Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Organic Agriculture and Alternative Thai Food Center

Organic Agriculture and Alternative Thai Food Center

Published by gonz.emotion4, 2017-11-08 07:17:04

Description: Chapter 1-4

Search

Read the Text Version

ARCH THESIS 2017 Organic agricultureand alternative thai food centerOrganic TAYCHATOUCH BOONHOMLOMAgricultureand AlternativeThai Food Center a Thesis submitted in Partial Fulfillmentof the Requirement for the Bachelor Degree ofArchitecture. Division of Architectural Tech-nology Faculty of Architecture RajamangalaUniversity of Technology Thanyaburi.

Floral Brochure

Floral Brochure

Floral Brochure

Floral Brochure

Table of contents Organic Agriculture and Alternative Thai Food Centerสารบัญ A BContent B Bสารบัญตาราง CTa b l e of c o n t e n t sสารบัญแผนภูมิTa b l e of c o n t e n t sสารบัญแผนที่Map ContentsสารบัญรูปภาพImage Contentshttp://ridesofmarch.com/white-marble-texture/

บทท1่ี บทนำ� 1-2 1-31.1 ความเปน็ มาของโครงการ 1-3 1-41.2 วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา 1-31.3 ขอบเขตของการศกึ ษา1.4 ข้ันตอนและวิธกี ารศึกษา1.5 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รับบทท2่ี หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ ง2.1 ความหมายและคำ�จำ�กดั ความ 2-2 2.2 ความเปน็ มา ปจั จุบนั อนาคต เรอ่ื งท่ศี ึกษา 2.2.1 ความเปน็ มา ปจั จุบนั อนาคตของเรือ่ งท่ศี กึ ษา2.2 ความเปน็ มา ปจั จบุ ัน อนาคต เรอ่ื งทศ่ี กึ ษา 2-4 2-4 2.2.2 ความหมายเกษตรอินทรีย์ 2-52.3 หลักการและทฤษฎที ี่เกีย่ วขอ้ ง 2-11 2-7 2.2.3 ความหมายอาหารเกษตรอนิ ทรยี ์ 2-92.4 หลักการออกแบบอาคาร 2-57 2.2.4 อนาคตเร่ืองที่ศึกษา2.4 กฎหมายทเี่ ก่ยี วข้องกบั การออกแบบ 2-602.5 การศกึ ษาอาคารตัวอย่าง 2-61 2.3 หลักการและทฤษฎที เี่ กี่ยวข้อง 2.3.1 ระบบการผลิตพืชอินทรียท์ ม่ี ีมาตรฐานและตลาดรองรับ 2.3.2 ศึกษาและแบง่ ประเภทโรงเรอื น 2-11 2.3.3 ลักษณะพนั ธพ์ุ ืชท่เี หมาะกับการประกอบอาหาร 2-15 2.3.4 อาหารไทย 2-29 2-45 2.3.5 การปรุงและวัสดกุ ารปรุงอาหารไทย 2-47

Floral Brochureบทท3ี่ การศึกษาและวิเคราะหท์ ่ตี ั้งโครงการ 3-2 3-33.1 ลกั ษณะโครงการ 3-6 3-93.2 ความเปน็ มาของจังหวัดท่ตี ง้ั โครงการ 3-11 3-133.3 ความเปน็ มาของยา่ นอโศก3.4 ชีวิตในแบบฉบบั “อโศก“3.5 ผงั สี ขนาด และขอบเขตทตี่ ง้ั โครงการ3.6 การวเิ คราะห์ทต่ี ง้ั โครงการ

Floral Brochureบทท4ี่ รายละเอียดโครงการ 4-2 4-34.1 ความเปน็ มาของโครงการ 4-3 4-54.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ 4-7 4-94.3 ประโยชนท์ ่ีได้รบั จากโครงการ 4-13 4-164.4 กำ�หนดโครงสรา้ งการบรหิ ารงานโครงการ 4-174.5 การวิเคราะหอ์ ัตรากำ�ลงั เจ้าหนา้ ท่ี4.6 การวิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมผู้ใชโ้ ครงการ4.7 พน้ื ท่ีใชส้ อยในโครงการ4.8 งบประมาณที่เก่ียวข้องกบั โครงการ4.9 งานระบบและโครงสรา้ งทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับอาคาร

Table of content4.1 ตารางวเิ คราะห์อตั รากำ�ลงั เจา้ หน้าที่ 4-7Chart of content1.1 ขัน้ ตอนและวิธีการศกึ ษา 1-44.1 Employee schedule 4-114.2 User behavior 4-12

Map of Contentภาพที่ 1.1 ล้างผักก่อนทำ�อาหาร 1-1 ภาพท่ี 2.33 ปลาเผา 2-47 ภาพที่ 3.14 ทิศทางแดด ลม ฝน 3-17ภาพที่ 1.3 บรโิ ภคถว่ั เปน็ ทางเลอื กใหมส่ ำ�หรับการลดน้ำ�หนกั 1-3 ภาพท่ี 2.34 หมูปง้ิ 2-48 3-18ภาพท่ี 2.1 ห่นั ผกั เตรียมทำ�อาหาร 2-1 ภาพที่ 2.35 หมยู ่าง 2-49 ภาพท่ี 3.15 ตำ�แหน่งไซต์ 4-1ภาพท่ี 2.2 รับประทานแตเ่ น้อื สัตว์ 2-3 ภาพที่ 2.36 ตม้ ยำ�ก้งุ 2-50 ภาพที่ 4.1 restaurantภาพที่ 2.3 เลอื กผักหรือเนือ้ สัตว 2-4 ภาพที่ 2.37 ปลาดอลลอี่ ลวกจิ้มซฟี ูด้ 2-51 ภาพท่ี 4.2 kitchen 4-4ภาพที่ 2.4 ฟารม์ ออรแ์ กนิก (organic farm) 2-5 ภาพที่ 2.38 ปนู งึ นมสด 2-52 4-5ภาพท่ี 2.5 อาหารออรแ์ กนกิ 2-7 ภาพที่ 2.39 การตนุ๋ 2-53 ภาพที่ 4.3 kitchen 4-5ภาพท่ี 2.6 รา้ นอาหารสขุ ภาพ 2-9 ภาพท่ี 2.40 แกงแดงไก่ 2-54 ภาพท่ี 4.4 Bar&Restaurantภาพท่ี 2.7 พืชอนิ ทรียท์ ่ีมีมาตรฐาน 2-12 ภาพท่ี 2.74 ปลาทอดน้ำ�ปลา 2-55 ภาพท่ี 4.5 การเดินทางในย่านอโศก 4-9ภาพที่ 2.8 ฟารม์ มาตรฐานออรแ์ กนกิ 2-13 ภาพท่ี 2.42 ผดั ไทย 2-56 4-9ภาพท่ี 2.9 Greenhouse 2-16 ภาพท่ี 2.43 ห้องครวั 2-58 ภาพที่ 4.6 ชว่ งทำ�งาน 4-9ภาพที่ 2.10 single span greenhouse 2-17 ภาพท่ี 2.44 พืน้ ท่ีอาคาร 2-59 ภาพท่ี 4.7 Bar&Restaurantภาพท่ี 2.11 double roof greenhouse 2-18 ภาพท่ี 2.45 Ilimelgo Reimagines Future 2-61 ภาพท่ี 4.8 ช่วงทำ�งาน 4-10ภาพที่ 2.12 uneven span greenhouse 2-21 ภาพที่ 2.46 การระบายอากาศของอาคาร 2-62 4-10ภาพที่ 2.13 quonset greenhouse 2-22 ภาพที่ 2.47 perspective 2-62 ภาพที่ 4.9 เลิกงานกลับบา้ น 4-15ภาพท่ี 2.14 sawtooth greenhouse 2-23 ภาพท่ี 2.48 Offices of Pasona 2-63 ภาพที่ 4.9 ถมที่ดนิภาพท่ี 2.15 dome greenhouse 2-24 ภาพท่ี 2.49 บรรยากาศในตัวอาคาร 2-63 ภาพที่ 4.10 เก็บผลผลติ 4-16ภาพที่ 2.16 ridge and furrow greenhouse 2-25 ภาพที่ 2.50 ปลกู ขา้ วในอาคาร 2-64 4-17ภาพท่ี 2.17 Mini greenhouse 2-26 ภาพที่ 2.51 แสงทใ่ี ชเ้ ลย้ี งผกั มีประโยชนต์ ่อฟังกช์ ันอน่ื 2-64 ภาพท่ี 4.11 ระบบจา่ ยน้ำ� Downfeed 4-18ภาพท่ี 2.18 พันธุพ์ ืชทเี่ ป็นวัตถดุ ิบ 2-29 ภาพท่ี 2.52 Urban Garden and Housing 2-65 ภาพที่ 4.12 ระบบระบายนำ้ �ภาพที่ 2.19 Leaf lettuce 2-31 ภาพท่ี 2.53 ปลูกผักไว้บรโิ ภคภายในโครงการ 2-66 ภาพที่ 4.13 ระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย 4-18ภาพที่ 2.20 Crisp-head 2-32 ภาพท่ี 2.54 DIAGRAM ปริมาณพน้ื ทีส่ ีเขยี วของโครงการ 2-66 4-19ภาพที่ 2.21 Butterhead 2-33 ภาพท่ี 3.1 แยกอโศก 3-1 ภาพที่ 4.14 ระบบเก็บน้ำ�ฝน 4-20ภาพท่ี 2.22 Cos 2-34 ภาพที่ 3.2 กรุงเทพมหานคร 3-4 ภาพที่ 4.15 ระบบนำ้ �หมนุ เวยี น ภาพท่ี 2.23 Celtuce lettuce 2-35 ภาพที่ 3.3 บรรยากาศย่านอโศก 3-5 ภาพที่ 4.16 ระบบ chiller 4-21ภาพท่ี 2.24 ต้นอ่อนทานตะวนั 2-36 ภาพที่ 3.4 บรรยากาศย่านอโศก 3-6 4-22ภาพท่ี 2.25 ตน้ อ่อนเจีย 2-37 ภาพที่ 3.5 skywalk Terminal – BTS 3-7 ภาพท่ี 4.17 ระบบไฟฟ้า 3เฟส 4สาย 4-22ภาพที่ 2.26 ตน้ ออ่ นอัลฟาฟา่ 2-38 ภาพที่ 3.6 ชว่ งเชา้ 3-9 ภาพท่ี 4.18 ระบบไฟฟา้ ฉุกเฉินภาพที่ 2.27 ต้นออ่ นกระเจ๊ยี บแดง 2-39 ภาพที่ 3.7 ชว่ งเท่ยี ง (รา้ นย่งหล)่ี 3-10 ภาพที่ 4.19 HOSE REEL 4-23ภาพที่ 2.27 ต้นออ่ นกระเจยี๊ บแดง 2-40 ภาพที่ 3.8 ชว่ งเย็น (กลับบ้าน) 3-10 4-23ภาพที่ 2.28 ต้นออ่ นไควาเระ 2-41 ภาพที่ 3.9 ผังสีกรุงเทพฯ 3-11 ภาพท่ี 4.20 Sprinkler systemภาพท่ี 2.29 ตน้ ออ่ นโตเมย่ี ว 2-42 ภาพที่ 3.10 แสดงระยะร่นและระยะปาด 3-12 ภาพท่ี 4.21 ตวั อยา่ งการใช้โคมไฟ high bay ในหอ้ งเพาะปลกู 4-24ภาพท่ี 2.30 ต้นอ่อนขา้ วสาลี 2-43 ภาพที่ 3.11 การจราจร 3-17 ภาพท่ี 4.22 ตวั อยา่ งโครงสรา้ งเหล็ก 4-25ภาพท่ี 2.31 ตน้ ออ่ นผกั บุง้ 2-44 ภาพที่ 3.12 การเข้าถงึ 3-17ภาพท่ี 2.32 ตม้ ยำ�กุ้ง 2-45 ภาพท่ี 3.13 มลพิษใกล้โครงการ 3-17

Floral Brochure ภาพที่ 1.1 ลา้ งผกั กอ่ นทำ�อาหาร ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/photography1-1

Floral Brochureบทท่1ี บทน�ำ ความเป็นมาของโครงการ Background of the Project Problem ปัจจบุ ันคนไทยใชช้ ีวติ เรง่ รีบ จนไมม่ ี ชาย-ไทย นำ�้หนักเกินและอ้วนพุ่ง ปัญหาสุขภาพของคนไทยเกิดจากเวลาเ ลือกอาหาร ทำ� ใหอ้ าหารท่ีเลือกมา การกนิ เพิ่มมากขึน้ ทง้ั โรคอว้ นความดันไมม่ ีประโยชน์และเป็นสาเหตุใหเ้ กิดปัญหา หญงิ -ไทย นำ�้หนักเกนิ และอว้ นพุ่ง โ ลหิตสูง คอเลสเตอรอลในเลอื ดสูง การสุขภาพ บรโิ ภคผกั และผลไมท้ ไ่ี มเ่ พยี งพอ ทำ� ใหเ้ กดิการบรโิ ภคผักและผลไมล้ ดลง โรคทเ่ี กดิ จากการกนิ โรคต่างๆตามมา ปจั จบุ ันกระแสการรัก สขุ ภาพเรม่ิ ไดร้ บั ความนยิ มสำ�หรบั คนหลาย(พ.ศ.2552-2557) โรคหวั ใจและหลอดเลือด กลมุ่ ทำ�ใหเ้ กดิ การเลอื กรบั ประทานอาหาร โรคมะเร็ง คลนี และอาหารออรแ์ กนิกเพ่อื สุขภาพมากชายไทย ขึน้ จึงเกดิ การประยุกต์อาหารไทยรูปแบบ โรคเก่ียวกบั ทางเดินหายใจ ใหมท่ ่ีมีผักปลอดสารพษิ และสมุนไพรเปน็หญิงไทย โรคอว้ น วัตถุดิบหลกั สภาพแวดล้อมและวิถีชีวติ ที่เปลี่ยน โ รคเบาหวาน 01ไปของคนไทย นำ�มาสกู่ ารมปี ญั หาสขุ ภาพที่เปลี่ยนไปเช่นกัน การบริโภคของคน 1-2ไทยในช่วง 40ปีที่ผ่านมาปรับเปลี่ยนประเภทของการบริโภค โดยได้รับพลังงานจากไขมันเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 8.9ในปี 2503 เปน็ รอ้ ยละ 23.9 ในปี 2546หรือ เพิ่มขึ้นเกือบ 3 เท่า ซี่งเป็นปัจจัยที่ทำ�ให้อ้วนน้ำ�หนักเกิน (ทม่ี า: การสำ�รวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย คร้ังท่ี 5 พ.ศ. 2557)

Floral Brochure ภาพที่ 1.3 บริโภคถ่ัวเปน็ ทางเลอื กใหม่สำ�หรบั การลดนำ้ �หนัก https://www.workbook.com/portfolios/view/smith_r/ วตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษา ขอบเขตของการศกึ ษา ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ Objectives of Research Scope of the Research Expected Benefits 1.2.1 เพื่อศึกษาการเพาะปลูกเกษตรอินทรีย์ 1.3.1 ศกึ ษาสภาพประเดน็ ปญั หาที่เกิดขึ้น ใน 1.5.1 ไดท้ ราบถงึ ความเป็นมา และเหตผุ ลท่ี ในอาคารและพืน้ ทที่ ม่ี ีจำ�นวนจำ�กดั อดีตจนถงึ ปจั จบุ ัน และรวบรวมขอ้ มลู เพอ่ื จะทำ�ให้เกิดโครงการรวมท้งั ศกึ ษาแนวทางการ วิเคราะห์สภาพปญั หาทีอ่ าจจะเกดิ ข้ึนภายใน แกป้ ญั หาด้วยงานสถาปัตยกรรม 1.2.2 เพื่อศึกษาพื้นที่การทำ�อาหารและพื้นที่ อนาคต 1.5.2 ได้เขา้ ใจทฤษฎีและแนวคิดทเ่ี กีย่ วขอ้ ง จัดเก็บวัตถุดิบและผลผลิตทางการเกษตรใน กับการออกแบบ นำ�มาพฒั นาและแกไ้ ขปญั หา รปู แบบท่ถี ูกตอ้ ง 1.3.2 ศึกษาวิเคราะหส์ ภาพของการใช้พืน้ ท่ี โดยนำ�เกณฑ์กฎหมายขอ้ บงั คบั ต่างๆ และ ในปจั จุบันและกิจกรรมที่เหมาะสมสำ�หรบั 1.2.3 เพอื่ ศึกษาและรวบรวมข้อมลู ชนิดพนั ธุ์ โครงการและบรบิ ทโดยรอบ องคค์ วามรูด้ ้านสถาปตั ยกรรมมาเป็นพน้ื ฐาน พืชอนิ ทรยี ์ที่นำ�มาประกอบอาหารสขุ ภาพ 1.3.3 ศึกษาการกำ�หนดรายละเอียดโครง ในการวเิ คราะห์ 1.2.4 เพื่อเพิ่มมูลค่าอาหารไทยและสนับสนุน การ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายใน 1.5.3 สามารถวเิ คราะหค์ วามเป็นไปไดข้ อง ใหค้ นไทยมีสขุ ภาพทด่ี ขี ้นึ  โครงการทั้งองค์ประกอบหลักและรอง รวม โครงการการวเิ คราะห์ ทำ�เลทีต่ ั้ง และตำ�แหน่ง ไปถึงวิเคราะห์พื้นที่ใช้สอยที่เหมาะสมสำ�หรับ ทตี่ ั้งโครงการที่เหมาะสม โครงการ 1.5.4 สามารถกำ�หนดรายละเอยี ดโครงการ 1.3.4 ศึกษาตัวอยา่ งการจัดองคป์ ระกอบ และความสมั พนั ธ์ขององคป์ ระกอบภายใน1-3 ต่างๆ ภายในอาคาร โครงการ, พ้นื ทใ่ี ช้สอย, รวมไปถงึ งานระบบ

Floral Brochureข้ันตอนและวธิ กี ารศึกษาResearch Schedule 1-4

Floral Brochure ภาพท่ี 2.1 ห่นั ผกั เตรียมทำ�อาหาร https://www.workbook.com/portfolios/view/smith_r/2-1

Floral Brochureบทที2่ หลกั การออกแบบและทฤษฎที เ่ี ก่ยี วข้อง ความหมายและค�ำ จำ�กัดความ Background of the Project Problemความหมาย ครัวไทย (Thai Food) หมายถึง โรง เรือน หรือห้องสําหรับทําศูนยพ์ ัฒนาเกษตรอนิ ทรีย์และครวั ไทย กับขา้ วของกนิ ท่ใี ชป้ ระกอบอาหารทมี่ ีทางเลอื ก เร่อื งกลิน่ เขา้ มามสี ว่ นสำ�คญั เชน่ ประ กอบอาหารประเภท ผดั พริกแกง ปลาทอดOrganic Agriculture and Al- คั่วพรกิ แกง ฯลฯternative Thai Food Centerพฒั นา หมายถึง การเปลย่ี นแปลงท่มี กี าร ทางเลอื ก (Alternative) หมายถงึกระทำ�ให้เกิดข้นึ หรอื มีการวางแผนกำ�หนด ช่องทาง, โอกาส, หนทาง, ลทู่ าง, วิธีทศิ ทางไว้ลว่ งหน้า โดยการเปลี่ยนแปลงนี้ เลอื ก, วิถีทางต้องเป็นไปในทศิ ทางที่ดขี ้ึนถา้ เปลีย่ นแปลงไปในทางท่ีไมด่ ีกไ็ ม่เรียกว่าการพฒั นา คำ�จำ�ก ดั ความ ศูนย์พัฒนาเกษตรอินทรีย์และครัวไทย ทางเลอื ก หมายถึง แหล่งทีผ่ ลติ พืชผล ทางการเกษตรที่เพาะปลูกในพื้นที่จำ�กดั เพอ่ื นำ�มาประกอบอาหารทม่ี ปี ระโยชนส์ ำ�หรบั สขุ ภาพคนเมือง02เกษตรอนิ ทรยี ์ (Organic Agricul-ture) หมายถงึ ระบบการผลติ ทางการเกษตรที่ไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ใดๆทอ่ี าจจะเกดิ การปนเปอ้ื นตอ่ ทรัพยากร ดินน้ำ� และสิ่งมชี ีวติ รวมถึงสุขภาพของมนษุ ย์ดว้ ยการสรา้ งสมดลุ ของทรพั ยากรให้เป็นไปตามธรรมชาติ และร่วมจดั การใหเ้ กิดความยงั่ ยนื ตอ่ ทรพั ยากรและผลผลติ นนั้ ๆทม่ี า: http://puechkaset.com/ 2560 2-2

Floral Brochureproblem ภาพที่ 2.2 รับประทานแตเ่ นอื้ สัตว์ https://www.workbook.com/portfolios/view/myers/gallery/2-3

Floral Brochureภาพท่ี 2.3 เลอื กผักหรอื เนื้อสตั ว์https://www.workbook.com/portfolios/view/maes_studio/galความเป็นมา ปัจจุบนั และอนาคตของเรอื่ งทศี่ กึ ษา ปัญหาคนไทยการเจบ็ ปว่ ยและการตาย พฤตกิ รรมการบริโภคผกั ทไี่ ม่เพียงพอตอ่ จึงเกิดแนวคดิ ศนู ย์พฒั นาเกษตรอินทรีย์ จากโรคไมต่ ดิ ตอ่ ของประชากรไทยยงั มีเพม่ิ รา่ งกายก็มีจำ�นวนมากขนึ้ และบริโภคผัก และครัวไทยทางเลือกใหเ้ ป็นพน้ื ทผ่ี ลิตผกั Present and future history of the project. ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยเฉพาะ 4 โรคสำ�คญั ทม่ี สี ารเคมกี ำ�จดั ศตั รพู ชื ทเ่ี ปน็ ปจั จยั เส่ยี ง และอาหารออรแ์ กนกิ และใหค้ วามรู้เรอ่ื ง ไดแ้ ก่ โรคมะเร็ง เบาหวาน ระบบทางเดิน โรคมะเรง็ ซ่ึงโรคมะเรง็ กลายเป็นสาเหตุ สขุ ภาพสำ�หรบั คนเมืองให้มคี ณุ ภาพชวี ิต หายใจเร้อื รงั และโรคหัวใจและหลอดเลือด การเสยี ชวี ติ เปน็ อนั ดบั หนง่ึ ของประเทศ ทดี่ ีข้นึ อกี ทง้ั พฤตกิ รรมเสย่ี งตอ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ของ คนไทยหลายด้านยังไมม่ ีแนวโนม้ ลดลง ในปัจจบุ ันกม็ คี นหันมาใสใ่ จกบั สขุ ภาพ 2-4 การสำ�รวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการ กันมากขน้ึ พฤติกรรมเหลา่นั้นยงั ส่งผล ตรวจรา่ งกาย คร้ังท่ี 5 ปี 2557 คนไทย มาถึงการเลือกรบั ประทานอาหารคลนี และ อายุ 15 ปีขน้ึ ไปมคี วามดนั โลหิตสูงและ อาหารออรแ์ กนิกเรม่ิ เปน็ ทรี่ ูจ้ กั และไดร้ บั เบาหวาน และมภี าวะน้ำ�หนักเกินและอ้วน ความนิยมมากขึ้น แหล่งท่ีจะผลิตผกั และ เพิม่ สงู ขนึ้ เมอ่ื เทียบกบั ผลการสำ�รวจ ครัง้ อาหารออรแ์ กนิกให้คนเมืองยงั มีนอ้ ย ซึ่ง ที่ 4 ซง่ึ ส่วนหนึ่งอธบิ ายได้จากพฤตกิ รรม ถ้าคนเมืองสามารถเข้าถงึ อาหารออร์แก- การบรโิ ภคทไ่ี มเ่ หมาะสมทีเ่ พิ่มข้นึ นกิ ไดง้ า่ ยขน้ึ กจ็ ะลดปจั จยั เสี่ยงท่จี ะเกิด โรคตา่ งๆท่ีอันตราย ทมี่ า: การสำ�รวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย คร้งั ที่ 5 พ.ศ. 2557

Floral Brochure ภาพที่ 2.4 ฟารม์ ออรแ์ กนกิ (organic farm) การทำ�เกษตรอินทรีย์ระบบปลกู พชื 2) นำ้ � –การจดั แนวปลกู ในทศิ ขวางตะวนั 1) ดนิ และปุย๋ –จดั หาแหลง่ นำ้ �ใหเ้ พยี งพอ ทง้ั นำ้ �จาก –การจดั แนวปลกู ในทศิ ตามลม ท่มี า : https://www.workbook.com/portfolios/view/myers/gallery/industrialagricul- –เนน้ การใชป้ ยุ๋ อนิ ทรยี ท์ ห่ี าไดง้ า่ ย ไดแ้ ก่ โครงการชลประทาน และนำ้ �จากบอ่ ท่ี –การปลกู พชื อน่ื ลอ้ มรอบ เพอ่ื ใหค้ วามชน้ื ป๋ยุ คอก ทัง้ จากมลู โค มูลกระบือ มลู ไก่ ขดุ เอง และรกั ษาความชน้ื ของอากาศรอบแปลงORGANIC FARM รวมถงึ ป๋ยุ หมักจากพชื แกลบ แกลบ –หลกี เลย่ี งการใชน้ ำ้ �ทม่ี าจากแหลง่ ชมุ ชน เกษตร ดำ� ขี้เลือ่ ย เป็นตน้ หรอื แหลง่ อตุ สาหกรรมมารดพชื ในแปลง เกษตรอินทรีย์ (Organic Farm) ระบบการผลติ ทางการเกษตรทีไ่ ม่ใช้ –ใช้วสั ดอุ นิ ทรีย์ทหี่ าไดง้ ่ายในทอ้ งถนิ่ เกษตร ซง่ึ อาจทำ�ใหพ้ ชื ผกั เกดิ ปนเปอ้ื น 4) พชื และโรค/แมลง เปน็ ปุ๋ยสด เชน่ เศษพชื หลังการเกบ็ สารเคมไี ด้ –หลกี เล่ยี งการใช้สารเคมีกำ�จดั วชั พืชสารเคมสี งั เคราะหใ์ ดๆทอี่ าจจะเกิดการปนเป้อื นตอ่ ทรัพยากรดิน นำ้ � และส่งิ มี เก่ยี ว เศษใบไม้ เปน็ ต้น กำ�จดั ศัตรพู ืชทุกชนดิชวี ิต รวมถึงสขุ ภาพของมนษุ ย์ ดว้ ยการสรา้ งสมดลุ ของทรพั ยากรใหเ้ ป็นไปตาม –เนน้ การใชป้ ยุ๋ พืชสด โดยเฉพาะการ 3) อากาศ –เน้นการใชส้ ารสกดั หรือนำ้ �ต้มจากสมุนธรรมชาติ และร่วมจัดการใหเ้ กดิ ความย่ังยืนต่อทรพั ยากร และผลผลติ นั้นๆ ปลกู พชื ตระกูลถัว่ ตา่ งๆ เชน่ ปอเทอื ง –การปลกู ไมย้ นื ตน้ ลอ้ มรอบแปลงเกษตร ไพร อาทิ สะเดา ดาวเรือง บอระเพ็ด –ใชห้ นิ แรเ่ ป็นแหล่งเสรมิ ธาตอุ าหาร เพอ่ื เปน็ เกาะกำ�บงั ฝนุ่ หรอื สารพษิ ตะไครห้ อม เป็นตน้ สำ�หรบั ฉดี พ่นปอ้ งท่ีมา: http://puechkaset.com และปรบั ปรุงดิน อาทิ แรย่ ิปซัม หนิ –สรา้ งโรงเรอื นระบบปดิ เพอ่ื ใชส้ ำ�หรบั กันโรค และแมลงต่างๆ ฟอสเฟต เปลอื กหอยเผา และปูนขาว ปลกู พชื 2-5

Floral Brochureหลกั การเกษตรอินทรยี ์ 1) ด้านสขุ ภาพ (health) 2) ดา้ นนเิ วศวทิ ยา (ecology) 3) ดา้ นความเป็นธรรม (fairness) 4) ดา้ นการดูแลเอาใจใส่ (cares) สหพนั ธก์ ารเกษตรอนิ ทรยี ์ระหว่าง เกษตรอินทรีย์ เป็นรูปแบบ เกษตรอนิ ทรีย์ เปน็ รปู แบบ เกษตรอินทรยี ์ ชว่ ยสง่ เสรมิ การทำ�เกษตรอินทรยี ์ เกษตรกรประเทศ ได้นยิ ามหลักการของการทำ� การเกษตรที่สง่ เสริมสขุ ภาพของทรพั - การเกษตรทเ่ี ก้ือหนนุ ให้ทรพั ยากรใน ในด้านความเป็นธรรมของทรัพยากร หรอื ผทู้ ำ�เกษตรอนิ ทรยี เ์ องจะคอยรว่ มเกษตรอนิ ทรยี ์ไว้ 4 ดา้ น ได้แก่ ยากรให้ม่นั คง อนั หมายถึง การมดี ิน ระบบนิเวศวิทยาดำ�เนินตามวฏั จักรที่ อนั หมายถงึ การส่งเสริมความเป็น จัดการ และสง่ เสริมให้เกดิ ความสมดลุ ทอ่ี ดุ มสมบูรณท์ ส่ี ง่ เสรมิ ต่อการเติบโต เป็นไปตามธรรมชาติ และเกิดการต่อ ธรรมในสทิ ธิของชนดิ ทรพั ยากร สิทธิ ขึ้นในระบบ อันประกอบดว้ ยการเอาใจ ของพืชสำ�หรบั ใช้เปน็ อาหารของสตั ว์ เนอ่ื งสมดุลกัน ไม่เกดิ การเปลย่ี นแปลง ของมนุษย์ต่อการกระทำ� และการใช้ ใสใ่ นกระบวนการผลติ ทตี่ ้องคอยเกื้อ และมนษุ ย์ สิ่งเหลา่ น้เี ชอื่ มโยงกันจงึ ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ หรอื ลดนอ้ ยจนทำ�ใหร้ ะบบนเิ วศ ทรพั ยากร และสทิ ธขิ องมนษุ ยต์ อ่ มนษุ ย์ หนนุ ใหท้ รัพยากรทั้งดนิ นำ้ � และสตั ว์ ส่งผลต่อกันอย่างหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ อาทิ ขาดความสมดลุ ทัง้ ทรพั ยากรดนิ นำ้ � ด้วยกันเองในการบรโิ ภคทรพั ยากร อน่ื ๆเกดิ ความสมดุล และเกิดปลอดภัย ดินที่ปราศจากสารพษิ กย็ ่อมไม่มีสาร จลุ ินทรีย์ และสัตว์ นน้ั ๆ ในการทำ�เกษตรน้นั อนั ได้แก่ ไม่ใช้สาร พษิ ในพชื เคมที ม่ี ผี ลต่อทรพั ยากรในระบบ หรอื สารพษิ ในผลผลิต ซึ่งส่วนนถ้ี ือเปน็ ก ระบวนการแรกทท่ี ำ�ใหเ้ กษตรกรเกดิ จติ สำ�นกึ และเอาใจใสต่ อ่ คณุ ภาพของผลติ ที่อาจเป็นอันตรายต่อผูบ้ ริโภค 2-6

Floral BrochureORGANIC FOOD ภาพท่ี 2.5 อาหารออรแ์ กนิก อาหารเกษตรอินทรีย์ (Organic Food) หรอื เรียกอกี อย่างหนง่ึ วา่ อาหารเกษตรอนิ ทรีย์ หรือ อาหารอนิ ทรยี ์ นั่นก็ ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/ หมายความวา่ อาหารออรแ์ กนกิ ที่วา่ นค้ี ืออาหารท่ีไดผ้ ่านกระบวนการผลิตจากทางเกษตรโดยทีไ่ ร้หรือปลอดสารเคมีทกุ ชนิดคอื ไมใ่ ชส้ ารเคมใี ดๆเลย ไม่วา่ จะเปน็ ปุ๋ยเคมรี วมถึงวัตถุสังเคราะหต์ ่างๆ อกี ท้ังยังรวมไปถงึ ไมท่ ำ�การตัดตอ่ทางพันธุกรรมจากเมลด็ พันธ์ุ ซ่ึงกร็ วมไปถงึ กระบวรการผลิตกจ็ ะต้องไมม่ กี ารใชส้ ารเคมใี นการกำ�จดั พชื ด้วย และกอ่ นที่จะเริม่ การปลกู กจ็ ะต้องเตรียมหนา้ ดนิ ดว้ ยวธิ ธี รรมชาติ หรอื เรียกว่าทุกกระบวนการและข้นั ตอนการผลติ นน้ั จะตอ้ งไมม่ ีหรอื ปลอดสารปนเป้อื นท้งั สนิ้ ไม่ว่าจะจากมนษุ ย์หรือจากโรงงานอุตสาหกรรม และจะไม่มกี ารฉายรงั สหี รือเพ่มิ เติมสารปรงุแตง่ ต่างๆ ลงไปในอาหารอกี ดว้ ย แม้กระทัง่ ในขนั้ ตอนการเล้ียงสตั วจ์ ะต้องเลี้ยงสตั ว์ดว้ ยอาหารทมี่ ีสขุ อนามยั ถา้ อาหารทม่ี าจากการทำ�ปสุสัตวก์ จ็ ะตอ้ งไม่มกี ารใชส้ ารปฎิชวี ภาพ ไมใ่ ชส้ ารทเ่ี รง่ ฮอร์โมนด้วย ผบู้ รโิ ภคสว่ นใหญ่จะให้ความสำ�คัญกับการบรโิ ภคอาหารออรแ์ กนิกค่อนข้างสูง ซงึ่ เทียบกับประเทศไทยแล้วเรายงั ไม่ค่อยเหน็ ความสำ�คัญในเรื่องนีม้ ากนกั แต่กเ็ รมิ่ มผี บู้ รโิ ภคในกลุ่มคนรักสุขภาพหันมารับประทาน Organic Food มากข้ึน เพราะพิษภัยของสารพษิ ทีป่ นเป้อื นอยู่ในอาหารและสิง่ แวดล้อม ทำ�ใหร้ า่ งกายของเรากลายเปน็ แหลง่ สะสมสารพษิ และส่งผลให้เกิดภาวะเสี่ยงตอ่ โรคภัยไขเ้ จ็บ ดังน้นัOrganic Food จึงเป็นอีกทางเลอื กหนง่ึ สำ�หรบั ผูบ้ ริโภคทห่ี ว่ งใยในสขุ ภาพของตัวเองท่มี า: https://healthgossip.co/what-is-organic-food/ 2560 2-7

Floral Brochureสว่ นประกอบทกุ อยา่ งต้องมาจาก กระบวนการผลติ ไมก่ ่อใหเ้ กิดมลพษิ ข้นั ตอนขบวนการผลติ ไม่ใชส้ ารเคมีธรรมชาติ ในสิง่ แวดลอ้ ม อาหารทมี่ ีสว่ นประกอบจากการ ส่วนประกอบทุกอยา่ งในการทจ่ี ะ ส่วนผสมและขัน้ ตอนกระบวนการ ใช้สารเคมรี ว่ มดว้ ยนัน้ ก็ไมถ่ อื วา่ เป็นประกอบอาหารประเภทออร์แกนกิ น้ัน ของการประกอบอาหารประเภทออร์ ออรแ์ กนกิ ซึง่ การไม่ใชส้ ารเคมใี นท่ีจะต้องมาจากธรรมชาตทิ ้งั หมด นัน่ ก็ แกนกิ จะตอ้ งปลอดสารพษิ ไร้สารเคมี นห้ี มายถึง ยาฆ่าแมลง ปุ๋ยเคมี สารคือในข้นั ตอนกระบวนการเพาปลกู พืช โดยมจี ุดประสงคเ์ พอื่ คำ�นึงถงึ ในขนั้ กระตนุ้ หรือสารเร่งการเจรญิ เตบิ โตและผกั นนั้ จะไม่มกี ารใช้สารสงั เคราะห์ ตอนกระบวนการผลติ ทจ่ี ะไมก่ ระทบตอ่ โดยตามหลกั มาตรฐานขององคก์ รใดๆ ทั้งสนิ้ เรียกไดว้ ่าจะตอ้ งเป็นพชื สิ่งแวดลอ้ ม โดยพยายามลดมลพิษท่ี ออร์แกนิกจะระบรุ ูปแบบอาหารออรแ์ กผักทป่ี ลอดสารพิษจากสารเคมีซงึ่ จะ จะใหโ้ ทษตอ่ ธรรมชาติ ซ่ึงวธิ ีการปลูก นิกไว้ 3 ระดบั คอืใชป้ ยุ๋ หมกั หรือปุย๋ คอกจากธรรมชาติ แบบธรรมชาติแบบนี้จึงเป็นหนทางท่ีดีในการเพาะปลกู เท่าน้ัน และรวมไปถงึ ทส่ี ดุ ในการฟื้นฟูส่งิ แวดล้อม 1) 100% Organic (ธรรมชาติ 100%)เนอื้ สัตว์ก็ตอ้ งมาจากสัตว์ท่ีจะตอ้ งถูกทำ�การเล้ียงดใู ห้เติบโตสมบรู ณอ์ ยา่ ง 2) Organic (ธรรมชาติ 95% ขึน้ ไป ใชส้ ารอิสระตามธรรมชาติ สังเคราะห์เพียงเลก็ น้อยเทา่ ทีจ่ ำ�เปน็ ) 3) Made with Organic Ingredient (ธรรมชาติ 70% ขึ้นไป ถ้าต่ำ�กว่าน้ีไมถ่ ือว่าเปน็ Organic) 2-8

Floral Brochureภาพที่ 2.6 ร้านอาหารสุขภาพทม่ี า : https://www.workbook.com/portfolios/view/rob_fiocca/all/368381 2-9

Floral Brochureอนาคตเรือ่ งที่ศึกษา Future of the Project Problemการแก้ไขปัญหาสุขภาพ นวตั กรรมหรอื เทคโนโลยีท่นี ำ�มา ใช้ในโครงการ อาหารออรแ์ กนกิ และผลผลติของเกษตรอนิ ทรยี เ์ ปน็ การสรา้ งทางเลอื ก นวตั กรรมและเทคโนโลยมี คี วามจำ�เปน็สำ�หรบั การรบั ประทานอาหารเพอ่ื สขุ ภาพ ทต่ี อ้ งศกึ ษาสำ�หรบั การเกษตรทม่ี พี น้ื ทใ่ี ช้ของคนไทย ซง่ึ เปน็ สง่ิ สำ�คญั ในการลด สอย จำ�กดั และเหมาะสมสำ�หรบั ปลกู ในอาคารความเสย่ี งการเกดิ โรคจากการรบั ประทาน และในระบบหรอื มาตรฐานของเกษตรอนิ ทรยี ์อาหาร เพอ่ื ประสทิ ธภิ าพสงู สดุการศกึ ษากลุม่ เปา้ หมาย ศกึ ษาจากกจิ กรรมหลกั ของผู้ใชโ้ ครงการ และกจิ กรรมชว่ั คราว ทจ่ี ะเกดิภายในโครงการ และรปู แบบของกจิ กรรม 2-10

Floral Brochure หลกั การและทฤษฎที ่ีเกยี่ วข้อง Principles and theories ระบบการผลติ พชื อินทรยี ์ทมี่ ีมาตรฐานและตลาดรองรับ Standardized organic production systems and market support. ชนิดและพันธุ์ของพชื ปลูก การปอ้ งกนั กำ�จัดศตั รูพชื /โรค สอาน่ื รๆเร่งการเจรญิ เติบโตและสาร มูลสัตว์ที่นำ�มาใช้ต้องผ่านการ ภกาณั รเฑก์ บ็ รักษาผลติ ผลและผลิต เมลด็ พนั ธแ์ุ ละสว่ นขยายพนั ธพ์ุ ชื อนญุ าตใหใ้ ชส้ มนุ ไพร แตต่ อ้ ง หา้ มใชส้ ารเคมสี งั เคราะหเ์ รง่ การ หมักเบ้ืองต้น หรืออบผา่ นความรอ้ น หา้ มใชส้ ารเคมกี ำ�จดั ศตั รใู นโรงเกบ็ จนแหง้ ดี หรือคลกุ ดินทิ้งไวไ้ ม่น้อยกว่า ทน่ี ำ�มาปลกู ตอ้ งผลติ จากระบบเกษตร ระวงั ไมใ่ หม้ ผี ลกระทบตอ่ สง่ิ มชี วี ติ ทเ่ี ปน็ เจรญิ เตบิ โตทกุ สว่ นของพชื เชน่ สาร 1 เดือน ก่อนการปลูกพชื หรอื ฆา่ เชอ้ื ในขณะทม่ี ผี ลผลติ อนิ ทรยี ์ อนิ ทรยี ์ ประโยชนอ์ น่ื ๆ เรง่ ราก เรง่ ดอก เกบ็ อยู่ มูลสัตว์ปีก หรือผลพลอยได้ ในกรณีทีไ่ ม่สามารถหาเมล็ดพนั ธุ์ อนุญาตให้ใชห้ างไหลหรือโลต่ ๊นิ ห้ามใชส้ ีสังเคราะหใ์ นการย้อมสี จากการเลย้ี งสตั ว์ ตอ้ งมาจากฟารม์ หาวธิ ปี อ้ งกัน โดยทำ�ความสะอาด และส่วนขยายพันธ์จุ ากระบบเกษตรอนิ แตส่ ำ�หรบั พืชกินใบ ต้องทิ้งไว้ 7 วัน ผลไม้ เพ่ือใหด้ สู วยงาม ท่ีเล้ยี งปล่อยรวมเป็นฝงู ไมจ่ ำ�กดั และกำ�จดั แหล่งทอ่ี าศยั ของศัตรูในโรง ทรยี ์ได้ อนญุ าตใหใ้ ชจ้ ากแหลง่ ทว่ั ไปได้ กอ่ นเก็บเกี่ยว การปอ้ งกนั การปนเปอื้ น อาณาเขต เก็บ แตต่ อ้ งไมม่ ีการคลกุ สารเคมี ส่งิ มีชวี ติ ดัดแปรพันธุ์ อนญุ าตใหใ้ ชน้ า้ํ หมกั ยาสบู แต หา้ มใช้เคร่อื งมือฉดี พ่นสารเคมี ปุ๋ยหมักที่นำ�มาใช้ ต้องมีส่วน ในกรณีทีจ่ ำ�เป็นต้องใช้ผลติ ภณั ฑ์ ่ไม่อนญุ าตให้ใช้สารนโิ คตนิ บริสทุ ธ์ิ ที่ใช้ในแปลงเคมี ปะปกับเคร่อื งมอื ฉดี ประกอบจากอินทรียวัตถตุ ามทรี่ ะบอุ ยู่ หรือสารเคมีที่ไมร่ ะบใุ นภาคผนวก ต้อง ในกรณีที่ผู้ผลิตยังไม่ได้ปรับ พน่ ท่ใี ชใ้ นแปลงอินทรยี ์ การใช้เครือ่ ง ในภาคผนวก 1 ผูผ้ ลิตต้องแจง้ สว่ น ขออนญุ าตจาก มกท.กอ่ น และต้องนำ� เปลย่ี นฟารม์ ทง้ั หมดเปน็ อนิ ทรยี ์ การ อนุญาตให้ใช้วิธีกล และการ จกั รกลการเกษตร เช่น เครอ่ื งเก็บ ประกอบและแหลง่ ผลิตให้มกท. ทราบ ผลผลิต/ผลติ ภณั ฑอ์ ินทรยี ์ออกจาก ผลติ ในแปลงเคม/ี ทว่ั ไป ตอ้ งไม่ใชส้ ง่ิ มี ควบคมุ โดยชีววิธี แต่ตอ้ งระวังมิใหม้ ี เกยี่ ว เครอ่ื งนวด ฯลฯ รว่ มกนั ทง้ั โรงเกบ็ ใหห้ มดก่อนฉดี พ่น และตรวจ ชวี ติ ดดั แปรพนั ธด์ุ ว้ ย ผลกระทบตอ่ สมดุลของศัตรพู ชื กับ แปลงเคมีและอนิ ทรยี ์ จะต้องมมี าตร หา้ มใชอ้ นิ ทรยี วตั ถทุ ม่ี สี ว่ นผสม เชก็ ใหแ้ น่ใจว่าไม่สารตกคา้ ง กอ่ นนำ� การอนรุ กั ษด์ นิ และนา้ํ ศัตรูธรรมชาติ การทำ�ความสะอาดเครือ่ งจกั รก่อนนำ� ของอุจจาระคน กลบั เขา้ ใหม่ ไปใชใ้ นแปลงอินทรยี ์ ห้ามใชป้ ุ๋ยหมกั จากขยะเมอื ง เพราะมี ห้ามเผาตอซังหรือเศษวัสดุใน อนุญาตให้ใช้ความร้อนอบฆ่า การปรบั ปรงุ บำ�รงุ ดนิ ปัญหาการปนเปือ้ นจากโลหะหนกั แปลงอนิ ทรยี ์ ยกเวน้ มเี หตจุ ำ�เปน็ เชน่ แมลงและเชอ้ื โรคในดนิ เฉพาะในโรงเรอื น การบรรจภุ ัณฑ์ กำ�จดั แหลง่ ระบาดของศตั รพู ชื และการ เพาะชำ� ท่ีต้องการเพาะกลา้ หรอื เมลด็ ท่ี ผู้ผลิตต้องพยายามใช้อินทรีย ทำ�ไรห่ มนุ เวยี นในทส่ี งู อ่อนแอตอ่ โรคเทา่ นน้ั วัตถุภายในฟาร์มมาปรับปรุงบำ�รุง บรรจภุ ณั ฑท์ ใ่ี ชใ้ สผ่ ลผลติ อนิ ทรยี ์ ดิน และลดการใช้อินทรียวัตถุจาก ต้องไมเ่ คยบรรจสุ ารเคมี ปุ๋ยเคมี หรือ มมี าตรการปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั อนุญาตให้ใช้ฟางข้าวจากนา นอกฟาร์ม มีแผนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ สิง่ ทเ่ี ป็นพิษมาก่อน ทะลายของดนิ เคมีมาคลุมดินป้องกนั วัชพชื ได้ ถา้ ไม่ อย่างผสมผสาน และใช้เท่าที่จำ�เป็น สามารถหาฟางข้าวจากนาอนิ ทรยี ไ์ ด้ บรรจภุ ัณฑ์ทนี่ ำ�มาใช้ ตอ้ งไม่ผา่ น มีมาตรการปอ้ งกันมใิ ห้ใชน้ าํ้ เกนิ การอบดว้ ยสารฆา่ เชอื้ ราหรอื สารเคมี ควรและรกั ษาคณุ ภาพนา้ํ ห้ามใช้ผงซักฟอก หรือสารจับ อ่ืนๆ ใบสงั เคราะหท์ กุ ชนดิ2-11 ทม่ี า: http://www.baansanrakorganic.com/index.php?pageID=9&itemid=77 2560

Floral Brochureภาพท่ี 2.7 พชื อินทรียท์ ่มี มี าตรฐาน 2-12ท่ีมา : https://www.workbook.com/portfolios/view/eskite/all/623898

ภาพที่ 2.8 ฟาร์มมาตรฐานออรแ์ กนิกท่มี า : https://www.workbook.com/portfolios/view/rob_fiocca/all/368324 2-13

มาตรฐาน GAP Good Agricultural Practice.การปฏิบตั ิเพือ่ ปอ้ งกนั หรอื ลดความเสี่ยงของอนั ตรายทเี่ กิดขึ้นระหวา่ ง การเพาะปลูก การเก็บเกย่ี ว และการ จัดการหลังการเกบ็ เก่ียว เพื่อให้ไดผ้ ลิตผลท่มี ีคุณภาพ ปลอดภัย และเหมาะสมตอ่ การบริโภคแหล่งน้ำ� - นำ้ �ทีใ่ ชต้ ้องไดจ้ ากแหล่งท่ี การบนั ทกึ ข้อมลู - ตอ้ งมกี ารบนั ทึกไม่มีสภาพแวดล้อมซ่งึ กอ่ ใหเ้ กิดการ ขอ้ มลู ทีเ่ กีย่ วกบั การใช้วัตถอุ ันตรายปนเปือ้ นวตั ถอุ ันตรายและจลุ นิ ทรยี ์ ทางการเกษตร มีการบันทกึ ขอ้ มลู การพน้ื ทปี่ ลูก - ต้องเป็นพืน้ ทีท่ ไ่ี มม่ ีวัตถุ สำ�รวจและการป้องกันจำ�กดั ศัตรพู ชือันตรายและจลุ นิ ทรยี ์ทีจ่ ะทำ�ให้เกดิ ขอ้ มลู การจัดการเพ่อื ใหไ้ ด้ผลติ ผลการตกค้างหรอื ปนเปือ้ นในผลิตผล คุณภาพการใชว้ ตั ถุอนั ตราย - หากมีการใช้ การผลติ ให้ปลอดภยั จากศตั รูพืช สารเคมีในกระบวนการผลิตใหใ้ ชต้ าม - ผลติ ผลที่เก็บเกี่ยวแล้ว ตอ้ งไมม่ ีคำ�แนะนำ�หรืออา้ งอิงคำ�แนะนำ�ของ ศตั รูพืชตดิ อยู่ถา้ พบต้องตัดแยกไว้กรมวชิ าการเกษตร หรือ ตามฉลาก ตา่ งหากที่ข้นึ ทะเบียนกบั กรมวิชาการเกษตร การจดั การกระบวนการผลิตเพอ่ื ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตอ้ งใช้ ได้ผลติ ผลคณุ ภาพ - การปฏบิ ัติสารเคมใี ห้สอดคล้องกับรายการ หา้ ม และการจดั การตามแผนควบคุมการใช้วตั ถุอนั ตรายทร่ี ะบุในทะเบียนวตั ถุ ผลิต คัดแยกผลติ ผลดอ้ ยคณุ ภาพไว้อนั ตรายทางการเกษตรท่หี ้ามใช้ ตา่ งหากการเก็บรักษาและการขนยา้ ยผลิต การเกบ็ เกีย่ ว และการปฏบิ ัตหิ ลงั การผลภายในแปลง - สถานทเ่ี กบ็ เกบ็ เก่ียว - เก็บเกย่ี วผลในระยะที่รักษาต้องสะอาด อากาศถา่ ยเทไดด้ ี เหมาะสมตามเกณฑใ์ นแผนควบคมุ การและสามารถปอ้ งกันการปนเปอ้ื นของ ผลติ อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการเกบ็ เกย่ี วภาชนะวตั ถแุ ปลกปลอม วัตถุอนั ตรายและ บรรจุและวิธกี ารเก็บเกี่ยวตอ้ งสะอาดสตั ว์พาหะนำ�โรค อุปกรณแ์ ละพาหะใน ไม่ก่อใหเ้ กิดอนั ตรายต่อคณุ ภาพของการขนยา้ ยต้องสะอาดปราศจากการ ผลผลิต และปนเปอ้ื นสง่ิ อันตรายท่มี ีปนเปอ้ื นส่ิงอนั ตรายท่ีมผี ลต่อความ ผลตอ่ ความปลอดภยั ในการบริโภคปลอดภัยในการบรโิ ภค ตอ้ งขนยา้ ยผลติ ผลอย่างระมัดระวงั 2-14

Floral Brochure ศกึ ษาและแบง่ ประเภทโรงเรอื น Study and classify the greenhouse. องค์ประกอบของโรงเรอื น ส่วนทีใ่ ช้สำ�หรบั กระบวนการหลัง ปัจจยั พน้ื ทก่ี ่อสร้างโรงเรือน ชนิดของพืชทตี่ อ้ งการปลูก พชื การระบาดของศตั รูพืช พน้ื ทซ่ี ง่ึ สว่ นทใ่ี ชป้ ลกู พชื เปน็ สว่ นทจ่ี ะใช้ เก็บเก่ียว กิจกรรมหลังเก็บเกย่ี วมหี ลาย ลกั ษณะภมู อิ ากาศ เชน่ อากาศ จำ�พวก แตงและมะเขือเทศ จำ�เปน็ ตอ้ ง มีการระบาดของศัตรูพืชรนุ แรงจำ�เป็น อยา่ ง เช่น การลา้ ง การตัดแตง่ การ ออกแบบให้มีเคร่ืองค้ำ�จนุ ลำ�ตน้ ใน ต้องเขม้ งวดในการปอ้ งกัน หรอื สลับ ตดิ ตง้ั เครอ่ื งปลกู หลงั คาควรทำ�ดว้ ย คดั เกรด ห้องเย็น และการบรรจหุ บี ห่อ รอ้ นในบางฤดแู ละหนาวมากในบางฤดู ขณะท่ีผักไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งมี โรงเรอื น ไปปลกู พืชชนิดอื่นในฤดทู ่ีมกี ารระบาด วสั ดโุ ปรง่ ใส เพอ่ื ใหแ้ สงสามารถสอ่ ง เปน็ ตน้ ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู่ บั ชนดิ ของพชื ทป่ี ลกู ฝนตกหนกั ในบางฤดู อากาศแหง้ ใน สำ�หรับปลกู กล้วยไม้และหนา้ ววั จำ�เป็น จงึ ตอ้ งออกแบบโรงเรอื นในตอบสนอง ผา่ นไปยงั พชื ได้ พชื บางชนดิ ตอ้ งการ บางฤดู และลมแรงในบางฤดู ตอ้ งมกี ารพรางแสง ตอ่ ความตอ้ งการเหล่านไ้ี ด้ แสงนอ้ ย ดงั นน้ั โรงเรอื นปลกู พชื อาจ ส่วนที่ใช้เก็บวัสดุ อาจแบ่งเป็น ตอ้ งใชแ้ ผน่ พลาสตกิ ลดความเขม้ แสง สว่ นๆ ตามความเหมาะสมในการใช้งาน ลักษณะภูมิประเทศ เช่น พื้นที่ ปริมาณการผลิต และความแปร ขนาดพ้นื ทกี่ ารสร้างโรงเรอื นใน โรงเรอื นสว่ นนอ้ี าจแบง่ ออกเปน็ โรงเรอื น เชน่ สว่ นทใี่ ช้เกบ็ เครือ่ งจักร อะไหล่ของ ก่อสร้างเป็นที่ลาดชัน หรือพื้นที่ ปรวนในรอบปี ราคาพืชส่วนใหญ่แปร พนื้ ท่ีนอ้ ย จำ�เปน็ ตอ้ งคำ�นงึ ถึงประสิทธิ เพาะตน้ กลา้ อนบุ าลตน้ กลา้ และโรง เครอ่ื งจกั ร และนำ้ �มัน ส่วนที่ใชเ้ ก็บเครอ่ื ง ก่อสร้างเป็นที่ลุ่มน้ำ�ขังในบางฤดู ปรวนตามปัจจัยด้านการตลาด การ ภาพการใชพ้ ื้นทใี่ นลำ�ดบั ต้นๆ เรอื นปลกู ภายในโรงเรอื นปลกู อาจแบง่ ปลกู และวสั ดุคำ้ �จุนราก และสว่ นทีใ่ ชเ้ กบ็ ผลิตจึงอาจจำ�เป็นต้องหมุนเวียรปลูก เปน็ สว่ นยอ่ ยๆ (segment) เพอ่ื ใหง้ า่ ย วสั ดทุ ใ่ี ชใ้ นกระบวนการหลงั เกบ็ เกย่ี วควร ระบบปลูกที่เลือกใช้ การติดตั้ง พืชหลายชนิดสลับกัน เพื่อเลือกพืช ตอ่ การควบคมุ การระบาดของโรค และ เตรยี มอปุ กรณ์ดับเพลิงไว้ในบริเวณที่มี อุปกรณ์ของระบบปลูกแต่ละระบบ ราคาเหมาะสมในฤดูนั้นๆ โรงเรือนจึง วางแผนการผลติ ไดง้ า่ ยขน้ึ การเก็บวัสดุทีเ่ ป็นเชื้อเพลิง แตกต่างกัน จึงต้องออกแบบราย จำ�เป็นต้องออกแบบให้เหมาะสมกับ ละเอียดภายในโรงเรือนที่แตกต่างกัน การปลูกพืชหลายชนิด ทม่ี า: http://agri.wu.ac.th/2-15

greenhouseFloral Brochureภาพที่ 2.9 Greenhouse 2-16ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/

Floral Brochure รูปแบบของโรงเรือน 1) โรงเรอื นหลงั คาหนา้ จว่ั แบบ สมมาตร (even span หรอื single span) เปน็ รปู แบบโรงเรอื นทใ่ี ชก้ นั แพร่ หลายในเขตอบอนุ่ และเขตหนาว หลงั คา อาจออกแบบใหเ้ ปดิ ไดเ้ พอ่ื ระบายอากาศ รอ้ นในฤดรู อ้ น รปู แบบอาคารแบบนไ้ี ม่ คอ่ ยเหมาะสำ�หรบั ประเทศในเขตรอ้ น ภาพท่ี 2.10 single span greenhouse ที่มา : http://www.agriexpo.online/agricultural-manufacturer/2-19

Floral Brochure 2) โรงเรอื นหลงั คาหนา้ จว่ั สองชน้ัอาคารรปู แบบนส้ี รา้ งขน้ึ เพอ่ื ใหอ้ ากาศรอ้ นภายในอาคารระบายออกไดด้ ี แมใ้ นชว่ งฝนตกนำ้ �ฝนกไ็ มส่ าดเขา้ มาภายในอาคารโรงเรอื น อาคารรปู แบบนเ้ี หมาะสำ�หรบั ประเทศในเขตรอ้ นภาพท่ี 2.11 double roof greenhousevที่มา : https://i.pinimg.com/originals/36/99/b0/3699b03c2e26579d5b9a849ed- 2-18

Floral Brochure 3) โรงเรอื นหลังคาหนา้ จ่วั แบบไม่สมมาตร (uneven span) โรงเรอื นแบบนจี้ ะมีหลงั คาด้านหนึง่ ยาวกวา่ อีกด้านหน่งึ เหมาะสำ�หรบั การก่อสรา้ งในพน้ื ซงึ่ เป็นเนินเขา ภาพที่ 2.12 uneven span greenhouse ทม่ี า : http://freesplans.blogspot.com/2014/11/blog-post_59.html2-21

Floral Brochure 4) โรงเรือนหลงั คาครงึ่ วงกลม(quonset) เปน็ แบบโรงเรอื นท่ีไดร้ ับความนยิ มแพรห่ ลายในเขตอบอุ่นและเขตหนาวอีกแบบหนง่ึ การกอ่ สรา้ งไม่ซบั ซ้อนมากนกั เหมาะสำ�หรบั กรณีท่ีตอ้ งการมุงหลังคาดว้ วสั ดทุ ี่โค้งงอได้ง่าย เชน่ แผน่ พลาสติกชนิดตา่ งๆ การระบายอากาศรอ้ นทำ�ได้ยากจึงไม่เหมาะสำ�หรับประเทศในเขตร้อนภาพที่ 2.13 quonset greenhouseทม่ี า : http://www.toledoblade.com/image/2016/08/18/Detroit-Designer-Huts-1.jpg 2-22

Floral Brochure 5) โรงเรือนหลงั คาครึง่ วงกลม เหลื่อม เปน็ โรงเรอื นทีอ่ อกแบบใหง้ ่าย ต่อการระบายอากาศรอ้ น เน่อื งจาก หลังคามชี อ่ งเปิด โรงเรือนแบบน้จี งึ เหมาะสำ�หรบั ประเทศในเขตร้อนภาพที่ 2.14 sawtooth greenhouseที่มา : http://www.pakaprich.com/category/story/page/2/ 2-23

Floral Brochure 6) โรงเรอื นหลงั คาครง่ึ ทรงกลม(dome) โรงเรอื นแบบนย้ี ากตอ่ การขยายใหค้ รอบคลมุ พืน้ ทีก่ วา้ ง จงึ ไม่คอ่ ยนิยมสรา้ งสำ�หรับการผลติ พืชในเชงิ พาณชิ ย์ ส่วนใหญส่ รา้ งข้ึนเพอื่ ใหม้ ีจดุ เด่นทางดา้ นสถาปตั ยกรรมใน Bo-tanical Garden หรอื สถาบันการศกึ ษาต่างๆภาพท่ี 2.15 dome greenhouseทม่ี า : https://doowansnewsandevents.files.wordpress.com/2013/03/24ft_greenhouse_ 2-24

Floral Brochure 7) โรงเรือนหลงั คาตอ่ เนอ่ื ง(ridge and furrow) โรงเรอื นแบบน้จี ะสร้างหลงั คาแบบหนา้ จ่ัวหรือครง่ึวงกลมตอ่ เนื่องกัน เพ่ือให้โรงเรือนคลุมพ้นื ทเี่ ปน็ บรเิ วณกว้าง และมคี ่ากอ่ สร้างต่ำ�กว่าการสร้างหลังคาเด่ยี วขนาดใหญ่ภาพท่ี 2.16 ridge and furrow greenhouseท่ีมา : http://www.agriexpo.online/agricultural-manufacturer/ 2-25

Floral Brochure 8) โรงเรอื นขนาดเล็ก โรงเรือนภาพที่ 2.17 Mini greenhouse ขนาดใหญช่ ว่ ยให้สามารถควบคุมส่งิท่มี า : http://deco.bergsansnipple.com/wp-content/uploads/2014/11/Diy-Outdoor-Greenhouse.jpg แวดลอ้ มภายในโรงเรอื นได้ง่าย แต่ ขณะเดียวกนั กม็ ขี อ้ เสยี หลายอยา่ เชน่ เสยี พน้ื ทส่ี ว่ นหน่งึ เพ่ือเป็นทางเดินและ ลำ�เลยี งวสั ดุ ทำ�ให้มคี า่ กอ่ สร้างเพมิ่ ขึ้น ในสว่ นที่ไม่จำ�เป็นนี้ ค่าก่อสร้างแพงและ ต้องใช้เงนิ ลงทนุ ครัง้ ละมากๆ และแกไ้ ข ได้ยากเมือ่ เกิดการระบาดของโรคหรอื แมลง เปน็ ตน้ ในพืน้ ท่เี ขตร้อนของโลก ซง่ึ มีอณุ หภมู ิสงู พอสำ�หรบั การเจรญิ เติบโตของพืชตลอดท้ังปี การสร้าง โรงเรือนขนาดใหญ่ เพอ่ื เกบ็ ความร้อน ใหม้ อี ณุ หภูมิสูงพอสำ�หรับการเจริญ เติบโตของพืชจึงไมจ่ ำ�เป็น โรงเรอื น ขนาดเล็กทีม่ เี พียงหลงั คากนั ฝน หรือ มมี ุ้งกันแมลงก็เพยี งพอต่อการปลกู พชื นอกจากนี้ เกษตรกรยงั ไมจ่ ำ�เปน็ ต้องลงทนุ สงู ในครั้งเดยี ว สามารถ วางแผนการผลติ ได้ง่าย และมีค่าใช้ จ่ายดา้ นพลังงานตำ่ � จึงเป็นทน่ี ิยมของ เกษตรกรในหลายพ้ืนที่ 2-26

Floral Brochure วสั ดมุ งุ หลงั คาโรงเรือน พลาสติกชนิดแผ่นแขง็ (กระ พลาสติกชนดิ แผ่นมว้ น (film) -ผสมหรอื เคลอื บดว้ ยสาร กระจก (Glass) กระจกท่ใี ช้ เบอ้ื งใส) วัสดปุ ระเภทน้มี ีนำ้ �หนกั เบา เช่น Polyethylene (PE) และ Poly- ดดู กลืนรังสี Infrared (IR) โดยดูด กวา่ กระจกทำ�ใหไ้ ม่ตอ้ งใชโ้ ครงสรา้ งที่ vinyl Chloride (PVC) พลาสตคิ เหล่า กลนื รงั สี IR คลืน่ สัน้ (750-1,400 เพ่ือการเกษตรยอมให้รังสจี ากดวง แข็งแรงมาก จงึ ประหยัดค่าใชจ้ า่ ยใน นท้ี ่ีไมผ่ ่านการปรับปรงุ คณุ ภาพมักมี nm) ในเวลากลางวัน เพือ่ ปอ้ งกันไม่ อาทติ ยใ์ นชว่ งความยาวคลื่น 400 - การกอ่ สร้างมากกวา่ อายุการใช้งาน อายุการใชง้ านส้นั เนือ่ งจากโมเลกลุ ให้อณุ หภูมภิ ายในโรงเรือนในเวลา 2500 นาโนเมตร สอ่ งผ่านไดด้ ี แต่ ส้ันกว่ากระจก แต่นานกว่าพลาสติก ของโพลเี มอร์ขาดออกเม่อื ได้รบั แสง กลางวันสูงเกนิ ไป และดดู กลนื รงั สี รงั สนี อกย่านความยาวคล่ืนสอ่ งผ่าน ชนิดแผน่ มว้ น ไดแ้ ก่ อาทิตยเ์ ปน็ เวลานาน ทำ�ใหเ้ นือ้ พลาสติ IR คลื่นยาว (3,000-14,000 nm) ไดน้ ้อย กระจกมอี ายกุ ารใช้งานได้ -Fiberglass เป็นวสั ดุทท่ี ำ� คเปราะและฉกี ขาดง่าย แผ่นพลาสติค ซ่ึงเปน็ รงั สีสะทอ้ น ในเวลากลางคืน นาน แต่มนี ้ำ�หนักมาก (ความหนา จากใยแกว้ ฝงั ตัวใน acrylic resin แสง ทถ่ี ูกดงึ ให้ตงึ มกั หย่อนได้งา่ ย พลา เพอ่ื เกบ็ ความร้อนไว้ภายในโรงเรอื นใน แนน่ สูง) ทำ�ให้โรงเรอื นทใ่ี ชก้ ระจก อาทติ ย์ส่องผา่ นได้ประมาณ 78 - 88% สติคที่ไม่ผา่ นการปรับปรงุ คณุ ภาพ เวลากลางคนื มงุ หลงั คาตอ้ งมโี ครงสร้างท่ีแขง็ แรง แสงเกิดการกระจายเมอ่ื สอ่ งผ่าน ทำ�ให้ จงึ ไมค่ ่อยนิยมใช้มงุ หลังคาโรงเรือน -ผสมหรอื เคลอื บดว้ ยสาร จงึ มคี า่ ก่อสรา้ งที่สูงขน้ึ ตามไปด้วย พืชในโรงเรือนได้รับแสงสม่ำ�เสมอ อณุ ห -ผสมหรอื เคลอื บดว้ ยสาร ลดแรงตึงผวิ (Anti-Drip or Anti- กระจกสามารถแตกไดง้ ่ายเมื่อไดร้ ับ ภมู ไิ มส่ ูงทแี่ ถบใดแถบหนงึ่ พชื จงึ ไมเ่ สีย เสรมิ ความแขง็ แรง เพอ่ื ปอ้ งกันไม่ให้ Condensate) ช่วยใหน้ ำ้ �ทีก่ ล่ันตวั เกาะ แรงกระแทกแรงๆ หรอื การยดื -หดตวั หายในช่วงทมี่ ีแดดจัด เป็นลอนคลืน่ ทำ� แผ่นพลาสตคิ ยดื ออก เมือ่ ถูกดึงให้ตงึ บนผวิ พลาสตคิ ไดด้ ีขน้ึ และไหลลงสู่ เน่ืองจากการเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ิ ใหน้ ำ้ �ฝนหรือหยดนำ้ �สามารถไหลไดง้ ่าย เปน็ เวลานาน พน้ื ตามแนวแผน่ พลาสติค แทนท่จี ะ กระจกมหี ลายชนดิ เช่น มอี ายุการใช้งาน 10 - 15 ปี -ผสมหรอื เคลอื บดว้ ยสาร หยดลงสพู่ นื้ โรงเรอื น ซึ่งเปน็ สาเหตุ - Float Glass เปน็ กระ -Polycrylate แสงอาทิตย์ ป้องกนั โมเลกุลแตกเป็นโมเลกุลเลก็ ใหด้ อกหรอื ใบพชื เปียกชน้ื เสียหาย จกทีใ่ ชส้ ำ�หรับงานทว่ั ไป แสงอาทิตย์ ส่องผ่านไดป้ ระมาณ 78 - 88% ความ เนือ่ งจากไดร้ ับแสง Ultra-violet เปน็ ส่องผ่านได้ประมาณ 88 - 90% โปร่งแสงมักไมเ่ ปลีย่ นเม่อื อายุการใช้งาน เวลานาน (UV Stabilizer) เพอื่ ยดื (Scorching) แตกง่าย ราคาต่ำ� นานขึน้ วัสดชุ นดิ น้ีจะเปราะมากขน้ึ เมอ่ื อายกุ ารใช้งานใหน้ านขึ้น ในขณะทไี่ ม่ - Tempered Glass มี อายุการใชง้ านนานขนึ้ โดยทวั่ ไปมีอายุ รบกวนแมลงท่ีชว่ ยผสมเกสร -ผสมหรอื เคลอื บดว้ ยสาร ราคาสงู กว่าประเภทแรก แต่มคี วาม การใชง้ านประมาณ 20 ปี ตดิ ไฟไดง้ ่าย -ผสมหรอื เคลอื บดว้ ยสาร กระจายแสง (Light diffusion) ชว่ ย แขง็ แรงสงู กว่าประมาณ 5 เทา่ และมี -Polycarbonate แสง ดดู กลนื แสง Ultra-violet (UV Ab- ให้ความเข้มแสงในโรงเรือนสมำ่ �เสมอ น้ำ�หนกั มากกวา่ อาทิตย์สอ่ งผา่ นไดป้ ระมาณ 75 - 85% sorber) ชว่ ยยดื อายกุ ารใชง้ านใหน้ าน พืชสามารถเจรญิ เตบิ โตได้สม่ำ�เสมอ - Low-iron glass เป็น สำ�หรับแผ่นสองช้ัน โคง้ งอได้งา่ ย เหมาะ ขน้ึ และรบกวนการทำ�งานของแมลง ตามไปด้วย และลดปญั หาใบพืชไหม้ใน กระจกท่ีมเี หลก็ ตำ่ � แสงส่องผ่านไดด้ ี ชว่ งแดดจดั กว่า float glass ประมาณ 5 - 6% กับโรงเรอื นหลงั คาโค้งวัสดุชนิดนค้ี อ่ ยๆ ศตั รูพืชทเี่ ขา้ ไปภายในโรงเรือน มสี เี หลอื งเขม้ ขึน้ เมือ่ อายุการใชง้ านนาน ขึน้ โดยทวั่ ไปมอี ายุการใชง้ านประมาณ 8 ปี ตดิ ไฟยากกวา่ Polycrylate -Polyester -Polysulfonate2-27 ทมี่ า: http://agri.wu.ac.th/

Floral Brochure พ้นื โรงเรือน -พ้ืนดิน -พน้ื ทราย -พืน้ กรวด -พ้ืนหนิ เกล็ด -พน้ื คอนกรตี โครงสรา้ งโรงเรือน -โครงสรา้ งไม้ไผ ่ -โครงสรา้ งไม้ -โครงสร้างท่อเหลก็ ชุบสังกะสี -โครงสร้างรางเหลก็ ชุบสงั กะสี -โครงสร้างคอนกรีตภาพท่ี 2.17 wooden greenhouse 2-28ที่มา : https://www.workbook.com/portfolios/view/rob_fiocca/all/368324

ลักษณะพนั ธ์พุ ชื ทเ่ี หมาะกับการประกอบอาหาร Floral Brochure ภาพท่ี 2.18 พนั ธพ์ุ ืชทีเ่ ป็นวตั ถดุ บิ Plant characteristics for cooking. ท่มี า : https://www.workbook.com/portfolios/view/ Leaf lettuce (สลดั ใบ/ผักกาดหอม) จะมีตน้ สั้นใบ และ ใบเป็นกระจุก มีจำ�นวนใบมาก Crisp-head (สลดั ปล/ี ผกั กาดหอมหอ่ /ผกั กาดแกว้ / สลัดแกว้ ) มีใบขนาดนำ้ �หนักมาก ใบในจะ วนและซอ้ นกนั คลา้ ย กะหลำ่ �ปลี หัวแน่น ใบจะแขง็ Butterhead (สลัดก่ึงหอ่ หรือ สลัดบัตเตอร)์ ใบจะอ่อน นม่ิ ห่อปลีหลวม ใบในจะลกั ษณะมนี ำ้ �มนั จบั ท่ีผิวใบ Cos (สลดั คอส หรอื ผกั กาดหวาน) ใบมลี กั ษณะ ตงั้ ตรงยาวเขม้ เนื้อใบหนามีเส้นใบนูนเด่น ออกมาดา้ นหลัง Stem (CELery-LetTUCE) มลี ักษณะลำ�ต้น สูง ใบจะเรยี วยาว เจรญิ ตดิ ๆ กนั ข้ึนไป จนถึงช่อดอก2-29

Floral Brochure ตน้ อ่อนทานตะวนั ไควาเระ ชว่ ยในการควบคุมระดับคอเลสเตอรอล วติ ามินซี วิตามินเอ วติ ามินบ3ี วติ ามิ ในร่้างกาย อุดมดว้ ยแคลเซียม คาร์โบไฮ นบ6ี แคลเซยี ม โพแทสเซยี ม แมกนเี ซยี ม เดรต และวิตามินตา่ งๆ ฟอสฟอรัส ต้านอนุมูลอสิ ระป้องกนั การ ตน้ อ่อนเจีย เกิดโรคมะเร็ง อดุ มไปด้วยกรดไขมันโอเมกา-3 บำ�รงุ โตเมี่ยว สมอง มสี ารต้านอนุมูลอสิ ระ ปอ้ งกันโรค วติ ามินซี มีสารต้านอนมุ ลู อสิ ระปอ้ งกนั มะเรง็ การเกดิ โรคมะเร็ง กรดไขมันโอเมกา-6 ต้นออ่ นอัลฟาฟ่า ป้องกันโรคหวั ใจ อดุ มไปดว้ ยโปรตนี ใยอาหาร วติ ามนิ เอ วิ ต้นอ่อนขา้ วสาลี ตามินเค วิตามินซี วติ ามินบี3 วิตามินบี5 อุดมไปด้วยคลอโรฟิล 70% ช่วยสร้าง โฟเลต ฟอสฟอรัส โพแทสเซยี ม ต้านอนุมลู เฮโมโกบนิ ในเมด็ เลือดแดง กรดอะมโิ นกว่า อสิ ระป้องกันการเกดิ โรคมะเร็ง 17ชนิด ปอ้ งกนั โลหติ จาง ต้นอ่อนกระเจี๊ยบแดง ตน้ อ่อนผักบุง้ วติ ามนิ ซี วิตามนิ เอ แคลเซียม โพแทสเซียม วิตามินซี วติ ามินเอ แคลเซยี ม คาร์โบไฮ แมกนเี ซียม ฟอสฟอรสั และเหลก็ ลดความ เดรต ธาตเุ หล็ก ฟอสฟอรสั และเหล็ก มสี าร ดนั โลหติ ป้องกนั การเกดิ นว่ิ สร้างหลอด ต้านอนุมูลอิสระป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง เลือดใหแ้ ข็งแรง ตน้ อ่อนงา โปรตนี แคลเซยี ม แมกนเี ซียม โพแทสเซยี ม ฟอสฟอรัส สังกะสี เหล็ก วติ ามินบีรวม บำ�รงุ ประสาทและสมอง 2-30

Floral BrochureLeaf lettuce การให้ปุย๋ หลงั ปลูก 7(สลดั ใบ/ผักกาดหอม) จะมตี น้ ส้ันใบ วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 หรอื ผสม 15-15-และใบเป็นกระจกุ มีจำ�นวนใบมาก 15 อตั รา 50 กก./ไร่ อยา่ งละคร่ึง การเตรยี มดนิ ขุดดนิ ตาก พรอ้ มกำ�จัดวัชพืช หลงั ปลกู 20-25แดด และโรยปนู ขาว หรอื โดโลไมท์ วัน ใส่ป๋ยุ 13-13-21 พร้อมกำ�จดัอตั รา 0-100 กรัม/ตร.ม. ทง้ิ ไว้่ 14 วชั พืช ขุดร่องลกึ 2 -3 ซม. รศั มจี ากวนั ให้วชั พืชแห้งตาย ขน้ึ แปลงกวา้ ง ต้น 10 ซม. โรยปุ๋็ย 1/2 ช้อนโต๊ะ1 ม. ใสป่ ยุ๋ 12-24-12 และ 15-0-0 กลบดนิ แลว้ รดน้ำ�อัตรา 50 กก./ไร่ สัดส่วน 1:1 (รอง การเกบ็ เกี่ยว เม่อื ผกั กาดพน้ื ) ป๋ยุ คอกอัตรา 2-4 ตัน/ไร่ หอมใบแดง หรอื สลดั ใบแดง มีอายุ การเตรียมกลา้ เพาะกลา้ ไดป้ ระมาณ 30-60 วนั หลงั ยา้ ยในถาดหลมุ แบบประณตี ดินเพาะควร ปลกู ใช้มีดตดั และเหลอื ใบนอก 3 ใบมีระบบน้ำ�ดี อายุกลา้ ประมาณ 3-4 เพ่อื ปอ้ งกันความเสียหายในการขนส่งอาทิตย์ หลีกเล่ยี งการเกบ็ เก่ยี วตอนเปียกควร การปลกู ระยะปลกู เกบ็ เกย่ี วตอนบ่าย หรือคำ่ �แล้วผึง่ ลม30×30 ซม. 3 แถว ในฤดูร้อน และ ในท่รี ่ม และคัดเกรดปา้ ยปนู แดงที่รอย40×40 ซม. 3 แถว ในฤดูฝน (เพอ่ื ตดั เพอื่ ปอ้ งกนั การแพร่เชื้อโรคเขา้ สู่ปอ้ งกนั การระบาดของโรค) หวั อยา่ ลา้ งผัก บรรจลุ งลงั พลาสติด การให้นำ้ � ควรให้น้ำ�อยา่ งสมำ่ �เสมอ และเีพยี งพอ ต่อการเจรญิเตบิ โต การใหไ้ ม่ควรมากเกินไป อาจทำ�ให้เกดิ โรคโคนเน่า ทม่ี า: http://www.vegetweb.com/ 2560 ภาพที่ 2.19 Leaf lettuce ที่มา : http://www.agriexpo.online/agricultural-manufacturer/2-31

Floral Brochure Crisp-head (สลดั ปล/ี ผกั กาดหอมห่อ/ผักกาด แกว้ /สลดั แก้ว) มีใบขนาดนำ้ �หนักมาก ใบในจะวนและซอ้ นกันคลา้ ย กะหลำ่ �ปลี หวั แน่น ใบจะแข็ง การเตรียมดนิ ขดุ ดินตาก การใหป้ ุ๋ย หลงั ปลกู 7 วัน แดด และโรยปูนขาว หรอื โดโลไมท์ ใสป่ ุ๋ย 46-0-0 หรอื ผสม 15-15- อตั รา 0-100 กรัม/ตร.ม. ท้ิงไว่้ 14 15 อตั รา 50 กก./ไร่ อยา่ งละครงึ่ วัน ใหว้ ชั พืชแห้งตาย ขน้ึ แปลงกวา้ ง พรอ้ มกำ�จดั วชั พชื หลังปลูก 20-25 1 ม. ใส่ปยุ๋ 12-24-12 และ 15-0-0 วนั ใสป่ ุ๋ย 13-13-21 พร้อมกำ�จัด อัตรา 50 กก./ไร่ สดั สว่ น 1:1 (รอง วชั พชื ขุดร่องลกึ 2 -3 ซม. รศั มีจาก พ้นื ) ป๋ยุ คอกอัตรา 2-4 ตัน/ไร่ ตน้ 10 ซม. โรยป๋ย็ุ 1/2 ชอ้ นโต๊ะ การเตรยี มกล้า เพาะกลา้ กลบดนิ แล้วรดนำ้ � ในถาดหลุมแบบประณีต ดินเพาะควร การเกบ็ เกยี่ ว เม่อื อายุ ได้ มีระบบน้ำ�ดี อายกุ ลา้ ประมาณ 3-4 ประมาณ 40-80 วนั หลังยา้ ยปลูก อาทิตย์ ใชห้ ลงั มือกดดถู า้ หัวแน่นกเ็ กบ็ ได(้ กด การปลกู ระยะปลูก ยบุ แล้วกลับคินื เหมือนเดมิ ) ใชม้ ีดตัด 30×30 ซม. 3 แถว ในฤดูร้อน และ และเหลือใบนอก 3 ใบเพอ่ื ป้องกนั 40×40 ซม. 3 แถว ในฤดฝู น (เพ่ือ ความเสยี หายในการขนส่ง หลีกเลย่ี ง ป้องกันการระบาดของโรค) การเกบ็ เกีย่ วตอนเปียก ควรเก็บเก่ียว การให้นำ้ � ควรใหน้ ้ำ�อยา่ ง ตอนบ่าย หรอื คำ่ �แลว้ ผึ่ง ลมในท่ีรม่ สม่ำ�เสมอ และเีพยี งพอ ต่อการเจริญ และคัดเกรดป้ายปนู แดงท่รี อยตดั เพ่อื เติบโต การให้ไมค่ วรมากเกินไป อาจ ป้องกันการแพร่เชื้อโรคเขา้ สหู่ ัวอย่า ทำ�ให้เกดิ โรคโคนเน่า ล้างผกั บรรจลุ งลงั พลาสติก ท่มี า: http://www.vegetweb.com/ 2560 ภาพที่ 2.20 Crisp-head ท่ีมา : https://cdn.shopify.com/s/files/1/1003/1822/products/ 2-32

Floral BrochureButterhead การใหป้ ยุ๋ หลงั ปลกู 7 วนั(สลดั ก่ึงห่อ หรือ สลดั บัตเตอร)์ ใบจะ ใส่ปยุ๋ 46-0-0 หรือผสม 15-15-อ่อนนิม่ ห่อปลีหลวม ใบในจะลกั ษณะ 15 อตั รา 50 กก./ไร่ อยา่ งละครึง่มนี ้ำ�มันจบั ทผี่ ิวใบ พร้อมกำ�จดั วัชพชื หลังปลกู 20-25 การเตรยี มดนิ ขุดดนิ ตาก วนั ใสป่ ุ๋ย 13-13-21 พร้อมกำ�จดัแดด และโรยปูนขาว หรอื โดโลไมท์ วัชพืช ขดุ รอ่ งลึก 2 -3 ซม. รัศมจี ากอตั รา 0-100 กรัม/ตร.ม. ท้ิงไว่้ 14 ตน้ 10 ซม. โรยป็ุ๋ย 1/2 ช้อนโต๊ะวนั ให้วัชพืชแหง้ ตาย ขึน้ แปลงกว้าง กลบดินแล้วรดนำ้ �1 ม. ใส่ปยุ๋ 12-24-12 และ 15-0-0 การเกบ็ เกย่ี ว เม่อื อายุ ได้อัตรา 50 กก./ไร่ สัดส่วน 1:1 (รอง ประมาณ 40-60 วัน หลังยา้ ยปลกูพ้นื ) ปุ๋ยคอกอัตรา 2-4 ตัน/ไร่ ใช้หลงั มือกดดูถา้ หวั แนน่ กเ็ กบ็ ได(้ กด การเตรียมกลา้ เพาะกล้า ยบุ แล้วกลบั คืินเหมือนเดมิ ) ใช้มดี ตัดในถาดหลุมแบบประณีต ดินเพาะควร และเหลอื ใบนอก 3 ใบเพ่ือปอ้ งกันมรี ะบบนำ้ �ดี อายกุ ลา้ ประมาณ 3-4 ความเสยี หายในการขนส่ง หลกี เลี่ยงอาทิตย์ การเก็บเกี่ยวตอนเปียก ควรเก็บเก่ียว การปลกู ระยะปลูก ตอนบา่ ย หรอื ค่ำ�แล้วผง่ึ ลมในทีร่ ม่30×30 ซม. 3 แถว ในฤดูร้อน และ และคดั เกรดปา้ ยปนู แดงทร่ี อยตัด เพอื่40×40 ซม. 3 แถว ในฤดูฝน (เพือ่ ปอ้ งกนั การแพรเ่ ชือ้ โรคเขา้ สู่หวั อย่าปอ้ งกันการระบาดของโรค) ล้างผักบรรจุลงลังพลาสติก การให้น้ำ� ควรใหน้ ้ำ�อยา่ งสมำ่ �เสมอ และเพี ยี งพอ ต่อการเจริญเตบิ โต การใหไ้ มค่ วรมากเกนิ ไป อาจทำ�ใหเ้ กดิ โรคโคนเนา่ ท่มี า: http://www.vegetweb.com/ 2560 ภาพท่ี 2.21 Butterhead ที่มา : https://paramountseeds.com/wp-content/uploads/2014/07/Fidel.jpg2-33

Floral Brochure Cos (สลัดคอส หรอื ผกั กาดหวาน) ใบมี ลกั ษณะตงั้ ตรงยาวเขม้ เนอ้ื ใบหนามเี สน้ ใบนูนเด่นออกมาดา้ นหลงั การเตรยี มดิน ขดุ ดินตาก การให้ป๋ยุ หลงั ปลูก 7 วัน แดด และโรยปนู ขาว หรอื โดโลไมท์ ใสป่ ยุ๋ 46-0-0 หรือผสม 15-15- อตั รา 0-100 กรมั /ตร.ม. ท้งิ ไว้่ 14 15 อตั รา 50 กก./ไร่ อย่างละคร่งึ วนั ให้วัชพชื แหง้ ตาย ขน้ึ แปลงกว้าง พร้อมกำ�จัดวชั พชื หลังปลกู 20-25 1 ม. ใส่ป๋ยุ 12-24-12 และ 15-0-0 วนั ใส่ปยุ๋ 13-13-21 พร้อมกำ�จัด อัตรา 50 กก./ไร่ สัดสว่ น 1:1 (รอง วชั พืช ขุดรอ่ งลึก 2 -3 ซม. รัศมจี าก พื้น) ปยุ๋ คอกอตั รา 2-4 ตัน/ไร่ ต้น 10 ซม. โรยป็ยุ๋ 1/2 ช้อนโตะ๊ การเตรียมกลา้ เพาะกลา้ กลบดินแล้วรดนำ้ � ในถาดหลุมแบบประณีต ดินเพาะควร การเกบ็ เกี่ยว เมือ่ อายุ ได้ มรี ะบบนำ้ �ดี อายกุ ลา้ ประมาณ 3-4 ประมาณ 40-60 วัน หลงั ยา้ ยปลูก อาทติ ย์ ใชห้ ลังมือกดดูถ้าหัวแนน่ กเ็ กบ็ ได(้ กด การปลกู ระยะปลกู ยบุ แลว้ กลับคิืนเหมือนเดิม) ใช้มีดตดั 30×30 ซม. 3 แถว ในฤดูรอ้ น และ และเหลือใบนอก 3 ใบเพอื่ ป้องกนั 40×40 ซม. 3 แถว ในฤดูฝน (เพอ่ื ความเสยี หายในการขนสง่ หลกี เลีย่ ง ปอ้ งกนั การระบาดของโรค) การเก็บเกี่ยวตอนเปยี ก ควรเกบ็ เกี่ยว การใหน้ ำ้ � ควรให้น้ำ�อย่าง ตอนบ่าย หรอื ค่ำ�แล้วผ่งึ ลมในที่รม่ สมำ่ �เสมอ และเพี ยี งพอ ต่อการเจรญิ และคัดเกรดปา้ ยปนู แดงท่ีรอยตดั เพอ่ื เตบิ โต การใหไ้ ม่ควรมากเกินไป อาจ ปอ้ งกันการแพร่เชือ้ โรคเขา้ สูห่ วั อย่า ทำ�ให้เกิด โรคโคนเน่า ล้างผักบรรจุลงลงั พลาสตกิ ทม่ี า: http://www.vegetweb.com/ 2560 ภาพที่ 2.22 Cos ทมี่ า : http://farm3.staticflickr.com/2238/2529145266_469f9ba1af_b.jpg 2-34

Stem Floral Brochure(ผ กั กาดหอมตน้ ) มีลกั ษณะลำ�ต้นสูงใบจะเรยี วยาว เจริญติดๆ กันข้นึ ไป การใหป้ ุ๋ย หลงั ปลูก 7จนถึงช่อดอก วัน ใสป่ ๋ยุ 46-0-0 หรือผสม 15-15- การเตรยี มดนิ ขดุ ดินตาก 15 อัตรา 50 กก./ไร่ อยา่ งละครึ่งแดด และโรยปนู ขาว หรือโดโลไมท์ พร้อมกำ�จดั วชั พืช หลังปลกู 20-25อตั รา 0-100 กรัม/ตร.ม. ท้ิงไว่้ 14 วัน ใส่ปุ๋ย 13-13-21 พร้อมกำ�จดัวนั ใหว้ ัชพืชแห้งตาย ข้ึนแปลงกว้าง วัชพืช ขดุ ร่องลกึ 2 -3 ซม. รัศมีจาก1 ม. ใสป่ ุ๋ย 12-24-12 และ 15-0-0 ต้น 10 ซม. โรยปย๋็ุ 1/2 ช้อนโตะ๊อตั รา 50 กก./ไร่ สัดส่วน 1:1 (รอง กลบดินแลว้ รดนำ้ �พน้ื ) ปุ๋ยคอกอัตรา 2-4 ตนั /ไร่ การเก็บเกีย่ ว เมอ่ื ผกั กาด การเตรียมกลา้ เพาะกลา้ หอมใบแดง หรอื สลัดใบแดง มอี ายุในถาดหลมุ แบบประณีต ดนิ เพาะควร ได้ประมาณ 30-60 วัน หลงั ย้ายมีระบบนำ้ �ดี อายุกลา้ ประมาณ 3-4 ปลูก ใช้มดี ตดั และเหลือใบนอก 3 ใบอาทิตย์ เพอื่ ป้องกนั ความเสยี หายในการขนส่ง การปลกู ระยะปลกู หลีกเลี่ยงการเกบ็ เกีย่ วตอนเปยี กควร30×30 ซม. 3 แถว ในฤดูร้อน และ เก็บเก่ียวตอนบา่ ย หรอื คำ่ �แล้วผงึ่ ลม40×40 ซม. 3 แถว ในฤดฝู น (เพอ่ื ในทีร่ ่ม และคดั เกรดป้ายปูนแดงทร่ี อยป้องกันการระบาดของโรค) ตัด เพือ่ ปอ้ งกันการแพรเ่ ชือ้ โรคเขา้ สู่ การใหน้ ้ำ� ควรใหน้ ำ้ �อย่าง หวั อยา่ ล้างผกั บรรจุลงลังพลาสตดิสม่ำ�เสมอ และเีพียงพอ ตอ่ การเจริญเติบโต การใหไ้ มค่ วรมากเกนิ ไป อาจทำ�ให้เกดิ โรคโคนเนา่ ทีม่ า: http://www.vegetweb.com/ 2560 ภาพที่ 2.23 Celtuce lettuce ทีม่ า : http://www.agriexpo.online/agricultural-manufacturer/2-35

Floral Brochure ตน้ ออ่ นทานตะวนั ช่วยในการควบคมุ ระดับคอเลสเตอ รอลในร้่างกาย อุดมด้วยแคลเซยี ม คารโ์ บไฮเดรต และวิตามินตา่ งๆ สงิ่ ที่ต้องเตรยี ม -ถาดสำ�หรับปลูก เชน่ ถาด หรือตระกร้า -ดนิ (ดนิ สำ�หรบั ต้นอ่อน หรือดนิ จากร้านขายตน้ ไม้) -เมล็ดทานตะวัน ขัน้ ตอนท่ี 1 นำ�เมล็ดแช่ ข้นั ตอนท่ี 6 แยกถาด นำ้ � 4-6 ชม. ระหว่างแช่จะมฟี อง ออกไวใ้ นรม่ รดน้ำ�วันละ 2 คร้งั เช้า- อากาศซึง่ เกดิ จากนำ้ �เขา้ ไปในเมล็ด เย็น หลังจากนั้นเทน้ำ�ออก ขน้ั ตอนท่ี 7 เขา้ สวู่ ันท่ี 3 ขน้ั ตอนท่ี 2 นำ�เมล็ดบ่ม รดนำ้ �ตอ่ วันละ 2 ครงั้ เช้า-เย็น พอ ในผา้ ขนหนู ประมาณ 18-20 ชม. ประมาณ ทกุ ๆ 5 ชม. ให้คนกลบั ไปกลับมา ขั้นตอนท่ี 8 เข้าส่วู ันที่ 4 เมลด็ จะเรม่ิ งอกเป็นตุ่ม ๆ แสดงวา่ เรมิ่ รดนำ้ �บาง ๆ เพอื่ ให้ดินหลดุ จากใบ เพาะได้แล้ว ให้นำ�ดินใสถ่ าดท่เี ตรยี มไว้ สามารถเรม่ิ เก็บเมล็ดท่ตี ดิ ใบออกได้ ขั้นตอนที่ 3 โรยเมลด็ ลง รดน้ำ�เช้า-เยน็ ต่อ ดิน โดยไม่ให้หนา หรือบางจนเกนิ ไป ขัน้ ตอนที่ 9 เข้าสวู่ ันที่ 5 ขน้ั ตอนท่ี 4 โรยดนิ กลบ รดนำ้ �ตอ่ เช้า-เยน็ พอประมาณ บาง ๆ และรดนำ้ �พอชุม่ ขน้ั ตอนท่ี 10 เขา้ ส่วู นั ที่ ขนั้ ตอนที่ 5 นำ�ถาดมา 6-7 รดน้ำ�เช้า-เยน็ ปกติ และนำ�ออก ซ้อนกันประมาณ 1 คืน หลงั จากน้นั มารับแสงในวนั ทีจ่ ะตัด ตน้ จะเร่มิ ใหน้ ำ�ถาดออกมารดน้ำ�ตามปกติ เขียว สามารถตดั ได้ในวันที่ 6-7 หรอื มากกวา่ ก็ได้ แลว้ แตค่ วามยาวของตน้ ที่มา: https://www.organicfarmthailand.com/how-to-plant-sunflower-seedlings/ 2560 ภาพที่ 2.24 ตน้ ออ่ นทานตะวนั ทีม่ า : https://www.sentangsedtee.com/wp-content/uploads/2016/09/P1070051.jpg 2-36

Floral Brochureต้นออ่ นเจยีอดุ มไปดว้ ยกรดไขมนั โอเมกา-3 บำ�รงุสมอง มีสารตา้ นอนมุ ูลอสิ ระ ปอ้ งกันโรคมะเร็งสิง่ ท่ีต้องเตรียม -ถาดสำ�หรบั ปลกู เช่นถาด หรือตระกร้า -ดิน (ดินสำ�หรับตน้ อ่อนหรือดนิ จากร้านขายต้นไม)้ -เมลด็ เจยี ข้ันตอนท่ี 1 นำ�เมลด็ แช่ ข้ันตอนที่ 6 แยกถาดน้ำ� 4-6 ชม. ระหวา่ งแช่จะมีฟอง ออกไว้ในรม่ รดน้ำ�วันละ 2 คร้ัง เช้า-อากาศซง่ึ เกิดจากนำ้ �เข้าไปในเมลด็ เย็นหลังจากน้ันเทน้ำ�ออก ข้ันตอนท่ี 7 เข้าสูว่ ันที่ 3 ข้นั ตอนท่ี 2 นำ�เมลด็ บ่ม รดน้ำ�ตอ่ วันละ 2 คร้ัง เช้า-เยน็ พอในผ้าขนหนู ประมาณ 18-20 ชม. ประมาณทุก ๆ 5 ชม. ให้คนกลับไปกลบั มา ข้ันตอนท่ี 8 เขา้ ส่วู ันที่ 4เมลด็ จะเริ่มงอกเปน็ ตมุ่ ๆ แสดงวา่ เร่มิ รดนำ้ �บาง ๆ เพ่ือให้ดนิ หลุดจากใบเพาะไดแ้ ล้ว ใหน้ ำ�ดนิ ใส่ถาดท่ีเตรยี มไว้ สามารถเร่มิ เก็บเมลด็ ทีต่ ดิ ใบออกได้ ข้นั ตอนท่ี 3 โรยเมลด็ ลง รดน้ำ�เชา้ -เย็นต่อดิน โดยไม่ใหห้ นา หรือบางจนเกนิ ไป ขั้นตอนท่ี 9 เข้าสูว่ ันท่ี 5 ขน้ั ตอนท่ี 4 โรยดินกลบ รดนำ้ �ต่อเช้า-เยน็ พอประมาณบาง ๆ และรดนำ้ �พอชุ่ม ขนั้ ตอนที่ 10 เขา้ สู่วันที่ ขั้นตอนที่ 5 นำ�ถาดมา 6-7 รดนำ้ �เช้า-เย็นปกติ และนำ�ออกซอ้ นกันประมาณ 1 คนื หลังจากนั้น มารบั แสงในวันที่จะตัด ต้นจะเร่ิมใหน้ ำ�ถาดออกมารดนำ้ �ตามปกติ เขยี ว สามารถตดั ไดใ้ นวนั ท่ี 6-7 หรอื มากกวา่ ก็ได้ แลว้ แต่ความยาวของต้น ที่มา: https://www.organicfarmthailand.com/how-to-plant-sunflower-seedlings/ 2560 ภาพที่ 2.25 ตน้ อ่อนเจยี ท่มี า : https://ch.lnwfile.com/_/ch/_raw/ky/u6/23.jpg2-37


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook