Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบปฏิบัติของชาวพุทธ

ระเบียบปฏิบัติของชาวพุทธ

Description: ระเบียบปฏิบัติของชาวพุทธ

Search

Read the Text Version

๓๒ ทานของเราให้ดีแล้วหนอ ขอจงเป็นเครื่องนำมาซึ่งความ สินไปแห่งอาสวะกิเลสฯ คำ อธิษฐานก่อนตักบาตรอีกแบบหนึ่ง - เมื่อนั่งกระหย่ง ยกขันข้าวด้วยมือทั้งสอง ขึ้นเสมอ หน้าผากแล้ว ทั้งจิตกล่าวคำอธิษฐานว่า \"ข้าวขาวเหมือนดอกบัว ยกขึ้นทูลบัว ตั้งใจจำนง ดกบาตรพระสงฆ์ ขอให้บันพระศรีอารย์ ขอให้พบดวงแห้ว ขอให้แคล้วปวงมาร ขอให้บรรลุพระนิพพาน ในอนาคตกาล เทอญ'' - เมื่ออธิษฐานจบแล้ว ลุกขึ้นยืน มือซ้ายถือขันข้าว มือขวา ขับทัพพี (ล้าคนถนดซ้าย ก็ถือขันข้าวด้วยมือขวา ขับทัพพีด้วย มือซ้าย) ดักข้าวให้เต็มทัพพี บรรจงดักให้ตรงบาตร อย่าให้ เมล็ดข้าวหล่นออกมานอกบาตร - ล้าเมล็ดข้าวติตทัพพี อย่าเอาทัพพีเคาะกับขอบบาตร กิริยาอาการที่ดักข้าวใส่บาตรนั้น อย่าดักแบบกลัวว่าข้าวสุกจะหมด เพราะมืคำพังเพยอยู่ว่า \"อย่าแสดงความขึ้เหนียวขลเะทำนุญ\" - ขณะที่ดักบาตรนั้น อย่าชวนพระสนทนา อย่าถามพระ เช่น ถามว่า ท่านชอบดันอาหารอย่างนี้ไหม ท่านด้องการเพิ่ม อีกไหม? เป็นด้น เพราะมืคำพังเพยอยู่ว่า \"ตักบาตร อย่าลาม พร: www.kalyanamitra.org

- ฒื่อใส่ข้าวสุกแลกับข้าวเสร็จแล้ว ล้ามีดอกไม้ธูปเทียน จะถวายด้วย ผ้ที่ตักบาตรนั้น ล้าเป็นชาย นิยมส่งดอกไม้ ธูปเทียนถวายกับมีอพระ ล้าเป็นหญิง นิยมรอให้พระฟานปีด ฝาบาตรแล้ววางดอกไม้ธูปเทียนถวายบนฝาบาดร - เมื่อตักบาตรเสร็จแล้ว ล้ามีโต๊ะรองอาหาร หรือมีรถยนต์ จอตอยู่ด้วย นิยมวางชันข้าวไว้ที่โต๊ะรอง หร็อบนรถยนต์นั้น ยืนตรงน้อมตัวลงยกมีอไหว้พระสงฆ์ - ล้ายืนตักบาตรกลางทาง นิยมนั้งกระหย่งแล้ววางชันข้าว ไว้ข้างตัว ยกมีอไหว้พระสงฆ์ พร้อมกับตั้งจิตอธิษฐานว่า นิดลิ ฒ ละระผัง อ้ญผัง ลังโ'ม เม สะระผัง วะรัง เอเดนะ ลัจจะวัชเชนะ โสดลิ เม โหตุ ลัพพะฑาฯ (สรณะอย่างอื่นชองข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็นสรณะอันประเสริฐ ของข้าพเจ้า ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงมีแก่ ข้าพเจ้าในกาลทุกเมื่อ เทอญ) - แม้การตักบาตรพระรูปต่อๆ ไป ก็นิยมปฏิบัติในการ ตักบาตรและการแสตงความเคารพด้วยการไหว้ตังกล่าวแล้วทุทดรัง ตลอตไปจนกว่าจะตักบาตรเสร็จ การกรวดนํ้าอุทิศส่วนกุศล - หสังจากตักบาตรเสร็จแล้ว เมื่อกลับไปลิงบ้านนิยมกรวตนำ อุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษเป็นด้น โตยกล่าวคำกรวตนํ้าแบบย่อ ว่าตังนี้:- www.kalyanamitra.org

๓๔ \"อิทัง เม ญาดีทัง โหตุ สุฃิตา โหนตุ ญาฅะโย'' ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า จงมีความสุขฯ การทำบุญตักบาตรวันเกิด - ชาวพุทธส่วนมาก นิยมทำบุญด้วยการตักบาตรประจำวัน เกิดทุกสัปดาห์ เช่น คนเกิดวันอาฑิดย์ ก็นิยมตักบาตรทุกวัน อาทิตย์ เป็นด้นบ้าง นิยมทำบุญด้วยการตักบาตรเมื่อถึงวันเกิด ทุกรอบปีบ้าง - การทำบุญตักบาตรประจำวันเกิดนี้ นิยมตักบาตรพระ เท่าอายุ หรือเกินกว่าอายุ ๑ รูป เช่น คนอายุ ๒๕ ปี ก็นิยม ตักบาตรพระ ๒๕ รูปบ้าง ๒๖ รูปบ้าง เป็นด้น - การทำบุญตักบาตรประจำวันเกิด เพื่อเป็นการสร้างสม อบรมบุญวาสนาบารมี อันจะเป็นปุพเพกตปุญญตา ตังกล่าวแล้ว อังมีความมุ่งหมายเพื่อเป็นการเพื่มเติมบุญกุศลอันเป็นเครื่อง หล่อเลี้ยงชีวิตให้เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้น เปรืยบเสมีอนการเติมนํ้ามัน เชื้อเพลิงให้แก่ตวงประทิป เพื่อให้ตวงประทิปไม่ตับ และให้ ลุกโพลงขึ้นมีแสงสว่างไสวลิบต่อไปได้นานฉันใด การทำบุญ ตักบาตรประจำวันเกิดนี้ ก็เพื่อเพื่มเติมบุญกุศล คือ นํ้ามัน หล่อเลี้ยงชีวิดเพื่อให้ชีวิตของตนไม่ตับลงและให้ชีวิตเจริญรุ่งเรือง ลิบต่อไปได้นาน ฉันนั้น - ส่วนวิธีการปฎิปติในการตักบาตรทุกประการ มีมัยตังกล่าว มาแล้วข้างด้นนั้นแหละ www.kalyanamitra.org

๓๕ การทำบุญตักบาตรสะเดาะเคราะห์ - การทำบุญตักบาตรสะเดาะเคราะห์นี้ เป็นความนิยมดาม ลทธิไสยคาสดร์ ซึ่งคำนวณอายุของคนเราดามทักษาพยากรณ์ ไว้โดยย่อ ตังนี้:- กำ ลังพระนพเคราะห์ - พระอาทิดย์ มีกำลัง ๖ เสวยอายุผู้ใด ผู้นั้นนิยมทำบุญ ตักบาดรพระสงฆ์ ๖ รูป เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายพระอาทิดย์ - พระจันทร์ มีกำลัง ๑๕ เสวยอายุผู้ใด ผู้นั้นนิยมทำบุญ ตักบาดรพระสงฆ์ ๑๕ รูป เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายพระจันทร์ - พระลังคาร มีกำลัง ๘ เสวยอายุผู้ใด ผู้นั้นนิยมทำบุญ ตักบาดรพระสงฆ์ ๘ รูป เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายพระอังคาร - พระพุธ มีกำลัง ๑๗ เสวยอายุผู้ใด ผู้นั้นนิยมทำบุญ ตักบาดรพระสงฆ์ ๑๗ รูป เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายพระพุธ - พระราหู มีกำลัง ๑๒ เสวยอายุผู้ใด ผู้นั้นนิยมทำบุญ ตักบาดรพระสงฆ์ ๑๒ รูป เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายพระราหู - พระพฤหัสบดี มีกำลัง ๑๙ เสวยอายุผู้ใด ผู้นั้นนิยม ทำบุญตักบาดรพระสงฆ์ ๑๙ รูป เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายพระ พฤหัสบดี - พระศุกร์ มีกำลัง ๒๑ เสวยอายุผู้ใด ผู้นั้นนิยมทำบุญ ตักบาดรพระสงฆ์ ๒๑ รูป เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายพระศุกร์ - พระเสาร์ มีกำลัง ๑๐ เสวยอายุผู้ใด ผู้นั้นนิยมทำบุญ ตักบาดรพระสงฆ์ ๑๐ รูป เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายพระเสาร์ www.kalyanamitra.org

ผ๖ กำ หนดเวลาพระนพเคราะห์เสวยอายุ พระเคราะห์เสวยอายุคนเกิดวันอาทิตย์ พระอาทิตย์ เสวยอายุ ๖ ll ดงแด่อายุ ๑ ปี ถึง อายุ ๖ ปี พระจันทร์ ๑๕ ปี ๘ ปี ๙ ปี ๒๑ ปี พระองดาร ๒๙ ปี „ ๑๙ ปี „ ๒๒ ปี „ พระพุธ „ ๑0 ปี „ พระเสาร์ „ ๑๙ ปี „ ๓อ ปี „ ๔๖ ปี „ ๑๒ ปี „ พระพฤห'สบสี „ ๒๑ ปี „ ๔๙ ปี „ ๕๖ ปี พระฑห ๕๙ ปี „ ๙๕ ปี พระศุกร์ ๙๖ ปี „ ๘๙ ปี ๘๘ ปี „ ๑อ๘ ปี พระเคราะห์เสวยอายุคนเกิดวันนันทร์ พระจันทร์ เสวยุอายุ ๑๕ ปี ดั้งแด่อายุ ๑ ปี ถึง อายุ ๑๕ ปี พระองดาร ๘ ปี ,, ๑๖ ปี „ ๒๓ ปี พระพุธ ๑๙ ปี ๒๔ ปี ๔อ ปี พระเสาร์ „ ๑0 ปี „ ๔๑ ปี „ ๕อ ปี ๕๑ ปี ๖๙ ปี พระหฤฟ้'สบสี ๑๙ ปี พระฑห ๑๒ ปี ๙อ ปี „ ๘๑ ปี ๒๑ ปี ๘๒ ปี „ ๑0๒ ปี พระศุกร์ พระอาทิดย์ ๖ ปี ,. ๑อ๓ ปี ๑อ๘ ปี www.kalyanamitra.org

๓๗ พระเคราะห์เสวยอายุคนเกิดวันอังคาร พระอังดาร เสวยอายุ ๘ ปี ตั้งแต่อายุ ๑ ปี ถีง อายุ ๘ ปี พระพุธ ๑๗ ปี ๙ ปี „ ๒๕ ปี พระเสาร์ ๑0 ปี ๒๖ ปี „ ๓๕ ปี พระหฤหัสบสี »» ๓๖ ปี „ ๕๔ ปี พระราห ๑๙ ปี ๑๒ ปี ๕๕ ปี ๖๖ ปี พระศุกร์ )> ๖๗ ปี ๘๗ ปี พระอาทิตย์ พระจนทร์ ๒๑ ปี ๘๘ ปี „ ๙๓ ปี รร ๙๔ ปี „ ๑อ๘ ปี ๖ ปี ๑๕ ปี H พระเคราะห์เสวยอายุคนเกิดวันพุธ (กลางวัน) พระพุธ เสวยอายุ ๑๗ ปี ตั้งแต่อายุ ๑ ปี ถึง อายุ ๑๗ ปี พระเสาร์ ๑0 ปี ๑๘ ปี „ ๒๗ ปี พระพฤหัสบสี JJ ๒๘ ปี ๔๖ ปี พระฑห ๑๙ ปี พระศุกร์ ๑๒ ปี ๔๗ ปี „ ๕๘ ปี พระอาทิตย์ พระจันทร์ »> ๕๙ ปี ๗๙ ปี พระอังคาร ๒๑ ปี ๖ ปี ๘0 ปี „ ๘๕ ปี ๑๕ ปี ๘๖ ปี ๑00 ปี ๘ ปี ร* ๑0๑ ปี ๑0๘ ปี www.kalyanamitra.org

๓๘ พระเคราะห์iสวยอายคนเกิดวันทุธ (กลางคืน) พระฑทุ เสวยอายุ ๑๒ ปี ตั้งแต่อายุ ๑ ปี ดีง อายุ ๑๒ ปี พระศุกร์ „ ๒๑ ปี „ ๑๓ ปี „ ๓๓ ปี พระอาทิตย์ b ปี ๓๔ ปี „ ๓๙ ปี พระจันทร์ „ ๑(ร! ปี „ ๔อ ปี „ ๕๔ ปี พระอังคาร ๘ ปี ๕๕ ปี ๖๒ ปี พระพุธ „ ๑๗ ปี ๖๓ ปี „ ๗๙ ปี พระเสาร์ „ ๑0 ปี „ ๘อ ปี „ ๘๙ ปี พระพฤหัสบดี „ ๑๙ ปี „ ๙อ ปี „ ๑0๘ ปี พระเคราะห์เสวยอายุคนเกิดวันพฤหัสบดี พระพฤหัสบดี เสวยอายุ ๑๙ ปี ตั้งแต่อายุ ๑ ปี ถีง อายุ ๑๙ ปี พระฑหู „ ๑๒ ปี ๒อ ปี „ ๓๑ ปี yy พระศุกร์ „ ๒๑ ปี ๓๒ ปี „ ๕๒ ปี พระอาทิตย์ yy พระจันทร์ ๖ ปี ๕๓ ปี „ ๕๘ ปี พระอังคาร yy พระพุธ ๑๕ ปี yy ๕๙ ปี ๗๓ ปี พระเสาร์ ๘ ปี yy ๗๔ ปี „ ๘๑ ปี „ ๑๗ ปี ๘๒ ปี „ ๙๘ ปี yy „ ๑อ ปี ๙๙ ปี „ ๑๐๘ ปี yy www.kalyanamitra.org

co6 พระเคราะห์เสวยอายุคนเกิดวนศุกร์ พระศุกร์ เสวยอายุ ๒๑ ปี ตั้งแต่อายุ ๑ ปี ถีง อายุ ๒๑ ปี พระอาทิตย์ ๖ ปี ๒๒ ปี „ ๒๗ ปี พระจันทร์ 1» »> ๒๘ ปี ๔๒ ปี ๑๕ ปี พระอังคาร ๘ ปี ๔๓ ปี „ ๔0 ปี พระพุธ ๑๗ ปี ๕๑ ปี ๖๗ ปี 99 พระเสาร์ ๑0 ปี ๖๘ ปี „ ๗๗ ปี 99 พระพฤหัสบดี ๗๘ ปี „ ๙๖ ปี ๑๙ ปี พระฑหู 99 ๙๗ ปี „ ๑อ๘ ปี ๑๒ ปี »> 99 พระเคราะห์เสวยอายุคนเกิดวันเสาร์ พระเสาร์ เสวยอายุ ๑อ ปี ตั้งแต่อายุ ๑ ปี ถีง อายุ ๑อ ปี พระพฤหัสบดี „ ๑๙ ปี ๑๑ ปี ๒๙ ปี ๑๒ ปี „ พระฑห „ ๒๑ ปี ตอ ปี „ ๔๑ ปี ๔๒ ปี „ ๖๒ ปี พระศุกร์ ๖ ปี „ ๖๓ ปี „ ๖๘ ปี ๑๕ ปี พระอาทิตย์ ๘ ปี ,, ๖๙ ปี ๘๓ ปี พระจันทร์ ©๗ ปี ๘๔ ปี „ ๙๑ ปี พระอังคาร ๙๒ ปี „ ๑อ๘ ปี พระพุธ www.kalyanamitra.org

๔๐ 4V กาหนดเวลาพระเคราะหิเข้าแทรกเสวยอาย พระอาทิตย์เสวยฮายุ ๖11 มีพระเคราะห์อื่นเข้าแทรก ดงนี้ พระราทิดข์ เสไยรายุเรง ๔ เดรน ถึงรายุ ๔ เดืรน พระจันทร์ เข้าแทรก ๑© เดืรน ©ปี (ท เดรน พระรงดาร ๕ เดืรน ©0 ไน ©ปี ๘ เดืรน ๑0 ไน พระพุร ร) ๑© เดืรน ©0 ไน ๒ ปี ฝ เดืรน ©0 ไน พระเสาร์ ร) b เดืรน ๒0 ไน „ ตปี ๒ เดรน ๒0 ไน พระพฤหัสบด „ © ปี ๒0 ไน ,, ๔ ปี ฅ เดึรน พระราห >1 0 ปี ๘ เดรน ๕ ปี 3© เดืรน ๑ เดืรน ๖ ปี พระศุกร์ ร) พระจันทร์เสวยอายุ ๑๕ ปี มีพระเคราะห์อื่นเข้าแทรก ดังนี้ พระจันทร์ เสไยรายุเรง ๒ ปี ๑ เดืรน ถึงรายุ ๑ เดืรน พระรงดาร เข้าแทรก ๑ ปี ๑ เดืรน ร) ๒ เดืรน ๖ เดืรน ©0 ไน พระทุร ๒ ปี ๔ เดืรน Q0 ไน พระเสาร ©ปี ๔ mxi ๒0 ไน ๑© เดึรน ๒ ปี ๗ เดืรน ๑0 ไน b เดืรน ©0 ไน พระพฤหัสบสี พระรไห ©ปี ๘ เดืรน ๒ เดืรน ๑0 ไน ๒ ปี ©© เดืรน ๑ เดืรน ๑0 ไน พระศุกร์ พระ0ไทิดข' ©0 เดรน ๒0 ไน www.kalyanamitra.org

๔๑ พระอังคารเสวยอายุ ๘ปี มีพระเคราะห์อื่นเข้าแทรก ดังนี้ พระองคาร เสาขอายุเอง ฅ่) เตือน ๗ เตือน ๓ วัน พระทุร เข้าแทรก ๑ ปี ๓ เตือน ๕ วน1„ ๑ปี ๑0 เตือน ๘ วัน พระเสาร์ ๘ เตือน เอ๖ วน „ ๒ ปี ๗ เตือน ๔ วัน ร๐ ๔ปี พระพฤหํ'สบคี ๔ ปี ๑อ เตือน เออ วัน ๑ ปี ๔ เตือะนX เอ๖ วน „ b ปี ๑อ วัน พระราห IS ๑ร0 เคอน เออ วัน „ พระศุทร์ Q ปี ๑ เตือน เอว วัน „ พระอาทิตย์ ๕ เตือน ®0 วัน „ b ปี ๕ เตือน เออ วัน พระจนทร์ 9 ปี b เตือน ๑อ วัน „ ๘ปี 9) พระทุธเสวยอายุ ๑๗ ปี มีพระเคราะห์อื่นเข้าแทรก ดังนี้ พระพุธ เสวยอายุเอง เอ ปี ๘ เตือน ๘ วัน ถึงอายุ เอ ปี ๘ เตือน ๘ วัน พระเสาร์ เข้าแทรก ๑ ปี b เตือน เอb วัน „ ๔ ปี ๔ เตือน ๓ วัน พระพฤหัสบตื „ เอ ปี 8๑ เตือน เอb วัน „ ๗ ปี ๓ เตือน พระราท „ ๑ ปี 80 เตือน เออ วัน „ ๙ ปี ๑ เตือน เออ วัน พระศุกร์ 0) ปี ๑เอ ปี ๕ เตือน ๑อ วัน พระอาทิตย์ „ 8๑ เตือน ๑อ วัน „ ๑๓ ปี ๔ เตือน เออ วัน พระจนทร์ » เรปี ๔ เตือน ๑อ วัน „ ๑๕ ปี ๙ เตือน พระองคาร ® ปี ฅ เตือน ๑๗ ปี www.kalyanamitra.org

๔๒ พระเสาร์เสวยอายุ ๑๐ ปี มีพระเคราะห์อื่นเข้าแทรก ดังมี 3< 3( พระเสาร์ เสายอายุเอง ๑0 เดีอน ๔ าน กึงอายุ เดีอน ๔ วน พระพฤหัสบดี เข้าแทรก ๑ ll ๙ เดีอน ©0 วน 99 ๒ ปี d เดีอน ©๔ วัน พระราห ๑ ปี 0 เดีอน ©0 วน ๓ ปี ๙ เดีอน ๒๔ วัน 9) 99 พระศุกร์ ®ปี ๑© เดีอน ๒0 วน ๕ปี ๙ เดีอน ©๔ วัน 9) 99 พระกาทิพย์ ๖ เดีอน ๒อ วน 99 b ปี ๔ เดีอน 99 พระจันทร์ ๑ ปี ๔ เดีอน ๒๖ วน ๗ ปี ๙ เดีอน ๓ วัน 99 99 พระองพาร 99 ๘ เดีอน ๓ วน 99 ๘ ปี (ร! เดีอน พระพุร 0 ปี b เดีอน ๒๗ วน ๑0 ปี 99 99 พระพฤหัสบดีเสวยอายุ๑๙ปี มีพระเคราะห์อื่นเข้าแทรก ดังนี้ พระพฤหัสบดี เสวยอายุเอง ฅ ปี ๔ เดีอน ๔ วัน กึงอายุ ๓ ปี ๔ เดือน ๔ วัน พระราทุ เข้าแทรก ๒ ปี ๑ เดีอน ©0 วัน 99 ๕ปี ๔ เดือน ©๔ วัน พระศุกร์ ตปี ๘ เดีอน ๑0 วัน ๙ ปี ๑ เดือน ๒๔ วัน 99 99 พระอาทิพย์ © ปี ๑ เดีอน ๒0 วัน ©0 ปี (ท เดือน ©๔ วัน 99 99 พระจันทร์ ๒ ปี ๗ เดีอน ๒0 วัน ๑๒ ปี ๑© เดือน ๔ วัน 99 99 พระองพาร ๑ ปี ๔ เดีอน ๒๖ วัน ©๔ ปี ๔ เดือน 99 99 พระทุร ๒ ปี ©0 เดีอน ๒๖ วัน ©๗ ปี ๒ เดือน ๒๖ วัน 99 99 พระเสาร์ ๑ ปี ๙ เดือน ๔ วัน ©๙ ปี 99 99 www.kalyanamitra.org

๔๓ <4. ฃํ จ พระราห เสวบอายุเอง Q ปี ๔ เดือน เออ วัน กึงอายุ ๑ ปี ๔ เดือน เออ วัน พระศุกร์ เข้าแทรก เอ ปี ๓ เดือน เออ วัน „ ๓ ปี ฟ เดือน ๑อ วัน พระอาทิตย์ ๘ เดือน ๑อ วัน „ ๔ปี ๓ เดือน เออ วัน พระจันทร์ ๑ ปี ๖ เดือน ๑อ วัน „ ๕ ปี ๙ เดือน พระองตาร ๙ เดือน ๖ ปี ๖ เดือน พระพุธ ๑ ปี ฝ เดือน ๘ ปี เอ เดือน พระเสาร์ ๑ ปี ฝ เดือน ๙ปี ๑อ เดือน พระพฤหัสบดื เอ ปี ๑ เดือน ๑เอ ปี พระศุกร์เสวยอายุ ๒๑ ปี มีพระเคราะห์อนเข้าแทรก ดังน พระศุกร์ เสวยอายุเอง ๔ ปี ๑ เดือน ถืงอายุ ๔ ปี ® เดือน «» / V .น . <1 «il 4 พระอาทิตย์ เข้าแทรก ® ปี ๒ เดือน ๕ ปี ฅ เดือน พระจันทร์ เอ ปี ®® เดือน ๘ ปี เอ เดือน พระองการ ® ปี ๖ เดือน 1อ0 วน ๙ ปี ๘ เดือน เออ วัน พระพุร ฅปีฅ เดือน 1อ0 วัน ๑๓ ปี ๑อ เดือน พระเสาร์ ๑ ปี ®® เดือน ๑0 วัน ๑๔ ปี ๑๑ เดือน เออ วัน พระพฤทัสบดื 0) ปี ๘ เดือน ๑อ วัน ๑๘ ปี ๘ เดือน พระราห เอ ปี ๔ เดือน เอ® ปี www.kalyanamitra.org

๔๔ การทำบุญตกบาตรครบรอบปีแต่งงาน - การทำบุญตักบาตรครบรอบปีวันแต่งงานนี้ นิยมจัดทำ พร้อมกันทั้งสามีและภรรยา คือ ไปทำบุญตักบาดรพระสงฆ์ร่วมกัน เช่นเดียวกับวันแต่งงาน เพื่อเป็นการฉลองวันแต่งงาน อันจะ เป็นเหตุให้เกิดความสมัครสมานสามัคคืกลมเกลียวเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน ไม่แดกแยกกัน และเพื่อเป็นการเสริมสร้างบุญกุศล ให้มีมากขึ้น อันจะเป็นเหตุให้การอยู่ร่วมกันมีความสุขความเจริญ ยิ่งๆ ขึ้นไป และเป็นเหตุให้เกิดความอยู่เย็นเป็นสุข พ้นจาก ความทุกข์เดือดร้อนในการครองเรือนอีกด้วย การทำบุญตกบาตรครบรอบปีถึงมรณกรรม ของบรรพบุรุษ - การทำบุญตักบาดรครบรอบป็สืงมรณกรรมของบรรพบุรุษ เช่น วันลีงแก่กรรมของ ป ย่า ดา ยาย พ่อ แม่ เป็นด้น เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงกับตับจันธ์ใปแล้วนั้น ชาวพุทธนิยมจัดทำเป็นประเพณีลีบต่อกันมาเพื่อเป็นการแสดง ความกตัญญกดเวทีต่อท่านผู้มีพระตุณและอุปการคุณของดนๆ - เพราะความกตัญญกดเวทีต่อท่านผู้มีพระกุณและอุปการ- ตุณแก่ดนนั้น ย่อมจะเป็นเหตุให้เกิดผลดี เป็นความสุข ความ เจริญรุ่งเรืองแก่บุคคลผู้กระทำนั้นเอง เป็นเครื่องดอบสนอง www.kalyanamitra.org

การทำบุญตกบาตรคราวเทศกาล - การทำบุญดักบาดรคราวเทศกาลนี้ ได้แก่ การทำบุญ ดักบาตรวันฃึ้นปีใหม่ วันตรุษ วันสงกรานต์ วันเข้าพรรษา วันสารท วันออกพรรษา วันมาฆบูชา วันวิสาฃบูชา วันอาสาฬหบูชาเหล่านี้ - การทำบุญดักบาตรคราวเทศกาลนี้ ชาวพุทธนิยมถือกัน เป็นประเพณีสืบมาว่า เป็นการทำบุญอุทิฬห้บรรพบุรุษผู้ล่วงกับ ไปแล้ว เพื่อเป็นการแสดงความกดัญณกตเวทีต่อท่านผู้มีพระคุณ และอุปการคุณแก่ตน เป็นการทำบุญเพื่อขอพรจากบรรพบุรุษ เพื่อให้ตนเกิดความสุขความเจริญรุ่งเรืองยิ่ง ๆ ขึ้นไป www.kalyanamitra.org

๔๖ ระเบียบปฏิบ้ตการรักษามารยาท ในสังคม ระเบียบปภิบตการนงพบเพียบ อิริยาบถการนงพบเพียบ - การนั่งฟ้บเพียบเป็นกิริยาอาการนั่งที่นิยมกันในหมู่ชาวพทธ ว่า เป็นกิริยาอาการที่สุภาพ เรียบร้อย สวยงาม น่าดู น่าชม เหมาะสมแก่มารยาทชองชาวไทย ที่ละเมียดละไมน่ารักซึ่งชาว พุทธเรานิยมปฎิบ้ตกันสืบมาแต่โบราณกาล จนกระนั่งทุกวันนี้ - การนั่งฬบเพียบนี้ ชาวพุทธนิยมปฎิปตจนมีความเคยชิน จึงทำได้เรียบร้อย น่าดู ซึ่งเป็นอิริยาบถที่ชาวต่างชาติต่างศาลนา กระทำตามได้ยาก แม้จะทำคามได้บ้าง ก็ไม่เรียบร้อย ไม่น่าดู มักจะขวางนัยน์คาชองผู้ได้ประลบพบเห็น - การนั่งพับเพียบนี้ ชาวไทยเรานิยมใช้ปฎินัติเป็นประจำ นั่งทางโลก และทางธรรม ในชณะที่เช้าร่วมประชุม ณ ลถานที่ ซึ่งด้องนั่งอยู่กับพื้น วิธีการนงพี'บเพียบ วิธีการนั่งพับเพียบนั้น นิยมนั่งพับชานั่งลองราบลงกับพื้น www.kalyanamitra.org

๔๗ หันปลายเท้าไปด้านหลัง จะพับฃาทั้งสองไปทางซ้ายหรือพับไป ทางขวาก็ได้ ดามถนัด - ถ้าผู้นั่งพับขาราบไปทางขวา ก็นิยมหงายฝ่าเท้าซ้ายฃึน วางขาขวาทับลงบนฝ่าเท้าซ้าย ปลายเท้าขวาหันไปทางด้านหลัง ระวังอย่าให้นิ้วเท้าซ้ายเกินหัวเข่าขวาออกมาข้างหน้า - ถ้าผู้นั่งพับขาราบไปทางซ้าย ก็นิยมหงายฝ่าเท้าขวาขึ้น วางขาซ้ายทับลงบนฝ่าเท้าขวา ปลายเท้าซ้ายหันไปทางด้านหลัง ระวังอย่าให้นิ้วเท้าขวาเกินหัวเข่าซ้ายออกมาข้างหน้า - การนั่งพับเพียบนิ้ นิยมนั่งทั้งตัวตรง อย่าให้เอียงซ้าย หรือเอียงขวา อย่าให้เอนไปข้างหน้า หรือเอนไปข้างหลัง มือ ทั้งสองประสานลันวางไว้ที่หน้าตัก หรือที่ขาพับ - ถ้านั่งพับเพียบพับขาราบไปทางขวา ก็นิยมวางมือทังสอง ประสานลันวางไว้บนขาพับข้างซ้าย - ถ้านั่งพับเพียบพับขาราบไปทางซ้าย ก็นิยมวางมือทั้งสอง ประสานลันวางไว้บนขาพับข้างขวา - กรยาอาการที่วางมือประสานลันนั้น นิยมวางมือซ้าย หงายขึ้น วางมือขวาทับลงบนมือซ้ายก็ได้ หรือวางมือซ้ายควรลง วางมือขวาทับลงบนหลังมือซ้ายก็ได้ - กิริยาอาการที่วางมือประสานลันนั้น นิยมวางพักอย่างสบาย ไม่จับลันจนแน่น ไม่เกร็ง ไม่ใช้ลำแขนเป็นเครื่องคํ้ายันลำตัว www.kalyanamitra.org

๔๘ - การนํ่งพับเพียบนี้ สำ หรับสุภาพบุรุษ นิยมนั่งแยกหัวเข่า ทั้งสองออกห่างกันพอสมควร ประมาณ ๑ คืบ ท)ณะนั่งอยู่ ต่อหน้าผู้Iหญ่ สำ หรับสุภาพสตรี นิยมนั่งให้หัวเข่าทั้งสองแนบ ชิดกัน ไม่นิยมนั่งแยกหัวเข่าทั้งสองออกห่างจากกัน - การนั่งพับเพียบนี้ นิยมไม่หันปลายเห้าไปทางปูชนิยวัตถุ หรีอปชนิยบุคคล เพราะการทำเช่นนั้นถือกันว่าเป็นกิริยาอาการ แสตงความไม่เคารพ วิธีการนงพบเพียบได้นาน - การนั่งพับเพียบได้นานนั้น นิยมนั่งแยกหัวเข่าให้ห่าง ออกจากกัน ท)นาดฝ่าเห้าข้างหนึ่งจรดกับหัวเข่าอีกข้างหนึ่ง อย่าให้ ขาหับฝ่าเท้า การนั่งพับเพียบแบบนี้ นิยมเฉพาะผู้!หญ่ หรีอ นิยมเฉพาะในพิธีที่จะด้องนั่งเป็นเวลานานๆ เช่น นั่งพีงพระ เทศน์ นั่งพีงพระเจริญพระพุทธมนต์ เป็นด้น - การนั่งพับเพียบแบบนี้ ไม่นิยมนั่งต่อหน้าผู้ใหญ่ เพราะ แสดงกิริยาอาการองอาจผึ่งผายมากเกินไป และไม่นิยมนั่งสำหรับ สุภาพสตรี เพราะเป็นกิริยาอาการไม่สุภาพ ไม่น่าลูไม่เหมาะสม กับสตรีเพศ วิธีการเปลี่ยนนั่งพีบเพียบ - เมื่อนั่งพับเพียบอยู่ข้างเดียวเป็นเวลานานๆ มักเกิดม อาการปวดเมื่อย ถ้าด้องการจะผลัดเปลี่ยนการนั่งพับเพียบไปอีก ข้างหนึ่ง นิยมปฎิบ้ดดังนี้:- www.kalyanamitra.org

๔๙ - ใช้มือทั้งสองยันที่หัวเข่าทั้งสอง หรือยันที่พื้นช้างตัว หรือ ยันที่พื้นช้างหน้า (วิธีนี้เหมาะสำหรับคนเจ้าเนื้อป้องตันไม่ให้หัว คะมำได้เป็นอย่างดี) แล้วกระหย่งตัวขึ้น พร้อมตับพลิกเปลี่ยน เท้าพับไปอีกช้างหนึ่ง โดยพลิกเท้าผตัดเปลี่ยนตันอยู่ด้านหลัง ไม่นิยมยกเท้ามาผลัดเปลี่ยนตันช้างหน้า เพราะเป็นกิริยาอาการ ที่ไม่สุภาพ ระเบียบปฏิป้ตการประณมมือ การประณมมือ - การประณมมือ มาจากคำว่า \"ยัญชลิกรรม\" คือ การ กระทุ่มมือทั้งสองประณม โดยให้ฝ่ามือทังสองประกบตัน นิยม ใช้แสดงความเคารพพระรัตนดรัยในเวลาพังพระเจรืญพระพุทธ- มนต์ พังพระสวดพระอกิธรรม และพังพระธรรมเทศนา เป็นด้น วิธีการประณมมือ - การประณมมือ นิยมปฎิบ้ตอย่างนี้ คือ ยกมือหังสอง ขึ้นประกบตัน ทั้งเป็นกระทุ่มมือประณมไว้ระหว่างอกให้ปลายมือ ทั้งขึ้นช้างบน นี้วมือทั้งสองช้างทุกนิวแนบชิดสนิทตัน อย่าให้ เหลี่อมลํ้าตัน อย่าให้กางห่างออกจากตัน ช้อศอกทั้งสองแนบชิด ตับชายโครง - การประณมมือนี้ ล้านี้วมือกางห่างออกจากตัน ถือตันว่า เป็นกิรืยาอาการที่แสดงออกให้ทราบถืงนิลัยชองผ้นั้นว่าเป็นคน www.kalyanamitra.org

๕๐ มือห่าง สีนห่าง เป็นคนสุรุ่ยสุร่าย เป็นลักษณะของคนหยาบ คนมักง่าย คนยากจน - การประณมมือนี้ เป็นกิริยาอาการที่แสดงความเคารพ พระรัตนดรัย จึงนิยมทำด้วยความเรียบร้อย ทำ ด้วยความตั้งใจ เคารพอ่อนน้อม ไม่นิยมปล่อยให้นี้วมืองอหงิกเป็นแง่งขิง แง่งข่า นิยมตั้งกระพุ่มมือไว้ระหว่างอก ไม่ยกให้สูงขึ้นไปจรดคาง หรีอ จรดปาก ไม่ปล่อยปลายมือให้ตกดรลงมาวางอยู่ที่พุง หรีอวางไว้ ที่หน้าตัก หรือวางไว้ที่หัวเข่า เป็นด้น ระเบียบปฎิบตการไหว้' การไหว้ - การไหว้ มาจากคำว่า \"นมัสการ\" คือ การยกกระพุ่มมือ ที่ประณมขึ้นจรดหน้าผาก พร้อมลับก้มคืรษะลงเล็กน้อย เป็น กิริยาอาการแสดงความเคารพอย่างอ่อนน้อม นิยมใช้ตั้งทางคคื โลกและทางคคืธรรม วิธีการไหว้พระรัตนตรัย - การไหว้พระรัตนตรัย คือ การไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และปูชนียวัตถุปูชนียลถานที่มับเนื่องลับพระรัตนตรัย เช่น ด้นโพธิ พระเจคืย์ เป็นด้น ในขณะที่ผู้ตั้นนั่งเก้าอี้ หรือ ยืนอยู่ นิยมแลตงความเคารพด้วยการยกมือไหว้ มืวิธีปฎิบํต อย่างนี้ คือ:- www.kalyanamitra.org

๕๑ - ยกมือที่ประณมขึ้น พร้อมกับก้มสีรษะลงเล็กน้อยให้นิ้ว หัวแม่มือทั้งสองอยู่ระหว่างนิ้ว ให้ปลายนิ้วชี้จรดหน้าผากทำเพียง ครั้งเดียว แต่ลดมือลงตามเดีม เป็นเสร็จพีธีไหว้ วิธีการไหว้บุคคลและไหว้ศพ - การแสดงความเคารพด้วยการไหว้ซึ่งกันและกันจองคนไทย เราชาวพุทธนั้น นิยมปฎิบ้ตกันสืบมาว่าเป็นวัฒนธรรมประเพณี อันดีงามประจำชาติดลอดมาช้านาน - การไหว้ซึ่งกันและกันนั้น มืนิยมปฎิบ้ติเพี่อความเหมาะสม แก่ชั้นและวัยชองบุคคลนั้นๆ แปงออกเป็น ๓ แบบ คือ:- ๑. การไหว้บุคคลผู้มือาวุโสมากกว่า และไหว้ศพ ๒. การไหว้บุคคลผู้มือาวุโสเสมอกัน ๓. การรับไหว้บุคคลผ้มือาวุโสน้อยกว่า ร 5J จ้ การไหว้บุคคลผู้มีอาวุโสมากกว่าและไหว้ศพ - การไหว้บุคคลผ้มือาวุโสมากกว่า และไหว้ศพนั้นสำหรับ ผู้น้อยปฎิปติต่อผู้ไหญ่ที่มือาวุโสมากกว่าผู้ใหญ่โดยชาติวุฒิ คือ มืชาติกำเนิดสูงกว่า โดยคุณวุฒิ คือ มืคุณธรรมความดีได้รับ ยกย่องให้เป็นผู้ปกครองบังกับบัญชาสูงกว่า โดยวัยวุฒิ คือ ท่าน ผู้มือายุแก่กว่าดน - การไหว้บุคคลผู้มือาวุโสมากกว่าดนนิ้ นิยมยกกระพุ่มมือ ขึ้นไหว้ให้ปลายนิ้วขึ้อยู่ระหว่างคิ้ว นิ้วหัวเฌ่มือทั้งสองอยู่บนทั้งจมูก www.kalyanamitra.org

๕๒ พร้อมกับก้มสีรษะ และน้อมคัวลงพองาม สายตามองดูท่าน ด้วยความเคารพอ่อนน้อมถ่อมตน แม้กราบไหว้ศพก็นิยมปฎิบ้ต เช่นเดียวกันอย่างนี้ การไหว้บุคคลผู้มีอาวุโสเสมอกัน - การไหว้บุคคลผ้มีอาวุโสเสมอกันนั้น สำ หรับผู้มีวัยร่นราว คฑวเดียวกัน แสดงความเคารพด้วยการไหว้ และการรับไหว้ต่อกัน - การไหว้บุคคลผู้มีอาวุโสเสมอกันนี้ นิยมยกกระพุ่มมีอ ขืนไหว้ ไห้ปลายนี้วชี้อยู่ที่ดั้งจมูก นี้วหัวแม่มีอทั้งสองอยู่ที่คาง ก้มสืรษะลงเล็กน้อย สายตามองดูกันและกัน ด้วยความหวังดี ปรารถนาดีต่อกัน การรับไหว้บุคคลผู้มีอาวุโสน้อยกว่า - การรับไหว้บุคคลผู้มีอาวุโสน้อยกว่านั้น สำ หรับผู้ใหญ่ รับไหว้ผู้น้อย นิยมยกกระพุ่มมีอขึ้นประณมอยู่ระหว่างอกหรือ ที่หน้า ให้ปลายนิวชี้อยู่ที่คังจมูก ปลายนี้วหัวแม่มีออยู่ที่คาง สายตามองดูผู้ไหว้ด้วยความเมตตาปราณี www.kalyanamitra.org

๕ผ ระเบียบปฎิฟ้ตการนงลุกเข่า การนั่งลุกเข่า - การนั่งคุกเข่า คือ การนั่งกระหย่งตัวขึ้น เป็นกิริยา อาการนั่งเดริยมตัวเพื่อจะกราบพระรัตนตรัย แบบเบญจางค- ประดิษฐ์ วิธีการนั่งลุกเข่าสำหร้บชาย - การนั่งคุกเข่า เตรียมตัวกราบพระรัตนตรัยสำหรับชายนั้น นิยมนั่งคุกเข่าตั้งปลายเท้าทั้งสองยันพื้น ให้นิ้วเท้าพับลงราบตับ พื้น เท้าทั้งคู่แนบชิดสนิทตัน นั่งทับลงบนท้นเท้าทั้งคู่แยกพัวเข่า ทั้งสองออกห่างตันประมาณ ๑ คืบ อวัยวะที่ยันพื้นจะได้ฉาก เป็นรูปสามเท้า เพื่อป้องตันมิให้ล้มได้ง่าย มือทั้งสองวางทอตราบ ไว้ที่เหนือพัวเข่าทั้งสอง ให้นิ้วมือทั้งห้าแนบชิตสนิทตัน วางมือ อย่างสบาย ไม่มือาการเกร็ง วิธีการนั่งลุกเข่าสำหรับหญิง - การนั่งคุกเข่าเตรียมตัวกราบพระรัตนตรัยสำหรับหญิงนั้น นิยมนั่งคุกเข่าราบ เหยียตหลังเท้าทั้งคู่ให้ราบตับพื้นไปทางด้าน หลัง ให้ฝ่าเท้าทั้งสองแนบชิตสนิทตัน หรีอให้ปลายเท้าทั้งสอง ทับตันเล็กน้อยก็ได้ นั่งทับลงบนฝ่าเท้าทั้งสอง ให้พัวเข่าทั้งสอง แนบชิตตัน มือทั้งสองวางทอตราบไว้ที่พัวเข่าทั้งสอง ให้นิ้วมือ ทั้งห้าแนบชิดสนิทตัน วางมืออย่างสบาย ไม่มือาการเกร็ง www.kalyanamitra.org

ระเบียบปฏิบตการกราบ การกราบ - การกราบ มาจากคำว่า \"อภิวาท\" คือ การหมอบลง ที่พื้นพร้อมกับกระพุ่มมือ หรือ พร้อมกับการประณมมือ เป็น ภิริยาอาการแสดงความเคารพอ่อนน้อมถ่อมตนอย่างสูงสุดในบรรดา กิริยาอาการแสดงความเคารพทั้งหลาย ทั้งในทางคดีโลก และใน ทางคดีธรรม วิธีการกราบพระรัตนตรัย - การกราบพระรัดนดรัย คือ กราบพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และปชมืยวัดลุปูชมืยสถานที่นับเนื่องกับพระรัดนดรัย ทุกอย่าง นิยมกราบแบบเบญจางคประดีษฐ์ คือ การกราบด้วย การตั้งไว้เฉพาะซึ่งองค์ ๕ (คือ หัวเจ่า ๒ ฝ่ามือ ๒ และ หน้าผาก ๑) ใน้จรดลงแนบกับพื้น ซึ่งมืจังหวะปฎิบ้ต ๓ จังหวะ คือ:- จังหวะที่ ๑ ยกมือขึ้นประณมอยู่ระหว่างอก จังหวะที่ ๒ ยกมือประณมขึ้นจรดหน้าผาก นิ้วหัวแม่มือ ทั้งสองอยู่ระหว่างคิ้ว ปลายนิ้วขึ้จรดหน้าผาก จังหวะที่ ๓ หมอบลงให้หน้าผากจรดพื้น ฝ่ามือทั้งสอง แบราบลงแนบกับพื้น แล้วลุกขึ้นนั่ง ตั้งกัวดรง ประณมมือ ยกฃีน ผ่านจังหวะที่ ๑-๒-๓ ไปตามลำกับ ปฎิบ้ตเช่นนิ้จนครบ ๓ ครั้งทกคราวที่กราบพระรัดนดรัย www.kalyanamitra.org

๕๕ วิธีการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์สำหรับชาย - การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์สำหรับชายนั้นนิยมนั่ง คุกเข่า (แบบชาย) ประณมมือยกชึ้นผ่านจังหวะที่ ๑-๒-๓ ไป ตามลำดับดังกล่าวแล้ว แต่ขณะที่หมอบลงดับพื้นนั้น นิยมให้ ข้อศอกทั้งลองต่อดับหัวเข่าทั้งสอง นิ้วมือทั้งห้าแนบชิดสนิทดัน วางฝ่ามือทั้งสองลงราบดับพื้นให้มือทั้งสองแยกออกห่างดันประมาณ ๔ นิ้ว ล้มสืรษะลง ให้หน้าผากจรดดับพื้นในระหว่างมือทั้งสอง แล้วลุกขึ้นนั่ง ทั้งดัวฅรง ยกมือประณมขึ้นผ่านจังหวะที่ ๑-๒-๓ ไปดามลำดับ อย่าหยุดชะงักเป็นระยะๆ จะดูไม่งาม ปฎิบ้ดิเช่นนิ้ จนครบ ๓ ครั้ง เมื่อครบ ๓ ครั้งแล้ว นิยมยกมือขึ้นจบอยู่ใน ระหว่างคิ้วอีกครั้งหนึ่ง จึงเสร็จพิธีการกราบ วิธีการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์สำหรับหญิง - การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์สำหรับหญิงนั้นก็นิยม ปฎิบ้ตเช่นเดิยวดับชาย ต่างดันแต่ขณะที่หมอบลงดับพื้นเท่านั้น คือ นิยมใช้ข้อศอกทั้งสองอยู่ข้างดัวแนบชิดดับขาพับทั้งสอง ไม่นิยม ใช้ข้อศอกทั้งสองต่อดับหัวเข่าแบบชาย ส่วนวิธีปฎิบ้ตนอกจากนิ้ เหมือนดัน - ขณะที่หมอบกราบนั้น ทั้งชายและหญิง นิยมไม่ให้ล้น โต่งขึ้น จะดูไม่งาม - ขณะที่ยกประณมมือจากจังหวะที่ ๑ คือ จากระหว่างอก ขึ้นล่จังหวะที่ ๒ คือ ระหว่างคิ้วนั้น นิยมล้มสืรษะลงมารับดัน www.kalyanamitra.org

๕๖ แล้วหมอบลงส่พื้น โดยแยกมือที่ประณมออกจากกัน นำ มือขวา ลดลงก่อน มือซ้ายลดลงดามระยะไล่เลี่ยกันลงไป วิธีการกราบบุคคลและกราบศพ - การกราบบุคคลและกราบศพนั้น นิยมกราบเหมือนกัน ด้วยวิธีกระพุ่มมือกราบ ไม่แบมือกราบกับพื้นเหมือนกราบพระ- รตนตรัย และนิยมกราบเพียงครั้งเดียว ไม่กราบ ๓ ครั้งเหมือน กราบพระรัตนตรัย มืวิธีการปฎิบตดังนี้ะ- - นงพบเพียบแบบเก็บเท้า พับขาราบไปทางซ้ายดะแดง คัวข้างขวาไปทางบุคคล หรือสพที่จะกราบนั้น - หมอบลงกับพื้น พร้อมกับวางแขนขวาลงกราบกับพื้น ดลอดครึ่งแขน จากข้อศอกถึงมือ ตั้งสันมือขึ้น วางแขนซ้ายลง คู่กับแขนขวา มือทังสองแนบชิดแบบประณมมือไท้ศอกขวาอยู่ ข้างด้น ศอกซ้ายต่อกับทัวเข่าขวา - ล้มดีรษะลงไท้หน้าผากจรดสันมือ ปลายนี้วชี้อยู่ระหว่างคิ้ว แล้วลุกขึ้นนั้งพับเพียบตามปกดี เป็นเสร็จพิธีกราบบุคคล หรือ กราบศพ - ส่วนการกราบฟอและแม่ ไนพิธีการทางพระพุทธศาสนา เช่น การกราบพ่อแม่ก่อนรับผ้าไตรเข้าขอบรรพชาอุปสมบท เป็นด้น นิยมกราบแบบเบญจางดประดีษฐ์ และกราบ ๓ ครั้ง เหมือนกราบพระรัดนดรัย เพราะถือกับว่า พ่อและแม่นั้นเท่ากับ เป็นพระอรทันต์ของลูก ไนฐานะที่พระอรทันต์ทั้งหลายย่อมมื www.kalyanamitra.org

๕๗ เมตตากรุณาต่อสรรพสัตว์โลกส่วนเดียว ฉันใด พ่อและแม่ ทั้งหลายก็มีเมตตากรุณาต่อลูกๆ ของตนโตขส่วนเดียว ฉันนั้น ระเบียบปฎิไ5ตการแสดงความเคารพพระสงฆ์ การลกฃึ้นยืนรับพระสงฆ์ - การลุกขึ้นยืนรับพระสงฆ์นี้ เปีนกิริยาอาการแสตงความ เคารพอย่างหนึ่ง ซึ่งชาวพุทธนิยมปฎิบ้ตต่อพระสงฆ์ - เมื่อพระสงฆ์เถระผู้ใหญ่เดินมาถึงสถานที่พิธีงานนั้น ๆ คฤหัสถ์ชายหญิงซึ่งนั้งอยู่ ณ สถานที่นั้น นิยมปฎิฟ้ตดังนี้ะ- - ถ้านั่งเก้าอี้ นิยมลุกขึ้นยืนรับ เมื่อท่านเดินฝานมาตรงหน้า นิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้ เมื่อท่านนั่งเรียบร้อยแล้วจึงนั่งลง ตามเดิม - ถ้าคฤหัสถ์ชายหญิงนั่งอยู่ตับพื้น ไม่นิยมลุกขึ้นยืนรับเมื่อ ท่านเดินฝานมาถึงเฉพาะหน้า นิยมยกมือไหว้หรีอกราบตามความ เหมาะสมแก่สถานที่นั้น - สำ หรับท่านผู้เป็นประธานพิธี หรีอเจ้าภาพงานนิยมคอย รอรับพระสงฆ์ที่นิมนต์มาประกอบพิธีในงานนั้น เมื่อพระสงฆ์ มาถึง นิยมนิมนต์และนำท่านไปยังสถานที่จัตไว้รับรอง www.kalyanamitra.org

๕๘ การให้ที่นั่งแก่พระสงฆ์ - การให้ที่นั่งแก่พระสงฆ์นี้ เป็นกิริยาอาการแสดงความ เอื้อเฟ้อแก่พระสงฆ์อย่างหนึ่ง ซี่งชาวพุทธนิยมปฎิบ้ตกันสืบมา มีวิธีปฎิบ้ตดังนี้ะ- - เมื่อพระสงฆ์มาในพิธีงานนั้น ถ้าสถานที่ชุมนุมนั้นจัดให้ นั่งเถ้าอื้ คฤหัสถ์ชายหญิงนิยมลุกขึ้น หสีกไป ให้โอกาสพระสงฆ์ นั่งเถ้าอื้แถวหน้า - ถ้าคฤหัสถ์ชายจำเป็นจะต้องนั่งเถ้าอื้แถวเดียวกับพระสงฆ์ นิยมนั่งเถ้าอื้ต้านซ้ายของพระสงฆ์ - สำ หรับสดริเพศ ไม่นิยมนั่งเถ้าอื้แถวเดียวกัน หรือนั่ง อาสนะยาวกับพระสงฆ์ เว้นแด่มีสุภาพบุรุษนั่งคั่นในระหว่าง - ถ้าสถานที่ชุมนุมหัน จัดให้นั่งกับพื้น นิยมจัดอาสนะสงฆ์ ไว้เป็นส่วนหนึ่งด่างหาก จากอาสนะที่คฤหัสถ์ชายหญิงนั่ง เช่น ปูพรมผืนใหญ่เต็มห้อง เป็นต้น นิยมจัดปูลาดอาสนะเล็กบนพรม ผืนใหญ่นั้นอีกชั้นหนึ่ง สำ หรับเป็นที่นั่งของพระสงฆ์แด่ละรูป การตามส่งพระสงฆ์ - การตามส่งพระสงฆ์นี้ เป็นกิริยาอาการแสดงความเคารพ แก'พระสงฆ์อีกประการหนึ่ง ซึ่งชาวพุทธนิยมปฎิบตกันสืบมา - เมื่อพระสงฆ์เถระผู้ใหญ่หรือพระสงฆ์ที่นิมนต้มาในพิธี งานหันจะลากลับ คฤหัสถ์ชายหญิงผู้ที่อย่ในพิธีงานนั้นนิยมปฎิปต ดังนี้:- www.kalyanamitra.org

- ถ้า'นงเก้าอี้ นิยมลุกขึ้นยืนส่งท่าน เมื่อท่านเดินฝานมา ถึงเฉพาะหน้า นิยมน้อมตัวลงยกมือไหว้ - ถ้านั่งอยู่ตับพื้น นิยมไม่ต้องยืนส่ง เมื่อท่านเดินฝานมา ถึงเฉพาะหน้า นิยมกราบหรือยกมือไหว้ตามควรแก่กรณี - สำ หรับท่านผ้เป็นประธาน'ฬิธีหรือเจ้าภาพงานนิยมเดินตาม ไปส่งท่านจน'ต้นบริเวณงาน หรือจนกว่าท่านจะขึ้นรถออกต้นจาก บริเวณงานไปแล้ว และก่อนที่ท่านจะจากไปนิยมน้อมตัวลงยกมือ ไหว้ เป็นการแสดงความเคารพส่งท่านอีกครั้งหนี่ง การหลีกทางให้แก่พระสงฆ์ - การหลีกทางให้แก่พระสงฆ์นี้ เป็นกิริยาอาการแสตง ความเคารพเอี้อเฟ้อแก่พระสงฆ์อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งชาว'ทุทธนิยม ปฎิบ้ดตันลีบมา วิธีปฏิบตเมื่อพระสงฆ์เดินตามมาข้างหลี'ง - ถ้าพระสงฆ์เดินตามมาจ้างหลัง คฤหัสถ้ชายหญิงเดินไป จ้างหน้า รูลีกตัวว่ามืพระสงฆ์เดินตามมาจ้างหลัง นิยมปฎิบ้ต ตังนี้ะ- - หลีกทางชิดจ้างทางต้านซ้ายมือฃองพระสงฆ์ - ยืนตรง มือทั้งสองห้อยประสานตันไว้จ้างหน้า 'ตันหน้า มาทางท่าน - เมื่อพระสงฆ์เดินฝานมาถึงเฉพาะหน้า นิยมน้อมตัวลง ยกมือไหว้ www.kalyanamitra.org

๖๐ - ถ้าท่านพูดด้วย นิยมประณมมือพูดกับท่าน (เฉพาะพระ เถระ) - ถ้าท่านนิได้พูดด้วย เมื่อยกมือไหว้แถ้ว ลดมือทั้งสอง ลงห้อยประสานกันไว้ข้างหน้า มองดูท่านจนกว่าท่านจะเลยไป จึงเดินดามหลังท่านไป วิธีปฏิบตเมื่อเดินสวนทางกับพระสงฆ์ - ถ้าคฤหัสถ์ชายหญิงเดินสวนทางกับพระสงฆ์ นิยมปฎิบ้ต ดังนี้ะ- - หลีกเข้าชิดข้างทางด้านซ้ายมือชองพระสงฆ์ - ยืนดรง มือทั้งสองห้อยประสานกันไว้ข้างหน้า หันหน้า มาทางท่าน - เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านมาลีงเฉพาะหน้า นิยมน้อมดัวลง ยกมือไหว้ หรือ นั่งกระหย่งยกมือไหว้ ตามสมควรแก่กาลเทศะ และบุคคล - ถ้าท่านพูดด้วย นิยมประณมมือพูดกับท่าน (เฉพาะพระ เถระ) - ถ้าท่านนิได้พูดด้วย เมื่อยกมือไหว้แล้ว ก็ลดมือลงห้อย ประสานกันไว้ข้างหน้า มองดูท่านจนกว่าท่านจะผ่านเลยไป จึงเดิน ไปตามปกดิ www.kalyanamitra.org

๖๑ วิธีปฎิบตเมื่อพบพระสงฆ์ยืนอยู่ - ถ้าคฤหัสถ์ชายหญิง เดินไปพบพระสงฆ์ฟานยืนอยู่ นิยม ปฐบ้ตดังนี้ะ- - หยุดยืนตรง - น้อมตัวลงยกมือไหว้ - ถ้าท่านพูดด้วย ประณมมือพูดกับท่าน - เดินหลีกไปทางซ้ายของพระสงฆ์ วิธีปฎิบตเมื่อพบพระสงฆ์นั่งอยู่ - ถ้าคฤหัสถ์ชายหญิง เดินไปพบพระสงฆ์ท่านนั่งอยู่ นิยม ปฎิบ้คตังนี้ะ- - หยุดนั่งลง ถ้าพื้นที่สะอาด นิยมนั่งคุกเข่า หรือนั่งพับเพียบ ถ้าพื้นไม่สะอาด นิยมนั่งกระหย่ง - น้อมตัวลงยกมือไหว้ - ถ้าท่านพูดด้วย ประณมมือพูดกับท่าน - ลุกขึ้นเดินหลีกไปทางซ้ายของพระสงฆ์ - ถ้าพระสงฆ์อยู่ในที่กลางแจ้ง มืเงาปรากฎอยู่ คฤหัสถ์ ชายหญิงนิยมไม่เดินเหยียบเงาของพระสงฆ์ นิยมเดินหลีกไปเลีย ยืกทางหนึ่ง วิธีเดินตามหลังพระสงฆ์ - การเดินตามหกังพระสงฆ์นี้ เป็นกิริยาอาการแสดงความ www.kalyanamitra.org

๖๒ เคารพแก่พระสงฆ์อย่างหนึ่ง ซึ่งชาวพุทธชายหญิงนิยมปฎิปฅกัน สืบมา มีวิธีปฎิบ้ตดังนี้ะ- - เดินตามไปเบื้องหลังของพระสงฆ์ โดยให้เยื้องไปทางซ้าย ของฟาน - ไว้ระยะห่างจากท่านประมาณ ๒-๓ ก้าว - เดินตามท่านไปด้วยกิริยาอาการสำรวมเรียบร้อย - นิยมไม่แสตงความเคารพผู้อื่น - นิยมไม่พุตคุยทักทายปราศรัยลับผู้อื่น ระเบียบปฎิบตการไปหาพระสงฆ์ที่วัด ฮานะของพระสงฆ์ - พระภิกษุสงฆ์นั้น ตำรงอยู่ในฐานะเป็นปูชนียษุคคลที่ พุทธศาสนิกชนชายหญิงทั้งหลาย สมควรเคารพลักการบูชา กราบไหว้ด้วยความเลื่อมใสศรัทธา เพราะว่าพระสงฆ์เป็นผู้ ประพฤดิดิ ประพฤดิซึ่อตรง ประพฤดิเพื่อให้ออกไปจากทุกข์ ประพฤดิถูกด้องอย่างดียิ่ง และเป็นบุญเขตเบื้อนาบุญอย่างยอต เยี่ยมของชาวโลก - พระสงฆ์เป็นผู้รักษาพระพุทธศาสนาไว้ ด้วยการทรงเพศ บรรพชิต และสืกษาเล่าเรียนทรงจำพระศาสนธรรมคำลังสอนของ พระลัมมาลัมพุทธเจ้าไว้นิให้เลื่อมสูญ www.kalyanamitra.org

ben - พระสงฆ์เป็นผู้นำเอาพระศาสนธรรมนั้นมาเทศนาชี้แจง อบรมสังสอนชาวพทธให้ทราบว่า สิงใดดี สิงใดชั่ว สิงใดควรทำ สิงใดไม่ควรทำ - พระสงฆ์เป็นผู้แนะนำพราสอนชาวพุทธ ให้เลิกละความชั่ว และชักจูงชาวพุทธให้เกิดความยินดีพอใจในการทำความดี - พระสงฆ์เป็นสักขีพยานเป็นตัวอย่างแห่งความประพฤติดี ปฐบ้ตชอบ ตามพระศาสนธรรมคำสังสอนฃองพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อีกด้วย การเตรียมตัวเบื้องต้น - เพราะพระสงฆ์ดำรงอยู่ในฐานะเป็นปูชนียบุคคลตังกล่าว แล้ว ฉะนั้น ชาวพุทธชายหญิงทั้งหลายผู้ประสงค์จะไปหา พระสงฆ์ที่วัด พึงสังวรระวังอยู่เสมอว่าเราไปหาท่านที่ควรเคารพ บูชา นิยมรักษากิริยามารยาททางกาย ทางวาจาตลอดถึงจิดใจ ให้เรียบร้อย อันแสดงออกถึงความมีศรัทธาเลื่อมใสเป็นอย่างดียิ่ง - ล้าบุคคลผู้ไปหาพระสงฆ์นั้นเพื่อประสงค์จะขออาราธนา นิมนค์ท่านไปประกอบพิธีงานมงคลหรีองานอวมงคลก็ดาม นิยม มีเครื่องสักการบูชา เช่น ดอกไม้ธปเทียน เป็นด้น ใส่พานนำไป ถวาย เพื่อเป็นเครื่องแสดงความเคารพบูชาท่านด้วย ทั้งนี้ เพื่อ รักษาประเพณีอันดีงามของมหาอุบาสกและมหาอุบาสิกา เช่น อนาถนิณฑิกเศรษฐีและนางวิสาขามหาอุบาสิกา ได้ประพฤติเป็น ตัวอย่าง กล่าวดีอ:- www.kalyanamitra.org

๖๔ - เมื่อไปเฝืาพระพุทธเจ้าเวลาเช้าก่อนเที่ยงวัน ก็นิยมนำ ภัตตาหารคาวหวานไปถวายพระพุทธเจ้าและพระภิกษุสงฆ์พุทร- สาวก - เมื่อไปเฝืาพระพุทธเจ้าเวลาบ่ายหลังจากเที่ยงวันไปแล้ว ก็นิยมนำเภสัช ๕ มีเนยใส เนยช้น นํ้าภัน นํ้าผึ้ง นํ้าอ้อย เป็นด้น ไปถวายพระพุทธเจ้าและพระภิกษุสงฆ์พุทธสาวกเป็น ประจำตลอดมา - ชาวพุทธชายหญิงผู้จะไปหาพระสงฆ์ฑึวัดนั้น นิยมแต่งกาย สุภาพเรียบร้อย ไม่นิยมแต่งกายด้วยเครี่องอาภรณ์สีฉูดฉาดบาดตา ไม่นิยมนุ่งน้อยห่มน้อย หรีอเปลือยหน้าเปลือยหลัง ชะเวิกชะวาก เป็นด้น วิธีปฏิบัติขณะถึงที่อยู่ของพระสงฆ์ - ก่อนจะเช้าพบท่าน นิยมไต่ถามพระภิกษุสามเณร หรีอ สืษย์วัดผู้อยู่ใกล้เคียงว่า ท่านอยู่หรีอไม่อยู่ ท่านว่างหรีอไม่ว่าง ท่านกำลังทำอะไรอยู่ สมควรจะเช้าพบท่านได้หรีอไม่ และนิยม แจ้งความจำนงขออนุญาตเช้าพบท่านก่อน เมื่อได้รับอนุญาตให้ เช้าพบได้ จึงเช้าพบท่าน - ถ้าไม่พบผู้โตที่จะพอไต่ถามได้ นิยมรอคอยดูจังหวะที่ สมควร และก่อนที่จะเช้าพบท่าน ขณะท่านอยู่ภายในห้อง นิยม กระแอมหรีอไอ หรีอเคาะประดูให้เสียงก่อน เพื่อให้ท่านได้ทราบ www.kalyanamitra.org

๖๕ ล่วงหน้า เมื่อท่านอนุญาตแล้วจึงนิยมเปีดประตูเฃ้าไป (เฉพาะ ชาย) ส่วนหญิงไม่นิยมเข้าไปหาพระสงฆ์ในห้องเด็ด'ฃาด - เมื่อท่านนั่งเรียบร้อยแล้ว ผู้ไปหานิยมนังตูกเช่า กราบ แบบเบญจางคประดิษฐ์ (ชาย กราบแบบชาย หญิง กราบแบบ หญิง ดังกล่าวแล้วในระเบียบปฎิบ้ดิการกราบข้างต้นนัน) ๓ ดรัง - เมื่อกราบเสร็จแล้ว นิยมนั่งพับเพียบ ไม่นิยมนั่งบน อาสนะเสมอดับพระสงฆ์ เช่น นั่งบนพรมหรือเส์อผืนเดียวดัน หรือนั่งเก้าอี้เสมอดับพระสงฆ์ เป็นต้น - กิริยาอาการที่นั่งพับเพียบนั้น นิยมนั่งพับเพียบแบบ เก็บเห้าดังกล่าวแล้ว (ในระเบียบปฎิฟ้ตการนั่งพับเพียบข้างต้น) เฉพาะสตรีเพศ นิยมสังวรระวังเครื่องนุ่งห่ม โดยปกปีดอวัยวะ ที่ควรปกปีดให้เรียบร้อย - ขณะที่พระสงฆ์อยู่ชั้นล่าง คฤหัสถ์ชายหญิงไม่นิยมขึ้นไป ชั้นบนของคุฎิ และไม่นิยมเข้าไปภายในห้องล่วนดัวฃองท่าน วิธีปฎิบตฃณะสนทนากับพระสงฆ์ - ล้าพระภิกษุสงฆ์รูปนั้น เป็นพระเถระผู้ใหญ่ นิยม ประณมมือพูตดับท่านทุกครั้งที่กราบเรียนท่านและรับคำพูดชองห่าน - ขณะสนทนาอยู่ดับพระสงฆ์นั้น ไม่นิยมพูดล้อเล่นดับ ท่าน ไม่นิยมพูดคำหยาบโลนดับท่าน ไม่นิยมนำเอาเรื่องส่วนดัว ไปเล่าให้ท่านพัง ไม่นิยมแลดงอาการยกตนดีเลมอท่านคล้าย เพื่อนเล่น หรือยกตนสูงกว่าท่าน www.kalyanamitra.org

๖๖ - เฉพาะสตรีเพศทังหมด แม้จะเป็นญาติกับพระภิกษุสงฆ์ รูปนั้นก็ดาม ไม่นิยมสนทนากับพระภิกษุสองต่อสองทั้งภายในห้อง และภายนอกหอง ทังในที่กับดาและในที่กับหู เพราะผิดพระวินัย พุทธนัญญํต - เมื่อเสร็จธุรกิจแล้ว นิยมรีบลาท่านกกับ ไม่ควรสนทนา อยู่นานเกินควร เพราะเป็นการรบกวนเวลาท)องท่าน - เมื่อจะลาท่านกกับ นิยมนั้งคุกเข่า (ดามเพศ) กราบท่าน ด้วยเบญจางคประติษฐ์ ๓ ครั้ง แล้วเตินเข่าออกไป ะฒียบปฎิบตการใช้คำพูดกับพระสงฆ์ต่ๅงชั้น การใช้คำทูลสมเด็จพระสังฆราช คำ แทนตัวพระองค์ท่าน ว่า \"ฝ่าพระบาท\" หรีอ \"ฝ่าบาท\" คำ แทนตัวผู้พูด (ชาย) ว่า \"เกล้ากระหม่อม\" หรีอ \"กระหม่อม\" คำ แทนตัวผู้พูด (หญิง) ว่า \"กระหม่อมฉัน\" หรีอ \"หม่อมฉัน\" คำ รับพระดำรัส (ชาย) ว่า \"ฟะย่ะค่ะ\" หรีอ \"กระหม่อม\" คำ รับพระดำรัส (หญิง) ว่า \"เพคะ\" www.kalyanamitra.org

๖๗ การใช้คำพูดกับสม!ด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะชนราช ขึ้นไป คำแทนตัวท่าน ว่า \"พระเดชพระคุณ\" หรือ \"ใต้เท้า\" คำแทนตัวผู้พูด (ชาย) ว่า \"เกล้ากระผม\" หรือ \"เกล้าฯ\" คำแทนตัวผู้พูด (หญิง) ว่า \"ดิฉัน\" หรือ \"อีฉัน\" คำรับคำพูด (ชาย) ว่า \"ขอรับกระผม\" \"ครับ\" \"กระผม\" หรือ \"ครับผม\" คำรับคำพูด (หญิง) ว่า \"เจ้าค่ะ\" การใช้คำพูดกับพระราชาคณะชั้นสามัญลงมา - พระราชาคณะใช้คำแทนตัวท่านว่า \"ท่านเจ้าคุณ\" หรือ \"ท่าน\" - พระครูสัญญาบัดรและพระครูฐานานุกรม ใช้คำแทนตัว ท่านว่า \"ท่านพระครู\" หรือ \"ท่าน\" - พระเปรืยญ ใช้คำแทนตัวท่านว่า \"ท่านมหา\" หรือ \"ท่าน\" - พระอันตับธรรมดา ใช้คำแทนตัวท่านว่า \"พระคุณเจ้า\" หรือ \"ท่าน\" - พระผู้เฌ่า ใช้คำแทนตัวท่านว่า \"หลวงพ่อ\" หรือ \"หลวงป่\" - ล้าพระสงฆ์นั้นเป็นญาติกับผู้พูด นิยมใช้คำพูดแทนตัว ท่านดามฐานะที่เป็นญาติกัน เช่น ใช้คำแทนตัวท่านว่า \"หลวงป่ www.kalyanamitra.org

๖๘ หลวงดา หลวงพ่อ หลวงลุง หลวงอา หลวงน้า หลวงพ\" เป็นด้น คำ แทนตัวผู้พูด (ชาย) ว่า \"กระผม\" หรือ \"ผม\" คำ แทนตัวผู้พูด (หญิง) ว่า \"ดิฉัน\" หรือ \"อีฉัน\" คำ รับคำพูด (ชาย) ว่า \"ครับ\" คำ รับคำพูด (หญิง) ว่า \"เจ้าค่ะ\" หรือ \"ค่ะ\" การใช้คำพูดกับพระธรรมดาสามัญทั่วไป - ถ้าผู้พูดไม่รู้จักกับพระภิกษุสงฆ์รูปนั้น ไม่ทราบว่าท่านมี สมณตักดิ้ชั้นไหน นิยมใช้คำพูดสามัญเป็นกลางๆ ตังนี้:- คำ แทนตัวพระภิกษุสงฆ์รูปนั้น ว่า \"พระคุณเจ้า\" หรือ \"พระคุณท่าน\" หรือ \"ท่าน\" คำ แทนตัวผู้พูด (ชาย) ว่า \"กระผม\" หรือ \"ผม\" คำ แทนตัวผู้พูด (หญิง) ว่า \"ดิฉัน\" \"อีฉัน\" หรือ \"ฉัน\" คำ รับคำพูด (ชาย) ว่า \"ครับ\" คำ รับคำพูด (หญิง) ว่า \"เจ้าค่ะ\" หรือ \"ค่ะ\" ระเบียบปฏิบ้ตการรับสิ่งฃองจากพระสงฆ์ ขณะพระสงฆ์ยืนอยู หรือ นงบนอาสนะสูง - เดินเช้าไปด้วยภิรืยาอาการสำรวม โดยไม่เร็วหรือช้าเภินไป เมื่อเช้าใกล้พอสมควร ประมาณพอยี่นมีอเช้าไปรับสิงของได้พอดี www.kalyanamitra.org

๖๙ - ยืนตรง น้อมตัวลงยกมือไหว้ และยื่นมือทั้งสองเข้าไปรับ พร้อมกับน้อมตัวลงเล็กน้อย สำ หรับชายรับสิงของจากมือท่าน สำ หรับหญิงแบมือทั้งสองชิดกันคอยรองรับสิงของ - เมื่อรับสิงของแล้ว ล้าสิงของเล็ก นิยมน้อมตัวลงยกมือ ไหว้พร้อมกับสิงของที่อยู่ในมือ ล้าสิงของที่รับนั้นใหญ่ หรือหนัก นิยมไม่ต้องยกมือไหว้ แล้วก้าวเท้าซ้ายถอยหลังออกไป ๑ ก้าว ชักเท้าขวามาชิด แล้วหันหลังกลับเดินไปไต้ ขณะพระสงฆ์นงเก้าอี้ - เดินเข้าไปต้วยกิริยาอาการสำรวม เมื่อเข้าไปใกล้ประมาณ ๒ ศอก แล้วยืนดรง ก้าวเท้าขวาออกไป ๑ ก้าวแล้วนั่งคุกเข่า ซ้ายชันเข่าขวาขึ้น น้อมตัวลงยกมือไหว้แล้วยื่นมือทั้งสองออกไป รับสิงของตังกล่าวแล้ว - เมื่อรับสิงของแล้ว ล้าสิงของนั้นเล็ก นิยมน้อมตัวลง ยกมือไหว้ พร้อมกับสิงของที่อยูในมือ ล้าสิงของนั้นใหญ่หรือหนัก นิยมวางสิงของนั้นไว้ข้างตัว ต้านซ้ายมือน้อมตัวลงยกมือไหว้ แล้วยกสิงนั้นต้วยมือทั้งสองประคองยกขึ้นยืนขึ้น ชักเท้าข้างขวา กลับมายืนดรง ก้าวเท้าซ้ายถอยหลังไป ๑ ก้าว แล้วชักเท้าขวา ชิด หันหลังกลับเดินไปไต้ ขณะพระสงฆ์นงกับพื้น - เดินเข้าไปต้วยกิริยาอาการสำรวม เมื่อถงบริเวณที่ปลาด อาสนะไว้ นั่งคุกเข่าลง แล้วเดินเข่าเข้าไป เมื่อถึงที่ใกล้ประมาณ www.kalyanamitra.org

๗๐ ๑ ศอกเศษ นั่งคุกเข่า (ตามเพศ) กราบ ๓ หน ยื่นมือทั้งสอง ออกไปรับสิงของดังกล่าวแล้ว - เมื่อรับสิงของแล้ว นิยมวางสิงของนั้นไว้ข้างหน้าด้าน ขวามือ กราบ ๓ หน แล้วหยิบสิงของนั้นถือด้วยมือทั้งสอง ประคอง เดินเข่าถอยหลังออกไปจนสุดบริเวณที่ปูลาดอาสนะไว้ แล้วลุกขึ้นยินกลับไปได้ - กิริยาอาการเดินเข่านั้น นิยมทั้งดัวตรง ล้าไม่ได้ถือสิงของ มือทั้งสองห้อยอยู่ข้างดัว ล้าถือสิงของ มือทั้งสองประคองถือ สิงของยกขึ้นอยู่ระดับอก ศอกทั้งสองข้างแนบชิดกับชายโครง - ขณะเดินเข่า ร่างกายส่วนบนไม่เคลื่อนไหว ไม่ซัดส่าย ไม่โยกโคลงไปมา ไม่เอียงซ้าย ไม่เอียงขวา เฉพาะร่างกายส่วน ล่างเท่านั้นที่เคลื่อนไหว และขณะเดินเข่าเข้าไปหรือถอยหลังออก มานั้น นิยมให้ดรงเข้าไป และตรงออกมา www.kalyanamitra.org

๗๑ ระเบียบปฏิบ้ตการประกอบพิธีกรรม ระเบียบปฎิบติการหาฤกษ์งามยามดี ความหมายของฤกษ - คำว่า \"ฤกษ์\" แปลว่า การมองดู การตรวจดูการ พิจารณาดูดราวที่เหมาะ เวลาที่เหมาะ จังหวะที่เหมาะแก่การ ประกอบการงานที่เป็นมงคลนั้นๆ หมายความว่า ก่อนที่คนเรา จะประกอบการงานที่เป็นมงคลอย่างใดอย่างหนึ่ง สมควรจะต้อง พินิจพิจารณาเลือกหากำหนดวันเวลาที่เหมาะแก่การประกอบพิธี มงคลนั้นๆ โดยไม่รีบด่วนจนเกินไป จนกระทั่งตระเตรียมอะไร ไม่ทัน และโดยไม่ล่าช้าจนเกินไป จนกระทั่งเกิดความเอือมระอา ใจที่ต้องเฝืารอคอยวันเวลาฤกษ์กว่าจะถึง ฤคษ์งามยามดีทางคดีไลก - ในทางคดโลก สังคมมนุษย์ส่วนมากนิยมกันลืบมาว่าวัน เวลาใดประกอบต้วยส่วนดี คือ เป็นเดช เป็นศรี เป็นมูละ เป็น อุตสาหะ เป็นมนตรี เป็นราชาฤกษ์ เป็นเทรีฤกษ์ เป็นมทัทธโน ฤกษ์ เป็นศุภะ เป็นกัมมะ เป็นลาภะ เป็นต้น เหส่านี้มมาก ที่สุดเท่าที่จะมากไต้ และประกอบต้วยส่วนเสีย คือ เป็นอุบาทว์ เป็นโลการีนาศ เป็นกาลกรรณ เป็นอริ เป็นมรณะ เป็นรีนาศ เป็นต้น เหลำนี้มีน้อยที่สุด เท่าที่จะหสีกเลี่ยงไต้พร้อมทั้งท่าน www.kalyanamitra.org

๗๒ อาจารย์ผู้ให้ฤกษ์นั้น ก็เป็นผู้ทรงวิทยาคุณทางโหราศาสตร์ มีชื่อ เสียงปรากฎเป็นที่ยอมรับนับถือของมหาชนทั่วไปในห้องถิ่นนั้น วันเวลาฤกษ์เช่นนี้แหละ สังคมมนุษย์เรานิยมยอมรับนับถือ เชื่อ ได้ด้วยความแน่ใจว่า \"เป็นฤกษ์งามยามดี'' สำ หรับประกอบพิธี มงคลนั้น ๆ ฤกษ์งามยามดีทางคดีธรรม - ในทางคดีธรรม คือ ตามคำลอนทางพระพุทธศาลนา ลมเด็จพระบรมศาลตาสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงลอนพุทธบริษัท เรื่องฤกษ์งามยามดีตามความเป็นจริงไว้ในสุปุพพัณหสูตร โตย ใจความว่า \"คนเราประพฤติกายสุจริต (คือ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่สักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม) ประพฤติวจีสุจริต (คือ ไม่พูตปด ไม่พุด ส่อเสียด ไม่พุดหยาบคาย ไม่พุดเพ้อเจ้อเรื่องที่เหลวไหลไร้ลาระ ประโยชษ์) ประพฤติมโนสุจริต (คือ ไม่โลภอยากได้ของเขาใน ทางทุจริต ไม่พยาบาทปองร้ายเขา ไม่เป็นมิจฉาทิฎฐิเห็นผิดเป็น ชอบ) กล่าวคือ กระทำความดีทางกาย ทางวาจา และทางใจ ใน เวลาเช้า ลาย ปาย เย็น เวลาครคืน หรือ เวลาใตก็ตาม เวลา นั้นแหละชื่อว่า \"เป็นฤกษ์งามยามดี\" สำ หรับผู้ทำความดีนั้น\" รวมควำมว่า ฤกษ์งามยามดีนั้น ในทางคดีโลกนิยมยึดถือ วันเวลาที่ดีเป็นสำคัญ ส่วนในทางคดีธรรม คือทางพระพุทธ ศาลนานิยมยึดถือการทำความดีเป็นสำคัญ ที่เป็นเหตุทำให้คนเรา มีความเจริญรุ่งเรือง www.kalyanamitra.org

๗00 การดฤกษ์งามยามดีตามหลักเหตุผล - มนุษย์Iราถือว่าฟ้นผู้มีสติifญญาสูงกว่าบรรดาสรรพสัตว์ เพราะฒตุนี้ เมื่อจะทำอะไรก็ตาม จึงต้องใช้สติifญญาพินิจ- พิจารณาใคร่ครวญตรวจดูทางไต้ทางเสียอย่างรอบคอบเถืยก่อน แล้วจึงจะเริ่มดำเนินการ กิจกรรมที่ทำแล้วจึงปรากฎผลเป็น ความติมากกว่าเสีย - การพินิจพิจารณาใคร่ครวญตรวจดูทางใต้ทางเสีย ความ พร้อมเพรียง และความท)าดตกบกพร่องในทางทำพิธีงานนั้นๆ อย่างนี้แหละเรียกว่า \"การตรวจดูฤกษ์ การหาฤกษ์ หรือ การ ดูฤกษ์\" - เมื่อใต้พินิจพิจารณาดูวัน เวลา สถานที่ บุคคล และ สิงของเครื่องประกอบการทั้งหลาย โตยถี่ล้วนกระบวนความแล้ว - ล้าเห็นว่าใม่มอะไรฃาตตกบกพร่อง ใม่มีอะไรฃัตช้อง มี สมบูรณ์ติทุกประการ อย่างนี้แหละเรียกว่า \"ฤกษ์งามยามดี\" - ล้าเห็นว่ายังมีอะไรบางอย่าง หรีอหลายอย่างยังไม่พร้อม เรียกว่า \"ฤกษ์ยังไม่งาม ยามยังไม่ดี\" หรีอ \"ฤกษ์ไม่ดี\" ประโยชษ์ฃองการหาฤกษ์งามยามดี - เพื่อช่วยตัตฟ้'ญหาความยุ่งยากในการตกลงกันไม่ใต้ว่าจะ กำ หนตเอาวันเวลาไตประกอบพิธีมงคลงานนั้น โดยมอบให้เป็น หน้าที่ของท่านอาจารย์ผู้ให้ฤกษ์ เป็นผู้กำหนตดัตสินให้เสียเอง เป็นการดํตป๋'ญหาให้สินเรื่องสินราวไปใต้ต้วยติ www.kalyanamitra.org

๗๔ - เพื่อเป็นการกำหนดนัดญาติสนิทมิตรสหายทั้งหลายให้มา ร่วมงานอย่างพร้อมเพรียงกัน โดยไม่มีฃ้อต่อรองหรีอญ้อฃัดแย้ง ด้วยประการใด ๆ - เพื่อเป็นการกำหนดนัดเชิงบังกับผู้ใหญ่ ให้มาร่วมงาน ตรงเวลา โดยปราศจากข้อแม้แต่ประการใดๆ ทั้งสิน - เพื่อเป็นการรักษานํ้าใจฃองบุคคลผู้หวังติปรารถนาติต่อ เจ้าของงานนั้น ซึ่งยังเข้าไม่ถึงหลักสัจธรรมให้เกิดความสบายใจ ได้ว่า งานนี้เขาได้หาฤกษ์งามยามติมาแล้ว จึงไม่ด้องวิดกกังวล ห่วงใยโดยประการใด ๆ - เพอเป็นประดุจเกราะแก้วป้องกันกัวผู้จัดงานให้พ้นจาก การถูกตำหนิติเตียน เพราะความเสืยหายใดๆ อันอาจจะเกิด มีขึ้นได้ ทั้งในระหว่างประกอบพิธีกรรมเIละหลังจากประกอบ พิธีกรรมเสร็จไปแล้ว โทษของการถือฤกษ์ทางคดีโลก - บุคคลผู้ยึดนั้น เชื่อนั้นในเรื่องฤกษ์ทางคติโลกมากเกินไป จะทำอะไร จะด้องคอยหาฤกษ์อยู่เสมอ นัวแต่เป้ารอคอยเวลา ฤกษ์อยู่นั้นเอง เมื่อถึงคราวเหมาะ ที่ควรทำก็ไม่ทำ เพราะยัง ไม่ได้ฤกษ์ ฤกษ์ยังไม่ติ เช่นนี้ ผลประโยชษ์ที่ตนควรได้ควรถึง ย่อมฝานพ้นบุคคลนั้นไปเสิยอย่างน่าเสิยดาย - เมื่อมีความจำเป็นจะด้องทำอะไร หรีอจะด้องเดินทางไป ในเวลาที่ดนร้แน่อยู่แก่ใจว่า \"ฤกษ์ไม่ดี'' ย่อมไม่มีความ www.kalyanamitra.org

๘>๕ สบายใจ เฝืาแต่ครุ่นคิดตำหนิตัวเองและแช่งตัวเองอยู่ตลอดเวลา 'ฯดึ๋ยวจะต้องเป็นอย่างifน จะต้องเป็นอย่างนี้\" ผลที่?(ดก็เกิด ความเสียหายขึ้นจนได้ เพราะใจตัวเองเฝืาเรียกร้องถึงอยู่ดลอด เวลานี้นเอง - บุคคลผู้ถึอฤกษ์จัด มัวแต่รอคอยฤกษ์คิอยู่ มักจะทำ อะไรไม่ทันเพื่อน ถาเป็นผู้นอย ก็เป็นที่ฃวางหูขวางตาของ ผู้ใหญ่ ล้าเป็นผู้ใหญ่ ก็มักทำความลำบากใจให้เกิดแก่ผู้น้อย วิธีปฎิบติเกี่ยวกบฤกษ์ตามหลักเหตุผล - ถ้าเป็นพิธีงานมงคลที่เกี่ยวเนื่องตับคนอื่น โดยมีคนอื่น ร่วมพิธีนั้นด้วยตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป เช่น พิธีงานมงคลสมรส เป็นด้น หรีอพิธีงานเกี่ยวตับส่วนรวม เช่น พิธีทำบุญขึ้นบ้านใหม่ เป็นด้น ผู้จัดการมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะด้องหาฤกษ์งามยามดี จะด้องถึอฤกษ์เป็นสำคัญ ถ้าฃืนทำงานโดยไม่หาฤกษ์ ไม่ถือฤกษ์ ทำดามชอบใจตัวแล้ว หากเกิดความเสียหายอะไรขึ้น ผู้จัดงาน นั้นแหละจะเสียคน - ถ้าเป็นงานส่วนตัวโดยเฉพาะ ไม่เกี่ยวเนื่องตับคนอื่น ไม่ควรถือฤกษ์ทางคดีโลก แต่นิยมถือฤกษ์ทางคดีธรรม คือนิยม ถือฤกษ์ความสะดวกเป็นสำคัญ สะดวกใจ สบายใจ เมื่อใดก็ทำ เมื่อนั้น ไม่จำเป็นจะด้องมัวรอคอยฤกษ์ยามวันเวลา - การถือฤกษ์ทางคดีธรรมนั้น คือ การพินิจพิจารณาตรวจ ดูความพร้อมอย่างรอบคอบ ก่อนที่จะดำเนินการงานทุกอย่าง www.kalyanamitra.org

cdb เมื่อได้พิจารณาตรวจดูด้วยจิตทุกทิศแล้ว ไม่ประสบพบเห็นความ ฃาตตกบกพร่อง ความเสียหายโตยประการใดๆ แล้วพิงแน่ใจ ได้ว่า \"นั้นแหละ\" คือ \"ฤกษ์งามยามคื\" สำ หรับตัวเราแล้ว ซึ่งถูกด้องตรงตามคำสอนทางพุทธศาสนาทุกประการ - สำ หรับชาวพุทธทั้งหลาย นิยมเป็นผู้หนักอยู่ในหลักเหตุผล จะทำอะไรด้องทำอย่างนิเหตุผล นิยมใช้สติฟ้ญญาพินิจพิจารณา ว่างานใตเกี่ยวเมื่องด้วยคนอื่น งานใดเป็นเรื่องส่วนตัว แล้ว ประพฤติปฎิบ้ตตนตามสมควรแก่เหตุผล โตยเหมาะสม ชนิดไม่ให้ ชัดโลก ไม่ให้ฝืนธรรม แบบโลกก็ไม่ให้ชํ้า ธรรมก็ไม่ให้เสีย นัวก็ไม่ให้ชํ้ใ นั้า (ใจ) ก็ไม่ให้ขุ่น - เมื่อปฏิบัติได้เช่นนี้ ก็หวังได้แน่ว่า จะนิความเจริญ รุ่งเรืองโดยส่วนเคืยว หาความเส์อมเสียนิได้ และเป็นการปฏิบัติ เหมาะสมลับภาวะที่ตนเป็นชาวพุทธอย่างแห้จริง ระเบียบปฎิร5ตการจัดสถานที่ทำบุญ การจัดสถานที่ทำบุญ - การจัดสถานที่ทำบุญในทางพระพุทธศาสนาทุกอย่าง ทั้ง งานมงคลและอวมงคลนั้น เบื้องด้น เจ้าภาพ คือ เจ้าชองงาน จะด้องคำนิงสีงสถานที่ซึ่งนิบริเวณกว้างขวางเพียงพอ และ www.kalyanamitra.org

๗๗ ณมาะสมจะใช้เป็นสถานที่บำเพ็ญบุญกุศลทางพระพุทรศาสนา สำ หรับจัดเป็นห้องพิธี อันประกอบด้วยสถานที่สำคัญ ๓ ประการ คือ:- ๑. สถานที่ตั้งโต๊ะหมู่บูชาพระรัตนตรัย ๒. สถานที่จัดเป็นอาสน์สงฆ์ ๓. สถานที่นํ่'งสำหรับเจ้าภาพและผู้มาร่วมงาน สถานที่ตั้งโต๊ะหมู่บูชาพระรัตนตรัย - โต๊ะหมู่บูชาพระรัตนตรัย นิยมจัดตั้งไว้ด้านขวาชองอาสน์ สงฆ์ ตั้งไว้สูงกว่าอาสน์สงฆ์พอสมควร และนิยมตั้งหันหน้าไป ทางทิศตะวันออก เพราะเป็นทิศที่พระพุทธเจ้าประหับนั่งตรัสรู้ พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณสำเร็จเป็นพระพุทธเจ้า ถ้าจัดช้อง เพราะสถานที่ไม่อำนวย ก็นิยมตั้งหันหน้าไปทางทิศเหนือ หรอ ทิคัได้ ทิคัใตทิศหนึ่ง แต่ไม่นิยมตั้งหันหน้าไปทางทิศตะวันดก เพราะถือคันว่า ทิศตะวันตก เป็นทิศอัสดงศตแห่งพระอาทิตย์ เป็นทิศแห่งความเส์อม ไม่เจริญรุ่งเรือง - โต๊ะหมู่บูชาพระรัตนตรัยนั้น โดยมากนิยมคังไว้บนอาสน์ สงฆ์ ทางด้นอาสน์สงฆ์ ประกอบด้วยสิงสำคัญ ๕ ประการ คือะ- ๑. พระพุทธรูป ๑ องค์ (นิยมพระปางมารวิจัย) ๒. กระถางธูป ๑ ลูก พร้อมทั้งธูป ๓ ตอก เป็นอย่างน้อย ๓. เชิงเทียน ๑ คู่ พร้อมทั้งเทียน ๒ เล่ม เป็นอย่างน้อย www.kalyanamitra.org

๗๘ ๔. แจกัน ๑ คู่ พร้อมทั้งดอกไม้ประดับ และนิยมมีพาน ดอกไม้ดั้งบชาด้วย ๕. โต๊ะหม่ ๑ หม่ (นิยมใช้โต๊ะหมู่บูชา) - เครี่องสักการบูชาพระร'ดนดรัยนั้น นิยมจัดหาสิงของที่ดี ที่สุด ประณีตที่สุดเท่าที่สามารถจะหามาจัดได้ กล่าวคือ:- ๑. ธูป นิยมใช้ธูปหอมอย่างดี ๒. เทียน นิยมใช้เทียนเล่มใหญ่พอสมควรแก่เชิงเทียน ๓. ดอกไม้ นิยมดอกไม้ที่เพียบพร้อมด้วยลักษณะ ๓ ประการ คือ มีสืสวย ๑ มีกลิ่นหอม ๑ และกำลังสดชื่น ๑ สถานที่จัดเป็นอาสน์สงฆ์ - อาสน์สงฆ์ คือ สถานที่สำหรับพระสงฆ์นั้งนั้นนิยมจัดดั้ง ไว้ทางด้านซ้ายของโต๊ะหมู่บูชาพระรัดนดรัย และนิยมจัดแยก ออกเป็นเอกเทศส่วนหนึ่งต่างหากจากที่นั้งของคฤหัสถ์ชายหญิง ประกอบด้วยเครื่องรับรองพระสงฆ์ ดังนี้:- ๑. พรมเล็ก สำ หรับมู่เป็นที่นั้งของพระภิกษุสงฆ์แต่ละรูป ๒. กระโถน ๓. ภาชนะนั้าเย็น ๔. พานหมากพลู-ษุหรื่ ๕. ภาชนะนั้าร้อน - เครื่องรับรองพระภิกษุสงฆ์นั้น นิยมจัดดั้งไว้ด้านขวามีอ ของพระภิกษุสงฆ์แต่ละรูป โดยจัดดั้งกระโถนไว้ด้านในสุด จัดดั้ง www.kalyanamitra.org

๗๙ ภาชนะนํ้าเย็นไว้ถัดออกมา จัดตั้งพานหมากพลู-บุหรี่ ไว้ถัด ออกมาข้างนอก ส่วนภาชนะนํ้าร้อนนั้น นิยมจัดนำมาถวาย ภายหถัง เมื่อพระภิกษุมานั้งเรียบร้อยแล้ว เพราะล้านำมาตั้ง ไว้ก่อนนั้าร้อนจะเย็นเสียก่อน ทำ ให้เสียรสนั้าชา - ล้าสถานที่ห้องประกอบพิธีสงฆ์นั้นคับแคบ หรีอสิงฃอง เครื่องรับรองมีไม่เพียงพอที่จะจัดถวายให้ครบทั้ง ๙ ที่สำ หรับ พระภิกษุสงฆ์ทั้ง ๙ รูป ก็นิยมจัดเครื่องรับรองเพียง ๕ ที่ ก็เพียงพอ คือ:- ๑. สำ หรับพระเถระผู้เปีนประธานสงฆ์ จัดตั้งไว้ด้านขวา มีอของทำน หนึ่งที่ ๒. จัดตั้งไว้ระหว่างพระภิกษุรูปที่ ๒ คับรูปที่ ๓ หนึ่งที่ ๓. จัดตั้งไว้ระหว่างพระภิกษุรูปที่ ๔ คับรูปที่ ๕ หนึ่งที่ ๔. จัดตั้งไว้ระหว่างพระภิกษุรูปที่ ๖ คับรูปที่ ๗ หนึ่งที่ ๕. จัดตั้งไว้ระหว่างพระภิกษุรูปที่ ๘ คับรูปที่ ๙ หนึ่งที่ สถานที่นงสำหรับเจ้าภาพและผู้ร่วมงาน - สถานที่นั้งสำหรับเจ้าภาพและผู้มาร่วมงานนั้น นิยมจัดไว้ ด้านหน้าของอาสน์สงฆ์ และนิยมจัดแยกออกเปีนเอกเทศส่วนหนึ่ง ต่างหากจากอาสน์สงฆ์ เพื่อป้องคันนิให้พระภิกษุสงฆ์ต้องอาปด โทษ เพราะนั่งอาสนะเดียวคับสดรีเพศ - ล้าสถานที่นั่งสำหรับเจ้าภาพและผู้มาร่วมงานนั้นปูลาด เนึ่องเปีนอันเดียวคับอาสน์สงฆ์ โดยปูเส์อ หรือพรมเชื่อมเปีนอัน www.kalyanamitra.org

๘๐ เสียวกัน นิยมปูเส์อหรือพรมผืนที่เป็นอาสน์สงฆ์กับผืนที่เป็นที่นํ่ง สำ หรับเจ้าภาพและผู้มาร่วมงาน โดยปูลาดกับกันออกมาดามลำดับ และนิยมจัดปูลาดพรมเล็กสำหรับเป็นอาสนะที่นั่งร)องพระภิกษุ แต่ละรูป เพื่อให้สูงกว่าที่นั่งของคฤกัสถ์อีกด้วย - สถานที่นั่งสำหรับเจ้าภาพและผู้มาร่วมงานนั้น นิยมว่า จะด้องไม่สีกว่า ไม่ประณีดกว่า และไม่อยู่ ณ ที่สูงกว่าอาสน์สงฆ์ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการแสดงความเคารพคารวะแก่พระสงฆ์ - การปูลาดอาสน์สงฆ์ และอาสนะที่นั่งสำหรับเจ้าภาพและ ผู้มาร่วมงานนั้น โดยนั่วไป นิยมจัดแยกออกจากกันคนละส่วน เพื่อความสบายใจด้วยกันทุกฝ่าย การจัดตั้งภาชนะนํ้ามนต์ - การจัดทั้งภาชนะนั้ามนด้งานพิธีทำบุญในทางพระพุทธ- ศาสนานั้น นิยมจัดทั้งภาชนะนั้ามนด้เฉพาะพิธีทำบุญงานมงคล ทุกชนิด เช่น งานทำบุญแต่งงาน งานทำบุญขึ้นบ้านใหม่ งาน ทำ บุญอายุ งานทำบุญฉลองต่างๆ เป็นด้น และนิยมจัดทั้ง ภาชนะนั้ามนต์นี้ไว้ข้างโต๊ะหม่บุชา ด้านพระเถระประธานสงฆ์นั่ง - ส่วนพิธีทำบุญงานอวมงคลที่เกี่ยวเนื่องกับศพ เช่น งาน ทำ บุญสัตดมวาร (ทำบุญ ๗ วัน) งานทำบุญบ้ญญาสมวาร (ทำบุญ ๕๐ วัน)งานทำบุญสดมวาร (ทำบุญ ๑๐๐ วัน) เป็นด้น ไม่นิยมจัดทั้งภาชนะนั้ามนต์ เพราะพิธีทำบุญงานศพนั้น เพื่อ เป็นการแสดงความกดัญญกตเวทีต่อทำนผู้ล่วงสับไปแล้ว ไม่ใช่ จัดทำเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่เจ้าของงาน www.kalyanamitra.org

๘๑ ภาชนะนํ้ามนต์ - ภาชนะสำหรับใส่นํ้ามนต์นั้น นิยมใช้ขันนั้ามนต์โดยเฉพาะ หรือใช้บาดรพระสงฆ์แทน แด่ไม่นิยมใช้ขันเงินแทน เพราะเป็น วัดถุอนามาสที่พระภิกษุสงฆ์ไม่ควรขับต้อง เกิดอาฟ้ตโทษแก่ พระภิกษุสงฆ์ - นั้าสำหรับทำนํ้ามนต์นั้น นิยมใช้นั้าที่ใสสะอาดบริสุทธิ้ เดิมนั้าฃนาดเกือบเต็มกาชนะสำหรับทำนั้ามนต์นั้น และมวัดลุ ที่นิยมกันว่าเป็นมงคล ตามความนิยมชองท้องถิ่นนันๆ ใส่ใน กาชนะนั้ามนต์นั้นต้วย เทียนสำหรบทำนํ้ามนต์ - เทียนสำหรับทำนั้ามนต์นั้น นิยมใช้เทียนฃี้ผึ้งแท้มีชนาด เล่มใหญ่พอสมควร อย่างเล็กนิยมมีนั้าหนัก ๑ บาทชึ้นไป และ นิยมใช้เทียนที่นิไสัใหญ่ๆ เพื่อป้องกันนิใท้ไฟดับง่ายเมื่อถูก ลมพัด ระเบียบปฎิบตการนิมนต์พระสงฆ์ การนิมนต์พระสงฆ์ - การนิมนต์พระสงฆ์ คือ การที่เจ้าชองงาน หรือผู้แทน เจ้าชองงาน ไปดิดด่อแจ้งความจำนงกับเจ้าอาวาส หรือพระภิกษุ รูปใดรูปหนึ่ง ณ วัดใดวัดหนึ่ง ชออาราธนา คือ ชอเชิญพระ www.kalyanamitra.org