Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1635005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป6-Update

1635005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป6-Update

Published by Cupasong02, 2021-07-06 05:31:12

Description: 1635005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป6-Update

Search

Read the Text Version

แบบทดสอบท่ี ๑ : กา ✗ คาํ ตอบท่ถี ูกทีส่ ุด ๑. เพลงปลุกใจ มเี นอ้� เพลงทที่ าํ ใหเกดิ ความ ๖. ทา ช้นี ว้ิ ลงพ้นื เปนทา ประกอบเพลงเราสู รสู กึ อยา งไร ทอนใด ก. รนั ทด ข. หดหู ก. มิใชเ บา ✗ค. คึกคัก ง. เศรา ใจ ข. สจู นตาย ๒. การเอามอื สองขา งไขวทาบอก เปนภาษาทา ✗ค. สูตรงน้� สูท่ีน� ขอใด ง. จนกา วเดยี ว ก. อาย ข. ตาย ๗. ขอ ใดไมใ ชล กั ษณะของทา ประกอบเพลงเราสู ค. โกรธ ✗ง. รัก ก. หนกั แนน ✗ข. ออนชอ ย ๓. จากภาพ เปนการทําทา ค. หาวหาญ ง. สงางาม ประกอบเพลงใด ๘. การใชน ้วิ ช้อี อกมาทําทาปาดทค่ี อ ผฉสู บอับน ก. เพลงกระตา ยกับเตา เปนทาประกอบเพลงเราสทู อ นใด ✗ข. เพลงเปดอาบนํ้า ✗ก. ถึงขฆู าลา งโคตรก็ไมหว�ัน ค. เพลงแมงอีฮุม ข. หนาทเ่ี รารักษาสืบไป ง. เพลงมา ควบ ค. เสียเลอื ดเสียเน้อ� ๔. การทาํ ทา ประกอบเพลง มีหลกั ในการเลือก ง. ปกบา นปอ งเมือง เพลงอยางไร ๙. การแสดงทา ประกอบเพลงเปนหมู ก. เน้อ� เพลงส้ันทส่ี ุด เนนเรื่องใด ข. เน้�อเพลงยาวทสี่ ดุ ก. ความเขมแขง็ ค. เน�้อเพลงเปน ภาษาองั กฤษทั้งหมด ข. ความออนชอ ย ✗ง. เน�อ้ เพลงบง บอกความหมายชดั เจน ✗ค. ความพรอ มเพรียง ๕. ขอ ใดไมใ ชลกั ษณะของเพลงปลกุ ใจ ง. ความทะมัดทะแมง ก. สรา งความสามคั คขี องคนในชาติ ๑๐. ทาประกอบเพลงเราสู นยิ มแสดง ✗ข. เนน เรอื่ งความรกั ของหนมุ สาววยั รนุ ในโอกาสใด ค. เนน ใหร ําลกึ ถึงบญุ คณุ ของบรรพบรุ ุษ ก. งานบวช ข. งานศพ ง. เนน ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  ค. งานวนั เกิด ✗ง. งานรน่ื เริง ๘๘ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

º··èÕ ò ¡ÒÃÍ͡Ẻ¡ºÑ ¡ÒÃáÊ´§ ขอบขายสาระการเรยี นรูแกนกลาง รายวชิ าศลิ ปะ ชั้น ป.๖ ตัวชี้วดั ช้นั ป สาระพ้นื ฐาน ความรูฝ ง แนนตดิ ตัวผูเรียน ● การออกแบบเครื่องแตงกายหรืออุปกรณ มฐ. ศ ๓.๑ (๒) ออกแบบเคร่อื งแตง กายหรอื ● นาฏศลิ ปไทยกบั การออกแบบ อุปกรณประกอบการแสดงอยา งงา ยๆ ประกอบการแสดง ควรคํานึงถึงความ เคร่อื งแตงกาย อุปกรณ และฉาก เหมาะสม และสอดคลอ งกับชุดแสดง ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ ผฉูสบอับน à¾×èÍ¹æ ¤Ô´ÇÒ‹ à¤ÃÍè× §áµ§‹ ¡Ò»ÃСͺ¡ÒÃáÊ´§ Á¤Õ ÇÒÁÊíÒ¤Ñ޵͋ ¡ÒÃáÊ´§ËÃ×ÍäÁ‹ ÍÂÒ‹ §äà ๘๙´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

เปนละครที่ไดแบบอยางมาจากละครของชาวตะวันตก แตยึดแนวละครในเปนหลัก และใชช อื่ วาละครดกึ ดาํ บรรพตามช่ือโรงละครของพระยาเทเวศนวงศว ิวัฒน ¹Ò¯ÈÅÔ »äŠ ·Â¡ºÑ ¡ÒÃÍ͡Ẻà¤ÃÍ×è §áµ§‹ ¡ÒÂ Í»Ø ¡Ã³ áÅЩҡ การแสดงนาฏศิลปไทยมีหลายประเภท เชน รํา ระบํา ฟอน ละครนอก ละครใน ละครดกึ ดาํ บรรพ โขน เปนตน ซ่ึงการแสดงแตล ะประเภทจะมีรูปแบบการแสดงท่แี ตกตา งกนั ออกไป นอกจากลีลาทารายรําที่ออนชอยสวยงามแลว การแตงกายของผูแสดง รวมถึง อปุ กรณและฉากประกอบการแสดง จดั ไดวาเปน หัวใจสําคัญทีเ่ พม่ิ เตมิ เสนห ใหก ารแสดงทกุ ชดุ สวยงามสมบรู ณแ บบยิง่ ขึ้น ผฉูสบอบั น ระบํากรับ ▲ เครอื่ งแตง กายในชุดการแสดงนาฏศิลปไทย เนน ความเปน ไทยและความงดงามตามลักษณะการแสดง จะเห็นไดว า การแตงกายของนาฏศิลปไทยมีลักษณะเฉพาะตัว ท่แี สดงเอกลกั ษณของ ความเปนไทยไดอยางชัดเจน ดังนั้นการเรียนรูเกี่ยวกับนาฏศิลปไทย จําเปนตองมีความรู ความเขา ใจเก่ียวกับการออกแบบเคร่อื งแตง กาย อุปกรณ และฉากประกอบการแสดงดว ย ๙๐ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

นอกจากหมายถึงเครือ่ งทรงของกษตั รยิ แลว ยงั หมายถงึ ของใช ของเสวย สําหรับพระเจาแผนดนิ อีกดวย ๑. การออกแบบเคร่อื งแตงกายประกอบการแสดง การแตงกายนาฏศิลปไทยโดยเฉพาะโขนมีความงดงาม และมีกรรมวิธกี ารประดิษฐ ท่ีวิจิตรบรรจง เพราะจําลองมาจากเครื่องทรงของกษัตริย (เครื่องตน) แลวนํามาพัฒนาให เหมาะสมกับการแสดง เชน ตัวพระ ตัวนาง ลิง และยกั ษ เปน ตน ตวั พระ ตวั นาง ยกั ษ ลิง ▲ เคร่อื งแตง กายผแู สดงโขน เนน ความวิจติ รบรรจงตามแบบอยางของเครือ่ งทรงกษัตริย เชน สําหรับเคร่ืองแตงกายตัวพระและตัวนางนี้ จะใชแตงกายสําหรับผูรําในระบํามาตรฐาน ผฉสู บอับน ระบาํ ดาวดงึ ส ระบํากฤดาภนิ หิ าร ระบําสบ่ี ท เปนตน และยังใชแตงกายสําหรบั ผูแสดงละคร นอก และละครใน สวนระบําเบ็ดเตล็ด ระบาํ โบราณคดี หรือระบาํ สตั วตางๆ จะใชเครอ่ื งแตง กาย ใหถูกตอ งตรงตามรปู แบบของระบํานน้ั นอกจากน้ี ยังมกี ารแสดงทเ่ี ปน การแสดงนาฏศลิ ปพน้ื เมือง ของทอ งถ่นิ ตา งๆ ตอ งแตง กายใหสวยงามถูกตอ งตามวฒั นธรรมของทอ งถน่ิ นนั้ ๆ ▲ เครือ่ งแตงกายของผแู สดงระบาํ กฤดาภินิหาร เนนความถกู ตอ งตามรูปแบบเคร่ืองแตง กายของตัวพระและตัวนาง คือ การแสดงทีป่ ระดษิ ฐข นึ้ ใหม ตามความคิด ตามเหตุการณ ตามสมัย ๙๑´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö และตามเน้ือเรื่องท่ีผปู ระพันธตองการ

๒. การออกแบบอุปกรณป ระกอบการแสดง ▲▲ การแสดงนาฏศิลปไทย นอกจากมเี คร่อื งแตงกายท่สี วยงามถูกตอ งตามรปู แบบของ การแสดงแตละชุดแลว การแสดงบางชุดอาจมีอุปกรณอ่ืนๆ ประกอบการแสดงเพ่ือความ สวยงาม สมจรงิ และทําใหการแสดงสมบูรณแ บบนา ชมมากย่งิ ขนึ้ การใชอุปกรณในการแสดง นาฏศิลปบ างชดุ ถือเปน เอกลกั ษณข องการแสดงชดุ นน้ั ๆ ดงั ตวั อยา ง คําวา ตารี แปลวา ราํ คําวา กปี ส แปลวา พดั ระบํา ตารกี ีปส เปน การแสดงของชาวไทยมุสลิม ท่มี ชี ่อื เสยี ง เปนของ จ. ปตตานี ระบําตารีกปี ส ใชพัดโบกสะบดั ดูพรวิ้ ไหว เพ่ิมเสนห  ตรึงใจผชู ม ผฉูสบอับน กระโป เปน ภาษาพื้นเมืองภาคอสี าน แปลวา กะลามะพรา ว เซิ้งกระโป ใชกะลามะพราวตีกระทบกัน ▲ เกิดเสยี งดัง เราความสนใจผชู ม เตน กําราํ เคยี ว ใชเ คยี ว งอบ และรวงขาว ประกอบ ดูกลมกลืนสวยงาม ๙๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

การออกแบบอุปกรณประกอบการแสดง ตองคํานึงถึงรูปแบบหรือลักษณะเดนของ การแสดงน้ันเปนหลักเพื่อใหเขากับชุดการแสดง ซึ่งนักเรียนสามารถคิดออกแบบ และลงมือ ประดิษฐอุปกรณประกอบการแสดงได โดยเลือกใชวัสดุท่ีมีในทองถิ่น หาไดงาย ราคาไมแพง ไมเ ปนอันตราย และเปน มิตรกับสง่ิ แวดลอ ม ดงั ตัวอยาง ดังน้ี ๑. การประดิษฐเ ล็บยาวใชแสดงฟอนเล็บ อุปกรณ ๑. กระดาษตะก่ัวสเี งิน หรือสีทอง ๒. กรรไกร ๓. กาว วธิ ีทาํ ๑๒ ผฉสู บอับน ตัดกระดาษใหม ขี นาด ๑๐x๑๒ เซนติเมตร วางน้ิวช้ีที่มุมกระดาษ แลวมวนกระดาษ จํานวน ๘ แผน (เทา กบั จาํ นวนเล็บทต่ี อง ตามนิ้วใหเปนรูปกรวยแหลม ใหมีขนาด สวม) กระชับนิ้วทจี่ ะสวม ๓ ๔ ติดกาวใหแนน แลวจัดปลายเล็บใหโคง ผลงานสาํ เร็จ งอนขนึ้ ตกแตงใหสวยงาม หมายเหตุ : การทําเล็บยาว นอกจากใชประกอบฟอนเล็บแลว ยังสามารถดัดแปลงไปใชประกอบ การฟอ นภูไทได โดยตกแตง ปลายเลบ็ ดว ยพทู ที่ าํ จากดายสแี ดงหรือสอี ่ืนๆ ๙๓´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

๒. การประดษิ ฐแวน เทยี นใชแสดงรําเชญิ พระขวญั อปุ กรณ ๑. กระดาษตะกัว่ สเี งินหรอื สที อง ๒. กรรไกร ๓. ลวดเสนเลก็ ๔. เทยี น ๕. กาว วิธที ํา ๑๒๓ ผฉูสบอับน ขดลวดใหเปนรูปกลีบดอกบัว ทากาวทล่ี วด นาํ ไปตดิ บน ทากาวที่ขอบกระดาษแลวพับ กระดาษและตดั เปนรปู ราง ตดิ กับลวด ตามขดลวด ๖ ๔๕ พนั ลวดตดิ กบั ดามเทียน และใช ดัดแวนเทียนใหง อสวยงาม ผลงานสาํ เรจ็ กระดาษพนั รอบดา มเทียน à¾×è͹æ Åͧ¤´Ô ÍÍ¡áººÍØ»¡Ã³Í ×è¹æ Í¡Õ ¹Ð¤ÃºÑ ઋ¹ ¹íÒ¡ÐÅÒÁоÃÒŒ Ç ÁҢѴ´ÇŒ ¡ÃдÒÉ·ÃÒÂáÅÇŒ ·ÒÊÕ ãªŒ»ÃСͺ¡ÒÃáÊ´§à«éÔ§¡ÃÐ⻉ ËÃÍ× ã¤Ã Á¤Õ ÇÒÁ¤´Ô ãËÁæ‹ ¡¹ç Òí àʹÍáÅ¡à»ÅÕÂè ¹¤ÇÒÁáٌ ѹ¹Ð¤ÃºÑ ... ๙๔ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๓. การออกแบบฉากประกอบการแสดง การแสดงนาฏศิลปไทยท่ีมีความสวยงาม โดดเดน และกลมกลืนกันอยางสมบรู ณ นอกจากผูแสดงจะสวมเครื่องแตงกาย และใชอุปกรณประกอบการแสดงที่สวยงาม ครบถวน ถูกตอง และเขากับชุดการแสดงแลว การออกแบบฉากใหเหมาะสมกับการแสดง ก็เปน สิ่งสาํ คญั ท่ีจะชวยใหก ารแสดงสวยงามและนา สนใจย่งิ ขนึ้ ผฉสู บอับน ▲ ฉากการแสดงโขน เนน ใหส อดคลองกบั เหตกุ ารณตามเนอื้ เร่ืองรามเกยี รต์ิ การออกแบบฉากประกอบการแสดง ตองใชองคประกอบหลายอยางประกอบกัน เพ่ือใหไดฉากท่ีเหมาะสมที่สุด โดยคํานึงถึงการแสดงเปนหลัก ซึ่งผูจัดการแสดงอาจเลือกใช ฉากจากสถานที่จริง เชน ทุงนา วัด ทุงหญา ทุงดอกไม หรือโบราณสถานที่มีอยูในทองถิ่น หรืออาจเลือกใชฉากที่ตกแตงโดยจําลองจากสภาพจริงมา เชน การจัดเวทีการแสดง ซ่ึงผูจัด ควรตรวจสอบความมน่ั คงแข็งแรงของเวทีกอนการแสดง เพ่อื ความปลอดภัยของผแู สดง ๙๕´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑ คนควา ขอมลู เกี่ยวกบั การแสดงนาฏศิลปไทย คนละ ๑ ชดุ แลวบนั ทึกขอมลู พรอม(กตับวั ตอดิยภา งา)พประกอบ (ติดภาพ) (ภาพเซิ้งกระติบขา ว) ผฉสู บอับน ๑) ชอ่ื ชดุ การแสดง เซิง้ กระตบิ ขา ว……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒) นกั เรียนคดิ วา การแสดงน้�มกี ารออกแบบในดานตางๆ อยางไรบา ง (๑) เคร่ืองแตง กาย ❍✓ ดี ❍ พอใช ❍ ควรปรับปรงุ เพราะ ………แ…ต…ง…ก……า…ย…แ…บ……บ…พ…นื้……เ…ม…ือ…ง…ภ…า…ค……อ…สี …า…น………ส……อ…ด……ค…ล…อ……ง…ก…ับ……ช…ดุ …ก…า…ร…แ……ส…ด…ง………………….....................………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (๒) อปุ กรณก ารแสดง ❍✓ ดี ❍ พอใช ❍ ควรปรับปรุง เพราะ ………ม…ีก…ร……ะ…ต…ิบ…ข…า…ว…ป……ร…ะ…ก…อ…บ……ก…า…ร…แ…ส……ด…ง………เ…ห…ม…า…ะ…ส…ม……ก…ับ……ช…ุด…ก…า…ร……แ…ส…ด…ง………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (๓) ฉากประกอบการแสดง ❍ ดี ❍✓ พอใช ❍ ควรปรบั ปรงุ เพราะ ………ใ…ช…ฉ …า…ก……บ…น……เว…ท……ีป…ก…ต……ิ …ไ…ม…ไ…ด……ต …ก…แ…ต……ง …เพ……มิ่ …เ…ต…ิม…เ…ป…น……ฉ…า…ก……ท…อ …ง…ท……ุง …น…า……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒ แบง กลุม ออกแบบเครื่องแตง กาย อุปกรณ และฉากประกอบการแสดงนาฏศิลปไ ทย กลมุ ละ ๑ ชุดการแสดง จดั ทําเปน รายงาน พรอ มกบั ตดิ ภาพประกอบ แลว ออกมารายงานหนาชนั้ เรียน ขึน้ อยูกับดลุ ยพินิจของผสู อน ๙๖ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ»ÃШӺ· ออกแบบและประดิษฐอุปกรณการแสดงนาฏศิลปหรือการละครมา ๑ ชิ้น แลวออกมาสาธิตวิธีใช (ตวั อยาง) หนาช้นั เรยี น มฐ./ตัวชี้วดั ศ3.1 (2) ๑) ฉนั เลือกประดษิ ฐ ❍ เล็บยาว ❍ แวน เทยี น ❍✓ อื่นๆ …ก…ะ…ล……า…ม…ะ…พ…ร…า…ว…… ซึ�งใชป ระกอบการแสดง เซ้ิงกระโป……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒) อุปกรณในการทาํ ไดแก กะลามะพราว กระดาษทราย สสี เปรย (สีขาว)………………………………………………………………………………………………………………………………………............................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓) วธิ ที าํ ………๑….……น…ํา…ก……ะ…ล…า…ม…ะ…พ……ร…า …ว…ท…ปี่ …อ……ก…เ…ป…ล…ือ……ก……แ……ล…ว…ม…า…ข…ัด…ด……ว …ย…ก…ร……ะ…ด…า…ษ…ท……ร…า…ย…ใ…ห…เ…ก…ล……ีย้ …ง.เ...น.....ยี.....น......................... ๒. พน สสี เปรยตรงดา นนอกใหเ ปน สขี าว…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓. นาํ ไปตากแดดใหแ หง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔) ภาพผลงานอปุ กรณป ระกอบการแสดงของฉัน ผฉสู บอับน (วาดภาพหรือติดภาพ) (ภาพกะลามะพราวท่ีทําเสรจ็ แลว ) ๕) ผลการสาธิตการใชอุปกรณ ❍✓ พอใจ ❍ ไมพ อใจ เพราะ ใชแ สดงเซงิ้ กระโปไ ดด ี………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๙๗´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

แบบทดสอบท่ี ๒ : กา ✗ คําตอบท่ถี ูกทสี่ ุด ๑. ขอ ใดมสี ว นชวยใหการแสดงนาฏศลิ ปไทย ๖. จากภาพ ใชว สั ดุใด สวยงามนา ชม ในการประดษิ ฐ ก. นสิ ัยของผแู สดง ข. เครือ่ งแตง กาย ✗ก. กระดาษตะกั�ว ข. เศษผา ค. ฉากการแสดง ค. เทยี น ง. ลวด ✗ง. ถูกท้งั ขอ ข. และ ค. ๗. การประดิษฐแวนเทียน ตองขดลวดใหเปน ๒. เครอื่ งแตง กายของการแสดงชดุ ใด จําลอง รปู ใด แบบมาจากเคร่อื งทรงของกษตั ริย ก. ข. ก. ฟอนเล็บ ✗ข. โขน ✗ง. ค. ระบาํ รองเง็ง ง. เซิง้ กระตบิ ค. ๓. เคร่อื งแตง กายของการแสดงพ้นื เมอื ง ควรมี ๘. การประดิษฐเล็บยาว นอกจากใชประกอบ ลักษณะตามขอ ใด ผฉูส บอับน ก. สงางามตามแบบเครื่องทรงของกษัตริย การฟอนเล็บ ยังสามารถปรบั ใชในการแสดง ข. หรูหรา ใชเคร่ืองประดบั แบบโบราณแท ขอ ใด ✗ค. สวยงามถูกตอ งตามวัฒนธรรมทอ งถิ�น ก. ระบาํ เชญิ พระขวัญ ง. ดแู ปลกใหม สสี นั สวยงาม ข. ฟอ นเทียน ๔. การแสดงระบาํ ลพบุรี ควรใชฉ ากตามขอ ใด ✗ค. ฟอนภูไท ก. เปนทอ งทุงนา มกี องฟาง ง. เซ้ิงสวงิ ข. เปนทงุ ดอกไมก วา งใหญ ๙. ขอใดเปนอุปกรณป ระกอบการแสดงรําอวยพร ค. เปนอาคารหรือตกึ สงู ก. เทยี น ✗ข. พาน ✗ง. เปนโบราณสถาน ค. ดอกบวั ง. เล็บยาว ๕. การแสดงระบําสัตวตา งๆ ไมควรเลือกใช ๑๐. เมอื่ จดั เวทกี ารแสดงเสรจ็ แลว ผูจดั ควร อปุ กรณในขอใด ปฏบิ ตั ิอยางไรเปน อนั ดบั แรก ✗ก. ชฎา ก. ตรวจสอบความพรอ มของนกั แสดง ข. ปก นก ข. ตรวจสอบความพรอ มของเครื่องเสียง ค. หนากากลิง ค. เปด การแสดงบนเวทีทันทเี พอ่ื ดงึ ดูดผชู ม ง. หมวกหัวมา ✗ง. ตรวจสอบความม�นั คงแข็งแรงของเวที ๙๘ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

º··èÕ ó ¡ÒÃáÊ´§¹Ò¯ÈÔŻአÅСÒÃÅФà ขอบขายสาระการเรยี นรูแกนกลาง รายวชิ าศิลปะ ช้ัน ป.๖ ตวั ชวี้ ดั ช้ันป สาระพ้ืนฐาน ความรฝู ง แนน ติดตัวผูเ รียน มฐ. ศ ๓.๑ (๓) แสดงนาฏศลิ ปและละครงา ยๆ ● การแสดงนาฏศลิ ปไทย ● การแสดงนาฏศิลปไทย ควรเนนลีลาที่ มฐ. ศ ๓.๑(๔) บรรยายความรสู กึ ของตนเองท่ี ● บทบาทและหนาที่ในงานนาฏศิลป มตี อ งานนาฏศลิ ปแ ละการละครอยา งสรา งสรรค ออนชอย สวยงาม ตามแบบฉบับการ และการละคร แสดงนาฏศิลปไทยท่ีมีเอกลักษณท่ี โดดเดน และสวยงาม ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ ผฉสู บอับน ãËàŒ ¾è×Í¹æ ´ÀÙ Ò¾áÅŒÇÅͧª‹Ç¡¹Ñ à´ÒÇÒ‹ ¼ŒÙáÊ´§àŹ‹ ໹š µÑÇÅФÃã´ºÒŒ § Êѧࡵ¨Ò¡ÊÔè§ã´ ๙๙´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

ñ. ¡ÒÃáÊ´§¹Ò¯ÈÔÅ»äŠ ·Â เปนการละเลนพื้นบานของไทยบางทองถ่ินในภาคกลาง นิยมเลนในฤดูเทศกาลตางๆ ๑. ราํ วงมาตรฐาน โดยชาวบานประดษิ ฐท า ราํ และเรยี กช่ือตามเครอ่ื งดนตรีท่ชี ่ือวา โทน จงึ เรียกวา รําโทน รําวง เปนการละเลนเพ่ือความสนุกสนานและสรางความสามัคคีของคนภาคกลาง แตเดิมเรียกวา รําโทน เน่ืองจากใชโทนตีประกอบจังหวะ ตอมาไดพัฒนาเปน รําวงพื้นบาน และมีการขับรองเพลงประกอบ ซึ่งใชทารํางายๆ ไมมีแบบแผน โดยย่ําเทาใหลงตามจังหวะ โทน ตอมากรมศิลปากรไดปรับปรุงและกําหนดบทเพลง ทารํา และลักษณะการแตงกายใหมี แบบแผนเปน มาตรฐานข้นึ โดยใชร ปู แบบนาฏศลิ ปไทยเปน แบบ เรยี กวา ราํ วงมาตรฐาน ÁÒÃŒ¨Ù Ñ¡à¾Å§áÅз‹ÒÃíÒ»ÃСͺÃíÒǧÁҵðҹ áÅÇŒ ÁÒ½ƒ¡ÃÒí ¡Ñ¹àŤЋ ผฉูสบอับน เพลงรําวงมาตรฐาน ชาย ทารําประกอบ ๑ เพลงงามแสงเดอื น สอดสรอ ยมาลา หญงิ สอดสรอยมาลา ๒ เพลงชาวไทย ชกั แปงผดั หนา ชกั แปงผัดหนา ๓ เพลงราํ มาซมิ ารํา รําสาย รําสาย ๔ เพลงคนื เดอื นหงาย สอดสรอยมาลาแปลง สอดสรอ ยมาลาแปลง ๕ เพลงดวงจนั ทรวันเพญ็ แขกเตา เขา รังและผาลาเพยี งไหล แขกเตาเขารังและผาลาเพยี งไหล ๖ เพลงดอกไมข องชาติ รําย�ัว รํายั�ว ๗ เพลงหญงิ ไทยใจงาม พรหมส่หี นา และยูงฟอนหาง พรหมสหี่ นา และยงู ฟอ นหาง ๘ เพลงดวงจันทรขวญั ฟา ชางประสานงาและจนั ทรท รงกลด ชา งประสานงาและจันทรทรงกลด ๙ เพลงยอดชายใจหาญ จอเพลิงกาฬ ชะน�รายไม ๑๐ เพลงบูชานกั รบ จันทรท รงกลดและขอแกว ขัดจางนางและลอ แกว ๑๐๐ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

¡ÒÃÃíÒǧÁҵðҹ ÁÇÕ Ô¸»Õ ¯ÔºÑµÔÃÇ‹ Á¡Ñ¹ ´Ñ§¹Õ餋Рวิธีราํ วงมาตรฐาน ๑) ชายและหญิงทาํ ความเคารพดวยการไหวกอ นเริ�มรํา และหลังการราํ ๒) กอ นรําแตล ะเพลง ใหดนตรีนํา ๑ วรรค เพอื่ ใหก าวเทาในจังหวะแรกพรอ มกนั ๓) ราํ ใหพ รอมเพรียงกนั และคอยจัดระยะคูใหพ อเหมาะ ไมหางหรือชดิ กนั มาก ¡ÒÃáµ§‹ ¡ÒÂÃÒí ǧÁҵðҹ ÁÕ ô Ẻ ¤×Í áºº¾é¹× ºÒŒ ¹ ẺÃѪ¡ÒÅ·Õè õ ẺÊҡŹÔÂÁ áÅÐẺÃÒµÃÕÊâÁÊà ▲ แบบพ้นื บา น ▲ แบบรชั กาลท่ี ๕ ผฉสู บอับน ตัวอยา ง การแสดงรําวงมาตรฐาน ราํ วงมาตรฐานประกอบเพลงคืนเดือนหงาย เนอ้� รอง คาํ อธบิ ายทารํา “ยามกลางคืนเดอื นหงาย” (ทาที่ ๑) มือขวาต้ังวงสูง มือซายจีบหงาย ที่ชายพก เอียงศีรษะทางซาย วางเทาขวา ลงหลัง เปดสนเทาตรงคําวา “เดือนหงาย” หันหนาเขา วง “เย็นพระพายโบกพล้ิวปลิวมา” (ทาท่ี๒) วางเทาขวาลงเต็มเทา ยกเทาซาย กา วไปขา งหนา กาวเทา ขวาแลวเทา ซายวาง หลัง (เปดสนเทา) ตั้งวงบน สวนมือขวาจีบ ท่ีชายพก เอยี งศรี ษะทางขวา “เยน็ อะไรก็ไมเยน็ จติ ” ปฏิบตั เิ หมือนทาท่ี ๑ “เทาเยน็ ผกู มิตรไมเ บือ่ ระอา” ปฏิบัตเิ หมอื นทา ท่ี ๒ “เย็นรม ธงไทยปกไทยท�วั หลา ” ปฏบิ ัติเหมือนทา ที่ ๑ ▲ ทาราํ สอดสรอ ยมาลาแปลง “เย็นย่ิงน้าํ ฟา มาประพรมเอย” ปฏบิ ัติเหมอื นทาที่ ๒ ๑๐๑´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๒. ระบาํ เปนสัตวกึ่งเทพ ตามคติไทยโบราณ เช่ือวาครุฑเปนพญาแหงนกที่เปนพาหนะของพระนารายณ อาศัยอยทู ่ีวิมานฉมิ พลี มลี กั ษณะครงึ่ คนคร่ึงนกอนิ ทรี ไทยใชค รฑุ เปนตราแผน ดนิ ของไทย เปน สัญลักษณแสดงพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย ผเู ปน ประมุข ระบํา เปนศลิ ปะการรําทมี่ ีผแู สดงพรอ มกันเปนหมหู รอื เปน ชดุ ไมด าํ เนนิ เรือ่ งราว ใชเพลงบรรเลงโดยมีเน้�อรองหรือไมมีก็ได ในขณะแสดงจะมีการแปรแถวในลักษณะตางๆ อยางสวยงาม และเนนความพรอ มเพรยี งเปนหลัก การแสดงระบาํ แบง ออกไดเ ปน ๒ ประเภท คือ ๑) ระบาํ เบ็ดเตล็ด หมายถงึ ระบาํ ท่ีไดปรับปรุงข้ึนใหม โดยคาํ นงึ ถึงความเหมาะสม ตอ การนําไปใชแสดงในโอกาสตางๆ เชน ระบําฉง�ิ ระบําเกบ็ ใบชา ระบาํ จนี -ไทยไมตรี เปน ตน ๒) ระบําประกอบการแสดงละคร เปน ระบําที่ฝก หัดกนั เพอื่ ใหเปน แบบมาตรฐานท่ี มีมาแตโบราณและใชประกอบการแสดงละคร เชน ระบําไก ระบําครุฑและนารายณทรงครุฑ เปน ตน การแสดงระบําดอกบัว ÃкíÒ´Í¡ºÑÇ à»š¹ÃкíÒ·èÊÕ Ç§ÒÁ áÅÐÁ·Õ ‹ÒÃíÒäÁ‹ÂÒ¡ ¼áŒÙ Ê´§¨Ð¶×Í´Í¡ºÇÑ ÍÍ¡ÁÒÃíÒ à¾Íè× áÊ´§¤ÇÒÁà¤ÒþáÅÐ ผฉสู บอบั น µÍŒ ¹ÃѺ¼ÙÁŒ ÒàÂ×͹ การแตง กาย อปุ กรณ เครอ่ื งดนตรี นุงผาถุง หมสไบเฉ�ยงสองชาย ดอกบวั ประดิษฐ วงปพ าทยเ ครอ่ื งหา และใสเ คร่อื งประดับ หรอื อาจใชด อกบวั จรงิ เพลงประกอบการแสดงระบาํ ดอกบัว เหลาขาคณาระบํา รอ งรํากนั ดวยเริงรา ฟอ นสา ยใหพ ิศโสภา เปนทีทา เยอื้ งยาตรนาดกราย ดวยจิตจงรักภกั ดี มิมีจะเหนอ่ื ยแหนงหนา ย ขอมอบชวี ติ และกาย ไวใตเบื้องพระบาทยุคล เพอื่ ทรงเกษมสราญ และชื่นบานพระกมล ถวายฝายฟอนอบุ ล ลว นวจิ ติ รพิศอําไพ อันปทมุ ยอดผกา ทศั นากว็ ิไล งามตระการดาลหทัย หอมจรงุ ฟุง ขจร คลา ยจะยวนเยาภมร บนิ วะวอ นฟอนสคุ ันธ ๑๐๒ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

ทาประกอบการแสดงระบําดอกบัว ๑ ➡ (ทา ออก ซอยเทา ยดื ยบุ ตามจังหวะ แลว ไขวม อื ระดบั อก รอเพลงเร่ิม) ๔ เหลา ขา ๒๓ ๕ คณาระบํา ๖ รอ งราํ ๗ กนั ดว ยเริงรา ผฉสู บอับน ๘ ฟอ นสา ย ๙ ใหพ ิศโสภา ๑๐ เปนทีทา เยอื้ งยาตรนาดกราย ดวยจิตจงรักภักดี มมิ ีจะเหน่ือยแหนงหนา ย ๑๐๓´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๑๑ ๑๒ ๑๓ ขอมอบชีวิตและกาย ไวใ ตเบอื้ งพระบาทยคุ ล เพื่อทรง ๑๔ ๑๕ ๑๖ ผฉสู บอับน ๑๗ เกษมสราญ ๑๘ และชื่นบานพระกมล ๑๙ ถวายฝายฟอนอุบล ๒๐ลวนวิจติ รพิศอําไพ อนั ปทมุ ยอดผกา ๒๑ ๒๒ ทัศนากว็ ิไล งามตระการดาลหทัย หอมจรงุ ฟุง ขจร ๑๐๔ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

๒๓ ๒๔ คลายจะยวนเยาภมร บนิ วะวอนฟอนสคุ นั ธ ๒๕ ๒๖ (เดินเปน วงกลมตามจงั หวะบรรเลงจนจบ) (ทาจบ) ผฉูส บอับน ๓. ฟอน เปนการแสดงของชาวไทยใหญ คําวา กิงกะหรา เปน คาํ เดียวกนั กับกนิ นร ซงึ่ มีลกั ษณะคร่ึงคนคร่ึงนก ทอ นบนเปน คน ทอ นลางเปน นก ฟอน เปนศิลปะการแสดง โดยการสรางสรรคกิริยาทาทางตางๆ ใหเคลื่อนไหว แขน ขา มือ เทา อยางสวยงาม เนนความออ นชอ ยตามทวงทาํ นองดนตรหี รอื บทขบั รองดวย จังหวะชาๆ ถือเปนศลิ ปะการรายรําเฉพาะของทอ งถ�ินภาคเหนอ� และภาคอสี าน ¡Òÿ͇ ¹ÁÕËÅÒ»ÃÐàÀ· àÃÒÁÒ´¡Ù ѹÇÒ‹ ¡Òÿ‡Í¹·Õàè ÃÒÌ٨¡Ñ ¨´Ñ ÍÂÙã‹ ¹»ÃÐàÀ·ã´ºŒÒ§ ประเภทของการฟอ น ๑) ฟอ นทีส่ บื เนอ� งจากการนบั ถือผี เชน ฟอ นผมี ดผแี มง เปนตน ๒) ฟอ นแบบพ้ืนเมือง เชน ฟอ นเล็บ ฟอนเทียน ฟอ นสาวไหม เปน ตน ๓) ฟอนแบบมาน เชน ฟอนมานมยุ เชยี งตา เปนตน ๔) ฟอนแบบเงีย้ ว หรือแบบไทยใหญ เชน ฟอนเงย้ี ว ฟอ นกงิ กะหรา เปน ตน ๕) ฟอนทป่ี รากฏในบทละคร เชน ฟอ นมานมงคล ฟอนลาวแพน เปนตน ๑๐๕´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

การแสดงฟอนเล็บ ¿Í‡ ¹àÅçº ¨Ñ´Í‹ãÙ ¹»ÃÐàÀ· ¡Òÿ͇ ¹áºº¾¹é× àÁ×ͧ¢Í§ÀÒ¤à˹Í× ÁÕÅÕÅÒ·Ò‹ ÃíÒ§´§ÒÁ ¨§Ñ ËÇЪŒÒ ¹‹ÁØ ¹ÇÅ ·íÒãËàŒ ¤ÅÍ×è ¹äËÇä´ÍŒ ÂÒ‹ §ÊǧÒÁ ¹‹ÒªÁ เคร่อื งแตงกาย อปุ กรณ เคร่ืองดนตรี นุงผาซิ�น เส้ือคอกลมแขนยาว ปลอกเลบ็ ยาว กลองแอว ฆอ ง ฉาบ หมสไบทับ เกลาผมมวยสูง ทาํ จากทองเหลือง กลองตะโลด โปด ปแน ตดิ ดอกไม หอยอบุ ะ ผฉสู บอับน ทาประกอบการฟอนเล็บ ๑) มือทั้งสองจีบสงหลังและเหยียดตึง เอียงศีรษะดานขวา หันตัวทางซาย แตะ เทา ขวาไปขางหนา เลก็ นอย แลว คอ ยๆ หมุนมาทางดา นขวา ๒) ประเทาซาย แขนท้ังสองยังอยูในทาท่ี ๑ เอียงขวาแลวกาวลง สงมือท้ังสอง มาจบี ขา งหนาใหข อ มอื ชนกัน เอียงซาย ๓) เดินยํ่าตามจังหวะ มือทั้งสองคอยๆ คลายจีบออก เอียงศีรษะทางซาย หมุน ขอมอื แลวมว นจีบเหมือนทา ที่ ๒ คอยๆ ยํ่าเทาหมุนไปทางซา ย ๘ จังหวะ แลว หมุนกลบั มา ทางขวา ๘ จังหวะ โดยมอื ปฏิบตั ิในลกั ษณะเดมิ เอยี งซา ย ๑ ๒๓ ๑๐๖ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๔) มือขวาจีบหงาย มอื ซา ยตั้งวง แขนทงั้ สองตงึ ระดบั ไหล เอยี งซาย ยํ่าเทา ตาม จงั หวะหมนุ ไปทางซา ย ๘ จงั หวะ ๕) มือซายจีบหงาย มือขวาต้ังวง แขนตึงระดับไหล เอียงซายพรอมกับยํ่าเทา ตามจังหวะ หมนุ ไปทางขวา ๘ จังหวะ ๖) มอื ซายคลายจีบออกแลว ใหต ง้ั วงสงู มือขวาตั้งวง แขนตงึ ระดับไหล เอียงซา ย ย่ําเทาตามจังหวะ ๘ จังหวะ ๔๕๖ ผฉสู บอบั น ๗) มือท้ังสองจีบคว่ําแลวหงายจีบข้ึน โดยใหมือขวาจีบหงายอยูในระดับชายพก มือซายจีบหงายงอแขนอยูข า งลาํ ตัวระดบั เอว เอียงซา ย ย่าํ เทา ตามจงั หวะ หมุนตัวไปทางซา ย ๗ ๘ จังหวะ ๘) ปฏบิ ัตเิ ชน เดียวกับทาท่ี ๖ แตสลบั ขา งกัน ๙) ปฏบิ ตั ิเชน เดยี วกบั ทาท่ี ๗ แตสลับขางกัน ๑๐๗´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๑๐) ทั้งสองแถวทําทาสอดสรอ ยมาลา แถวขวา มือซา ยตั้งวงสงู มอื ขวาจีบหงายท่ีชายพก เอียงขวา แถวซา ย มือขวาตง้ั วงสงู มอื ซา ยจบี หงายทช่ี ายพก เอียงซาย ทั้งสองแถวเดินข้ึนไปขางหนา ๘ จังหวะ แลวแยกแถวเดินลงไปขางหลัง ๘ จังหวะ ๑๑) แถวขวา มือซายจีบหงายอยูระดับสูง มือขวาจีบหงายอยูระดับเอว เอียงขวา เทา ขวากา วไขว แถวซาย มือขวาใหจีบหงายอยูระดับสูง และมือซายจีบหงายระดับเอว เอียง ซาย เทาซา ยกา วไขว ท้ังสองแถวเดินตามจงั หวะ ๘ จงั หวะ ๑๐ ๑๑ ผฉูสบอับน ๑๒) มือทั้งสองตงั้ วงขางหนา ระดบั อกเดินยํา่ ขน้ึ ไปขางหนา ๘ จังหวะ ๑๓) มอื ทง้ั สองจบี สง หลงั แขนตึง ยํา่ เทา ถอยหลงั ๘ จังหวะ เอยี งศรี ษะขางเดยี ว กับเทาที่ถอยหลงั ๑๔) หันหนา ตรง เทาซายกา วไปขา งหนา มอื ท้งั สองจบี ขอ มอื ชนกัน (เหมอื นทา ท่ี ๒) แลวหมุนขอมือคลายจบี ยืด ยุบเขา จากนัน้ มว นมือวางบนหนาขา ยืด ยุบเขา ๑๒ ๑๔ ๑๐๘ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

๔. ละครสรางสรรค การแสดงละครหุน จัดเปนละครสรางสรรคประเภทหนึ่ง ที่ตองอาศัยความ สามารถของคนเชดิ หนุ ใหม ลี ีลาทาทางตางๆ ตามบทบาทของตัวละครนั้น เพื่อสื่อใหผชู มรับรู และเขา ใจความหมายตลอดจนเน้ือเรอื่ งทต่ี อ งการจะแสดง หุนนิ้วมือ เปนหุนขนาดเล็ก มีหลายชนิด เรยี กตามวสั ดุที่ใชใ นการประดิษฐ เชน หุนนิ้วมอื กระดาษ หนุ น้ิวมอื ผา เปน ตน เนอ่ื งจากมขี นาดเล็ก นา้ํ หนกั เบา สีสนั สดใสนารัก จงึ นิยมใชแ สดงประกอบนทิ าน โดยเอา หุนใสไวที่นิ้วมือ แลวกระดิกไปมาแทนการเคลื่อนไหว ของหุน ซึ่งนักเรียนสามารถประดิษฐหุนนิ้วมือ แลวนํา ▲ หุนนิว้ มือ จดั เปนการแสดงที่ใหค วามบันเทงิ มาใชใ นการแสดงได แกเ ด็กๆ โดยใชอ ุปกรณไมมาก ๑ การเลือกเร่ืองแสดง นักเรียน ๒ การเลอื กตวั หนุ เลอื กตวั หนุ ให ผฉสู บอบั น ควรเลือกเรื่องท่ีมีประโยชน ใหขอคิด เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง บทบาทของตัว ตางๆ และใชเวลาแสดงไมมากนัก ละคร ซ่ึงนักเรียนอาจจะประดิษฐหุน เนอ้ื เรื่องไมซับซอน และไมใชตวั ละคร เองได โดยใชวัสดุเหลือใช ซึ่งจะชวย มากเกินไป ควรเปนเรื่องที่มีการ ประหยัดคาใชจาย และฝก การใชค วาม ดําเนินเรื่องอยา งงายๆ คิดสรางสรรค หลักการแสดงละครหุน นว้ิ มอื ๓ การจัดเวที เนอื่ งจากการแสดง ๔ การประเมินผลการแสดง ละครหุนมีเนื้อเรื่องไมซับซอนมาก มี หลงั จากการแสดงจบแลว ผูแ สดงและ ตัวละครนอย นักเรียนอาจใชโตะเรียน ผูชม ควรมสี วนรว มในการประเมนิ ผล ๑-๒ ตัว วางตดิ กนั และใชผาคลมุ ทาํ การแสดง โดยชว ยกันสรุปขอบกพรอ ง เปนเวที แลวจึงเชิดหุนอยูดานหลัง และขอเสนอแนะ เพือ่ นาํ มาใชใ นการ โตะ เพอ่ื ไมใหเ ห็นคนเชดิ แสดงครัง้ ตอไป ๑๐๙´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ ๑ แบง กลุม ฝกรําวงมาตรฐานประกอบเพลงคนื เดือนหงาย แลว ออกมาแสดงหนาช้ันเรียน จากนั้นใหเ พ่อื นกลมุ อนื่ ประเมินผลงาน รายการประเมนิ ผลการประเมนิ (๑) ความถกู ตองของทาทาง (๒)ความสอดคลอ งกับจังหวะ ดี พอใช ควรปรับปรุง (๓)ความพรอ มเพรยี ง (๔)ความสวยงามในการเคล่อื นไหว ขนึ้ อยกู ับดลุ ยพนิ จิ ของผูสอน........................................... ........................................... …………………………………. (๕)ความมีอารมณร วมในการแสดง ........................................... ........................................... …………………………………. ........................................... ........................................... ………………………………… ........................................... ........................................... ………………………………… ........................................... ........................................... ……………………………….. ลงช่อื ………………………………………………………………… ผูประเมนิ กลุม ที่ …………………………………. ผฉูส บอบั น ๒ แบง กลมุ เลอื กแสดงระบําดอกบวั หรอื ฟอนเล็บ กลมุ ละ ๑ ชดุ การแสดง แลวออกมาแสดง หนา ช้ันเรยี น และใหเพื่อนกลมุ อ่ืนประเมินผล ๑) กลุมของฉนั เลือกแสดง ❍ ระบําดอกบวั ❍ ฟอนเล็บ ๒) ผลการประเมนิ ของเพอื่ นตา งกลุม รายการประเมนิ ผลการประเมนิ (๑) ความถกู ตองของทา ทาง (๒)ความสอดคลองกบั จงั หวะ ดี พอใช ควรปรับปรงุ (๓)ความพรอ มเพรียง (๔)ความสวยงามในการเคล่อื นไหว ข้นึ อยูกบั ดลุ ยพินจิ ของผสู อน........................................... ........................................... …………………………………. (๕)ความมอี ารมณรว มในการแสดง ........................................... ........................................... …………………………………. ........................................... ........................................... ………………………………… ........................................... ........................................... ………………………………… ........................................... ........................................... ……………………………….. ลงชื่อ ………………………………………………………………… ผูป ระเมิน กลมุ ที่ …………………………………. ๑๑๐ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ò. º·ºÒ·áÅÐ˹ŒÒ·èÕã¹§Ò¹¹Ò¯ÈÅÔ »áŠ ÅСÒÃÅФà การแสดงนาฏศิลปแ ละการละครจะประสบผลสาํ เรจ็ ได ตอ งประกอบดว ยบคุ คลหลายฝา ย ซ่ึงมีบทบาทสําคัญ โดยยึดถือหลักความสามัคคีและเปนนํ้าหน่ึงใจเดียวกันเปนสําคัญ ดังน้ัน ทกุ ฝายตองเขา ใจบทบาทหนาที่ มีความรับผดิ ชอบ และมนี าํ้ ใจชว ยเหลือเกอ้ื กลู กันเปนอยา งดี ผฝู ก ซอ ม ºØ¤¤Å·ÕÁè ºÕ ·ºÒ·ÊÒí ¤ÞÑ ã¹§Ò¹¹Ò¯ÈÅÔ »Š áÅСÒÃÅФà Á´Õ §Ñ ¹¤éÕ ÃºÑ ฝายดนตรี บทบาท ผูแ สดง ๑. ผูฝกซอม มหี นา ทด่ี แู ลและฝก ซอ ม หนาท่ขี องบคุ คล การแสดง ใหกับนักแสดงทุกคน ซ�ึงผูฝกซอมตอง มีความรูและความแมนยําในการแสดงเปนอยางดี แตล ะฝาย ฝา ยอุปกรณ ฝา ยเครอ่ื ง อาจเปนครู หรือบุคคลที่มีความรูและประสบการณ และฉาก แตง กาย ในการแสดง เพ่ือใหผูแสดงสามารถแสดงไดถูกตอง และเกิดขอผิดพลาดนอยทส่ี ดุ ๒. ผูแสดงหรือนักแสดง คือ ผูท่ีใกลชิดกับผูชมมากที่สุด ผลงานการสรางสรรค ผฉูสบอับน ของทุกฝาย จะไดรับการถายทอดมาสูผูชมโดยตรงจากผูแสดง ดังนั้น ผูแสดงทุกคนจึงควร ตัง้ ใจซอมการแสดงอยางเตม็ ที่ และออกแสดงอยา งมน�ั ใจ เพือ่ ใหค วามสขุ และความบันเทิงแก ผูชม ๓. ฝายเครื่องแตงกาย ผูท่ีดูแลรับผิดชอบเครื่องแตงกาย ตองรูวามีฉากใดบาง ผูแสดงมีก่ีคน ตองใชเสื้อผาเคร่ืองแตงกาย รวมถึงเครื่องประดับอะไรบาง สวนผูทําหนาที่ แตงหนาทําผม ตองเตรียมอุปกรณใหพรอม สามารถแตงหนาและทําผมใหนักแสดงไดอยาง สวยงามสมจริงตามบทบาทการแสดง ๔. ฝายอุปกรณและฉาก มีหนาท่ีจัดเตรียมอุปกรณประกอบในการแสดงใหพรอม และตกแตงฉากและเวทีการแสดงใหเรียบรอย โดยยึดหลักความมั�นคงแข็งแรงพรอมที่จะเปด การแสดงไดท นั ที เมอ่ื นักแสดงพรอมแลว ๕. ฝายดนตรี มีหนาท่ีบรรเลงเพลงประกอบการแสดงแตละชุด ไมวาจะเปนการ บรรเลงเพลงหรือดนตรีสดบนเวที หรืออาจใชวิธีการเปดเคร่ืองเสียง ก็ตองมีการเตรียม อุปกรณ และเครือ่ งดนตรีใหพรอมเสมอ ๑๑๑´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ò แบง กลมุ แสดงละครสนั้ ๆ ๑ เรื่อง โดยแบงหนา ท่กี ารทํางานออกเปน ฝา ยๆ แลว บนั ทึกขอมูล ๑) กลมุ ของฉนั แสดงละคร เรอื่ ง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒) แบง บทบาทหนาทก่ี ารทํางาน ดังน้ี ((((๔๑๒๓)))) ฝผผฝาาูแูฝยยสก เอดซคุปงอรกอมื่ไรดงณไแแดตกแแ งล กกะาฉยากไดไแ ดกแ ก ขน้ึ อยูก บั ดุลยพินจิ ของผูส อน………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… (๕) ฝายดนตรี ไดแ ก …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓) ผลการแสดงละครของกลุม ❍ ดี ❍ พอใจ ❍ ควรปรับปรุง เพราะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔) ฉันมีความรสู กึ ตอบทบาทหนาทขี่ องตนเอง ดงั นี้ ………………………………………………………………………………………………………… ผฉสู บอบั น ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡Òä´Ô »ÃШӺ· แบงกลมุ แสดงนาฏศิลปห รือการละครมา ๑ ชุด โดยเลือกชุดการแสดงเอง (ครูใหค าํ แนะนาํ มฐ./ตวั ชวี้ ดั ในการแสดง) แลวเขยี นบรรยายแสดงความรสู กึ ตอการแสดง ศศ33..11 ((34)) ๑) ชอื่ ชุดการแสดง คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒๓)) (บค๑วท)าบคมาวรทาูสมแึกลพทะรม่ี หอีตนมอ าใกนทากขี่ ราอแรงสแตดสนงดเชองุดงนใน�้ การแขส้ึนดองยชูกุดบันด้� คลุ อืยพินิจของผสู อน…………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. .................................................................................................................................................................................................................................................................................... (๒) การแสดงของกลุมตนเอง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. .................................................................................................................................................................................................................................................................................... (๓) ขอเสนอแนะในการแสดง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .................................................................................................................................................................................................................................................................................... ๑๑๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

แบบทดสอบที่ ๓ : กา ✗ คาํ ตอบทีถ่ ูกท่สี ดุ ๑. “ราํ วง” เปน การละเลน ของคนไทยทอ งถิ�นใด ๖. ขอ ใดเปน ระบําประกอบการแสดงละคร ก. ภาคเหนอ� ✗ข. ภาคกลาง ✗ก. ระบําไก ค. ภาคอสี าน ง. ภาคใต ข. ระบําฉงิ� ๒. เพลงชาวไทย ใชทารําใดประกอบ ค. ระบาํ เกบ็ ใบชา ก. สอดสรอ ยมาลา ง. ระบําจนี -ไทยไมตรี ✗ข. ชักแปงผัดหนา ๗. ขอ ใดไมใ ชประเภทของการฟอน ค. ราํ สา ย ก. ฟอ นแบบมาน ง. รํายว�ั ข. ฟอนแบบพ้นื เมอื ง ๓. ขอ ใดจบั คกู ันถูกตอง ✗ค. ฟอ นแบบเบ็ดเตล็ด ก. เพลงรํามาซิมารํา - ทาราํ ยวั� ง. ฟอ นท่ีสืบเนอ� งจากการนบั ถอื ผี ข. เพลงดวงจันทรข วญั ฟา - ทาชักแปง ๘. เครือ่ งดนตรขี อใดใชบ รรเลงเพลงฟอ นเลบ็ ผัดหนา ก. จะเข ✗ค. เพลงคืนเดอื นหงาย - ทา สอดสรอย ข. ฆองวง ค. ซอดว ง ผฉสู บอบั น มาลาแปลง ง. เพลงบชู านกั รบ - ทาสอดสรอยมาลา ✗ง. กลองแอว ๔. ขอ ใดไมใชลักษณะของระบาํ ๙. เรานิยมใชห นุ นวิ้ มอื เพื่อใชประกอบ ✗ก. เปน การรําเพื่อความสนกุ สนาน การแสดงใด และสามัคคี ก. ราํ วงมาตรฐาน ข. เปน การราํ ท่มี ผี แู สดงพรอ มกนั ข. ระบาํ เบ็ดเตลด็ เปนหมเู ปนชดุ ค. ฟอนเงย้ี ว ค. เปนการราํ โดยมีการแปรแถวใน ✗ง. เลา นิทาน ลกั ษณะตา งๆ ๑๐. ขอ ใดไมเกี่ยวของกับการจดั การแสดง ง. เปนการรําโดยใชเพลงบรรเลง นาฏศลิ ป ๕. “การฟอน” เปน ศิลปะการรายราํ เฉพาะของ ก. ผูแสดง ทอ งถิ�นใด ✗ข. ฝา ยผูช ม ก. ภาคเหนอ� ภาคกลาง ค. ผูฝก ซอ ม ข. ภาคกลาง ภาคอสี าน ง. ฝา ยเคร่ืองแตงกาย ✗ค. ภาคเหน�อ ภาคอสี าน ง. ภาคอีสาน ภาคใต ๑๑๓´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

º··Õè ô á¡ÅÒÐáªÒÁáÅÒÐäáÃÊ´§áÅÐͧ¤»ÃСͺ·Ò§¹Ò¯ÈÔŻРขอบขา ยสาระการเรยี นรูแกนกลาง รายวชิ าศลิ ปะ ชัน้ ป.๖ ตวั ชวี้ ัดชน้ั ป สาระพ้ืนฐาน ความรฝู ง แนนตดิ ตวั ผูเรยี น มฐ. ศ ๓.๑ (๕) แสดงความคิดเหน็ ในการชม การแสดง ● การชมการแสดง ● การชมการแสดงที่ดีตองมีมารยาทและ มฐ. ศ ๓.๑ (๖) อธบิ ายความสัมพนั ธร ะหวาง ● องคป ระกอบทางนาฏศิลปและการละคร เขา ใจหลักการชมการแสดง รวมถึงเขา ใจ นาฏศิลปและการละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิต ความสัมพันธระหวางนาฏศิลปและการ กบั ชวี ติ มนษุ ย ละครกับสง่ิ ท่ีประสบในชวี ติ ประจาํ วัน ประจําวัน ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ ผฉูสบอับน ´ÙÀÒ¾ áÅŒÇÅͧºÍ¡Å¡Ñ ɳÐà¤Ã×èͧᵋ§¡Ò ¢Í§¼áÙŒ Ê´§´Ù¹Ð¤ÃѺ ÇÒ‹ ÁÅÕ Ñ¡É³Ð ÍÂÒ‹ §äúŒÒ§ ๑๑๔ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ñ. ¡ÒêÁ¡ÒÃáÊ´§ การชมการแสดงแตละประเภทมีความแตกตางกัน ผูชมจึงควรเรียนรูหลักในการชม และมมี ารยาทในการชมการแสดง เพอ่ื จะไดปฏิบัติตนอยา งถูกตอง เน�องจากการชมการแสดง แตละครั้งจะมีผูชมจํานวนมาก ความมีระเบียบวินัยและมารยาทที่ดีตอกันจึงเปนส�ิงสําคัญ นอกจากน้�จะทําใหผูชมสามารถรับรูเร่ืองราวตางๆ ในการแสดงชุดนั้นๆ และถายทอดใหผูอื่น ไดเปนอยา งดี รวมทั้งเกิดความสนกุ สนานและมีสว นรว มไปกับการแสดงอยา งแทจริง ผฉูสบอับน ▲ นงั� ชมอยางมีระเบยี บเรยี บรอ ย เปนการชมการแสดงอยางมมี ารยาท หลกั การชมการแสดง ✗ สิ�งทีไ่ มค วรปฏบิ ัติ ✓ สิ�งท่ีควรปฏบิ ัติ ๑) เขา ไปนง�ั ชมใหเรยี บรอยกอ นการแสดงเร�มิ ๑) เขาไปนง�ั ชมการแสดงหลงั จากการแสดงเริม� แลว ๒) นง�ั ชมการแสดงอยางมสี มาธิ ไมลุกเดนิ ไปมา ๒) นั�งหลับขณะชมการแสดง ๓) ไมพดู คุยหยอกลอ กัน สงเสียงดงั หรือโหรองแซว ๓) ตะโกนเรยี กเพื่อนท่ีน�งั ชมการแสดงอยูคนละแถว ผูแ สดง เมอ่ื เกิดความผดิ พลาดในขณะแสดง หรือเดนิ ไปหาเพื่อนในขณะชมการแสดง ๔) ไมร บั ประทานอาหาร ขนม และเครอื่ งดม่ื ใน ขณะ ๔) พูดคุยหยอกลอ กัน หรือโหร อ งผูแสดงทผี่ ิดพลาด ๕) แสดงอคติตอ ผูแสดง ชมการแสดง และควรปด เครอื่ งมอื สอื่ สารทกุ ชนดิ ๖) รบั ประทานอาหาร ขนม เครือ่ งด่ืม หรือคุย ระหวา งชมการแสดง ๕) ไมม อี คตติ อ ผแู สดง และรจู ังหวะในการปรบมอื ให โทรศัพทในขณะชมการแสดง กําลังใจ และแสดงความชื่นชมตอผูแสดง ๗) หัวเราะเสยี งดัง สงเสียงดัง เม่ือผแู สดงเกิดความ ๖) นําขอคิดที่ไดจากการชมการแสดง มาปรับใชใน ชวี ติ ประจาํ วันอยางเหมาะสม ผดิ พลาดในขณะแสดง ๑๑๕´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¹Í¡¨Ò¡ÃŒÙËÅÑ¡¡ÒêÁ¡ÒÃáÊ´§·´èÕ ÕáÅŒÇ à¾×Íè ¹æ ¤ÇÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙËÅ¡Ñ ¡Òà ÇàÔ ¤ÃÒÐˏËÃÍ× Ç¨Ô Òó§Ò¹¹Ò¯ÈÔÅ»Šà¾ÔèÁàµÔÁ´Ñ§µ‹Í仹¤éÕ ÃѺ ๑. หลักการพิจารณาในการชมการแสดง ผูชมตองรูจักพิจารณาคุณคาทางดาน ความงาม องคประกอบ และสภาพแวดลอมในงานนาฏศิลป ซึ่งการแสดงแตละชุดจะมี คณุ คา แตกตางกนั ออกไป การพิจารณาถึงคุณคาของการแสดงนาฏศิลปและการละคร อาจพิจารณาจาก องคป ระกอบการแสดง ดังนี้ องคป ระกอบของนาฏศิลปไทย ผฉูสบอับน ทาราํ ดนตรี เนอ�้ รอ ง เครอ่ื ง แตงกาย ๑) ทารํา การรายรําหรือการแสดงนาฏศิลปไทย จะมีลักษณะออนชอยสวยงาม และมีทา รําหรอื นาฏยศพั ทเ ปน ของตนเอง เพ่ือสื่อความหมายใหผ ูช มเขาใจ ▲ ทาราํ ที่ออนชอยของนาฏศิลปไทย เปนเอกลักษณท ่งี ดงามและสรา งความประทบั ใจแกผชู ม ๑๑๖ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๒) ดนตรี การแสดงนาฏศิลปของไทย สวนมากมักมีดนตรีประกอบ โดยเฉพาะ การรํา ระบํา ฟอน เพื่อใหจังหวะในการเคลื่อนไหวของผูแสดง โดยใชเคร่ืองดนตรีไทย บรรเลงประกอบ ▲ ดนตรมี บี ทบาทในการใหจ ังหวะการเคลอ่ื นไหวกับผแู สดงนาฏศิลป ๓) เนอื้ รอ ง การแสดงนาฏศลิ ปไทยบางประเภทอาจมีเนือ้ รอ งประกอบ ซึ่งเนอ้ื รอ งผฉสู บอับน ท่ีใชขบั รอ งประกอบการแสดงจะเปนเพลงไทย มกี ารเอ้อื นเปนลกั ษณะเฉพาะ ๔) เคร่ืองแตงกาย ในการแสดงนาฏศิลปไทย ผูแสดงตองแตงกายใหเขากับชุด การแสดง โดยใชเครอ่ื งแตง กายแบบไทย ซ่ึงมลี ักษณะเฉพาะ ▲ เคร่อื งแตงกายนาฏศลิ ปไทย มีความสวยงามและความโดดเดน ซึ�งเปน เอกลักษณแบบไทย ๑๑๗´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

๒. คณุ สมบตั ขิ องผวู เิ คราะหห รือวิจารณง านนาฏศิลป มีขอ ควรคาํ นงึ ถงึ ดงั น�้ ๑ มีใจรักและสนใจในงาน ๒ มีใจทเี่ ปน ธรรม ปราศจาก นาฏศิลปทุกดาน อคติ ¼ÙŒ·èÕ¨ÐÇàÔ ¤ÃÒÐˏËÃÍ× ÇÔ¨Òó§ Ò¹¹Ò¯ÈÅÔ »Š ¤ÇÃÁ¤Õ ³Ø ÊÁºÑµÔ ´§Ñ ¹Õé ๓ มีความรูพ้ืนฐานในเร่ือง ๔ มีประสบการณเก่ียวกับ ท่ีจะวิเคราะหห รือวิจารณ งานนาฏศลิ ป ผฉูสบอับน ๓. ประโยชนของการวิเคราะหหรือวิจารณ นอกจากจะเปนการฝกประเมินผลงาน นาฏศิลปแลว ยังเปนประโยชนในการฝกใหเรารูจักยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ยอมรับ ความจรงิ และยังเปน การใหก าํ ลังใจแกผูแ สดงอกี ดวย นอกจากไดรับประโยชนจากการวิเคราะหวิจารณแลว นักเรียนยังไดรับประโยชน จากการแสดง ดังน�้ ๑) ไดรับความรูจากการชมการแสดง เพราะการแสดงนาฏศิลปและการละครไทย สว นมากมักนาํ เคาโครงเรือ่ งมาจากวรรณคดี ๒) ไดข อคดิ จากการชมการแสดง ซ�งึ สามารถนาํ มาประยกุ ตใชในชีวติ ประจําวนั ได ๓) ไดฝก การใชค วามคดิ และจินตนาการจากการชมการแสดง ๔) ชวยพัฒนาจิตใจ อารมณ และสติปญ ญาในทางทีด่ ขี ึ้น ๕) ไดร ับความสนุกนาน เพลิดเพลิน ผอนคลายความตึงเครยี ด ๑๑๘ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ๑ แบง กลมุ ยกตวั อยา งการปฏบิ ตั ติ นเปน ผชู มทดี่ ี และการปฏบิ ตั ติ นทไี่ มเ หมาะสมในการชมการแสดง จดั ทาํ เปนรายงาน พรอมกบั ติดภาพประกอบ แลวขส้นึ ง อตยัวแูกทับนดอุลอกยมพานิ ราิจยขงอางนผหสู นอา ชนั้นเรียน ๒ ดูภาพการแสดงนาฏศลิ ปท ่ีกําหนด บนั ทกึ ขอมูล แลวผลดั กนั ออกมานําเสนอผลงานหนาช้นั เรียน โดยพูดวิเคราะหห รอื วจิ ารณการแสดงจากภาพ ผฉูสบอับน ๑) ภาพน�้เปน การแสดง โขน……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒) นักเรียน ❍✓ ชอบ ❍ ไมชอบ การแสดงน้� เพราะ …เ…ป…น …ก……า…ร…แ…ส……ด…ง…ท…มี่……ที …า…ร…า…ย…ร……ําท……ส่ี …ว…ย……ง…า…ม… ๓) นักเรยี นมีหลักในการชมการแสดงน้� ดงั น้� ……ด…คู …ว…า…ม…อ…อ……น…ช…อ …ย…ข…อ…ง……ท…า …ร…าํ ……ก…า…ร…บ……ร…ร…เล……ง…ด…น……ต…ร…ปี …ร…ะ…ก……อ…บ… …ก…า…ร……พ…า…ก…ย…ใ…ช…ก……า…ร…ว…ธิ …ขี …ับ……เส……ภ…า……ค……ว…า…ม…ส…ว…ย…ง……า…ม…ต…ร…ะ…ก……า…ร…ต…า…ข…อ…ง…ฉ……า…ก………แ…ล…ะ…เ…ค…ร…ื่อ…ง…แ……ต…ง …ก…า…ย……ข…อ…ง…ผ…แู …ส……ด…ง… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔) นักเรียนคดิ วา ตนเองมคี ณุ สมบัตขิ องผวู จิ ารณงานนาฏศิลปน ้� อยา งไรบาง ………ม…ีใ…จ…ร…ัก……แ…ล…ะ…ส…น……ใ…จ…… ศลิ ปะการแสดงนาฏศิลปไ ทย………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑๑๙´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

เปนเครื่องมอื ชอนกงุ ฝอย หรอื ปลาขนาดเล็ก โดยใชไ มไผ นาํ มาลนไฟ แลว ดดั ใหเ ปน วงกลม จากนัน้ เอาอวนตาถีม่ ามดั ตดิ กับไมไผ ò. ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸¢ ͧ¹Ò¯ÈÔŻአÅСÒÃÅФáѺªÕÇÔµÁ¹ØÉ ๑. ความสมั พันธข องนาฏศลิ ปก ับชวี ิตมนษุ ย นาฏศลิ ปไทย เปน ผลงานอันทรงคุณคาทีค่ นไทยสรางสรรคขึ้น เพอ่ื สะทอนใหเ หน็ ถึงลักษณะชีวิตความเปนอยู คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี และศิลปวัฒนธรรมตางๆ โดยการนาํ ภาพจากประสบการณแ ละจนิ ตนาการของคนเรา มาผูกเปนเรือ่ งราวที่ผสมผสานกัน อยางกลมกลนื นํามาสูการคดิ ประดิษฐทารายราํ และนําเสนอในรูปแบบของการแสดง ¡ÒÃáÊ´§¹Ò¯ÈÅÔ »ŠÍ‹٤١‹ ºÑ Ç¶Ô ÕªÕÇµÔ ¤¹ä·ÂÁÒªÒŒ ¹Ò¹áÅÇŒ àËç¹ä´ªŒ ´Ñ ਹ¨Ò¡¡ÒÃáÊ´§¾×é¹àÁ×ͧ·§éÑ ô ÀÒ¤ ¢Í§ä·Â·¹èÕ Òí Ç¶Ô ÕªÕÇÔµ ¢Í§¤¹ã¹·ŒÍ§¶Ôè¹ ÁÒÊÌҧÊÃÃ¤à »¹š ¡ÒÃáÊ´§¹Ò¯ÈÔŻРผฉสู บอับน เซง้ิ สวิง (ภาคอีสาน) ฟอนเทียน (ภาคเหนอ� ) รําสีนวล (ภาคกลาง) ระบาํ รอนแร (ภาคใต) จะเห็นไดวา การแสดงนาฏศิลป นอกจากจะสะทอ นวิถชี วี ิตของคนไทยแลว ยังเปน การแสดงเพอ่ื ความรน่ื เรงิ ในโอกาสตา งๆ และใชป ระกอบพธิ กี รรมตามความเชอื่ ซง�ึ เปรยี บเสมอื น มรดกท่ีคนไทยทกุ คนตองชว ยกันสบื ทอด เพื่อการอนรุ ักษแ ละรกั ษาไวใหคงอยูสบื ไป ๑๒๐ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๒. ความสัมพนั ธของการละครกับชีวติ มนุษย ละคร เปน ศิลปะท่ีสะทอนภาพชวี ติ ความเปนอยูข องคนเรา โดยอาศยั สอ่ื ตางๆ ใน การนําเสนอภาพและเร่ืองราวตางๆ เพื่อความบันเทิง และใหแงคิดแกผูชมนําไปปรับใชใน ชวี ติ ประจาํ วัน ดังคาํ กลา วท่ีวา “ดูละครแลว ยอ นดูตนเอง” ปจจุบันละครมีหลากหลายรูปแบบ ผูชมสามารถเลือกชมไดตามความสนใจ เชน ละครเวที ละครโทรทัศน ละครหุน และละครในรูปแบบแผน CD ตามยุคสมัย ซึ่งจะใช นักแสดงทงั้ ทเ่ี ปน คนและสัตวแ สดงจริง หรอื อยูในรูปแบบการต นู นา รกั เหมาะกบั วยั ของเดก็ ผฉสู บอับน ▲ ละครหุน เปน ละครสรางสรรคป ระเภทหนึ�งท่ีใหความเพลิดเพลิน และใหข อ คิดในการดาํ เนนิ ชวี ติ ละครเปนส�ิงที่ตอบสนองและเติมเต็มความตองการของมนุษย ในเร่ืองอารมณ สมอง และจิตใจ ตลอดจนสงเสริมความคิดและจินตนาการ เปรียบเสมือนประสบการณใน ชีวติ จรงิ ที่ใหท งั้ ความบนั เทิง กระตุนเราความคดิ ใหก ารศึกษา ใหค วามสนุกสนานเพลิดเพลิน สอนบทเรยี น และบางเรื่องราวยงั สามารถเติมแตง ความฝน ใหคนดสู มปรารถนาไดอ ีกดว ย ๑๒๑´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ò ๑ เขียนแผนผงั ความคิดแสดงองคประกอบทางนาฏศลิ ป แลวสรปุ ความสัมพันธของนาฏศลิ ป กับชีวิตมนษุ ย ทาราํ ดนตรี องคป ระกอบทางนาฏศลิ ป เนื้อรอง เครอื่ งแตงกาย ผฉสู บอบั น ๑) (ตัวอยาง) มคี วามสัมพนั ธกบั ชีวิตมนุษย ดังน้� …ก……า…ร…แ…ส……ด……ง…น……า…ฏ…ศ……ิ ล…ป…… ไ…ท…ย…….. ฉันคิดวา การแสดงนาฏศลิ ปไทย …ถ…ูก…ส……ร…า…ง…ข…้นึ …ม……า…จ…า…ก…ว…ฒั ……น…ธ…ร……ร…ม…ป…ร……ะเ…พ…ณ……ี …ห……ร…อื …ว…ิถ…ชี…ีว…ติ……ข…อ…ง…ค…น……ใ…น…ท……อ…ง…ถ…่ิน………ด…งั …น……ัน้ …ก……า…ร…แ…ส…ด……ง…น…า…ฏ…ศ……ลิ …ป…… .. …ไ…ท…ย……จ…งึ…ม……ัก…จ…ะ…ส……ะท……อ…น…ใ…ห……เ ห……็น…ถ…งึ……ว…ฒั …น……ธ…ร…ร…ม…ป……ร…ะ…เพ……ณ……แี …ล…ะ…ว…ถิ …ีช…วี…ติ……อ…ย…ูเ…ส…ม…อ……………………………………………………………….. ๒) ฉันมีแนวคิดในการอนรุ ักษน าฏศิลปใหค งอยสู บื ไป ดังน�้ …ส……ง…เ…ส…ร……ิม…ใ…ห…เ…ย…า…ว…ช…น……ท…อ……ง…ถ…่ิน……ไ…ด…ม…ีโ…อ……ก…า…ส…….. เรยี นรูและฝก การแสดงนาฏศลิ ปทองถิน่……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒ ดลู ะครเรอื่ งทชี่ อบมา ๑ เร่อื ง และบันทกึ ขอมลู (ตวั อยา ง) ๑) ละครเรอ่ื งทชี่ อบดู คอื เรื่องปลาบทู อง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒) ละครเรอ่ื งน้ม� เี น้อ� เรื่องเกีย่ วกับ ………ค…ว…า…ม……ก…ต…ัญ…………ูก…ต……เว…ท…แี……ล…ะ…ก…า…ร…ท……าํ …ค…ว…า…ม…ด……ขี …อ…ง…น……า…ง…เอ…้อื……ย…ท…่มี…ตี……อ …แ…ม……….. …ไ…ม…ว…า…แ…ม……จ …ะ…เก……ิด…เ…ป…น ……อ…ะ…ไ…ร…ก…็ต…า…ม………ซ…งึ่ …ผ…ล……ข…อ…ง…ก…า…ร……ก…ร…ะ…ท…าํ…น……ี้ …ท…าํ…ใ…ห……น…า…ง…เ…อ…ือ้ …ย…ม……ชี …ีว…ิต…ท……ด่ี …ี …แ…ล…ะ…ม……ีค…ว…า…ม…ส……ขุ …….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓) ละครเรื่องน้�ใหแ งคดิ ในการดําเนนิ ชีวติ ดังน้� ………ค…น……เร…า…ค……ว…ร…ห…ม…นั่……ท…าํ…แ…ต……ค …ว…า…ม…ด……ี …แ…ล…ะ…ม…คี……ว…า…ม………………………. …ก……ต…ัญ………ูก……ต…เ…ว…ท…ี …เ…พ…อื่ …จ……ะ…ได……ม…ชี …ีว…ิต…ท……ม่ี …แี …ต……ค…ว…า…ม…ส……ุข…ใจ……………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๑๒๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ»ÃШ�º· ๑ ติดภาพการแสดงนาฏศิลป หรอื การละครทชี่ ืน่ ชอบ แลวเขยี นวจิ ารณห รือแสดงความชนื่ ชม (ตัวอยา ง) ตอการแสดง โดยใชห ลกั การตามทเี่ รียนมา มฐ./ตวั ช้วี ดั จากภาพเปนระบํานกเขา เปนระบําที่ใช............................................................................................................................................. (ติดภาพ) ประกอบละครในเรือ่ ง อเิ หนา การแสดงนม้ี ี............................................................................................................................................. ศ3.1 (5) ทาราํ ท่อี อ นชอ ย สวยงาม เลียนแบบการบนิ............................................................................................................................................. ผฉูสบอับน ของนก ดนตรีประกอบเหมาะสมกับชุดการ............................................................................................................................................. มฐ./ตวั ช้วี ัด (ภาพระบํานกเขา) แสดง เพราะสอดคลองกับการเคล่ือนไหว............................................................................................................................................. ศ3.1 (6) ของผูแสดง เครื่องแตงกายของผูแสดง............................................................................................................................................. สอดคลองกับชุดการแสดง คือ เปนชุด............................................................................................................................................. แตงกายคลายกับนกเขา ทําใหสวยงามและ............................................................................................................................................. นา ชม............................................................................................................................................. ๒ แบงกลุม สบื คน ขอ มูลการแสดงนาฏศลิ ป หรอื ละครท่เี ก่ยี วขอ งกบั วถิ ีชวี ติ หรอื ประเพณ�วฒั นธรรม แลวบนั ทกึ ขอมูล (ตวั อยา ง) ๑) กลุมของนักเรยี นสบื คนขอมลู ของการแสดง ❍✓นาฏศลิ ป ❍ ละคร มีรายละเอยี ด ดงั น�้ ……เ…ป…น……ก…า…ร……แ…ส…ด……ง…ท…่ีช…่ือ…ว…า………ร…ํา…ไ…ห…ว…ค……ร…ูโ…น…ร……า……ใ…ช…เ…ป…น……ก…า…ร…ร…ํ…าบ……ูช…า…ค…ร……ู …ซ…่ึง……ม…ีท…า…ร…ํา. ลักษณะคลา ยกบั ทาราํ ของนางกินรี……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒) การแสดงน�เ้ กย่ี วขอ งกับวถิ ีชวี ิต หรือประเพณว� ฒั นธรรมของคนไทย ดังน�้ …เก……่ีย…ว…ข…อ…ง……ก…ับ…ป……ร…ะ…เ…พ…ณ……ีก…า…ร…ไ…ห……ว…ค…ร…ูข…อ……ง…ก…า…ร…แ……ส…ด…ง……โน……ร…า………เน……่ือ…ง…จ……า…ก…โ…น…ร……า…เป……น…ศ……ิล…ป…ะ…ก……า…ร…แ…ส…ด……ง…ท…่ีม.. ี …แ…บ…บ……ฉ…บ……ับ…เ…ก…า…แ…ก……อ…ย…า …ง…ห…น……งึ่ …ข…อ…ง……ช…า…ว…ไท……ย…ท…า…ง…ภ……า…ค…ใ…ต………แ…ล…ะ…ถ…อื……เป……น …ศ…ลิ……ป…ะ…ต…น……แ…บ……บ…ข…อ…ง…ท……า …ร…า…ย…ร…ํา…ท……า.ง. …น…า…ฏ……ศ…ิล…ป……ไ…ท…ย………จ…ึง…ถ……ูก…ใ…ช…เ…ป…น…ก……า…ร…ร…ํา…บ……ูช…า…ค…ร…ู……เพ……่ือ…ค……ว…า…ม…ส…ว…ัส……ด…ิม…ง…ค……ล…ม…า…แ……ต…ด…ั้ง…เ…ด…ิม………แ…ล……ะ…ถ…ือ…ป…ฏ……ิบ…ัต.. ิ เปนประเพณีสบื ตอ มาจนถงึ ปจจุบนั……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑๒๓´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

แบบทดสอบที่ ๔ : กา ✗ คําตอบท่ีถูกท่ีสดุ ๑. ผูใ ดปฏิบตั ไิ มเหมาะสมในขณะชมการแสดง ๖. ขอใดไมใ ชหลกั การพจิ ารณาในการชม ก. นดิ าน�งั ชมอยา งมีสมาธิ การแสดง ข. ชูใจปรบมอื ช่ืนชมนักแสดง ก. พิจารณาดานคณุ คา ทางความงาม ค. มานะปดโทรศัพทมือถอื กอนเขาชม ข. พิจารณาดานองคป ระกอบ ✗ง. วรี ะตะโกนเรยี กเพอื่ นทนี่ งั� อยแู ถวหลงั ✗ค. พจิ ารณาจาํ นวนผเู ขา ชม ๒. ขอ ใดเปนการใหก าํ ลงั ใจนักแสดงในขณะชม ง. พิจารณาสภาพแวดลอม การแสดง ๗. เหตุใดผูว ิจารณจงึ ควรมีใจทเี่ ปน ธรรม ✗ก. ปรบมอื ก. ทําใหผูแสดงเกิดความเครยี ด ข. เปาปาก ข. ทาํ ใหผูแสดงแสดงไดอ ยางเตม็ ที่ ค. โหร อ ง ค. ทาํ ใหผูว จิ ารณทํางานไดรวดเร็วย�ิงขนึ้ ง. โบกมือไปมา ✗ง. ทําใหก ารวิจารณถกู ตองตามความเปน จรงิ ๓. เหตใุ ดนกั เรียนจึงควรมีอารมณรวมกับ ๘. ขอ ใดไมใชประโยชนข องการวิจารณง าน การแสดง นาฏศลิ ป ผฉูสบอับน ก. เพอ่ื ใหเ กยี รตนิ กั แสดง ✗ก. ฝกใหก ลา วิจารณขอ บกพรอ งของผูอน่ื ข. เพ่ือใหเ กยี รตผิ จู ดั การแสดง ข. ฝกใหร จู กั รับฟง ความคดิ เหน็ ของผอู ่ืน ✗ค. เพือ่ จะไดชมการแสดงอยา งสนกุ สนาน ค. ฝก ประเมนิ ผลงานนาฏศิลป ง. เพอื่ จะไดค ุม กบั คาบัตรเขา ชมการแสดง ง. ฝก ใหร จู กั ยอมรับความจริง ๔. การคยุ โทรศัพทมอื ถอื ในขณะชมการแสดง ๙. การเลือกใชฉากท่ีดี ตองคาํ นงึ ถงึ ส�ิงใด จะทําใหเกิดผลตอ ไปน้� ยกเวน ขอ ใด ✗ก. ลกั ษณะเฉพาะและจดุ เดน ของการแสดง ✗ก. ทาํ ใหเ ปน จดุ เดนในงาน ข. จํานวนผแู สดงและจํานวนผูชม ข. ทําใหผ ูชมคนอื่นไมพ อใจ ค. การใชว ัสดุท่มี ีราคาแพง ค. ทาํ ใหช มการแสดงไมร เู รือ่ ง ง. การใชพื้นทกี่ วางใหญ ง. ทาํ ใหรบกวนการชมของผูอน่ื ๑๐. ขอใดเปนหลักในการประดิษฐอุปกรณประกอบ ๕. ขอ ใดเปน หลักการปฏิบัติตนในการชม การแสดง การแสดงท่ีถูกตอง ก. ใชว สั ดรุ าคาถกู ไมม ีคณุ ภาพ ก. แซงคิวผูอื่นเพ่ือความรวดเรว็ ข. ใชว ัสดแุ หลมคม ปอ งกนั การถูกขโมย ข. ตะโกนเรียกเพอ่ื นปองกนั การพลดั หลง ค. ใชว สั ดุราคาแพง สงั� จากรา นทีม่ ีช่ือเสียง ค. รีบเขาไปจองทสี่ ําหรบั ตนเองและเพือ่ น ✗ง. ใชว สั ดุทมี่ ีในทองถิ�น ราคาไมแพง ไมม ี ✗ง. ยดึ หลกั ในการชมและมมี ารยาททด่ี ตี อ กนั อนั ตราย ๑๒๔ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä สบื คน ขอ มลู เกย่ี วกับการแสดงพื้นเมืองในทองถ�ินของนกั เรียน แลวยกตัวอยางการแสดงพนื้ เมือง ท่ชี ื่นชอบมา ๑ การแสดง จากน้ันนําเสนอหนา ชน้ั เรียน และบันทึกขอ มูล (ตัวอยาง) (ตดิ ภาพการแสดง) (ภาพเตนกํารําเคยี ว) ผฉูสบอับน ๑) ชอื่ การแสดง เตน กํารําเคยี ว…………………………………………………………………………………………… เปนการแสดงของภาค กลาง…………………………………… ๒) การแสดงน�เ้ กย่ี วกับวถิ ชี ีวิตและประเพณข� องคนในทอ งถิน� ดังน�้ ………………………………………………………………………… …เ…ก…่ีย…ว…ข…อ …ง…ก……บั …ว…ถิ……ีช…วี …ติ …ข…อ…ง…ผ……ูค…น……ใน……ท…อ……ง…ถ…่นิ ……ภ…า…ค…ก……ล…า…ง……ซ…่ึง……ม…ีอ…า…ช…พี ……ช…า…ว…น…า…เ…ป…น……ส…ว …น……ให……ญ…… …จ…ึง…ป…ร……ะย……ุก…ต……. …ว…ิธ…กี …า…ร……เก……่ยี …ว…ข…า …ว…ม…า…เป……น …ก……า…ร…แ…ส…ด……ง…เ…ต…น ……ก…ํา…ร…ํา…เ…ค…ีย…ว……………………………………………………………………………………………………………. ๓) แหลงขอมลู ที่ใชส บื คน คอื อินเทอรเ น็ต หนังสือ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔) นักเรียนเคยฝกการแสดงนห้� รือไม ผลที่ได คือ ไมเ คย…………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕) นักเรยี นช่ืนชอบการแสดงน�้ เพราะ มีความสนกุ สนาน……………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๖) นักเรียนมีสว นชวยอนรุ กั ษการแสดงพน้ื เมืองในทองถนิ� ไดดงั น้� …………ไ…ป…ช…ม…ก……า…ร…แ…ส…ด……ง…ท…กุ……ค…ร…ง้ั……………… ทีจ่ ดั การแสดงขน้ึ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๑๒๕´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

กา ✗ คาํ ตอบที่ถูกที่สุด ๓แปบรบะทจดําหสนอวบยวกดั าผรลเสรมัียนฤทรทูธี่ิ์ ä´¤Œ Ðá¹¹ ¤Ðá¹¹àµçÁ ๑. ขอใดไมใ ชจุดมงุ หมายในการชมการแสดง ñð ก. เพอื่ ความเพลิดเพลิน ข. เพื่อเพ�มิ พนู ความรู ๗. จากภาพ เปนการ ✗ค. เพื่อจบั ผดิ นักแสดง แตง กายประกอบ ง. เพอื่ ความสนกุ สนาน การแสดงชุดใด ๒. การวิจารณง านแสดง ไมเกยี่ วขอ งกบั ขอใด ✗ก. ผูช ม ข. ผูแ สดง ก. รําโนรา ค. ฉาก ง. การแตงกาย ๓. ผูว จิ ารณงานนาฏศิลป ไมควรมีสงิ� ใด ✗ข. ฟอ นภูไท ก. ความรูทางนาฏศิลป ข. ความยุติธรรม ค. ระบํานกเขา ค. ความเสมอภาค ง. ราํ วงมาตรฐาน ผฉูสบอบั น ๘. ขอใดจบั คกู ันไดถกู ตอง ✗ง. ความลําเอยี ง ก. ภาคใต - ลําตดั ๔. ผูใดปฏบิ ตั ติ นไมเ หมาะสมในการชม ข. ภาคกลาง - รําโนรา การแสดง ก. มดไมมอี คติตอ ผแู สดง ✗ค. ภาคเหนอ� - ฟอ นเง้ียว ข. โตชมการแสดงอยางตงั้ ใจ ค. นทั นัง� รอชมการแสดงเงียบๆ ง. ภาคอสี าน - ระบาํ เกย่ี วขาว ✗ง. แอนกินขนมขณะชมการแสดง ๙. ผูใดเลือกอุปกรณป ระกอบการแสดงไดถ กู ตอง ๕. การแสดงทา ประกอบเพลงเราสู เหมาะ สําหรบั แสดงในโอกาสใดมากทส่ี ุด ก. ตูใชเคยี วประกอบการแสดงฟอนเลบ็ ก. งานแตงงาน ข. งานบวช ข. ฝายใชพัดประกอบการแสดงระบาํ ✗ค. งานวันเดก็ ง. งานศพ ๖. ระบาํ ตารกี ีปส ใชอุปกรณช นิดใดประกอบ นกเขา การแสดง ค. วิใชกะลามะพราวประกอบการแสดง ก. เคียว ✗ข. พัด ค. หมวก ง. โคมดอกบวั ระบาํ ตารีกปี ส ✗ง. เกดใชห มวกหัวมา ประกอบการแสดง ระบําสตั ว ๑๐. อปุ กรณใดเหมาะสําหรับประดิษฐห นุ นว้ิ มือ กระดาษ ก. ธนบัตร ข. ปกหนงั สอื ค. กระดาษทชิ ชู ✗ง. กระดาษแข็งสสี นั สดใส ๑๒๖ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

Ẻº¹Ñ ·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШÒí ˹‹Ç รายการวัดประเมนิ ผลตามเปาหมายการเรียนรู ประจําหนว ยที่ ๓ คําช้แี จง : ๑. ครูกาํ หนดคะแนนเต็มของกิจกรรมทต่ี อ งการวดั ผลเพอื่ เกบ็ สะสม ๒. ครนู ําคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทักษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค (A) ของนักเรยี นแตละคน กรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมิน ๓. ช้นิ งานท่มี ีเครื่องหมาย * ใหใชประกอบการประเมนิ การอา น คิดวเิ คราะห และเขียนสื่อความ รายการประเมิน รายการเครอ่ื งมือวดั และประเมินผลการเรยี นรขู องนักเรียน คะแนนรวมดาน ดา นความรู (K) ดา นทักษะ/กระบวนการ (P) ดา นคณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชัน้ ป.๖ หลกั ฐาน/ชน้ิ งาน เต็ม ได หลักฐาน/ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน/ชน้ิ งาน เตม็ ได เต็ม ได ประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิดาน K / P / A ศ ๓.๑ (๑) สรางสรรคการ - ก. พฒั นาการคดิ บทที่ ๑ - แบบประเมนิ ทักษะศิลปะ - แบบประเมินคณุ ลักษณะ เคลื่อนไหวและการแสดง แบง กลมุ แสดงทา ประกอบ ท่พี ึงประสงค โดยเนนการถายทอดลีลาหรือ เพลงปลกุ ใจ โดยเลอื กเพลง อารมณ และคดิ ทา ประกอบเพลงเอง ศ ๓.๑ (๒) ออกแบบเครอ่ื ง - ก. พฒั นาการคิด บทท่ี ๒ - แบบประเมนิ ทกั ษะศลิ ปะ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ แตงกายหรืออุปกรณป ระกอบ ประดิษฐอ ุปกรณประกอบ ที่พึงประสงค การแสดงอยา งงา ยๆ การแสดง ๑ ชิ้น แลว สาธติ วธิ กี ารใช ศ ๓.๑ (๓) แสดงนาฏศลิ ปแ ละ - ก.พฒั นาการคิด บทที่ ๓ - แบบประเมนิ ทกั ษะศลิ ปะ - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ละครงา ยๆ แบงกลมุ แสดงนาฏศลิ ป ท่พี ึงประสงค ศ ๓.๑ (๔) บรรยายความรูสึก หรือละครมา ๑ ชุด แลว ของตนเองท่มี ีตองานนาฏศลิ ป เขยี นบรรยายแสดงความ ผฉสู บอบั น และการละครอยางสรา งสรรค รสู กึ ตอการแสดง ศ ๓.๑ (๕) แสดงความคดิ เห็น - ก.พัฒนาการคิด บทท่ี ๔ - แบบประเมินทกั ษะศลิ ปะ - แบบประเมินคณุ ลักษณะ ในการชมการแสดง ขอ ๑ ติดภาพการแสดง ทพี่ ึงประสงค นาฏศลิ ปหรอื ละครทชี่ น่ื ชอบ แลวเขยี นวจิ ารณห รือแสดง ความช่ืนชมตอการแสดง ศ ๓.๑ (๖) อธิบายความสมั พนั ธ - ก.พฒั นาการคิด บทที่ ๔ - แบบประเมนิ ทกั ษะศลิ ปะ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ระหวา งนาฏศลิ ปแ ละการละคร ขอ ๒ แบง กลุม สืบคน ทีพ่ ึงประสงค กบั สงิ� ที่ประสบในชีวติ ประจาํ วัน ขอ มลู การแสดงนาฏศลิ ป หรอื ละครท่ีเกยี่ วขอ งกบั วถิ ชี วี ติ ประเพณ� วฒั นธรรม แลวเขยี นอธิบายลงใน ชอ งวาง สวนที่ ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดา นผลการเรยี นตามตัวชว้ี ัด สวนท่ี ๒ คะแนนจากการประเมินตนเองของนกั เรยี น ผลงานกจิ กรรมบรู ณาการฯ ที่นักเรยี นปฏิบัติ ชอื่ งาน .................................................................................. สว นที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธผิ ลประจําหนว ย การทําแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิป์ ระจาํ หนว ยที่ ๓ สรุปผลการประเมินพฒั นาการเรียนรูประจําหนวย ขอเสนอแนะ ............................................................................................................... ผาน ไมผาน ......................................................................................................................................... ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ผานเกณฑประเมิน ลงชื่อ ........................................................................................................ ผูประเมิน ................... / ................... / ................... ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทําขึ้นก็ได ๑๒๗´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

๔˹Çè ¡ÒÃàÃÕ¹ÃéÙ·Õè ผฉูสบอับน แผนผงั ความคดิ ประจําหนวยการเรียนรทู ่ี ๔ เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยท่ี ๔ คุณคานาฏศิลปแ ละการละคร เม่อื เรยี นจบหนว ยนี้ ผูเรียนจะมีความรูค วามสามารถตอไปนี้ นาฏศิลปแ ละการละครนา รู ๑. อธบิ ายส่งิ ที่มีความสําคญั ตอ การแสดงนาฏศิลปและละคร ๒. ระบปุ ระโยชนท ่ีไดรบั จากการแสดงหรอื การชมการแสดงนาฏศลิ ปและละคร ความเปนมาของนาฏศลิ ปไทย ความเปนมาของละครไทย คุณภาพท่ีพงึ ประสงคของผูเรยี น การแสดงนาฏศิลปแ ละละครในวันสําคญั ของโรงเรียน ๑. เห็นคณุ คา การรกั ษาและสบื ทอดการแสดงนาฏศลิ ปไทย ๑๒๘ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö ๒. รูแ ละเขาใจประโยชนของนาฏศลิ ปและการละคร

º··Õè ñ ¹Ò¯ÈÔŻአÅСÒÃÅФùèÒÃÙŒ ขอบขายสาระการเรียนรูแกนกลาง รายวชิ าศิลปะ ชน้ั ป.๖ ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป สาระพืน้ ฐาน ความรูฝง แนนตดิ ตวั ผเู รยี น ● การแสดงนาฏศิลปไทยและการละครไทย มฐ. ศ ๓.๒ (๑) อธิบายส�ิงท่ีมคี วามสาํ คัญตอ ● ความเปน มาของนาฏศิลปไทย การแสดงนาฏศลิ ปและละคร ● ความเปน มาของละครไทย มีความเปนมายาวนาน ถือเปนมรดก มฐ. ศ ๓.๒ (๒) ระบุประโยชนที่ไดรับจาก ● การแสดงนาฏศิลปและละครในวันสําคัญ ทางวัฒนธรรมท่ีมีคุณคาและควรชวยกัน การแสดงหรือการชมการแสดงนาฏศิลปและ อนุรกั ษไว การละคร ของโรงเรยี น ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ ผฉูสบอับน ¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò ¡ÒÃáÊ´§ã¹ÀÒ¾Á¤Õ س¤Ò‹ áÅФÇÃ͹ØÃ¡Ñ Éä ÇËŒ ÃÍ× äÁ‹ Í‹ҧäà ๑๒๙´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ñ. ¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ¹Ò¯ÈÅÔ »äŠ ·Â นาฏศิลป หมายถึง ศิลปะการฟอนรําหรือความรูแบบแผนของการฟอนรํา เปนสิ�งที่ มนุษยส รางสรรคข ึ้นดว ยความประณต� งดงาม ใหความรนื่ เรงิ บนั เทิงใจ ซ�งึ มคี วามเก่ียวของกัน ในดานศิลปะการละคร การฟอนรํา การเคล่ือนไหวอิริยาบถตางๆ เพื่อถายทอดความหมาย และอารมณ ใหผ ชู มเกิดความรูส ึกสะเทอื นใจและมีความสนุกสนานเพลิดเพลิน ๑. ทม่ี าของนาฏศิลปไทย นาฏศิลปไทยเปนการแสดงที่มีมาต้ังแตสมัยโบราณ ตามหลักฐานทางโบราณคดี และการคน ควา วจิ ัย สามารถแบงทีม่ าของนาฏศิลปไทยได ๓ ที่มา ดังน�้ ผฉูสบอับน ทม่ี าของนาฏศิลปไ ทย ๑) มาจากการเซนสรวงบชู า ในสมัยโบราณมนุษยมีความนับถือในสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ จึงมี การเซนสรวงบูชาดวยขาวปลาอาหารท้ังคาวและหวาน ดอกไม กลิ่นหอม ตลอดจนการขับรองและฟอนรํา เพ่ือถวายสงิ่ ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ ตอมามีการไดพัฒนาสืบทอดเกิดเปนการฟอนรําเพื่อความ บันเทิง ซึ่งมีแบบแผนสวยงามจนมาถงึ ยคุ ปจจบุ นั ๒) มาจากการรบั อารยธรรมของอินเดยี ๓) มาจากการเลยี นแบบธรรมชาติ ในสมัยที่ไทยมาอยูในสุวรรณภูมิใหมๆ นาฏศิลปไทยแตเดิม ไดเลียนแบบ มชี นชาติมอญและขอม ซงึ� มคี วามเจรญิ รุงเรอื ง ทาทางการเคลอ่ื นไหวของธรรมชาตงิ ายๆ จาก และรับเอาอารยธรรมของอินเดียไวกอนแลว กิริยาทาทางของคน สัตว และลมฟาอากาศ เมอื่ ไทยมาอยูในระหวางชนชาติทัง้ ๒ น�้ จึงได รอบตัว โดยใชการสังเกตและจดจําลักษณะ ซึมซับและรับเอาอารยธรรมอินเดียไวดวย เชน ของส�งิ ตางๆ แลว นํามาฝกแสดงกริ ิยาอาการให ภาษา ประเพณ� การแสดงระบํา โขนและละคร คลายคลึงกันเพ่ือความสนุกสนาน ตอมาได เปนตน พัฒนามาเปนทารําที่เปนแบบแผนมากข้ึน เกิดเปนภาษาทาและนาฏยศัพท และมีการ สืบทอดตอ มาจนถงึ ยุคปจ จบุ นั ๑๓๐ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๒. ความสําคญั และคุณคา ของนาฏศิลปไทย นาฏศิลปไทยอยูคูกับคนไทยมาชานาน ถือเปนเอกลักษณของไทยท่ีแสดงถึง วัฒนธรรม ขนบธรรมเน�ยมประเพณ�อันดีงาม และวิถีชีวิตของคนไทย ท่ีไมเพียงแตนําเสนอ เพื่อความบันเทิงเพียงเทาน้ัน แตยังสะทอนใหเห็นความแตกตางของวิถีไทยกับชนชาติอ่ืนๆ อยางชัดเจน ดังนั้นคนไทยทุกคนจึงควรภาคภูมิใจ เห็นคุณคาของนาฏศิลปไทย และชวยกัน อนุรักษสบื สานมรดกของไทย ใหค งอยูคูคนไทยตลอดไป ผฉูสบอับน ▲ โขนเปน การแสดงนาฏศลิ ปช ั้นสูง ถอื เปน มรดกทางวัฒนธรรมทีม่ คี ณุ คา และสรา งความภาคภูมิใจใหก บั คนไทย ๓. บคุ คลสาํ คญั ในวงการนาฏศลิ ปไ ทย ผลงานทางนาฏศิลป เปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรมไทยที่ทรงคุณคา และไดถูก สรางสรรคจากจินตนาการ อารมณ และความรูสึกนึกคิดของบุคคลสําคัญ ซ�ึงถือเปนปูชน�ยบุคคล เพื่อใหเกิดความสนุกสนานเพลดิ เพลิน และถายทอดความหมายตา งๆ ที่แสดงถงึ ภมู ิปญ ญาของผคู น แตละยคุ สมัย นักเรียนจึงควรใหความสนใจและเห็นคุณคาของผลงานนาฏศิลป รวมถึงศึกษาประวัติ ความเปน มาของปูชน�ยบคุ คลทส่ี รางสรรคผ ลงานทางนาฏศลิ ปไทยอยา งช่ืนชม ๑๓๑´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

บุคคลสาํ คัญทางนาฏศลิ ปท่นี กั เรยี นควรรูจกั มีดังนี้ ประวัติและผลงาน ครลู มลุ ยมะคุปต ครูลมุลไดถูกบิดาพามาถวายตัวที่วังสวนกุหลาบ เมื่ออายุ ๕ ขวบ และไดเรียนรู ทางละครในหลายรูปแบบ จนมีความรูแตกฉาน ไดข้ึนเปนครูสอนละครที่เชียงใหมในคุม พระราชชายาเจาดารารัศมี เขารับราชการเปนครูแผนกนาฏศิลป กรมศิลปากร มีผลงาน ระหวา งป พ.ศ. ๒๔๗๗ - ๒๕๒๕ มากกวา ๕๐ ชดุ ผลงานดานนาฏศิลปข องครลู มุล ยมะคุปต เปน ที่ยอมรบั อยางกวา งขวาง ทง้ั สวน ของผูบังคับบัญชาตลอดถึงบุคคลท่ัวไป ท้ังประเภทรํามาตรฐาน ระบํา ฟอน และเซิ้ง ซ่ึงเกดิ จากความคดิ สรา งสรรคข องครลู มลุ เชน ระบาํ ศรีวชิ ยั ฟอนเล็บ ฟอ นเทียน เปน ตน ครลู มลุ ไดถูกยกยองวา เปนศิลปน ผมู ฝี มือ และเปนผูท่ีคิดคนทา ระบาํ ตา งๆ ขนึ้ ใหม ใหกบั กรมศิลปากรเปน สวนใหญ ผฉูสบอับน ทา นผหู ญิงแผว สนิทวงศเสนี ประวัตแิ ละผลงาน ทานผูหญิงแผว เขาถวายตัวในสมเด็จพระบรมวงศเธอเจาฟา อัษฎางคเดชาวุธ กรมหลวงนครราชสมี า เมื่ออายุได ๘ ป และไดรบั การฝกหัดนาฏศิลปก ับครผู ูทรงคณุ วฒุ ิ ในราชสํานักหลายทาน เชน เจาจอมมารดาวาด (ทาววรจันทร) เจาจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ ๔ และเจา จอมมารดาทับทมิ ในรัชกาลที่ ๕ จากการที่ทานต้ังใจเรียนดวยใจรัก และมีรูปรางหนาตาสวยงาม จึงไดรับการ สนับสนุนในการเรียนนาฏศลิ ปอยางเต็มท่ี จนเปน ผเู ชย่ี วชาญดา นความรูค วามสามารถใน การแสดงนาฏศิลปเปนเลิศ ทานไดนําเอาความรูทางนาฏศิลปจากประเทศตางๆ มา พัฒนาปรับปรุงใหสวยงามตามแบบแผน เชน ระบํามา ซ่ึงจดจํามาจากทาระบํามาของ ประเทศโปรตุเกส นอกจากนี้ทานยังประดิษฐทารําขึ้นอีกมากมาย เชน ฟอนดวงเดือน รําซัดชาตรี ฟอนจันทรา ระบาํ ดอกบวั เปน ตน ทานผหู ญิงแผว เปรียบเสมอื นศนู ยร วม ศิลปวัฒนธรรมไทย เพราะเปนผูรอบรูในงานศิลปวิทยาการดานนาฏศิลป การประพันธ บทสาํ หรับแสดงท้ังโขนและละครอีกมากมาย ๑๓๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ ๑ แบงกลุม รวมกันอภิปรายเก่ียวกับท่ีมาของนาฏศิลปไทย แลวเขียนสรุปเปนแผนผังความคิด ลงในสมุด ขึ้นอยกู บั ดุลยพนิ ิจของผูสอน ๒ สืบคนขอมูลเก่ียวกับบุคคลสําคัญที่สรางสรรคงานนาฏศิลปไทยที่นักเรียนช่ืนชอบจากแหลงขอมูล ตา งๆ คนละ ๑ ทา น พรอมกับติดภาพประกอบ และบันทึกขอมลู (ตวั อยาง) (ตดิ ภาพ) ชื่อ นายสาคร ยังเขียวสด………………………………………………………………………………………………………………………….. ผลงานทางนาฏศิลป ………ก…า…ร…แ…ส……ด…ง…ห……นุ …ล……ะ…ค…ร…เ…ล…ก็…………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………… ผฉสู บอับน ประวัตโิ ดยยอ ………น…า…ย……ส…า…ค……ร………ย…ัง……เข…ีย……ว…ส…ด…………ห…ร…ื…อ…โ…จ…ห……ล…ุย……ส… …เ…ก…ดิ …เ…ม…ือ่ …ว…นั……เ…ส…า…ร… ……เด……ือ…น…ส……า…ม……ป……จ …อ……ต……ร…ง…ก……ับ…ป………พ….…ศ….……๒……๔…๖…๔.. …ท…่ี…จ…….…น……น…ท……บ…ุร……ี …เป……น…ผ…มู……คี …ว…า…ม…ส……า…ม…า…ร…ถ…ใ…น……ด…า…น……ก…า…ร…แ…ส……ด…ง……….. …น…า…ฏ……ศ…ลิ …ป……ห…ล……าย……ป…ร…ะ…เ…ภ…ท………ท…้ัง…โ…ข…น………ล…ะ…ค…ร………ล…ิเ…ก……โ…ด…ย……เฉ……พ…า…ะ…ก…า…ร……เช…ดิ ……ห…นุ ………………………………………………………. ……………ท…า…น……ม…ีช…ื่อ……เส……ีย…ง…ใ…น……ก…า…ร……แ…ส…ด……ง…ห…ุ…น…ล……ะ…ค…ร…เ…ล…็ก………โ…ด……ย…ส……ืบ…ท……อ…ด…ม……า…จ…า…ก………ค……ร…ูแ…ก…ร………ศ……ัพ…ท……ว…น…ิช…. …ท…า…น……ไ…ด…พ……ัฒ……น…า…ค……ว…า…ม…ส…า…ม……า…ร…ถ…ใ…น……ก…า…ร…เ…ค……ล…ื่อ…น……ไ…ห…ว…ข…อ……ง…ห…ุน………แ…ล……ะ…ป…ร…ั…บ…ป…ร……ุง…ใ…ห…ท……ัน…ส……ม…ัย…อ……ย…ูเส……ม…อ…. …ป…จ…จ……บุ …นั ……ก…ย็ …ัง…ม……ีค…ณ……ะ…ล…ะ…ค……ร…ห…ุน ……โ…จ…ห…ล……ุย…ส……เ…ป…ด……ก…า…ร…แ…ส……ด…ง…ใ…ห……ช…ม…อ…ย…ูบ……อ …ย…ๆ………………………………………………………. ๓ ศึกษาคนควา ชุดการแสดงนาฏศิลปไทยทชี่ นื่ ชอบ แลว เขียนบันทึกขอ มลู ลงในตาราง (ตัวอยาง) ช่อื ชุดการแสดงนาฏศิลปไทย ลักษณะเดน ของการแสดง ๑. ฟอ นเทียน………………………………………………………………………………………………….. …๑….…ม……เี ท…ยี……น…ป…ร…ะ…ก……อ…บ…ก…า…ร…แ…ส……ด…ง……ล…ลี……า…อ…อ…น…ช…อ…ย….. ๒. ฟอนสาวไหม………………………………………………………………………………………………… …๒….…ม……ลี …ลี …า…ร…า …ย…ร…าํ …ท…่เี…ห…ม…ือ……น…ก…บั……ก…า…ร…ส…า…ว…ไ…ห…ม………… ๓. โขน………………………………………………………………………………………………… …๓….…ม……ที …า…ร…า…ย…ร…าํ …แ…ล…ะ…ฉ…า…ก……ก…า…ร…แ…ส…ด……ง…ท…่สี …ว…ย…ง…า…ม…… ๔. โนรา………………………………………………………………………………………………… …๔….…ม……ีล…ีล…า…ก…า…ร…ร…า…ย…ร……ํา…ท…่ีส…น……ุก…ส…น……า…น………แ…ล…ะ…ม…ีก…า…ร ………แ…ต……ง …ก…า…ย…ท…คี่ …ล……า …ย…ก…บั …ก…นิ……ร…เี …ป…น …เ…อ…ก…ล…กั……ษ…ณ…… … ………………………………………………………………………………………………… ๑๓๓´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

เปนสัตวใ นวรรณคดี รปู รา งหนา ตาเหมือนมนษุ ย แตม ีปก และหางทถ่ี อดได เม่อื ใสปก และหางก็สามารถบนิ ไปยงั ท่ตี างๆ ไดต ามตองการ ò. ¤ÇÒÁ໹š ÁҢͧ¡ÒÃÅФÃä·Â ละคร หมายถงึ การแสดงศิลปะอยา งหน่ึงที่สะทอ นใหเ หน็ ถึงชวี ิตความเปน อยู คา นยิ ม ขนบธรรมเนียมประเพณี และศิลปวัฒนธรรมตางๆ โดยการนําเอาประสบการณในชีวิตจริง และจินตนาการมาผสมผสานกันเปนเรื่องราว ซ่ึงมีนักแสดงเปนผูส่ือความหมายและเรื่องราว ใหผ ูชมเขาใจ ๑. ทม่ี าของการละครไทย มีหลักฐานวา ในสมัยกอน ในสมัยสุโขทัยนี้มีการ ในสมยั อยุธยา มลี ะครราํ ต้งั สโุ ขทยั เปนราชธานี บรเิ วณท่ี แสดงละครแกบน และ เกิดขึ้น ๓ ชนิด คือ ละคร เปนที่ตั้งประเทศไทยในปจจุบัน แสดงละครเร่ืองมโนหรา ชาตรี ละครนอก ละครใน ไดมีการแสดงละครกันมาแลว สืบตอมาจากสมัยกอน สําหรับละครในสันนิษฐานวา สันนิษฐานวา ละครเร่ืองแรกๆ หนา น้ี เกิดขึ้นในระหวางรัชกาล ท่ีนํามาใชในการแสดง นาจะ สมเด็จพระเพทราชาและ เปนละครเรอ่ื ง มโนหรา รัชกาลสมเด็จพระเจาอยูหัว- บรมโกศ ผฉสู บอับน ที่มาของละครไทย สมัยกอ นสโุ ขทัย สมัยสโุ ขทยั สมัยอยุธยา สมยั ธนบุรี สมัยรตั นโกสนิ ทร ในสมัยธนบุรี มีละครของเอกชนเกิดข้ึน ในสมัยรัตนโกสินทร ศิลปะโขน ละคร หลายโรง นอกจากน้ียังมีคณะละครผูหญิง ฟอนรํา เจริญรุงเรืองมากในสมัยรัชกาลที่ ๒ ของเจานครศรีธรรมราชท่ีไดนํามาจัดแสดง และในสมัยรัชกาลท่ี ๖ ซ่ึงในสมัยรัชกาลที่ ๖ ในพระราชสาํ นกั ธนบรุ ีดวย พระองคโปรดเกลาฯ ใหจัดตั้งกรมมหรสพข้ึน ตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๗ ไดมีการโอนศิลปน มาสังกดั กรมศิลปากร ๑๓๔ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

๒. ความสาํ คญั และคณุ คาของละครไทย ละครเปนส่ือท่ีใหความบันเทงิ ที่มนษุ ยไดสรางสรรคข น้ึ มา เพอ่ื ใหท ั้งความบันเทงิ กระตนุ เรา ความคดิ ใหความรู ใหประสบการณช ีวิต ตลอดจนใหบ ทเรยี นสอนใจและแงคดิ ทดี่ ีใน การนํามาใชในชีวิตประจําวัน และยังชวยใหความ ฝนท่ีคนดูปรารถนาเปนเสมือนโลกที่งดงามให ผูคนหนีจากชีวิตที่สับสน ไดมาพักสมองและ ผอ นคลายอารมณ ไดชว่ั ขณะหน่งึ ละครพื้นบานเปนตัวอยางของความ ดีงามท่ีสะทอนวิถีชีวิตคนไทย มีภูมิปญญาไทย สอดแทรกผสมผสานอยู ซ่ึงเปนละครท่ีคนไทย คุนเคยกันมานานแลว เนื้อเร่ืองท่ีนํามาเลนจะมี เร่ืองราวที่สนุกสนานชวนติดตาม ประกอบดวย อภินิหารตางๆ ความเชื่อในเร่ืองเวทมนตรคาถา สามารถแปลงกายได เนนใหเห็นเรื่องบาปบุญ ▲ แกว หนา มา เปน ละครแนวอภนิ หิ าร เนน คณุ ธรรม ผฉสู บอับน คณุ โทษ และจบลงดวยความดชี นะความชั่วเสมอ ในดา นความดชี นะความชว�ั ละครไทยมีความสาํ คัญและคุณคา ตอสงั คมไทย ดังน้ี ความสาํ คญั และคณุ คา ของละครตอ สงั คมไทย ดา นความบนั เทงิ ดา นสงั คม ดา นประเพณ� มีบทตลก ชวยให สะทอนใหเห็นสภาพความเปนอยู มีประเพณีไทยโบราณ ผอนคลายความเครียด วิถชี ีวติ ของคนในสังคม เชน การเกิด ท่ีละครมีสวนชวยสืบสาน เปนการพักผอนหยอน การเลี้ยงดูลูกหลาน การเลือกคูครอง เอาไวใหคนรุนหลังไดรูจัก ใจ เกิดความสนุกสนาน การประกอบอาชีพ การปกครองแบบ เชน ประเพณีการรับขวัญ เพลดิ เพลนิ ใจ ราชาธิปไตย ที่พระมหากษัตริยมี การเวียนเทยี น การโกนจกุ อํานาจสูงสุด รวมถึงการละเลนของ การแตง งาน เปนตน เด็กไทยที่ปรากฏอยูในละคร เปน ตน ๑๓๕´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

คอื การแสดงสด สวนใหญห มายถงึ ดนตรี เปน การแสดงตอหนาคนดู อาจแสดงคนเดียวหรอื หลายคนกไ็ ด ๓. บุคคลสาํ คัญในวงการละครไทย ผลงานการละครไทยเปน มรดกไทยทง่ี ดงามและทรงคณุ คา ซง่ึ ถา ยทอดภมู ปิ ญ ญาไทย และวิถชี วี ติ ขนบธรรมเนยี มประเพณไี ทย ใหค งอยคู อู นุชนรนุ หลงั ความดีงามนี้ ถูกสรางสรรค จากบุคคลสําคญั ทางการละครทีน่ ักเรยี นควรรจู ัก ดงั น้ี สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานรศิ รานวุ ัดตวิ งศ ประวัติและผลงาน มีมาตั้งแตสมยั โบราณ นิยมเลน ตามชนบท โดยมหี ลกั ฐานการเลน ในรัชสมยั สมเด็จพระเอกาทศรถ อาจจะเรียกวา โปโลแบบไทยๆ ก็ได เพราะมลี กั ษณะการเลน คลายกนั พระองคทรงเปนพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาล ที่ ๔ กับหมอมเจาหญิงพรรณราย (หญิงแฉ) พระองคทรงเปนอัจฉริยบุคคล เชี่ยวชาญ ดานศิลปะหลายแขนง โดยเฉพาะอยางย่ิงทางดานนาฏศิลป ดนตรี ทรงโปรดเปนพิเศษ รองจากทัศนศลิ ป พระองคทรงจัดวงดนตรีไทยโดยมีวิธีการเลนแบบคอนเสิรตของฝร่ัง อันเปนจุด เริ่มตนของละครแบบสากล จนกลายเปนละครดึกดําบรรพในที่สุด นอกจากนี้ยังทรงแตง ผฉูสบอับน บทละคร ออกแบบฉาก และควบคุมทางดานศิลปะ บทละครดึกดําบรรพที่ทรงนิพนธมี มากมายหลายเร่ือง เชน เร่ืองสังขทอง ตอนตีคลี ตอนถอดรูป เรื่องอิเหนา ตอนตัด ดอกไมฉายกรชิ ตอนไหวพ ระ ตอนบวงสรวง เปน ตน บทละครทุกเร่ืองที่ทรงนิพนธไว ลวนเปนบทละครที่นิยมนํามาแสดงในปจจุบัน ดวยความกระชับ แตคงความสนุกและเหมาะสมกับเวลาของบทละคร จึงยังคงครองใจ ผูชม และครูผสู อนนาฏศลิ ปก ค็ ุนเคยกบั บทละครอนั ทรงคณุ คาน้ีจนกระทั่งปจ จบุ นั ▲ อเิ หนา เปน ละครในเรอื่ งหน�งึ ท่ีสมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอ เจา ฟา กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ สนพระทัย และทรงนิพนธบ างตอน ๑๓๖ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

ประวตั ิและผลงาน ครมู ลั ลี (หมัน) คงประภัสร เปนบุตรีของนายกุกและนางนวม ชางแกว มีภูมิลําเนาอยูบานปากคลอง วัดร้ัวเหล็ก อาํ เภอบางกอกใหญ จงั หวดั ธนบรุ ี ครมู ลั ลสี นใจเกยี่ วกบั การรา ยราํ มาตง้ั แตย งั เดก็ เคยไดฝ ก หดั ราํ ละครกบั คณะของพระองคเ จา วชั รวี งศ(เจา ขาว) โดยฝก หดั กบั ครลู ะครคนสาํ คญั ของวงั เจา ขาว คอื หมอมแมเ ปา จนมีความเชยี่ วชาญในดา นการละครนบั แตนั้นมา หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครอง กรมมหรสพไดถูกยุบ ทางราชการไดจัดต้ัง กรมศลิ ปากรข้นึ มาแทน และไดจดั ตั้งโรงเรยี นนาฏดรุ ยิ างคขึ้น ครูมลั ลีจึงไดเ ขา รับราชการ สอนนักเรียนในโรงเรียนนาฏดุริยางค แหงกรมศลิ ปากร ตัง้ แตน้นั มา จนกระทัง่ อายุ ๘๐ ป จึงไดหยุดพักผอน โดยตลอดระยะเวลากวาคอนชีวิต ไดอุทิศตนเพ่ือสืบสานถายทอดงาน นาฏศลิ ปและการละครใหค นรนุ หลังไดเรียนรู ฝก หดั และอนุรักษกนั จากรนุ สูรนุ ไมส ูญหาย ผลงานของครมู ัลลที ี่นกั เรยี นควรชื่นชมและทาํ ความรจู กั ไดแก ๑) สามารถเลนละครไดท ุกบทบาทตวั ละคร ๒) เคยแสดงละครชาตรมี าแลวเกอื บทกุ เร่ือง ผฉูสบอับน ๓) เคยแสดงโขน โดยเลน เปนตัวละครท่เี ปนผชู ายที่สามารถเลน ได ๔) เคยเดนิ ทางไปแสดงละคร ณ ประเทศญป่ี นุ ในนามของรฐั บาลไทย ประสบความ สาํ เร็จ สรา งช่อื เสยี งใหประเทศมาแลว ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ò ๑ แบงกลุม คนควาขอมูลเก่ียวกับประวัติความเปนมา และความสําคัญของการละครไทยท่ีมีผลตอ ๒ แคพวาบนรดงอใหนกมรลสกอืมุงับั ตคเจดิมขดั ภยีไปทานาพยบยบรนจรคุ เิดัยทคทาศลยาํ สใเปหาํปรคคน ะวัญวราัตาใมยนโิ รดงวเู ายกงขนกยย่ี้ึนาอวอแรกแยลลบัลูกวะกะบัคสยาดรง กรุลไตลตทยัวะวัพยแคอททินรยไน่ีนิจาทขอักงอยผอเงรขกลผยีนึ้ งมสูนใาาอนชนนนบนื่ าํ รชเเิสอวนณบอโคหรนงนเลาระชยี นั้น๑เเรพทียาอ่ืนนรณลรงงใคนก สามรุดอนรุ กั ษ ๓ งานละครไทย ๑๓๗´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook