๑00๒ นิยมใช้ภาชนะสำหรบกรวดนํ้าโดยเฉพาะ ในพิธีทำบุญ ต่างๆ (ถ้ามี) ถ้าไม่มี ก็นิยมใช้แก้วนํ้า หรือขันนํ้าแทนและ นิยมจัดเดรืยมไว้ให้เรืยบร้อยก่อนถึงเวลาจะใช้ - การกรวดนํ้าอุทิศส่วนกุศลนี้ นิยมกระทำหลังจากถวาย เครื่องไทยธรรมแต่พระสงฆ์แก้ว เมื่อพระเถระประธานสงฆ์เริ่ม อนุโมทนาว่า (ยถา-) เจ้าภาพงานหรือประธานพิธีก็เริ่มหลั่งนํ้า อุทิศส่วนกุศล - ถ้าผู้กรวดนํ้าลั่งอยู่กับพื้น นิยมนั่งพับเพียบจับภาชนะ ส่าหรับกรวดนํ้าด้วยมีอทั้งสอง รินนํ้าให้ไหลลงเป็นสาย - ถ้าภาชนะที่ใช้กรวดนํ้าทั้น มีปากกว้าง เช่น ใช้แก้วนํ้า หรือขันนํ้า นิยมใช้นี้วชี้มีอชวารองรับสายนํ้าให้ไหลลงไปตาม นี้วชี้นั้น เพื่อป้องกันนิให้นั้าไหลลงเปรอะเฟ้อนพื้น ถ้าภาชนะนั้น ปากแคบ ไม่นิยมใช้นี้วมีอรองรับสายนั้านั้นอีก - กิริยาอาการที่กรวดนั้านั้น นิยมรินนั้าให้ไหลลงเป็นสาย โดยไม่ขาดดอนเป็นระยะๆ จะคูไม่งาม พร้อมกับการรินนั้าลง เป็นสายนั้น นิยมทั้งจิตส่ารวมอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่ท่าน ผู้ล่วงลับไปแก้ว ดังนี้:- คำ กรวดนํ้าอุทิศส่วนกุศล \"อิทัง เม ญาดีทัง โหตุ สฃิตา โหนตุ ญาตะโย\" (ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอญาติ ทั้งหลายของข้าพเจ้า จงมีดวามสุข) หรือว่า www.kalyanamitra.org
6>cncn \"ข้าพmฃอดั้งจิดอุทิศผล บุญกุศลนี้ไปให้ไพศาล สิงบิดรมารดาและอาจารย์ ทั้งลูกหลานใกล้ชิดสบิฑกัน คนIคยร่วมIคยรักลมัดรใคร่ มีส่วนได้ในกุศลผลของฉัน ทั้งเข้ากรรมนายเวรและเทวัญ ขอให้ท่านจงโมทนาทั้วหห้าเทอญ\" - เมื่อได้ดั้งจิตอุทิศส่วนกุศลเป็นส่วนรวมแล้ว นิยมอุทิศ ระบุเฉพาะเจาะจงชื่อ นามสกุล ของบรรพบุรุษผู้ล่วงกับไปแล้ว อย่างชัดเจนอีกครั้งหนึ่ง - เมื่อพระสงฆ์รูปที่สองวับอนุโมทนาว่า (กัพพดิโย) ผู้ กรวดนํ้านิยมเทนํ้ากรวดให้หมดภาชนะ แล้วประณมมือวับพร ต่อไปจนจบ - ขณะที่พระสงฆ์กำกังสวดบทอนุโมทนาอยู่นั้น เข้าภาพ หรือประธานพิธีไม่นิยมลุกไปทำธุรกิจอย่างอื่น เพราะเป็นเวลาที่ พระสงฆ์ทำนกำกังกล่าวคำประสิฑธิ้ประสาทพรให้แก่เข้าภาพหรือ ให้แก่ประธานพิธีนั้น - เมื่อพระสงฆ์สวดอนุโมทนาจบแล้ว เข้าภาพหรือประธาน พิธีนิยมกราบหรือไหว้แสดงความเคารพพระสงฆ์อีกครั้ง ตามสมควร แก่สถานที่นั้น คือ ล้านั่งอยู่กับพื้น ก็นิยมกราบ ล้านั่งเก้าอี้ก็นิยม ยกมือไหว้ - นั้าที่กรวตอุทิศส่วนกุศลแล้วนั้น นิยมนำไปเทลงที่พื้นดิน โดยเทรตด้นไม้ หรือหญ้า ณ สถานที่ภายนอกตัวอาคารบ้าน เรือน เพื่อฝากไว้กับแม่พระธรณี ห้ามมืให้เทลงในกระโถน หรือเทลงในที่สกปรก www.kalyanamitra.org
๑๓๔ ระเบียบปฏิบ้ตคารประกอบพิธีศพ ระฒียบปฏิบดการจัดพิธีศพ วิธีปฏิบตเบึ้องต้นเกี่ยวกบศพ - คนตายด้วยโรคธรรมดา ผู้เกี่ยวข้องกับศพ นิยมใช้ผ้า คลุมศพตั้งแต่สืรษะตลอดเท้า ถ้าศพอยู่ภายในท้องก็ปีดประตูเสีย ถ้าศพอยู่ท้องโถง นิยมกางมุ้งครอบไว้ - คนดายด้วยโรคติดต่ออันดราย หรือตายด้วยอุบัติเหตุ หรือถกฆาตกรรม นิยมไม่แตะด้อง หรือเคลื่อนย้ายศพ เพื่อเปีด โอกาส่ใท้แพทย์ หรือตำรวจ ได้ทำการตรวจโรคหรือชันสูตรศพ ก่อน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ด้วยกันทุกฝ่าย วิธีปฏิบตการแจ้งขอมรณบตร - ดามพระราชบัญญ้ตทะเบียนราษฎร์ พ.ศ. ๒๔๙๙ มาตรา ๑๙ เมื่อมีคนตาย ให้แข้งดังต่อไปนี้ (ก) คนตายในห้านให้เข้าบ้านแข้งต่อนายทะเบียนผู้รับแข้ง แห่งท้องที่ที่มีคนตาย กายในยี่สิบลื่ชั่วโมง บับแต่เวลาตาย ในกรณีที่ไม่มีเข้าบ้าน ให้ผู้พบศพแข้งความในวรรคก่อน บับแต่เวลาพบศพ www.kalyanamitra.org
๑๓๕ (ข) คนดายนอกบ้าน ให้บุคคลที่ไปกับผ้ดาย หรือผ้พบ ศพ แจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งห้องที่ที่ดาย หรือพบศพ แล้วแต่กรณี หรือแห่งห้องที่ที่จะพึงแจ้งได้ในโอกาสแรก ภายใน ยี่สิบส์ชั่วโมง นับแต่เวลาดาย หรือพบศพ ในกรณีเช่นนี้ จะแจ้ง ต่อเจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจที่สะดวกกว่าก็ได้ ฯลฯ ตามพระราชฟ้ญญตนี้ นิยมปฏิบัติดังนี้ ๑. เมื่อมีคนดายภายในบ้าน เจ้าของบ้าน หรือผู้แทน เจ้าของบ้าน ด้องไปแจ้งการดาย ขอมรณนัดร ต่อนายทะเบียน ผู้รับแจ้ง คือ ในเขตเทศบาล แจ้งต่อนายทะเบียนท้องถิ่น นอกเขดเทศบาล แจ้งต่อนายทะเบียนตำบล คือ กำนัน และ ด้องแจ้งภายในยี่สิบส์ชั่วโมง นับแต่เวลาดายเป็นด้นไป ๒. คนดายนอกบ้าน บุคคลที่ไปกับผู้ดาย หรือผู้พบศพ ด้องแจ้งต่อนายทะเบียนท้องที่ที่ดาย หรือจะแจ้งแก่พนักงาน ฝ่ายปกครอง หรือตำรวจท้องที่นั้นก็ได้ และด้องแจ้งภายใน ยี่สิบส์ชั่วโมง นับแต่เวลาดาย หรือเวลาพบศพเป็นด้นไป การขอพระราชทานนาอาบศพและเครื่อง ประกอบเกียรติศพ - ผู้ถึงแก่กรรมมีสิทธิขอรับพระราชทานนั้าอาบศพ เครื่อง ประกอบเก็ยรติศพ และขอพระราชทานเพลิงศพ ดังต่อไปนี้ะ- ๑. พระสงฆ์ทรงสมณดักดิ้ ตั้งแต่พระครูฐานาบุกรมขึ้นไป ๒. พระบรมวงศานุวงส์ ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป www.kalyanamitra.org
๑ผ๖ ๓. ผู้ที่ได้รับพระราชทานบรรดาสักดิ้รอง1สวกดรีหรือรอง อำมาตย์ตรีขึ้นไป ๔. ข้าราชการพลเรือนชั้นตรีขึ้นไป ๕. ข้าราชการฝ่ายทหาร และตำรวจ ยศชั้นร้อยตรี เรือตรี ร้อยตำรวจตรีขึ้นไป ๖. สมาชิกกองอาสารักษาดินแดนที่ได้รับพระราชทานยศ ตั้งแต่ชั้นนายหมวดขึ้นไป ๗. ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้น เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย หรือตติยจุลจอมเกล้าขึ้นไป หรือ จตุตถจุลจอมเกล้าขึ้นไป ๘. ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญ รัตนาภรณ์รัชกาลปัจจุบัน ๙. พนักงานเทศบาลตรีขึ้นไป ๑๐. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิก สภาเทศบาล ที่ถงแก่กรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ๑๑. รัฐมนตรี ที่ถีงแก่กรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ๑๒. ผู้ที่ทรงพระกรณาโปรตเกล้าฯ เป็นกรณีพิเศษ - ผู้ที่เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภาเทศบาล หรือรัฐมนตรี ถึงแก' กรรมเมื่อพ้นตำแหน่งแล้ว หากได้รับพระราชทานเครื่องราช- อิสริยาภรณ์ดังกล่าวแล้ว ก็มีสิทธิขอพระราชทานนํ้าอาบศพ เครื่องประกอบเถึยรติศพ และขอพระราชทานเพลิงศพได้ www.kalyanamitra.org
๑๓๗ - ในการที่จะฃอพระราชทานนี้ มีช้อแม้ว่า ผ้ถึงแก่กรรมนัน จะต้องถึงแก่กรรมโดยไม่ใช่อัดวินิบาตกรรม (คือ การฆ่าตัวเอง) วิธีขอพระราชทานนาอาบศพและ เครื่องประกอบเกียรติศพ - ผู้เกี่ยวช้องตับผู้ถึงแก่กรรมนัน ประสงค์จะชอพระราช- ทานนํ้าอาบศพ และเครื่องประกอบเถึยรติศพ จะต้องปฎิฟ้ติ ตังนี้ะ- - จัดดอกไม้ธูปเทียน (คือ ดอกไม้ ๑ กระทง ธูปไม้ระกำ ๑ ดอก เทียนฃี้ผึ้ง ๑ เล่ม) วางบนพานพร้อมตับหนังคือกราบ ถวายบังคมลาดาย และใบมรณนัดร นำ ไปอังแผนกพระราชพิธี สำ นักพระราชวัง ในพระบรมมหาราชวัง โศยนำพานเครื่อง สักการะพร้อมตับหนังคือกราบถวายนังคมลาดายนี้ วางไว้ที่ ช้างหน้าพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ (คือพระบรมรูปชองในหลวง รัชกาลฟ้จจุบัน) แล้วถวายความเคารพพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ - เช้าหน้าที่แผนกพระราชพิธีจะสอบถามรายละเอียดต่าง ๆ แล้วให้กรอกช้อความลงในแบบพิมพ์ เป็นอันเสร็จพิธีขอพระ- ราชทานเพียงนี้ www.kalyanamitra.org
๑๓๘ แบบหนงสือขอพระราชทานกราบถวายบงคมลาตาย วันที่ เดือน พ.ศ. ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ดอกไม้ธูปเทียนของข้าพระพุทธเจ้า ราชอิสริยาภรณ์ (ชื่อผู้ลีงแก่กรรม) พ.ศ. อาย .ปี ข้าราชการ ชั้น สังกัด ขอพระราชทานกราบถวายบังคมลา ด้วยโรค ท. อำ เภอ จังหวัด เมื่อวันที่ เดือน เวลา น. ควรมิควรสุดแสัวแด่จะทรงพระครุลเาโปรดเกสัๅ<1 ขอเดชะ - หบังลีอขอพระราชทานกราบถวายบังคมลาตายนี้ไม่ด้อง ลงนาม การพิมพ์การ์ดกำหนดการรดนํ้าศพ ล้าผ้ดายเป็นผู้ใหญ่ หรือเป็นผู้มีชื่อเลียงปรากฎในสังคม นิยมพิมพ์การ์ดและลงประกาศแจ้งความทางส์อสารมวลชน ชึ่งมี ข้อความเพิยงสันๆ ดังนี้:- www.kalyanamitra.org
oeftS กำ หนดการรับพระราชทานนํ้าอาบศพ (ใส่นามผู้ดายพร้อมทั้งเครื่องราชอิสริยาภรณ์) ได้ถึงแก่กรรมด้วยโรค เมื่อวันที่. เดือน พ.ศ เวลา น. กำหนดการรับพระราชทานนํ้าอาบศพ วันที่ เดือน พ.ศ เวลา น. ณ.. .เจ้าภาพ หมายเหตุ คำ ว่า \"ได้ถึงแก่กรรม\" นั้น นิยมเปลี่ยนไปตามฐานะ ของผู้ตาย ดือะ- - ได้ถึงแก่อสัญกรรม - ได้สิ้นชีวิตักษัย ได้สิ้นพระชนม์ เปีนด้น ระเบียบปฎิบตการจดสถานที่รดนํ้าศพ สถานทึ่สมควรจัดเป็นที่รดนํ้าศพ - การจัดสถานที่รดนํ้าศพนั้น ถ้าศพนั้นเป็นศพชองฟาน ผู้ใหญ่แห่งดระกล และบ้านนั้นเป็นบ้านใหญ่โดมีบริเวณกว้างขวาง เพียงพอแก่การตั้งศพบำเพ็ญกุศลได้ ก็นิยมจัดสถานที่รดนั้าศพ www.kalyanamitra.org
๑๔๐ และตั้งศพที่บ้านนั้น เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ท่านผู้ล่วงลับไปแล้ว ตั้งเป็นการแสดงความเคารพความจงรักภักดีต่อท่าน เมื่อท่านยังมี ชีวิตอยู่ พวกลูกหลานเคยมีความจงรักภักดี มีความเคารพนับถือ อย่างไร แม้เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว กียังคงมีความจงรักภักดี ความเคารพนับถือเป็นอย่างดีไม่เปลี่ยนแปลง มิใช่ว่าเมื่อท่าน สินบุญแล้ว พวกลูกหลานกีรีบหาทางเถือกไสไล่ล่งศพของท่าน ให้ออกไปพ้นเถืยจากบ้านเรือนที่ท่านเคยอยู่อาลัย - ล้าที่บ้านเรือนนั้น ไม่ใหญ่โต ไม่กว้างขวาง มีความ ขัตข้อง ไม่เหมาะสม เพราะสถานที่ไม่อำนวย กีมิยมนัาศพ ของท่านไปตั้งรตนั้า และตั้งศพบำเพ็ญกุศลที่วัตใตวัดหนึ่งซึ่งอยู่ ใกล้บ้าน หรือวัตที่เหมาะสมแก่ฐานะของท่าน โตยติตต่อกับ เจ้าหน้าที่แผนกฌาปนสถานของวัต จะให้เขานำรถวอมารับศพ ที่ไหน เมื่อไร เป็นต้น พร้อมตั้งมอบให้เขาจัดการโตยตลอด รายการ - ล้าจะจัดสถานที่รตนํ้าศพ และตั้งศพบำเพ็ญกุศลที่บ้าน จะต้องคำนงถืงสถานที่จะใช้ลังศพรตนั้านั้นว่า โต๊ะหม่บูชาพระ- รัตนตรัย และเดียงประติษฐานศพ จะตั้งที่ไหนจ้งจะเหมาะสม วงศาคณาญาติสมิทมิตรสหายและท่านที่เคารพนับถือตั้งหลายที่มา เคารพศพ จะเช้าทางไหน จะออกทางไหน สถานที่กว้างขวาง เพ็ยงพอหรือไม่ เมื่อพิจารณาโดยล่องแห้แล้วเห็นว่าไม่ขัดช้อง เหมาะสมโดยประการตั้งปวง พิงจัดสถานที่นั้น ลังนี้:- www.kalyanamitra.org
๑๔๑ สถานที่ตั้งโต๊ะหมูบูชาพระรัตนตรัย - สถานที่ตั้งโต๊ะหม่บูชาพระรัดนตรัยนั้น นิยมตั้งอยู่ด้าน สืรษะฃองศพ และนิยมตั้งหันหน้าไปทิศตะรันออก ถ้าสถานที่ ไม่อำนวย ก็นิยมตั้งหันหน้าไปทิศเหนือ หรือทิศได้ ทิศใด ทิศหนึ่ง แต่ไม่นิยมตั้งหันหน้าไปทางทิศตะรันตก - โต๊ะหม่บูชาพระรัตนตรัยนั้น นิยมจัดตั้งไว้ ณ ที่สูงกว่า เตียงประดิษฐานศพพอสมควร ประกอบด้วยสิงสำคัญ ๕ ประการ ตีอ:- ๑. พระพุทธรูป ๑ องค์ (นิยมนำพระพุทธรูปบูชาประจำคัว ชองผู้ตายมาตั้งบูชา ถ้ามี) ๒. กระถางธูป ๑ ลูก พร้อมตั้งธูป ๓ ดอก ๓. เชิงเทียน ๑ คู่ (เป็นอย่างน้อย) พร้อมตั้งเทียน ๒ เล่ม ๔. แจกัน ๑ คู่ (เป็นอย่างน้อย) พร้อมตั้งดอกไม้ ๕. โต๊ะรอง ๑ หมู่ นิยมใช้โต๊ะหมู่บูชา มีขนาดใหญ่พอ สมควร - นอกจากนี้ นิยมจัดพานตอกไม้ตั้งประคับไว้ด้วย จำนวน พานดอกไม้ตามความเหมาะสมแก่โต๊ะหมู่บูชานั้น และเครื่อง สักการบูชาที่โต๊ะหมู่บูชาพระรัตนตรัยนั้น นิยมจัดให้ประณีตที่สุด ตีที่สุต เท่าที่สามารถจะหาสิงชองมาจัดทำได้ www.kalyanamitra.org
๑๔๒ วิธีการอาบนำศพ - การอาบนํ้าศพนี้ ถือกันว่าเป็นเรื่องภายในครอบครัว ระหว่างญาติสนิท ไม่นิยมเชิญคนภายนอก เป็นภารอาบนํ้าชำระ ร่างภายศพจริง ๆ โดยอาบนํ้าด้วยนํ้าอุ่นก่อนแล้วล้างด้วยนํ้าเย็น ฟอกสบู่ขัดถูร่างภายศพให้สะอาด - เมื่ออาบนํ้าศพเสร็จแล้ว ก็เอานํ้าขมิ้นทาตามร่างภาย ตลอดถืงฝ่ามือฝ่าเห้า และประพรมด้วยนํ้าหอม เอาผ้าขาวซับ รอยหน้า ฝ่ามือทั้งสอง และฝ่าเห้าทั้งสอง แล้วมอบให้แก่ ลูกหลานของผู้ตายเก็บไว้สักภารบูชา - เมื่ออาบนํ้าชำระร่างภายศพเสร็จแล้ว ก็แต่งตัวศพ ตามฐานะของผู้ตาย เช่น เป็นข้าราชภาร ก็แต่งเครื่องแบบ เป็นด้น เครื่องแต่งตัวนั้นนิยมไข้เสัอผ้าที่สะอาดและใหม่ที่สุต เท่าที่มือย่แล้ว เมื่อแต่งตัวศพเสร็จเริยบร้อยแล้ว จึงอัญเชิญศพขึ้นนอน บนเตียงสำหรับรอรับภารรดนั้าต่อไป สถานที่ตํ่งเตียงประดิษฐานศพสำหรบรดนํ้า - เตียงประติชฐานศพสำหรับรดนั้านั้น นิยมขัดตั้ง ณ สถานที่ กว้างๆ กลางของสถานที่นั้น เพื่อความสะดวกแก่ผู้มาแสดง ความเคารพ - นิยมตั้งเตียงประติษฐานศพไว้ด้านข้ายของโต๊ะหมู่บูชา พระรัดนตรัย โดยตั้งโต๊ะหมู่บูชาพระรัตนตรัยไว้ด้านบนสืรษะ ของศพ www.kalyanamitra.org
๑๔ผ - นิยมดั้งเตียงหันด้านขวามือของศพ หรือด้านปลายเท้า ของศพ ให้อยู่ทางผ้ที่มาแสดงความเคารพศพ - ห้ามมิให้ผู้ใดเดินผ่านทางด้านตีรษะของศพ เพราะถือ หันว่าเป็นกิริยาอาการที่แสดงความใม่เคารพด่อศพดั้น - นิยมจัดร่างศพให้นอนหงายเหยียดยาว จัดมือขวาให้ เหยียดออกห่างจากตัวเล็กน้อย โดยจัดมือขวาให้วางหงายแบ เหยียดออกคอยรับการรดดั้า และเพื่อเป็นการแสดงปริศนารรรม แก่ผู้มารดนํ้าศพดั้งหลาย ให้เห็นความจริงของชีวิด คล้ายหับ ศพดั้นจะพูดว่า \"นี่แน่ห่านทั้งหลาย จงดูน่ะ ฉันไปมือเปล่านะ ฉันไฝไตัน่าเอาสมบ้ตอะไร (ของมนุษย์) ติดมือไปเลยแม้แต่ ม้อย และตัวห่านเองล็ฉักต้องเป็นเช่นเดียวฉับฉันนี้เหมือนฉัน - นิยมมืผ้าห่มคลุมดลอดร่างศพดั้น โดยเป็ดหน้าและมือขวา ไว้เท่าดั้น ผ้าที่ใช้คลุมศพดั้น นิยมใช้ผ้าใหม่ๆ และโดยมากมัก ใช้ผ้าแพรห่มนอน - นิยมจัดเตรียมขันโดก หรือขันน่าพานรองขนาดใหญ่ ดั้งไว้คอยรองรับนํ้าที่รดศพดั้น พร้อมดั้งจัดเดรืยมดั้าอาบดั้าหอม ผสมดั้า และมืภาชนะเล็กๆ ไว้ล่าหรับตักให้แก่ผู้มารดนำศพ ด้วย พร้อมหับมืบุคคลผู้ใกล้ชิดหับผู้ดาย หรือลูกหลานคนใด คนหนึ่งคอยล่งภาชนะล่าหรับรดดั้าให้แก่ผู้มารดดั้าศพที่มืได้เดรืยม เครื่องรดนํ้ามาด้วย www.kalyanamitra.org
วิธีการรดนํ้าศพ - ก่อนจะเริ่มพิธีรดนํ้าศพนั้น นิยมให้เจ้าภาพศพจุดเครื่อง สักการบูชาพระรัตนตรัยก่อน แล้วจึงเริ่มพิธีรดนั้าศพต่อไป - นิยมให้พวกลูกหลานวงศาคณาญาติผู้ใหญ่ใกล้ชิดทำการ รดนั้าศพเสียก่อนถืงเวลาเชิญแฃก เพื่อไม่ให้เกิดความคับคั่ง ไม่เสียเวลารอคอยของทำนผู้มาแสดงความเคารพศพ - นิยมมีลูกหลาน หรือญาติฝ่ายเจ้ากาพ คอยรับรองแขก และเชิญเข้ารดนั้าศพ พร้อมทั้งแนะนำทางเข้าไปรดนั้า และทาง ออก เพื่อความสะดวกไม่คับคั่งคัน - เมื่อผู้มีเกียรติมาแสดงความเคารพศพหมดแล้ว นิยม เชิญท่านผู้มีอาวุโสสูงสุดที่อย่ในที่นั้น เป็นผู้แทนรดนั้าศพด้วย นั้าพระราชทาน หรือเป็นผู้รดนั้าศพเป็นท่านสุดห้าย - เมื่อทำนผู้มีอาวุโสสูงสุดที่อย่ที่นัน ได้รดนั้าพระราชทาน ศพแล้ว หรือได้รดนำศพแล้ว ถือคันว่าเป็นเสร็จพิธีรดนํ้าศพ ไม่นิยมให้ผู้ใดผู้หนึ่งรดนั้าศพอีกต่อไป วิธีการจ้ดศพลงหีบ - การจัดศพลงหีบนั้น นิยมมอบให้เป็นหน้าที่ของสัปเหร่อ ทำ พิธีกรรมต่างๆ ดามประเพณีนิยมของห้องถิ่นนั้น ๆ - ฝ่ายเจ้ากาพนิยมติดต่อสอบถามตกลงคันไว้เรืยบร้อยก่อน แล้ว เพิยงแต่คอยให้ความสะดวกแก่พวกสัปเหร่อเทํๅนั้น www.kalyanamitra.org
ระเบียบปฏิบ้ตการจัดสถานทึ่ต้งศพ สถานที่สมควรจัดเป็นที่ตั้งศพ - ถ้าผู้ตายเป็นผู้ใหญ่แห่งตระกูล และบริเวณบ้านเรือน กว้างขวางเหมาะสมแก่การตังศพบำเพ็ญกุศลได้ ก็นิยมจัดตังศพ บำ เพ็ญกุศลที่บ้าน เพราะโดยมากก็นิยมดั้งศพบำพ็ญกุศลไว้ฟ้น เวลานาน อย่างน้อยก็ครบ ๑0๐ วัน จึงจะทำพิธพระราชทาน เพลิงศพ หรือจึงจะทำฟ้ธีฌาปนกิจศพ - สถานที่ดั้งศพนั้น นิยมพิจารณาเลือกใช้สถานที่และ เอกเทศหนึ่งโตยเฉพาะ อันเป็นสถานที่เฉพาะผู้มีความประสงค์ จะเคารพศพเทำนั้นจึงเช้าไป ณ สถานที่นัน ถ้าไม่มีความประสงค์ เช่นนั้นก็ไม่เช้าไป ณ สถานที่นั้น และทุกคนที่เช้าไป ณ สถานที่ นันจะถ้องแสดงความเคารพด่อศพนันทุคครังIพี่01บ้นก''ร^กก่ลง แก่ทำนผู้ล่วงอับไปแล้ว - สถานที่ดั้งศพนั้น ประกอบถ้วยสถานที่ส์าตัญและอุปกรณ์ เครื่องใช้เกี่ยวอับพิธีศพ ที่จะถ้องจัดเดริยมไว้ใบ้มพรักพรอม ตังนี้:- ๑. สถานฑึ่ตั้งโต๊ะหมู่บูชาพระรัตนตรัย ๒. สถานที่ตั้งอาสน์สงฆ์สำหรับพระสงฆ์สวดพระ- อภธรรม Aa ๓. สถานฑติงศพ ๔. สถานที่ตั้งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ www.kalyanamitra.org
๑๔๖ ๕. สลานที่ตั้งรูปของผู้ดาย ๖. อุปกรณ์เดรี่องใช้!นพิธีสพ สถานทีตงโต๊ะหมูบูชาพระรัตนตรัย - โต๊ะหม่บูชาพระพุทธรูป นิยมตั้งไว้ด้านสืรษะของศพ และนิยมตั้งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ทิศเหนือหรือทิศได้ ทิศไดทิศหนี่ง แต่ไม่นิยมตั้งหันหน้าไปทางทิศตะวันตก - นิยมตั้งโต๊ะหม่บูชาพระพุทธรูปไว้ทางด้านหัวอาสน์สงฆ์ที่ พระสงฆ์นั่งสวตพระอภิธรรม และนิยมตั้งไว้สูงกว่าอาสน์สงฆ์ และสูงกว่าที่ตั้งศพพอสมควร - พระพุทธรูปที่บูชานัน นิยมอัญเชิญพระพุทธรูปบูชา ประจำตัวของผู้ตายมาตงบูชา (ถ้ามี) ถ้าไม่มี ก็นิยมอญเชญ พระพุทธรูปที่มีขนาตพอเหมาะกับโต๊ะหม่บูชา มาตั้งบูชา - เครื่องสักการบูชาพระรัตนตรัยต่างๆ นิยมจัตทำเช่นเดียว กับที่กล่าวมาแล้วในการตั้งศพรตนํ้า และโดยมากก็นิยมนำโต๊ะหม่ บูชาหม่นั้น มาไช้ตั้งในการตั้งศพบำเพ็ญกุศลต่อไปอีกด้วย สถานที่ตื้งอาสน์สงฆ์สำหรับพระสงฆ์ สวดพระอภิธรรม - อาสน์สงฆ์ล่าหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรมนั้น นิยม ยกขึ้นให้สูงจากพื้นประมาณ ๑ ศอก เป็นพอดี เพื่อยกพระ. ธรรมและพระสงฆ์ขึ้นไห้สูงเต่น เหมาะแก่ความเคารพเลื่อมใส www.kalyanamitra.org
๑๔๗ - นิยมจัดตั้งอาสน์สงฆ์นี้ไว้ด้านซ้ายของโต๊ะหมู่บูชาพระ- พุทธรูป และนิยมจัดตั้งด้พระอภิธรรมไว้บนอาสน์สงฆ์ข้างหน้า พระสงฆ์สวดพระอภิธรรม - นิยมจัดเครื่องสักการบูชาพระอภิธรรมอีกส่วนหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งประกอบด้วยเครื่องสักการบูชา ดังนี้:- ๑. กระถางธูป ๑ ลูก พร้อมตั้งธูป ๓ ดอก ๒. เชิงเทียน ๑ คู่ พร้อมตั้งเทียนขนาดใหญ่พอสมควร ๓. แจกน ๑ คู่ พร้อมตั้งดอกไม้ - เครื่องสักการบูชาพระอภิธรรมนี้ นิยมตั้งไว้บนโต๊ะสูง ระดับเดียวกันกับอาสน์สงฆ์ หรือสูงกว่าอาสน์สงฆ์เล็กน้อย โดย ตั้งไว้ข้างหน้าอาสน์สงฆ์พระสงฆ์สวดพระอภิธรรม - ไม่นิยมไข้โต๊ะรองที่สูงมากนัก เพราะเมื่อตั้งเครื่องสักการ บูชาแล้วจะนังพระสงฆ์สวดพระอภิธรรม ตั้งไม่นิยมไข้โต๊ะดร มากนัก เพราะดูไม่เหมาะสม - โต๊ะสำหรับตั้งเครื่องสักการบูชาพระอภิธรรมนี้นิยมไข้โต๊ะ ขนาดกลาง มีขนาดไม่เล็ก หรือไหญ่นัก เพื่อสะดวกแก่การ ยกเคลื่อนย้ายออกไปทุกครั้ง ก่อนที่จะถวายเครื่องไทยธรรมและ ทอดผ้าบังสุกุล ประจำทุกคืน สถานทึ่ติ้งศพ - สถานที่ตั้งศพนั้น นิยมตั้งหันด้านสืรษะของศพไปทาง โต๊ะหมู่บูชาพระพุทธรูป และนิยมตั้งอยู่ระดับตากว่าโต๊ะหมู่บูชา พระพุทธรูป หรือมีระดับสูงตั้าไส่เลื่ยกัน www.kalyanamitra.org
๑๔๘ - นิยมดั้งศพไว้ ณ สถานที่ข้างใดข้างหนึ่ง อันเป็นสถานที่ เหมาะสมสำหรับเป็นที่ประดิษฐานสิงที่เคารพ และนิยมดั้งไว้ ให้ห่างออกจากข้างฝา เป็นต้น ประมาณ ๑ ศอก เป็นอย่างห้อย เว้นระยะว่างไว้สำหรับเดินไต้รอบ เพื่อสะดวกแก'การนำพวงหรีด ไปดิดประดับตามฝาผนังที่ดั้งศพ เป็นต้น - เบื้องหลังที่ดั้งศพนั้น ถ้าฝาไม่สะอาด นิยมมีผ้าม่านข้ง ปีดไว้เพื่อความเรียบร้อยสวยงาม และเพื่อเป็นที่แขวนพวงหรีด ไต้อีกต้วย สถานทึ่ตั้งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ - ถ้าผ้ตายเคยไต้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ นิยมนำเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดิดดับหมอนรอง ใส่พานมาดั้งไว้ที่ ข้างหห้าที่ดั้งศพนั้นต้วย - ถ้าผ้ดายเป็นข้าราชการ ก็นิยมนำเครื่องแบบใส่พานมา ดั้งไว้ที่ข้างหห้าที่ดั้งศพนั้นต้วย โดยดั้งพานรองเครื่องราชอิสริ- ยาภรณ์ไว้ต้านสืรษะของศพ ดั้งพานรองเครื่องแบบไว้ต้านเท้า ของศพ และนิยมมีโต๊ะเล็ก ๆ สำ หรับดั้งรองรับให้สูงขึ้นพอ สมควร สถานที่ตํ่งรูปชองผู้ตาย - รูปของผ้ตายนั้น นิยมดั้งไว้ต้านเท้าของศพ ข้างเครื่อง ดังศพ และรูปที่นำมาดังนัน นิยมรูปที่มีขนาดใหญ่พอสมควร www.kalyanamitra.org
๑๔๙ ไม่นิยมนำรูปเล็กเกินไปมาดั้ง เพราะไม่น่าลู ดั้งจะเป็นการประจาน เจ้าภาพว่าเป็นคนตระหนี่ถี่เหนียว ไม่ยกย่องผู้ดายเท่าที่ควร อปกรณ์เครื่องใช้!นพิธีศพ - อุปกรณ์เครื่องใช้ในพิธีศพนั้น ซึ่งเจ้าภาพจะต้องจัด เดรียมไว้ให้นีพรักพร้อม มีรายการดังนี้ะ- ๑, ผ้าภูษาโยง ๒ ผืน ๒. ต้ายสายโยง ๒ ม้วน ๓. เครื่องทองน้อย ๒ ที่ ๔. ภาชนะสำหรับกรวดนํ้า ๒ ที่ ๕. เครื่องสักการบูชาศพ ๑ ชุด ๖. กระถางธูปขนาดใหญ่ พร้อมต้วยดะเกียงเล็ก ๑ ที่ ๗. โต๊ะรองกราบ ๑ ที่ - ผ้าภูษาโยง นิยมใช้ ๒ ผืน คือ สำ หรับต่อเชื่อมโยงจาก ต้ายสายโยงที่โยงจากมีอขวาของศพ ทอดลงมาจากปากหีบศพ วางไว้ที่พานซึ่งดั้งอย่ที่โต๊ะเครื่องดั้งหน้าศพ ๑ ผืน และอีกผืน หนี่งสำหรับต่อเชื่อมกับต้ายสายโยงที่โยงมาจากศพใส่พานดั้งไว้ ที่หัวอาสน์สงฆ์เพื่อใช้ทอดผ้าบังสุกุล - ต้ายสายโยง ๒ ม้วน สำ หรับใช้โยงจากมีอขวาของศพ มาเชื่อมกับผ้าภูษาโยงที่ดั้งหน้าศพสายหนี่ง และโยงมาเชื่อมกับ ผ้าภูษาโยงที่หัวอาสน์สงฆ์อีกสายหนี่ง เพื่อใช้ทอดผ้าบังสุกุล www.kalyanamitra.org
๑๕๐ - เครื่องทองน้อย นิยมใช้ ๒ ที่ คือ จัดตั้งไว้ที่โต๊ะ เครื่องตั้งหน้าศพ สำ หรับผู้ตายบุชาพระธรรม ๑ ที่ และอีก ที่หนึ่งจัดเตรียมไว้สำหรับประธานพิธี หรีอเจ้าภาพ จุดบุชา พระธรรมเมื่อคราวมีพระธรรมเทศนา - ภาชนะสำหรับกรวดนํ้า นิยมจัดเตรียมไว้อย่างน้อย ๒ ที่ สำ หรับใช้กรวดนํ้าอุทิศส่วนกุศลให้ผู้ดาย เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนา และถือกันว่าการกรวดนํ้าด้วยภาชนะสำหรับใช้กรวดนํ้าโดยเฉพาะ เป็นการให้เกยรติแก่ท่านผู้ล่วงกับไปด้วย - เครื่องกักการบุชาศพหนึ่งชุด นิยมจัดตั้งไว้ที่โต๊ะเครื่อง ตั้งหน้าศพ สำ หรับประธานพิธี หรีอเจ้าภาพ จุดบุชาศพก่อน ที่จะบำเพ็ญกุศลอุทิศให้ เครื่องกักการบุชาศพนั้นประกอบด้วย สิงของดังนี้:- ๑. กระถางธูป ๑ ลูก พร้อมด้วยธูป ๑ ดอก ๒. เชิงเทิยน ๑ คู่ พร้อมด้วยเทียน ๒ เล่ม ๓. แจกัน ๑ คู่ พร้อมด้วยดอกไม้ - กระถางธูปขนาดใหญ่ พร้อมด้วยดะเกียงเล็ก หรีอเทียน ชนวน และมีธูปจำนวนมากพอสมควร นิยมจัดเตรียมไว้ที่หน้า เครื่องตั้งศพ สำ หรับผู้มาเคารพศพ จะได้ใช้จุดบุชาศพดาม ประเพณีนิยม - โต๊ะรองกราบ ๑ ที่ นิยมจัดตั้งไว้ที่ช้างหน้าเครื่องตั้งศพ สำ หรับเป็นที่รองกราบของผู้เป็นประธานพิธี หรือเจ้าภาพในการ บำ เพ็ญกุศลอุทิfAห้ผู้ตาย www.kalyanamitra.org
G><^0 ระเบียบปฏิบัตการจัดงานบำเพ็ญกศลศพ การจัดพิธีบำเพ็ญกุศลบงสุชุลปากโกศศพ หรือปากหีบศพ - เมื่อได้นำศพเข้าบรรจุในโกศ หรือใบหีบศพแล้วและ ยกขึ้นประดิษฐานบนเครื่องตั้ง ประดับตกแต่งเครื่องประดับ เรืยบร้อยแล้ว - นิยมจัดพิธีบำเพ็ญกุศลสดับปกรณ์ หรือบังสุกุลปากโกศ ศพ โดยนิมนต์พระสงฆ์ทรงสมณดักดิ้ ๑๐ รูป มาพิจารณา สดับปกรณ์ หรือบังสุกุลปากโกศศพ สำ หรับพระศพหรือศพ ข้าราชการผู้ใหญ่ ชี่งได้รับพระราชทานนํ้าอาบศพและได้รับ พระราชทานเครื่องประกอบเกียรติศพ หรือ - นิยมนิมนต์พระภิกษุสงฆ์ จำนวน ๑๐ รูป หรือ ๕ รูป มาพิจารณาผาบังสุกุลปากหีบศพ สำ หรับศพผู้มีเกียรดิทํ่'วไป - เมื่อพระสงฆ์ทรงสมณดักด หรือพระภิกษุสงฆ์ธรรมดา (ซึ่งได้อาราธนาเดรืยมไว้ก่อนแล้ว) มาพร้อมดันแล้วและเมื่อ พิธีการทุกอย่างจัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็นิมนต์พระสงฆ์ทั้งนั้น ขึ้นนั่งบนอาสน์สงฆ์ - เข้าภาพงานศพนั้น เริ่มจุดเครื่องสักการบูชาพระรัดน- ดรัย และจุดเครื่องสักการบูชาที่หน้าเครื่องตั้งศพ ล้ามีเครื่อง ทองน้อยตั้งอยู่ที่หน้าเครื่องตั้งศพด้วย ก็นิยมจุดเครื่องสักการ www.kalyanamitra.org
๑๕๒ บชาที่เครี่องทองน้อยนั้น แล้วหันค้านหน้าที่ดั้งดอกไม้ออกมาทาง พระสงฆ์สดับปกรณ์ หรือบังสุกุล เพื่อให้ผู้ตายบูชาพระธรรม - พิธีกรเริ่มอาราธนาสีล พระเถระประธานสงฆ์ให้สิล จบแล้วพระสงฆ์ดั้งนั้นดั้งพัดสวดมาติกาจบแล้ว - พิธีกรเริ่มทอดผ้าภษาโยง (ล้ามี) โดยยกผ้าภษาโยงลง จากพานที่รองรับ วางไว้ที่พื้นอาสน์สงฆ์ แล้วจับชายผ้าคูษาโยง ทอดไปตามพื้นอาสน์สงฆ์จนดลอดพระสงฆ์ดั้งนั้น หรือทอดค้าย สายโยงไปจนตลอดพระสงฆ์ดั้งนั้น เพื่อเป็นการทอดผ้าบังสุกุล ต่อไป หรือ - เมื่อเจ้าภาพงานศพ จุดเคริ่องสักการบูชาเสร็จเรืยบร้อย แล้ว พิธีกรนำผ้าบังสุกุลเจ้าไปเชิญเจ้าภาพทอดผ้าบังสุกุลต่อไป หันที (โดยไม่ค้องอาราธนาสืล และไม่ค้องสวดมาติกา) - เจ้าภาพรับผ้าบังสุกุลมาทอดครั้งละผืน โดยวางขวาง ผ้าภูษาโยง หรือวางขวางค้ายสายโยงตรงจ้างหน้าพระภิกษุสงฆ์ แต่ละรูป จนครบทุกรูป - เมื่อเจ้าภาพทอดผ้าบังสุกุลเสร็จแล้วก็กลับไปนั้งที่เติม พระสงฆ์ดั้งนั้นดั้งพัดพิจารณาผ้าบังสุกุลพร้อมดัน เจ้าภาพ ประณมมีอฟัง - เมื่อพระสงฆ์พิจารณาผ้าบังสุกุลจบแล้ว พิธีกรพิงนำ ภาชนะส์าหรับกรวดนั้าเจ้าไปให้เจ้ากาพ พระสงฆ์ดั้งนั้นดั้งพัด อนุโมทนา เจ้าภาพเริ่มกรวดนํ้าอุทีศส่วนกุศลให้แก่ผู้ดายแล้ว ประณมมีอรับพรต่อไป www.kalyanamitra.org
๑๕๓ - เมื่อพระสงฆ์กำลังอนุโมทนานั้น พิธีกรพึงเก็บผ้าภูษาโยง หรือด้ายสายโยง เป็นเสร็จพิธีบำเพ็ญคุศลบังสุกุลปากโกศศพ หรือปากหีบศพ การจัดพิธีสวดพระอภิธรรมประจำคืน - การจัดพิธีบำเพ็ญกุศลสวดพระอกธรรมประจำคืนนั้น นิยมเริ่มจัดทำตั้งแด่วันตั้งศพเป็นด้นไปทุกคืน จนครบลัดดมวาร ที่ ๑ คือ ครบ ๗ วัน - ถ้าผ้ดายเป็นข้าราชการผู้ใหญ่ หรือเป็นที่เคารพบับถือ ชองคนนั้งหลาย นิยมเป็ดโอกาสให้ผู้มีความกตัญญกดเวหีได้รับ จองเป็นเจ้าภาพบำเพ็ญกุศลอุทิfAห้แก่ทำนผู้ล่วงลับไปแล้ว เพื่อ เป็นการแสดงความกลัญญกตเวหีด่อทำนผู้หีพระคุณ หรือหี อุปการคุณแก่ดนๆ ดามประเพณีนิยมของลังคม - การนับวันบำเพ็ญกุศลลัดตมวาร ป็ญญาสมวาร และ สดมวาร นั้น นิยมเริ่มนับตั้งแด่วันที่ถืงแก่กรรมเป็นด้นไป คือะ- เมื่อนับจากวันที่ถืงแก่กรรมไป ครบ ๗ วัน เรืยกว่า \"สัตตมวาร\" เมื่อนับจากวันที่ถืงแก่กรรมไป ครบ ๕๐ วัน เรียกว่า \"ป้ญญาสมวาร\" เมื่อนับจากวันที่ถืงแก่กรรมไป ครบ ๑๐๐ วัน เรียกว่า \"สตมวาร\" www.kalyanamitra.org
- การบำเพ็ญกุศลในวาระที่ครบ ๗ วัน ๕๐ วัน และ ๑๐๐ วันนั้น นิยมว่าเป็นงานส่วนรวมของคณะเจ้าภาพโดยตรง จึงไม่นิยมเป็ดโอกาสให้ผู้ใดผู้หนึ่งรับเป็นเจ้าภาพโดยเฉพาะ - เนึ่อบำเพ็ญกุศลในสัดดมวารที่ ๑ คือ ทำบุญ ๗ วัน แล้ว ล้ายังมีผู้มีจิตศรัทธารับจองเป็นเจ้าภาพสวดพระอภิธรรม ต่อไปอีก ก็นิยมเป็ดโอกาสให้รับจองเป็นเจ้าภาพในสัดดมวาร ต่อๆ ไปทุกๆ ๗ วัน ซึ่งดรงกับวันที่ถีงแก่กรรม เช่น ถึง แก่กรรมวันอาทิตย์ ก็นิยมเป็ดศพสวดพระอภิธรรมทุกๆ วัน อาทิตย์ เป็นต้น จนครบ ๑๐๐ วัน หรือจนถึงวันพระราชทาน เพลิงศพ หรือจนถึงวันฌาปนภิจศพ การจัเ?เงานบำเพ็ญกุศลสตตมวาร - การจดงานบำเพ็ญกุศลสัตดมวาร คือ ทำบุญ ๗ วันนั้น นิยมจัดเป็นงานบำเพ็ญกุศลพิเศษ โดยจัดให้มีรายการบำเพ็ญ กุศลต่างๆ ดามกำลังศรัทธา และดามกำลังทรัพย์ที่จะอำนวยให้ จัดทำไต้ ซึงนิยมจัดงานบำเพ็ญกุศล ๒ วันบ้าง วันเดียวบ้าง การจัดงานบำเพ็ญกุศล ๒ วัน - การจัดงานบำเพ็ญกุศลสัดตมวาร คือ ทำบุญ ๗ วันนั้น ล้าจัดงาน ๒ วัน นิยมเริ่มงานพิธีบำเพ็ญกุศลตั้งแต่เย็นวันที่ ครบ ๖ วัน และรุ่งขึ้นวันที่ครบ ๗ วันต้วย โดยมากมีรายการ บำเพ็ญกุศล ดังต่อไปนี้:- www.kalyanamitra.org
๑ วันที่ เดือน พ.ศ ตรงกับวัน คร เดือน เวลา ๑๗.๐๐ น. พระราชาคณะแสดงพระธรรมเทศนา พระสงฆ์ ๔ รูป สวดรับเทศน์ เวลา ๑๘.๐๐ น. พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ้ ๑๐ รูป สวดพระพุทธมนต์ เวลา ๑๙.๐๐ น. พระสงฆ์ ๔ รูป สวดพระอภิธรรม รุ่งขึ้นวันที่ เดือน พ.ศ ดรงกับวัน คำ เดือน เวลา ๑๐.๓๐ น. พระสงฆ์ทรงสมณสักดิ้ ๑๐ รูป สวดถวายพรพระ เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายกัดดาหารเพล แด่พระภิกษุสงฆ์ จำนวน รูป เวลา ๑๒.๓๐ น. พระภิกษุสงฆ์ จำ นวน รูป สวดมาติกา และบังสุกุล (นิยมจำนวนเท่าอายุผู้ตาย) เวลา ๑๙.๐๐ น. พระสงฆ์ ๔ รูป สวดพระอภิธรรม เวลา ๒๑.๐๐ น. ถวายเครื่องไทยธรรม ทอดผ้าบังสุกุล พระสงฆ์อนุโมทนาจบแล้ว เป็นเสร็จ การจัดงานบำเพ็ญกุศลวนเดียว - การบำเพ็ญกุศลสัดดมวาร ดือ ทำบุญ ๗ วัน แบบจัด งานบำเพ็ญกุศลวันเดืยว นิยมจัดทำในวันที่ครบ ๗ วัน นับจาก วันที่สีงแก่กรรม เป็นต้นมา www.kalyanamitra.org
๑๕๖ - ในฟ้'จจุบ'นน นิยมจัดงานบำเพ็ญกุศลแบบวันเสียว โดยมาก เพราะไม่ต้องเสียเวลาด้วยกันทุกฝ่าย ทั้งฝ่ายเจ้าภาพ ทั้งฝ่ายพระภิกษุสงฆ์ผู้ไต้รับอาราธนามาในงาน และเป็นการ ประหยัดค่าใช้จ่ายต่างๆ ลงไปไต้อีกด้วย โดยมากนิยมจัดการ บำ เพ็ญกุศล กังนี้ะ- วันที่ เสีอน พ.ศ ตรงกับวัน ดร เสือน เวลา ๑๐.00 น. พระราชาคณะแสดงพระธรรมเทศนา เวลา ๑๐.๓๐ น. พระสงฆ์ทรงสมณกักดิ้ ๑๐ รูป สวดพระพุทธมนต์ เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายกัดดาหารเพลแต่พระภิกษุสงฆ์ จำ นวน รูป เวลา ๑๒.๓๐ น. พระภิกษุสงฆ์ จำ นวน รูป สวดมาติกา และบังสุกุล เวลา ๑๙.๐๐ น. พระสงฆ์ ๔ รูป สวดพระอภิธรรม เวลา ๒๑.๐๐ น. ถวายใครื่องไทยธรรม ทอดผ้าบังสุกุล พระสงฆ์อนุโมทนาจบแล้ว เป็นเสร็จ พิธี การจัดงานบำเพ็ญกุศลปัญญาสมวาร - การจัดงานบำเพ็ญกุศลบัญญาสมวาร คือ ทำบุญ ๕0 วัน นั้น นิยมจัดพิธีการบำเพ็ญกุศลต่างๆ เช่นเสียวกับการบำเพ็ญ กุศลสัตตมวาร (ทำบุญ ๗ วัน) กังกล่าวมาแล้ว www.kalyanamitra.org
๑๕๘) - ถ้ามีความขัดข้องในเรื่องการเงินก็ตาม มีความขัดข้อง ในเรื่องไม่อำนวยก็ดาม ก็นิยมขัดพิธีบำเพ็ญกุศลแบบรวบรัด ให้เสร็จภายในเวลาเพ็ยงไม่กี่ชั่วโมง และไม่ต้องขัดถวายกัดดาหาร อีกต้วย โดยมีรายการบำเพ็ญกุศลต่างๆ ดังต่อไปนี้:- วันที่ เดือน พ.ศ ดรงกับวัน คา เดือน เวลา ๑๗.๐๐ น. พระราชาคณะแสดงพระธรรมเทศนา พระสงฆ์ ๔ รูป สวดรับเทศน์ เวลา ๑๘.๐๐ น. พระสงฆ์ ๑๐ รูป สวดพระพุทธมนต์ เวลา ๑๙.๐๐ น. พระสงฆ์ ๔ รูป สวดพระอภิธรรม เวลา ๒๑.๐๐ น. ถวายเครื่องไทยธรรม ทอดผ้าบังสุกุล พระสงฆ์อนุโมทนาจบแล้ว เป็นเสร็จพิธี การจัดงานบำเพ็ญกุศลสตมวาร - การบำเพ็ญกุศลสดมวาร ดือ ทำบุญ ๑๐๐ วันนั้น โดยมากนิยมขัดทำเป็นพิเศษกว่าการบำเพ็ญกุศล ๗ วัน และ ๕๐ วัน เพราะมีเวลาดระเตรียมสิงของต่างๆ ไต้นาน - ถ้าทุกสิงทุกอย่างพร้อมสมบูรณ์ ดือ ทั้งบุคคลที่ร่วมงาน ก็มีความเห็นพ้องต้องกัน ทั้งสถานที่ก็อำนวย ทั้งการเงินก็มี เพ็ยงพอ ทั้งหนังสืออนุสรณ์งานก็ขัตพิมพ์เสร็จทัน ก็นิยมขัดงาน บำ เพ็ญกุศลสตมวารนี้ควบต่กับงานพระราชทานเพสิงศพ หรีอ งานฌาปนภิจศพ ดือ ขัดงานติดต่อกันไปเลย www.kalyanamitra.org
๑๕๘ - ถ้าทุกสิงทุกอย่างยังไม่พร้อม ก็นิยมจัดงานบำเพ็ญกุศล สตมวารนี้เป็นงานหนึ่งโดยเฉพาะ เช่นเดยวกับงานบำเพ็ญกุศล สัดตมวาร และงานบำเพ็ญกุศลนิญญาสมวาร กังกล่าวมาแล้ว - ในการจัดงานบำเพ็ญกุศลครบ ๗ วันก็ด ครบ ๕0 วัน ก็ดี ครบ ๑๐๐ วันก็คี ไม่นิยมพิมพ์การ์ดแจก เพราะถือกันว่า เป็นเรื่องการบำเพ็ญกุศลภายในของวงส์ญาตินิดรสหายนละผู้มี ความเคารพนับถือทังหลาย จะพิงแสดงความกกัญญกตเวที จัดการบำเพ็ญกุศลอุทีฬห้แก่ท่านผู้ล่วงสับไป ตามกำลังศรัทธา และตามความสามารถของแต่ละบดคลโตยเฉพาะ ระเบียบปฎิป้ตการบรรจศพ การกำหนดวันบรรจุศพ - การกำหนดวันประกอบพิธีบรรจุศพ (คือ การเก็บศพ ไว้ก่อน เพื่อรอความพร้อมที่จะจัดงานฌาปนกิจศพ หรือจะจัด งานพระราชทานเพสิงศพ) นั้น นิยมปฎิบ้ติกันโดยมาก แปงออก ได้เป็น ๒ แบบ คือ:- ๑. การประกอบพิธีบรรจุทัพ เมื่อได้บำเพ็ญกุศลสวด พระอภิธรรมครบ ๓ คืนแล้ว หรือ ๒. การประกอบพิธีบรรจุศพ เมื่อได้บำเพ็ญกุศลสัดดมวาร (คือ ทำบุญ ๗ วัน) แล้ว www.kalyanamitra.org
- การจะกำหนดประกอบพิธีบรรจุศพ เมื่อไร ณ สถานท ไหนนน เจ้าภาพศพจะต้องติดต่อสอบถามดกล■าก้ป'ถา'าวัศ ถ^ก เจ้าหน้าที่ของสุสานที่จะปร«กอมพิธีม^^จุ^'''*'ม้ปไ ถถ^^®^ เพื่อความสะดวกเรียบร้อยติงามต้ายกันทุกฝ่า® - ส์าหรับศพที่ตั้งบำเพ็ญกุศลสวดพระอกิรรรมทุกตินก็ติ ทุก ๗ วันก็ติ ดลอดไปจนกว่าจะถึงงานบำเพ็ญกุศลฟ้ญญา- สมวาร (ทำบุญ ๕๐ วัน) หรีองานบำเพ็ญกุศลสดมวาร (ทำบุญ ๑๐๐ วัน) หรองานฌาปนกิจศพ หรีองานพระราชทานเพลิงศพ ไม่น้ยมประกอบพิธีบรรจุศพแต่อย่า'3ได สถานที่บรรจุศพ - สถานที่สำหรับบรรจุศพนัน นิยมปฎินัติกันโดยมาก แป'า ออกไต้เปีน ๓ แบบ ติอะ- ๑. การบรรจุศพ ณ ศาลาที่ตั้งศพบำเพ็ญกุศลสวดพระ- อภิธรรม วัดนั้น ๒. การบรรจุศพ ณ สุสานของวัดที่ตังศพบำเพ็ญกุศล สวดพระอภิธรรม นั้น หรีอ ๓. การอัญเชิญศพไปบรรจุ ณ สุสานของวัดไดวัดหนิง หรีอ ณ สุสานนอกวัดแห่งไดแห่งหนึ่ง - การบรรจุศพ ณ ศาลาที่ตั้งบำเพ็ญกุศลสวดพระอภิธรรม วัดนั้น นิยมเริ่มประกอบพิธีบรรจุศพต่อจากไต้บำเพ็ญกุศลสวด พระอภิธรรมครบ ๓ ติน เสร็จเรียบร้อยแล้วในคืนนั้นลิบต่อไป www.kalyanamitra.org
obo ทันที หรือนิยมเริ่มประกอบพิธีบรรจุศพต่อจากได้บำเพ็ญกุศล สัดดมวาร (สือ ทำบุญ ๗ วัน) เสร็จเรืยบร้อยแล้วในวันนั้น สืบต่อไปทันที - การบรรจุศพ ณ สุสานของวัดที่ตั้งศพบำเพ็ญกุศลสวด พระอภิธรรมนั้น นิยมเริ่มประกอบพิธีบรรจุศพต่อจากได้บำเพ็ญ กุศลสวดพระอภิธรรมครบ ๓ คืนแล้ว หรือนิยมเริ่มประกอบพิธี บรรจุศพต่อจากได้บำเพ็ญกุศลสัดดมวาร คือ ทำ บุญ ๗ วั-น เสร็จเรืยบร้อยแล้ว โดยนิมนต์พระสงฆ์แห่งวัดที่ตั้งศพนั้นเป็น ผู้นำศพไปยังสุสานที่จะประกอบพิธีบรรจุศพนั้น จำนวน ๑ รูป หรือหลายรูปก็ได้ - การยัญเชิญศพไปบรรจุ ณ สุสานของวัดใดวัดหนึ่ง หรือ ณ สุสานนอกวัดแห่งใดแห่งหนึ่งทัน นิยมนิมนต์พระสงฆ์แห่งวัด ที่จะนำศพไปบรรจุนั้น เป็นผู้นำศพไปยังสุสานของวัดนั้น หรือ นิยมนิมนดพระสงฆ์รูปใดรูปหนิงซึงเป็นที่เคารพทับถือของเจ้าภาพ ศพ เปนผู้นำศพไปบรรจุ ณ สุสานนอกวัดแห่งใดแห่งหนึ่งนั้น การเตรียมอุปกรณ์เครื่องไซ้!นพิรีบร[รฉุffvi - ในการประกอบพิธีบรรจุศพนั้น นิยมจัดเดรืยมอุปกรณ์ เครื่องไซ้ในการประกอบพิธีไว้ให้พร้อมก่อนถืงเวลาประทฐน 4 ต่อไปนี้ คือ:- ๑. ผ้าไดร หรือ ผ้าสบง หรือ ผ้าเช็ดตัว อย่างใด อย่างหนึ่ง สำ หรับไซ้ทอดให้พระสงฆ์พิจารณาบังสุกุลก่อนที่จะ www.kalyanamitra.org
๑๖๑ บรรจุศพอม่ไง'นอซ ๏ พื^ หรอมจำนวนมาก1ท่าจำ'นในพร\"ร'^^ ที่นิมนต์มา'พิจารณาบังสุกุล'นั'น ๒. ก้อนดินเล็กๆ ห่อด้วยผ้าล็ดำ หรือห่อด้วยกระดาษ ล็ดำ มีจำ นวนมากเพิยงพอแก่ผู้มาร่วมพิธีบรรจุล'ศษั้ษ (ลบล- ๑ ก้อน) ๓. ดอกไม้สด ชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่มีล็สวย มีกลิ่นหอม และกำลังสดชื่น โดยมากนิยมใช้ดอกกุหลาบ มีจำ นวนมาก เพียงพอแก่ผู้มาร่วมพิธีบรรจุศพ'นั้น (คนละ ๑ คอค) ๔. ธูป นิยมใช้ธูปหอม มีจำ นวนมากเพียงพอแก่ผู้มา ร่วมพิธีบรรจุศพนั้น (คนละ ๑ ดอก) ๕. กระถางธูป ๑ ลูก มีฃนาดใหญ่พอสมคาร สำ หรับใช บักธูปเคารพศพนั้น ๖. เหรืยญเงิน ๑ บาท หรือเหรืยญเงิน ๕ บาท จำ นาน ๑ เหรืยญ เปีนอย่างม้อย หรือมีจำนานหลายเหรืยญก็ยิ่งดี สำ หรับใช้ซอที่อย่ให้แก่ศพนั้น ตามประเพณีที่มีมาแต่โบราณกาล วิธีปฏิ'ฆตในการประกอบพิธีบร'รชุ^พ - วิธีปฐบัดิในการประกอบพิธีบรรจุศพนั้น นิยมปอิบ้ดกัน โดยมาก แปงออกได้เป็น ๒ แบบ ดีอ:- ๑. อัญเชิญศพเช้าส่ที่บรรจุเสร็จเรืยบร้อยก่อน ๒. อัญเชิญศพดั้งบาเพ็ญกุศล ณ ศาลาบริเาณสุสานนั้นก่อน www.kalyanamitra.org
๑๖๒ - การอัญเชิญศพเข้าส่ทบรรจุเสร็จเรียบร้อยก่อนแล้ว นิยม เริ่มประกอบพิธีดังต่อไปนี้ คือ:- - เริมพิธีทอดผ้าบังสุกุล โดยเจ้าภาพศพเชิญท่านผู้ใหญ่ เป็นประธานทอดผ้าบังสุกุล หรีอเจ้ากาพศพทอดผ้าบังสุกุลเอง โดยวางทอดผาบังสุกุลไว้บนหลังหีบศพบัน แล้วนิมนต์พระสงฆ์ ผู้นำศพให้พิจารณาผ้าบังสุกุล ครั้งละ ๑ รูป จนครบพระสงฆ์ ทุกรูปที่นิมนต์มาในพิธีบรรจุศพนั้น - เจ้าภาพศพเชิญท่านผู้มีเกียรติซึ่งเป็นผู้ใหญ่ในพิธีนั้นเป็น ประธานประกอบพิธีบรรจุศพ โดยมอบก้อนติน ๑ ก้อน ดอกไม้สด ๑ ดอก ธป (ที่จุดไฟแล้ว) ๑ ดอก ให้แก่ท่านผู้เป็นประฐาน และมอบให้แก่ผู้มาร่วมพิธีบรรจุศพนั้นทุกคนอย่ๅงเดียวลัน - ท่านผู้เป็นประธานพิธีเริ่มประกอบพิธีบรรจุศพด้วยการ วางกอนติน และดอกไม้สด ณ สถานที่บรรจุศพนั้น แล้วถือฐป ประณมมือยกขึ้นให้นี้วหัวแม่มือทั้งสองจรดอยู่ที่ดั้งชุมูก ปลๅย นี้วขึ้ทั้งสองจรดอยู่ระหว่างคิ้วพร้อมลับนึกอธิษฐานในใชุ- \"ข0 จงอยู่เป็นสุข ๆ เถิด'' ชุบแล้ว บักธูปไว้ ล! กระถางสำหfบ บักธูปนั้น แล้วน้อมดัวลงยกมือไหว้อีกครั้ง แม้ผู้มาร่วมพิธี ทุกคนก็นิยมปฏิบัติเช่นเดียวลัน - เจ้าภาพศพนั้นนิยมนำเหรียญเงิน ๑ บาท หรีอเหรียญ เงิน ๕ บาท จำนวน ๑ เหรียญ เป็นอย่างน้อย หรีอมืจำนวน หลายเหรียญก็ยิ่งดี วางลง ณ สถานที่บรรจุศพนั้นพร้อมลับ นิกในใจว่า \"ข้าแต่ท่านเป็นเจ้าของที่ ข้าพเจ้าขอมอบเงินนี้ เป็นคำที่อยู่ใหัแก'ศพนี้'' เสร็จแล้ว เป็นเสร็จพิธีบรรจุศพเท่านี้ www.kalyanamitra.org
๑๖ผ - ถ้าประกอบพิธีบรรจุศพ ณ ศาลาที่ตั้งศพบำเพ็ญกุศล สวดพระอภิธรรมวัดนั้น นิยมไม่ต้องซื้อที่อยู่ให้แก่ศพแด่ประการใด - การอัญเชิญศพตั้งบำเพ็ญกุศล ณ ศาลาบริเวณสุสานนั้น ก่อน นิยมเริ่มประกอบพิธีดังด่อไปนี้ คือะ- - นิมนต์พระสงฆ์จำนวน ๕ รูป เป็นอย่างน้อย หรือมี จำนวนมากกว่านั้น มาประกอบพิธี ต้วยการสมาทานคืล ๕ แล้วนิมนต์พระสงฆ์สวดมาติกาและบังสุกุล พระสงฆ์ให้พร เจ้าภาพกรวดนั้าอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณผู้ตายแล้ว จึง อัญเชิญศพเจ้าส่ที่บรรจุเสร็จเรืยบร้อยแล้ว ก็เริ่มประกอบพิธี บรรจุศพดังกล่าวมาแล้ว - ในการประกอบพิธีบรรจุศพนี้ บางห้องถิ่นก็นิยมมีการ โปรยทานต้วย เพื่อเป็นการบำเพ็ญกุศลเพิ่มขึ้นอีกส่วนหนึ่งอันเป็น การส่งเสริมเพิ่มเติมบุญบารมีของท่านผู้ล่วงลับไปแล้วให้มีมาก ยิ่งขึ้นในคติวิลัยสัมปรายภพนั้น ระเบียบปฏิป้ติการจดงานพระราชทานเพลิงศพ หรือ งานฌาปนกิจศพ การกำหนดงาน - การกำหนดงานพระราชทานเพลิงศพ หรืองานฌาปนกิจ ศพนั้น นิยมประชุมปริกษาหารือลันระหว่างบุคคลผู้มีความ เกี่ยวจ้องลับผู้ดาย และการประชุมปรึกษาหารือดกลงลันอย่างจ้า www.kalyanamitra.org
๑๖๔ นิยมภายในระยะเวลาก่อนงานบำเพ็ญกศลifญญาสมวาร (ทำบุญ ๕๐ วัน) เพื่อจะได้นิเวลาเพ็ยงพอแก่การจัดทำสิงของเป็น อนุสรณ์แก่ทำนผู้ล่วงลับไป เช่น การจัดพิมพ์หนังสืออนุสรณ์ งานศพ เป็นด้น - ถ้าตกลงจะจัดงานพระราชทานเพสิงศพ หรืองานฌาปน กจศพติดต่อกับงานบำเพ็ญกุศลสตมวาร (ทำบุญ ๑๐๐ วัน) ก็ยังนิเวลาตระเดรืยมจัดงานได้เกือบ ๒ เดือน นับว่านิเวลามาก เพิยงพอแก่การจัดงาน โดยไม่เป็นการรืบต่วนจนเกินไปนัก การเตรียมงานเบื้องต้น - ถ้างานนั้นเป็นงานพระราชทานเพสิงศพท่านผู้ใหญ่แห่ง ตระกุล นิยมนิเครื่องลังเด็ด เช่น ด้ยา โต๊ะ เตียง ธรรมาสน์เทศน์ ธรรมาสน์ปาติโมกข์ เป็นด้น อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง ถวายเป็นของสงฆ์ เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ท่านผู้ล่วงลับไปด้วย - นิยมจัดพิมพ์หนังสือที่นิสาระประโยชน์เกี่ยวกับพระพุทธ ศาสนา หรือเกี่ยวกับวิชาการ เป็นด้น เป็นอนุสรณ์อย่างน้อย ๑ เล่ม หรือถ้านิหลายเล่มก็ยิ่งเป็นเกืยรติแก่ท่านผู้ล่วงลับไป มากยิ่งขึ้น - นิยมจัดทำสิงของถวายพระสงฆ์ เช่น ฬดรอง ย่าม หมอน เป็นด้น อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างดามกำลังเงิน ที่จะอำนวยให้จัดทำได้ เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่งานอีกด้วย www.kalyanamitra.org
๑๖๕ การจัดตั้งศพบำเพ็ญกุศลก่อนพระราชทาน เพลิงศพ หรือ ฌาปนกิจศพ - การจัดงานบำเพ็ญกุศลก่อนพระราชทานเพลิงศพ หรือ ก่อนฌาบํนกิจศพนั้น นิยมจัดพิมพ์การ์ดแจกแก่วงส์ญาติสนิท นิดรสหาย และท่านที่นิความเคารพนับถือทั้งหลายด้วย - นิยมประกาศทางส์อสารมวลชน เช่น หนังถือพิมพ์ วิทยุ เพื่อจะได้ทราบโดยทั่วกัน - การจัดงานบำเพ็ญกุศลก่อนพระราชทานเพลิงศพ หรือ ก่อนฌาบํนกิจศพนี้ นิยมจัดงาน ๒ วันบ้าง จัดงานวันเติยวบ้าง การจัดงานบำเพ็ญกุศล ๒ วน - การจัดงานบำเพ็ญกุศลแบบจัดงาน ๒ วันนั้น ถ้าจัดท่า ติดต่อกับงานบำเพ็ญกุศลสดมวาร คือ ครบ ๑๐๐ วัน ก็นิยม เริ่มจัดงานเวลาเย็นของวันที่ครบ ๑๐๐ วัน เป็นด้นไป และ นิยมพิมพ์การ์ดกำหนดงาน ดังนี้:- (ด้านหน้าของการ์ด) กำ หนดงานพระราชทานเพลิงศพ (หรือฌาปนกิจศพ) (ใส่นามผู้ตาย) ณ เมรุวัด ตำ บล อำเภอ จังหวัด วันที่ เดือน พ.ศ ตรงกับวัน ดร เดือน เวลา น. www.kalyanamitra.org
๑๖๖ (ด้านภายในการ์ด) รายการบำเพ็ญกศล วันที่ เดือน พ.ศ ตรงกบวัน คร เดือน เวลา ๑๖.๐๐ น. อัญเชิญศพขึ้นประดิษฐานบำเพ็ญกุศล ณ ศาลาการเปรียญ เวลา ๑๗.๐๐ น. พระราชาคณะแสดงพระธรรมเทศนา พระสงฆ์ ๔ รูป สวดรับเทศน์ เวลา ๑๘.๐๐ น. พระสงฆ์ทรงสมณสักดิ้ ๑๐ รูป สวดพระพุทธมนต์ เวลา ๑๙.๐๐ น. พระสงฆ์ ๔ รูป สวดพระอภิธรรม รุ่งขึ้นวันที่ เดือน พ.ศ ดรงกับวัน คร เดือน เวลา ๑๐.๐๐ น. มีเทศน์อานิสงส์หน้าศพ ๑ กัณฑ์ เวลา ๑๐.๓๐ น. พระสงฆ์ทรงสมณสักดิ้ ๑๐ รูป สวดถวายพรพระ เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายกัดดาหารเพล แด่พระภิกษุ สามเณร จำนวน รูป เวลา ๑๓.๐๐ น. พระราชาคณะแสดงพระธรรมเทศนา เวลา ๑๔.๐๐ น. พระสงฆ์ทรงสมณสักดิ้ ๑๐ รูป สวดศราทธพรดคาถา (นิยมเฉพาะงานพระราชทานเพลิงศพ) เวลา ๑๕.๐๐ น. พระภิกษุสงฆ์ จำนวน รูป สวดมาดิกา และบังสกล www.kalyanamitra.org
๑๖๗ เวลา ๑๖.๐๐ น. พระราชทานเพลิงศพ เวลา ๑๘.๐๐ น. เก็บอ้เ จึงฃอประทานกราบเรียน และเรียนเชิญมาด้วยความเคารพ ใ!บถืออย่างสูง เจ้าภาพ การจัดงานบำเพ็ญกุศลวันเดียว - การจัดงานบำเพ็ญกุคลแบบจัดงานวันเดียว'นั้น นิยมจัด แยกเป็นเอกเทคหนึ่ง ไม่เกี่ยวเนึ่องกับงานบำเพ็ญกุคล ๑๐๐ วัน และนิยมพิมพ์การ์ดกำหนดงาน กังนี้:- (ด้านห'นาของการ์ด) กำ หนดงานฌาปนกิจศพ (ใส่นามผู้ฅาย) ณ เมรุวัด อำเภอ จังหวัด ตำ บล พ.ค ดรงกับวัน ดร เดือน วันที่ เดือน เวลา น. www.kalyanamitra.org
๑๖๘ (ด้านภายในการ์ด) รายการบำเพ็ญกศล วันที่ เดือน พ.ศ ตรงกับวัน คร เดือน เวลา ๐๙.๐๐ น. อัญเชิญศพขึ้นประดืษฐานบำเพ็ญกุศล ณ ศาลาการเปรียญ เวลา ๑๐.๐๐ น. มีพระธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์ เวลา ๑๐.๓๐ น. พระสงฑ์ ๑๐ รูป สวดพระพุทธมนต์ เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายกัดตาหารเพล แด่พระภิกษุ สามเณรทั้งวัด เวลา ๑๓.๐๐ น. พระภิกษุสงฆ์ จำนวน รูป สวดมาติกา และบังสุกุล เวลา ๑๖.๐๐ น. ประชุมเพลิง เวลา ๑๘.๐๐ น. เก็บอัฐิ จึงขอประทานกราบเรียน และเรียนเชิญมาด้วยความเคารพ บับถือลย่างสูง เจ้าภาพ - ดามรายการที่แสดงมานี้ เป็นเพ็ยงตัวอย่างเท่านั้น เมื่อ ถืงคราวปฏิบัติจริงอาจพิจารณาลดลง หรืออาจเพิ่มเติมรายการ บำเพ็ญกุศลด่างๆ ขึ้นอกได้ ดามกำอังศรัทธาและความสามารถ หรือ www.kalyanamitra.org
๑๖๙ - บางท้องถิ่นก็อาจนิยมปฎิป้ตพิธีแตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับดุลยพินิจฃองผ้จัดงาน พิงพิจารณาจัดงานไท้ดำเนิน ไปดามความเหมาะสมแก่ฃนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่น นั้นๆ ชนิดบัวก็ไม่ไท้ชํ้า นํ้า (นํ้าใจ) ก็ไม่ไท้ขุ่น จึงจะเป็น ผู้สมควรได้รบการยกย่องว่าเป็นผู้ฉลาดในพิธีการจัดงานเป็นอย่างดี ระเบียบปฎิบ้ตการจัดพิธีบังสุกุล การเตรียมงานเบื้องต้น - ก่อนสืงเวลาประกอบพิธีบังสุกุลนั้น พิธีกรนิยมทดลอง ทอดผ้าภูษาโยงดูก่อนว่าความยาวของผ้าภูษาโยงขนาดไหนจึงจะ พอดีกับความยาวของอาสน์สงฆ์ หรือจึงจะพอดีกับจำนวนพระสงฆ์ ที่นิมนต์มาพิจารณาผ้าบังสุกุล - เมื่อได้ทดลองทอดผ้าภูษาโยงดูแล้ว ก็หาเชือกด้ายมาบัด ผ้าภูษาโยงส่วนที่เหลือแยกไว้ส่วนหนึ่งต่างหาก และผ้าภูษาโยงนี้ นิยมเชื่อมต่อกับด้ายสายสิญจน์ที่โยงมาจากศพเดรืยมไว้เรืยบร้อย ก่อนแล้ว ล้าเป็นงานหลวง นิยมนำผ้าภูษาโยงจากศพมาต่อเชื่อม ภายหลัง ในเมื่อทอดผ้าภูษาโยงไปดามอาสน์สงฆ์เรืยบร้อยแล้ว การทอดผ้าภูษาโยง - เมื่อลืงเวลาจะทอดผ้าบังสุกุล พิธีกรนิยมยกผ้าภูษาโยง ส่วนที่จะด้องการใช้ลงจากภาชนะที่รองรับวางไว้กับพื้นอาสน์สงฆ์ www.kalyanamitra.org
๑๘)๐ ให้ผ้าภูษาโยงอยู่กึ่งกลางระหว่างพระสงฆ์กับอาสน์สงฆ์ แล้วจับ ชายผ้าภูษาโยงดงทอดไปจนตลอดจำนวนพระสงฆ์ทุกรูป การเก็บผ้าภูษาโยง - เมื่อพระสงฆ์พิจารณาผ้าบังสุคุลแล้ว พิธีกรนิยมเก็บผ้า ภูษาโยงทันที (เพื่อป้องกันมิให้ผ้ใดข้ามกรายผ้าภูษาโยงนั้น ซึ่ง ถือกันว่าเป็นการข้ามกรายศพฃองผู้ล่วงลับไปแล้ว) โดยวิธีไข้มือ ทั้งสองข้างช่วยกันเก็บผ้าภูษาโยงพับด้านปลายเข้ามาเป็นท่อน ๆ ละประมาณ ๑ ศอก หรือเก็บพับดามรอยพับที่ปรากฎอยู่แล้วนั้น แล้ววางเก็บไว้บนกาชนะล่าหรับรองรับ ตามเดิม - ล้ายังมืพระสงฆ์ชุดต่อไปจะขึ้นมาพิจารณาผ้าบังสุกุลอีก ก็ยังไม่ต้องรืบเก็บผ้าภูษาโยง รอไว้เก็บเมื่อพระสงฆ์ชุดสุดห้าย พิจารณาผ้าบังสุกุลเสร็จแล้ว หรือ - นิยมเก็บผ้าภูษาโยงทุกครั้งที่พระสงฆ์พิจารณาผ้าบังสุกุล จบแล้ว เพื่อถวายความสะดวกแก่พระภิกษุสงฆ์จะลงจากอาสน์สงฆ์ ได้สะดวก เมื่อพระสงฆ์ชุดต่อไปมานั่งบนอาสน์สงฆ์เรืยบร้อย แล้วจึงทอดผ้าภูษาโยงอีกก็ได้ การฑอดด้ายสายสิญจน์ - ล้าในพิธีบังสุกุลนั้น มิได้เดรืยมผ้าภูษาโยงไว้ ก็นิยมใข้ ด้ายสายสิญจน์ทอดแทนผ้าภูษาโยง ซึ่งด้ายสายสิญจน์นั้น ได้เดรืยม โยงมาจากศพพันไว้กับกาชนะรองรับ และวางไว้บนกาชนะรองรับ นั้นแล้ว www.kalyanamitra.org
๑๗๑ - เมื่อสิงเวลาทอดผ้าบังสุกุล นิยมให้พิธีกรคลี่กลุ่มด้าย สายสิญจน์ทอดไปดามพื้นอาสน์สงฆ์ เช่นเดียวกับทอดผ้าภษาโยง กังกล่าวแล้ว - ล้าในพิธีการบังสุกุลนั้นไม่มผ้าทอดบังสุกุล เพียงแต่นิมนต์ พระสงฆ์ให้จับด้ายสายสิญจน์พิจารณาบังสุกุลเท่านั้น ในกรณี เช่นนี้ นิยมให้เจ้าภาพมอบถวายกลุ่มด้ายสายสิญจน์แต่พระผ้เป็น ประธานสงฆ์ ให้ท่านคลี่ด้ายสายสิญจน์ล่งให้แก่พระภิกษุรูปต่อๆ ไปเอง การเก็บด้ายสายสิญจน์ - เมื่อพระสงฆ์พิจารณาบังสุกุลเสร็จแล้ว นิยมมอบให้เป็น หน้าที่ของคฤหัสถ์เป็นผ้ม้วนเก็บด้ายสายสิญจน์ เพราะพระสงฆ์ ทั้งนั้นจะด้องตั้งพัดอนุโมทนาล่วนกุคลต่อไป ระเบียบปฎิบัตการทอดผาบังสุกุล วิธีการทอดผ้าบังสุกลที่อาสน์สงฆ์ - การทอดผ้าบังสุกุลที่อาสน์สงฆ์ นิยมทอดผ้าบังสุกุลโดย วิธีวางขวางไว้บนผ้าภษาโยง หรือวางขวางไว้บนด้ายสายสิญจน์ ตรงข้างหน้าพระภิกษุสงฆ์แต่ละรูปไปตามล่ากับ หรือ - ล้าอาสน์สงฆ์ข้างหน้าพระสงฆ์มีที่ว่างเหลือน้อยไม่เพียงพอ สำ หรับจะทอดผ้าบังสุกุลตามขวางได้ เพราะล้าทอดแล้วผ้าบังสุกุล www.kalyanamitra.org
๑๗๒ อาจตกลงจากอาสน์สงฟ้ ในกรณีฟนนี้ก็นิยมวางทอดผ้าบังสุกุล ไปตามยาวของด้ายสายสิญจน์ก็ได้ - วิธีการวางทอตผ้าบังสุกุลนั้น นิยมไม่ด้องประเคนถวาย แด่พระสงฆ์ เพียงแด่วางทอดถวายไว้ตรงหน้าเท่านั้น - ถ้าผ้วางทอดผ้าบังสุกุลนั้นเป็นประธานพิธีงานนั้น ก็นิยม วางทอดผ้าบังสุกุลผ้เดียวจนครบจำนวนพระสงฆ์ทุกรูปนด้วกลับไป นั้งที่เดิม - ถ้าการบำเพ็ญกุศลนั้นเป็นการบำเพ็ญกุศลระหว่างหมู่ญาติ ก็นิยมให้วงศาคณาญาติช่วยกันวางทอดผ้าบังสุกุล เพื่อเป็นการ ทำบุญร่วมกัน - เมื่อวางทอดผ้าบังสุกุลแล้ว ก็นิยมนั้งอยู่ข้างหน้าพระสงฆ์ ประณมมือคอยรับฬงพระสงฆ์พิจารณาผ้าบังสุกุล แล้วตั้งใจอุทิศ ส่วนกุศลให้แก่ผ้ดาย และรับพรด่อไป การทอดผ้าบังสุกุลที่เมรุ - เมื่อผ้เชิญถือพานใส่ผ้าบังสุกุลมาเชิญให้ขึ้นไปทอดผ้า บังสุกุลที่เมรุ ผ้รับเชิญพ็งลุกขึ้นเดินไปข้างหน้าผู้เชิญนั้นยังไม่ด้อง รับผ้าบังสุกุลจากผู้เชิญ - เมื่อขึ้นไปถืงบนเมรุแล้ว ถ้าแด่งเครื่องแบบข้าราชการ นิยมยนดรง โด้งคำนับศพ ถ้ามืได้แด่งเครื่องแบบนิยมยืนดรง น้อมตัวลงยกมือไหว้ศพ แล้วรับผ้าบังสุกุลมาจากผู้เชิญ แล้ววาง ทอดไว้ ณ ภาชนะที่เขาเตรียมไว้รองรับ หรีอวางทอดไว้บนหีบศพ www.kalyanamitra.org
๑๗๓ - เมื่อวางทอดผ้าบังสุกุลแล้วนิยมโค้งคำนับศพ หรือน้อม ตัวลงยกมือไหว้ศพอีกครั้ง แล้วถอยหลงหลีกไปยืน ณ มุมของ เมรุค้านซ้ายของพระสงฆ์ที่จะขึ้นมาพิจารณาผ้าบังสุกุล เพื่อรอ เวลาพระสงฆ์ขึ้นมาพิจารณาผ้าบังสุกุล - ขณะที่พระสงฆ์ขึ้นมาบนเมรุ ผู้ทอดผ้าบังสุกุลพิงน้อม ตัวลงยกมือไหว้ ขณะที่พระสงฆ์พิจารณาผ้าบังสุกุล ผู้ทอดผ้า บังสุกุลพิงประณมมือขณะที่พระสงฆ์จะลงจากเมรุไป ผู้ทอดผ้า บังสุกุลนิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้พระสงฆ์นั้นอีกครั้งหนึ่งแล้วเดิน ลงจากเมร จ - ล้าผู้ใดรับเชิญขึ้นไปทอดผ้าบังสุกุลนั้น เป็นประธานพิธี งานประชุมเพลิงศพนั้น และเจ้าภาพไค้เชิญขึ้นไปทอดผ้าบังสุกุล เป็นคนสุดท้าย ก็นิยมปฎิบัดิเช่นเดียวกับที่กล่าวมาแล้ว - แด่เมื่อพระสงฆ์พิจารณาผ้าบังสุกุลเสร็จแล้ว และทำ ความเคารพพระสงฆ์แล้ว นิยมเริ่มประกอบพิธีประชุมเพลิงศพ ด่อไปเลยทีเดียว ระเบียบปฏิฟ้ดการเชิญผู้มีเคียรติขึ้นทอดผ้าบังสุกุลที่เมร วิธีการเชิญผู้มีเกียรติขึ้นทอดผ้าบังสุกุล - การเชิญผู้มืเกียรดิขึ้นทอดผ้าบังสุกุลที่เมรุนั้น นิยมมื ภาชนะสำหรับรองรับผ้าบังสุกุล เช่น พานทอง หรือตะลุ่มมุก เป็นค้น ไล่ผ้าบังสุกุล ลีอภาชนะใส่ผ้าบังสุกุลนั้นค้วยมือทั้งสอง www.kalyanamitra.org
๑๗๔ ประคองเข้าไปเชิญท่านผู้มีเกียรติขึ้นไปทอดผ้าบังสุกุลที่เมรุครั้งละ ๑ ท่าน ไม่นิยมเชิญขึ้นไปพร้อมกันหลายท่าน - ผ้ถือภาชนะใส่ผ้าบังสุกุลเข้าไปเชิญนั้น นิยมเตินเข้าไป หาท่านผ้มีเกียรติแล้วยืนตรงโค้งคำบับกส่าวคำเชิญขึ้นไปทอดผ้า บังสุกุลที่เมรุ และนิยมเตินดามหลังผ้มีเกียรติที่ไค้รับเชิญนั้นไป โดยเตินตามไปด้านซ้ายมือฃองท่านผ้มีเกียรตินั้น - เมื่อขึ้นกีงเมรุแล้ว พึงยืนตรง ห่างจากผ้มีเกียรตินั้น ประมาณ ๑ ก้าว มือทั้งสองประคองกาชนะใส่ผ้าบังสุกุลยื่นมอบ ไหแก่ท่านผ้มืเกียรตินั้น - เมื่อมอบผ้าบังสุกุลให้ท่านผ้มืเกียรติแล้วก็ลงจากเมรุ เตรียมผ้าบังสุกุลใส่กาชนะรองรับไปเชิญท่านผ้มืเกียรติท่านต่อๆไป ลำ ดับการเชิญผู้มีเกียรติ - การเชิญท่านผ้มืเกียรติขึ้นทอดผ้าบังสุกุลที่เมรุนั้น นิยม เชิญท่านผ้มือาวุโสน้อยไปหาท่านผ้มือาวุโสมากขึ้นไปดามลำดับ - ท่านผ้มืเกียรติซึ่งไค้รับเชิญมาเป็นประธานพิธีพระราช- ทานเพลิงศพ หรีอพิธีการประชุมเพลิงศพนั้น นิยมเชิญขึ้นทอด ผ้าบังสุกุลเป็นอันดับสุดท้าย เมื่อท่านทอดผ้าบังสุกุลแล้ว ก็เชิญ ท่านประกอบพิธีประชุมเพลิงศพสืบต่อไปไค้ทันที เพื่อไม่ต้อง รบกวนเชิญท่านเตินขึ้นเมรุอีกเป็นครั้งที่สอง - ในการเชิญท่านผ้เป็นประธานพิธีขึ้นทอดผ้าบังสุกุลเป็น อันดับสุดท้ายนี้ ฝ่ายเจ้ากาพนิยมเตรียมอุปกรณ์เครื่องประกอบ www.kalyanamitra.org
๑๗๕ พิธีพระราชทานเพลิงศพ หรือพิธีประชุมเพลิงศพไว้ให้พรักพร้อม บนเมรุนั้นแล้วทุกประการ เพื่อปีองกันมิให้ท่านต้องรอคอย เป็นการเสิยเวลา และเป็นการทรมานท่านโดยใช่เหตุอีกต้วย วิธีปฏิบตการประกอบพิธีพระราชทานเพรงศพ - เมื่อผู้เป็นประธานพิธีพระราชทานเพลิงศพฃึ้นใปบนเมรุ แล้วนิยมยืนตรง โต้งคำนับศพ รับผ้าใครมาจากผู้เชิญวางทอด ถวายใว้ ณ ภาชนะที่เชาเดรืยมใว้รองรับ หรือวางทอดถวายใว้ บนหีบศพ ตามควรแก่กรณี - เมื่อผู้เป็นประธานพิธีวางผ้าใดรทอดถวายแล้วนิยมยืนตรง โต้งคำนับศพ แล้วถอยหลีกใปยืน ณ มุมของเมรุต้านซ้ายของ พระสงฆ์ที่จะขึ้นมาพิจารณาผ้านังสุคุล เพื่อรอเวลาพระสงฆ์ขึ้น มาพิจารณาผ้าบังสุกุล - ขณะที่พระสงฆ์ขึ้นมาลีงบนเมรุ ผู้เป็นประธานพิธีนิยม ห้อมตัวลงยกมือใหว้พระสงฆ์ ขณะที่พระสงฆ์พิจารณาผ้าบังสุกุล ผู้เป็นประธานพิธีนิยมประณมมือ ขณะที่พระสงฆ์จะลงจากเมรุใป ผู้เป็นประธานพิธีนิยมห้อมตัวลงยกมือใหว้พระสงฆ์อีกครั้งหนึ่ง - ต่อจากนั้น ผู้เป็นประธานพิธีพิงเริ่มการประกอบพิธี พระราชทานเพลิงศพนิยมปฏิบัติตังนี้ ผู้เป็นประธานพิธียืน หันหห้าใปทางทิศที่ดั้งพระราชวังที่ในหลวงประทับอยู่ ยืนตรง โต้งคำนับถวายความเคารพในหลวงแล้วหันกลับมาทางที่ดั้งศพ www.kalyanamitra.org
๑๗๖ รับเครึองสักการบูชาศพจากเจ้าหน้าฑสำนักพระราชรัง วางเคารพ ศพที่เชิงตะกอน ยืนตรงโค้งคำนับศพ แค้วรับตอกไม้จันทน์ มาจุตที่ไฟหลวงวางที่เชิงตะกอน แค้วยืนตรงโค้งคำนับศพแค้ว หันหน้าไปทางทิศที่ตั้งพระราชรังที่ในหลวงประทับ0ยู่ ยืนตรง โค้งคำนับถวายความเคารพในหลวงอีกครั้งหนึ่ง แค้วเดินลงจาก เมรุ เป็นเสร็จการประกอบพิธีพระราชทานเพลิงศพ ระเบียบปฎิบตการไปงานศพ การไปงานรดนํ้าศพ - คฤหัสถ์ผู้ไปงานรตนำศพนัน หังสุกาพสตร็และสุภาพบุรุษ นิยมแต่งกายไว้ทุกข์แก่ท่านผู้ล่วงสับไปแค้วดามความนัชมฃคง สังคมท้องถิ่นนั้นๆ พร้อมกับเตรียมภาชนะใล่นํ้าอบไทยสำหรับใช้ รตนั้าศพไปด้วย (ค้ามี) - การรตนำศพนัน ถือกันสิบมาว่าเป็นกิริยาอาการชอฃมา โทษต่อศพชองท่านผู้ล่วงสับไปแค้ว เพื่อจะไค้ไม่มีเวรไมมกรรม กันต่อไป - ในการรตนำศพนัน จึงนิยมทำการรดนั้าเฉพาะศพชอง ท่านผูมอาวุโสสูงกว่าดน หรีอศพชองผู้มีอาวุโสรุ่นราวคราวเดียว กันเท่านั้น - ท่านผู้มีอาวุโสสูงกว่าผู้ล่วงสับไปแค้ว ก็นิยมไปร่วมพิธี ในงานรตนั้าศพนั้นด้วย เพื่อเป็นการให้เก็ยรดิและไว้อาสัยแก่ www.kalyanamitra.org
๑๗๗ ผู้ล่วงลับไปแล้ว ทังนี้เพื่อเป็นการให้กำลังใจแกํเจ้าภาพงานศพ นั้นอีกด้วย แต่ใม่นิยมรดนั้าฃอฃมาศพ วิธีปฏิบตการรดนํ้าศพคฤหัสถ์ - ล้าเป็นศพคฤห?เถ์ ซึ่งมีอาวุโสสูงกว่าตน กํอนจะทำพิธี รดนั้าศพนิยมนั้งคุกเข่า ห้อมตัวลงยกมีอใหว้พร้อมลับนิกจอ*บมา โทษต่อศพนั้นว่า \"กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนลัมมัง อะโหสิกัมมัง ฃ้าพเจ้าไตัล่วงเกินต่อท่าน ทางกายก็ดี ทางวาจาก็ดี ทางใจก็ดี ขอท่านโปรดอโหสิกรรม ไห้แก่ฃาพเจ้าตัวยเกิด'' - เมื่อยกมีอใหว้ฃอฃมาโทษต่อศพจบแล้ว ก็ถือภาชนะ สำ หรับรดนํ้าด้วยมีอทั้งสอง เทนำลงที่ฝ่ามีอฃวาชองศพพร้อมลับ มีกในใจว่า \"อิทัง มะตะกะสะรีรัง อาสิญจิโตทะกัง วิยะ อะโหสิ- กัมทัง' (ร่างกายที่ตายแจ้วนี้ ย่อมเป็นอโหสิกรรม ไฝมีโทษ เหมีอนนํ้าที่รดแจ้ว ฉะนั้น) - เมื่อรดนั้าศพเสร็จแล้ว นิยมห้อมตัวลงยกมีอใหร้พร้อม ลับนึกอธีษฐานว่า \"ขอจงไปส่สุคติๆ เถิด'' เป็นเสร็จพิธี www.kalyanamitra.org
๑๗๘ วิธีปฏิบตการรดนํ้าศพพระสงฆ์ - ถ้าเป็นศพท)องพระภิกษุสงฆ์ ก่อนรดนํ้าศพ นิยมนั่ง คุกเข่า ตามเพศ คือ ถ้าเป็นสุภาพบุรุษ พึงนั่งคุกเข่า ดั้งปลาย เท้าลงจรดพื้น ถ้าเป็นสุภาพลตรี พึงนั่งคุกเข่าราบเหยียดหลังเท้า ราบไปลับพื้น กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครั้ง พร้อมลับ นิกฃอฃมาโทษลังกล่าวแล้ว - เมื่อกราบขอท)มาโทษเสร็จแล้ว พึงถือภาชนะสำหรับรด นำ ศพด้วยมือทั้งลอง เทนํ้ารดลงที่ฝ่ามือขวาของศพพร้อมลับนิก ในใจลังกล่าวแล้ว - เมื่อรดนํ้าศพเสร็จแล้ว นิยมกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ อีก ๓ ครั้ง พร้อมลับนิกอธิษฐานลังกล่าวแล้ว เป็นเสร็จพึธิ การไปงานตั้งศพบำเพ็ญกุศล - บุคคลผู้จะใปงานลังศพบำเพ็ญกศล ซึ่งดั้งศพอยู่ที่บ้าน ก็คื ที่วัดก็สื ทังสุภาพลดรีและสุภาพบุรุษ นิยมแต่งกายใว้ทุกข์ แก่ท่านผู้ล่วงลับใปแล้ว ตามความนิยมของลังคมท้องถิ่นนั้นๆ - นิยมนำพวงหรีด หรีอนำกระเช้าดอกใบ้ แจลันดอกใบ้ หรีอพวงดอกใบ้ อย่างใดอย่างหนึ่ง ดามลมควรแก่ฐานะของ ดนๆ ใปแสดงความเคารพศพด้วย วิธีบํฏิบํตการแสดงความเคารพศพคฤหสถ์ - ล้าเป็นศพคฤหัสถ์ซึ่งมือาวุโสสูงกว่าตน ผู้ใปเคารพศพ นั้นนิยมนำพวงหรีดใปเคารพศพด้วย เมื่อวางพวงหรีดใว้ช้างหบ้า www.kalyanamitra.org
๑๗๙ ที่ดั้งศพแล้ว ล้าแต่งเครื่องแบบข้าราชการนิยมยืนตรงโค้งคำนับ ล้านิไค้แต่งเครื่องแบบข้าราชการ นิยมยืนตรง น้อมตัวลงยกมือ ไหว้ เป็นเสร็จพิธี - ล้านำกระเข้าดอกไน้ แจกันตอกไม้ หรือพวงดอกไม้ ไปเคารพศพ เมื่อวางกระเข้าตอกไม้เป็นค้น ไว้ข้างหน้าที่ดั้งศพ นั้นแล้ว นิยมนั้งคุกเช่าราบ ดั้งเพศชายและเพศหญิง จุดธูป ๑ ตอก ประณมมือยกธูปขึ้นจบ ให้ปลายนิ้วขึ้อยู่ระหว่างคิ้ว ดั้งจิต ฃอฃมาโทษต่อศพนั้นว่า \"กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง อะโหสิกัมมัง โหตุ\" \"ข้าพเจ้าไตัล่วงเกินต่อท่าน ทางกายก็ดี ทางวาจากิดี ทางใจกิดี ขอท่านโปรดอโหสิกรรม ให้แก่ข้าพเจ้าด้วยเกิด\" - เมื่อฃอฃมาโทษศพแล้ว พิงป'กธูป ณ ที่สำ หรับปกธูป แล้วนั่งพับเพียบหมอบกราบค้วยกระพุ่มมือ (คือ นั่งพับเพียบ ตะแคงตัวข้างชวาห้นหน้าไปทางศพ วางมือชวาลงก่อน แล้ววาง มือซ้ายลงแนบกับมือขวา ประณมมือดั้งอยู่กับพื้นพร้อมกับหมอบ ให้หน้าผากลงจรดสันมือ) พร้อมกับดั้งจิตอธิษฐานว่า \"ขอจงไปส่ สุคติๆ เกิด\" แล้วลุกขึ้น เป็นเสร็จพิธี อนึ่ง ในการดั้งศพที่ไค้รับพระราชทานเครื่องประกอบเกียรด ศพนั้น มืข้อนิยมว่า ผู้ไปเคารพศพไม่ค้องจุตธูปบูชาศพ www.kalyanamitra.org
๑๘๐ วิธีปฎิบตการแสดงความเคารพศพพระสงฆ์ - ผู้ไปงานตั้งศพพระสงฆ์บำเพ็ญกศลสวดพระอภิธรรม ก็นิยมแต่งกายและนำเครื่องสักการบชาไปเช่นเดียวกับไปงานศพ คฤหัสถ์ - เมื่อวางเครื่องสักการบูชาที่หน้าเครื่องตั้งศพแล้วนิยมนั่ง คุกเช่าดามเพศ คือ สุภาพบุรุษนั่งคุกเช่าตั้งเท้า สุภาพสตรี นั่งคุกเช่าราบ จุดธูป ๑ ดอก ประณมมือยกธูปขึ้นตั้งไท้ปลายนิ้ว หัวแม่มืออยู่ระหว่างคิ้ว ปลายนิ้วขึ้จรดหน้าผาก พร้อมกับตั้งใจ ฃอฃมาโทษต่อศพนั้น ดังกล่าวมาแล้ว - เมื่อขอขมาโทษต่อศพเสร็จแล้ว ฟ็งป๋'กธูป ณ ที่ส์าหรับ ป'กธูปแล้ว กราบแบบเบญจางดประดิษฐ์ ๓ ครั้ง พร้อมกับ ขณะที่กราบนั้น พ็งตั้งจิดอธิษฐานว่า \"ขอจงไปส่สุคติๆ เถิด\" แล้วลุกขึ้น เป็นเสร็จพิธี การไปงานเผาศพ - บุคคลผู้จะไปงานเผาศพนั้น จะเป็นงานพระราชทานเพลิง ศพก็ดาม งานณาปนภิจศพก็ดาม นิยมแต่งกายไว้ทุกข์แก่ท่าน ผู้ล่วงสับไปแล้ว ตามความนิยมของสังคมท้องถิ่นนั้นๆ - ผู้จะไปงานศพนั้น นิยมเดร็ยมเครื่องขอขมาศพ คือ ธูปไม้ระกำ เทียน และดอกไม้จันทน้ด้วย (ล้ามื) แต่ในชนบท บางท้องถิ่นก็นิยมเดร็ยมเชื้อเพลิง เช่น ขึ้ได้ ไม้พิน เป็นด้น นำ ไปร่วมช่วยในการเผาศพนั้นด้วย www.kalyanamitra.org
๑๘๑ ลำ ดับการขึ้นเมรุเผาศพ - ถ้าเป็นงานพระราชทานเพลิงศพ นิยมขึ้นเมรุเผาศพ ดามลำดับอาวุโสทางคุณวุฒิ คือ ผู้มียศถาบรรดาดักดิ้สูงกว่าขึ้นไป เผาศพก่อน ผ้มีอาวุโสทางคุณวุฒิน้อยกว่าขึ้นไปเผาภายหลัง - ถ้าเป็นงานณาปนกิจศพ นิยมขึ้นเมรุเผาศพดามลำดับ อาวุโสทางวัยวุฒิ คือ ผ้มีอายุมากกว่าขึ้นไปเผาก่อน ผู้มีอายุน้อย กว่าขึ้นไปเผาภายหลังลันลงมาดามลำดับ - ความนิยมเช่นนี้ ก็เพี่อเป็นการแสดงปริศนาธรรมดาม สามัญลักษณะว่า \"บุคคลเราจะต้องเดินเข้าไปหาความตาย เหมือนคับซากศพนั้นหมดบุกคน ต่างคันแด่ว่าคนที่มือายุ มากกว่าก็เดินไปถึงความตายก่อน คนที่มือายุนอยกว่าก็เดิน ไปถึงความตายภายหลังคันลงมาตามลำคับ'' ดังนี้ะ- - ถ้าผ้ใดแซงขึ้นหน้าท่านที่มีอายุแก่กว่าดนขึ้นไปถึงศพนั้น ก่อน ย่อมแสดงกิริยาอาการคล้ายลับจะพูดว่า \"ฃออบุญาตใ■ห ข้าพเจ้าไต้เดินไปถึงความตายนั้นก่อนเถิด'' ดังนี้ - ความนิยมให้ท่านผู้มีอายุมากๆ ขึ้นเผาศพก่อนนี้ มับว่า เป็นประเพณีนิยมที่คืมาก เพราะเป็นการลังคมสงเคราะห์ช่วย ท่านผ้มือายุมากๆ ชึ่งมีลังฃารร่างกายอ่อนแอจะได้ไม่ต้องเบียด เสิยดลับคนอื่น หรือไม่ต้องรอคอยนานๆ ไม่ต้องทรมานลังชาร ร่างกายมากเกินไป อันอาจเกิดเป็นลมป่วยไฃ้ขึ้นก็ไต้ www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216