ประวัติศาสตร์จานเดียว ด้วยความเกง่ กล้าในการศึกและการปกครอง ท�ำ ใหพ้ ระองค์เปน็ ทีน่ ับถือของ เมอื งต่างๆ ดังนั้นไม่ว่าจะเคลอื่ นทัพไปทใี่ ดก็ลว้ นแต่ไดช้ ยั ชนะเสียทง้ั สิ้น บดั น้อี าณาจกั รของพระองค์ได้แผข่ ยายไปไม่ส้นิ สดุ ทำ�ให้พระองคไ์ ดร้ บั การ ขนานวา่ พระเจา้ สบิ ทศิ พระองคเ์ รมิ่ จัดระบบระเบยี บอาณาจักรของพระองค์คร้ังใหญ่ นำ� เอามาตราตวงวดั ของพม่ามาใช้เหมอื นๆ กนั ท้ังประเทศ รือ้ ฟ้นื ขนบธรรม เนียมหลายๆ อย่างท้ังสำ�หรับราษฎรในราชสำ�นัก และยังได้ฟื้นฟูพทุ ธ ศาสนานกิ ายเถรวาทขึ้นครัง้ ใหญ่ ทรงปฏิรูปการปกครองของสงฆด์ ว้ ยพระ สงฆห์ ยอ่ นพระวนิ ัยค่อนข้างมาก สั่งใหย้ กเลิกการบูชาผีนัต ส่งเสรมิ ให้ ราษฎรไม่ว่าจะเปน็ ชนชาติใดกต็ ามแตห่ ันมานบั ถอื พทุ ธศาสนา ให้ทกุ คน ปฏิบัตแิ ละภาวนาธรรมในวันพระไมม่ เี ว้น ทรงส่งั ใหค้ ัดลอกพระไตรปฏิ ก แจกจ่ายไปท่วั แผ่นดินจ�ำ นวนหลายพนั ชุด หา้ มมใิ หช้ าวมุสลมิ ฆ่าสัตวเ์ พอ่ื การบชู า แต่พระองค์กม็ ไิ ดห้ า้ มหรือบงั คับขู่เขญ็ ให้ชาวตา่ งชาตินับถือพทุ ธ ศาสนาเชน่ กัน พระองคจ์ งึ ไดร้ ับความนบั ถอื จากชาวต่างชาตติ ่างศาสนามาก ทเี ดียว แลว้ ก็ถึงคราวของอาณาจักรไทยบ้าง เม่ือคร้งั ท่กี รงุ ศรอี ยุธยา ทำ�สงครามกบั พระเจ้าตะเบงชเวตีน้ ัน้ เราได้ขอเจรจาสงบศึกและยอมส่ง บรรณาการไปให้โดยแลกกบั การไมต่ อ้ งเป็นเมืองขึ้น ทนี ี้ต่อมาไทยเราเกดิ ไป เป็นไมตรีกบั พระเจา้ เชษฐาธิราช แหง่ ล้านช้าง ซึง่ ตอนนนั้ กำ�ลงั จับมอื กบั พวกไทยใหญ่ พระเจา้ บเุ รงนองเลง็ เหน็ วา่ ประเดยี๋ วถา้ เกดิ ได้ไทยเข้าไปร่วม อกี ละ่ กจ็ ะลำ�บาก จึงเร่มิ แผนการทีจ่ ะครองกรุงศรีอยุธยาให้ได้ แลว้ อบุ ายเดมิ กถ็ ูกนำ�มากลับมาใช้ใหม่อกี รอบ พระเจา้ บเุ รงนอง ส่งคณะทตู มาทลู ขอชา้ งเผอื กจากสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ จำ�นวน ๒ ชา้ ง ด้วยเหตุที่ว่าสมเด็จพระมหาจักรพรรดิน้ันทรงมีช้างเผือกซึ่งเป็นช้างมงคลไว้ ในครอบครองถึง ๗ ช้าง ซง่ึ นบั วา่ มมี ากกว่าพระมหากษตั ริย์ทงั้ ปวง จนได้รับ ๔๓
ประวัติศาสตรจ์ านเดยี ว การเรียกขานอกี พระนามว่า พระเจ้าช้างเผอื ก ในช่วงน้นั อาณาจกั รไทยของเราก็เข้มแขง็ อยู่ประมาณหนึ่ง ท่วี า่ แบบน้ีเพราะอย่าลืมว่าเรายังต้องส่งบรรณาการให้พม่าอยู่หลังจากขอ เจรจาหยา่ ศึกในสมัยพระเจ้าตะเบงชเวตี้ กอ่ นหน้าน้นั ก็มีเหตุวนุ่ วายในราช ส�ำ นกั เกดิ การแย่งชงิ อ�ำ นาจระหว่างฝ่ายราชวงศอ์ ู่ทอง สุโขทัย และสพุ รรณ ภูมิ แล้วยงั ต้องเจอศกึ พมา่ จนเสียสมเด็จพระสรุ โิ ยทัย ดที ีเ่ รามีสมเด็จพระ มหาจกั รพรรดิท่ที รงไวซ้ ึ่งทศพิศราชธรรม หลายคนมองวา่ พระองคด์ ำ�เนนิ นโยบายอ่อนขอ้ มากเกินไปเพราะตดิ จะใฝ่ในทางธรรม แทจ้ รงิ แล้วพระองค์ เป็นกษัตริยน์ กั รบที่เกง่ กาจพระองคห์ น่งึ มเิ ช่นนนั้ เราคงเสียกรุงไปตง้ั แต่สมยั พระเจา้ ตะเบงชเวตน้ี ่ันแลว้ การขอหยา่ ศึกในตอนน้นั ก็ใช่วา่ เราจะสไู้ มไ่ ด้ ท้ัง สองฝ่ายต่างยับเยินกันท้งั คู่ ขนาดพมา่ ยกทพั มามากมายกย็ งั ไมอ่ าจตีเอา ไทยเราได้ พอมีการขอหยา่ ศึก พมา่ ก็ยินดรี บั ทันที เพราะขืนอยู่นานไปก็มี แตเ่ สยี กับเสยี ทีน้ีพอพระเจ้าบุเรงนองดำ�เนินตามแผนหาเรื่องทำ�ศึกด้วยการ ขอช้างเผือก ฝ่ายอยุธยาก็มีพระราชสาสน์ กลับไปแบบเนียนๆ ว่า พญาช้าง เผอื กนั้นจะเกิดขน้ึ แต่กษตั ริยผ์ ยู้ ่งิ ใหญ่ หากพระเจา้ กรุงหงสาวดเี จรญิ ทศพิศ ราชธรรมให้สมบูรณแ์ ล้ว คชสารมงคลกจ็ ะมาสพู่ ระองค์เอง เห็นไหมครบั วา่ ไทยเรานกี่ ็ร้ายใช่ย่อย ยอมใครง่ายๆ เสยี ท่ีไหน ของมงคลแบบนใ้ี ครดีใครได้ หากอยากไดก้ ต็ อ้ งหาเองสคิ รับ มาขอเอาดื้อๆ แบบนไ้ี ม่ไหว ก็คือตอกหนา้ พมา่ กลับไปแบบสุภาพนน่ั ละ่ ครับ พระเจา้ บเุ รงนองจงึ ถือเป็นเหตุผลในการ ยกทพั มาตกี รงุ ศรอี ยธุ ยา จรงิ ๆ แล้วกค็ อื หาเร่ืองจะท�ำ สงครามน่นั ละ่ แตย่ กมาดื้อๆ มนั กจ็ ะ ดอู ันธพาลไปหน่อย กแ็ คน่ ัน้ ทพั ของพระเจา้ สบิ ทิศยกกันมามากมายก่ายกอง ไล่ยดึ เอาหัวเมือง ส�ำ คญั มาไดท้ ัง้ ก�ำ แพงเพชร สุโขทยั พิษณุโลก ทเ่ี มอื งสองแควน้ี พระมหา ๔๔
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว ธรรมราชา เป็นฝ่ายยอมสวามภิ ักด์ิ เพราะเหน็ วา่ อยุธยาไมใ่ คร่จะเตม็ ใจมา ช่วยทัง้ ท่ีเคยมีคุณต่อกนั แทๆ้ (รว่ มกอ่ การครง้ั ปราบกบฎทา้ วศรีสดุ าจนั ทร)์ อกี ทัง้ เห็นวา่ อยุธยาไม่ค่อยใหเ้ หน็ หัวพษิ ณุโลกเทา่ ไหร่ เมอื งพษิ ณโุ ลกน้ี สำ�คัญนกั นอกจากจะเป็นหน้าด่านชะลอทพั ใหอ้ ยธุ ยาแล้ว สมัยแผน่ ดิน สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ก็นับเอาเปน็ ราชธานแี ห่งที่สองเสยี ดว้ ยซ�ำ้ (สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โปรดทจ่ี ะประทับทพ่ี ษิ ณโุ ลก) และเหนอื อื่นใด ราชวงศท์ งั้ สองกไ็ ม่ค่อยจะกนิ เส้นกันเทา่ ไหร่ (สุโขทัยและสุพรรณภมู ิ) เพราะ จะว่าไปทงั้ สองฝ่ายตา่ งมีสิทธ์แิ ละศกั ดใิ์ นการครองบลั ลังกเ์ หมอื นๆ กนั บางคนมองวา่ ทำ�ไม พระมหาธรรมราชา ถึงทรยศคนไทยละ่ นน่ั โปรดอย่าลืมวา่ ประเทศไทยยงั ไมเ่ กิด ในยุคนน้ั ยงั คงแยกกันเป็นเมอื งใหญๆ่ ยงั ไม่ไดร้ วมเปน็ ประเทศ แม้ว่าชาติพันธน์ุ ้ันอาจจะเปน็ ไทยเหมือนๆ กัน แต่ละเมอื งกจ็ ำ�เปน็ ต้องรักษาท่ีมน่ั ของตนเองไว้ ถา้ สถานการณ์เลวร้ายจริงๆ ทัพหลวงจากอยุธยาจึงจะมาช่วย กำ�แพงเพชรหรือสโุ ขทยั น้นั ส�ำ คัญกจ็ รงิ แต่ กไ็ มไ่ ด้ใหญโ่ ตขนาดจะรับมือพมา่ ได้ ส่วนพษิ ณโุ ลกนั้นแม้จะอดุ มสมบรู ณ์ และมที ัพทแ่ี ขง็ แกรง่ ก็ใชว่ า่ จะผลกั ดนั พม่าใหถ้ อยไปได้ ประกอบกับเหตุผลที่ เล่าไปนั้น คดิ ไปคิดมาแล้ว พระมหาธรรมราชา จงึ เลอื กทจี่ ะรกั ษาพษิ ณุโลก เอาไวด้ ีกวา่ อยา่ งนอ้ ยวนั ขา้ งหน้าก็ยงั พอมีหนทางฟ้นื ตวั พระราชประสงค์ ที่แทจ้ รงิ น้ันไม่นา่ จะใชบ่ ัลลังก์อยธุ ยา ทีไ่ ด้ครองในตอนหลงั นนั้ เพราะทาง พมา่ ไวใ้ จใหป้ กครอง การยอมครั้งนนั้ กเ็ พื่อรักษาชวี ติ ของไพร่ฟา้ ประชาชน เอาไวม้ ากกว่า การตดั สินใจของกษัตริย์นน้ั เป็นเรอื่ งใหญ่ เพราะมแี ผน่ ดนิ และ อาณาประชาราษฎร์เป็นเดมิ พัน เชื่อเหลือเกินว่าบูรพกษตั รยิ ข์ องเราทุก พระองค์ไมย่ อมใหร้ าษฎรของพระองคต์ ้องทนทุกขเ์ พราะสงคราม ท่านตอ้ ง ทำ�ทุกวิถีทางเพ่ือคงไว้ซ่งึ เอกราชของชาติ แตบ่ างครง้ั การตัดสินพระทัยใน แต่ละครัง้ กไ็ มอ่ าจไดผ้ ลลพั ธ์ทีด่ ที กุ ครงั้ ไป ๔๕
ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว สมัยที่พระเจ้าตะเบงชเวต้ีมาตีนั้นก็เคยส่งราชทูตมาทูลขอช้างเผือก เหมอื นกันทีเ่ กดิ แตกความเหน็ กันในราชสำ�นัก ครงั้ นี้กเ็ ชน่ กัน ฝ่ายหนงึ่ เหน็ ว่าก�ำ ลังเรานนั้ ส้พู มา่ ไม่ได้ การยอมสละช้างไปบา้ งนั้นไมไ่ ดเ้ ป็นการเสียพระ เกยี รตยิ ศ ก็เหมอื นผูใ้ หญ่ให้ผู้นอ้ ย แตอ่ ีกฝ่ายก็มองว่าไม่ไดๆ้ ถา้ ยกใหก้ ็ เท่ากับยอมเขา สมัยพระเจา้ ฟ้ารว่ั ตงั้ ตัวใหม่ๆ พอ่ ขนุ รามคำ�แหงยงั ไมเ่ คย มอบชา้ งเผือกใหเ้ ลยดว้ ยซ�ำ้ ท้ังท่ีมสี มั พันธแ์ นบแน่นกนั ขนาดนั้น พระเจ้าฟา้ ร่ัวยงั ตอ้ งเสดจ็ คล้องชา้ งดว้ ยพระองค์เองเลย แบบนเ้ี สื่อมเสยี พระเกียรติชัวร์ ก็มเี หตผุ ลทงั้ สองฝา่ ย แต่ถ้าเป็นคนไทยแล้วคงไมม่ ใี ครยอม เอกราช ของชาตไิ มไ่ ด้มากนั งา่ ยๆ บรรพบุรุษเหน่อื ยยากเสียเลือดเนอ้ื ไปเท่าไหร่ จะ ให้มาสน้ิ สดุ กนั ในยุคของเราน่เี ห็นท่ีจะไม่ไหว ถา้ อยากจะมายดึ กต็ ้องเหนื่อย กันหน่อยล่ะ จะให้ยกมือยอมงา่ ยๆ นัน้ ฝันไปเสียเถิด ผลสุดทา้ ยนัน้ เปน็ อย่างไรทุกท่านคงจะทราบผลกนั ดี การเสยี กรงุ คร้ังนีย้ ังมีข้อทีใ่ หค้ นไทยคลายกงั วลอย่สู องประการ คืออยา่ งนอ้ ยพม่าก็มไิ ด้ เขา้ มาปกครองกดขี่น้ำ�ใจชาวไทยนกั แตย่ กใหพ้ ระมหาธรรมราชาขน้ึ ครอง อยธุ ยาสืบไป ให้คนไทยปกครองคนไทยกันเอง แบบน้คี ่อยกราบกรานกนั ไดอ้ ย่างเต็มใจ เพราะอยา่ ลืมว่าพระมหาธรรมราชานัน้ กส็ บื เชือ้ สายมาจาก ราชวงศส์ ุโขทัย ย่อมมีศักดิ์และสทิ ธ์ใิ นการครองอยุธยาเชน่ กัน อกี ขอ้ หนง่ึ กค็ ือตอ้ งยกยอ่ งพระเจ้าบเุ รงนอง แม้จะชนะศึกแล้ว พระองคก์ ็ไม่ได้บกุ เขา้ ชงิ ปล้นเผาบา้ นทำ�ลายเมอื ง เหมอื นการเสยี กรุงครั้งที่สองทีอ่ ยุธยาแทบไม่ เหลอื ซาก คนไทยจงึ ไมถ่ งึ กับแคน้ แบบไม่เผาผีกบั พระเจา้ บุเรงนองผู้นี้นกั ๔๖
ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว ยอดเจดยี ์เชวมอดอท่ตี กลงมาจากแผน่ ดินไหว เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ (ภาพโดยผ้เู ขยี น ถา่ ยเมอื่ พ.ศ. ๒๕๕๖) ๔๗
ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว เจดยี เ์ ชวมอดอ หรือ พระธาตมุ ุเตา ท่เี มอื งหงสาวดี (ภาพโดยผูเ้ ขียน ถา่ ยเมอื่ พ.ศ. ๒๕๕๖) ๔๘
พระเจา้ หงสาวดสี ้นิ อ�ำ นาจ เมื่อพระเจา้ บเุ รงนองสามารถตกี รุงศรอี ยุธยาแตกแล้ว ก็แทบจะ ไม่มีแวน่ แควน้ ใดอาจหาญตอ่ กรกับพระองค์อกี นานๆ ทีจะมีเมอื งไหนซัก เมอื งทอี่ ย่ไู ม่สุขคดิ จะเปน็ อสิ ระข้ึนมา แต่กไ็ มแ่ คล้วถูกปราบราบคาบ เมอื ง ใหญ่น้อยสว่ นมากก็ปกครองโดยพระญาตสิ นิทของพระองค์ทั้งสิ้น จงึ นบั ได้ ว่าอาณาจักรพม่ากลับคืนสู่ความย่ิงใหญ่อีกครั้งภายในเศวตฉัตรราชวงศ์ตอง อู พระเกียรติยศของพระองค์ขจรขจายไปถึงฝั่งนครลังกาเลยทีเดียว พมา่ กบั ลงั กาน้นั เปน็ มิตรกันมาต้งั แตเ่ กา่ ก่อนสมัยพกุ าม ตอนนน้ั พวก โปรตเุ กสเข้ามาครอบครองกรงุ โคลมั โบ พยายามเผยแพรศ่ าสนาคริสตบ์ น เกาะลงั กา ด้วยก�ำ ลังทางการทหารจงึ สามารถเข้ามามีอำ�นาจเหนอื ราช ส�ำ นกั ได้ ยใุ หพ้ ระเจา้ กรงุ ลังกาที่ยังทรงพระเยาว์เข้ารีตเป็นชาวคริสต์ แถม ยงั จก๊ิ เอาพระเขีย้ วแก้วไปไวย้ ังเมืองกวั ทางตะวันออก (บางตำ�นานบอก ว่าที่โปรตเุ กสลักไปนั้นเปน็ ของปลอม) มเี ร่อื งเล่าว่าพระเจ้าบเุ รงนองมพี ระ ประสงคจ์ ะอญั เชิญพระเข้ียวแกว้ มาประดิษฐานทีก่ รุงหงสาวดี ด้วยทราบวา่ พวกโปรตเุ กสนน้ั คงไม่เห็นคา่ ของพระเขยี้ วแก้ว พระองค์จดั คณะราชทตู ไป ยังเมอื งกัวเพือ่ เจรจาขอซื้อพระเข้ยี วแกว้ ในราคาเทา่ ไหร่เทา่ กัน ทรงสั่งให้ ๔๙
ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว ขนสมบตั ิมากมายมหาศาลใสเ่ รือบรรทกุ ไปดว้ ย ตลอดน่านน้�ำ ท่ีเต็มไปด้วย กองทัพเรือต่างชาติและพวกโจรสลดั เพียงแต่เห็นธงพมา่ ก็ไม่มีใครกล้าหือ เพราะรู้ว่าเปน็ เรอื ของพระเจา้ กรงุ หงสาวดี แม้ว่าพระองค์จะเป็นนักรบผู้ปราบท้ังสิบทิศแต่ก็ใส่พระทัยใน พระพุทธศาสนา ทรงมุ่งหวงั ท่ีจะให้กรุงหงสาวดเี ปน็ ศูนยก์ ลางแห่งพระพุทธ ศาสนาเหมือนเช่นพุกามในอดีต ทรงสร้างสมั พนั ธ์อันดีกับกรุงลังกาทเ่ี ป็น เสมอื นศนู ยก์ ลางของนกิ ายเถรวาท ขณะนัน้ กรุงลังกาถกู ครอบงำ�โดยพวก โปรตเุ กส กษัตริย์ทเ่ี ยาว์พระชนั ษากลายเปน็ คริสตไ์ ป สร้างความเจบ็ ช�ำ้ น�้ำ ใจ ใหบ้ รรดาชาวเมอื งสว่ นมากทเ่ี ป็นพทุ ธ เมอื่ กษตั ริย์ของพวกเขาไม่สามารถ เป็นผอู้ ุปถัมภค์ ้ำ�จนุ พทุ ธศาสนาได้ เจ้าแหง่ แคว้นโกสีจึงก้าวข้ึนมามบี ทบาท มากข้นึ ถงึ ขนาดทพ่ี ระเจ้าบุเรงนองส่งคณะราชทตู ไปเจรญิ สัมพันธไมตรีด้วย เนอื่ งจากทรงถอื ว่าเจา้ แคว้นโกสีคอื ผนู้ ำ�ที่ถูกต้องของกรุงลังกา และเม่ือเกดิ กบฎขน้ึ พระองค์ก็ยงั สง่ กองทพั ไปชว่ ยเต็มอตั รา พระเจ้าบเุ รงนองทรงศรทั ธา พระธาตุชเวมอดอ หรอื ทไ่ี ทยเราเรียก วา่ พระธาตุมุเตา ก่อนทำ�ศกึ ทุกคร้งั พระองคจ์ ะต้องเสดจ็ มานมัสการพระธาตุ และเม่ือเสร็จศึกกลับมาก็มักจะกลับมานมัสการพร้อมถวายโน่นนี่เป็นพุทธ บูชาทุกครัง้ ไป พระธาตแุ ห่งน้ีสร้างขึ้นตง้ั แตส่ มยั ท่ีมอญเรืองอ�ำ นาจ เม่อื แรกเรมิ่ นัน้ อาจจะไมไ่ ด้สูงเท่าในตอนนี้ เพราะปัจจุบนั พระธาตชุ เวมอดอนม่ี ี ความสูงทีส่ ุดในประเทศพมา่ กค็ งจะมาสูงเอาเรื่อยๆ ในสมัยพระเจา้ บเุ รนอง เพราะพระองค์รบชนะมาเรื่อย จำ�นวนครั้งในการเพม่ิ ฉัตรเติมความสงู ก็เลย มากตาม บรรดาพระธาตสุ ำ�คัญของพมา่ มกั จะได้รับการต่อเตมิ โดยกษัตรยิ ์ หลายพระองค์และแนน่ อนวา่ จะตอ้ งมกี ารถวายของมคี ่าเปน็ พทุ ธบชู า พระ เจ้าบุเรงนองเองก็เคยถอดอัญมณีจากพระมหาพิชัยมงกุฎออกเพ่ือนำ�ไป ประดับทย่ี อดพระธาตอุ งค์นม้ี าแล้วด้วย อาจจะมีการเปรียบเทียบกันถึงการทำ�นุบำ�รุงพุทธศาสนาในยุคของ ๕๐
ประวัติศาสตร์จานเดยี ว พระเจา้ ตะเบงชเวตีก้ ับพระเจ้าบเุ รงนอง ท้ังสองพระองคน์ น้ั เลื่อมใสศรัทธา ในพุทธศาสนาไม่แตกต่างกนั อาจเป็นเพราะในชว่ งท่พี ระเจา้ ตะเบงชเวตี้ ครองอ�ำ นาจนั้น พระองคใ์ ชเ้ วลาไปกับการรบทัพจบั ศึกมากน่นั เอง อยา่ ลืม วา่ ทรงครองราชย์ตงั้ แต่อายยุ ังไม่ครบ ๑๗ ดว้ ยซำ้� ต้องท�ำ ศึกเกอื บตลอด ท้ังศกึ ในและศกึ นอก และยังมีพระชนมายุค่อนขา้ งสนั้ ขณะท่พี ระเจา้ บเุ รง นองใช้เวลาปราบปรามเมอื งต่างๆ อยู่ไมน่ าน จากการปทู างของพระเจ้าตะ เบงชเวต้ี ดังนั้นถ้าจะบอกวา่ ท้งั สองพระองคน์ ับเปน็ มหาราชผู้ย่งิ ใหญ่ก็คงไม่ ผดิ นกั หลังจากรวมแผ่นไดเ้ ปน็ หน่งึ เดยี วแลว้ พระเจ้าบเุ รงนองกเ็ ริม่ ภาระ กจิ ท�ำ นบุ ำ�รุงพระศาสนา โดยหวงั จะเผยแพรพ่ ุทธศาสนานกิ ายเถรวาทไป ท่วั ภูมภิ าคเอเชยี อาคเนย์ ทรงต้ังเอาพระเจ้าอนุรทุ ธและพระเจา้ จันสติ ตา เปน็ แบบอยา่ ง ทรงสร้างวดั และวิหารมากมายทว่ั ประเทศ เสด็จไปยังพุกาม ศนู ย์กลางพทุ ธศาสนาในอดีต ทรงบรู ณะศาสนาสถานจำ�นวนมาก เรียก วา่ การเป็นพระเจา้ สิบทศิ ของพระองคน์ น้ั ส่วนหน่ึงสามารถยงั ประโยชนม์ าสู่ พระพทุ ธศาสนา ท�ำ ให้พม่าเปน็ ดนิ แดนแหง่ พทุ ธศาสนาทห่ี ยั่งรากลึกมานาน ให้ยิง่ กระชับแนน่ มากขน้ึ ไปอีก มีเร่ืองเล่ากันว่าพระเจ้าบุเรงนองและพระมเหสีน้ันเคยถวายเส้น พระเกศาเปน็ พทุ ธบชู าโดยใหน้ �ำ ไปสร้างเปน็ แส้ อย่าเพิง่ คดิ ว่าพระองค์จะ ใจถึงถวายหมดทกุ เส้น ก็คงจะถวายพอเป็นพธิ ี จะก่เี ส้นมากน้อยเทา่ ไหรก่ ็ ว่ากนั ไป จะใหถ้ อนหมดทุกเสน้ เหน็ จะไม่ไหว อนั นี้แสดงว่าคนพมา่ สมยั กอ่ น ไว้ผมยาว เหมอื นอยา่ งเรอ่ื งที่เล่าวา่ คนพมา่ โดยเฉพาะสตรที ่ีไว้ผมยาวๆ เขา สยายผมปูให้พระสงฆ์เดิน นัยว่าจะได้บญุ มาก คงเพราะแดดมนั รอ้ น เวลา อยใู่ นเขตวดั เขาจะห้ามไมใ่ หส้ วมรองเท้า สภุ าพสตรีกเ็ ลยใชผ้ มของตัวเอง น่นั ล่ะปูรองใหพ้ ระสงฆ์เดินผ่าน วา่ แตเ่ ดนิ ทับผมของสตรนี ี่จะผดิ วินัยสงฆร์ ึ เปลา่ กไ็ ม่แน่ใจ ๕๑
ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว เรือ่ งการสรา้ งเจดยี น์ ่ีก็เช่นกนั เปน็ ความเชอื่ มาตง้ั แตย่ ุคพกุ ามโนน่ แลว้ เช่อื กนั ว่าสรา้ งเจดียแ์ ลว้ จะได้บุญเยอะ แต่การบรู ณะเจดียท์ ีม่ อี ย่เู ดิม น้ันจะไม่ไดบ้ ุญซะอยา่ งนัน้ แบบนีใ้ ครตอ่ ใครกเ็ ลยสร้างเองเสียดีกว่า บญุ จะ ไดต้ กอยู่กับตวั พม่าจงึ เตม็ ไปดว้ ยเจดยี น์ ล่ี ่ะ ******************** พระเจ้าบุเรงนองมีพระราชโอรสพระองค์หนง่ึ นามวา่ นันทบเุ รง ใน ภาษาพมา่ เรียกว่า งะสทุ ายะกะ เป็นนักรบหนมุ่ ที่เช่ยี วชาญการศกึ มาก วา่ กันว่าเคยออกศึกร่วมรบกับพระเจ้าตะเบงชเวตเี้ มื่ออายุเพียง ๑๓ ปีเท่าน้นั เปน็ ขุนศกึ เคยี งข้างบิดาคอื บุเรงนอง จนเมือ่ เตบิ ใหญ่ไดเ้ ปน็ องค์รัชทายาท ก็ ถกู จับตามองในฐานะทต่ี ้องสบื ทอดแผน่ ดนิ อนั ย่ิงใหญต่ อ่ จากพระบดิ า หลงั จากท่พี ระเจ้าบุเรงนองยึดเอากรุงศรีอยธุ ยาได้แล้ว สงคราม ระหว่างสองแผน่ ดินก็เวน้ วา่ งนานถึง ๑๓ ปี ด้วยเพราะทางฝงั่ ไทยนน้ั ต้อง เสยี พระนเรศวร์ (สมเด็จพระนเรศวร) พระราชโอรสพระองค์โตในสมเดจ็ พระมหาธรรมราชา ไปเปน็ องค์ประกันทีก่ รงุ หงสาวดี ทางไทยจงึ มิกลา้ คดิ ท่ี จะแขง็ เมือง และสมเดจ็ พระมหาธรรมราชานน้ั กท็ รงยดึ มัน่ ในค�ำ สตั ยท์ ่ใี หไ้ ว้ กบั พระเจา้ บเุ รงนองเม่ือคร้งั ยอมสวามิภักด์ิ แต่เม่ือสิน้ บุญพระเจา้ บเุ รงนอง แลว้ เหตกุ ารณ์ก็กลบั ตาลปัตร พระเจ้าสิบทิศบุเรงนองทรงประชวรอย่างหนักขณะท่ีปราบกบฎท่ี เมอื งยะไข่ และเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. ๒๑๒๔ สริ ิพระชนมายุได้ ๖๖ พรรษา พระราชโอรสจึงขนึ้ ครองราชย์สืบต่อมาพระนามว่า สมเดจ็ พระเจ้านันทบุเรง พระองค์ทรงต้ังปณิธานอันแน่วแน่ที่จะรักษาพระราชอาณาจักรของพระบิดา อกี ท้ังยังหมายทจี่ ะขยายอาณาเขตใหก้ วา้ งไกลออกไปอีก บางกระแสข่าว เล่าลือกันว่าการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าบุเรงนองน้ันก็มีพระองค์น่ีล่ะที่อยู่ ๕๒
ประวัตศิ าสตร์จานเดยี ว เบอื้ งหลงั แตแ่ ท้จรงิ จะเปน็ อยา่ งไรน้ันสุดทีใ่ ครจะรไู้ ด้ เม่ือพม่าเกิดการผลัดแผ่นดินข้ึนก็เริ่มมีเจ้าเมืองบางแห่งท่ีคิดลองดี เจ้ากรงุ องั วะซงึ่ มศี ักด์ิเปน็ พระปิตลุ า (ลงุ ) ของพระองค์ พยายามจะประกาศ ตนเป็นเอกราช สง่ สาส์นไปขอให้เจ้าเมอื งตองอู เมอื งแปรและเมืองเชียงใหม่ ใหม้ ารว่ มมือกัน แต่ทงั้ สามเมอื งไม่ขอเล่นดว้ ย แถมยังน�ำ ความไปฟ้อง พระเจ้านนั ทบเุ รง พระองคจ์ งึ สดจ็ ไปปราบและถอื โอกาสเชือดไก่เพื่อไม่ให้ เมอื งอ่ืนทำ�ตาม ด้วยการนำ�เอาตวั ผู้สมคบคิดและครอบครัวมาเผาทง้ั เป็น เป็นการประกาศพระอาญาสิทธ์ิของพระองค์ว่าไม่ว่าใครหน้าไหนก็ห้ามแข็ง ข้อ แต่พระนเรศวรข์ องไทยเราไม่เกรงกลวั เมือ่ สน้ิ บุญพระเจ้าบุเรงนอง แล้วพระองคก์ ็ถกู จับตามองอยา่ งหนกั จากฝงั่ พม่า เพราะพมา่ นัน้ ทราบดวี า่ พระองคน์ ั้นทรงเก่งกล้าอาจหาญมากเพยี งใด พระเจ้าบเุ รงนองน้นั ทรงรัก และเอน็ ดูเจา้ ชายจากอยธุ ยาผูน้ ้ีมาก แต่เมอ่ื พระเจ้านนั ทบุเรงข้ึนมาครอง บลั ลังก์ก็ไมท่ รงโปรดเจ้าฟ้าผู้น้ี ขณะทท่ี รงท�ำ ศกึ ที่องั วะน้ันพระองค์กไ็ ม่ได้ไว้ วางพระทัยฝ่ายไทยเลย ทรงมรี บั สัง่ ใหพ้ ระนเรศวรย์ กทพั ตามมาสนองงาน สงครามท่ีกรงุ อังวะ แตแ่ ท้จรงิ นน้ั มแี ผนทจี่ ะลอบปลงพระชนม์ ปรากฎว่า แผนการรไู้ ปถึงพระนเรศวร์ พระองคจ์ งึ ถือเป็นเหตทุ จี่ ะขาดไมตรกี ับทางหง สาวดี และประกาศให้ไทยเป็นเอกราชจากพมา่ นับแตบ่ ัดนั้น ในการนบ้ี างต�ำ ราอา้ งว่าพระเจา้ นนั ทบเุ รงเป็นผ้คู ดิ การณ์ แต่บาง ต�ำ รากว็ า่ เป็นกลอุบายของพระราชโอรส เมงกะยอชวา (ไทยเราเรยี ก มงั สา มเกียด) ไมร่ ู้ล่ะว่าต�ำ ราไหนจะถูกหรอื ผดิ สดุ ทา้ ยพระนเรศวร์กท็ รงประกาศ เอกราช ในขณะทย่ี งั เปน็ วังหนา้ จะวา่ ไปหลังจากหมดส้ินเสีย้ นหนามในช่วงตน้ รัชกาลแล้ว พมา่ ใน ยุคของพระเจ้านนั ทบเุ รงกว็ นุ่ อยแู่ ตก่ ารรบกบั ไทย หลังจากทที่ ราบขา่ วว่า พระนเรศวรป์ ระกาศอสิ รภาพแลว้ กท็ รงพโิ รธมาก สั่งระดมรพี้ ลเขา้ บกุ กรงุ ๕๓
ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว ศรอี ยธุ ยา แม้วา่ กองทพั ของพระองค์จะเข้มแขง็ สักปานใด แตข่ ณะน้นั พระ นเรศวรข์ องไทยก็ฟอรม์ สดไม่แพก้ นั และออกจะเหนือกว่านดิ ๆ ดว้ ยอ่อน พระชนั ษากว่า หรอื จะเปรียบกบั ราชบตุ รเมงกะยอชวาแล้วก็เหมือนกระดกู คนละเบอร์ การบุกกรงุ ศรอี ยธุ ยาคร้ังแรกนับจากทีว่ ่างเวน้ มาถงึ ๑๓ ปี กจ็ บ ลงดว้ ยความพ่ายแพ้ของทัพพมา่ แต่พระเจ้านันทบุเรงก็ยังพอมขี ้ออา้ งวา่ เพราะทัพพระองค์ยกมาน้อยแล้วก็เขา้ ฤดูฝนพอดี พระเจ้านันทบุเรงมิได้ย่อพระทัยในการคิดเอาชนะกรุงศรีอยุธยา อาจเพราะทรงคิดว่าจะต้องเสียพระเกียรติไม่น้อยที่ถูกคนไทยหยามหน้า เอา ในปี พ.ศ. ๒๑๒๘ และ ๒๑๒๙ สองขวบปตี ิดตอ่ กนั ท่ีพม่ายกทัพมาหวงั จะปราบอยธุ ยา แตก่ แ็ พ้กลบั ไปท้งั สองคร้งั พมา่ เริ่มแพต้ ิดๆ กัน หลังจาก ท่ีครองเบอรห์ นึ่งมานานตง้ั แตส่ มยั พระเจ้าตะเบงชเวต้ี ส่วนไทยนนั้ ฟอร์ม ก�ำ ลังดวี นั ดขี นึ้ ทีเดียว ระหว่างนเี้ กิดความไมส่ งบเลก็ น้อยในราชส�ำ นกั พม่า เจ้าเมืองใน อาณตั ติ า่ งสิน้ บุญตามๆ กนั พระเจา้ นนั ทบุเรงโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระญาตสิ นทิ ไปกนิ เมืองท�ำ หนา้ ทป่ี กครองตา่ งพระเนตรพระกรรณ ท้งั ยังเป็นการปอ้ งกัน มิใหเ้ มอื งเหล่านัน้ แข็งเมอื งขึ้นมาได้ แต่ในอกี ทางหนึ่งพระองคก์ ็ใชว่ า่ จะวาง พระทยั กับความภักดีของเจ้านายที่สง่ ไปกนิ เมืองเหมอื นกนั ศกึ กบั กรงุ ศรีอยธุ ยายงั ไมจ่ บ พระเจ้านนั ทบุเรงไม่ยอมแม้จะพกั การศึกเพื่อบำ�รงุ ขวญั ราษฎร ปี พ.ศ. ๒๑๓๓ ทรงแตง่ ทัพมาตีอยุธยาอีกครั้ง บรรดาขนุ ศึกสมยั พระเจา้ ตะเบงชเวต้ีหรอื พระเจ้าบุเรงนองล้วนชรา บา้ งกล็ ้ม ตายไปหมด เสนาธิการผูม้ ีปญั ญาก็เชน่ กัน เหลา่ ทหารก็ไม่มแี ก่ใจท่ีจะทำ�ศกึ เพราะรบกนั มาไม่ได้หยุดหย่อน ศึกครงั้ ทีส่ ่ีก็แพไ้ ทยอีกจนได้ ราษฎรพม่าและมอญตา่ งทนไม่ไหวกบั การท�ำ ศึกไม่เวน้ วาง ชาย หน่มุ จำ�นวนมากหนไี ปบวช แต่พระองคก์ ็สั่งให้สึกออกมาเป็นทหาร ความไม่ พอใจเร่มิ มีมากขน้ึ เหล่าเสนาบดกี ็เรม่ิ กอ่ หวอดข้นึ นดิ ๆ บา้ งแล้ว ๕๔
ประวัติศาสตรจ์ านเดยี ว ปี พ.ศ. ๒๑๓๕ พระเจ้านนั ทบเุ รง เรียกชุมนมุ พลอกี ครัง้ หนงึ่ คราว น้โี ปรดเกลา้ ฯ ให้ พระมหาอปุ ราชา เป็นแมท่ ัพใหญน่ �ำ ทพั ลงมาปราบอยุธยา เปน็ ครั้งท่ี ๕ พระมหาอปุ ราชาน่เี ป็นช่ือต�ำ แหน่ง คล้ายๆ กบั ตำ�แหนง่ วังหน้า หรือรชั ทายาท ซง่ึ กค็ อื เมงกะยอชวา ที่เติบโตมาคกู่ บั พระนเรศวรท์ ี่กรุงหง สาวดี คราวนีท้ รงตง้ั ความหวงั เอาไวม้ ากทเี ดยี ว ศกึ คร้งั นีพ้ ระนเรศวร์มิไดเ้ ป็นเพยี งวงั หน้าเชน่ แต่ก่อน แต่ครง้ั นี้ พระองค์ข้ึนเถลงิ ราชสมบัตติ ่อจากพระราชบิดาเป็น สมเด็จพระนเรศวร กษตั ริย์แหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา ทง้ั สองพระองค์เขา้ ชนช้างกนั ตามวิถขี องกษัตริย์ ผลการรบนน้ั เปน็ อย่างทีเ่ ราทราบๆ กนั พระมหาอุปราชาทิวงคตบนคอ ช้าง ทพั พม่าก็แตกร่นไม่เปน็ ขบวน พระเจา้ แปร พระเจา้ ตองอู และพระเจา้ เชยี งใหม่ เห็นดังนั้นจึงตัดสนิ ใจถอนทัพกลับ การปราชัยครั้งนี้เป็นเสมือนจุดเร่ิมต้นของความอ่อนแอของแผ่น ดนิ พมา่ แผ่นดินพม่าเร่ิมทรุดโทรม พน้ื ทเี่ พาะปลกู รกร้าง จ�ำ นวนประชากร ลดลงอย่างนา่ ใจหาย แตป่ ระชากรหนูกลับเพิ่มมากข้นึ เกดิ โรคระบาดอย่าง หนักอนั มีสาเหตุมาจากพวกหนู ประกอบกบั ระบบสาธารณสุขท่ีไม่ดพี อ บรรดาหนบู กุ รุมเขา้ กนิ ผลผลติ เสยี หาย ข้าวปลาอาหารฝืดเคอื ง ตอ้ งเกณฑ์ ไพรพ่ ลมาก�ำ จัดหนกู ันยกใหญ่ สว่ นทางราชสำ�นกั นั้นกว็ ุ่นวายไม่แพก้ นั พวกมอญเริม่ ก่อกบฎและ เขา้ ร่วมกับกองทัพของพระนเรศวรจนสามารถยึดเอาเมาะตะมะไว้ได้ พระ ราชโอรสของพระเจ้านันทบุเรงทีค่ รองเมืองแปรก็เอาใจออกหา่ ง ประกาศ ตนเป็นอสิ ระ ฝงั่ ตองอูและองั วะก็เอาอยา่ งบ้าง ลา้ นช้างก็ฉวยโอกาสบุกเข้า จะตเี อาเชียงใหม่ เจ้าเมืองเชยี งใหมเ่ หลยี วไปเหลยี วมาไมเ่ ห็นว่าใครจะช่วย ได้ (เพราะตอนนั้นก็คงว่นุ วายกันไปหมด ไมร่ ู้ใครข้ึนกับใคร) จงึ ขอความชว่ ย เหลอื จากกรงุ ศรีอยธุ ยา สมเด็จพระนเรศวรก็ไมป่ ฏิเสธ ทรงแต่งทัพข้ึนไป ช่วยนครเชยี งใหมแ่ ละประกาศว่าบัดน้เี ชยี งใหมเ่ ปน็ สว่ นหน่ึงของอยธุ ยาแลว้ ๕๕
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว พระราชอำ�นาจของพระเจ้านันทบเุ รงสัน่ คลอนข้นึ ทกุ ที น่าสงสัย อยู่เหมือนกันวา่ ท�ำ ไมเหตกุ ารณ์ต่างๆ จึงเลวรา้ ยลงอย่างรวดเรว็ เชน่ น้ี ส่วน หนึ่งนั้นอาจเป็นไปได้ว่าจากการท่ีพระองค์ทรงด้ือดึงขืนทำ�ศึกกับไทยที่กำ�ลัง ฟอร์มสด พอแพต้ ิดๆ กันกย็ งั ดึงดันจะแกม้ ือ หลายหนเขา้ เหลา่ ทหารก็ อิดโรย ราษฎรกท็ กุ ขย์ าก ไมเ่ ปน็ อันทำ�มาหากินกนั พาให้เศรษฐกิจฝดื เคอื ง ความยิง่ ใหญข่ องอาณาจักรพม่าก็ลงเสื่อมลงดว้ ยเหตุน้ี ในช่วงนเ้ี องที่เมืองตองอเู พม่ิ พนู อิทธิพลมากยิ่งขน้ึ เจา้ เมืองตอง อูพิเคราะห์ดูแล้วเห็นว่าพระเจ้านันทบุเรงเห็นทีจะอยู่ในอำ�นาจได้อีกไม่ นาน จงึ คิดตัง้ ตัวเปน็ ใหญ่ จับมอื กบั เจา้ เมอื งยะไขย่ กทัพเขา้ ลอ้ มกรุงหงสาว ดี พระเจา้ นนั ทบุเรงตอนนีแ้ ทบไมเ่ หลอื อะไรแล้ว พระราชโอรสกเ็ อาใจออก หา่ งหนไี ปเข้ากับฝา่ ยศตั รู ทรงทอ้ แท้พระทยั ยอมเปน็ เชลยไปอย่เู มอื งตองอู จนถกู เรยี กตามภาษาชาวบา้ นวา่ กษัตรยิ เ์ ชลยตองอู เม่ือสมเดจ็ พระนเรศวรทรงทราบข่าวว่าหงสาวดีเกิดจลาจล จงึ ยก ทัพมาหมายจะตชี ิงเอาชัย ตรงน้คี ิดได้หลายทาง ทางหนึ่งกว็ า่ พระองค์หมาย พระทยั จะยดึ เอาหงสาวดใี หเ้ ป็นหนึ่งในพระราชอาณาจักร หรอื อกี ทางหนง่ึ พระองค์หมายพระทัยจะชงิ ตัวพระเจา้ นันทบุเรง ถามวา่ ท�ำ ไมถึงปรารถนา กษตั ริย์เชลยผนู้ ี้ นกั ประวัติศาสตรห์ ลายท่านกต็ คี วามกันอีกวา่ เปน็ ไปได้ ไหมวา่ พระองค์คดิ แคน้ พระทัยเปน็ การสว่ นพระองค์ แนล่ ะ่ วา่ เพราะครงั้ ที่ ทรงเปน็ องคป์ ระกนั ท่ีหงสาวดนี ้ัน พระเจ้านันทบุเรงก็มไิ ด้รกั ใคร่พระองค์ เหมือนพระเจา้ บเุ รงนอง ซ้ำ�ยังทำ�การหยามเกียรตอิ ยูบ่ อ่ ยครั้ง แลว้ ไหนจะ กรณขี องพระพน่ี างสพุ รรณกลั ยา ซึ่งบางกระแสนน้ั กลา่ วว่าเมื่อพระเจ้านันท บุเรงทราบข่าวว่าพระราชโอรสทิวงคตด้วยน้ำ�มือของพระนเรศวรก็แค้นเคือง จนพาลไปสงั หารพระพีน่ าง ในมุมนีค้ ือด้วยความแค้นพระทัยสว่ นพระองค์ ลว้ นๆ อีกมุมหนึ่งก็พิจารณาได้อีกว่าแม้พระเจ้านันทบุเรงในตอนนั้นไม่มี ๕๖
ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว พระราชอำ�นาจเหลอื อยแู่ ลว้ กต็ าม แตพ่ ระองคย์ งั ทรงเปน็ เสมอื นสัญลักษณ์ ของอ�ำ นาจเหนือแผ่นดินพมา่ ทง้ั ปวง คือนอกเหนอื จากกรุงหงสาวดแี ลว้ ยังรวมถึงเมืองใหญ่น้อยอีกมากมายที่ยังคงได้ช่ือว่าเป็นประเทศราช ของพม่า เจ้าเมืองตองอูทพ่ี ยายามตง้ั ตนเป็นใหญน่ ้นั ก็ยังคงอ้างพระเจ้า นนั ทบุเรงอยู่ในการดำ�เนนิ การใดๆ การทฝ่ี า่ ยใดจะไดต้ วั พระเจา้ นันทบเุ รง ก็คือว่าเปน็ การกมุ ความไดเ้ ปรียบในแงข่ องนติ ินยั แต่อีกแง่หนึ่งท่ีอาจเป็นไปได้ค่อนข้างน้อยแต่ก็ขอให้สะกิดคิด ไว้ในฐานะคนไทยทถี่ อื เอาพระพทุ ธศาสนาเปน็ ส่ิงค�ำ้ ชจู ติ ใจ คอื เป็นไป ไดไ้ หมวา่ พระองค์ตอ้ งการจะมาชว่ ยหงสาวดมี ากกว่า แนล่ ่ะว่าสุดทา้ ย ก็ตอ้ งยึดเอาไว้อย่ดู ี แต่ในพระทยั ลึกๆ พระองคอ์ าจจะอยากรกั ษาหง สาวดีไว้ เพราะอยา่ งน้อยนีก่ ค็ อื เมืองที่พระองคเ์ คยประทับอยนู่ านหลาย ปี และพระเจ้านันทบเุ รงนนั้ แม้วา่ จะเปน็ คสู่ งครามกันอยูก่ ็ตาม แตต่ าม ประสาคนไทยที่ยงั ให้การเคารพผ้อู าวุโสกว่า ยิ่งหากนับญาติกนั แล้ว กเ็ ปรียบเสมอื นพระเชษฐาของพระองค์ จะดูดายเปลา่ ๆ ไดอ้ ย่างไร น่าเสยี ดายท่กี ารเดนิ ทพั มาครัง้ นข้ี องพระองค์ กลับเป็นการเรง่ ให้ทัพตองอูและยะไข่ร่วมกันผลาญกรุงหงสาวดีที่เคยรุ่งโรจน์ให้กลายเป็น ทะเลเพลิงที่โชติชว่ งชัชวาล พระราชวังของพระเจา้ บุเรงนองท่วี า่ ใหญ่โตงาม นกั หนานั้นกเ็ หลือแต่ซากกันคราวนเ้ี อง พวกทหารตองอูและยะไข่ยังบุกเข้ารุมโจมตีทัพไทยแบบกองโจร เสยี อีก ประกอบกบั เม่ือทราบว่ากรุงหงสาวดไี ม่เหลอื ช้นิ ดีแลว้ สมเดจ็ พระ นเรศวรก็ยกทัพกลบั ลม้ ความคดิ ทจี่ ะครองพม่าตอนลา่ งเอาไวเ้ พยี งเท่านน้ั ******************** ความวุ่นวายบนแผ่นดนิ พม่ายังไมม่ ีทีท่าวา่ จะสงบ ทงั้ ทใ่ี นรชั สมยั ๕๗
ประวตั ิศาสตร์จานเดยี ว พระเจ้านนั ทบเุ รงก็รบกันจนราษฎรเหนือ่ ยหน่าย ครั้นพอพระองคห์ มด อำ�นาจ เจ้าเมอื งตา่ งๆ กย็ งั ต้ังหนา้ ตัง้ ตารบกันเองเพือ่ ชงิ อำ�นาจ แผน่ ดิน พมา่ ของพระเจ้าบเุ รงนองผ้ยู ง่ิ ใหญก่ �ำ ลงั รอ้ นเปน็ ไฟจากการแยง่ ชิงอำ�นาจ ตองอู แปร ยะไข่ อังวะ ตา่ งคานอ�ำ นาจกันอยู่ ถา้ หากจะแบ่งกัน จรงิ ๆ กย็ งั คงเหมือนแต่กอ่ นแต่ไรมานนั่ คือการแยง่ ชิงอำ�นาจระหวา่ งเชือ้ ชาตพิ ม่ากับมอญ แตใ่ ครท่อี ่านประวตั ศิ าสตรม์ ามากๆ จะพอเห็นวา่ เรมิ่ มีตวั ละครใหมๆ่ เข้ามามบี ทบาทมากขน้ึ น่ันคือพวกต่างชาติ ซึ่งความจรงิ กเ็ ข้ามา ตงั้ แต่ในสมยั ท่ีพม่ากับมอญครองแผน่ ดินในยคุ แรกโนน่ แล้ว อย่างในหนงั สือ ราชาธิราชยังเขียนไว้เลยว่าพระเจ้ากรุงจีนยกทัพเข้ามาประชิดพม่าตอนบน หรอื ตอนท่ีพระเจา้ มังฆ้องถอดถอนใจเมื่อเหน็ ปืนไฟของพวกฝรงั่ วา่ จากน้ี เราคงมิได้เหน็ ขนุ ศกึ ร�ำ ทวนใหด้ ูเป็นทเ่ี พลินตาอกี แลว้ เอาเข้าจริงพวกต่างชาตินั้นก็แหยมเข้ามาต้ังแต่ยุคพุกามโน่นแล้ว กค็ ือจีน แต่เมื่อวันเวลาผ่านไปนานเขา้ ก็เพิม่ ฝรง่ั เข้ามาอีก โดยเฉพาะพวก โปรตเุ กสทเี่ ขา้ มาทางใตผ้ ่านมหาสมุทรอนิ เดยี เขา้ มา ถึงขนาดมามีอิทธพล เหนือกษัตริย์แหง่ กรุงลังกานน่ั แล้วดว้ ย ฝรง่ั พวกนเี้ ขา้ มารบั จา้ งรบใหก้ ับฝา่ ย ไหนกต็ ามทมี่ ีเงนิ จา้ งให้ ส่วนหน่ึงก็เขา้ มาเผยแผศ่ าสนา เขา้ มาคา้ ขาย แต่ไม่ วา่ จะสว่ นไหนกม็ องแผ่นดินพม่าเป็นท่ีตกั ตวงผลประโยชนท์ ั้งสิ้น ฝร่ังที่ถูกพูดถึงในประวัติศาสตร์พม่ามากที่สุดคนหน่ึงเห็นจะไม่พ้น นายเดอ บรโิ ต เป็นชาวโปรตุเกส ในพงศาวดารพมา่ เลา่ วา่ นายคนนีก้ ไ็ มใ่ ชย่ งิ่ ใหญ่มาจากไหน ก็นา่ จะเป็นพวกนักแสวงโชคทหี่ วงั มาแจ็คพ็อตในพม่า แลว้ ก็แจค็ พ็อตจรงิ ๆ จบั พลัดจับผลูได้เปน็ ถงึ เจา้ เมืองสเิ รยี ม คงจะเชลยี ร์เจ้านาย พมา่ ไปมากโขอยู่ นายเดอ บริโต คนนีไ้ ม่ไดห้ ยดุ ท่แี ค่เมืองสิเรยี ม แต่วางแผน จะครองพ้นื ทป่ี ากแม่น�้ำ หวงั ร�่ำ รวยจากการเก็บภาษเี ดนิ เรอื และค้าขาย นายคนน้ีท�ำ ส�ำ เรจ็ เสยี ด้วย เขาสามารถกุมอำ�นาจของพมา่ ตอนใต้ เอาไวไ้ ดห้ มด ล�ำ พังฝร่งั คนเดยี วมหี รือจะท�ำ ได้ หากไมไ่ ด้รับการหนุนหลงั ๕๘
ประวัติศาสตรจ์ านเดยี ว จากราชส�ำ นกั โปรตุเกส ท้ังเรอื่ งกำ�ลังทหารและอาวธุ โปรตุเกสก็คงคิดจะเอา เมอื งพม่าไวเ้ ป็นประเทศราชดว้ ยซ้�ำ ทางฝัง่ พมา่ น้ันตองอูกำ�ลงั ข้นึ มากุมอำ�นาจ เจา้ เมืองตองอูคนใหม่ พระเจา้ นัตชินนอง หรอื ทไี่ ทยเราเรยี กเสยี เพราะว่า นดั จินหน่อง เปน็ คน หนมุ่ ทม่ี คี วามทะเยอทะยาน หวังจะเป็นกษัตริย์ปกครองพมา่ เจา้ เมืองตอง อผู ้นู ้นี า่ จะเปน็ ปราชญ์มากกว่านักรบ เขาเช่ียวชาญเรื่องกวี ผลงานหลายชิน้ ของเขายังคงตกทอดเป็นมรดกของชาตมิ าจนถึงทกุ วันน้ี และเขาคนน้ีล่ะที่ สรา้ งต�ำ นานรกั ข้ามรนุ่ ของพม่า เร่ืองมันต้องย้อนไปคร้ังศึกชนช้างระหว่างพระมหาอุปราชากับ สมเดจ็ พระนเรศวร นัดจนิ หนอ่ งผนู้ อี้ ายเุ พยี ง ๑๕ ปี กร็ ่วมพนั ตใู นศกึ ครง้ั นน้ั ด้วย เขาอาสาน�ำ ขา่ วทวิ งคตของพระมหาอปุ ราชาไปทลู เจา้ หญิงราชาธาตุ กลั ยา พระมเหสีของพระมหาอปุ ราชาถงึ เมืองตองอู เพียงพบหนา้ ก็รกั แรก พบทนั ที ติดตรงที่พระนางกบั เขานน้ั อายหุ า่ งกันถึง ๖ ปี แถมยงั เก่ยี วดอง เปน็ ญาตกิ นั เสียอกี นัดจนิ หนอ่ งเดนิ แผนจีบข้ามรุ่นทันที เขาเขียนกวีพรรณาความรักถึง พระนาง อันนน้ี ีโ่ ทษถงึ ประหารเชียว แต่พระนางกลับมีใจดว้ ย เมื่อความรกั สุกงอมทงั้ สองหวังจะใช้ชวี ิตคดู่ ้วยกัน แตพ่ ระเจา้ นนั ทบเุ รงเบรกเอาไวเ้ พราะ เหน็ วา่ ไม่บังควร งานนท้ี �ำ เอาเขาเจ็บจำ�ฝงั ลึกเลยทเี ดียว แล้วพระเจ้านันทบุเรงผู้ย่ิงใหญ่ซึ่งต่อมากลายเป็นกษัตริย์เชลยของ มอญต้องสวรรคตเพราะนัดจินหน่องผนู้ ี้ เม่ือเขาบกุ เขา้ ปลน้ กรุงหงสาวดี และลอบปลงพระชนมพ์ ระเจ้านันทบเุ รงเสีย ปดิ ฉากทายาทของพระเจา้ บเุ รง นองแบบไมค่ อ่ ยสวยงามนัก ตอ่ มาเมือ่ นัดจนิ หน่องขน้ึ ครองตองอูตอ่ จากพระบดิ า เขาถงึ ได้ สมรสกับนางผูเ้ ป็นที่รกั อยา่ งไรผ้ คู้ ดั ค้าน ทีแรกๆ ก็ดูเหมอื นวา่ ทกุ อยา่ งน่า จะไปไดส้ วย แตเ่ หตกุ ารณบ์ า้ นเมอื งชว่ งน้นั เอาแนอ่ ะไรไมไ่ ด้ นดั จินหน่อง ๕๙
ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว จับมือกับ นายเดอ บรโิ ต เจา้ เมอื งสเิ รียม โดยวางแผนไวว้ ่าจะหลอกใช้ฝรัง่ คนนเี้ พอ่ื ขยายอำ�นาจทางตอนใต้ แต่ไปๆ มาๆ ทุกอยา่ งกลับไมเ่ ปน็ ดงั หวัง พระเจ้ากรุงองั วะท่ีก�ำ ลงั มีอิทธพิ ลเร่ิมขยายอ�ำ นาจ ตองอกู ับสเิ รยี ม รว่ มมือกนั กย็ ังสู้ไม่ได้ ชว่ งนัน้ เกดิ กบฎมอญขน้ึ จากการทชี่ าวมอญทนไมไ่ หว กบั การกดขีจ่ นสามารถยึดเมืองแปรได้ ชาวบ้านชาวเมอื งหนภี ยั สงครามไป อย่กู ับกรุงอังวะ ก็ยงิ่ ทำ�ให้องั วะเขม้ แขง็ ขน้ึ อกี พ.ศ. ๒๑๕๑ พระเจา้ อนอคะเปตะลนุ แห่งกรุงองั วะยึดเมอื งแปรได้ ยดึ ตองอไู ด้ และเตรยี มยึดเมืองสเิ รยี ม นายเดอ บรโิ ต สไู้ ม่ได้ ขณะน้นั นดั จิน หน่องเกดิ หนไี ปเขา้ รว่ มกบั นายเดอ บรโิ ต ดว้ ยพอดี จงึ ถกู พระเจ้าอนอคะ เปตะลนุ ส่งั ประหารเสียท้งั คู่ เร่ืองของนัดจนิ หน่องนี้ท�ำ ใหเ้ กิดขอ้ สงสัยข้ึนมานิดหนอ่ ย คือเม่ือ ครั้งทีพ่ ระเจา้ นนั ทบุเรงขึน้ ครองราชยเ์ มอ่ื ปี พ.ศ. ๒๑๒๔ ไดโ้ ปรดเกล้าฯ ให้ แตง่ ทพั ออกเป็นสามทพั เพ่อื ไปขยเี้ มอื งคังทีบ่ งั อาจแขง็ เมือง สามทัพทวี่ า่ กม็ ี ทัพของพระมหาอุปราชาหรอื เมงกะยอชวา ผู้เป็นราชบุตร ทัพของเมืองตอง อู นำ�ทัพโดยนัดจนิ หนอ่ ง และทัพของพระนเรศวร์ โดยทัง้ สามทัพผลัดกนั เข้าตี ปรากฎวา่ ทัพของพระมหาอปุ ราชากับทพั ตองอตู ีไม่ได้ แต่พระนเรศวร์ กลับเอาชนะได้ด้วยปญั ญา เหตกุ ารณน์ ้ีน่าจะเกิดข้นึ ราวปี พ.ศ. ๒๑๒๔- ๒๑๒๖ บวกลบไม่นา่ เกนิ สองปจี ากปที ่ีพระเจา้ นันทบุเรงครองราชย์ ที่ชวนสงสัยก็คอื เมือ่ ยอ้ นกลบั ไปตอนท่ีนัดจนิ หนอ่ งอาสานำ�ขา่ ว การทิวงคตของพระมหาอุปราชาเม่ือคร้ังชนช้างกับสมเด็จพระนเรศวรไป กราบบงั คมทูลพระมเหสขี องพระมหาอปุ ราชาจนเกิดกรณรี ักขา้ มรนุ่ ใน หนังสือประวตั ิศาสตร์พม่า โดย อาจารย์หม่องทินออ่ ง นักประวัติศาสตร์ที่ มีชื่อที่สุดท่านหน่ึงของพม่าเองได้บันทึกไว้ว่าตอนน้ันนัดจินหน่องเพ่ิงจะอายุ ๑๕ ปี ใหเ้ ต็มทีก่ ็ ๑๗ ปี ซง่ึ การท�ำ ยุทธหัตถีครง้ั นั้นเกดิ ขึน้ ปี พ.ศ. ๒๑๓๕ ถา้ อิง จาก พงศาวดารเรือ่ ง ไทยรบพม่า ของ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ๖๐
ประวัติศาสตร์จานเดียว ซง่ึ ต่อใหเ้ ปน็ หนงั สือเล่มอน่ื ก็ระบตุ รงกัน ถา้ อยา่ งนน้ั ครง้ั ศึกเมืองคงั นดั จนิ หน่องควรจะอายเุ ท่าไหรก่ ันแน่ ถา้ ลบเลขไมผ่ ดิ นัดจินหน่องออกศึกคร้ังนน้ั ตอนอายุ ๑๐ ขวบ ซ่ึงไมน่ า่ จะใช่ จึงเรม่ิ สับสนว่าใครบันทกึ ผิดกนั แน่ หรอื ผเู้ ขียนจะผดิ เองกไ็ มท่ ราบไดท้ อ่ี าจ จะค้นคว้าไม่พอ แตอ่ ยากจะหมายเหตไุ วว้ า่ เร่อื งของประวัติศาสตรน์ ้นั ตอ้ ง อา่ นหลายๆ ฉบบั แลว้ ลองศึกษาให้ละเอยี ดก่อนทจี่ ะเช่อื ท้ังหมด สุดท้ายนัดจินหน่องก็ถูกส่ังประหารโดยพระเจ้าอนอคะเปตะลุน พระองค์มีศกั ดเ์ิ ป็นพระราชนัดดาในพระเจ้านันทบุเรง ทรงกา้ วขึ้นมากุม อ�ำ นาจทงั้ หมดเอาไว้ได้และรวบรวมพมา่ ใหก้ ลับมาเปน็ ปกึ แผน่ อีกครั้ง ดว้ ย พระปรชี าดา้ นการศึกและการปกครอง นอกจากน้ยี ังทรงมีวิสัยทัศน์ในการ ขยายอ�ำ นาจทางเศรษฐกจิ แตก่ ย็ ังมเี สย้ี นหนามคาพระทัยอย่อู ย่างหนึง่ คอื พวกไทยใหญ่ที่ยงั ไมย่ อมศโิ รราบ แตพ่ ระองค์ก็ปกครองพม่ายาวนานถงึ ๒๓ ปี กอ่ นจะเสด็จสวรรคต แม้จะมีการทำ�ศึกภายในอยู่หลายหนจากการก่อกบฎไม่ว่าจะจาก พวกไทยใหญ่หรือพวกมอญ แตแ่ ผน่ ดินพม่ากย็ ืนยงอยูภ่ ายใตก้ ารปกครอง ของราชวงศ์ตองอูได้ยาวนานถึงรอ้ ยกว่าปี ช่วงร้อยปีนม้ี ีท้ังช่วงเวลาท่ีรงุ่ เรือง จากการปกครองโดยกษัตริยท์ ที่ รงทศพิศราชธรรม ทรงทำ�นบุ ำ�รงุ พระพุทธ ศาสนา เปิดโอกาสทางการค้ากบั ต่างประเทศ และมชี ่วงเวลาทย่ี ากลำ�บาก โดยเฉพาะการเร่ิมแผ่อิทธพลของชาวตะวันตกที่เข้ามายังแผ่นดินสุวรรรภูมิ มากขนึ้ ทั้งพวกโปรตเุ กส ฝรัง่ เศส ฮอลันดา และองั กฤษ จนกระทง่ั ในปี พ.ศ. ๒๒๙๕ ราชวงศต์ องอกู ล็ ม่ สลายอย่างเปน็ ทางการ อ�ำ นาจการปกครองแผ่น ดนิ พม่าก็เปลยี่ นมอื ไปอยูก่ ับราชวงศ์อลองพญา ๖๑
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว พระบรมราชานสุ าวรีย์ พระเจา้ บเุ รงนอง หนา้ พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ กรงุ ยา่ งก้งุ (ภาพจาก http://www.skyscrapercity.com) ๖๒
อลองพญามหาราช ในชว่ งระยะสุดทา้ ยก่อนที่ราชวงศต์ องอูจะส้นิ อ�ำ นาจลง แผน่ ดนิ พมา่ เกิดการแย่งชิงอ�ำ นาจและความวนุ่ วายไปทัว่ ราชส�ำ นกั พมา่ ปกครอง แต่เพียงในนาม บรรดาเจ้าเมอื ง เช้อื พระวงศ์ ขนุ ศึก หรอื กระทงั่ คนธรรมดา สามัญทีพ่ อจะมกี ำ�ลงั หน่อย ต่างก็หาช่องทางทจี่ ะสรา้ งฐานอ�ำ นาจ หวังทจี่ ะ เป็นใหญใ่ นเร็ววนั ในช่วงท่ีราชวงศ์ตองอูครองอำ�นาจนั้นมีการสับเปล่ียนราชธานีไป มาหลายหน เรมิ่ จากตงั้ เมืองตองอูเป็นราชธานีเม่อื คร้งั ทพ่ี ระเจา้ เมงคยินโย สามารถรวบรวมแผน่ ดนิ พมา่ ไดเ้ ปน็ ผลสำ�เรจ็ พอมาถงึ สมยั พระเจา้ ตะเบง ชเวตกี้ ท็ รงยา้ ยเมืองหลวงมาทก่ี รงุ หงสาวดี ร้อยกว่าปตี อ่ มา พระเจ้านยอง ยาน ทรงย้ายราชธานไี ปท่กี รงุ อังวะเนอ่ื งจากหงสาวดถี กู ทำ�ลายยับเยนิ แต่ เพียงแค่สิบกว่าปีต่อมาพระเจ้าอนอคะเปตะลุนทรงย้ายราชธานีกลับไปที่ กรุงหงสาวดีอกี ครั้ง และย้ายกลบั ไปยังกรุงองั วะอกี ครงั้ ในสมัยพระเจ้าตลุน มิน โดยการยา้ ยราชธานีแทบทุกครง้ั มกั จะมเี หตผุ ลทางการทหารเสียเป็น สว่ นใหญ่ นอกจากการย้ายราชธานแี ล้ว ในชว่ งปลายของราชวงศต์ องอูก็ต้อง รับมอื กับการกอ่ กบฎทเ่ี กดิ ขึน้ บอ่ ยครัง้ และกนิ เวลานาน โดยเฉพาะจากพวก ๖๓
ประวตั ิศาสตร์จานเดียว มอญและไทยใหญ่ ซ่ึงไม่สามารถก�ำ ราบลงไดง้ า่ ยๆ เหมือนเม่ือกอ่ น คือถ้ามี แตม่ อญกับไทยใหญ่กพ็ อจะรับมือไหว แตค่ ราวนด้ี นั มลี ูกยจุ ากฝร่ังที่เริม่ เข้า มาหาผลประโยชนบ์ นแผน่ ดินพมา่ มากขน้ึ ทกุ ที ทีเ่ ห็นกนั หนักๆ กค็ อื พวก ฝรัง่ เศสและอังกฤษ ทั้งๆ ท่ีก�ำ ลงั แทะโลมอินเดียอยู่แทๆ้ กบฎมอญนั้นมี ฝรั่งเศสหนุนหลังอยู่ทำ�ให้สามารถพิชิตกษัตริย์แห่งพม่าได้อย่างไม่ยากเย็น นัก แตม่ อญซ่งึ นำ�โดย พญาทละ ก็ใชว่ ่าจะครองอำ�นาจได้เด็ดขาด เพราะ ยังมีขบวนการท่ีหวงั จะครองแผน่ ดินอยู่เหมอื นกัน คือฝ่ังของพมา่ ท่เี ปน็ ขว้ั อำ�นาจเกา่ และฝัง่ ไทยใหญ่ ทั้งสองกลุ่มนีพ้ ยายามยึดเอาเมอื งต่างๆ ให้เข้า กบั พวกตนให้ไดม้ ากท่สี ดุ แตก่ ย็ งั มอี ีกขบวนการหนึ่งทีเ่ ตบิ โตมาอยา่ งเงียบๆ นำ�โดย หม่อง อองไจยะ นายคนนีเ้ ป็นเพยี งผ้ใู หญ่บา้ นที่ต�ำ บลมุตโชโบ แต่บงั เอิญว่ามพี วก มากแลว้ ก็มอี ทิ ธิพลพอสมควร ในชว่ งท่ีบ้านเมอื งวนุ่ วายเขาเคยถกู จบั ใน ข้อหากบฎแตก่ ็รอดกลับมาได้ จงึ เริม่ คิดการณ์ใหญอ่ ยอู่ ย่างเงยี บๆ มาแนวนีก้ ็เลยทำ�ให้อดนึกถงึ พระเจา้ ฮั่นเกาจู่ ปฐมกษตั รยิ ร์ าชวงศ์ ฮนั่ ของจนี ไมไ่ ด้ เดมิ ทีพระองคก์ ็เป็นแค่ หลวิ ปัง นายอำ�เภอก๊ิกกอ๊ ก ก่อนที่ จะค่อยๆ รวบรวมกำ�ลังก่อต้ังเปน็ ก๊กและสามารถครองแผ่นดนิ ตงั้ ตวั เปน็ กษตั รยิ ์ได้เฉยเลย นี่ล่ะทีเ่ ขาว่า บ้านเมอื งเกิดกลยี คุ วีรบรุ ุษกจ็ ะปรากฏกาย หมอ่ งอองไจยะ กม็ าแนวเดียวกบั หลวิ ปัง ครอบครัวเขาสบื ทอด ต�ำ แหนง่ ผใู้ หญ่บา้ นมาหลายชั่วคน แมจ้ ะเป็นเพยี งต�ำ แหน่งนอ้ ยๆ แต่กท็ �ำ ให้ เขาสร้างบารมีได้พอสมควร หมอ่ งอองไจยะมีรปู ร่างสูงใหญ่น่าเกรงขาม แตก่ ็ มหี นา้ ตางดงาม ดแู ลว้ เป็นคนดที ุกกระเบยี ดน้วิ ประกอบกับเป็นคนมีน้ำ�ใจ คอื ใจนักเลง รักพวกพ้อง เอาไหนเอาด้วย ไม่นานนักตำ�บลใกล้เคียงกเ็ ร่ิมเขา้ มารว่ มขบวนการดว้ ย จากตำ�บลเล็กๆ กเ็ ร่ิมขยายออกไปเรื่อยๆ เมือ่ มีขา่ วว่านายบ้านตำ�บลเลก็ ๆ แห่งหนึ่งเร่ิมซ่องสุมกำ�ลังนั้น ราช สำ�นกั ไม่ไดเ้ อาใจใส่นกั ดว้ ยมองแคว่ ่าเปน็ ชาวบ้านธรรมดา จะเอาอะไรมาสู้ ๖๔
ประวัติศาสตรจ์ านเดียว แต่ปรากฎว่าเพียงไม่นานนักขบวนการน้ีก็ได้รับการสนับสนุนจากชาวบ้าน มากมาย มกี ารขยายพื้นท่อี อกไปเรอื่ ยๆ จนกลายเป็นป้อมปราการ มกี าร สรา้ งคเู มอื ง ใชต้ ้นไม้ใหญแ่ ทนกำ�แพงเมอื ง ตระเตรียมเสบียง อาวธุ และ กำ�ลงั พลมากพอจะเปน็ กองทัพ และไมน่ านตอ่ มามันก็ยง่ิ ขยายใหญ่ขึน้ ๆ จน หยุดไมอ่ ยู่ หม่องอองไจยะจึงไม่หยดุ แคเ่ ปน็ ขบวนการเล็กๆ แต่คดิ ใหญ่ไป ถึงการรวบแผ่นดินพม่าให้กลับมาเป็นอาณาจักรอันย่ิงใหญ่อีกคร้ังโดยมีเขา สวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ พ.ศ. ๒๒๙๖ หม่องอองไจยะกส็ ถาปนาตนเองข้นึ เปน็ กษตั ริย์พมา่ ทรงพระนามว่า พระเจา้ อลองพญา นับเป็นต้นราชวงศอ์ ลองพระ หรอื ไทย เราคนุ้ ชอื่ วา่ ราชวงศค์ องบอง โดยพระองคอ์ ้างวา่ สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์ องั วะเมอ่ื ครงั้ ครองแผน่ ดินยคุ พระเจ้าทาโดมนิ พญาโน่น คงจะสงสยั กันว่าท�ำ ไมเปน็ กษตั ริย์กันง่ายๆ แบบน้เี ลยรึ เขาคงไม่ใช่ แคว่ า่ มอี ทิ ธพิ ลมากแลว้ เลยตัง้ ตนเปน็ คิงเลย คงต้องสูร้ บปรบมือกับอกี หลาย ขบวนการทก่ี อ็ ยากจะเป็นใหญ่บ้างเหมอื นกัน เคยอา่ นสามก๊กกันไหม ก็คง ทำ�นองเดียวกันอย่างเล่าปี่ท่ีโดนยำ้�เหลือเกินว่าแค่คนทอเสื่อขายริจะเป็น ออ๋ ง แต่สดุ ท้ายเลา่ ปี่กด็ นั ได้เป็นออ๋ งจริงๆ แต่อยา่ ง อ้วนเสีย้ ว อ้วนสดุ ชาติ ตระกูลดีมไี พรพ่ ลมากมาย อยากเป็นออ๋ งแทบตายก็เปน็ ไม่ไดเ้ พราะบารมไี ม่ ถงึ เล่าป่นี ั้นเริ่มจากศนู ย์ คอ่ ยๆ สร้างผลงาน ซอ้ื นำ�้ ใจผูค้ น ไปไหนใครก็รัก ยกให้เป็นพ่อพระกันท้งั บา้ นท้ังเมือง อนั น้ีไม่พูดถึงตวั ตนข้างใน เอาแค่ภาพ ลักษณ์ลว้ นๆ สามก๊กเขาถึงตเี สน้ ไว้ชัดเจนวา่ เลา่ ป่ี เปน็ พระเอก โจโฉ เป็น ผรู้ ้าย ทำ�นองเดยี วกบั พระเจา้ อลองพญาท่ีตอ้ งเร่ิมจากศูนย์เหมอื นกัน น�้ำ ใจราษฎรนน้ั สำ�คญั ตอ่ ให้มอี ทิ ธิพลมากแค่ไหน ถ้าใชไ้ ม่ถูก หา แต่ประโยชน์ใสต่ ัว ชาวบ้านที่ไหนเขาอยากจะมาอย่ดู ้วย แล้วในยุคสมยั ทม่ี ี การแย่งชิงกันเป็นใหญ่ ราษฎรกย็ ่อมมองหาคนท่จี ะปกป้องเขาได้ ไม่กดข่ี ข่มเหงพวกเขา ซ่ึงเขาคงเขด็ พวกเจา้ นายเกา่ ๆ เลยหันมาพึ่งคนทีเ่ ป็นชาว ๖๕
ประวัตศิ าสตร์จานเดียว บา้ นเหมอื นกนั กบั พวกเขานา่ จะรสู้ ึกสบายใจกว่า ******************** เมอื่ ได้เปน็ ใหญ่แลว้ พระเจา้ อลองพญา โปรดเกลา้ ฯ ให้ตัง้ ราชธานี ใหม่ จะเลอื กเอาทีไ่ หนล่ะถ้าไมใ่ ช่ถ่ินฐานบา้ นเกิดที่มนั่ ใจได้ว่าปลอดภัยแนๆ่ พระองคส์ ถาปนาตำ�บลท่เี ร่ิมต้งั ตวั น่นั ล่ะเป็นเมอื งหลวง ทรงเปลี่ยนช่ือเป็น เมืองชเวโบ แปลวา่ ดนิ แดนแหง่ ขนุ พลทอง เมอ่ื ต้งั เมืองหลวงเสร็จแล้ว คราว นกี้ ก๊ เล็กก๊กนอ้ ยหรอื ก๊กใหญก่ ต็ าม ตา่ งม่งุ หนา้ เขา้ มาสวามิภกั ด์ิ ถงึ ตอนน้ชี เว โบก็เพียบไปดว้ ยก�ำ ลังพล อาวธุ และเสบยี งกรงั เข้มแข็งไม่น้อยหนา้ ราชธานี เก่า ศัตรูหลักของพระเจ้าอลองพญาในยุคตั้งตัวน้ันคือพวกมอญจาก กรุงอังวะ เมือ่ เริ่มต้นนนั้ ทางกรงุ อังวะไมไ่ ด้ใส่ใจตำ�บลแห่งน้ีเทา่ ใดนกั ปลอ่ ย ให้เตบิ ใหญเ่ สียจนกวา่ จะรู้ตัวก็สายไปเสยี แลว้ ทัพมอญจากกรงุ องั วะจบั มือ กบั กองทพั จากหงสาวดียกมาหวังจะเหยยี บชเวโบใหร้ าบ แต่ไม่งา่ ยอยา่ งท่ี คิด พระเจ้าอลองพญาเตรยี มพรอ้ มไวเ้ สรจ็ สรรพ ทพั มอญแยกออกเปน็ ส่ที พั บกุ เขา้ โจมตี ที ั้งส่ีทศิ กะว่าชเวโบแตกแนๆ่ ผลลัพธก์ ลับตรงข้าม ทพั ชเวโบต้งั รับอย่างเหนียวแน่น ฝา่ ยมอญตอ้ งการรบี เผดจ็ ศกึ จึงสง่ ทมี กลา้ ตายบุกเข้าไป ผลคือได้ตายสมใจ นานเข้าก็เรม่ิ เสียขวัญ เมอ่ื เห็นเชน่ นี้พม่าก็พลิกเปน็ ฝา่ ย บุกบ้าง ทพั มอญถอยกลับกันไม่เปน็ ขบวน พระเจา้ อลองพญาจึงเร่มิ เก็บ บรรดาเมืองรายทางซึ่งเป็นพวกไทยใหญ่เสยี ส่วนมาก ดังนน้ั เมอ่ื เสร็จศึก คือ ราว พ.ศ. ๒๒๙๕ พม่าตอนบนจึงตกเปน็ ของพระเจ้าอลองพญาทงั้ หมด จะ มีก็เพยี งกรุงองั วะฝ่ังตรงข้ามแม่นำ้�อริ ะวดีเทา่ นนั้ ท่ียังรอใหจ้ ัดการอยู่ ผลการรบครั้งน้ันเป็นการแสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถด้านการ ทหาร รบั ก็ไดร้ ุกก็เปน็ ไมต่ ้องใช้คนมากก็เอาชนะได้ ระหวา่ งน้นั พระองค์ ๖๖
ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว วางแผนพกั รบช่วงส้นั ๆ เพื่อทำ�นบุ �ำ รงุ บา้ นเมือง จดั ระบบการปกครอง ฟ้นื ฟพู ระพทุ ธศาสนา รอเวลาโจมตอี งั วะต่อไป ตอนตงั้ ตัวใหมๆ่ เมอื งชเวโบนน้ั อาศยั ตน้ ไม้รกทึบแทนก�ำ แพงเมอื ง เมื่อเสรจ็ ศกึ กบั มอญแลว้ พระองค์กโ็ ปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งก�ำ แพงขดุ คเู มือง ให้เปน็ เรือ่ งเป็นราว สรา้ งวดั และพระราชวงั จัดระบบระเบียบสงฆ์ ทรงแตง่ ตง้ั สมเด็จพระสังฆราชพระองคใ์ หมห่ ลังจากมีการปฏริ ูประเบยี บสงฆ์ สง่ เสรมิ บัณฑติ และนกั ปราชญจ์ ากท่ัวทกุ สารทศิ ใหเ้ ขา้ มารับราชการ สนบั สนุน การศกึ ษาและวิทยาการตา่ งๆ และอกี สง่ิ หน่ึงท่กี ษัตรยิ ์พมา่ หลายพระองค์ พยายามขจัดออกจากวิถีชีวิตของคนพม่านั่นคือความเชื่องมงายเร่ืองผีสาง แตก่ ็ไมเ่ หน็ จะมีกษตั ริยพ์ ระองค์ใดทำ�สำ�เรจ็ เลยซกั ครงั้ เดียว คงยากจรงิ ๆ ทจ่ี ะท�ำ ลายความเชือ่ เหล่านีอ้ อกไปจากจติ ใจชาวพมา่ หรอื ชาวไทยเราเองกเ็ ถอะ ตอ่ ใหบ้ อกว่าไม่เชื่อ ยงั ไงก็ไม่เชื่อ แตก่ อ็ ุตสา่ ห์ ตอ่ ทา้ ยอกี ว่า แตก่ ็ไม่ลบหลู่ มันคงฝงั เขา้ อยู่ในสายเลอื ดแล้วกระมงั เม่อื ถงึ คราวจวนตัวขึ้นมาก็มักจะหนีไม่พ้นว่ิงเข้าหาสิ่งที่เราบอกไปว่าไม่เช่ือน่ันล่ะ อยา่ งนอ้ ยกป็ ระนมมือสาธบุ นบานกันทกุ รายไป พระเจ้าอลองพญาทรงเห็นตวั อย่างจากครัง้ อดตี ใกล้ตัวพระองค์ ท่ีสุดก็น่าจะเป็นช่วงหลังรัชกาลพระเจ้าบุเรงนองท่ีบ้านเม่ืองวุ่นวาย ระสำ่�ระสาย พระสงฆอ์ งคเ์ จา้ ประพฤตผิ ิดวนิ ัยกันโจง่ คร่ึม ชาวบ้านประชา ชีกห็ ันเข้าหาภูตผิ ีตามแบบด้ังเดิม มีการฆ่าสัตวเ์ พ่ือบชู ายัญตามลัทธิความ เชอ่ื ต่างๆ แม้จะไม่ใช่สาเหตหุ ลกั แต่เรอื่ งพวกน้ีกม็ ีส่วนทำ�ให้อาณาจักรของ พระเจา้ สิบทศิ ลม่ สลายมาแลว้ พระองคม์ รี บั ส่ังให้ประกาศหา้ มฆ่าสัตว์เพอื่ บชู ายญั อันนี้เปน็ แนวคดิ ทีด่ ี เพราะเมอื งชเวโบกำ�ลังอยู่ในชว่ งต้งั เมือง ใหมๆ่ ต้องอาศยั การทำ�เกษตรกรรมเปน็ ส�ำ คัญเพอื่ กักตุนเสบยี ง อกี ท้ังยัง ตอ้ งสร้างผลผลิตใหม้ ากๆ เพอ่ื ไปคา้ ขาย การฆา่ สัตว์ก็เท่ากบั เป็นการลด แรงงานส�ำ หรับใช้ในภาคเกษตรกรรม ๖๗
ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว ในรัชสมัยของพระองค์ยังมีการจัดระบบเกษียณอายุราชการด้วย คอื ทรงอนญุ าตให้บรรดาผ้ทู ่อี ายุเกนิ ๖๐ ปี พน้ จากราชการ กลบั ไปอยูบ่ า้ น ได้ หรือใครท่ีจะรบั ราชการอยู่ตามเดิมพระองคก์ ค็ งทรงอนญุ าต แตก่ ารท่ี ทรงออกระเบยี บเชน่ น้เี ดาเอาว่าน่าจะมเี หตุผล อย่างแรกน่าจะมสี ว่ นช่วยใน การผลัดเปลย่ี นหมนุ เวยี นเอาคนเกง่ ๆ มารบั ราชการ พระองคค์ งมิไดท้ อด ทิ้งข้าราชการเก่าแก่ แต่การเปดิ รับคนรนุ่ ใหม่กส็ ำ�คัญไมแ่ พ้กัน อีกสาเหตุ หนงึ่ นา่ จะเปน็ การขอความรว่ มมอื แกมบงั คบั จากพระองค์ คือพระองค์รับสัง่ ว่าใครท่เี กษียณสามารถมารบั ทนุ ทรพั ย์กอ้ นหน่งึ ไดจ้ ากท้องพระคลงั คง ประมาณเงินบ�ำ นาญ แตข่ อให้ประพฤติตนอยู่ในศลี ในธรรม ถือศลี ห้า เข้า วัดเขา้ วา คือให้หนั เขา้ หาธรรมะทุกๆ คน เปน็ การส่งเสริมพระพุทธศาสนา ในทางหนงึ่ เหมือนกนั อย่าลืมวา่ บ้านเมอื งวุ่นวายมาหลายรัชกาล รบรากัน เลือดสาด คนรุน่ เกษียณนี่กค็ งผ่านชว่ งเวลาเหลา่ นม้ี าเยอะ การปลดระวาง แล้วหันหนา้ เขา้ วดั ก็นา่ จะเปน็ หนทางทีพ่ วกเขาเลอื กอยู่แลว้ แลว้ พระองค์ เองก็ทรงกระท�ำ เปน็ แบบอย่าง ดว้ ยการถือศลี และเสดจ็ ออกจารกิ แสวงบุญ หลายต่อหลายคร้ัง ******************** หลงั จากพกั รบฟ้ืนฟกู ำ�ลงั อยู่หนึ่งปี ทัพพมา่ กแ็ ข็งแกร่งเกรียงไกร พอท่จี ะขย้ำ�กรงุ องั วะได้แลว้ แต่ถงึ จะไมแ่ ขง็ แกรง่ เปรี้ยงปรา้ ง กรุงองั วะ ในตอนนนั้ กพ็ ร้อมจะแตกเปน็ กระบิอยแู่ ล้ว ทพั พมา่ ยกทพั เรือมาปิดทาง นำ�้ ไว้ เหล่าแม่ทัพนายกองมอญเหน็ ทา่ ไม่ดจี งึ หนีเอาตวั รอดกันเสยี หมด กองทัพของพระเจ้าอลองพญาจงึ เดนิ ยดึ เข้ากรุงองั วะสบายใจเฉบิ เอาชนะ แบบง่ายๆ เสียอยา่ งนน้ั พระองคป์ ระทบั อย่ทู ่ีน่ีชว่ งระยะเวลาหนึ่งเพ่อื จัด ระเบียบราชการในกรงุ องั วะเสียใหม่ และยังทรงฟืน้ ฟูปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม ปราสาทพระราชวังทไี่ ดร้ ับความเสยี หายจากสงคราม ทรงเล้ียงดรู าษฎรให้ ๖๘
ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว เป็นปกติสุขโดยไม่ได้แบ่งแยกเชอื้ ชาติ จากนั้นจึงโปรดเกล้าฯ ให้พระราชบุตร เจ้าชายสโดเมงสอ หรอื เจา้ ชายมงั ระ อยคู่ รองเมืององั วะสืบไป ย้อนกลับไปที่กรุงหงสาวดีอีกหนึ่งขั้วอำ�นาจท่ีเป็นใหญ่อยู่หลังส้ิน แผน่ ดินราชวงศต์ องอู พอทราบขา่ ววา่ แผน่ ดนิ ตอนเหนือตกเป็นของพระ เจา้ อลองพญาเสยี หมดแลว้ กใ็ จหาย พระเจา้ กรงุ หงสาวดเี กิดมานะคดิ จะ เอาเมอื งแปรคนื กลับมาเป็นของมอญอกี ครง้ั ด้วยว่าเป็นเมืองส�ำ คัญ ปี พ.ศ. ๒๒๙๘ พระเจา้ กรุงหงสาวดีจงึ แต่งทัพบกและทัพเรือบกุ เข้าตีเมอื งแปร ซ่ึง การมาครั้งนี้ทพั มอญพกเอาปืนไฟและปนื ใหญข่ องพวกฝร่งั มาด้วย สว่ นทาง พม่าน้ันพระเจ้าอลองพญาทรงแต่งทัพลงมารับศึกด้วยพระองค์เองเลยที เดยี ว ผลการรบน้นั ฝา่ ยพม่าได้รบั ชัยชนะ แตก่ ็เหน่อื ยแทบรากเลอื ดด้วย พษิ สงของปืนไฟและปนื ใหญข่ องพวกฝรัง่ หลงั การศกึ ครงั้ นที้ �ำ ให้พระเจ้า อลองพญาทรงเห็นถงึ ความสำ�คญั ของอาวธุ จากตะวนั ตกเหลา่ นมี้ าก ซึง่ จะ สง่ ผลตอ่ แผน่ ดินพมา่ ในเวลาต่อมา ทัพมอญทีพ่ ่ายแพ้ก็ถอยร่นกลับกรุงหงสาวดี ทัพพระเจา้ อลอง พญาก็เร่งตามติดมาต้ังค่ายอยู่บริเวณเมืองตะเกิงอันเป็นท่ีต้ังของพระมหา เจดยี ์ชเวดากอง พระองคจ์ ึงใช้โอกาสนส้ี กั การะพระมหาเจดีย์ อีกท้ังยังทรง ใช้กศุ โลบายเพ่อื สร้างขวัญกำ�ลงั ใจใหแ้ กเ่ หลา่ ทหาร ดว้ ยการเปล่ยี นชอื่ เมือง ตะเกงิ เสยี ใหมใ่ หเ้ ปน็ สิริมงคลเป็น เมืองแยงคอน หรือทีค่ นไทยเรยี กว่า เมืองร่างกงุ้ อนั มคี วามหมายว่า เมอื งทเี่ อาชัยเหนือศัตรหู รือเมืองท่ีไม่มีวัน ปราชัย ระหว่างน้ีฝ่ังชายแดนพม่าติดกับประเทศอินเดียเริ่มอยู่ไม่เป็นสุข จากการรกุ รานของชาวมณปี ุระ พระเจ้าอลองพญาจดั การข้ันเดด็ ขาดด้วย การยกทัพใหญไ่ ปลยุ ถึงถ่นิ มณีปรุ ะ ฆา่ ล้างบางและเผาเสยี วอดวายไปหลาย หม่บู า้ น เกณฑ์เชลยศึกมาเป็นขา้ ทาสจ�ำ นวนมาก รวมถงึ บณั ฑิตผูม้ คี วามรู้ ๖๙
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว กเ็ อามารับใช้ในราชส�ำ นกั เสียมากมาย ขณะเดียวกันก็ยงั มเี รื่องให้ปวดพระ เศียรจากการคดิ กบฎไมห่ ยดุ หย่อนของพวกมอญ กับความทเี่ อาแน่เอานอน ไม่ได้ของพวกองั กฤษกบั ฝร่งั เศสทีเ่ ดาไม่ออกวา่ จะเข้ากับฝ่ายไหนกนั แน่ หลงั เสรจ็ ศึกทช่ี ายแดน พระองคก์ เ็ ริ่มแผนถลม่ เมอื งสเิ รียมทมี่ ี ฝรง่ั เศสถือครองอยู่ สงครามชว่ งนั้นเริ่มหันมาใช้อาวธุ ของตะวนั ตกมากข้นึ ทัพของพระองค์ลอ้ มเมืองสิเรยี มอยูเ่ กอื บปีกย็ งั ตีเอาไมไ่ ด้ กระสุนดนิ ปนื ก็ เรมิ่ รอ่ ยหรอ องั กฤษท่ีเป็นพนั ธมิตรกันก็ไมส่ ่งกระสุนมาให้ พระองค์จงึ เร่มิ ระแวงว่าองั กฤษก�ำ ลงั มีแผนอะไรบางอย่างอยู่รึเปล่า อกี ทางหนง่ึ ก็เริม่ เกรง ว่ากองเรอื ฝรงั่ เศสจากอินเดียจะเขา้ มาชว่ ยเมอื งสิเรยี ม พระองคจ์ งึ ตัดสิน พระทัยต้งั หน่วยกล้าตายเล็กๆ ขึน้ มากองหน่งึ พลีชีพปนี กำ�แพงเมืองเข้าไป เปดิ ประตูเมอื งใหท้ ัพหลวงบุกเข้าไปใหไ้ ด้ หน่วยพลีชีพน้ีเมือ่ ตอนต้งั ขนึ้ วา่ กนั วา่ มีอยู่ ๙๓ นาย สุดทา้ ยเหลือรอดมาไม่ถึง ๒๐ นาย แต่ก็นบั ว่าคุม้ เพราะเพียงแค่ ๓ วันต่อมา เมอื งสิเรียมก็แตกกระจยุ ชว่ งทา้ ยของศกึ เมืองสิเรียม ทัพองั กฤษสง่ อาวุธและเครอ่ื งกระสุน มาทนั เวลาพอดี พระองคจ์ ึงคลายพระทยั และหันมาญาตดิ กี บั องั กฤษอีก ครัง้ หนึ่ง จนถงึ ท�ำ สนธิสญั ญาดา้ นการคา้ ด้วย ขอ้ ทสี่ �ำ คัญๆ คือ พระองค์ ยกแหลมนีเกรสและบางส่วนของเมืองพะสิมให้อังกฤษใช้เป็นที่ต้ังของบริษัท อนิ เดียตะวันออก พอ่ คา้ ของบรษิ ทั อนิ เดยี ตะวนั ออกสามารถทำ�การคา้ ไดท้ ั่ว พระราชอาณาจกั รโดยไมม่ ีขอ้ กดี กันใดๆ ซึ่งบริษทั อินเดียตะวันออกทว่ี า่ นี้ดู เผินๆ ก็เหมอื นบรษิ ัทท่ีทำ�การค้าทว่ั ไป เพยี งแตบ่ รษิ ัทนไ้ี ด้รับการสนบั สนนุ จากรัฐบาลองั กฤษ หรือพดู อีกนยั หน่ึงก็คือไม่ต่างอะไรกับรฐั บาลองั กฤษ นน่ั เอง ดงั นัน้ นอกเหนือจากการทำ�การคา้ แลว้ บรษิ ทั น้ียงั มอี ิทธิพลมากมาย ตอ่ ประเทศทเ่ี ขา้ ไปทำ�การคา้ ด้วย เสมือนเป็นการปทู างเพื่อสถาปนา จกั รวรรดิองั กฤษ (British Empire) ในทางกลบั กนั อังกฤษก็ตอ้ งตอบแทนพม่าดว้ ย ไดแ้ ก่ ต้องสง่ อาวุธ ๗๐
ประวัติศาสตรจ์ านเดียว และกระสุนดินปืนมาใหก้ องทัพพม่าทกุ ปี และตอ้ งสญั ญาวา่ จะไม่ให้การชว่ ย เหลือใดๆ ต่อประเทศที่เป็นศตั รูของพม่าในทกุ กรณี อันนี้เปน็ การแสดงออก อย่างแน่ชัดเลยว่าพม่าเลือกเป็นมิตรกับอังกฤษมากกว่าฝร่ังเศสที่ตอนน้ัน ก�ำ ลังขบั เค่ยี วกับครองความเป็นใหญ่ในภูมภิ าคนี้ พอปราบเมืองสิเรยี มได้ พระองคก์ เ็ ริ่มจะก�ำ ราบมอญให้เด็ดขาด เสียที แต่การกำ�ราบของพระองคไ์ มใ่ ช่เป็นการเข่นฆ่าให้อาสัญสิน้ เผา่ พันธ์ุ พระองคพ์ ยายามอย่างท่ีสดุ ที่จะซ้ือใจชาวมอญใหไ้ ด้ เพราะทรงทราบดวี ่า ไมอ่ าจปราบมอญได้ด้วยก�ำ ลัง ทัพหลวงของพระองค์ยกไปบุกเมอื งพะโค (หงสาววดี) พญาทละเจา้ เมืองพะโคสู้ไม่ได้กส็ ่งทมี พระสงฆอ์ อกมาขอต้ังโต๊ะ เจรจา แตก่ ย็ ังมอี กี ฝ่ายหน่งึ ที่ไมเ่ ห็นดว้ ยกบั พญาท ละ ถงึ ข้ันสู้รบกันเองและ ปลดพญาทละลงจากบัลลงั ก์ พระเจา้ อลองพญาตัดรำ�คาญดว้ ยการบุกเข้า ยึดเมืองมนั ซะเลย แต่พระองคก์ ย็ ังยดึ นโยบายเดมิ คอื การซ้อื ใจ โดยยกให้ ขุนนางมอญคงดูแลบ้านเมืองต่อไปตามเดิมดังนั้นเมืองพะโคตลอดจนแผ่น ดนิ พม่าทางตอนใตโ้ ดยส่วนใหญก่ ย็ อมอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์ คองบองเสยี เกอื บท้ังส้นิ เหตุการณ์ดูเหมือนจะสงบแต่ก็กลับวุ่นวายข้ึนมาอีกจากพวกมอญ (อกี แล้ว) คอื ไม่รจู้ ะอะไรกนั นักหนา น่าเหน็ ใจพระเจ้าอลองพญาขน้ึ มา เหมือนกันทีอ่ ุตส่าหว์ างใจให้ปกครองกันเอง เผลอหน่อยเดยี วกแ็ ว้งกัดเขา้ ให้ ซะอกี คอื พวกมอญทางใตล้ กุ ขน้ึ ก่อการกบฎอีกรอบหลังจากท่ีพระเจ้าอลอง พญาต้องว่ิงวุ่นไปปราบมณปี ุระทางชายแดนอินเดียอีกรอบ พวกมอญทาง ใต้เหน็ สบโอกาสจึงแขง็ เมืองไลฆ่ ่าฟันปล้นสะดมภ์ชาวพมา่ ทส่ี �ำ คัญคือพวก องั กฤษที่อยูแ่ ถบแหลมนเี กรสดันผสมโรงเอากะเขาด้วย ท้งั ท่รี ฐั บาลพม่า อุตส่าห์ยินยอมยกพ้ืนท่ีบางส่วนให้แล้วพระเจ้าอลองพญาทราบความจึงเร่ง ยกทัพลงมาจัดการ พอเห็นวา่ สูไ้ ม่ไดพ้ วกกบฎมอญกช็ ่งิ หนเี ขา้ มาไทยทันที แสบไหมล่ะ ๗๑
ประวตั ิศาสตร์จานเดียว นอกจากพระองค์จะทรงผิดหวังกับการทรยศของพวกมอญแล้ว พระองคย์ ังผดิ หวงั กับพฤตกิ รรมขององั กฤษท่ไี ม่รักษาสญั ญา จึงเปน็ เหตใุ ห้ พม่าอ้างสทิ ธใ์ิ นการยดึ เอาแหลมนเี กรสคนื มา ปญั หาคือพวกมอญท่หี นเี ข้ามาพงึ่ ไทย ทางเราเองก็ยินดีรบั เพราะ เห็นว่าพมา่ เร่มิ จะเข้มแข็งขึ้นทุกที ถ้าปลอ่ ยใหพ้ มา่ กบั มอญรว่ มมอื กนั ประเดย๋ี วไทยจะเป็นอันตราย ฝ่ังพม่ากม็ องว่าไทยก�ำ ลงั เขา้ มายุ่มยา่ มกับ เรือ่ งภายในของพมา่ เพราะตงั้ แตท่ ่ีไทยเปน็ เอกราช พม่ากม็ องว่าไทยนี่ แหละเป็นฝา่ ยท่ีเสีย้ มใหเ้ กิดการกบฎในพม่าอยู่บอ่ ยๆ ท้ังจากมอญหรอื ไทยใหญ่ ประกอบกบั ท่ีพระเจา้ อลองพญาก็มีแผนทีจ่ ะยดึ เอากรงุ ศรอี ยธุ ยา กลบั มาอีกครั้งอย่แู ลว้ จึงเรมิ่ แผนการท�ำ ศกึ กับไทยอีกรอบ แต่นา่ เสียดายท่ี พระองค์ไม่มีโอกาสได้เหยียบกรุงศรีอยุธยาในฐานะเมืองขึ้นเหมือนอย่างที่ ตัง้ พระทยั ไว้ ******************** ขณะท่ตี ระเตรยี มทพั หวงั จะบกุ กรุงศรอี ยธุ ยา พระเจา้ อลองพญา ทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคตอย่างปจั จุบันทันดว่ น ในขณะที่พระ ชนมายุเพียง ๔๖ พรรษา ทรงครองราชย์ได้เพยี ง ๘ ปเี ทา่ นั้น (บางต�ำ ราก็วา่ พระองคป์ ระสบอุบัติเหตุระหวา่ งจัดทัพทำ�ศกึ กบั ไทย) แต่ ๘ ปแี หง่ การครองราชย์ของพระองค์ก็สามารถท�ำ ใหพ้ มา่ กลบั มาเป็นมหาอำ�นาจไดอ้ กี คร้ัง นโยบายทจี่ ะยึดกรุงศรีอยุธยายงั คงดำ�เนินตอ่ ไปในรชั สมัย พระเจ้านองดาวกยี (พระเจ้ามังลอก) ผ้เู ปน็ รชั ทายาท แต่กท็ รง ครองราชย์ไดเ้ พยี งสามปกี เ็ สด็จสวรรคต พระเจ้าฉนิ บูชิน หรือ พระเจา้ มงั ระ ผเู้ ปน็ พระอนชุ าก็ขึ้นครองราชย์สบื ตอ่ มา และเร่ิมดำ�เนินการโจมตไี ทยอย่าง จริงจัง ๗๒
ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว กรุงศรีอุยธยาในขณะนั้นตรงกบั สมัยของ พระเจ้าเอกทัศ สถานภาพ ในราชส�ำ นักไมค่ อ่ ยจะราบร่นื นัก บา้ นเมอื งค่อนขา้ งจะวนุ่ วาย ซึง่ เป็นภาพ ลกั ษณ์ทีเ่ รามกั จะได้ยินได้เรยี นกนั มา แถมยงั มีบางกระแสที่ระบุว่าพระองค์ เป็นกษตั ริย์ทีค่ อ่ นขา้ งจะอ่อนแอ ไม่ทรงมลี กั ษณะของจอมทพั สาเหตทุ ่แี ท้ อาจจะไม่ใช่มาจากพระองค์เพยี งฝา่ ยเดยี ว จะโทษก็ตอ้ งโทษกันทง้ั หมดวา่ กรงุ ศรีอยธุ ยาไม่ไดเ้ ขม้ แขง็ ดังแตก่ ่อน การท่ีเรารักสงบก็สง่ ผลกระทบต่อ ความมั่นคงไดเ้ หมอื นกัน การเส่ือมของอาณาจกั รกเ็ ปน็ เรือ่ งปกตสิ ามัญ ผ้ทู ่ี เขม้ แข็งกวา่ ยอ่ มเป็นฝ่ายชนะ เราจะไปโทษพระองค์ข้างเดยี วก็เหน็ จะไมถ่ กู ต้องนกั พม่านัน้ เขมน่ ไทยไว้นานแล้วว่าเปน็ ตน้ เหตขุ องกลุ่มกบฎตา่ งๆ ยิ่ง เม่ือเชียงใหม่ก่อกบฎโดยมีกองทัพจากอยุธยามาคอยสนับสนุนก็ย่ิงชี้ให้ เห็นชดั เจนว่าอยธุ ยามีเอย่ี ว พระเจ้ามังระจงึ ยกทพั ไปปราบและเอาชนะ ได้งา่ ยดาย แลว้ ยงั ทรงตตี ่อไปถึงล้านช้างเพ่อื ตัดก�ำ ลงั มิใหล้ า้ นช้างมาชว่ ย เหลืออยุธยาได้ แม้วา่ ฝ่ายไทยจะสนับสนุนให้เมืองทวายกบฎเพอ่ื ใหท้ พั พม่า พะวกั พะวงกไ็ ม่เป็นผล กบฎทวายถกู เกบ็ อย่างงา่ ยๆ คราวน้กี รงุ ศรีอยุธยาก็ เร่ิมจะส่นั คลอนแล้ว แม่ทัพผู้ชาญการศึกของฝั่งพม่าท่ีต้องยกมากล่าวถึงและมีส่วน ส�ำ คญั ในการพิชติ กรุงศรอี ยธุ ยามีอยู่สองทา่ น คอื มังมหานรธา และ เน เมียวสีหบดี (สีหปตี) มังมหานรธานน้ั เป็นแมท่ พั ใหญ่ตะลุยมาจากทางฝัง่ ใต้ ส่วนทางเหนือนัน้ เป็นหน้าทข่ี องเนเมียวสีหบดี แตม่ งั มหานรธามิไดท้ นั อย่ดู ู ชัยชนะเพราะถงึ แก่กรรมลงเสยี กอ่ น ทั้งสองทัพพมา่ เขา้ โอบลอ้ มกรงุ ศรีอยธุ ยาไว้นานกวา่ ๑๔ เดอื น จงึ ได้ชัยชนะ ตรงนีแ้ สดงใหเ้ หน็ ว่าใชว่ ่าไทยจะไม่สู้ เพียงแต่แผนการรับศกึ อาจ จะผดิ พลาด เพราะคร้งั นีพ้ ม่าไมไ่ ด้บกุ ดุ่มๆ เข้ามาทางดา่ นเจดยี ส์ ามองค์ เหมอื นแตก่ ่อน แต่เขา้ มาทางตะนาวศรแี ละจากฝง่ั เหนือ ไทยเองคงต้ังรบั ๗๓
ประวัตศิ าสตร์จานเดียว ไม่ทนั คร้ังจะจัดทพั ไปยันศึกก็สไู้ ม่ได้ พอตัง้ มั่นในเมืองกส็ ูไ้ มไ่ หว สุดท้ายกรุง กแ็ ตก การพ่ายแพค้ รั้งนไ้ี มอ่ าจโทษใครได้เลย เราพ่ายศึกเพราะเราไม่เข้ม แขง็ พอ เราขัดแย้งกนั เอง เราเหน็ แก่สว่ นตน เราไม่รักสามคั คีกนั การเสียกรุง ครง้ั ทีส่ องนี้คนไทยเสียใจยง่ิ กวา่ ครั้งแรก ว่ากนั ตามตรงว่าทพั พม่าครง้ั นีไ้ ม่ ไดย้ ่ิงใหญเ่ หมือนในยุคพระเจ้าบเุ รงนอง เราแพเ้ พราะเราเองมากกว่าจะแพ้ เพราะพมา่ แถมเรายงั ถูกพม่าถล่มเสียจนกรุงศรอี ยธุ ยาท่ีเป็นมหานครอันยิ่ง ใหญเ่ หลอื แตซ่ าก เดชะบุญทีเ่ รายังมีพระยาตากท่รี วบรวมไพร่พลลี้ภยั จาก กรงุ ศรอี ยุธยา และกลบั มาชิงเอาเอกราชของเราคนื ไดใ้ นภายหลัง ๗๔
เสยี ทใี หอ้ ังกฤษ หลงั จากท่พี มา่ ถล่มกรงุ ศรอี ยธุ ยาจนราบเรยี บ กท็ ำ�ใหพ้ ม่ามี อ�ำ นาจทางทหารและการเมอื งเพมิ่ มากขน้ึ และยังลดจ�ำ นวนศตั รลู งไปอกี หนงึ่ แตก่ ก็ ลับเพ่มิ ศัตรูใหม่ขน้ึ มาอีกหนึ่งเช่นกัน แถมยงั เปน็ ศตั รขู นาดมหมึ า เสยี ด้วย นั่นคือกองทพั จีน ก่อนทจี่ ะยึดกรุงศรีอยุธยาเลก็ น้อย พมา่ มอี ันต้องเปดิ ศกึ กบั จีน เป็น เพราะพม่ากำ�ลังแผ่ขยายอิทธิพลมายุ่มย่ามในดินแดนล้านช้างที่พี่จีนเขาก็ เล็งๆ อยู่ เน่อื งจากพมา่ ทะลง่ึ ตะลุยเข้าไปยดึ บรเิ วณท่ีเป็นรอยต่อระหวา่ ง จีนกับลา้ นช้าง ทำ�ใหจ้ ีนไม่พอใจต้องยกทัพลงมาประชดิ เชียงตุงของไทย ใหญท่ ตี่ อนนั้นเจา้ ไทยใหญอ่ ยู่ขา้ งพมา่ อีกสาเหตหุ นง่ึ ที่จนี ใชอ้ ้างในการ ยกทัพมาคือเกิดกรณีพิพาทระหว่างพ่อค้าชาวจีนกับชาวพม่าในเชียงตุงจน เปน็ เหตุใหพ้ ่อคา้ จนี เสยี ชวี ิต ทางจีนตอ้ งการใหส้ ่งผรู้ า้ ยข้ามแดนมาให้จีน ตดั สนิ ทางฝ่ายเชยี งตุงไมย่ อมเพราะเห็นวา่ จะหมน่ิ กนั เกินไป อีกทั้งทาง เชียงตงุ ก็ยอมรบั และใหค้ วามเป็นธรรมกับผ้เู สียหายอยแู่ ลว้ หากยอมสง่ ตัว ไปใหก้ เ็ ทา่ กับว่าจนี มอี ำ�นาจเหนือเชยี งตุง ซึ่งรัฐบาลกลางคงไม่ยอมแนน่ อน สุดทา้ ยกไ็ ด้รบกันจนได้ พระเจา้ มงั ระสง่ กองทพั มาสมทบกบั ทัพเชยี งตุงและ เอาชัยเหนือทพั จนี ได้ และท�ำ ให้อุปราชมณฑลยนู านของจีนต้องจบชีวิตลง ๗๕
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว ในศึกคร้งั นี้ ดังน้ันพม่าจึงต้องทำ�ศึกต่อเนื่องหลังจากเสร็จศึกกรุงศรีอยุธยา แล้ว พระเจา้ มังระก็ตอ้ งแบง่ ทัพไปรบั มอื ทพั จนี ท้งั สองทัพรบกันไปมาผลดั กันไดเ้ ปรยี บเสียเปรยี บอย่หู ลายหน จนในปี พ.ศ. ๒๓๑๒ จักรพรรดจิ ีนทุ่ม สดุ กำ�ลงั เกณฑ์ไพรพ่ ลโยธาไดม้ ากกวา่ ๖ หมืน่ บุกลงมาพรอ้ มกันสามทาง หมายจะขยี้พม่าให้เละให้ได้ แต่จนแล้วจนรอดกไ็ มอ่ าจเอาชนะทัพพม่าได้ เสียที ศึกระหวา่ งจีนกับพมา่ กินเวลายาวนานกวา่ ๕ ปี สูญเสียรี้พลและงบ ประมาณกนั มากมายท้ังสองฝ่ายโดยทไ่ี ม่มที ที ่าว่าจะมีใครกำ�ชัยไดเ้ ดด็ ขาด ช่วงท้ายของสงครามกลบั เปน็ ฝ่ายจนี ทเ่ี ริ่มเสียเปรียบ กองทพั จนี ถกู พม่าล้อมเอาไว้และมที ีทา่ จะพลาดพลั้ง จกั รพรรดจิ นี มรี บั สงั่ ใหถ้ อนทพั เลิกราต่อกันโดยอา้ งวา่ จากความผิดแตเ่ ดิมท่ที างพม่าไดก้ ่อข้นึ นน้ั พระองค์ เหน็ ควรทจ่ี ะให้อภัย ประมาณวา่ ท่ีถอนทัพกลับนี่ไม่ใชเ่ พราะแพห้ รอกนะ แต่ จนี เป็นฝ่ายยกโทษให้พมา่ ตา่ งหาก มาแบบน้ีฝง่ั พมา่ กไ็ ม่ยอม มาตเู่ อาแบบน้ี หน้าไมอ่ าย แม่ทพั นายกองฝ่ังพมา่ กฮ็ ึ่มๆ จะรบต่อเสยี ให้ได้ จนแมท่ ัพอาวุโสอยา่ ง มหาสีหสุระ ให้ค�ำ แนะนำ�ว่าเหน็ ควรสงบศกึ กบั จนี เสยี เพราะรบกนั มาช้านานไมม่ ใี ครเพลย่ี งพลำ�้ ทหารตายกันเป็นเบอื ราษฎรไดร้ ับความทุกข์ยากกนั ท้งั สองแผน่ ดนิ การค้าขายทีเ่ คยมีต่อกนั กย็ ุติ ลง เศรษฐกิจของชาติฉิบหายกันไปหมด เลิกแล้วตอ่ กนั เป็นมติ รกันดงั เดิมจะ ส่งผลดที ส่ี ดุ ในตอนแรกน้นั แม่ทัพพม่าไม่เอาด้วย แต่มหาสีหสรุ ะอาศัยอำ�นาจ ท่ีได้รับจากพระเจ้ามังระในการดำ�เนินการตามแต่เห็นสมควรจัดการทำ�สนธิ สญั ญากับจีนเพอ่ื ยตุ สิ งคราม โดยระบุว่าท้ังสองฝ่ายจะยอมส่งเชลยสงคราม ให้แก่กัน จะรกั ษาทม่ี น่ั ของตัวเอง จนี ตอ้ งยอมรับในอธิปไตยของพมา่ บน แผน่ ดนิ ไทยใหญ่ ฝ่ายจนี ที่ก�ำ ลังเสียเปรียบรบี ควา้ สญั ญาลงนามทนั ที แลว้ ยกทพั กลบั ๗๖
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว การตดั สนิ ใจคร้งั น้ที ำ�เอาพระเจา้ มงั ระเคืองพระทัยไมน่ ้อย เพราะ ทรงเห็นว่าพม่าก�ำ ลงั ได้เปรยี บ น่าจะเอาชนะกองทพั จนี ไดโ้ ดยงา่ ย ฝา่ ยจีน เมือ่ ถอนทพั กลบั กล็ ะเลยสัญญา ไมส่ ่งเชลยคืนพม่า ย่ิงทำ�ให้พระเจา้ มังระ พิโรธหนกั ขน้ึ ก็เลยไมส่ ่งเชลยจนี คืนเช่นกัน โชคดที มี่ หาสหี สุระไม่โดนพระ อาญาหนักเพราะเกิดกบฎทมี่ ณีปรุ ะขน้ึ เสียก่อน จึงตอ้ งเรง่ ยกทัพไปปราบ จึงถอื เปน็ การไถโ่ ทษไปในที สงสัยกนั ใช่ไหมวา่ มหาสีหสรุ ะท่านน้เี ปน็ ใคร ท�ำ ไมแม่ทพั นายกอง ถึงเกรงอกเกรงใจ และยงั ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยให้ตดั สินใจการ ใหญเ่ สียอีก คนไทยค้นุ เคยกบั ทา่ นในชื่อ อะแซหวุ่นกี้ แมท่ ัพใหญ่ทีม่ สี ว่ น ส�ำ คัญในการถล่มกรงุ ศรอี ยธุ ยานน่ั ไง แม่ทพั มหาสีหสุระ สร้างผลงานเอาไวม้ ากเม่อื ครง้ั ตกี รุงศรีอยธุ ยา จนเมือ่ ท�ำ ศกึ กบั จนี กย็ ังมบี ทบาทสำ�คัญ ทำ�ให้แมท่ พั คนอน่ื ๆ เกรงใจไม่นอ้ ย รวมถงึ พระเจ้ามงั ระด้วย การปราบมณปี ุระหรือทพ่ี ม่าเรียกวา่ เมืองกระแซ แม่ทัพผนู้ ้กี ็คอื หวั เร่ียวหวั แรงคนสำ�คญั เมอ่ื เสรจ็ ศึกจึงไดร้ ับการยกใหเ้ ปน็ กระแซหรอื อะแซหวนุ่ ก้ี หมายถึงเจ้าเมอื งกระแซนน่ั เอง ******************** อาจเป็นเพราะพม่าต้องหันไปทำ�ศึกกับจีนทำ�ให้ไทยสามารถฟื้น ตัวไดร้ วดเรว็ อาจเป็นเพราะพระปรีชาสามารถของ สมเดจ็ พระเจ้าตากสิน มหาราช หรอื อาจเป็นเพราะทพั พม่าไมไ่ ดแ้ ขง็ แกร่งจรงิ จงั เหมอื นเมื่อครั้ง พระเจา้ บเุ รงนอง ทำ�ให้ไทยกลับสู่เอกราชไดภ้ ายในระยะเวลาไมถ่ งึ หนง่ึ ปี สมเด็จพระเจา้ ตากสิน กส็ ถาปนากรงุ ธนบุรเี ปน็ ราชธานี ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ โดยที่พม่ากไ็ มไ่ ดห้ นั มาสนใจมากนักเพราะติดพันศกึ กับจนี น่นั เอง ไทยเราจึงอาจต้องขอบคุณจีนอยู่เหมือนกันที่หาเร่ืองเข้าตีพม่า ๗๗
ประวตั ศิ าสตร์จานเดียว ทำ�ให้พม่าต้องพะวงสองทาง แต่อกี ทางหน่ึงก็ต้องขอบคุณพม่าเหมือนกัน เพราะถา้ พมา่ ไม่ยนั จนี เอาไว้ ไม่แน่วา่ เอเชยี อาคเนยอ์ าจจะเสรจ็ จนี ก็ได้เช่น กัน จากสนธสิ ญั ญาสงบศึกทีม่ หาสีหสุระท�ำ กบั จนี คร้งั นน้ั กอ่ ใหเ้ กิด ความแตกแยกในหมแู่ มท่ พั นายกองและเสนาบดี การตัดสนิ ใจของมหา สีหสุระอาจดูเหมอื นเปน็ การขม่ พระเจา้ มงั ระอยใู่ นที จนเมอื่ พระเจา้ มังระ ประกาศยกให้ เจา้ ชายสนิ คูเปน็ รชั ทายาท กย็ ่ิงท�ำ ใหอ้ ิทธิพลของมหาสหี สุ ระเดน่ ชดั ขน้ึ ไปอกี เนือ่ งจากเปน็ พ่อตาของเจ้าชายรัชทายาท การเขม่นกัน ในกองทัพและราชสำ�นักทำ�ให้พวกมอญทางตอนใต้ลุกข้ึนมากบฎจากการ ปลุกป่นั ของมอญในไทย แม้วา่ จะถกู ปราบลงไดใ้ นเวลารวดเรว็ แต่ก็ทำ�ให้ ชาวมอญหลายพนั คนหนไี ปรว่ มกับพระเจา้ ตากสินทก่ี รงุ ธนบรุ ี และตงั้ หลัก ปักฐานเป็นชาวมอญในไทยมาจนถึงปจั จบุ นั ปี พ.ศ. ๒๓๑๘ หลงั เสรจ็ ศึกจีนและมณีปุระ พระเจ้ามงั ระทรงแตง่ ตั้งในมหาสีหสรุ ะเปน็ แมท่ พั เข้ามาตีกรงุ ธนบุรี แต่ครัง้ นท้ี พั พมา่ ไม่คอ่ ยเข้ม แขง็ และกระตอื รือรน้ เท่าใดนกั อาจเพราะความขัดแยง้ กันเองประการหนึ่ง และขา่ วลอื ถงึ พระสขุ ภาพของพระเจา้ มังระอกี ประการหนงึ่ และทแี่ น่นอน คอื ฝ่ายไทยไม่ได้ออ่ นแอดงั แต่ก่อน ด้วยเรามแี ม่ทัพผู้แขง็ แกรง่ คือ พระยา จกั รี ในการพักรบครงั้ หนง่ึ มหาสหี สุระนัดหมายขอพบพระยาจักรีเพ่ือช่ืนชม ความสามารถในฐานชายชาติทหาร พระยาจกั รเี ชื่อมนั่ ในน้ำ�ใสใจจรงิ ของ มหาสีหสุระวา่ จะไม่มีกลลวง มหาสหี สุระดเ้ อ่ยปากแสดงความช่นื ชมว่า ทา่ น นลี้ ักษณะสมเปน็ กษตั รยิ ์ ต่อไปภายหนา้ ทา่ นจะได้เป็นเจ้าแผน่ ดิน และก็เป็น ด่ังคำ�ของแม่ทัพพม่าเม่ือต่อมาพระยาจักรีได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ข้ึน และปราบดาภิเษกขึน้ เป็นกษตั รยิ ์ทรงพระนาม พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอด ฟา้ จุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แหง่ ราชวงศจ์ ักรี ศึกกบั ไทยยังไม่ไปถึงไหน พระเจา้ มงั ระกเ็ สด็จสวรรคต แม่ทัพใหญ่ ๗๘
ประวตั ศิ าสตร์จานเดยี ว มหาสีหสุระจึงต้องเลิกทัพกลับเพ่ือช่วยคำ้�ชูราชบัลลังก์ของรัชทายาทเจ้า ชายสินคูซ่งึ เปน็ บุตรเขย น่าเสยี ดายทพี่ ระเจ้าสินคูครองบัลลังกไ์ ด้เพียงสิบปี กถ็ กู ลอบปลงพระชนม์ ในระหว่างนน้ั พระองคไ์ ด้ยุบกองทหารไปหลายกอง ดว้ ยพยายามเอาใจราษฎรท่ีก�ำ ลังเบ่ือหนา่ ยกบั สงคราม สว่ นพระองคเ์ องก็ กลับลมุ่ หลงอยู่กับความสำ�ราญ ทำ�ใหเ้ กิดการกบฎข้นึ ภายในราชส�ำ นกั ความวนุ่ วายภายในราชส�ำ นักพมา่ เกิดข้นึ เพียงระยะเวลาหน่ึง จน สงบราบคาบลงเม่ือ พระเจา้ โพธพิ ญา หรือ พระเจ้าปดุง ขน้ึ ครองราชย์ใน ปี พ.ศ. ๒๓๒๔ พระองค์ทรงแตต่ ั้งในมหาสหี สุระด�ำ รงตำ�แหน่งมหาเสนาบดี ท้ังทที่ รงทราบดีวา่ แม่ทพั ผเู้ ฒา่ มิใคร่จะลงรอยกบั พระองคน์ ัก ตอ่ มามหาสหี สุระจึงวางแผนล้มราชบัลลังก์โดยพยายามยกเอาเจ้านายอีกพระองค์หน่ึง ขึ้นครองราชยแ์ ทน แตแ่ ผนการกล็ ้มเหลว คราวนีพ้ ระเจ้าปดงุ ตดั สนิ พระทัย ส่ังประหารแม่ทพั ผ้เู ฒ่าเสีย และจดั ระบบระเบยี บภายในราชสำ�นกั คร้ังใหญ่ เพ่อื ขจัดอทิ ธิพลเก่าๆ ใหห้ มดสิ้นไป พระเจ้าปดุงหมายพระทัยที่จะรวบอำ�นาจการปกครองไว้ที่ส่วน กลาง ทรงริดรอนอำ�นาจทางการทหารจากแม่ทัพทม่ี ีทีทา่ จะกระดา้ ง กระเดอื่ ง ไมเ่ พยี งแตก่ ารทหารเทา่ นั้น พระองค์ยังเขา้ มามีบทบาทตอ่ การ ปกครองของสงฆ์อกี ด้วย ทรงรดิ อ�ำ นาจของสมเดจ็ พระสังฆราช โดยต้ัง สงั ฆสภาขนึ้ มาเพื่อมิใหอ้ �ำ นาจเดด็ ขาดอย่ทู สี่ งั ฆราชเพยี งผเู้ ดียว ในช่วงต้นรัชกาลพระเจ้าปดุงตอ้ งเผชญิ กับกลมุ่ กบฎหลายครง้ั ท่ี หนักสุดเห็นจะเป็นฝีมือของมหาสีหสรุ ะนล่ี ะ่ แตก่ ย็ งั มเี สย้ี นหนามทมิ่ แทงให้ ระคายเคอื งพระองค์อย่เู นืองๆ การปราบปรามของพระองคน์ ัน้ จัดว่าเข้าข่าย ควรเซ็นเซอร์ เพราะเลือดนองแดงฉานไปทัว่ พระนครกรงุ องั วะ แมพ้ ระองค์ เองจะมีนิสัยเด็ดขาดเพียงใดก็ยังหดหู่พระทัยอยไู่ มน่ อ้ ย เม่ือเหตุการณ์ สงบดแี ล้วจงึ มีรับส่ังให้ย้ายราชธานีใหม่เสยี เลยเป็นการเอาเคล็ด บา้ งกว็ า่ เปน็ การหนกี ลุม่ กบฎซะใหส้ ิน้ เรื่องสนิ้ ราว โดยทรงต้งั เมอื งอมรปรุ ะขนึ้ เป็น ๗๙
ประวัตศิ าสตร์จานเดยี ว ราชธานีแหง่ ใหม่ในปี พ.ศ. ๒๓๒๖ ******************** ศกึ กับไทยยงั ไม่จบลงง่ายๆ หลงั จากท่พี ระเจา้ ปดงุ ขึ้นครองราชย์ กส็ ามารถพิชิตเมอื งยะไข่ได้ การกำ�ชยั เหนือยะไข่นไี้ ม่ธรรมดา เพราะแต่ ไหนแตไ่ รมา ยะไข่คอื ของกนิ ยากส�ำ หรับพม่า พมา่ ไม่เคยรวบเอายะไข่ไว้ใน กำ�มอื ได้เดด็ ขาดเลยสักคร้งั การชนะในศึกยะไข่จงึ ทำ�ใหพ้ ระเจา้ ปดงุ มั่นใจ มากจนถึงหมายพระทัยจะยึดเอากรุงรัตนโกสินทร์เสียให้ได้ในคราวเดียวกัน เพราะหลงั จากสิ้นรชั กาลพระเจา้ มงั ระแล้ว พมา่ กแ็ ทบจะไม่ได้ท�ำ ศกึ กับไทย อกี เลย ปี พ.ศ. ๒๓๒๘ พระเจา้ ปดุงทรงแตง่ ทัพขนาดมหมึ าหวงั จะเหยียบ กรุงรตั นโกสินทร์ให้พนิ าศเหมือนเมื่อครั้งเผากรุงศรีอยุธยา แตค่ ราวนฝ้ี า่ ย ไทยไม่ไดเ้ คี้ยวงา่ ยเหมอื นก่อน พระองคจ์ ึงหมายจะพิชิตชัยด้วยกำ�ลงั ไพรพ่ ล ทรงจัดทัพบุกเขา้ มาพรอ้ มกนั ถงึ ๙ ทพั ๕ เสน้ ทาง เปน็ ศึกคร้ังใหญ่ทสี่ ดุ เทา่ ท่ไี ทยกบั พม่ารบกัน เป็นมหายุทธท่ีคนไทยรู้จักกันในดีในชือ่ “สงคราม ๙ ทพั ” กองทพั ของพระเจ้าปดงุ ครัง้ นี้ไพร่พลรวมกนั กวา่ ๑ แสน ๕ หมื่น นาย ขา้ งฝา่ ยไทยมกี �ำ ลงั น้อยกว่าถงึ คร่ึงหนึ่ง ทพั ขนาดมหึมาของพม่าอาจดู น่าเกรงขามแต่กม็ ขี อ้ บกพร่องในเรอื่ งของการจัดการ อย่าลืมวา่ สมัยโนน้ ยัง ไม่มมี ือถือนะครบั ต้องใช้ม้าเรว็ สง่ ใบบอกไปตามค่ายต่างๆ ไหนจะเสบยี ง กรงั ไหนจะระบบสาธารณสุข ไหนจะระบบการสอื่ สาร ผคู้ นมากมายขนาด นย้ี อ่ มเกดิ ปญั หาแนน่ อน อีกทัง้ ข้างไทยทแ่ี ม้จะมกี ำ�ลงั พลน้อยกว่าแตท่ วา่ กแ็ ขง็ แกร่ง รวมใจเปน็ หนง่ึ เดยี ว ไม่ยอมแพ้พม่าเป็นครง้ั ท่สี ามแนน่ อน ทัพ พม่าแม้จะมมี ากสักปานใดก็ไมอ่ าจเอาชนะได้ แถมยงั ตอ้ งถูกตแี ตกเสยี ค่าย ๘๐
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดียว ไปหลายแหง่ งานน้ที �ำ เอาพระเจา้ ปดงุ เสยี ฟอรม์ และเสยี หนา้ ไปมากโข อีกสองปีถัดมาพระองค์ทรงแต่งทัพเข้ามาตีกรุงรัตนโกสินทร์อีก ครัง้ หวงั จะล้างอาย แตก่ ็จบลงดว้ ยความพ่ายแพอ้ กี ครา ยงิ่ ท�ำ เอาเสอ่ื มเสีย พระเกียรติมากขึน้ ไปอีก ผิดกบั ฝ่ังไทยท่ีเป็นฝา่ ยตงั้ รบั อยู่ในอาณาจกั ร แต่ กลับเข้มแข็งและทวีอิทธิพลขจรขจายไปทั้งฝ่ังเหนือถึงเชียงใหม่และทางใต้ ถึงตะนาวศรี นอกจากกองทพั ทีเ่ ขม้ แขง็ และมีพระมหากษัตรยิ ์ท่ีทรงพระ ปรชี าแลว้ สรรพอาวุธของไทยกย็ งั ลำ้�หน้าและมีมากกวา่ พมา่ หลายเทา่ ด้วย เพราะไทยมีสัมพนั ธอ์ ันดกี บั ชาติตะวันตก สามารถตดิ ต่อซอื้ ขายอาวธุ ได้ อยา่ งสะดวก ตา่ งจากพม่าทท่ี ำ�การค้าอยูแ่ ตก่ ับอังกฤษ นอกจากจะเสียทีเสีย หนา้ ทที่ �ำ ศกึ แพไ้ ทยแลว้ จากการเกณฑ์ไพรพ่ ลมหาศาลเชน่ นท้ี �ำ ให้เมอื งยะ ไข่ทเี่ พิ่งจะตเี อามาได้เริ่มมีการก่อหวอดข้นึ ชาวยะไขไ่ ม่พอใจทถี่ กู เกณฑอ์ อก ไปรบ กย็ ิง่ ท�ำ ให้พระองค์ต้องพะวักพะวงเกรงวา่ ยะไขจ่ ะก่อกบฎ และแล้วในปี พ.ศ. ๒๓๓๗ ยะไขก่ ็กบฎจนได้ แม้ว่ารฐั บาลกลาง จะสามารถปราบปรามลงได้ แต่ปญั หาไม่ได้จบแค่ตรงน้ัน ผู้น�ำ กบฎพร้อม พรรคพวกหลบหนีข้ามพรมแดนเข้าไปในบริเวณชายแดนอินเดียท่ีอยู่ในการ ปกครองของอังกฤษ ทัพพมา่ จึงบกุ เข้าไปหวงั จะกำ�ราบเสยี ใหส้ ้นิ แตก่ ็ถูก องั กฤษตอบโตเ้ พราะถือวา่ พมา่ ก�ำ ลังรุกลำ�้ ดินแดน โชคดที ่ีเหตุการณ์จบลง ง่ายดายเกินคาด องั กฤษยอมสง่ ผ้รู า้ ยข้ามแดนคืนไปให้พม่า อาจเปน็ เพราะ ว่ากลุ่มกบฎเป็นเพียงนายทหาร มใิ ช่เจ้านายหรอื เชอ้ื พระวงศ์ แตเ่ หตกุ ารณ์ คร้ังนี้ก็ทำ�ให้สถานการณ์บริเวณชายแดนระหว่างสองประเทศไม่ค่อยราบร่ืน นัก ในตอนน้ันอังกฤษครอบครองอินเดยี กบั ลงั กาไปแล้ว และกเ็ ร่มิ จะ เหลๆ่ มาทางพม่า ความจริงอังกฤษเขา้ มาในพม่านานแลว้ ต้งั แตส่ มัยราชวงศ์ ตองอู แต่ช่วงน้ันโปรตเุ กสกบั ฮอลลันดาก�ำ ลงั เบ่งเต็มที่ จนเมือ่ ท้ังสองชาติ เริ่มโรยราลง องั กฤษก็แอบดใี จว่าถงึ คราวจะไดแ้ ผ่อิทธิพลบนดินแดนแถบนี้ ๘๑
ประวัตศิ าสตร์จานเดียว แต่ก็ดนั มีก้างช้นิ ใหญ่ขวางอยู่ น่นั คอื ฝร่งั เศส พม่ากับอังกฤษนั้นประเดี๋ยวก็ดีกันประเด๋ียวก็ทะเลาะกันมาช้านาน ในสมยั พระเจ้าอลองพญาน้ันถึงกบั มีการทำ�สัญญาค้าขายระหวา่ งกันในนาม รฐั บาลท้งั สองชาติ ถงึ ข้นั ท่ที รงยกพื้นท่ีบางสว่ นของแหลมนีเกรสและเมือง พะสิมใหอ้ ังกฤษใช้เป็นทต่ี ง้ั บรษิ ทั อนิ เดยี ตะวันออกและใช้เปน็ อตู่ อ่ เรอื แต่ก็ ไมว่ ายมีเหตใุ หท้ ะเลาะกนั อีก แล้วกด็ กี ันอกี สลับกันไปมาเช่นน้ี อังกฤษกับฝร่งั เศสเลน่ ชิงเชิงกนั อยูม่ ใิ ช่เฉพาะบนแผน่ ดินพมา่ ทงั้ สองชาตกิ ย็ งั แยง่ ความเป็นใหญ่ในภาคพนื้ ยโุ รปด้วยเช่นกัน องั กฤษนนั้ กลัว วา่ พม่าจะเข้าข้างฝรัง่ เศสและอาจจะใชพ้ มา่ เปน็ อู่ต่อเรอื มารบกบั ตน องั กฤษ จงึ สง่ คณะทูตมาเจรจาการค้ากับราชสำ�นกั พมา่ เพือ่ ร้ือฟืน้ ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสองชาติอาจจะไปได้ด้วยดีหากไม่เป็นเพราะ ความแตกต่างของวัฒนธรรม ราชส�ำ นักพม่ากไ็ มใ่ คร่จะชอบใจวฒั นธรรม อยา่ งตะวนั ตก สว่ นผ้แู ทนจากองั กฤษกไ็ ม่ค่อยพอใจกับประเพณขี องพม่า แต่ท้ังสองฝา่ ยกย็ ังสงวนทา่ ทีกันอยู่ มีบ้างบางครั้งที่เกนิ เลยจนมีการกระทบ กระท่ัง แต่กย็ ังอยู่ในขอบเขตทีพ่ อจะคุมกันได้อยู่ ชาวยะไข่ยงั คงมองหาโอกาสก่อกบฎอย่เู นืองๆ ในปี พ.ศ. ๒๓๔๒ กเ็ กิดกบฎขึน้ อกี ทหารพม่าพยายามจะขา้ มเขตแดนเพอื่ จบั กมุ กลมุ่ กบฎท่ี หนีเขา้ ไปในเขตของอังกฤษ เหตุการณเ์ ช่นนีเ้ กดิ ขนึ้ หลายตอ่ หลายหน ฝา่ ย กบฎกอ็ าศยั อังกฤษเปน็ เกราะก�ำ บงั ยามพลาดพล้ัง องั กฤษเองก็ทำ�เป็นไม่รู้ ไมเ่ หน็ สว่ นพม่าก็เขา้ ใจว่าองั กฤษนัน่ ล่ะท่อี ยเู่ บอื้ งหลังความวนุ่ วาย ข้าหลวง อังกฤษไม่ยอมส่งผู้ร้ายข้ามแดนเพราะต้องการปกป้องศักดิ์ศรีของประเทศ แต่เขาก็ระมัดระวังท่ีจะไม่ก่อสงครามเนื่องจากแผ่นดินแม่ในยุโรปก็กำ�ลัง ตบตีอยูก่ ับฝรง่ั เศส และทีอ่ นิ เดยี เอง องั กฤษกย็ ังไม่ได้ครอบครองแบบเสรจ็ เสยี ทีเดยี ว จงึ ไม่อยากจะก่อปัญหากบั พมา่ แตป่ ญั หาตามชายแดนระหว่างพมา่ กับอังกฤษ (อินเดีย) ก็ยังคงคุ ๘๒
ประวัติศาสตร์จานเดียว กร่นุ อยู่เรอื่ ยๆ ตลอดรัชกาลพระเจ้าปดุง โดยเฉพาะเรอื่ งกลุ่มกบฎและผู้ลี้ ภยั ทางการเมอื งท่ีมักจะหนเี ขา้ เขตปกครององั กฤษ พม่ากล็ ังเลท่ีจะบุกเข้าไป อังกฤษก็ไมไ่ ดใ้ ส่ใจจะทำ�อะไรนกั จนก่อใหเ้ กดิ รอยรา้ วท่ียากจะประสานใน รชั กาลตอ่ ๆ มา ******************** หลงั จากการเสดจ็ สวรรคตของพระเจ้าปดุง พระเจา้ บาญดี อพญา หรือ พระเจา้ จกั กายแมง พระราชนดั ดาในพระเจา้ ปดงุ ขนึ้ ครองราชย์แทน (พ.ศ. ๒๓๖๒) ท่ามกลางความวุ่นวายในราชสำ�นักและปญั หากระทบกระทง่ั กนั กับอังกฤษ ความวุ่นวายในราชสำ�นกั น้ันเกดิ ขน้ึ จากการทพ่ี ระองคล์ ะเลย ปลอ่ ยให้พระมเหสแี ละพระญาติเขา้ มากา้ วกา่ ยราชกิจ ประกอบกบั พระองค์ เองกม็ ไิ ด้ใส่พระทยั เรอื่ งต่างๆ มากนกั พระองค์พยายามสร้างความเชื่อมนั่ และสรา้ งความรู้สึกผอ่ นคลายให้ราษฎรดว้ ยการงดเก็บภาษีถึงสามปี ยกเลกิ โครงการต่างๆ ท่ีต่อเนอื่ งมาจากแผน่ ดนิ ก่อน และยงั โปรดเกลา้ ฯ ให้ย้าย เมืองหลวงกลับมาทก่ี รุงองั วะอกี คร้ัง ขณะท่ีพม่ามีการเปลยี่ นแปลงขวั้ อ�ำ นาจ อังกฤษกเ็ พิ่งไดช้ ัยชนะ เหนอื ฝร่งั เศสในสงครามทีว่ อลเตอรล์ ู ยึดอนิ เดยี ลังกา และหม่เู กาะอินเดีย ตะวนั ออก ยดึ บางพนื้ ท่ีในเอเชียอาคเนย์ ตอนนีอ้ ังกฤษกลายเปน็ ประเทศ มหาอ�ำ นาจท่ีเหนือกว่าพมา่ แทบทุกดา้ น แตพ่ ม่ากลับไมไ่ ด้รู้สึกตัวเองเลยซัก นิดเดยี วว่ากำ�ลงั เปน็ เปา้ หมายขององั กฤษในการล่าอาณานคิ ม เกิดความวุ่นวายในแคว้นขนาดเล็กสองแห่งบริเวณรอยต่อชายแดน ตดิ กบั แควน้ เบงกอลของอนิ เดยี คือ กะชาร์กบั จนั ทรเ์ ตยี แม้วา่ ทัพพมา่ พยายามเข้ามาจัดการแต่กไ็ มท่ ันอังกฤษ บรรดาผลู้ ้ภี ยั ตา่ งแห่กันอพยพเขา้ มายังสองแคว้นทวี่ ่านี้ ขณะทพี่ ม่ากแ็ สดงทีท่าชดั เจนว่าจะเข้ามาจัดการ ๘๓
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดียว เคลียร์ อังกฤษจึงฉวยโอกาสประกาศเลยวา่ สองแควน้ นี้เป็นขององั กฤษ แนน่ อนว่าพม่าย่อมไม่ยอม สงครามระหวา่ งสองชาติจึงเรมิ่ ขึ้น ทัพพมา่ ต้ังมนั่ อยู่บริเวณแคว้นอัสสมั ทีอ่ ยทู่ างตอนเหนอื เริม่ บุก เข้ามณปี ุระ กะชาร์ ยะไข่ มาสดุ เอาที่จิตตะกอง ขณะทพ่ี มา่ สาละวนกบั ศึก ทางบก ทพั เรือของอังกฤษกร็ กุ เข้าอา่ วเบงกอล ไมน่ านนักกเ็ ข้าเทียบท่า และก็ยึดยา่ งกงุ้ ไดโ้ ดยงา่ ย พระเจ้าบาญีดอพญา รบี รวบรวมก�ำ ลังพลบุกไป หมายจะชงิ เอาย่างกุ้งคนื แต่ก็ไม่สำ�เรจ็ เพราะยุทโธปกรณ์ของอังกฤษเหนือ กวา่ เหน็ ๆ ปืนไฟเอย ปนื ใหญเ่ อย ของพมา่ นัน้ ได้มาจากองั กฤษตั้งแตส่ มยั พระเจา้ อลองพญาโน่น แต่อังกฤษใชข้ องใหม่มกี ำ�ลงั เหนือกวา่ เยอะ แล้ว ทหารพมา่ กว่าครงึ่ หน่ึงยังถือดาบเพราะปนื มไี มพ่ อใช้ ดาบหรอื จะส้ปู นื ไฟ ก็ เหมือนพมา่ ยกขบวนมาใหเ้ ขาสอยร่วงเอางา่ ยๆ เสยี อยา่ งน้นั อกี เร่อื งเล่าหนึง่ ทนี่ า่ สนใจ คือเม่อื อังกฤษยดึ เอาย่างกงุ้ ไดแ้ ล้วก็ เลือกต้งั กองบญั ชาการรบทพี่ ระมหาเจดีย์ชเวดากอง คอื ต้ังค่ายกนั บนน้ัน มเี จดยี อ์ งค์ใหญ่เป็นฉากหลงั ทหารพม่าเหน็ แบบนั้นเลยไมก่ ล้ายงิ ปนื ใหญ่ เพราะกลัวว่าจะทำ�เจดียถ์ ล่ม คิดดอู ังกฤษนีก่ แ็ สบไมห่ ยอก เลน่ กับความ ศรัทธาของคนพมา่ อย่างไมค่ อ่ ยแมนเทา่ ไหร่ ทหารพม่าหลายคนถงึ กบั เขา่ อ่อนยอมเสียดอ้ื ๆ เมอ่ื เห็นศาสนสถานทพ่ี วกเขาเคารพถูกฝรงั่ หัวทองเขา้ มา ตั้งค่าย คือกลัวเจดีย์จะเปน็ อะไรไปถ้าขืนยงิ เข้าใส่สุม่ สส่ี มุ่ หา้ หากใครเคยอา่ น พมา่ เสียเมอื ง ของท่านอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ ปราโมช นา่ จะเข้าใจและเหน็ ภาพไดก้ ระจ่าง อาจารยค์ กึ ฤทธท์ิ ่านให้ทัศนะไว้นา่ สนใจ ว่าพมา่ นั้นเช่ือมน่ั ในพชิ ัยสงครามของตนเองเสยี เหลือเกิน แต่ดันเป็นพชิ ยั สงครามท่ีลา้ สมยั ไปเสียแลว้ พมา่ ท่เี คยชนะไทยยงั คงหยิ่งผยองนกึ วา่ ตนยงั เปน็ มหาอำ�นาจในสวุ รรณภมู ิ โลกหมุนไปแต่พมา่ ไม่ยอมหมนุ ตาม ช่วงเวลา เดียวกันที่พมา่ ก�ำ ลงั ง่อนแง่น แต่ไทยเราพริว้ ไหวไปตามกระแสโลก ต้องขอ กราบแทบเท้าพระมหากษัตริย์ของเราทุกพระองค์ท่ีท่านทรงมีวิสัยทัศน์และ ๘๔
ประวัติศาสตรจ์ านเดยี ว วิเทโศบายทกี่ วา้ งไกล ทำ�ใหไ้ ทยรอดพ้นการเปน็ เหยือ่ ของลทั ธิลา่ อาณานคิ ม ของพวกฝรั่ง หลังจากยดึ เอาย่างกุ้งได้แลว้ ทัพองั กฤษยงั บกุ เข้ามาเรอื่ ยๆ จนยึด ได้เมอื งแปร ยะไข่ ทางตอนเหนือนนั้ กเ็ ก็บเอาแควน้ อสั สัม มณีปุระ และ เมอื งเลก็ เมืองนอ้ ยได้อีก ฝง่ั พม่าเหน็ ท่าไมด่ จี ึงยน่ื ข้อเสนอขอเจรจาสงบศกึ แต่ทางองั กฤษมีข้อเรียกร้องทีม่ ากเกินกวา่ พมา่ จะรบั ได้ ก็เลยยังรบยืดเย้ือ ต่อมาจนเขยบิ เขา้ มาใกล้ราชธานีองั วะที่เมอื งยนั ดาโบ หา่ งเมอื งหลวงเพยี ง ๕๐ ไมล์ พระเจา้ จกั กายแมง จึงส่งคณะทตู ออกไปเจรจาอีกรอบซง่ึ คราวน้ี พมา่ จ�ำ ใจต้องยอมองั กฤษเพอื่ ไม่ให้สญู เสยี เอกราช จนเกดิ สนธสิ ัญญายัน ดาโบขนึ้ ข้อเรียกร้องของอังกฤษในสนธิสัญญาฉบับนี้มีมากมายล้วนแต่ได้ เปรียบพมา่ ทง้ั สิ้น แต่พม่าเองก็ไม่หนทางอ่ืนนอกจากต้องจ�ำ ยอม ขอ้ เรียก รอ้ งทว่ี า่ นไ้ี ด้แก่ พม่าต้องยอมยก ยะไข่ ตะนาวศรี อัสสัม ให้องั กฤษ แค่ข้อ แรกพมา่ ก็สะอึกเสียแลว้ ท่ีตอ้ งเสียเมอื งส�ำ คัญทั้งสามแห่งไปในคราวเดยี วกัน แบบน้ี แล้วพมา่ ตอ้ งยอมยกมณีปรุ ะ กะชาร์ จนั ทร์เตีย ให้กบั องั กฤษ ซงึ่ ท้ังสามเมืองนี้พม่าไปตีเอามาได้จากอินเดียหรืออีกนัยหน่ึงก็ไปเอามาจาก อังกฤษ คราวนี้องั กฤษเลยขอเอาคืนเสียเลย เสยี เมืองไปแล้วยังไม่พอ พมา่ ต้องเสยี เงินใหอ้ ังกฤษอีกมหาศาล เปน็ คา่ เสยี หายในสงคราม โดยองั กฤษเรียกรอ้ งเงินถงึ ๑ ล้านปอนด์ ไม่ใช่ น้อยๆ เลยในสมัยน้ัน อังกฤษยืน่ ขอ้ เสนอว่าให้พมา่ แบ่งจา่ ยสง่ี วด เมอื่ จา่ ย ครบงวดที่สองแล้วองั กฤษถงึ จะพิจารณาถอนทพั ออกจากยา่ งกุ้งให้ ข้อต่อมาก็คือพม่าต้องยอมรับผู้แทนจากอังกฤษให้มาประจำ�ที่กรุง อังวะ แล้วพมา่ จงึ จะสามารถส่งผแู้ ทนไปประจำ�ที่กลั กตั ตาได้ และสุดทา้ ย คอื พมา่ ตอ้ งยอมรับสัญญาการค้าขายกบั บริษัทอินเดียตะวันออก หรอื วา่ กนั ตามตรงกค็ อื ยอมทำ�การค้ากับรัฐบาลองั กฤษนน่ั เอง ๘๕
ประวตั ศิ าสตรจ์ านเดยี ว แน่นอนอยู่แล้วว่าข้อเรียกร้องทุกข้อล้วนแต่เป็นผลดีกับอังกฤษท้ัง สนิ้ งานน้ที �ำ เอาพระเจา้ จักกายแมงเสียพระเกียรตไิ ปไม่น้อย ชาวพมา่ เอง กข็ มขื่นไมแ่ พก้ นั จากทเ่ี คยเป็นใหญ่ในดินแดนแถบนี้ จ่ๆู ก็ตอ้ งมายอมให้ ฝรงั่ หัวแดง ไม่ร้จู ะโทษใครดี กไ็ ด้แต่ยกเป็นเรอ่ื งของกรรมของเวรไป หนั มา มองไทยเราเองกใ็ ชว่ า่ จะรอด พวกชาตติ ะวนั ตกก็จ้องไทยเราตาเป็นมนั อยู่ เหมอื นกัน แตอ่ ยา่ งที่บอกไปวา่ เพราะพระบารมีล้นเกล้าและวสิ ยั ทัศนข์ อง บรู พกษัตริยข์ องเราท่ีทรงรกั ษาเอกราชของชาติเอาไวใ้ หอ้ ยู่ยงมาถงึ ปัจจุบัน ๘๖
เสียทรี อบสอง ลางรา้ ยมาเยือน หลงั การพา่ ยแพ้แกอ่ ังกฤษ พมา่ ต้องจ�ำ ยอมลงนามในสนธิ สญั ญายนั ดาโบท่มี ีแตเ่ สยี เปรยี บทุกประตู นักประวัตศิ าสตร์บางทา่ น วิเคราะห์เอาว่าอังกฤษนั้นมิได้หมายใจจะยึดปกครองพม่าตอนล่างด้วยตัว เอง แต่หวังจะกอ่ ให้เกดิ ความไม่สงบและคอยผลกั ดันใหช้ าวมอญปกครอง อย่างเช่นกรณขี องชาวยะไขท่ ่ไี ม่ปรารถนาจะอยูภ่ ายใต้รฐั บาลพมา่ เมอื่ อังกฤษเข้ามากจ็ ึงยอมเข้าร่วมด้วย แต่พอไลพ่ ม่าออกไปได้กอ็ ยากจะไล่ องั กฤษออกไปด้วย สว่ นพวกมอญท่อี ังกฤษหวังวา่ จะควบคมุ ไดก้ ด็ ันไม่ยอม เสียอกี สถานการณ์พม่าตอนล่างภายใต้การปกครองของอังกฤษจงึ ยังอมึ ครมึ อยู่ สงครามพม่ากับอังกฤษครั้งน้ีมีส่วนที่ไทยเราเข้าไปเกี่ยวข้องอยู่ด้วย เหมือนกนั การศึกน้นั เริ่มตะลุมบอนกนั ช่วงปลายแผ่นดิน พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลยั ซ่งึ พระองค์ไดส้ งั เกตการณ์อยู่อยา่ งระแวดระวงั จน ลว่ งเขา้ สู่แผน่ ดิน พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา้ เจา้ อยู่หัว พระองคโ์ ปรดเกล้าฯ ใหย้ กทพั ไทยและมอญไปช่วยองั กฤษรบท่ีเมืองแปร ตรงนีเ้ องท่ีเราชาวไทย ตอ้ งกราบยกย่องในพระบรมราชวนิ ิจฉัย การสง่ ทัพไปชว่ ยอังกฤษนัน้ มิใชว่ า่ เราหมายจะไปเอาคืนพมา่ หรอื จงใจไปชว่ ยองั กฤษอย่างออกหนา้ ออกตา แต่ ๘๗
ประวตั ิศาสตรจ์ านเดยี ว เพราะพระองค์ท่านต้องการคงความเป็นมิตรกับอังกฤษและเพื่อป้องกันมิให้ องั กฤษเขา้ มาฉวยโอกาสต้ังคา่ ยในเขตไทย ทพั ของไทยนั้นท�ำ ทีรีรออย่แู ถบ ชายแดน ไมไ่ ดอ้ อกชว่ ยรบอยา่ งจริงจงั เท่าไหร่ ซง่ึ เอาเข้าจรงิ นีอ่ าจเปน็ การ ยกทัพออกไปป้องกันอาณาเขตของเราเพียงแต่อ้างว่าจะช่วยอังกฤษด้วย ในที พอเสรจ็ ศกึ ทางอังกฤษก็ยังส่งคณะทูตมาแสดงความขอบคณุ เสยี ด้วย ซ�ำ้ แตก่ ็ไมว่ ายทกั ท้วงถงึ ชาวมอญที่หนเี ขา้ มาในไทยเมื่อครง้ั กอ่ นสงคราม พระองค์ท่านก็ยินยอมให้ชาวมอญกลับบ้านเกิดเมืองนอนตามแต่สมัครใจ ดังน้นั จงึ มีชาวมอญส่วนหน่งึ อพยพกลบั ไปยงั พม่า และไทยกบั องั กฤษก็ยัง คงความเป็นไมตรีกนั เอาไวไ้ ดต้ ามเดมิ ชัยชนะเหนือพม่าท�ำ ใหอ้ งั กฤษกร่างมากขึน้ กว่าเดมิ ในปี พ.ศ. ๒๓๖๙ องั กฤษสง่ คณะทูตมาเจรจาการคา้ ที่แน่นอนวา่ เอาเปรียบพม่าอย่าง ท่สี ดุ โดยเฉพาะการเสนอกง่ึ บังคบั ใหพ้ มา่ ส่งข้าวเปน็ สนิ ค้าออก แตพ่ มา่ จะ เอาข้าวทไ่ี หนไปขาย ล�ำ พังแคก่ นิ กนั ภายในประเทศยงั ฝืดเคืองเพราะเพิ่ง เสร็จศกึ เรอื กสวนไรน่ ายงั ไม่ไดห้ ว่านไมไ่ ด้ปลกู ขนาดคา่ ปรับสงครามกย็ งั ต้องอาศยั เงินสมทบทนุ จากราษฎร เพราะเงนิ ในทอ้ งพระคลังน้นั แทบไม่ เหลอื ในช่วงแรกๆ ความสมั พันธร์ ะหว่างผแู้ ทนจากองั กฤษกับชาวพม่าไม่ คอ่ ยจะราบร่นื นัก จนเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๓๗๓ มกี ารเปล่ียนแปลงตัวข้าหลวงใหญ่ ในอินเดยี ซงึ่ มีแนวคดิ สมัยใหม่จากอทิ ธิพลของการปฏิวัติในฝรง่ั เศส โดยหัน มาสนใจความรู้สึกของคนในพื้นที่มากขึ้นและเร่ิมแสดงความเข้าอกเข้าใจชาว พม่ามากข้ึนกว่าแตก่ ่อน แตก่ ็ยงั คงรกั ษาผลประโยชน์ของอังกฤษอยู่เหมอื น เดิม ทูตอังกฤษมาประจำ�กรุงอังวะในขณะน้นั คอื พนั ตรีเฮนร่ี เบอร์น่ี คน เดียวกับที่เคยเข้ามาเจรจาความในแผ่นดินสยามจนเกิดสนธิสัญญาเบอร์นี่ ผลงานในครั้งนั้นทำ�ให้เขาได้เข้ามาประจำ�การในพม่าซึ่งเกิดการเปล่ียนแปลง ดา้ นความสัมพันธก์ บั ทางราชสำ�นักพอสมควร โดยนายเบอรน์ ีเ่ ปน็ ตัวแทน ๘๘
ประวตั ิศาสตร์จานเดยี ว เจรจากับอังกฤษในการปักปันเขตแดนในมณีปุระเพ่ือคืนพ้ืนที่ท่ีถูกแบ่งอย่าง ไมเ่ ป็นธรรมให้กับพมา่ งานนี้ท�ำ ให้นายเบอร์นเี่ ป็นท่ีถกู อกถกู ใจราชส�ำ นัก พมา่ มากทีเดียว ******************** หลังจากพ่ายสงครามใหก้ บั องั กฤษ พระเจ้าจกั กายแมงกท็ ดท้อ พระทยั มิไดส้ นพระทัยในกจิ การบ้านเมืองมากนกั จะโทษพระองคเ์ สยี ท้งั หมดก็ดจู ะใจด�ำ ไปหนอ่ ย แตด่ ว้ ยขตั ิยะมานะของพระมหากษตั ริย์ การ ทมี่ าทอดอาลยั แบบนก้ี ็ไมค่ วรอยู่เหมอื นกัน บางตำ�ราน้ันกล่าวถงึ ขน้ั ทวี่ า่ พระองคเ์ สยี พระจริต เข้าใจวา่ น่าจะเปน็ อาการของโรคซมึ เศรา้ มากกว่าอย่าง อืน่ เมอ่ื กษตั รยิ เ์ ปน็ เชน่ นก้ี จ็ ึงเปน็ โอกาสเหมาะใหเ้ กดิ การแย่งชงิ อ�ำ นาจขึ้น จากฝา่ ยพระมเหสีและพระญาติ จนพระอนุชา เจา้ ชายแสรกแมง เห็นไม่ เข้าทีจงึ ทำ�การยดึ อ�ำ นาจเสียเลย และปลดพระเจา้ จักกายแมงลงจากบัลลงั ก์ ตั้งตนเปน็ กษตั รยิ พ์ ระองคใ์ หมพ่ ระนามว่า พระเจา้ สารวดี แตพ่ อเมื่อพระเจ้าสารวดีครองบลั ลงั ก์ ความสัมพนั ธก์ บั อังกฤษทีด่ ู เหมือนจะดขี ึน้ ก็กลับคกุ รนุ่ ขึ้นมาอีกรอบ ส่วนหน่ึงน้นั เป็นเพราะฝ่ายองั กฤษ โดยนายเบอร์น่ีที่เล็งเอาไว้ว่าจะผลักดันกษัตริย์พระองค์ใหม่แทนพระเจ้า จกั กายแมง ซ่ึงแนน่ อนว่าตอ้ งไมใ่ ชเ่ จา้ ชายแสรกแมง แต่กลับถกู เจ้าชายชงิ ก่อการตัดหน้าเสยี ก่อน และเม่ือเจา้ ชายข้ึนครองบลั ลงั ก์ ก็ทรงวางแผนสะสม อาวุธทที่ ันสมัยเอาไว้ตอ่ กรกบั องั กฤษและไทย แต่ทรงพลาดตรงทด่ี นั ไปซอ้ื อาวุธกบั พอ่ คา้ อังกฤษ บรรดาพ่อคา้ หัวใสกย็ ินดีขายใหเ้ พราะไดร้ าคาดี แตก่ แ็ อบไป รายงานนายเบอรน์ ว่ี ่าพมา่ ก�ำ ลงั ตระเตรียมอาวธุ พระเจ้าสารวดนี นั้ ทรงอา้ ง ว่าเตรยี มการเพอื่ ป้องกันการรุกรานของไทย เพราะเหน็ วา่ ไทยกำ�ลังมแี ผน ๘๙
ประวัตศิ าสตรจ์ านเดยี ว จะยดึ เชียงตุง และทรงเห็นวา่ องั กฤษนั่นละ่ ทเี่ ป็นตวั การเพราะไมห่ า้ มปราม พันธมติ รกค็ ือไทยในการรกุ รานแผ่นดินพม่า ท้งั สองฝ่ายต่างก็อา้ งว่าอกี ฝา่ ย ไมร่ ักษาสญั ญา สุดท้ายแล้วความสมั พันธ์ทางการทูตระหวา่ งข้าหลวงใหญ่ กัลกัตตากับพม่าก็ยุติลงเม่ืออังกฤษปิดสำ�นักทูตในพม่าอย่างเป็นทางการใน ปี พ.ศ. ๒๓๘๓ แต่มิได้หมายความว่าพระเจ้าสารวดีจะยุติความสัมพันธ์กับอังกฤษ ส่ิงที่พระองค์ต้องการนั้นคือการสานสัมพันธ์กับราชสำ�นักอังกฤษมิใช่แค่ กับข้าหลวงใหญใ่ นกลั กตั ตา พระองค์เช่อื ว่าทกุ สิ่งอนั ที่เกิดข้ึนน้นั เกิดจาก ตวั ข้าหลวงใหญ่เพยี งฝา่ ยเดียว การตดั สนิ ใจหรอื นโยบายการตา่ งประเทศ ไมไ่ ดม้ าจากสมเด็จพระราชนิ ีนาถวคิ ตอเรีย ตา่ งกับประเทศสยามทมี่ ีความ สมั พันธ์อันดีกบั ราชสำ�นกั อังกฤษ มีการเจรจาการทตู และการคา้ ต่อกันอย่าง แนบแนน่ แมว้ ่าสนธสิ ัญญาเบอร์น่ีนั้นจะท�ำ ใหเ้ ราเสยี เปรียบอังกฤษอยู่ แต่ ถงึ อย่างน้นั พวกพ่อคา้ วาณิชของอังกฤษกลบั มองว่ายงั ไม่หนำ�ใจ และเบอร์ นย่ี อมสยามมากเกนิ ไป แต่ภาพรวมความสมั พนั ธ์ของทง้ั สองชาติกร็ าบร่นื เรื่อยมาก ทำ�ให้พระองคม์ องว่าฝา่ ยองั กฤษไม่เคยให้เกียรตริ าชวงศอ์ ลอง พระเหมอื นอยา่ งทใี่ หเ้ กียรตริ าชวงศจ์ ักรี โดยเฉพาะการที่ทูตอังกฤษในนครอมรปุระนั้นเป็นตัวแทนข้าหลวง ใหญจ่ ากกัลกัตตา ไมใ่ ช่ตวั แทนของสมเด็จพระราชนิ ีนาถวคิ ตอเรีย ยิง่ ท�ำ ให้ พระองคร์ ูส้ ึกวา่ เสียพระเกยี รตแิ ละเปน็ การหยามพม่าอย่างท่สี ุด ขณะที่ ความปรารถนาของพระองค์ยังไม่สัมฤทธิ์ผลก็มีเหตุให้พระองค์ต้องถูกขับ จากราชบัลลังกเ์ สยี ก่อน ******************** ความคับแค้นใจตอ่ การพา่ ยอังกฤษยังคงอยู่ในใจของชาวพม่า รวม ๙๐
ประวัติศาสตร์จานเดยี ว ถึงเจา้ นายและแมท่ พั นายกอง กระทั่งพระเจ้าสารวดเี องก็ไมเ่ วน้ พระองค์ คงทราบดีว่าถ้ายังขืนด้ือรบกับอังกฤษต่อก็จะพากันวิบัติไปเสียทั้งแผ่นดิน จึงพยายามด�ำ เนนิ นโยบายปรองดอง แต่กเ็ ป็นท่ีขดั แย้งกับพระโอรสคอื เจ้า ชายเมืองแปร ที่เหน็ ว่าพม่าควรรบแตกหกั กับองั กฤษ ขณะทพี่ ระราชโอรส อีกพระองคห์ น่ึงซง่ึ เป็นรัชทายาทคือ เจา้ ชายเมอื งพกุ าม ทรงเหน็ พอ้ งกบั พระองค์ เจา้ ชายเมืองแปรจึงก่อการกบฎ แตแ่ ผนการกล็ ม้ เหลวและถูก ประหารในทีส่ ดุ จากนน้ั มาพระเจา้ สารวดีก็ทรงทอ้ พระทยั หลายต�ำ ราระบวุ ่าทรง เสียพระจรติ (ซ่งึ ก็ยังเชอื่ วา่ ทรงเป็นโรคซมึ เศร้า) เม่อื เปน็ ดงั น้ี เจ้าชายพุกาม จงึ รวบอ�ำ นาจและขึน้ ครองราชยแ์ ทนพระราชบิดาในปี พ.ศ. ๒๓๘๙ ทรง พระนามวา่ พระเจา้ พุกามแมง ในช่วงแรกของการครองราชย์น้ันดูเหมือนว่าทุกอย่างจะไปได้ด้วย ดี พระเจา้ พุกามแมง โปรดเกลา้ ฯ ให้สรา้ งวัดและทำ�นบุ ำ�รงุ พระพุทธศาสนา เป็นอยา่ งดี ทรงปรบั ปรงุ และพฒั นากองทพั ดว้ ยการจ้างชาวยุโรปมาหลอ่ ปนื ใหญ่ แตพ่ อนานวนั เขา้ การเอาพระทัยใส่ในกจิ การบา้ นเมอื งกลบั ลดน้อย ถอยลง การตดั สนิ ใจตา่ งๆ ทรงมอบให้เสนาบดจี ัดการแทน ทา่ มกลางความ ขัดแย้งและการกระทบกระท่ังกันระหว่างชาวพม่ากับอังกฤษจนเกือบจะก่อ สงครามข้ึนอยหู่ ลายครัง้ แต่ยงั เปน็ โชคดขี องพมา่ เมือ่ อังกฤษก�ำ ลงั ตดิ พนั สงครามอยู่สองทาง คอื กับรัสเซยี ในตอนเหนือของอนิ เดียและกับจนี ใน สงครามฝนิ่ พม่านน้ั แม้วา่ จะเสียทีเสยี ทา่ แกอ่ ังกฤษมาหลายหน แตก่ ลับไมเ่ ก็บ เป็นบทเรียนและโอนอ่อนผ่อนตามทั้งทางการทูตหรือทางธรรมเนียมปฏิบัติ พมา่ ยงั คงหยงิ่ ทะนงตนกบั ความรงุ่ เรืองในอดตี ยงั ไมค่ ิดเปดิ ใจกว้างรบั ความ เปลย่ี นแปลงของสังคมโลก วัฒนธรรมบางอยา่ งทแี่ ตกต่างกันระหวา่ งพม่า กบั อังกฤษกอ่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจผดิ จนลุกลามเป็นเรอ่ื งราวใหญ่โต เมือ่ ต่าง ๙๑
ประวัติศาสตรจ์ านเดยี ว ฝา่ ยต่างไมย่ อมผ่อนปรนใหก้ ัน ความขัดแย้งจงึ ยังคงเกดิ ข้นึ เรอ่ื ยๆ หลาย คร้งั ท่อี งั กฤษพยายามหาเหตุเพอ่ื เป็นชนวนสงคราม แต่ทางรฐั บาลกลาง กลบั ไม่มปี ฏิกริ ิยาตอบโต้ ซึง่ กแ็ ปลกดีเหมือนกันทชี่ าวพม่าทว่ั ไปไมช่ อบฝรั่ง แต่รฐั บาลกลางกลับอยเู่ ฉยๆ ปล่อยใหเ้ ขายา่ มใจบนแผ่นดินตัวเองเสยี อยา่ ง น้นั และแล้วสงครามก็เกิดข้ึนจนได้เมื่อข้าหลวงย่างกุ้งจับเอากัปตันเรือ ชาวอังกฤษสองคนในข้อหาลกั ลอบขนสนิ คา้ และหลกี เลยี่ งภาษี ทางการพมา่ นน้ั ดำ�เนินการจับปรบั ทันที แต่ฝ่ายองั กฤษมองวา่ ท�ำ กนั เกินไป และเรียกรอ้ ง ใหส้ ง่ คนทงั้ สองกลบั มาแถมยังบอกว่าค่าปรบั แพงเกนิ ซ่ึงก็พอจะคิดได้ล่ะ วา่ อังกฤษเหน็ ช่องทางจะหาเรื่องกบั พม่าได้แลว้ ฝ่ายข้าหลวงอังกฤษก็เลย ส่งตวั แทนคือ นายพลแลมเบิรต์ เขา้ มาเจรจา ซ่ึงไปๆ มาๆ กลบั กลายเปน็ วา่ อังกฤษโทษทางย่างก้งุ ว่าเป็นฝา่ ยผดิ รฐั บาลกลางพม่าต้องลงโทษผู้จับกมุ และจา่ ยค่าทำ�ขวญั ใหด้ ้วย ท�ำ เอาฝา่ ยพม่ามึนทดี่ นั มาพลิกคดกี นั หนา้ ตาเฉย แบบนี้ นายพลแลมเบิร์ตไม่ไดม้ าตัวเปล่า ดันขนเอาเรอื รบเข้ามาขเู่ สียอีก แตน่ ายพลแลมเบริ ต์ กเ็ สยี เส้นเล็กนอ้ ยเม่อื พระเจา้ พุกามแมงกลบั นิ่งเฉยเกนิ คาดและยงั เรียกขา้ หลวงยา่ งก้งุ กลับ ท�ำ ใหเ้ ขาไมอ่ าจอ้างเหตทุ ำ�ศกึ ได้ ก็ เลยไปพาลเอากบั ขา้ หลวงย่างกุ้งคนใหม่ แตก่ ็ยงั ไมไ่ ดผ้ ล คราวน้ีนายพล แลมเบิร์ตจึงแสดงกิริยาหม่ินเกียรติข้าหลวงอย่างไม่ไว้หน้าจนข้าหลวงไม่ ยอมรบั คณะทตู องั กฤษที่ไปพบตามธรรมเนยี ม จนทำ�ใหน้ ายพลแลมเบริ ต์ ไม่พอใจเรียกร้องใหข้ ้าหลวงย่างกุ้งขอขมา เท่านั้นยงั ไมพ่ อ เขายังยดึ เอาเรือ หลวงกลับไปดว้ ยหน่ึงลำ�หน้าตาเฉย คราวนี้ทางพมา่ ไม่ยอมแล้ว คงเหลือจะ กลั้นจริงๆ กเ็ ลยยิงเข้าใส่ตูมหนง่ึ องั กฤษก็ยิงตอบ ยงิ กันไปยิงกันมาจนเกิด ความเสียหายกนั พอสมควร เร่อื งน้ีใครจะผดิ จะถูกหรือความจริงเป็นอย่างไรกไ็ มท่ ราบได้ ใน ๙๒
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266