั รภพ คือยงั คงอยูภ่ ายใต้อาณาจักรบรเิ ตน แลว้ จึงคอ่ ย ๑๔๕
ประวตั ิศาสตร์จานเดียว ด�ำ เนินการขอเอกราชอยา่ งสมบูรณต์ ่อไป AFPFL เรยี กร้องใหพ้ รรคการเมอื ง ต่างๆ เข้ามาให้การสนบั สนุนเหมอื นทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนอย่างดียงิ่ จาก ประชาชนชาวพม่าทงั้ ประเทศ หลังสงครามสงบ อังกฤษส่งขา้ หลวงเขา้ มาบริหารพม่าเช่นเดิมโดยมีการจัดต้ังรัฐบาลพลเรือนข้ึนและเสนอตำ�แหน่ง รัฐมนตรีใหก้ บั สมาชกิ ของ AFPFL แตแ่ ทนทีจ่ ะให้อองซานเป็นผดู้ ำ�เนนิ การ คัดเลือกบุคคลที่เหมาะสม ข้าหลวงองั กฤษกลบั เป็นผจู้ ดั การเองทัง้ หมด สร้างความไมพ่ อใจให้แก่อองซานเปน็ อย่างมาก ข้าหลวงจึงดัดหลังดว้ ยการ ยกเลกิ ทุกต�ำ แหนง่ ที่เคยจะมอบใหก้ ับสมาชกิ AFPFL และยังมีแผนทจ่ี ะ ดำ�เนินคดีกับอองซานในฐานะกบฎเม่ือคราวท่ีหลบหนีไปเข้าด้วยกับฝ่าย ญี่ปุ่นในชว่ งสงคราม แต่การตดั สนิ ใจทัง้ หมดผิดพลาด ประชาชนพม่าไมย่ อม ออ่ นขอ้ อีกต่อไป มกี ารสะสมก�ำ ลงั พลและอาวุธเตรียมพรอ้ มท่ีจะเดนิ ขบวน ครัง้ ใหญ่ จนรัฐสภาองั กฤษตระหนักถงึ อนั ตรายทก่ี ำ�ลงั จะเกดิ ขนึ้ จงึ ได้แต่ง ต้ังข้าหลวงคนใหม่เพ่ือขจัดความไม่เข้าใจกันและป้องกันการก่อจลาจลท่ัว ประเทศ เซอร์ฮิวเบิร์ต รานซ์ อดตี นายพลทีเ่ คยประจำ�การในพม่ากา้ วข้ึน มาเป็นข้าหลวงคนใหม่ เขาดำ�เนินนโยบายการบรหิ ารอย่างละมนุ ละมอ่ ม เรียกประชมุ พรรคการเมอื งต่างๆ ในพมา่ เพือ่ จัดตัง้ รฐั บาลแหง่ ชาตขิ น้ึ โดยมี เขาด�ำ รงต�ำ แหน่งนายกรัฐมนตรี คณะรฐั มนตรีส่วนหนึ่งมาจาก AFPFL ซ่ึง ถกู เสนอชอื่ โดยอองซาน ส่วนอองซานเองก็ไดร้ ับการแต่งตั้งเปน็ รฐั มนตรี วา่ การกระทรวงกลาโหมและกระทรวงการต่างประเทศ และบรรดาผู้นำ�ทเี่ คย มบี ทบาทในการเรยี กรอ้ งเอกราชต่างก็มีชื่อเข้ารบั ตำ�แหน่งส�ำ คญั ๆ ในคณะ รัฐบาลชดุ นีก้ ันถ้วนหน้า แมจ้ ากภายนอกจะดูเหมือนวา่ รัฐบาลชดุ นีก้ �ำ ลังไปได้สวย แตเ่ บอ้ื ง หลงั แลว้ กลับเกดิ รอยร้าวขน้ึ ภายใน AFPFL ถัน่ ทุน หนึง่ ในแกนนำ�และพรรค พวกส่วนหน่งึ มคี วามเห็นขัดแย้งกบั อองซานจึงพากันแยกตัวออกมา ขณะ ๑๔๖
ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว เดยี วกับท่ี คลีเมนท์ อัตต์ลี (Clement Attlee) นายกรัฐมนตรอี งั กฤษเชอ้ื เชิญ ใหอ้ องซานและคณะเดนิ ทางไปกรงุ ลอนดอนเพอ่ื เจรจา แตอ่ องซานกบั คณะ ยืนยันท่ีจะขอเจรจานอกจกั รวรรดอิ ังกฤษ โดยสถานการณ์เรม่ิ เปลยี่ นแปลง เน่ืองจากชาวพม่าไม่ต้องการส่ิงใดจากอังกฤษอีกต่อไปแล้วนอกเหนือจาก เอกราช และอองซานกลายเป็นตวั แทนของชาวพม่าทัง้ ประเทศในการเดนิ ทางไปเจรจากับอังกฤษเพอ่ื ทวงคนื อิสรภาพ นอกเหนอื จากความขดั แยง้ ระหว่างอองซานกับถน่ั ทนุ แล้ว อซู อ อดีตผูน้ �ำ คนสำ�คญั ของ AFPFL เพือ่ นร่วมรบของอองซานก็มที า่ ทีเป็น ปฏปิ ักษ์ตอ่ เขาอย่างชดั แจ้ง อซู อเคยด�ำ รงต�ำ แหน่งนายกรฐั มนตรีของพมา่ ในช่วงทอี่ ยู่ภายใตก้ ารปกครองขององั กฤษ เขาถกู จับไดว้ า่ ร่วมมือกับญีป่ ุ่นใน ชว่ งสงครามโลกเพื่อล้มลา้ งองั กฤษจงึ ถูกเนรเทศไปแอฟริกา ขณะที่อองซาน กลบั ไมไ่ ดร้ บั การลงโทษใดๆ เพราะอองซานกอ่ ตั้ง AFPFL ดำ�เนนิ งานใตด้ ิน ซ่งึ อซู อคดิ เสมอว่านนั่ คือความไมย่ ุติธรรม สำ�หรับเขาที่พยายามทำ�ทุกอย่าง เพอ่ื เอกราชของพม่าเสมอมา เม่อื สงครามสงบลง อซู อกลับคนื ส่พู ม่าและ พยายามกลบั เข้ามามบี ทบาททางการเมืองอีกครัง้ เขาถกู ลอบสังหารครัง้ หนึง่ ซงึ่ เขาคดิ วา่ เปน็ แผนการของอองซานและ AFPFL อูซอและพวกจึงวางแผนที่จะยึดอำ�นาจก่อนที่จะมีการประกาศ เอกราช และคนทย่ี นื ขวางทางการข้ึนสอู่ �ำ นาจของเขาคืออองซาน วนั ที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ หนว่ ยกล้าตายของอซู อ บกุ เข้าไปในหอ้ งประชุม คณะรัฐมนตรี ภายในรฐั สภาพมา่ จดั การสังหารอองซานและคณะรัฐมนตรี อกี หกคนจนเสยี ชวี ติ ขา่ วการเสยี ชีวติ ของอองซานสรา้ งความเศรา้ โศกให้กบั ชาวพมา่ ทั้งประเทศ เขาถกู ขนานนามใหเ้ ปน็ บดิ าแห่งเอกราชพม่า แต่กลบั ไม่มีโอกาสไดช้ ่นื ชมอสิ รภาพของประเทศ อซู อถูกจับกมุ และถกู พพิ ากษา ประหารชวี ิต การลอบสังหารอองซานก่อให้เกิดความวิตกว่าอังกฤษจะใช้เป็น ๑๔๗
ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว ข้ออ้างยกเลกิ สัญญาทใ่ี หไ้ วท้ ง้ั หมด แต่เหตกุ ารณก์ ลับตาลปัตร องั กฤษดู เหมือนจะไม่อยากสนใจและไม่อยากมีส่วนร่วมกับความวุ่นวายในพม่าอีก ตอ่ ไป ขา้ หลวงองั กฤษเชญิ อูนุ ในฐานะประธานสภารา่ งรฐั ธรรมนูญใหเ้ ป็นผู้ ตงั้ คณะรัฐบาลบริหารประเทศ และเปน็ ผ้ลู งนามในสนธสิ ัญญาเอกราชอย่าง เป็นทางการกับองั กฤษในวนั ที่ ๑๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๙๐ ๖๒ ปี หลังจากทพ่ี มา่ สูญสนิ้ เอกราช ต้องตกอยู่ภายใตก้ ารปกครอง ของคนนอกศาสนา พวกเขาผ่านพน้ ความทุกขย์ ากในฐานะอาณานิคมของ คนต่างชาติ แต่นบั จากนไ้ี ปชาวพม่ายงั ไมอ่ าจทราบชะตากรรมของพวก เขาเองว่าจะต้องเผชิญกบั อะไร หลังหมดส้ินระบอบกษตั รยิ ์ พวกเขาไมเ่ คย ปกครองตนเอง จนบดั นีเ้ ม่อื มอี สิ รภาพอยใู่ นมอื พวกเขาจะจัดการกบั สง่ิ ที่ได้ มาอยา่ งไร ยังไมม่ ใี ครรู้ ๑๔๘
ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว มกี ารกอ่ ตง้ั Police Training School ที่กรงุ มณั ฑะเลย์ มกี ลมุ่ เป้าหมายเป็นชนกล่มุ นอ้ ยมากกว่าชาวพมา่ แท้ (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) มหาวิทยาลยั ย่างกงุ้ เมอ่ื แรกเริ่ม (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ๑๔๙
ประวัตศิ าสตร์จานเดียว คณะกรรมาธิการสภานกั ศึกษา มหาวิทยาลยั ย่างกงุ้ พ.ศ. ๒๔๗๘ นง่ั ตรงกลางคือ อนู ุ นงั่ รมิ ขวาสดุ คอื อองซาน (ภาพจาก EBSCOHost) นายพลอองซาน ขณะกล่าวปราศรยั ในฐานะประธาน AFPFL คนทน่ี งั่ ด้านขวาคือ อูนุ รองประธาน (ภาพจาก EBSCOHost) ๑๕๐
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว อองซาน เมื่อครัง้ เปน็ ประธานสหพนั ธน์ ักศึกษาพม่า (ภาพจากหนงั สือ Aung San of Burma : A Biographical Portrait by His Daughter) ๑๕๑
ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว นายพลอองซาน กบั คลีเมนท์ อตั ตล์ ี นายกรัฐมนตรีองั กฤษ (ภาพจากหนังสือ Aung San of Burma : A Biographical Portrait by His Daughter) นายพลอองซาน กบั ขิ่นจี ในวันสมรส เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ (ภาพจากหนงั สอื Aung San of Burma : A Biographical Portrait by His Daughter) ๑๕๒
ในวันทพ่ี ม่าต้องยนื ด้วยตัวเอง ชาวพม่าดีใจกันท้ังประเทศเมื่ออังกฤษประกาศให้พม่าเป็น ประเทศเอกราชโดยสมบูรณ์ หลังจากตกอยู่ใต้อาณานคิ มขององั กฤษยาว นานเกินกวา่ ครึ่งศตวรรษ พวกเขาใชเ้ วลายาวนานในการเรียกรอ้ งอสิ รภาพ จากอังกฤษ โดยทไ่ี มร่ เู้ ลยว่าพวกเขาก็ยงั ต้องใช้เวลาอันยาวนานอกี เช่นกนั ในการเรียกร้องอสิ รภาพจากคนพมา่ ดว้ ยกนั เอง มาบดั นี้ AFPFL ได้ผันตวั เองมาเปน็ พรรคการเมืองโดยสมบรู ณ์แบบ จากการสนับสนนุ ของผนู้ �ำ แถวหน้าของสังคมรวมถึงประชาชนทัว่ ไป AFPFL มนี โยบายชาตนิ ิยมอยา่ งเต็มท่ี แต่ AFPFL ยังมจี ุดอ่อนตรงทม่ี กี ารรวมตวั ของกลุ่มคนที่มีความคดิ หลากหลายมากจนเกินไป ทัง้ แนวคิดทางการเมอื ง และผลประโยชน์แอบแฝง ท�ำ ให้พรรคยงั ไมอ่ าจรวมตวั กนั เป็นหนง่ึ เดยี วได้ แม้จะมีขนาดใหญ่โตท่ีสดุ ก็ตาม อนู ุกา้ วขนึ้ มาเปน็ ผนู้ �ำ พรรคพรอ้ มกบั ต�ำ แหนง่ นายกรฐั มนตรคี นแรก ภายหลงั ไดร้ ับเอกราช อนู ุเคยด�ำ รงตำ�แหน่งรองประธาน AFPFL มาก่อน เม่อื ปราศจากอองซานเขาจงึ ขนึ้ สูอ่ ำ�นาจอย่างทีไ่ ม่มใี ครขวางทาง ทงั้ ท่ขี ณะ นั้นอูนุยังนับว่าหนุ่มอยู่มากด้วยวัยเพียงส่ีสิบเศษกับตำ�แหน่งท่ีต้องแบกรับ ความรบั ผิดชอบประชาชนชาวพม่าทงั้ ประเทศ ๑๕๓
ประวตั ิศาสตร์จานเดยี ว เพียงแค่ปแี รกหลงั ไดร้ บั เอกราช ความแตกแยกภายในพรรค AFPFL เริม่ เด่นชดั ขนึ้ ทุกขณะ กล่มุ สมาชิกที่ฝกั ใฝ่คอมมวิ นิสต์แยกตัวออกไป และ กอ่ ตงั้ กองทพั ธงแดง ขน้ึ เพือ่ ต่อส้กู ับรัฐบาล ตอ่ มาอีกไม่นานกม็ ีการก่อ ต้งั กองทพั ธงขาว ขนึ้ มาอกี กลุม่ หนึง่ โดยพวกท่ีสนบั สนุนโซเวียต ในเวลา เดียวกันผนู้ �ำ กรรมกรและชาวนากแ็ ยกตัวออกจาก AFPFL ตามมาอีกกลุ่ม หนึง่ ทำ�ใหพ้ รรคเริ่มขาดเสถยี รภาพข้ึนทุกที เพราะความมือใหม่ในการบริหารประเทศหรือเพราะพม่ามีกลุ่มคน ท่มี ีข้อเรียกรอ้ งมากจนเกินไปก็ไมอ่ าจทราบได้ ทำ�ใหป้ ระเทศถูกแบ่งออก เปน็ เส่ยี งๆ จากแนวคดิ ท่แี ตกต่างกัน อาจเป็นไปไดท้ ่คี นพมา่ ยังไม่คุน้ ชินและ ไมเ่ คยท่จี ะต้องจดั การกับชวี ติ ของตนเอง พวกเขาอยภู่ ายใต้ระบอบกษัตริยท์ ่ี ช้ีเป็นชต้ี ายชีวิตของพวกเขามาอยา่ งยาวนาน แม้เมื่อส้ินระบอบกษัตริยก์ ต็ ก อยูใ่ นอาณัติขององั กฤษ ไมม่ ชี ว่ งเวลาใดเลยทค่ี นพมา่ จะบรหิ ารประเทศด้วย การตดั สนิ ใจของตนเอง สภาพประเทศในตอนน้จี งึ เป็นพสิ จู นว์ ่าพวกเขายัง ไม่พร้อมทีจ่ ะปกครองด้วยตนเองเหมือนอยา่ งท่อี งั กฤษเคยทำ�นายเอาไว้ แต่ส่ิงที่อังกฤษเคยทำ�เอาไว้กับพม่าก็เร่ิมส่งผลเหมือนระเบิดเวลาท่ี ได้เวลาจดุ ปะทุขน้ึ โดยเฉพาะนโยบายบ่งแยกแลว้ ปกครองชนกล่มุ น้อยตา่ งๆ ในประเทศเรมิ่ ต้ังคำ�ถามถึงเอกราชของพวกเขาบา้ ง เช่น มอญ ไทยใหญ่ ยะไข่ กะเหรย่ี ง ชนชาติเหล่าน้ตี กเป็นของพมา่ และเป็นอสิ ระสลับกนั เรื่อยมานบั แต่ ยุคโบราณ แตพ่ วกเขากไ็ มเ่ คยทีจ่ ะหยดุ ฝนั ถงึ ความเปน็ เอกราชมาต้ังแต่สมัย บรรพบรุ ุษ เม่ือพม่าเป็นอิสระจากองั กฤษ ชนกลุ่มนีจ้ งึ เรยี กร้องอิสรภาพดว้ ย แตร่ ัฐบาลกลางยังไม่ยอมและจัดระบอบการปกครองเป็นแบบสหภาพ โดย ขนึ้ ตรงกบั รฐั บาลกลาง ซง่ึ ชนกลุ่มนอ้ ยเหลา่ นยี้ งั ไมพ่ อใจนัก รฐั บาลกลางคงหลงลืมไปวา่ พม่าไมไ่ ดม้ ีเฉพาะชาวพม่า พวกเขา ประกอบไปดว้ ยผ้คู นหลากหลายเชื้อชาตริ วมกนั มาเปน็ เวลาเนนิ่ นาน แต่ เอกลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศน้ีคือไม่ว่าจะกินเวลายาวนานสักเพียง ๑๕๔
ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว ใด ความเป็นพมา่ เพยี งหนง่ึ เดยี วยังไมเ่ คยเกดิ ขึ้นไดส้ ำ�เรจ็ มอญ ไทยใหญ่ กะเหรย่ี ง ฯลฯ เหลา่ นี้ยงั คงอตั ลกั ษณ์ของตนเองเอาไวอ้ ย่างเหนยี วแน่น ใน สมัยโบราณเมื่อสบโอกาสเหมาะพวกเขาก็พร้อมท่ีจะแยกตัวเป็นอิสระเสมอ มาในยคุ ศตวรรษท่ี ๒๐ ก็เช่นกัน อ�ำ นาจของรัฐบาลกลางไม่อาจแผม่ าถงึ พืน้ ทหี่ ่างไกล หากไม่ใช่เมืองหลวงหรือหวั เมืองใหญ่ อ�ำ นาจทแี่ ทจ้ รงิ กต็ กอยู่ ในมือของกลมุ่ คอมมวิ นสิ ตห์ รือกบฎชนกลมุ่ น้อย ******************** แมว้ า่ พรรคAFPFLจะเขา้ มามบี ทบาทมากในการบรหิ ารประเทศโดย เฉพาะช่วงปลายสมัยอาณานิคม แต่ระหว่างสงครามโลกหรอื ตอนที่ถกู ญี่ปุ่น เข้ายดึ ครอง กลุ่มทม่ี ีบทบาทมากกว่าในระดับทอ้ งถ่นิ คอื พรรคคอมมิวนิสต์ โดยขยายแนวคิดไปยงั กลมุ่ เกษตรกรท่ีนับเปน็ คนหมูม่ ากของประเทศ พรรค คอมมวิ นสิ ต์มีสว่ นรว่ มไมน่ ้อยในการเรยี กรอ้ งเอกราชจากองั กฤษ แต่เมอ่ื บรรลุวัตถุประสงค์แล้วพวกเขาก็ถูกกันออกไปจากอุดมการณ์ทางการเมือง ท่ีตา่ งกัน ดงั นนั้ จงึ ไม่ใชเ่ ร่ืองแปลกทพี่ รรคคอมมวิ นสิ ตจ์ ะคอยหาทางบ่อน ทำ�ลายรฐั บาลกลางของอนู อุ ยเู่ สมอๆ เม่ือผู้นยิ มคอมมวิ นิสตแ์ ยกตัวจาก AFPFL ไปตง้ั กองทัพธงแดง และธงขาวไดไ้ ม่นาน ท้ังสองกลมุ่ ก็กลายเป็นกลมุ่ นอกกฎหมาย จึงเกดิ ปฏิบัติการใต้ดินข้ึนท่ัวประเทศจากการสนับสนุนของเกษตรกรที่เห็นด้วย กบั แนวคิดของพรรค มกี ารจดั ตั้งกองกำ�ลังตดิ อาวุธขน้ึ ทั่วประเทศเตรียม พร้อมก่อสงครามกลางเมอื ง แต่เคราะหด์ ีท่ีเหตุการณ์รา้ ยแรงน้ันก็ไม่เกิดขน้ึ การดำ�เนินงานของพรรคคอมมิวนิสต์เต็มไปด้วยอุปสรรคจากการขาดแรง สนับสนนุ ดา้ นยุทโธปกรณ์ ประกอบกบั กลไกของรัฐทหี่ ยุดยั้งการเติบโตของ พรรค เขา้ สู่ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ผ้สู นบั สนนุ พรรคก็ลดนอ้ ยลงเร่ือยๆ ทัง้ ท่ีเกอื บ ๑๕๕
ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว จะไดโ้ อกาสในการยึดอ�ำ นาจการปกครองในชว่ งตน้ ไม่เพียงแคพ่ รรคคอมมวิ นสิ ต์ท่มี ีบทบาททางการเมือง พม่าชว่ งหลัง ไดร้ บั เอกราชยังแตกออกเป็นกล่มุ ตา่ งๆ อกี มากมาย ทง้ั ทเ่ี ปน็ องค์กรใตด้ นิ พรรคการเมอื ง หรอื การรวมตัวของชนกลมุ่ นอ้ ยทีต่ ้องการแยกตวั เป็นอสิ ระ อาทิ องค์กรกลางชนชาตกิ ะเหรยี่ ง (Karen Central Organization) ทผ่ี ลักดนั จนกอ่ ให้เกิด สหภาพชนชาตกิ ะเหรี่ยง (Karen National Union) สภาแหง่ ชาติ คะฉ่นิ (Kachin National Congress) สหภาพชาวเขา (The United Hill Peo- ple’s Congress) หรือ สนั นิบาตเสรภี าพแห่งประชาชนชาวไทยใหญ่ (Shan State People’s Freedom League) เป็นตน้ ซง่ึ แน่นอนว่ากล่มุ กอ้ นเหล่าน้ี ไมไ่ ดร้ บั การยอมรับจากรฐั บาลกลาง จนบางครัง้ กอ่ ให้เกิดความวนุ่ วายตาม เมืองต่างๆ ที่ไกลเกินกว่าอำ�นาจของรฐั จะเข้าไปถงึ ขวบปแี รกของรัฐบาลอนู ุเป็นชว่ งเวลาที่ยุ่งยากที่สดุ เต็มไปด้วย ปญั หารมุ เรา้ มากมาย แตอ่ ูนุก็พยายามประคับประคองรัฐนาวาไมใ่ หล้ ม่ กอ่ นเวลาอันควร มีการจดั การเลือกตั้งถึงสามคร้งั ในรอบหกปแี รกของการ บริหารประเทศ ซง่ึ พรรค AFPFL ไดร้ ับชัยชนะทกุ ครัง้ แต่ความม่ันคงของ พรรคกลบั ลดน้อยถอยลง ขณะท่ีเร่ิมมีพรรคการเมอื งหน้าใหมไ่ ด้รบั ความ สนใจจากประชาชนเพมิ่ ข้นึ การเลอื กต้ังทวั่ ไปในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ นบั เปน็ ลางร้ายของพรรค AFPFL อย่างแท้จรงิ ขณะทเี่ กดิ สงครามกลางเมอื งขึ้นตามเมืองต่างๆ ทัว่ ประเทศ การเลือกต้ังดำ�เนินไปอยา่ งกระทอ่ นกระแทน่ มีผูอ้ อกมาใชส้ ิทธิ เพยี ง ๑.๕ ล้านคน จากจ�ำ นวนผูม้ ีสทิ ธิ ๘ ล้านคน แมพ้ รรค AFPFL จะเปน็ ฝา่ ยชนะการเลอื กตง้ั แต่เสยี งสนบั สนนุ จากประชาชนกลับลดนอ้ ยลงอย่าง นา่ ตกใจ อูนุพยายามเบี่ยงเบนความสนใจของประชาชนด้วยประเด็นทาง ศาสนา เขาอาศัยช่วงเวลาแห่งการเฉลมิ ฉลอง ๒๕ ศตวรรษของพุทธศาสนา ๑๕๖
ประวัติศาสตร์จานเดยี ว ดว้ ยการจัดการสังคายนาพระไตรปฎิ กข้นึ ดำ�เนินนโยบายสร้างประเทศให้ เป็น พุทธสงั คมนิยม (Buddhist Socialism) คือนำ�เอาหลักพทุ ธศาสนาผสาน กบั แนวคิดสงั คมนยิ ม และยอมหนั มาเจรจาปญั หากบั ชนกลุ่มนอ้ ย แต่การ บริหารประเทศก็ยังขาดการสนับสนุนที่ดีจากประชาชนและจากข้าราชการ โดยบรรดาข้าราชการท้ังฝ่ายทหารและพลเรือนส่วนหน่ึงมาจากครอบครัว ชนชน้ั สูงทส่ี ืบทอดอำ�นาจกันมารนุ่ สู่รุน่ จงึ ไม่คอ่ ยพอใจกับการบริหารงาน ของนกั การเมืองที่มาจากกลมุ่ ชนชนั้ กลาง สถานภาพของรัฐบาลอนู ุจงึ ไม่ มนั่ คงเป็นปึกแผน่ เสียที ******************** ขณะท่อี ำ�นาจของรฐั บาลภายใต้การน�ำ ของพรรค AFPFL เรม่ิ ซวนเซลงทกุ ขณะ อ�ำ นาจของกองทพั กลับแขง็ แกร่งข้นึ อย่างสวนทางกนั กองทัพเข้ามามีบทบาทอย่างมากในการกวาดล้างกลุ่มกบฎชนกลุ่มน้อยท่ัว ประเทศ กองทัพพม่าค่อนข้างจะพฒั นาข้ึนมาในสมยั อาณานคิ ม แต่องั กฤษ เลือกทจ่ี ะใชช้ นกล่มุ น้อยให้มารับราชการทหาร ชาวกะเหร่ยี งเปน็ ชนชาตทิ ม่ี ี จ�ำ นวนมากที่สดุ ในกองทพั พมา่ จงึ ไม่แปลกทเ่ี ม่ือพม่าได้รับเอกราชแล้ว ชาว กะเหรี่ยงจึงพยายามสร้างกองทัพของตนเองขึ้นเพ่ือแยกตัวออกจากพม่า ภายหลังที่พม่าจัดต้ังรัฐบาลของตนเองแล้วจึงเร่ิมกำ�จัดทหารกะเหรี่ยงท่ี ประจ�ำ การมาตงั้ แตส่ มยั อาณานคิ มใหห้ มดสนิ้ จนท�ำ ใหก้ องทพั พมา่ มีความ เขม้ แขง็ และมีความเป็นชาตนิ ิยมสงู หลังจากท่ีกองทัพมีบทบาทโดดเด่นในการกวาดลา้ งกลุม่ กบฎ กเ็ ร่ิม กระโดดเขา้ สูบ่ ทบาททางการเมอื ง ประกอบกับสถานการณ์ทางการเมืองที่ เอาแน่เอานอนไมไ่ ดแ้ ละยากที่จะควบคุม สภาพการณ์เช่นนีค้ งไม่มใี ครจะ เข้ามาจดั การไดม้ ปี ระสิทธภิ าพเท่ากับคนที่ถอื ปืนอย่ใู นมือ ๑๕๗
ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว ปญั หาตา่ งๆ ทรี่ ุมเร้ารัฐบาลท้ังสภาพเศรษฐกิจ สังคมและชนก ลมุ่ น้อย ท�ำ ใหอ้ ูนตุ ้องขอความช่วยเหลือจากกองทพั ให้เข้าช่วยควบคุม สถานการณ์ รวมถึงจดั ตง้ั รฐั บาลรกั ษาการขนึ้ มาสองปี เพ่อื เตรียมจดั การ เลอื กตั้งทัว่ ไปคร้งั ใหมใ่ นปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ซ่ึงผลปรากฎว่าอูนุไดร้ บั เลือกให้เปน็ นายกรฐั มนตรอี ีกหน่ึงสมยั แตส่ ่งิ ทน่ี ่ากลัวกว่านน้ั คอื กองทัพเริม่ ทจี่ ะชอบใจ บทบาทใหม่ของพวกเขามากขึ้นแล้ว อูนุนงั่ เกา้ อ้ีนายกรัฐมนตรอี ยู่ไดอ้ ีกเพยี งสองปี กองทัพนำ�โดยนาย พลเนวิน กส็ ง่ั ใหล้ กู นอ้ งเอาปืนมาสะกิดบอกอูนวุ า่ ใหล้ ุกจากเก้าอี้ได้แล้ว นายพลเนวนิ เกดิ เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๕๓ เปน็ หนึง่ ในเพือ่ นร่วม อดุ มการณ์กบั นายพลอองซาน เขาเข้าศึกษาในมหาวทิ ยาลัยยา่ งกงุ้ เพียงระ ยะสิ้นๆ ก่อนจะผนั ตัวเข้าสู่แวดวงทหาร เข้าร่วมกลุ่มกบั คณะสามสิบสหาย ออกเดินทางไปรำ�่ เรียนวชิ าการทหารพร้อมกับอองซานที่ไหหลำ� เส้นทาง ชีวิตสเี ขียวขม้ี ้าของเนวินรงุ่ เรืองสุดๆ เขาทะยานข้นึ สตู่ �ำ แหน่งผนู้ ำ�สงู สุด ของกองทัพพม่าในระยะเวลาไม่นานนักภายหลงั ท่ีพมา่ ได้รับเอกราช นาย ทหารในอาณัติของเขาจ�ำ นวนหน่งึ เข้ามามีบทบาทในการบริหารประเทศภาย ใต้รฐั บาลพลเรอื นของอนู ใุ นชว่ งยคุ แรกๆ แต่ตวั เขาเองไม่ได้แสดงออกถึง ความทะเยอทะยานทางการเมือง เขามุ่งหวังทีจ่ ะใชช้ วี ติ ในฐานะนายทหาร มากกว่า ดว้ ยการปฏเิ สธรบั ต�ำ แหนง่ ใดๆ ในรฐั บาลอูนุ แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้อกี เช่นกนั วา่ ด้วยต�ำ แหนง่ และสถานะของเขาท�ำ ใหค้ นในรฐั บาลต่างยำ�เกรง ย่ิง เมือ่ เกิดความไมส่ งบขึ้นในประเทศ กองทพั ของเขากส็ ามารถเข้าควบคมุ สถานการณ์ได้อย่างราบร่นื ทำ�ใหก้ องทัพเข้ามามีอิทธิพลอยา่ งมากในทกุ ๆ วงการ จนเม่ืออูนุเรียกร้องให้กองทพั เขา้ มาจัดการกับสถานการณค์ วาม วุ่นวายในประเทศดว้ ยการตง้ั รฐั บาลรักษาการ เขาจึงไม่อาจบอกปัดไดอ้ กี ตอ่ ไป แต่ดูเหมือนเนวินจะถูกใจรสชาติของอำ�นาจในการบริหารประเทศ ๑๕๘
ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว หรือเปน็ ไปไดว้ า่ เขาเตรียมพรอ้ มทีจ่ ะเขา้ ยดึ อ�ำ นาจมาตั้งนานแล้ว เพียงแต่ สงวนทา่ ทแี ละรอชว่ งเวลาทเี่ หมาะสมเทา่ นัน้ หลงั การบริหารประเทศของ นายกรฐั มนตรอี นู ใุ นปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ลม้ เหลวไม่เปน็ ทา่ กองทัพจึงเข้าทำ�การ ยึดอำ�นาจ จดั ตงั้ สภาปฏวิ ตั ิ เขา้ บริหารประเทศในวนั ที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ รฐั บาลทหารของเนวนิ ประกาศนโยบายน�ำ พมา่ สกู่ ารเปน็ สงั คมนยิ ม ภายใตก้ ารน�ำ ของสภาปฏิวตั ทิ ตี่ อ่ มาแปรสภาพเปน็ พรรคการเมอื งคอื พรรค โครงการสงั คมนิยมพม่า (Burma Socialist Program Party : BSPP) ทก่ี ลาย เปน็ พรรคการเมอื งเดียวท่ีคงอยู่ ซง่ึ หมายถงึ ว่าพม่าเข้าส่รู ะบบการปกครอง รัฐสภาที่มพี รรคการเมอื งเดียว หรอื จะว่ากค็ ือเผดจ็ การทหารดีๆ นนั่ เอง เมื่อรัฐบาลพลเรือนไม่อาจสร้างความสงบเรียบร้อยให้เกิดข้ึนในประเทศ ได้ กองทพั จึงถือเปน็ หน้าที่สำ�คญั ทตี่ ้องเข้ามาควบคมุ ถึงตรงน้ีทกุ กิจการ ภายในประเทศถูกก�ำ กับดแู ลโดยกองทพั ทัง้ ส้ิน ปัญหาจงึ มอี ยู่ว่ากองทัพมี ความสามารถเพียงพอหรือไม่ในการจัดการบริหารประเทศท่ีมีโครงสร้างไม่ เหมอื นการปกครองแบบทหาร แต่กองทัพหรือ BSPP พิสูจนใ์ หเ้ ห็นดว้ ยการรวบอ�ำ นาจทกุ อยา่ งไว้ เพียงผเู้ ดยี ว การแก้ปัญหาที่ยืดเย้ือสามารถทำ�ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เพยี งแค่ขยับ ปนื ในมอื สิ่งที่เลวร้ายที่สุดหลังการปฏิวัติคือระบบเศรษฐกิจท่ีเกือบจะล่ม สลาย ด้วยแนวคิดแบบสงั คมนิยมทีต่ ้องการให้เกิดความเทา่ เทยี มกนั ระหวา่ งเมืองใหญก่ ับชนบท แต่ BSPP เลอื กดำ�เนนิ นโยบายแบบกลับ ตาลปัตรคือแทนท่ีจะผลักดันให้เศรษฐกิจในชนบทเจริญก้าวหน้าให้ทัดเทียม เมืองใหญ่ กลับลดความเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของเมืองใหญใ่ ห้หดเลก็ ลง เทียบเท่าชนบท กจิ การของเอกชนท้งั ท่ีเปน็ ของคนพมา่ หรือชาวตา่ งชาติก็ ยึดมาดำ�เนนิ การเองเสีย ควบคุมดูแลการสง่ สนิ ค้าออกและน�ำ เขา้ อัตราการ ๑๕๙
ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว เติบโตทางเศรษฐกิจลดลงฮวบฮาบ จากทเ่ี คยเป็นประเทศผู้ส่งข้าวเปน็ สินคา้ ออกอันดับหน่ึงของโลกก็กลายเป็นประเทศท่ีติดอันดับหน่ึงในสิบประเทศที่ ยากจนที่สดุ อะไรตอ่ มอิ ะไรเก่ยี วกบั เงนิ ๆ ทองๆ ทีก่ องทพั เขา้ ไปดแู ลมักจะ ได้ผลประกอบการออกมาดูไมจ่ ดื แต่ก็แปลกท่ีกองทพั กลับมเี งินทุนไหลเวียน เขา้ มามากขน้ึ กว่าแต่ก่อน และเพือ่ ขจดั ความยุ่งยากทอี่ าจเกดิ ขึ้นจากภายนอก เนวินจึง ประกาศปดิ ประเทศ ถอดตวั เองออกจากสงั คมโลกเพ่ือสรา้ งประเทศใหม่ไป สู่ระบอบสังคมนยิ มเต็มรปู แบบ จนพมา่ ได้รับการขนานนามเปน็ “ฤาษีแหง่ เอเชีย” (Hermit of Asia) แต่เบอ้ื งหลงั การปดิ ประเทศครัง้ น้นั เป็นไปไดว้ า่ เน วินต้องการท่ีจะปฏิรูปและจัดระเบียบประเทศเสียใหม่ตามแนวคิดของเขา โดยทไ่ี มต่ อ้ งรับฟงั เสียงค้านจากภายนอก โดยเฉพาะการกวาดล้างกลมุ่ ที่ไม่ เห็นดว้ ยกบั เขา ปญั หาใหญก่ ้อนแรกคือชนกลุ่มนอ้ ย รฐั บาลพยายามแกป้ ัญหา ดว้ ยการเชิญตัวแทนจากกลุม่ ชาตพิ นั ธ์ุตา่ งๆ รวมถงึ ผ้นู ำ�คอมมวิ นิสต์นอก กฎหมายมาเจรจาเพื่อหาขอ้ ยุตอิ ย่างสันติ และยังประกาศนิรโทษกรรมให้ กับนกั โทษการเมืองท่ีถูกจับกมุ ในชว่ งยดึ อำ�นาจ แต่การเจรจาแทบไมเ่ ปน็ ผล กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ตุ า่ งๆ รวมถึงกล่มุ การเมืองฝ่ายตรงข้ามจึงเลอื กท่ีจะปฏิบัติการ ตอ่ ต้านรฐั บาลตามวถิ ีทางของตนเอง ********************* เหตุที่กองทัพพม่าจึงสามารถก้าวข้ึนมามีอิทธิพลต่อการช้ีเป็นชี้ตาย ของประเทศ ตอ้ งย้อนกลบั ไปในยุคอาณานคิ มทกี่ องทพั ยงั คงถูกควบคมุ โดย อังกฤษ เกอื บร้อยละ ๔๐ ของก�ำ ลงั พลเปน็ ชาวกะเหร่ียง ขณะที่กำ�ลงั พลชาว พมา่ โดยแท้นั้นมีอย่ไู ม่ถึงรอ้ ยละ ๑๐ หลังจากได้รบั เอกราชแลว้ กองทัพพม่า ๑๖๐
ประวัตศิ าสตรจ์ านเดียว กีดกันทหารกะเหร่ียงออกไปเพื่อเพิ่มจำ�นวนกำ�ลังพลชาวพม่าให้มากท่ีสุด เพ่ือสร้างความเป็นปึกแผ่นของกองทัพและเป็นการสร้างความรู้สึกชาตินิยม ในหมทู่ หารและประชาชน กองก�ำ ลังชาวกะเหร่ียงเมือ่ ถกู กันออกจาก กองทัพพมา่ จงึ หนั ไปรว่ มกบั กล่มุ ชาติพนั ธุ์ของตนทีน่ �ำ โดย นายพลโบเมี๊ยะ ย้อนกลบั มาเป็นหอกขา้ งแครข่ องกองทัพพมา่ ในเวลาตอ่ มา กองทัพพม่า เร่มิ เขา้ มามีบทบาทส�ำ คญั ในชว่ งปลายสงครามโลก ครงั้ ท่ี ๒ เมอื่ ทหารญ่ีปุ่น ถูกโจมตีอย่างหนกั และเรม่ิ พา่ ยแพ้ในหลายสมรภมู ิ กองทพั พมา่ ท่ีเคยยอม ญป่ี นุ่ กพ็ ลิกกลบั มาเปน็ ฝ่ายรกุ โจมตีกองทพั ญปี่ นุ่ อย่างหนกั โดยอ้างวา่ ท่ี ยอมญ่ปี ุน่ ทแี รกเพราะจำ�เป็น แต่พม่ามีองคก์ รใตด้ นิ ทที่ �ำ การต่อตา้ นญปี่ ุน่ อยา่ งลบั ๆ อย่คู อื AFO : Anti Fascist Organization (ซึ่งตอ่ มาเปลยี่ นเป็น AFPFL) การลุกข้ึนตอ่ ส้ขู องกองทพั พมา่ ในขณะน้ันจงึ เสมอื นเป็นตัวแทนของ ความรกั ชาติ ทหารกลายเป็นวีรบุรุษของประเทศไปในทันที อีกบทบาทหนึ่งท่ีทำ�ให้กองทัพพม่าก้าวขึ้นมาเป็นผู้ทรงอิทธิพล เบอร์หน่ึงของประเทศคือการจัดการกับชนกลุ่มน้อยที่มีมากเหลือเกินใน ประเทศนี้ ย้อนกลบั ไปสมยั โบราณ ชนชาตติ า่ งๆ ที่ถกู กลนื เขา้ มาเปน็ พมา่ อยา่ งเชน่ มอญ ยะไข่ ไทยใหญ่ กะเหร่ยี ง กม็ ไิ ดจ้ �ำ ยอม กระทั่งถงึ คราวที่ ถกู อังกฤษปกครอง ชนชาติเหลา่ นกี้ ย็ งั ถอื ว่าไมใ่ ช่เป็นพม่าแท้ องั กฤษฉวย โอกาสเข้าจัดการด้วยหวังที่จะใช้ชนกลุ่มน้อยเหล่าน้ีเป็นกันชนไม่ให้ชาว พม่าแท้ลกุ ฮอื จึงชว่ งใช้คนกลุ่มนท้ี �ำ หน้าท่ีในกองทพั ต�ำ รวจ ข้าราชการ กลมุ่ ชาตพิ ันธเุ์ หล่านพ้ี งึ พอใจกบั สงิ่ ทีอ่ งั กฤษหยิบย่ืนให้ ประกอบกับ องั กฤษสนับสนนุ ในการใหก้ ารศกึ ษากบั พวกเขา ยง่ิ ท�ำ ใหม้ ีโอกาสในการ เข้ารับราชการมากกว่าคนพม่าแทๆ้ เองเสยี อีก กะเหรีย่ งท่มี ปี ระชากรมาก เปน็ ตวั อย่างท่เี ห็นเด่นชัด กะเหร่ียงในยคุ สมยั น้ันเปน็ ผู้มกี ารศึกษาดีและ มีจำ�นวนไม่นอ้ ยท่ีหนั มาเขา้ รีตนับถอื ครสิ ต์ จนถงึ กบั มีการแยกกลุ่มเปน็ กะเหร่ยี งครสิ ตแ์ ละกะเหรีย่ งพุทธในเวลาตอ่ มา ๑๖๑
ประวตั ิศาสตร์จานเดียว กลมุ่ ชาติพันธุ์เหล่านจี้ ึงยงั มีความรู้สกึ เปน็ ชาตอิ ยู่เล็กๆ ในช่วงท่ี องั กฤษเขา้ ปกครอง ซึ่งตา่ งจากยุคทพ่ี ม่าปกครอง เมอ่ื พมา่ เปน็ เอกราช พวก เขาจงึ มีความหวังที่จะเป็นเอกราชบา้ ง แต่รฐั บาลพมา่ กลบั ปิดความหวงั นน้ั เสีย ส่ิงที่พม่าตอ้ งการจากพวกเขาไมใ่ ช่ประชากร แตเ่ ป็นทรัพยากรจ�ำ นวน มากท่ีอยใู่ นเขตแดนเหลา่ นั้นตา่ งหาก เม่อื เจรจาขอกนั ดๆี ไมเ่ ป็นผล ก็จึง ตอ้ งใช้วิธีการแรงๆ กนั บ้าง และเมือ่ เกดิ ความวุน่ วายขน้ึ ในประเทศ ใครละ่ ท่ี จะเหมาะสมท่สี ดุ ท่ีจะเขา้ มาคลค่ี ลายสถานการณ์ ถา้ ไมใ่ ช่คนทม่ี ปี นื อย่ใู นมอื ช่วงทพ่ี มา่ เจรจาเร่ืองเอกราชกบั อังกฤษ อองซาน ท�ำ สญั ญากบั เจ้าฟ้าไทยใหญ่และคะฉิ่นไว้ว่าให้เข้าร่วมเป็นสหภาพพม่าเพ่ือความสงบ เรยี บรอ้ ย (สนธสิ ัญญาปางหลวง) แลว้ หลังจากนั้นจะเปดิ โอกาสใหต้ ดั สินใจ เลือกวา่ จะอย่ดู ้วยกันต่อหรอื จะแยกประเทศ (แต่การตกลงกันในครั้งนนั้ ไม่มี พวกมอญ กะเหร่ียง หรือชนกลมุ่ น้อยอ่ืนๆ รว่ มด้วย) จากนน้ั อองซานจงึ เดิน หน้าเจรจากบั องั กฤษอย่างเตม็ ท่ี ดงั น้ันภาระหน้าท่ที างการทหารจึงตกเป็น ของเนวิน จนกระทัง่ เมอื่ อองซานถกู ลอบสังหาร สน้ิ สงครามโลก คร้งั ที่ ๒ เม่ือการเจรจาขอเปน็ เอกราชล้มเหลว กะเหร่ยี ง เปน็ กลุม่ แรกๆ ท่จี บั อาวุธข้ึนสู้กบั พมา่ อย่าเปน็ ทางการ พรรค คอมมิวนิสต์ท่ีมีความขัดแยง้ กับรัฐบาลก็บา่ ยหน้าเขา้ ส่ปู า่ คราวนจ้ี งึ เกดิ การ ตอ่ ตา้ นรฐั บาลดว้ ยความรุนแรงจากกลมุ่ โน้นบา้ งกลุม่ นบ้ี ้าง มากมายจน รฐั บาลพลเรือนไมอ่ าจจัดการไดด้ ว้ ยตนเอง แมว้ า่ หลายภาคสว่ นของพมา่ จะมคี วามแตกแยกกนั แต่เรอ่ื งแบบน้ี จะไม่เกิดกับกองทัพเด็ดขาด ซง่ึ กน็ ับเปน็ เรื่องนา่ แปลก ไม่ว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงในรัฐบาลพลเรือนหรือแวดวงการเมือง มากสักเพยี งใด แตก่ องทัพยงั คงใหค้ วามจงรักภกั ดีต่อเนวนิ ไมเ่ คยเปล่ียน กองทพั พมา่ ก่อตงั้ โดยนายพลอองซาน แต่การดูแลโดยส่วนใหญเ่ ปน็ ของเน วนิ เนื่องจากอองซานมุ่งเปา้ ท�ำ หน้าที่ทางการเมืองและการเจรจากบั อังกฤษ ๑๖๒
ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว เสียมากกว่า ย่งิ เมอ่ื อองซานเสยี ชีวติ อยา่ งกระทันหัน ทหารทกุ นายจึงถา่ ย โอนความภักดีมายงั เนวนิ ผ้บู ัญชาการสูงสดุ ในขณะนนั้ แม้กระทงั่ ในวนั ท่ี เขาไม่มีต�ำ แหน่งใดๆ อย่างเป็นทางการ ผู้น�ำ กองทพั คนใหมห่ รือกระทั่งนาย ทหารชนั้ ผู้น้อยก็ยงั จงรกั ภกั ดีไม่เปล่ยี นแปลง กองทัพเชอ่ื วา่ พวกเขาถกู สร้างขน้ึ มาเพอ่ื การต่อส้เู พ่อื เอกราช พวก เขาเทา่ นัน้ ท่จี ะสร้างและด�ำ รงรักษาไว้ซง่ึ ประเทศชาติ โดยทีพ่ ลเรอื นได้แสดง ใหเ้ ห็นแลว้ วา่ ไม่สามารถท�ำ ได้ (รัฐบาลอูนุ) นจ่ี งึ เป็นภาระหน้าที่ท่จี ำ�เป็น และชอบธรรมในการเข้ามาบริหารจดั การประเทศเสยี เอง ความภักดีตอ่ ผนู้ ำ� ทางการทหารอาจมีส่วนใกล้เคียงกับความภักดีต่อสถาบันกษัตริย์ที่ทรงเป็น จอมทัพหรอื ผู้น�ำ กองทัพท้ังมวล ผนู้ �ำ ทางการทหารจึงกลายเป็นตวั แทนของ สถาบนั สูงสุดเม่ือประเทศไม่มีกษตั ริยเ์ สียแล้ว นอกเหนือจากชนกลุม่ น้อยแล้ว กลุ่มนักศึกษา ยงั เปน็ อกี หนึง่ ศัตรู อนั ตรายในสายตาของรัฐบาลทหาร เพราะกลมุ่ ปญั ญาชนเหล่านี้เปน็ ตัวตัง้ ตวั ตีส�ำ คญั ในการกอ่ ความวนุ่ วายข้นึ ในหลายๆ คร้ัง กลมุ่ พลงั นักศึกษาเรมิ่ มบี ทบาทมาตง้ั แต่สมัยอาณานิคม เช่นการ กอ่ ตัง้ สมาคมยวุ พุทธพม่า (YMBA) ในช่วงแรกๆ มุ่งเป้าไปท่ปี ระเดน็ ทาง ศาสนาและวัฒนธรรม ตอ่ มาจงึ ปรบั แนวทางไปทางการเมอื งโดยม่งุ ทกี่ าร เรียกร้องเอกราชและสรา้ งชาตินิยม นักศกึ ษาเปน็ หัวหอกสำ�คญั ทีเ่ ชื่อมโยง สถาบนั สงฆ์และประชาชนกลุ่มตา่ งๆ เข้าดว้ ยกันจนเป็นพลงั ท่ีย่ิงใหญ่ ผ้นู ำ� คนส�ำ คัญๆ อย่าง อองซาน อูนุ หรือกระท่ังเนวนิ เอง กล็ ว้ นแต่มจี ุดเรม่ิ ต้น จากร้ัวมหาวทิ ยาลยั ท้งั นั้น พลังนักศึกษามีบทบาทอย่างสูงต้ังแต่สมัยรัฐบาลพลเรือนอูนุที่ไม่ สามารถนำ�พาประเทศไปสฝู่ ั่งฝันได้ จนเม่อื เนวินท�ำ การยึดอำ�นาจ (พ.ศ. ๒๕๐๕) กล่มุ นักศกึ ษาก็ออกประท้วงจนถกู ปราบปรามอย่างรุนแรง นกั ศึกษา และประชาชนเสียชีวิตไปจำ�นวนหนึ่งซึ่งแน่นอนว่าตัวเลขท่ีรัฐบาลบอกต้อง ๑๖๓
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว น้อยกว่าความจรงิ แลว้ มหาวิทยาลยั ย่างกุง้ ก็ถกู สง่ั ปดิ ชัว่ คราว รัฐบาลทหารของเนวินปกครองพม่าด้วยการแปลงประเทศให้เป็น ฤาษแี ห่งเอเชียอยยู่ ส่ี บิ กว่าปี จนถงึ วันมหาวิปโยคของพมา่ คอื วันท่ี ๘ เดอื น ๘ ปี ค.ศ. ๑๙๘๘ (พ.ศ. ๒๕๓๑) หรือกรณีเหตุการณ์ “๘๘๘๘” กล่มุ นักศึกษา ประชาชน พระสงฆ์ และใครตอ่ ใครอีกมากมายที่ไมพ่ อใจการ บริหารประเทศของรัฐบาลออกมาเดนิ ประทว้ งกันคร้ังใหญ่ ข้อเรยี กร้องของ พวกเขาคือต้องการเปล่ียนแปลงประเทศดว้ ยการมรี ัฐธรรมนญู มีรฐั บาลที่มา จากการเลือกตั้ง และประชาธปิ ไตยท่สี มบรู ณ์ เนวินจดั การปญั หาแบบเดิมๆ ดว้ ยการกวาดล้างอยา่ งรุนแรง แรง เสียจนกลายเป็นท่ีประนามไปท่วั โลก มคี นตายมากมายจนขีเ้ กยี จจะนับ แม้ พม่าจะยังอยใู่ นชว่ งปิดประเทศแตจ่ ะอย่เู ฉยกค็ งไม่ได้เนวนิ เลือกทจ่ี ะลาออก และดนั เสง่ ลวิน ขึ้นเปน็ ผนู้ ำ�แทนโดยทย่ี ังไม่ยอมใหม้ กี ารเลือกตั้งและ ประกาศใช้รฐั ธรรมนญู อยู่ดี เสง่ ลวิน ก็โหดไม่แพเ้ นวิน เขายงั ด�ำ เนนิ การปราบปรามฝ่ายทไ่ี ม่ เห็นดว้ ยอยา่ งรนุ แรงเชน่ เดมิ แอบนินทากันวา่ แท้จริงแล้วผู้กุมอำ�นาจตวั จรงิ กย็ งั คงเป็นเนวินอยู่ดี ภายในปเี ดียวพม่ามีรฐั บาลผลัดหน้ากนั ถึงสามครง้ั จนเข้าปลายปี ซอหมอ่ ง ผนู้ ำ�ทางการทหารอีกคนหนึ่งก็จัดการยึดอำ�นาจ เปน็ การยึดอำ�นาจตัวเองของฝา่ ยทหาร (เหมือนสมัยจอมพลถนอม) คราวน้ี กย็ งั มีการปราบปรามนักศกึ ษาและประชาชนทต่ี อ่ ต้านอีกเช่นกนั มีผูค้ นล้ม ตายมากมาย รวมๆ แล้วในปีนั้นมคี นตายมากกวา่ ๓,๐๐๐ คน สว่ นหนง่ึ ตอ้ ง หนตี ายเขา้ ปา่ ไปร่วมกับชนกลุ่มนอ้ ยหรอื พรรคคอมมิวนิสต์ไปเสยี เลย นอกจากจะใช้วิธยี งิ ทิ้งแล้ว เม่อื มกี ารประท้วงทนี งึ รัฐบาลก็สง่ั ปิดมหาวิทยาลัยเสียทีหน่ึงโดยเฉพาะมหาวิทยาลัยย่างกุ้งที่เป็นเหมือน ศนู ย์กลางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมทางการเมืองท้ังปวงของนกั ศึกษา การสง่ั ปดิ ก็ สน้ั บา้ งยาวบ้าง ไปจนถึงปิดแบบไม่มีกำ�หนด หลังการยดึ อำ�นาจ พ.ศ. ๒๕๐๕ ๑๖๔
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว มหาวทิ ยาลยั ยา่ งกงุ้ ถกู ปดิ บอ่ ยมาก การปิดสถาบนั การศึกษาตะพึดตะพอื แบบน้สี ่งผลตอ่ ระบบการศกึ ษาของประเทศอยา่ งมาก นักศึกษาที่เรียนอย่กู ็ เรยี นไมจ่ บเสยี ที คนที่กำ�ลงั จะจบก็ไม่ตอ้ งจบกัน คนพมา่ ส่วนหน่ึงทพี่ อจะ มเี งนิ บ้างจึงเลือกส่งลูกหลานไปเรียนนอกประเทศ เมอื่ เป็นเชน่ น้ีช่องวา่ ง ทางการศึกษากห็ ่างข้ึนทกุ ที แม้จะมีการสั่งปิดมหาวิทยาลัยแต่จำ�นวนนักศึกษาก็ไม่ได้ลดลง หนุ่มสาวท่ถี งึ เกณฑ์เขา้ สูร่ ะดบั อุดมศึกษายงั มีอยทู่ ุกๆปเี หมือนๆ บ้านเรา แต่มหาวทิ ยาลยั กลบั ถูกปิดแล้วปดิ เลา่ การผลิตบณั ฑติ ออกสูต่ ลาดแรงงาน จงึ ลดลง บ้านเรานั้นมบี ณั ฑิตจบใหม่แตล่ ะปเี ปน็ หม่นื เป็นแสนคน จบแลว้ ตอ้ งขวนขวายแยง่ งานดๆี ทำ� ขณะท่ีพมา่ ในยคุ นนั้ กวา่ จะผลิตบณั ฑติ ได้ใน แต่ละปกี แ็ สนจะยากเย็น ปริมาณก็จ�ำ กดั งานในประเทศกใ็ ช่ว่าจะมมี ากนกั ก็ลว้ นแต่ส่งผลกระทบเป็นลกู โซ่ตอ่ กัน แค่อังกฤษปลอ่ ยมือจากพมา่ ไม่นานกว็ ุน่ วายกันทงั้ ประเทศ พมา่ พยายามเหลือเกินทจี่ ะเป็นเอกราช แตเ่ มือ่ ไดส้ ่งิ นั้นมาแลว้ พวกเขากลับ สามารถรักษาเอาไว้ได้ อำ�นาจยงั ถูกเก็บไวส้ ำ�หรับคนกลมุ่ หนง่ึ ท่บี งั เอิญมี ปนื อยู่ในมือ ห้าสิบปหี ลังจากพมา่ ยืนดว้ ยตนเอง ถามว่าพวกเขายนื ได้ม่ันคง หรอื ยัง คงตอบยาก เพราะทีผ่ า่ นมาพม่าประสบปัญหามากมายภายใน ประเทศจากคนพม่าดว้ ยกนั เอง โดยเฉพาะปญั หาทางการเมอื งและสทิ ธิ มนุษยชน ยง่ิ ในโลกยุคใหมท่ ี่ประเทศยักษบ์ างประเทศถึงกับลม้ ตงึ จงึ ยงั เป็น ค�ำ ถามทช่ี วนสงสัยว่าพมา่ จะยนื ด้วยตวั เองไดอ้ ยา่ งมัน่ คงจริงๆ เม่ือไหรก่ นั แน่ ๑๖๕
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว โปสเตอรต์ ่อต้านรฐั บาลทหารของสหพนั ธน์ กั ศึกษาพม่า (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ๑๖๖
ประชาธปิ ไตยในพม่าหายไปไหน ปัญหาแนน่ อกของพมา่ ทีว่ เิ คราะห์จากสายตาของคนนอกอาจ มองว่าเพราะพม่ายังไมม่ คี วามเปน็ ประชาธปิ ไตย แตห่ ลายประเทศที่เจริญๆ ก็ไม่เหน็ จ�ำ เปน็ ต้องเป็นประชาธิปไตยสักหน่อย การปกครองด้วยรัฐบาล ทหารใช่วา่ จะสามารถนำ�พาประเทศไปสู่ความรงุ่ เรืองไม่ได้ แตส่ ิง่ ทีพ่ มา่ ขาด คอื การปกครองด้วยคณุ ธรรมมากกวา่ กระมัง หลงั จากได้รับเอกราช พม่าปกครองโดยรัฐบาลพลเรอื นทีม่ ีความ วุ่นวายภายในประเทศเป็นฉากหลัง พรรค AFPFL ของอูนไุ มม่ ีเสถียรภาพ รัฐบาลกเ็ ชน่ กนั การบริหารประเทศเป็นไปอย่างกระทอ่ นกระแท่นจนใน ทส่ี ุดก็ถกู กองทพั เข้ายดึ อ�ำ นาจจนได้เพอื่ รกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย ในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ แต่หลงั จากบา้ นเมืองสงบทหารกลับไมถ่ อนกำ�ลงั ออกไปเสยี ที กลบั เข้าครองอ�ำ นาจต่อเนอ่ื งยาวนานมาจนถงึ ปจั จุบัน ช่วงท่ีปกครองโดยรัฐบาลทหารก็ยังมีความวุ่นวายก่อตัวขึ้นท่ัว ประเทศ แมผ้ นู้ ำ�อยา่ งเนวินจะใช้การปราบปรามแบบเดด็ ขาด ประชาชนและ ผู้ทีไ่ ม่เหน็ ดว้ ยก็ไมห่ วาดกลัว ยังคงมกี ารตอ่ ตา้ นทั้งโดยแจง้ และโดยลับอยู่ อย่างต่อเนื่อง เหตกุ ารณท์ ุกอยา่ งมาสกุ งอมเอาในอกี ๒๖ ปตี ่อมา คือในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ เมอื่ เกิดการชมุ นมุ ขับไลร่ ฐั บาลครง้ั ใหญท่ ีส่ ดุ ในพม่านบั ต้งั แต่ ๑๖๗
ประวัตศิ าสตร์จานเดยี ว เนวนิ ปกครองประเทศเป็นต้นมา จุดเร่ิมตน้ ของเรอ่ื งราวท้งั หมดมีหลายกระแส แตท่ ีแ่ นๆ่ คอื ความ คับข้องในตอ่ การปกครองทไ่ี มย่ ุตธิ รรม การถกู กดข่ี และความเป็นอยขู่ อง ประชาชนที่ไมไ่ ด้ดีข้ึนสักเทา่ ไหรน่ น้ั อัดแนน่ อย่ใู นใจของชาวพมา่ เพียงแต่ รอเวลาท่ีเหมาะสมเทา่ นน้ั ทจ่ี ะระเบิดออก ต้นปี พ.ศ. ๒๕๓๑ กเ็ กดิ เรื่องซึง่ เปน็ ชนวนของเหตุการณข์ นึ้ เม่ือนักศกึ ษาเทคนคิ กล่มุ เลก็ ๆ เกดิ ทะเลาะววิ าท กับกลมุ่ ชายฉกรรจ์ในรา้ นน�้ำ ชาแห่งหนึง่ ดว้ ยสาเหตเุ ล็กน้อยมาก ทั้งหมด ถูกตำ�รวจจับกุมตวั เรอ่ื งราวจะไม่บานปลายเลยหากทัง้ สองฝา่ ยได้รับการ ลงโทษท่ียุติธรรม แต่กลมุ่ ชายฉกรรจเ์ หล่าน้ันได้รบั การปล่อยตวั โดยทก่ี ลุ่ม นกั ศึกษายังถกู คุมขงั จนทราบภายหลงั วา่ หนง่ึ ในกลุ่มชายเหลา่ นัน้ เป็นบุตร ชายของประธานคณะกรรมการสภาประชาชน กล่มุ นักศึกษาไม่พอใจกับการกระท�ำ ดังกล่าว จึงรวมตวั กนั เพ่อื เรยี ก รอ้ งความเป็นธรรมให้เพ่อื น จนเกิดเหตปุ ะทะกันอกี คร้งั กบั กลุ่มเพื่อนของคู่ กรณี เหตุการณเ์ ริม่ ขยายวงกวา้ งข้นึ ไปอกี เมอื่ ตำ�รวจพยายามเข้ามาควบคมุ สถานการณ์ กลายเป็นการตะลุมบอนกนั อย่างไม่รทู้ ศิ ต�ำ รวจเพิม่ ความ รนุ แรงขน้ึ เพอ่ื ยตุ ิเหตกุ ารณแ์ ต่กลบั มนี กั ศกึ ษาเสยี ชีวติ ๒ คน และอกี หลาย คนถกู จับกมุ หายตัวไปโดยไมท่ ราบชะตากรรม จากเรื่องทะเลาะวิวาทท่ีแสนจะธรรมดากลายเป็นว่าลุกลามใหญ่ โต นกั ศกึ ษาที่มีความไม่พอใจตอ่ รฐั เป็นทนุ เดิมอย่แู ล้วจงึ รวมตวั กันเพอื่ เรียกรอ้ งความยตุ ิธรรม จากนกั ศึกษาเทคนิคกลมุ่ เล็กๆ ก็ขยายวงกวา้ งเป็น นกั ศกึ ษาท่ัวกรงุ ยา่ งกุ้ง ประชาชนและผ้ทู ่ไี มพ่ อใจก็เขา้ มาร่วมกลุม่ จนกลาย เปน็ พลังมวลชน สว่ นฝ่ายตรงข้ามหรอื ฝ่ายอ�ำ นาจรฐั กไ็ ดก้ องทัพเข้ามาร่วม สนับสนนุ อกี แรง ทำ�ให้สถานการณย์ ่ิงเลวร้ายขนึ้ กว่าเกา่ วนั ท่ี ๑๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๓๑ เกดิ การปะทะกันอยา่ งดุเดอื ด ระหวา่ งทง้ั สองฝ่าย กองทัพเข้าปราบปรามด้วยความรุนแรงจนมีผู้เสียชีวิต ๖
ประวัตศิ าสตรจ์ านเดียว จำ�นวนมาก สถานการณ์เร่ิมควบคุมไม่ได้ ถงึ ตอนนฝี้ า่ ยตอ่ ตา้ นได้ขยาย ขอบเขตการประท้วงเป็นการขับไล่รัฐบาลและเรียกร้องประชาธิปไตยจน กลายเปน็ การประทว้ งทางการเมืองไปในทีส่ ุด แหลง่ ชมุ นมุ ใหญ่อยู่ทีม่ หาวทิ ยาลยั ยา่ งกุ้ง นกั ศึกษาหลายพันคน รวมตัวกันเพ่อื ขับไล่รฐั บาล กองทัพบกุ เข้าในมหาวทิ ยาลยั จบั กุมนกั ศึกษา จ�ำ นวนมากข้ึนรถบรรทุก เพราะอากาศที่ร้อนจัดและจำ�นวนคนท่อี ดั แน่นใน รถ ทำ�ให้นกั ศกึ ษาขาดอากาศจนเสยี ชวี ติ ถงึ ๔๒ คน และยังไมน่ บั ผ้ทู ่เี สียชีวติ จากการปราบปรามดว้ ยความรนุ แรงอกี จำ�นวนมาก สองวันถัดมาการประท้วงขยายตัวไปท่วั นครย่างกงุ้ ประชาชน มากมายออกมารวมตัวกันทเ่ี จดียส์ ุเล กลมุ่ ผู้ประทว้ งบกุ เขา้ ทำ�ลายอาคาร สถานท่รี าชการ กองทพั ตบเท้าเข้าควบคมุ สถานการณด์ ้วยความรนุ แรงเชน่ เคย รฐั บาลประกาศสถานการณฉ์ กุ เฉิน แตก่ ห็ ลงั จากทม่ี กี ารเขน่ ฆา่ ผู้ตอ่ ต้าน ไปแล้วจ�ำ นวนมาก มีการขนศพผู้เสยี ชีวติ ออกจากท่เี กดิ เหตอุ ยา่ งรวดเร็ว คน ท่ีรอดกถ็ ูกจับเข้าคกุ บา้ งกห็ ายสาบสูญไปอย่างไรร้ อ่ งรอย พอตะวันตกดนิ ย่างก้งุ กเ็ หลือแต่ความเงยี บงนั ******************** นครย่างกุ้งกลับเข้าสู่ความสงบได้เพียงไม่กี่เดือนก็กลับมาร้อนระอุ อกี หน นักศึกษาท่โี ชคดที ่ีถูกปลอ่ ยตัวออกมานำ�เร่ืองราวความโหดเหยี้ มใน คุกมาถา่ ยทอด นกั ศกึ ษาและประชาชนอีกจำ�นวนมากก็ยงั ต้องรกั ษาตวั อยู่ ในโรงพยาบาล ประชาชนยังคงแคน้ เคืองไม่หาย เดอื นมถิ นุ ายนปีเดยี วกนั ก็ เกิดเหตปุ ระทว้ งขน้ึ อีก และมปี ระชาชนเสียชีวติ จำ�นวนมากเช่นเคย และช่วง ปลายเดือนการประท้วงกล็ ุกลามไปยงั เมืองอ่นื ๆ และจากความไมส่ งบสง่ ผล ให้เศรษฐกิจถดถอย เกดิ การกักตนุ สินค้า ราคาสนิ คา้ เพม่ิ ขนึ้ หลายเท่าจาก ๗
ประวัติศาสตรจ์ านเดียว เดิมทก่ี ็สงู อยู่แล้ว รัฐบาลทหารอาจประเมินกลุ่มต่อต้านตำ่�เกินไปแม้ว่าจะเลือกใช้วิธี ปราบปรามท่รี ุนแรง แต่ประชาชนกย็ งั เลอื กทจี่ ะตอ่ สู้ เดือนกรกฎาคม เนวนิ ก็สร้างความประหลาดใจดว้ ยการแถลงการณล์ าออกจากทกุ ตำ�แหนง่ แตน่ น่ั ก็ไม่ได้ทำ�ให้สถานการณ์ดีข้ึนเลยเมื่อเขาประกาศว่าผู้สืบทอดตำ�แหน่งเป็น พลจัตวา เส่งลวนิ ผนู้ ำ�การปราบจลาจลในเดือนมนี าคมทท่ี �ำ ให้มีผูเ้ สยี ชีวติ จ�ำ นวนมากจนไดร้ ับสมญา ฆาตกรแห่งยา่ งก้งุ แมเ้ ส่งลวินจะขน้ึ ดำ�รงต�ำ แหน่งผนู้ �ำ รัฐบาล แต่กร็ กู้ นั ดีวา่ ผู้นำ�ทแี่ ท้ จริงยงั เปน็ เนวินอยู่นน่ั เอง ความไม่พอใจและแผนการณข์ ับไลร่ ฐั บาลยงั ดำ�เนินต่อ โดยวางแผนรวมตัวครง้ั ใหญใ่ นวนั ที่ ๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ ซ่งึ ก็ คอื เหตกุ ารณ์ “๘๘๘๘” บนั ทึกทีแ่ สนโหดร้ายในหนา้ ประวตั ศิ าสตร์ของพมา่ ตวั เลข ๘๘๘๘ ถูกส่งต่อเพอื่ นดั หมายกนั ท่ัวย่างกุง้ แม้ตวั เลข ค.ศ. ๑๙๘๘ จะเปน็ ของตะวนั ตกก็ตามที่ แต่เลข ๘ กน็ บั เปน็ เลขมงคล บางคนเช่ือ วา่ เป็นการเอาเคลด็ เพราะเลข ๘ มากอ่ นเลข ๙ ซ่งึ เป็นเลขมงคลประจ�ำ ตัว ของเนวนิ อกี ทง้ั ยงั นบั เปน็ การฉลองครบรอบ ๕๐ ปีแห่งการก่อตั้งขบวนการ กู้ชาตพิ มา่ อกี ดว้ ย แม้รัฐบาลจะระแคะระคายการนัดหมายของกลุ่มต่อต้านและเตรียม การรบั มือด้วยความรนุ แรงเช่นเดมิ แตก่ ็ไม่อาจต้านพลังของประชาชนผโู้ กรธ แค้นได้ เชา้ มืดของวนั ท่ี ๘ สิงหาคม ผู้คนมากมายรวมตัวกนั ท่เี จดีย์สุเหล่ กลางนครย่างกุง้ เพ่อื แสดงพลัง เมื่อกองทัพมาถึงกเ็ รม่ิ ปราบปราม มกี ารก ราดกระสนุ เข้าใสฝ่ งู ชน มีผบู้ าดเจ็บลม้ ตายจำ�นวนมาก ศพถกู ทหารขนออก ไปก�ำ จดั อย่างรวดเรว็ แต่กล่มุ ผู้ประทว้ งก็ยังไม่ยอมเลกิ รา รัฐบาลได้ประเมนิ พลังของมวลชนตำ่�เกินไปอกี ครั้งหน่งึ ข่าวการปราบจลาจลอย่างรุนแรงไม่สามารถปกปิดได้แม้พม่าจะปิด ประเทศก็ตามที มกี ารห้ามส�ำ นกั ข่าวตา่ งประเทศเขา้ มาท�ำ ข่าวโดยเดด็ ขาด ๖
ประวัติศาสตร์จานเดียว แต่ก็มีผ้สู อ่ื ขา่ วต่างชาติแฝงตัวเขา้ มาได้อยู่ดี เช่น สำ�นกั ขา่ ว BBC ของอังกฤษ และ NHK ของญี่ปนุ่ และตอ้ งไม่ลืมว่าพมา่ ยงั มสี ถานฑตู ของประเทศตา่ งๆ อยู่ ภาพการสังหารหมู่ถกู เผยแพร่ออกไปจนรัฐบาลพม่าถูกประนามจาก ประชาคมโลก แม้จะปิดประเทศและมที ที ่าไมใ่ ยดตี ่อสังคมโลกมานาน แต่ การจะนง่ิ เฉยโดยไมท่ ำ�อะไรเลยคงเป็นไปไดย้ าก และเสี่ยงตอ่ การถูกคว่�ำ บาตรทางเศรษฐกิจ เส่งลวนิ จึงประกาศรับผิดชอบด้วยการลาออกหลงั จาก ดำ�รงตำ�แหน่งได้เพยี งสามอาทิตย์ แต่น่ันก็หลงั จากที่เขาสงั่ ฆา่ ผปู้ ระทว้ งไป แล้วมากมายด้วยเช่นกนั กองทัพดัน ดร.หมอ่ งหม่อง ข้นึ เปน็ ผนู้ �ำ รฐั บาล เป็นรัฐบาลพลเรอื น ครัง้ แรกนับจากการยดึ อำ�นาจในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ สถานการณเ์ ริ่มคลีค่ ลาย การปราบปรามจลาจลคร้ังนีว้ ่ากนั วา่ มผี ู้คนล้มตายมากกว่า ๓ หมน่ื ราย ซ่ึง รัฐบาลปฏิเสธวา่ ไม่เป็นความจริง นักศึกษาและประชาชนอกี จ�ำ นวนมาก หลบหนเี ข้าป่าไปสมทบกับชนกล่มุ น้อยต่างๆ รวมถงึ พรรคคอมมวิ นสิ ต์ เพอ่ื ร่วมตอ่ สแู้ บบกลุม่ นอกกฎหมายตอ่ ไป แตห่ ลังจากน้ันอีกเพียงสามเดือน นายพลซอหมอ่ ง กท็ ำ�การยึด อำ�นาจจากรัฐบาลพลเรือนอีกหนซึ่งก็มีเสียงนินทากันอีกว่าเป็นไปตามใบสั่ง ของเนวนิ ท่ยี ังกุมอำ�นาจอยู่เบ้ืองหลงั การยดึ อ�ำ นาจของซอหม่องก็ยังไมพ่ ้น การเข่นฆา่ ประชาชนอีกครง้ั คราวนี้มีผูเ้ สยี ชวี ิตนบั พนั ราย การปราบปราม ประชาชนที่ไม่เหน็ ด้วยกลายเปน็ เรื่องปกติไปเสยี แลว้ ในพมา่ มีการสง่ั ปลด ขา้ ราชการจ�ำ นวนมากท่ใี หก้ ารสนบั สนุนกลุ่มตอ่ ตา้ น และมหาวิทยาลยั ก็ถกู สงั่ ปดิ อกี เช่นเดมิ แตท่ ี่เหนอื ความคาดหมายหลังจากนน้ั ก็คอื มกี ารประกาศ วา่ รัฐบาลจะจดั ใหม้ ีการเลอื กตั้งทว่ั ไปในอกี สองปีขา้ งหนา้ ******************** ดูเหมือนการต่อสทู้ ่ผี ่านไปจะไม่เสยี เปล่า ความหวังในการได้มาซ่งึ ๗
ประวัตศิ าสตร์จานเดียว ประชาธปิ ไตยอย่ไู ม่ไกลนกั แตต่ อ้ งยอมรับกันอยู่ดวี ่าพมา่ ยังคงถูกปกครอง โดยกองทพั เผด็จการ พรรครฐั บาลคอื พรรคโครงการสังคมนยิ มพม่า (Burma Socialist Program Party : BSPP) ซึ่งเปน็ พรรคการเมืองเดยี วนบั ต้ังแต่เน วนิ ครองอำ�นาจพยายามท่ีจะล้างภาพเก่าๆ ด้วยการยบุ ตวั เองลง แลว้ จัดตัง้ พรรคการเมืองใหมข่ ้นึ มาคือ พรรคเอกภาพแห่งชาติ (National Unity Party : NUP) และเปิดให้มีการจดทะเบียนตัง้ พรรคการเมอื งได้เพอื่ เตรยี มการเลอื ก ต้ังทัว่ ไป ที่น่าขำ�ก็คือรัฐบาลสนับสนุนให้มีการจัดตั้งพรรคการเมืองโดย หวงั ว่าจะเป็นการลดทอนความนยิ มของกลมุ่ การเมืองค่แู ข่งซ่งึ กค็ อื พรรค สนั นบิ าตแห่งชาตเิ พอ่ื ประชาธปิ ไตย (National League for Democracy : NLD) ทม่ี ีดาวเด่นคนส�ำ คัญคือ อองซาน ซูจี บตุ รสาวของนายพลออง ซาน บดิ าแห่งเอกราชพมา่ เปน็ เลขาธกิ ารพรรค แนวคิดการเพม่ิ จำ�นวน พรรคการเมอื งของรัฐบาลเพอ่ื ตัดกำ�ลงั ของพรรค NLD และเพอ่ื สรา้ งพรรค นอมนิ สี ำ�หรบั ตวั เอง มกี ารประกาศว่าพรรคการเมอื งจะได้รับแจกน้ำ�มันและ ยังไดร้ ับการติดตั้งโทรศัพท์ฟรีอกี ดว้ ย มีพรรคการเมอื งจดทะเบยี นมากกวา่ ๒๐๐ พรรค ซง่ึ บางคนร่วมจดทะเบยี นเพยี งเพอื่ หวงั เช้อื เพลงิ กับโทรศัพทฟ์ รี เทา่ น้ัน คณะรัฐบาลผู้บริหารประเทศภายใต้การนำ�ของซอหม่องซึ่งบัดน้ีได้ เปลี่ยนเป็น สภาฟ้ืนฟูกฎหมายและกฎระเบยี บแหง่ รัฐ (State Law and Or- der Restoration Council : SLORC) ม�ำ หน้าทบ่ี ริหารและควบคุมทกุ ส่งิ ทกุ อย่างในประเทศ ซ่งึ ไม่ต่างอะไรจากความเปน็ ไปแบบเดมิ ๆ เพยี งแคเ่ ปลี่ยน ชอื่ และภาพลักษณ์เพ่อื ให้ดดู ีในสายตาของทกุ คน รัฐบาลเร่มิ ตน้ เตรียมการ เลอื กต้งั ตามที่ไดส้ ัญญาไวท้ า่ มกลางความคลางแคลงใจของทกุ คนทีเ่ กี่ยวขอ้ ง นักการเมืองทั้งหน้าเก่าและหน้าใหม่ลุกขึ้นมาจัดต้ังพรรคการเมือง และเร่ิมด�ำ เนินกิจกรรมทางการเมอื ง อาทิ อูนุ อดตี ผูน้ ำ�พมา่ พยายามกลบั ๖
ประวัตศิ าสตร์จานเดียว มาสู่เสน้ ทางการเมอื งดว้ ยการกอ่ ตั้ง พรรคสันนิบาตเพื่อประชาธิปไตยและ สันตภิ าพ (The League for Democracy and Peace : LDP) นายพลอองยี อดีตผนู้ �ำ พรรค NLD ทเ่ี กดิ ความเห็นขัดแย้งกับผูน้ ำ�อื่นๆ ในพรรค ไดแ้ ยกตวั ออกมาต้ัง พรรคประชาธิปไตยแห่งชาติ (The Union National Democracy Party : UNDP) และหันไปจับมือกับพรรครฐั บาล นอกจากน้ียงั มีพรรคเลก็ พรรคน้อยอ่นื ๆ อกี มากมาย แตโ่ ดยภาพรวมเป็นทที่ ราบกนั ดวี า่ การเลอื กตงั้ ในครั้งนี้เปน็ การตอ่ สูก้ นั ระหว่าง พรรค NUP ของรฐั บาล กับ พรรค NLD ทีม่ ี อองซาน ซูจีเป็นแกนนำ� และแลว้ ความหวาดระแวงของทุกคนกเ็ ปน็ จริง แม้จะมีการเตรยี ม การเลือกตั้งท่ัวประเทศแต่พม่าในตอนนั้นยังคงอยู่ภายใต้กฎเหล็กของกอง ทัพทบี่ างครั้งดูแปลกประหลาดและไม่เขา้ ทา่ เช่น การห้ามชุมนมุ ทางการ เมืองเกนิ กว่า ๕ คน หมายความวา่ การประชุมพรรคหรือการหาเสียงแทบ จะเปน็ ไปไม่ได้เลย การสงั่ จับกมุ นักการเมืองโดยเฉพาะสมาชิกพรรค NLD ที่เป็นคู่แข่งด้วยข้อหาร้ายแรงเท่าที่พอจะกุข้ึนมาได้หรือกระท่ังข้อหาเล็กๆ นอ้ ยๆ การหาเสียงนั้นทุกพรรคต้องส่งร่างคำ�ปราศรัยให้รัฐบาลตรวจสอบ ก่อน หา้ มใช้ขอ้ ความท่ีเปน็ การปลกุ ระดมมวลชน หา้ มวิจารณก์ องทัพซึ่งก็ คอื รัฐบาลน่ันเอง การปราศรยั ทางโทรทัศนก์ �ำ หนดใหพ้ รรคละ ๑๐ นาที ทาง วทิ ยุไดพ้ รรคละ ๑๕ นาที ฯลฯ กฎระเบียบางอย่างกร็ า่ งขนึ้ มาดื้อๆ เสียเด๋ียว นนั้ เพื่อสกัดกั้นโอกาสของนกั การเมืองฝ่ายตรงขา้ ม แนน่ อนวา่ จุดมุ่งหมาย อยู่ท่ที ำ�อย่างไรกไ็ ดใ้ ห้อองซาน ซจู เี ป็นฝา่ ยพ่ายแพ้ ใกล้วันเลือกตั้งเข้ามาทุกที รัฐบาล SLORC มัน่ ใจมากว่าไดก้ ีดกนั อองซาน ซูจีทุกวถิ ีทางแลว้ เพอื่ มใิ ห้เธอไดส้ ร้างฐานเสยี งขึ้นมาได้ กฎระเบยี บ หยุมหยิมมากมายสรา้ งความหว่นั วติ กให้กบั นกั การเมอื ง การจัดการกับฝ่าย ตรงขา้ มด�ำ เนนิ ไปอย่างรวดเร็วและเฉียบขาด มีเพยี งอองซาน ซูจคี นเดยี ว ๗
ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดียว เทา่ นั้นท่กี องทัพไม่กลา้ แตะต้อง แมว้ ่าจะกดดนั เธออย่างหนกั ด้วยการกกั บริเวณเธอไว้ในบา้ นต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ เปน็ ต้นมา และประชาชนพมา่ ก็ดู เหมอื นจะคอ่ นข้างนิ่งเฉยกบั การเลอื กตงั้ อย่างน่าแปลกใจ แทบไมม่ ใี ครเชอ่ื ว่าการเลือกตง้ั ๒๕๓๓ จะบรสิ ุทธ์ิยตุ ิธรรม แม้ รัฐบาล SLORC ยืนยนั ว่าจะด�ำ เนินการอย่างใสสะอาดแน่นอน มีการเปดิ โอกาสใหส้ �ำ นักขา่ วจากตา่ งประเทศเขา้ มาทำ�ข่าวได้ ทีเ่ ปน็ เชน่ นี้เพราะ รัฐบาล SLORC ม่นั ใจว่าชนะชวั ร์ พรรคคู่แข่งที่แทบจะไม่ไดห้ าเสียงและ พบปะประชาชนคงไม่มีทางเอาชนะไดแ้ นน่ อน แถมยงั มกี ารจำ�กดั จ�ำ นวนผู้มี สิทธิ์ออกเสียง เช่นตัดสทิ ธ์ิชาวพมา่ ที่มีเชอื้ สายตา่ งชาติ ยกั ยา้ ยประชากรใน เขตทเี่ ปน็ ฐานเสยี งของคแู่ ข่ง ฯลฯ ไม่วา่ มองมุมไหนพรรครัฐบาลก็ไดเ้ ปรยี บ เตม็ ประตู ถา้ การจดั การเลือกตงั้ ของรัฐบาล SLORC สรา้ งความประหลาดใจ แล้ว การเลือกตง้ั ในวนั อาทิตย์ท่ี ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ของประชาชน ชาวพมา่ ยงิ่ สรา้ งความประหลาดใจเหนอื กว่ามาก ประชาชนทไี่ ม่มีทีทา่ ว่าจะ สนใจการเลือกตงั้ มาตัง้ แต่ตน้ กลับแสดงออกถึงพลังท่พี วกเขาเกบ็ ง�ำ เอาไว้ อยา่ งเตม็ ท่ี ผู้คนหล่ังไหลมาต่อคิวเพอ่ื เข้าคหู ากันตัง้ แตเ่ ชา้ มืด ความอดั อนั้ ท่ี เก็บเอาไว้ถูกระบายออกด้วยการแสดงพลังความต้องการของมหาชนว่าพวก เขา “เลอื ก” พรรค NLD ไมใ่ ช่พรรครัฐบาล ******************** การกักตวั อองซาน ซจู ี แทบไม่มผี ลอะไรตอ่ ความศรทั ธาของ ประชาชน ชาวพมา่ ผมู้ สี ทิ ธอิ์ อกเสียงราว ๒๐ ลา้ นคน (จากจำ�นวนประชากร ๔๐ ลา้ นคนเศษ เห็นได้วา่ รัฐบาล SLORC ตัดทอนจำ�นวนผมู้ สี ิทธิจ์ นเหลือ เพียงครงึ่ เดยี วจากประชากรทั้งประเทศ) ออกมาใช้สิทธเ์ิ ลือกตงั้ กนั สงู ถงึ รอ้ ย ๖
ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว ละ ๗๖ และรอ้ ยละ ๗๒ จากผลู้ งคะแนนเสียงเลือกพรรค NLD พรรค NLD กวาดทีน่ ่งั ในสภาไปได้ ๓๙๒ ทีน่ ัง่ จากจำ�นวน ๔๘๕ ที่ นัง่ พืน้ ทท่ี พี่ รรค NLD พา่ ยแพ้มเี พยี งเขตของชนกลุ่มน้อยทค่ี นของพวกเขา เองเป็นฝา่ ยชนะ ส่วนพรรค NUP ของรฐั บาลได้เพยี งแค่ ๑๐ ทน่ี ่งั พรรค NLD จงึ ไดส้ ิทธิใ์ นการจัดตงั้ รัฐบาลบรหิ ารประเทศ แต่สิทธ์ิทไี่ ด้มาอยา่ งบรสิ ุทธน์ิ ัน้ ไม่ได้ตกถงึ พรรค NLD เสยี งสวรรคข์ องประชาชนถูกกลบด้วยเสยี งตบเท้า ของกองทพั ท่ีเข้ามาควบคุมทกุ อย่างเอาไว้เชน่ เดมิ ภายหลังประกาศผลการเลือกต้งั ประชาชนชาวพมา่ ออกมาโหร่ อ้ ง แสดงความยนิ ดีกนั ทว่ั ประเทศ การตอ่ สอู้ ย่างยาวนานไมส่ ญู เปล่า ชัยชนะ อยา่ งถลม่ ทลายของพรรค NLD สร้างความแปลกใจให้กับทกุ ฝา่ ยท่เี กี่ยวขอ้ ง เพราะแทบไมม่ ใี ครเชอ่ื ว่าการเลอื กตัง้ ครั้งน้จี ะราบร่นื และโปร่งใส ชาวพม่า เองยังหว่ันใจว่าคะแนนเสียงของพวกเขาอาจหล่นหายไปอย่างไร้ร่องรอย แน่นอนวา่ ฝา่ ยท่แี ปลกใจและเจบ็ ใจทส่ี ดุ คอื รัฐบาล SLORC ท่ีฝนั ไว้ต้ังแตต่ ้น วา่ จะชนะอยา่ งสบาย ส่ิงที่เกิดข้ึนในพม่าอาจสร้างความประหลาดใจให้นานาชาติเม่ือ รัฐบาล SLORC ท�ำ ในสงิ่ ทีไ่ มม่ ใี ครคาดคิด คอื ประกาศว่ายังไม่สามารถถา่ ย โอนอำ�นาจการปกครองใหพ้ ลเรือนไดเ้ นือ่ งจากยังไมไ่ ว้ใจว่าพรรค NLD จะ สามารถบริหารประเทศไดอ้ ย่างสงบเรียบรอ้ ย อกี ท้งั ยงั ตอ้ งใช้เวลาในการ รา่ งรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จึงจำ�เปน็ ตอ้ งเล่อื นเวลาออกไปกอ่ นซึ่งกเ็ ลอื่ นมา จนถงึ ทกุ วนั น้ี พูดอย่างง่ายๆ กค็ อื รัฐบาล SLORC ไมย่ อมรบั ผลการเลอื ก ตั้งที่ฝา่ ยตนพ่ายแพ้ และจะอยูใ่ นอำ�นาจต่อไปใครจะท�ำ ไม การเลอื กตง้ั ในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ จงึ เป็นเหมอื นการเล่นละครตบตา ชาวโลกวา่ พมา่ กำ�ลังจะเปลี่ยนแปลง แตแ่ ทจ้ รงิ แลว้ ทกุ อยา่ งยังคงเป็นไป เหมือนเช่นเดมิ กระแสความไม่พอใจของประชาชนชาวพมา่ คุกรนุ่ ข้นึ อีกครัง้ แต่ ๗
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว จะทำ�อะไรได้เม่ือฝ่ายรัฐบาลขยับปืนในมือทุกครั้งที่มีการชุมนุมเรียกร้อง รัฐบาลประกาศท่ีจะกกั บรเิ วณอองซาน ซจู ีตอ่ ไปอีกโดยไม่มกี �ำ หนด สมาชกิ ระดบั แกนนำ�ของพรรค NLD ถูกจับทลี ะคนสองคน สมาชกิ พรรคทีไ่ ดร้ บั การ เลือกต้ังกเ็ ช่นกนั การกระท�ำ เชน่ น้ีเพอ่ื ทำ�ให้พรรค NLD ค่อยๆ ลม่ สลายลง ไปทีละน้อยๆ ที่นา่ ขนั กค็ ือประเทศต่างๆ ทั่วโลกตา่ งแสดงความไม่พอใจตอ่ การ กระท�ำ ของรัฐบาล SLORC โดยเฉพาะประเทศทม่ี ปี ระชาธปิ ไตยสุดโต่ง อยา่ งสหรัฐอเมริกา และประเทศมหาอ�ำ นาจอ่นื ๆ ทเี่ รียงควิ ออกมาประนาม พฤติกรรมอันนา่ ละอายน้ี และเรียกรอ้ งใหม้ กี ารปล่อยตัวอองซาน ซูจี ซงึ่ ก็ เป็นแคเ่ พยี งการตอบโต้ดว้ ยลมปาก มีแถลงการณป์ ระนามรัฐบาลทหารพม่า รายวัน โดยไม่มีการกระทำ�ใดๆ ทเี่ ป็นรปู ธรรมชดั เจน แตก่ ับสถานการณ์ ในอา่ วเปอรเ์ ซยี สหรัฐอเมรกิ าและพนั ธมิตรกลบั สง่ กองกำ�ลังเขา้ ไปควบคุม สถานการณ์ หากจะกลา่ ววา่ เปน็ เร่ืองภายในของพมา่ กถ็ ูกตอ้ งอยู่ แตก่ ็ แสดงออกชัดเจนถึงการตัดสินใจแบบสองมาตรฐานที่มีนัยทางการเมืองและ ผลประโยชนแ์ อบแฝง สิ่งที่ทำ�ได้คือการออกโรงโจมตีรัฐบาลพม่าเพ่ือทำ�ให้ดูเหมือนว่า ประเทศมหาอำ�นาจไมไ่ ด้ทอดทิ้งอองซาน ซูจี สหรฐั อเมริกาและหลาย ประเทศในยุโรประงบั ความชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ แก่พม่า ซ่ึงกไ็ ม่ได้ท�ำ ให้ รัฐบาล SLORC ระคายผิว เพราะปกติพมา่ ก็ปดิ ประเทศอยู่แลว้ พมา่ เอง ต่างหากที่เป็นฝ่ายได้เปรียบจากทรัพยากรธรรมชาติที่มีล้นเหลือซึ่งประเทศ มหาอ�ำ นาจต่างจอ้ งกันตาเป็นมนั หากมีการคว่�ำ บาตรหรือตัดสัมพันธ์อย่าง เป็นทางการ ประเทศทจี่ ะมีความสุขทสี่ ดุ ก็คือจนี กับรัสเซยี โดยเฉพาะกบั จนี ทย่ี ังเปน็ สังคมนิยมเชน่ เดยี วกับพม่า การเจรจาซ้ือขายอาวุธและสินค้ายิ่ง สะดวกโยธินและไรค้ แู่ ขง่ หลังการเลอื กตัง้ พ.ศ. ๒๕๓๓ ชวี ิตในพม่าก็ยงั ด�ำ เนินตอ่ ไปเหมอื น ๖
ประวัตศิ าสตร์จานเดยี ว เช่นที่ผา่ นมา โดยมีรัฐบาลทหารเป็นผู้ชเ้ี ป็นช้ีตาย สมาชิกพรรค NLD ท่ีไดร้ บั การเลอื กตัง้ ถกู จับกมุ รายวนั ดว้ ยขอ้ หาท่ตี า่ งกันไปเพอื่ เป็นการตัดตอน แต่ พรรค NLD กย็ งั คงยืนอยไู่ ด้แมจ้ ะไรแ้ กนนำ�ทีต่ ่างก็ถูกจ�ำ กัดบริเวณอยู่ภายใน บา้ นของตนเองเหมือนอองซาน ซูจี รฐั บาล SLORC ไม่ได้แยแสตอ่ การโจมตี แคเ่ พียงลมปากจากนานาประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ อองซาน ซจู ี ได้รบั รางวลั โนเบลสาขาสนั ติภาพ แต่ ชวี ติ ของเธอกย็ งั ถกู จำ�กดั อย่ใู นบรเิ วณของตวั เอง รางวลั โนเบลไมไ่ ดท้ �ำ ให้ เกิดสนั ติภาพในพม่า และรัฐบาลกไ็ ม่ไดย้ นิ ดียินรา้ ยกบั ขา่ วคราวของเธอ แต่กบั ภาพพจน์ของประเทศแลว้ จะทำ�เป็นไมใ่ ยดไี ม่ได้ แมพ้ มา่ จะ ปิดประเทศ ก็ยังมีสัมพนั ธอ์ ันดกี บั หลายชาติทเี่ ป็นผูใ้ ห้ความช่วยเหลอื ด้าน การเงิน เศรษฐกิจพม่าภายในการบริหารของกองทพั ไมเ่ คยเจริญสักที แต่ กองทัพกลบั เจรญิ เอาๆ หลายประเทศในยโุ รปและญ่ปี ุน่ คอื ประเทศทใี่ ห้ ความช่วยเหลือดา้ นการเงินแก่พมา่ แม้วา่ อาจจะดว้ ยหวังถึงผลประโยชน์ บางอยา่ ง แต่การทอี่ อกหนา้ ช่วยเหลือประเทศทีล่ ะเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนมาก ท่ีสดุ ต่อไปเรอ่ื ยๆ กย็ ิ่งสรา้ งภาพลกั ษณท์ ไ่ี ม่ดใี หก้ ับตนเอง พมา่ จงึ ตอ้ งรีบ ปรับหน้าฉากโดนด่วนเพ่ือไม่ให้ประเทศท่ีให้ความช่วยเหลือซ่ึงมีน้อยอยู่แล้ว ยง่ิ ลดน้อยลงไปอกี การจัดการเลือกต้ังจึงเป็นการจัดฉากช้ินหนึ่งที่ถูกวิเคราะห์ว่าเป็น ไปเพอ่ื การน้ี รฐั บาล SLORC เชือ่ มนั ว่าจะไดร้ บั ชยั ชนะ แม้เมอ่ื ผลการเลอื ก ต้ังไมเ่ ปน็ ดังหวงั แต่กไ็ ม่ใช่เร่อื งใหญเ่ พราะอย่างไรเสยี อ�ำ นาจกย็ ังอยูใ่ นมอื ของคนถอื ปนื แตก่ ารจัดการเลือกตั้งกช็ ว่ ยซ้อื เวลาใหก้ ับพมา่ ได้สักระยะเวลา หน่ึง แต่ในยุคท่ปี ระเทศสังคมนยิ มเหลือนอ้ ยเต็มที พม่าเรม่ิ โดดเด่ียวมาก ขน้ึ มหาอ�ำ นาจอย่างจนี ยังคลคี่ ลายตวั เองดว้ ยการเปิดรับการเปล่ียนแปลง มากข้นึ พม่าจะหยบิ ยกอดีตทเ่ี คยถกู รังแกจากชาตติ ะวนั ตกมาอา้ งเหมอื น ๗
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว เดมิ อกี ไมไ่ ด้เสียแลว้ พม่าตอ้ งเปดิ ประตูบา้ นรบั ความเปน็ จริงวา่ โลกได้ เปลี่ยนไป การทร่ี ัฐบาลทหารจะยังคงบริหารประเทศก็ไมไ่ ดท้ ำ�ให้นานาชาติ ข้องใจ เพียงแต่พวกเขาต้องทำ�หนา้ ทอี่ ยา่ งโปร่งใส ปราศจากการแสวงหาผล ประโยชน์ ไม่ใชอ้ ำ�นาจสง่ั การตามอำ�เภอใจและไมล่ ะเมดิ สิทธมิ นุษยชน ซึง่ ก็ ยงั ไม่เคยเหน็ รัฐบาลทหารประเทศไหนจะไมโ่ ดนด่าเสียที ถ้าภาพลกั ษณ์ของ รัฐบาลออกมาดูดีหรือไม่กระทำ�การรุนแรงทั้งทางกฎหมายหรือการกระทำ� นานาชาติก็คงไม่ข้าไปข้องเกี่ยวเพราะถือว่าเป็นกิจการภายในของพม่าเอง ดังน้ันรัฐบาลจึงต้องปรับเปล่ียนนโยบายและปรับโฉมหน้าประเทศเสียใหม่ ใหด้ เู ขา้ ท่า หลังการเลือกตง้ั อัปยศในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ รฐั บาล SLORC ก็ดำ�เนิน แผนฟ้นื ฟูประเทศเพ่ือสรา้ งภาพด้านสวยให้ตวั เองดว้ ยส่วนหน่ึง พมา่ เปิด ประเทศมากย่ิงข้ึนแต่ยังอยู่ภายใต้การกำ�กับดูแลจากกองทัพอย่างใกล้ชิด พม่ากลายเป็นดินแดนท่ีนานาชาติอยากจะเข้ามาทำ�ธุรกิจด้วยโดยเฉพาะ กับทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีมีมากล้น แต่ความไม่เสถยี รทางการเมอื งกย็ งั ท�ำ ให้ นกั ธุรกจิ ยงั ไม่กล้าเข้ามาลงทุน เกรงว่าจะเกิดซำ้�รอยเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ ท่ี กองทัพเขา้ ยึดอ�ำ นาจและรบิ กิจการตา่ งชาตไิ ปบรหิ ารเองเสยี ดือ้ ๆ แต่ใน ท่ีสดุ พม่าเองก็ไม่อาจต้านกระแสเศรษฐกจิ ทนุ นยิ มได้ไหว นกั ธุรกิจจาก ภายนอกกย็ อมเข้ามาลงทนุ เพราะผลประโยชน์มันค้มุ ค่าทจี่ ะเส่ยี ง การละเมิดสิทธิมนุษยชนและการบริหารประเทศด้วยประชาธิปไตย แบบแหวง่ ๆ ยงั คงดำ�เนนิ ไปเร่อื ยโดยไม่ไดส้ นใจกบั เสยี งเรยี กร้องจากนอก ประเทศ รัฐบาล SLORC ท�ำ ทีเป็นหูทวนลม มีแรงประนามได้ก็ทำ�ไปเถิด ฉัน กจ็ ะเปน็ ไปของฉันแบบน้ี แต่ก็เปดิ ประตูรับการลงทุนจากภายนอกซงึ่ ตอ่ คิว มาเพียบ ถ้าจะถามเอาประชาธิปไตยเตม็ ใบละ่ ก็คงหาไม่ได้ที่พม่า หลายชาติ ทีพ่ ยายามทำ�ตัวเป็นพระเอกกแ็ ค่ลมปาก พม่าก็ยงั คงเป็นพม่าในแบบที่เปน็ เรือ่ ยมาก อองซาน ซูจที ่อี ตุ ส่าหไ์ ด้รบั การยกยอ่ งเป็นไอดอลของการเรยี ก ๖
ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว ร้องเสรภี าพกย็ ังถูกกักตวั อยใู่ นบ้านของตวั เองปีแล้วปเี ลา่ ตอ่ ไป แต่ถึงจะดื้ออยา่ งไร รฐั บาล SLORC ก็ต้องลูไ่ ปตามลมบ้าง จึงเรมิ่ ปู แผนการเปลีย่ นภาพลกั ษณ์ของตวั เองรวมถึงประเทศเสยี ใหม่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ครบ ๖ ปี ทร่ี ฐั บาลสั่งกักบรเิ วณอองซาน ซูจไี วใ้ น บา้ นของตวั เอง จๆู่ กม็ คี �ำ สัง่ ปล่อยตวั เธอเป็นอิสระ หลงั จากทีค่ ่อนข้างม่นั ใจ แล้ววา่ ทกุ คนลมื การเลอื กตั้งเม่อื ๖ ปีก่อนไปสิ้นแล้ว และรัฐบาลปกครอง ประเทศอยา่ งราบร่นื มาโดยตลอด ถงึ อย่างนั้นอองซาน ซูจกี ็ยงั คงถกู เพ่ง เล็งจากรัฐบาลอยไู่ ม่เปลี่ยนแปลง การปล่อยตวั อองซาน ซูจี ชว่ ยลดกระแส ตอ่ ตา้ นจากนานาชาตไิ ดใ้ นระดบั หน่งึ นอกจากนอี้ าจเป็นเพราะการท่ีญปี่ ุ่น ประกาศจะตัดการช่วยเหลือด้านการเงินแก่พม่าหากยังคงดึงดันไม่ปล่อยตัว เธอ ในปีเดียวกันน้ันเองพม่าก็เปิดประเทศอีกคร้ังด้วยการประกาศให้ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ เปน็ ปแี ห่งการทอ่ งเทย่ี วของพมา่ เปน็ การยกระดับและแสดง วสิ ัยทศั น์ของรฐั บาลทหารใหด้ ดู ขี ึน้ ในสายตาชาวโลก ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ รฐั บาล SLORC ด�ำ เนนิ การตามแผนแปลงโฉม ประเทศคร้ังใหญ่ ดว้ ยการเปล่ยี นโครงสร้างการบริหารเป็น สภาสันติภาพ และการพฒั นาแห่งรัฐ (State Peace and Development Council : SPDC) ซงึ่ แท้จรงิ แล้วก็ไมม่ อี ะไรต่างไปจากเดิม ยงั คงเป็นเหลา้ เก่าในขวดใหมท่ ่ี รสชาตยิ งั เอาแน่เอานอนไม่ไดอ้ ยอู่ ยา่ งเดมิ แตส่ ง่ิ ท่ี SPDC ทำ�สำ�เรจ็ คือการ ผลกั ดนั ประเทศจนสามารถเข้าเปน็ สมาชิกอาเซียนได้สมใจ ต้องปรบมือให้ รัฐบาล SPDC อย่เู หมอื นกนั กับการเปล่ียนมมุ คดิ ใหมใ่ นการเปิดประเทศ หากไม่นับว่าเป็นรัฐบาลเผด็จการแล้วการพยายามนำ�ประเทศเข้าสู่ความ เปน็ สากลกน็ บั วา่ เปน็ นโยบายท่ีใช้ได้ทีเดียว เพราะหากพม่ายงั คงเกบ็ ตวั โดด เดย่ี วเลอื กคบกบั มิตรประเทศไม่ก่ีแห่งอาจส่งผลร้ายระยะยาวได้ SPDC อาจ เล็งเห็นแล้วว่านานาชาติสนใจท่ีจะเข้ามาลงทุนในพม่าเนื่องด้วยทรัพยากร ๗
ประวตั ิศาสตร์จานเดยี ว ท่มี อี ย่างมหาศาล เรือ่ งการเมอื งภายในประเทศเปน็ เรอื่ งรองทีม่ แี ต่การ ออกโรงประนามโดยทไี่ มไ่ ด้มมี าตรการอะไรเปน็ ชิ้นเปน็ อนั SPDC จึงเลือกท่ี จะเปิดรบั นักลงทนุ เพ่ือเปลีย่ นระบบเศรษฐกิจจากสงั คมนยิ มเป็นทุนนิยม ซ่งึ ก็ไดผ้ ลทันตาเหน็ เศรษฐกจิ ในพม่าดขี ้นึ ตามล�ำ ดับ ชวี ิตความเปน็ อยขู่ องคน พม่าดขี นึ้ กว่าแต่กอ่ นแมว้ า่ จะไมอ่ าจเทยี บเคียงกับประเทศเพือ่ นบา้ นได้ แต่ ชาวพม่ากร็ สู้ กึ ไดถ้ งึ การเปลี่ยนแปลง การเข้าเป็นหน่ึงในสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ หรอื อาเซยี น สรา้ งความประหลาดใจให้นานาชาตริ ะดบั หนงึ่ เนอ่ื งจากพม่ายังคงมปี ัญหาการเมอื งและการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนขั้น รนุ แรง แต่ใครจะสนใจในเมือ่ โอกาสในการท�ำ เงินรออยเู่ บ้ืองหน้า เปน็ ไป ได้วา่ อาเซียนพร้อมอ้าแขนต้อนรบั พม่าอยนู่ านแล้ว หากแตย่ งั ตดิ อยูท่ ี่ภาพ ลักษณ์ทีด่ ูไม่ค่อยสวยนักของพมา่ เอง การประวิงเวลาก็เพื่อรกั ษาฟอร์มของ อาเซยี นเทา่ น้นั เอง ปัญหาภายในของพม่าไม่ได้ถูกแตะต้องจากชาติสมาชิกด้วย นโยบายของอาเซยี นเองทป่ี ระกาศชัดว่า จะไมแ่ ทรกแซงเร่ืองภายในของ ประเทศสมาชิก (Non Interference) และนโยบายปฏิสมั พันธเ์ ชิงสรา้ งสรรค์ (Constructive Engagement) คือการสร้างความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกจิ และ การฑูตตอ่ กัน โดยไมส่ นใจประเด็นเรื่องประชาธปิ ไตย สทิ ธมิ นษุ ยชน หรือ ประเดน็ ทางสงั คมและศลี ธรรมทีเ่ กดิ ขึน้ ในประเทศน้ัน ดังนน้ั หากพม่าจะทำ� อะไรกแ็ ล้วแต่ อาเซียนจะไม่สามารถลงโทษ คว�ำ่ บาตร ระงบั หรือตดั สิทธิก์ าร เป็นสมาชกิ ตอ่ ใหเ้ กดิ จลาจลหรอื ละเมดิ สิทธมิ นษุ ยชน หรือตอ่ ใหร้ ัฐบาลจะ จบั อองซาน ซจู ีเขา้ คุกขงั ไว้เลน่ ๆ ซักปีสองปี อาเซียนกท็ �ำ อะไรไมไ่ ด้ ซงึ่ เร่อื ง นี้กถ็ กู ต้ังคำ�ถามจากนานาชาติ แต่จะท�ำ อยา่ งไรไดใ้ นเมือ่ อาเซยี นมีนโยบาย ระบุไว้เชน่ น้ี เม่อื กระแสประชาธิปไตยเบง่ บานไปทวั่ โลก ไทยแลนด์เราไดย้ ืน่ ๖
ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว เสนอใหม้ ีการทบทวนนโยบายท่ีว่าน้ี โดยเสนอว่าควรเปดิ ใหม้ ีการพดู คยุ กันถงึ ประเด็นทางการเมืองและปัญหาภายในของประเทศเพื่อนบา้ นได้ แต่ จะต้องไม่สง่ ผลกระทบตอ่ ความสัมพันธ์ทางการค้าและการฑูต แต่ประเทศ สมาชิกบางประเทศไมเ่ ห็นด้วย ข้อเสนอน้ีจงึ เป็นอันพับไป รัฐบาล SPDC เดนิ หนา้ เปลี่ยนแปลงประเทศตอ่ ไปด้วยการประกาศ ใหม้ ีการเลือกตั้งท่วั ไปในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ทิง้ ช่วงจากคร้งั ล่าสดุ นานถงึ ๒๒ ปี บางกลุ่มค่อนข้างประหลาดใจที่รัฐบาลตัดสินใจให้มีการเลือกตั้งท่ัวไปอีกคร้ัง แต่บางกลุ่มก็รสู้ ึกเฉยๆ เพราะเปน็ ไปตามท่รี ฐั บาลไดป้ ระกาศไวก้ ่อนหนา้ นต้ี ง้ั นานแล้ว ตามนโยบายสู่การเปน็ ประชาธิปไตยตง้ั แตย่ ุคของผนู้ �ำ อย่าง ตานฉว่ ย ต่อเนอ่ื งมาถงึ ขน่ิ ยนุ ต์ และหลายคนกย็ งั เช่อื ว่าประเดี๋ยวเหตกุ ารณ์ ก็อาจจะกลบั ไปเป็นเหมือนเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๑ น่ันกเ็ ปน็ ได้ พรรคสนั นบิ าตแห่งชาตเิ พอ่ื ประชาธปิ ไตย (NLD) น�ำ โดย อองซาน ซูจี ประกาศไม่สง่ ผู้สมคั รลงเลอื กตั้งในครัง้ นีเ้ พราะไมเ่ ชื่อมั่นในความโปรง่ ใส และเป็นการประท้วงรฐั บาล ท�ำ ใหเ้ กิดความเห็นแตกแยกภายในพรรค จนมี สมาชิกบางส่วนแยกตัวออกไปตั้งพรรคใหมค่ ือ พรรคประชาธิปไตยแห่งชาติ (National Democratic Force : NDF) ซ่งึ ผลการเลือกตัง้ ไม่ผิดไปจากทคี่ าด พรรค USDP ซ่งึ เป็นพรรครัฐบาลกวาดที่นง่ั ในสภาเรียบ ที่เหลอื เป็นของ พรรคเลก็ พรรคนอ้ ย โดยเฉพาะพรรคทเี่ ปน็ ตัวแทนของชนกลุ่มนอ้ ยซึ่งก็ได้ ไปเพียงพรรคละไมก่ ่ที นี่ ่ัง และการคว�่ำ บาตรการเลอื กตั้งคร้ังนีส้ ่งผลให้ พรรค NLD ถูกยบุ ตามรฐั ธรรมนูญของพม่าทเ่ี พิง่ รา่ งข้ึนใหม่ แต่สิ่งท่ีได้รับความสนใจมากกว่าการเลือกต้ังคือการประกาศปล่อย ตัวอองซาน ซูจี เปน็ อิสระจากการควบคมุ ของรฐั บาล ทุกสายตาจากทัว่ โลกพงุ่ เปา้ ไปทต่ี ัวเธอมากกวา่ จะสนใจการเลอื กตง้ั ซึ่งอาจเป็นไปตามความ ตอ้ งการของรัฐบาล SPDC นอกจากนี้ยังเปน็ การผ่อนคลายสถานการณ์ ตึงเครยี ดระหว่างประเทศเกย่ี วกับการละเมิดสทิ ธิมนษุ ยชนในพมา่ ถึงกับมี ๗
ประวัตศิ าสตร์จานเดยี ว การจัดตงั้ คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาติ มีการปล่อยนกั โทษการเมือง จำ�นวนนับพันคนและเชิญชวนให้นักโทษการเมืองที่ล้ีภัยอยู่นอกประเทศ กลับมาพมา่ แต่หลายคนก็ยงั ไมค่ ่อยไว้ใจรัฐบาลทหารสกั เท่าไหร่ รฐั บาล SPDC พยายามอย่างยง่ิ ท่จี ะแสดงใหโ้ ลกเห็นวา่ พม่าได้ เปล่ียนแปลงไปแล้ว โดยประกาศทจ่ี ะยอมรับความคิดเห็นและเปดิ รับให้ ทุกฝา่ ยเข้ามาร่วมกนั ปฏิรปู ประเทศโดยเฉพาะอองซาน ซูจี แต่เธอยงั คงตัง้ ค�ำ ถามถงึ ความจรงิ ใจในการปฏริ ูปประเทศ ในชว่ งแรกหลงั จากได้รบั อิสระ เธอเลอื กท่ีจะเดนิ ทางไปเยือนต่างประเทศทั้งในเอเชยี และยโุ รป อาจเป็นไป ได้ว่าเธออาศัยช่วงเวลาน้ีในการแสดงความเห็นต่อประเทศบ้านเกิดให้กับ นานาชาติ นบั เป็นการกดดันรัฐบาล SPDC ท่ีดีทางหน่งึ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ พรรค NLD ของเธอจดทะเบียนพรรคการเมืองใหม่ อีกครั้งเพอื่ ลงสมคั รเลอื กตง้ั ซอ่ ม โดยมีเก้าอี้ ๔๕ ตวั ในสภารออยู่ เหมือน เช่นที่ผ่านมาคือการคลางแคลงในการจัดการเลือกต้ังว่าจะเป็นไปโดยบริสุทธ์ิ หรอื ไม่ แม้จะมีขา่ วการโกงการเลือกตัง้ ออกมาเป็นระยะ แตพ่ รรค NLD ก็ กวาดทนี่ ั่งไปถึง ๔๓ ท่ี ถงึ กระนน้ั รฐั บาล SPDC กไ็ ม่สะเทือนเนอื่ งจากยงั ครองเสียงสว่ นใหญ่ในสภา และหลังจากการเลอื กต้ังครั้งนี้ กย็ ังไมม่ ใี ครรู้วา่ จะมกี ารจัดการเลือกตงั้ อกี หรอื ไม่และเมื่อไหร่ พม่าต้องใช้เวลาเกินกว่าคร่ึงศตวรรษเพื่อเรียกร้องเอกราชหลังจาก ถกู อังกฤษเข้ายดึ ครอง แต่เมอื่ เป็นอสิ ระจากประเทศตะวันตก พวกเขาก็ตอ้ ง ใช้เวลาอกี เกอื บครงึ่ ศตวรรษเพ่ือเรียกรอ้ งเสรีภาพจากคนในชาติเดยี วกนั แม้ รฐั บาลทหารจะมีทีท่าผอ่ นคลายลงกว่าเดมิ มาก แตก่ ารใชช้ ีวิตเยี่ยงเสรชี นใน พมา่ กย็ งั คงเป็นที่ตอ้ งการของชาวพมา่ บางกลุ่ม ไม่แน่ว่าหากยังปลอ่ ยใหค้ ง สภาพน้ีตอ่ ไปเรื่อยๆ ประชาชนชาวพมา่ อาจเร่มิ เคยชินจนลมื เลอื นสิง่ ท่ีพวก เขาเรยี กหามาต้งั แต่รนุ่ พอ่ รนุ่ แม่ คนหนมุ่ สาวพม่ายคุ ใหม่อาจไมเ่ คยล�ำ บาก เหมือนยุคอดีต พวกเขามองไมเ่ หน็ ความจ�ำ เป็นทจี่ ะเอาชวี ิตเขา้ ไปเส่ียงกับ ๖
ประวตั ิศาสตร์จานเดยี ว เรื่องที่พวกเขานึกไม่ออกว่าจะช่วยใหช้ วี ติ ดีข้นึ อยา่ งไร เสยี งของการเรียก ร้องเพอื่ เสรีภาพอาจเรม่ิ เบาลงๆ และจางหายไปกับกาลเวลา บางทปี ระชาธิปไตยในพมา่ อาจไมไ่ ดห้ ายไปไหน แตเ่ ป็นเพราะ ประชาชนชาวพมา่ ต่างหากที่มองหาไมเ่ จอเอง ๗
ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว พธิ ีรำ�ลกึ ถึงนายพลอองซาน ในโอกาสครบรอบวันเกิดของเขา (๑๓ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๕๘) ที่อนสุ าวรีย์อองซาน ณ กรุงย่างก้งุ พ.ศ. ๒๔๙๘ (ภาพจากส�ำ นกั ข่าว AP) ๑๖๘
ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว บรรยากาศการเลอื กตัง้ ในพม่า พ.ศ. ๒๕๐๓ (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ๑๖๙
ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดียว นาย อซู อ อดีตผู้น�ำ รัฐบาลพมา่ ภายใต้การปกครองของอังกฤษ (ซ้าย) และ นายพลอองซาน ประธาน AFPFL (ภาพจาก EBSCOHost) อนู ุ นายกรฐั มนตรพี ม่า เลน่ สาดน้�ำ ในวนั ขึ้นปใี หม่กบั ประชาชน (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ๑๗๐
ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว อูนุ นายกรัฐมนตรพี มา่ มอบของทร่ี ะลกึ ให้กับ รชิ ารด์ นกิ สนั ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมรกิ า ในโอกาสเดินทางไปเยอื นสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ๑๗๑
ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว อู ถั่น เลขาธิการองคก์ ารสหประชาชาตชิ าวพมา่ ดำ�รงต�ำ แหน่ง พ.ศ. ๒๕๐๔-๒๕๑๔ (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ใจกลางมหานครยา่ งกงุ้ ในยคุ ปจั จบุ นั ยงั คงเห็นรปู แบบการวางผังเมืองและสถาปตั ยกรรมแบบอังกฤษ โดยมเี จดีย์สุเหลเ่ ป็นจดุ ศนู ยก์ ลาง ๑๗๒
ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว อาคารเก่าแกส่ ถาปตั ยกรรมแบบอังกฤษยังคงมีให้เห็นทว่ั ไปในพม่า (ภาพจาก EBSCOHost) ๑๗๓
ประวัติศาสตร์จานเดียว การเดินขบวนเรยี กร้องประชาธปิ ไตยในมหานครย่างกุ้ง เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๑ หรอื เหตกุ ารณ์ “๘๘๘๘” (ภาพจาก http://globalvoicesonline.org) ๑๗๔
ประวัติศาสตร์จานเดยี ว การเดินขบวนเรียกรอ้ งประชาธปิ ไตยในมหานครย่างกงุ้ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๑ หรอื เหตุการณ์ “๘๘๘๘” (ภาพจาก http://globalvoicesonline.org) ๑๗๕
ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว เม่ือมีการเดนิ ขบวนประทว้ งรฐั บาลคร้งั ใด ก็มักจะเหน็ ชาสวพมา่ ชูภาพนายพลอองซานทุกครัง้ ไป (ภาพจาก www.facebook.com/pages/Myanmar-Political-Review) ๑๗๖
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266