Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1635005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป6-Update

1635005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป6-Update

Published by Cupasong02, 2021-07-06 05:31:12

Description: 1635005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป6-Update

Search

Read the Text Version

ó. ¡ÒÃáÊ´§¹Ò¯ÈÔŻአÅÐÅФÃã¹Ç¹Ñ ÊÒí ¤ÞÑ ¢Í§âçàÃÕ¹ นักเรียนทุกคนคงเคยชมการแสดงนาฏศิลปและละครมาแลว จากการจัดแสดงตาม สถานท่ีตางๆ หรือวันสําคัญที่มีการจัดขบวนแหในชุมชน เชน วันเขาพรรษา วันสงกรานต เปนตน นักเรยี นบางคนอาจเคยมีโอกาสไดเ ขา รว มในการแสดงเหลานด้ี วย นบั เปนโอกาสดีที่จะได แสดงความรคู วามสามารถในงานนาฏศลิ ปและการละครของตนเองใหผ ูอนื่ ไดช ม โอกาสอ่ืนๆ ท่นี กั เรียนอาจมีสว นรว มในการแสดง เชน งานวันสําคัญท่ีโรงเรียนจดั ข้ึน ซึ่งโรงเรียนแตละโรงเรียนมักมีการจัดงานประจําป เพ่ือใหนักเรียนไดมีสวนรวมเปนเจาภาพใน การจัดงาน นอกจากจะไดรับความสนุกสนานแลว นกั เรยี นยังไดฝ กทาํ งานรวมกบั ผูอ ่ืน ทําให เปนคนกลา แสดงออก และเปนสวนหน่ึงในการชวยสืบสานศิลปวฒั นธรรมไทย การแสดงนาฏศิลปและละครในวันสําคัญที่ทางโรงเรียนจัดข้ึน นักเรียนจะตองพิจารณา ถึงความสําคัญและลักษณะของงานวา มีความเก่ียวของกับเรื่องใด การเลือกชุดการแสดง ใหสอดคลองกับงานทจ่ี ัดกเ็ ปน เรอ่ื งสาํ คญั เพราะตองคํานงึ ถงึ ความเหมาะสมและความถูกตอง ตามกาลเทศะดวย ผฉูสบอับน การชมและเขารวมการแสดงนาฏศิลปและการละครในวันสําคัญของโรงเรียน นักเรียน จะไดรบั ประโยชน ดังน้ี ๑.ไดรับความสนุกสนาน ๒.ไดฝ ก การทาํ งาน ๓.ไดฝกความมีระเบียบ ๔.ไดมีโอกาสแสดงออก เพลิดเพลนิ รว มกบั ผูอน่ื และรจู กั วินัยในตนเอง และ ดา นนาฏศิลปและ ชวยเหลอื เก้ือกูลกัน ความรับผิดชอบตอ การละคร งานท่ีไดรับมอบหมาย ประโยชนก ารชมการแสดง ๕.ชวยอนุรักษการแสดง ๖. ไดรับความรูเก่ียวกับ ๗.ไดขอคิดที่สามารถนํา ๘.ไดฝกความคิดริเร�ิม นาฏศลิ ปไทยและ การแสดงนาฏศิลป- ไปประยกุ ตใชใ น ส ร า ง ส ร ร ค ใ น ก า ร การละคร ไทยและการละคร ชีวิตประจาํ วันได ทํางาน ๑๓๘ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó ๑ เขยี นเลา ประสบการณเ กย่ี วกบั การแสดงนาฏศลิ ปแ ละละครของโรงเรยี นในวนั สาํ คญั ตา งๆ ลงในสมดุ และออกมานาํ เสนอหนา ช้ันเรยี น ขน้ึ อยูก ับดุลยพนิ จิ ของผสู อน ๒ เขยี นช่อื รายการแสดงทีน่ กั เรียนอยากแสดงในวนั สาํ คัญของโรงเรียนลงในตาราง (ตวั อยา ง) ช่ือวนั สําคญั ของโรงเรยี น รายการแสดง ๑. วนั กอ ตัง้ โรงเรยี น.......................................................................................................................................... รําเชญิ พระขวัญ........................................................................................................................................... ๒. วันสุนทรภู........................................................................................................................................... ละครเรื่อง พระอภัยมณี........................................................................................................................................... ๓. วันครู.......................................................................................................................................... ราํ อวยพร........................................................................................................................................... ๔. วันแม.......................................................................................................................................... ละครเรือ่ ง พระคณุ แม........................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ผฉสู บอับน .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ๓ ยกตวั อยางการแสดงนาฏศิลปทชี่ ่ืนชอบมา ๒ ตัวอยา ง พรอ มกบั บนั ทึกขอมลู (ตัวอยา ง) (ตดิ ภาพ) ๑ (ติดภาพ) ๒ (ภาพรํากระทบไม) (ภาพเซ้งิ แหยไ ขม ดแดง) ชอ่ื การแสดง ราํ กระทบไม………………………………………………………………………….. ชอื่ การแสดง …………เซ…ิ้ง…แ……ห…ย…ไ…ข…ม…ด…แ…ด…ง…………………………….. โอกาสในการแสดง ………แ…ส…ด……ง…ใน……โ…อ…ก…า…ส…ท……ั่ว…ไป…………….. โอกาสในการแสดง ……แ…ส……ด…ง…ใ…น…โ…อ…ก……าส……ท…่ัว…ไ…ป………….. ประโยชนท ี่ไดร บั ……………ได……ร…บั …ค…ว…า…ม…ส……น…ุก……ส…น…า…น………… ประโยชนท่ีไดรับ …………ไ…ด…ร …บั ……ค…ว…า…ม…ส…น……กุ …ส…น……า…น………. …………แ…ล…ะ…ช…ื่น……ช…ม…ก…า…ร…แ…ส…ด……ง…แ…บ…บ……ไท……ย………………………………….. ………แ…ล……ะ…ได……เ ห……น็ …ว…ิธ…ีก…า…ร…ห……าห……ร…อื …แ…ห…ย…ไ…ข…ม …ด……แ…ด…ง……………… ๑๓๙´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ»ÃШӺ· ๑ เขยี นอธบิ ายสิง� ท่มี ีความสาํ คัญตอการแสดงนาฏศิลปและละคร ตามหัวขอ ทก่ี ําหนดให ขนึ้ อยูก บั ดลุ ยพินิจของผูส อน มศฐ3./.ต2ัวช(1ี้ว)ัด (ทําลงในสมุด) ๑) บุคคลท่สี รา งสรรคผ ลงานนาฏศิลป มคี วามสําคญั ตอการพฒั นางานทางนาฏศลิ ปอยางไร ๒) บุคคลท่สี รางสรรคผ ลงานการละคร มคี วามสําคญั ตอการพฒั นางานทางนาฏศลิ ปอยางไร ๓) นักเรียนมสี วนชว ยใหงานแสดงนาฏศิลปไทยและการละคร มคี ณุ คา ไดอ ยางไร ๒ แบง กลุม คิดชุดการแสดงในวันสําคญั ของโรงเรยี นมา ๑ ชดุ แลวออกมาแสดงหนา ชั้นเรียน (ตวั อยาง) มฐ./ตัวชี้วัด และเขยี นประโยชนท ่ีไดจ ากการแสดงชุดน้� ๑) ชื่อชุดการแสดง คือ ละครสรางสรรค เรื่อง พระคุณแม……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ศ3.2 (2) ๒) เปน การแสดง ❍ นาฏศลิ ปไทย ❍✓ การละคร ๓) การแสดงชดุ น�้ ใชแสดงในวันสาํ คัญของโรงเรยี น คือ วนั แมแ หง ชาติ……………………………………………………………………………………. เหตุผลทเี่ ลอื กการแสดงชุดน�้ เพราะ เพ่ือรําลกึ ถึงพระคณุ แม………………………………………………………………………………………………………………………………… ผฉูสบอับน ๔) ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดร ับจากการแสดงและการชมการแสดงชุดน้� คอื ประโยชนจ ากการแสดง ประโยชนจ ากการชมการแสดง …………ไ…ด…ฝ……ก …ค…ว…า…ม……ก…ล…า …แ…ส……ด…ง…อ…อ……ก…………………………………. ………ไ…ด…เ…ห…น็……แ…ล…ะ…ซ…า…บ……ซ…ึ้ง…พ……ร…ะ…ค…ุณ……แ…ม… ……………………………. …………แ…ล……ะ…ฝ…ก …ท……ัก…ษ…ะ…ก……า…ร…แ…ส…ด……ง…ใ…ห…ด ……ีข…ึน้ ……………………….. ………ท……ีถ่ …กู …ถ……า …ย…ท…อ…ด……จ…า…ก…ผ……แู …ส…ด…ง……………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ๕) ความรสู ึกท่ีมีตอ การแสดงของกลมุ นกั เรียน ❍✓ พอใจ ❍ ไมพอใจ เพราะ แสดงไดส มบทบาท และสือ่ ความหมายไดดี…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑๔๐ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

แบบทดสอบที่ ๑ : กา ✗ คาํ ตอบทีถ่ กู ทส่ี ดุ ๑. ขอใดเปน ลักษณะของนาฏศิลปไทย ๖. ผูใดคิดประดษิ ฐทาการแสดงฟอนเง้ยี วขน้ึ ก. ไมม ีบทเจรจา ✗ก. ครูลมลุ ยมะคุปต ข. เปนการแสดงสดในงานวดั ข. ครมู ลั ลี คงประภัสร ค. ใชผแู สดงเปนหญงิ ทงั้ หมด ค. ทานผูหญงิ แผว สนิทวงศเ สนี ✗ง. มลี ีลาทา รําออ นชอ ยสวยงาม ง. เจาฟา กรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ ๒. เพราะเหตใุ ด เราจึงควรอนุรักษนาฏศิลปไทย ๗. การเลือกชดุ การแสดงในวนั สาํ คัญของโรงเรียน และการละคร มีขอควรคาํ นึงถึงอยา งไร ก. เพื่อใหผ ูอนื่ ยกยอ งชมเชย ✗ก. มีความเหมาะสมและสวยงาม ข. เพ่ือจะไดแ สดงเปนตัวเอก ข. เนน ความสวยงาม ✗ค. เพื่อสบื สานศิลปวัฒนธรรมไทย ค. มคี วามแปลกใหม ง. เพ่ือจะไดน าํ ไปเปดแสดงหารายไดพ เิ ศษ ง. ใชเ วลาแสดงนานๆ ๓. การไปสัมภาษณบคุ คลทส่ี รา งสรรคง านนาฏศิลป ๘. ราํ อวยพร เหมาะแสดงในวันสาํ คญั ใดมากที่สุด ในทอ งถ่นิ ควรถามเก่ยี วกับเรื่องใด ผฉูสบอับน ก. วันสุนทรภู ก. วันเกดิ ✗ข. ผลงาน ข. วนั เขาพรรษา ค. อายุ ง. สถานภาพ ค. วันลอยกระทง ๔. ขอใดไมใ ชลกั ษณะเดนของละครพน้ื บาน ✗ง. วันแมแหงชาติ ของไทย ๙. การแสดงละครเรื่องขุนชางขนุ แผน เหมาะจะ ก. เนือ้ เร่ืองสนกุ สนาน สอดแทรกคุณธรรม แสดงในวันสาํ คัญใดมากทส่ี ุด ข. มีอภินิหาร สามารถแปลงกายได ✗ก. วนั สุนทรภู ค. สอดแทรกวิถีชีวิตชาวบา น ค. วันเขาพรรษา ✗ง. มคี าํ ภาษาองั กฤษแทรก ข. วันเดก็ แหงชาติ ๕. ผใู ดเปน เจา ของผลงานละครดึกดําบรรพ ง. วันกฬี าสีของโรงเรยี น เรอื่ งสังขทอง ๑๐. ขอ ใดไมใชประโยชนท่ีไดจากการชมการแสดง ก. ครูลมลุ ยมะคปุ ต ก. ไดขอคิดท่ีดีนําไปใชในชีวติ ประจาํ วัน ข. ครมู ลั ลี คงประภสั ร ข. ทาํ ใหผอนคลายความตงึ เครียด ค. ทา นผูหญิงแผว สนิทวงศเสนี ค. ไดฝ ก การทาํ งานรวมกบั ผูอื่น ✗ง. เจา ฟากรมพระยานริศรานวุ ดั ตวิ งศ ✗ง. ทาํ ใหเปนท่ียอมรับของผูอ ื่น ๑๔๑´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä แ๑บ) งชกอื่ ลชุมุดกคาดิ รกแาสรดแงสดคงอื ละ…ค…ร…ใ…คน…ณุ …ว…นั ค…สร…ถูท…า…ี่รป…ัก…น…า…ก…อ……ต…้งั …โ…ร…ง…เร…ยี …น………๑……เร…่อื……ง…แ……ล…ว …อ…อ…ก……ม…า…แ…ส…ด……ง…ห…น…า…ช……น้ั …เ…ร(…ียต…นวั…อ…ย……า .ง. ) ๒) เน�อ้ เร่อื งยอ ของละคร ………ค……ร…พู …ณิ ………เ…ป…น……ค…ร……ูป…ร…ะ…จ…าํ…ช…ัน้……ใ…น…โ…ร…ง…เ…ร…ยี…น……แ…ห…ง……ห…น……ึง่ ……ค……ร…ูพ…ิณ……เ…ป…น ……ค…ร…ูท……ี่ม…ี ……. ………ค…ุณ……ธ…ร…ร……ม………แ…ล…ะ…ม…ีจ…ิ…ต…ว…ิญ……ญ…า…ณ……ข…อ……ง…ค…ว…า…ม……เป……น…ค……ร…ูม…า…ก………ค……อ…ย…ส……อ…น…น……ัก……เร…ีย……น………ค…อ……ย…ช…ว…ย…เ…ห…ล……ือ………. ………น…ัก……เร…ีย……น…ท……่ีม…ีป…ญ……ห…า………โ…ด…ย…ไ…ม…ส……น…ใ…จ…ว…า…ต……ัว…เอ……ง…จ…ะ…ล…ํา…บ……า…ก…อ…ย…า…ง……ไร………จ…น……ก…ร……ะท……่ัง…น……ัก…เ…ร…ีย…น…ป……ร…ะ…ส…บ…………. ความสําเรจ็ ในการเรยี น…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓) ผูแ สดงละคร มีดงั น�้ ผฉูสบอับน (๑) แสดงเปน…………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… (((๔๒๓))) ขน้ึ อยูกับดแแุลสสยดดพงนิ เปิจขนองผสู อน……………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… งเปน…………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………… แสดงเปน…………………………………………………………………….. (๕) แสดงเปน…………………………………………………………………….. ๔) เพลงท่ีใชป ระกอบการแสดง ❍ มี ❍✓ ไมม ี ถามี คือ เพลง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕) ขอ คิดท่ีไดจ ากการแสดงชดุ น�้ คอื ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………ค…ร…ูเ…ป…น ……ผ…ทู …ี่ค……อ…ย…อ…บ……ร…ม…ส……่ัง…ส…อ……น…ใ…ห…น……กั …เ…ร…ยี …น……เป……น…ค……น…ด……ี …แ…ล…ะ…ค……น…เ…ก…ง ………………………………………………….. สามารถดาํ เนินชีวติ ไดอ ยา งมคี วามสุข………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๖) ขอ เสนอแนะในการแสดงครง้ั ตอ ไป คอื …………………………………………………………………………………………………………………………… หาอุปกรณประกอบการแสดงใหพ รอ มกวาน้ี………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑๔๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

กา ✗ คาํ ตอบที่ถูกที่สุด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ๑. ประเทศใดเก่ยี วขอ งกบั ท่ีมาของนาฏศิลปไทย ๔ประจาํ หนวยการเรียนรทู ี่ ก. ญป่ี นุ ä´¤Œ Ðá¹¹ ¤Ðá¹¹àµÁç ñð ✗ข. อินเดีย ๖. ขอใดเปนคุณสมบัติของผูส รางสรรคงาน ค. องั กฤษ นาฏศลิ ปไทย ง. อินโดนเี ซยี ✗ก. คิดประดิษฐทา ราํ ไดอยา งสวยงาม ๒. การแสดงนาฏศลิ ปใด ท่ีสันนิษฐานวา ข. เคยอาศยั อยูในวงั มากอ น ไดร บั อารยธรรมของอนิ เดีย ค. มีอายุตัง้ แต ๘๐ ปข ้ึนไป ง. มีเช้ือสายผูดีเกา ✗ก. โขน ๗. ระบํากวาง มที ี่มาจากขอ ใด ก. การเซน สรวงบชู า ข. ฟอ นภูไท ✗ข. การเลยี นแบบธรรมชาติ ค. เซ้ิงโปงลาง ค. การรับอารยธรรมของอนิ เดยี ง. ระบาํ ชาวนา ง. เลยี นแบบวิถีชวี ิตของชาวบา น ๓. ระบาํ ศรีวิชยั เก่ยี วขอ งกับบุคคลใด ๘. ครลู มุล ยมะคปุ ต เกย่ี วของกับขอ ใด ผฉสู บอับน ✗ก. ครลู มุล ยมะคปุ ต ✗ก. ฟอนเงีย้ ว ข. รําซดั ชาตรี ค. ฟอ นจนั ทรา ง. ระบําดอกบวั ข. ครมู ัลลี คงประภัสร ๙. ละครเรือ่ งพระอภัยมณี เหมาะแสดงในวัน ค. อาจารยเ สรี หวงั ในธรรม สําคญั วันใด ง. ทา นผหู ญงิ แผว สนทิ วงศเ สนี ก. วนั กฬี าสขี องโรงเรยี น ๔. บุคคลใด เคยเปน ตัวแทนของรฐั บาลไทยไป ข. วันเด็กแหง ชาติ แสดงละคร ณ ประเทศญีป่ นุ ค. วนั เขาพรรษา ก. ทานผูห ญงิ แผว สนทิ วงศเสนิี ✗ง. วันสนุ ทรภู ข. เจา ฟา กรมพระยานริศรานวุ ดั ติวงศ ๑๐. การเขารว มการแสดงนาฏศิลปไมได ประโยชนขอ ใด ✗ค. ครมู ัลลี คงประภสั ร ก. ไดผ อนคลายความเครียด ข. ไดฝ กทํางานรวมกบั ผอู ่ืน ง. ครูลมลุ ยมะคปุ ต ค. ไดขอคิดจากการแสดง ๕. ละครเรื่องใด สนั นษิ ฐานวานา จะเปน ✗ง. ทาํ ใหเดน ดงั เรื่องแรกของละครสมยั กอนสุโขทัย ก. อเิ หนา ข. สังขท อง ✗ค. มโนหร า ง. แกว หนา มา ¤Ã٨Ѵ·´Êͺ»ÅÒÂÀÒ¤ â´Â㪌¢ÍŒ Êͺ㹷ŒÒÂàÅÁ‹ ¹Õé ๑๔๓´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

ẺºÑ¹·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÒí ˹Nj  รายการวัดประเมินผลตามเปา หมายการเรียนรู ประจําหนวยท่ี ๔ คาํ ช้ีแจง : ๑. ครูกําหนดคะแนนเตม็ ของกิจกรรมทีต่ อ งการวัดผลเพ่ือเก็บสะสม ๒. ครนู ําคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทักษะกระบวนการ (P) / คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค (A) ของนกั เรียนแตล ะคน กรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมิน ๓. ชน้ิ งานท่ีมีเคร่อื งหมาย * ใหใชประกอบการประเมนิ การอาน คดิ วิเคราะห และเขยี นสอ่ื ความ รายการประเมนิ รายการเครอ่ื งมือวัดและประเมินผลการเรียนรขู องนักเรยี น คะแนนรวมดาน ดา นความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P) ดานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค (A) K/P/A ตวั ช้วี ดั ชนั้ ป.๖ หลักฐาน/ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน/ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน/ช้นิ งาน เตม็ ได เต็ม ได ประเมินผลสมั ฤทธ์ิดาน K / P / A ศ ๓.๒ (๑) อธิบายส่ิงท่ีมี - ก. พฒั นาการคิด บทที่ ๑ - แบบประเมินทกั ษะศิลปะ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ความสําคัญตอการแสดง ขอ ๑ เขียนอธิบายส่งิ ท่มี ี ทพี่ งึ ประสงค นาฏศิลปและละคร ความสําคัญตอการแสดง นาฏศิลปและละครตาม หวั ขอทก่ี ําหนดให ศ ๓.๒ (๒) ระบปุ ระโยชน - ก. พัฒนาการคดิ บทท่ี ๑ - แบบประเมนิ ทกั ษะศลิ ปะ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ที่ไดรับจากการแสดงหรือ ขอ ๒ แบงกลุม คดิ ชุด ท่พี ึงประสงค การชมการแสดงนาฏศิลป การแสดงในวนั สาํ คญั ของ ผฉสู บอับน และละคร โรงเรยี นมา ๑ ชดุ แลว ออกมาแสดงหนาช้ันเรยี น และเขยี นประโยชนท่ไี ด จากการแสดงชดุ น้ี สวนท่ี ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดา นผลการเรียนตามตวั ชว้ี ดั สว นที่ ๒ คะแนนจากการประเมินตนเองของนกั เรียน ผลงานกิจกรรมบรู ณาการฯ ที่นกั เรียนปฏบิ ตั ิ ชอื่ งาน .................................................................................. สวนท่ี ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธผิ ลประจาํ หนวย การทาํ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ปิ ระจําหนว ยที่ ๔ สรปุ ผลการประเมินพฒั นาการเรยี นรปู ระจําหนวย ขอเสนอแนะ ............................................................................................................... ผาน ไมผาน ......................................................................................................................................... ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ผานเกณฑประเมิน ลงชื่อ ........................................................................................................ ผูประเมิน ................... / ................... / ................... ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทําขึ้นก็ได ๑๔๔ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡¨Ô ¡ÃÃÁ»ÃÐàÁÔ¹¤ÇÒÁÊÒÁÒö¡ÒÃ͋ҹ ¤´Ô ÇÔà¤ÃÒÐˏ áÅÐà¢Õ¹Ê×èͤÇÒÁ ªÔ¹é ·Õè ñ อา นบทความตอ ไปน�้และตอบคาํ ถาม คือ ผทู ่สี ามารถขับขานซอได มีปฏิภาณไหวพรบิ เปน เลิศ คาํ วา “จั้งซอ” ถา จะแปลเปนภาษาไทยก็คือ “นกั ” น่นั เอง ซอพืน้ เมอื ง อดตี ที่กําลงั จะลบเลือน จุดกําเนิดของซอมีความเปนมาอยางไรนั้น ไมมีหลักฐานปรากฏแนชัดแตก็มีการสันนิษฐานกันวา คงเดินทาง ผานกาลเวลามาเน่ินนานพอสมควรดังเชนท่ี มาลา คําจันทร นักเขียนระดับรางวัลซีไรทท่ีในวันนี้เขาใหคําจํากัดความ ตัวเองวา ครูใหญแหงโฮงเฮียนสืบสานภูมิปญญาลานนา ซอไมสามารถระบุตนกําเนิดได แตก็มีชางซอ (ภาษาเหนือ เรียก จ้ังซอ) บางคนที่อางถึงยุคหนึ่งในเมืองนานครั้งที่ชาวเมืองนานอพยพกันมาจากเมืองปว แลวตองลองนํ้านาน มาโดยใชเวลานาน ก็เลยมีการรองบทซอลอ เลียนกันจนปรบั ใหเขา ท่เี ขา ทาง ก็กลายมาเปน “ซอลองนาน” เน่ืองจากการซอนั้น ตองใชเวลาในการฝกฝนยาวนานบวกกับพรสวรรคและความต้ังใจจริง คุณแมผองศรี ศิลปนลานนาแหงเมืองเจียงใหม ผูซ่ึงเริ่มหัดซอต้ังแตอายุ ๑๗ ไดช้ีใหเห็นปญหาของชางซอในปจจุบันวา หลังจากท่ี เศรษฐกิจซบเซา งานแสดงซอก็ลดนอยลงไปดวย นานๆ จึงจะมีคนมาจางสักครั้งหนึ่ง แตเม่ือเทียบกับหลายปกอน น้ัน เดือนหนึ่งแทบจะไมมีวันหยุดเลย บางทีเดือนหนึ่งจะไดหยุดแควันเดียว บางครั้งงานมากจนไมมีเวลากลับบาน ตอ งตระเวนไปแสดงตามจังหวัดตา งๆ ท่ัวภาคเหนือ ในสวนของการซอพ้ืนเมืองท่ีนิยมในจังหวัดเชียงใหมนั้น สวนใหญจะซอทํานองเง้ียว หรือทํานองพมาซึ่งจะซอ ผฉสู บอับน ในชวงตอนเย็นเพ่ือความสนุกสนาน ชาวบานจะเรียกการซอแบบน้ีวา “ซอเงี้ยวเก้ียว” นอกจากน้ันยังมีซอปนฝาย ซอมะเกามะกลาง ท่กี ําลังแพรหลายอยูเชยี งใหมดวย อยางไรก็ตามทิศทางการอนุรักษซอพื้นเมืองในปจจุบันถูกกระแสของดนตรีสมัยใหมและละครโทรทัศนเขามา บดบัง จนทําใหซอพื้นเมอื งอนั เปนศิลปะทรงคณุ คาเกาแกข องลานนากาํ ลังถูกลบเลือนไปจากความทรงจาํ ของคนใน ปจจุบัน คุณคาและความสําคัญของซอพื้นเมืองท่ีเคยมีมาในอดีต หากไมไดรับการอนุรักษและถายทอดไปสูคนรุน ใหมแ ลว บางทีซอพนื้ เมืองอาจจะหลงเหลืออยเู พียงแคในเทปคาสเซทกเ็ ปน ได ๑. ซอพ้นื เมืองมลี ักษณะคลายกบั การละเลน เพลงพื้นเมอื งของทอ งถนิ่ อื่นหรือไม อยา งไร ……………………ซ…อ…พ…นื้……เม……อื …ง…ม…ีล…กั …ษ……ณ…ะ…ค…ล…า…ย…ก……บั …เ…พ…ล…ง…อ…แี …ซ…ว……เ…พ…ล…ง…ฉ……อ…ย……ข…อ…ง…ภ…า…ค…ก……ล…า…ง……เ…พ…ล…ง…โ…ค…ร…า…ช…ข…อ…ง…ภ…า…ค…อ…ีส……า…น….. …ค…ือ………ม…ีล…ัก…ษ……ณ…ะ…เ…ป…น……ก…า…ร…ด…น……ส…ด………ร…อ…ง…โ…ต…ต…อ…บ……ก…ัน…ไ…ป……ม…า……โ…ด…ย…ค…ิด……เน……้ือ…เพ……ล…ง…ข…้ึน……ส…ด…ๆ………ใน……ข…ณ…ะ…น……้ัน………ท…ํา…ใ…ห…เก……ิด….. ความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ซอพ้นื เมอื ง มคี ณุ คาทางวฒั นธรรมหรอื ไม อยา งไร ……………………ม…ี ……เพ……ร…า…ะ…เ…ป…น……ก…า…ร…ล……ะ…เล……น…พ……ื้น…เ…ม…ือ……ง…ท…ี่ม…ีม……า…ต…ั้ง…แ…ต……โ…บ…ร…า…ณ…………ซ…่ึง…บ……ง…บ…อ…ก……เ…ร…ื่อ…ง…ร…า…ว……ต…า…ง…ๆ………แ…ล…ะ….. …ว…ิถ…ีช…ีว…ิต…ข…อ…ง…ค……น…ใ…น…ท……อ…ง…ถ…ิ่น………แ…ล…ะ…ม…ี…ร…ูป…แ…บ…บ……ก…า…ร…แ…ส……ด…ง…ท…่ีเ…ป…น……เอ…ก……ล…ัก…ษ……ณ…ข…อ…ง……ต…น…เ…อ…ง………โด……ย…ใ…ช…ภ…า…ษ…า…พ…ื้…น…เ…ม…ือ…ง….. …เค…ร…่ือ…ง…ด……น…ต…ร…พี …้นื……เม…อื …ง……ป…ร…ะ…ก…อ…บ…ก……าร…แ…ส……ด…ง……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑๔๕´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡¨Ô ¡ÃÃÁ»ÃÐàÁÔ¹¤ÇÒÁÊÒÁÒö¡ÒÃÍÒ‹ ¹ ¤´Ô ÇàÔ ¤ÃÒÐˏ áÅÐà¢Õ¹Ê×èͤÇÒÁ ªÔé¹·Õè ò อานบทความตอ ไปน้�และตอบคําถาม กลองบชู า \"กอ งปจู า\" พุทธบูชาสืบสานลานนาไทย ในอดีตเสียงยํ่ากลองจะดังกังวานข้ึนทุกคร้ังกอนที่จะออกไปรบทัพจับศึกกับศัตรู และจะเปนเคร่ืองประโคมชัยที่ ดงั กอ งเมอ่ื ชนะศกึ สงคราม หลังจากที่ผานการทําศกึ แลวจะไมน ยิ มนาํ กลองไวท บ่ี า น จะนําไปไวทว่ี ดั แทน เพราะผา น การทําศึกจะมีคราบเลือดและความเชื่อเก่ียวกับผี คราวตอมาเม่ือบานเมืองผานพนจากการทําศึก กลองไชยมงคลท่ี อยทู ี่วัดจึงไดมกี ารดัดแปลงเพ่อื ใชต บี ชู าธรรม ซึง่ เปนท่มี าของกลองบูชานบั ตัง้ แตน้ันมา พระพุทธิสารโสภณ เจาคณะจังหวัดเชียงใหม วัดลานนาญาณสังวราราม เลาวาการตีกลองบูชาก็เหมือน เปนการตีเพ่ือบูชาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ และเปนการตีเพ่ือบอกวาเปนเวลาฉันเพล เปนการนัดประชุม บอกกลาวใหประชาชนไดมาประชุมอยางพรอมเพรียง และตีเพ่ือบอกกลาววาวันรุงขึ้นเปนวันพระเพื่อใหประชาชนได นําอาหารมาใสบาตรพระสงฆ ลักษณะของกองปูจา รูปรางลักษณะแตเดิมน้ันไมมีหลักฐานปรากฏแนชัดวาเปนอยางไรแน แตปจจุบันเปน กลองทตี่ ัง้ อยกู ับที่ขนาดใหญมาก ชดุ หน่งึ มี ๔ ใบ คือ กลองแมห รือกลองใหญหรือกลองตง้ั แลว แตท องถน่ิ ตา งๆ จะเรียก ปจจุบนั ก็มีหลายหนว ยงาน ทง้ั ระดับชมุ ชน และระดบั จงั หวดั เลง็ เห็นความสําคญั ของกลองบชู า หรือกอ งปูจา ผฉสู บอับน มากข้นึ ทางจงั หวดั ลําปางก็ไดจ ดั ตงั้ ชมรม คนฮักกลองบชู า โดยปลูกฝง การอนุรกั ษว ฒั นธรรมการตกี ลองบูชาหรือ กองปูจา ใหแกเยาวชนในพื้นที่ที่สนใจในการตีกลองบูชาหรือกองปูจา มาฝกการตีกลองบูชาหรือกองปูจา โดย กลุมเยาวชนคนรักกลองบูชาจังหวัดลําปาง ตางก็รูสึกภาคภูมิใจที่ไดอนุรักษการตีกลองบูชาน้ีใหคงอยูคูชาวลานนา ตลอดไป นับไดวา กลองบูชาหรือกองปูจา นั้นเปนมรดกทางวัฒนธรรมลานนาท่ีตกทอดสืบสานตํานานลานนาไทยมา อยา งชา นาน มาถงึ วันนมี้ รดกล้าํ คา ชนิ้ นี้กาํ ลงั จะถกู ลบเลอื นจางหายไปจากใจของคนรุนลกู รนุ ใหมไ ป ถงึ เวลาแลว ทจี่ ะ รกั ษามรดกอันล้ําคา ช้ินนี้ใหค งอยคู ลู า นนาไทยสืบไป ๑. นักเรยี นคิดวา การนํากลองบูชามาใชใ นกจิ กรรมของสงฆ เปน การเหมาะสมหรือไม อยางไร ……………………เห…ม…า…ะ…ส…ม……เพ……ร…า…ะเ…ป…น …ก……าร…น……าํ …ม…าใ…ช…ใ …ห…ส …อ…ด……ค…ล…อ …ง…ก…บั …ว…ถิ…ชี…วี…ติ…ข…อ…ง…ผ…คู……น…ใ…น…ท…อ…ง…ถ…นิ่……เ…พ…ร…า…ะ…ว…ดั …ถ…อื …เ…ป…น …ศ…นู……ย…ร …ว…ม.. ข…อ…ง…ค……น…ใ…น…ท……อ …ง…ถ…นิ่ ……ก…า…ร…น…าํ…ม…า…ใ…ช…ใ …น…ว…ัด…จ…งึ…เ…ป…น……ก…า…ร…เพ……ิม่ …ค…ว…า…ม…ส…ะ…ด…ว…ก…ใ…ห…ว…ดั …แ…ล……ะค……น…ใ…น…ท……อ …ง…ถ…่นิ …น……น้ั ……………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. นกั เรียนเหน็ ดว ยกับการกอตง้ั ชมรม คนฮกั กองปจู า หรือไม เพราะเหตใุ ด ……………………เ…ห…็น…ด…ว…ย………เพ……ร…า…ะจ…ะ…ไ…ด…ม…ีอ…ง……ค…ก…ร…ห…ร…ือ……ก…ล…ุม…ค…น……ค…อ…ย…อ…น……ุร…ัก…ษ…ก……าร…ต……ีก…ล…อ…ง…บ……ูช…าใ…ห…ค……ง…อ…ย…ูต…อ…ไ…ป………แ…ล…ะ…เป…น…….. …ก…า…ร…ส…ง…เ…ส…ร…มิ …ม…ร……ด…ก…ท…า…ง…ว…ัฒ……น…ธ…ร…ร…ม…ข…อ…ง…ท……อ…ง…ถ…นิ่ …อ…กี……วิธ…ีห……น…่งึ ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑๔๖ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

â¤Ã§§Ò¹ÈÅÔ »Ð การแสดงละครหุนประดษิ ฐ ประเภทของโครงงาน : ประเภทพัฒนาหรอื ประดษิ ฐ ระยะเวลาในการทําโครงงาน : ๑ - ๒ สัปดาห วิธีทาํ ๑. วางแผนในการแสดง โดยกําหนดหวั ขอ ดังนี้ ๑) เร่อื งที่จะแสดง ๒) ประเภทของหุนที่จะนาํ มาแสดง ๓) บทละครทจ่ี ะแสดง ๒. ประดิษฐหุนท่ีจะนํามาใชในการแสดง โดยเตรียมวัสดุและอุปกรณท่ีหาไดงายใน ทองถน่ิ และประดิษฐตามขน้ั ตอน แลวบันทึกการประดษิ ฐ ดงั ตวั อยา ง ตวั อยางแบบบันทึกการแสดง ผฉสู บอับน ชอ่ื หุน ……………………………………………………………………………. ประเภทของหนุ …………………………………………………….. แสดงเปน ……………………………………………………………………. ในเร่อื ง …………………………………………………………………….. วัสดุและอุปกรณ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. วธิ ที าํ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. นาํ หุน ที่ประดษิ ฐม าฝก ซอมการแสดงใหเ ปน ไปตามบทบาทของตวั ละครจนชาํ นาญ ๔. จดั การแสดงหนุ ตามลําดับข้ันตอนของเนื้อเร่อื งตั้งแตแ รกจนจบเรื่อง ๕. สรปุ ผลการแสดง โดยใหเ พือ่ นและครทู เ่ี ปน ผูชมแสดงความคดิ เหน็ และให ขอเสนอแนะตางๆ ๑๔๗´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃàÈÃɰ¡¨Ô ¾Íà¾Õ§ กิจกรรม การทาํ หวั โขน จุดประสงค เพือ่ ใชว ัสดใุ นทอ งถ่นิ ใหเกดิ ประโยชน ประหยัดคา ใชจาย และเหน็ คณุ คาของ การแสดงโขน ภาระงาน ๑. เตรียมดินเหนียว กระดาษหนังสือพิมพ กระดาษสีขาวแบบบาง แปงเปยก สีโปสเตอร ๒. ออกแบบหวั โขนที่ตองการจะทํา โดยวาดแบบลงบนกระดาษ หรือนําภาพ หวั โขนมาดเู ปน ตวั อยาง ๓. ปน ดินเหนยี วใหเปน รปู กลมๆ กอ นแตงใหเ ปนรปู หวั โขนที่ตอ งการ ๔. ฉีกกระดาษหนงั สอื พมิ พใหเ ปนชิ้นเล็กๆ แลว นําไปคลุกกบั แปงเปยก ๕. นาํ กระดาษท่คี ลกุ กบั แปง เปย กมาตดิ กบั รูปปน หัวโขนหลายๆ ช้นั จากนนั้ นาํ ไป ตากแดดใหแหง ๖. เมอื่ แหง แลว ใหน ําเอาดินเหนียวออก (ถา เอาออกยากใหใ ชม ีดหรือคัตเตอรผา หวั โขนเปน ๒ ซกี แลว นํามาตดิ กันใหม) ผฉูสบอับน ๗. ใชก ระดาษสขี าวตดิ ทบั กระดาษหนงั สอื พมิ พ รอจนแหง ๘. ใชส ขี าวทารองพืน้ ใหท ่ัว จากน้ันจึงเอาสอี ืน่ มาตกแตงใหเปนรูปหัวโขนทตี่ องการ ¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒèµÔ ÍÒÊÒ กจิ กรรม การสาํ รวจเครอ่ื งดนตรีพน้ื บาน จดุ ประสงค เพ่ือรวบรวมขอ มูลเกีย่ วกับเครื่องดนตรพี ้ืนบา น ใชในการคนควา ตอ ไป ภาระงาน ๑. วางแผนในการสํารวจขอมูล โดยไปสืบเสาะและคนหาแหลงท่ีมีเครื่องดนตรี พืน้ บา นหรอื จัดแสดงเครื่องดนตรีพน้ื บาน ๒. ออกไปสาํ รวจและบนั ทกึ ขอ มูล โดยอาจใชวิธีการ ดังน้ี ๑) ถายภาพหรือวาดภาพเคร่ืองดนตรี ๒) สมั ภาษณศ ิลปน หรอื บคุ คลทีเ่ กีย่ วของกับเครอื่ งดนตรชี นิดนน้ั ๓) จดบนั ทึกขอมลู เก่ยี วกับเครื่องดนตรีชนิดนั้น ๔) บนั ทึกเทปและวธิ ีการเลน เพือ่ เปนตัวอยาง ๓. จัดทําเปนรูปแบบรายงานและแฟมภาพ เพื่อนําเสนอหนาชั้นเรียนและเก็บไว เพือ่ ศกึ ษาคน ควาตอไป ๑๔๘ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

รทาํ งานสําหรับ…ค ¾๑ÔàÈÉ ูค ืมอกา รผู สู อน ๑ ๒ ๓ เฉพาะสําหรบั …ครูผสู อน ใชพฒั นา ใชพัฒนา ใชพฒั นา การเรียนการสอน คณุ ภาพการปฏิบัตงิ าน ผลการเรียนรขู องผูเ รียน ขอ สอบปลายภาค การเทียบเคยี งตรวจสอบ พรอมเฉลยอยางละเอยี ด มาตรฐานตวั ชี้วัดชนั้ ปแ ละ เฉผพสู าะอฉนบับ มาตรฐานการศกึ ษาฯ สาระการเรียนรูแ กนกลาง ดนตรี-นาฏศลิ ป ป.๖ ความรูเ สรมิ สาํ หรบั ครู ตวั อยา งการกรอก เฉพาะสําหรับ…ครูผูสอน แบบบนั ทึกผลการประเมนิ แบบรายงานผลการพัฒนา คณุ ภาพผเู รยี นรายบุคคล (ปพ.๖) ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

๑ 㪌¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃàÃÂÕ ¹¡ÒÃÊ͹เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน ¾๒àÔ ÈÉ ¢ÍŒ Êͺ»ÅÒÂÀÒ¤ ÇªÔ Ò ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻР».๖ คําชแี้ จง ๑. แบบทดสอบน้ม� ี ๒ ชดุ เปน แบบเลือกตอบมี ๔ ตวั เลอื ก ●ขอ สอบชดุ ท่ี ๑ มี ๕๐ ขอ ●ขอ สอบชุดที่ ๒ มี ๕๐ ขอ ๒. ใหนกั เรียนเลือกคาํ ตอบที่ถูกตองทส่ี ุดเพียงคาํ ตอบเดยี ว แลวกา ✗ ทบั ตัวอกั ษรตรงกับตวั เลือกที่ตองการ ชดุ ที่ ๑ เวลาทาํ ขอ สอบ ๖๐ นาที ๑. Allegretto (อลั เลเกรตโต) เปนศพั ทส งั คีตท่ี ๕. ขอ ใดไมใชเครื่องดนตรีประเภทเครอ่ื งเปา เกย่ี วของกับขอใด ก. แคน ข. โหวด ก. ความชา ข. ความเรว็ ค. ขลุย ง. พิณ ค. ความดัง ง. ความเบา ๖. เครื่องดนตรขี อ ใด มีรปู รางคลายระนาด เฉผพสู าะอฉนบับ ๒. องคประกอบในบทเพลงขอ ใด บงบอกถึงความ ก. ฆอ งวง ข. โปงลาง กลมกลนื ของเสียงขับรอ งและเสียงดนตรที ี่ ค. สะลอ ง. ซอ บรรเลงรว มกัน ๗. ขอ ใดเปนเครือ่ งดนตรีพ้ืนบา นของภาคเหน�อ ก. จงั หวะ ก. กลองสะบดั ชัย ข. แคน ข. ทํานอง ค. ทับ ง. ระนาด เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ค. รปู แบบของเพลง ๘. เครือ่ งดนตรขี อใด ใชบรรเลงประกอบ ง. การประสานเสยี ง เพลงทํานองตะลุง ๓. การบรรเลงเครือ่ งดนตรปี ระเภทตี โดยใชไมตี ก. ระนาดเอก ข. กลองยาว ลากไปบนเคร่ืองดนตรี หมายถงึ ศัพทส งั คีต ค. กลองชาตรี ง. ขลยุ ขอใด ๙. เคร่อื งดนตรขี อใดไมใชเ ครอ่ื งดนตรีประเภท ก. กวาด ข. ขับ เครอ่ื งสี ค. คลอ ง. เด่ยี ว ก. แบนโจ ข. ดับเบิลเบส ๔. ผูใ ดกําลงั ฟง เพลงอยางมีสมาธิ ค. ไวโอลิน ง. วโิ อลา ก. เปท านอาหารขณะฟง เพลง ๑๐. เครอ่ื งดนตรีขอใด เปนเครือ่ งเปา ลมผานล้ิน ก. รคิ อรเดอร ข. แซก็ โซโฟน ข. เกนอนหลบั ขณะฟงเพลง ค. พกิ โคโล ง. ฟลูต ค. นา้ํ เคาะจงั หวะตามไปดวยขณะฟงเพลง ง. ตุมคยุ โทรศัพทเ บาๆ กบั เพอ่ื นในขณะฟง เพลง ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๑๑. เคร่ืองดนตรีขอ ใด เปนเครือ่ งลมทองเหลือง ๑๘. จากภาพ หมายถึงตวั หยุดขอใด ท้งั หมด ก. คอรเนต็ ทบู า ออรแกน ก. หยดุ ตวั ขาว ¾๓àÔ ÈÉ ข. ซซู าโฟน อเิ ล็กโทน หบี เพลงชกั ข. หยดุ ตัวดํา ค. ทรัมเปต บารโิ ทน เฟรนชฮอรน ค. หยดุ ตวั เขบ็ตหนงึ� ชัน้ เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ง. เปยโน คยี บอรดไฟฟา อิเลก็ โทน ง. หยดุ ตวั เขบต็ สองช้นั ๑๙. ขอ ใด หมายถงึ ตวั หยุดตวั กลม ๑๒. จากภาพ เปน เครื่องดนตรี ประเภทใด ก. ข. ก. เคร่ืองลมไม ค. ง. ข. เครื่องกระทบ ค. เครือ่ งคียบ อรด ๒๐. เสยี งท่ีเรียงจากเสยี งตํ่าไปหาเสียงสูง เรียกวา ง. เครื่องลมทองเหลือง ๑๓. เครื่องดนตรีขอ ใด มีระดบั เสยี งทแ่ี นนอน อะไร ก. ทิมพะน� ข. ระฆังราว ก. บันไดเสยี งขาลง ค. กลองสแนร ง. ทอมบา ข. บนั ไดเสียงขาข้นึ ๑๔. เสยี งลา แทนดว ยสัญลักษณขอ ใด ก. ด ข. ร ค. บนั ไดเสยี งแนวตัง้ เฉผพสู าะอฉนบับ ค. ล ง. ซ ๑๕. ตัวโนต ตวั ขาว หมายถงึ ขอ ใด ง. บนั ไดเสยี งแนวด�ิง ก. ข. ๒๑. ขอใดไมใ ชล ักษณะของการขบั รองแบบดนสด ค. ง. ๑๖. จากภาพ มีอตั ราความยาวเสียง ก. เพลงซอ ประเภทใด ข. เพลงอีแซว ก. ครึ�งหนึง� ของตวั ขาว ข. ครงึ� หนง�ึ ของตวั กลม ค. เพลงพรปใหม ค. คร�ึงหนึง� ของเขบ็ตหน�งึ ชนั้ ง. ครง�ึ หนึ�งของเขบ็ตสองช้นั ง. เพลงลําตดั เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูสอน ๑๗. ตัวโนต ใด มีอตั ราเสียงส้ันที่สุด ก. ข. ๒๒. ขอใดเปน ทา ยนื ที่เหมาะสมในขณะรอ งเพลงไทย ค. ง. ก. ยนื สาํ รวมทาทางและการเคล่อื นไหวรางกาย ข. ยนื ในทาท่สี บาย มอื กางแขนออก ค. ยืนตรง ไมข ยบั เขยื้อนเคล่ือนไหว ง. ยนื ตรง ตามองทีพ่ นื้ ตลอดเวลา ๒๓. เหตุใดผูขับรองจึงควรแบงวรรคตอนของ บทเพลงใหถ ูกตองขณะขบั รอ งเพลง ก. ทาํ ใหผ ูขบั รอ งเกิดความมน�ั ใจมากขน้ึ ข. ทาํ ใหผ ูฟง เกดิ ความสนใจ ไมงวงหลับ ค. ทาํ ใหผูฟงเขาใจความหมายของเพลง ง. ทําใหผฟู ง ขับรองลากเสียงไดยาวนานข้ึน ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

๒๔. ขณะรอ งเพลงเราสู ผขู ับรองควรแสดงสีหนา ๓๑. จากภาพ ใชประกอบ อยา งไร เพลงเราสู ทอ นใด ๔¾ÔàÈÉ ก. ยมิ้ แยมแจมใส ข. หงุดหงิดบ้งึ ตงึ ค. ฮึกเหมิ จริงจัง ง. โศกเศรา เสียใจ ๒๕. ในคมั ภีรสงั คีตรัตนากร ของอินเดีย เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน แบงเคร่ืองดนตรอี อกเปนกี่ประเภท ก. เราสไู มถ อยจนกา วเดยี ว ก. ๕ ประเภท ข. ปกบานปอ งเมอื งคมุ เหยา ข. ๔ ประเภท ค. บานเมืองเรา เราตอ งรักษา ค. ๓ ประเภท ง. จะสูกนั ไมหลบหนห� าย ง. ๒ ประเภท ๓๒. ยื่นมอื ซา ยไปขางหนา มือขวาแตะที่แขนขวา ๒๖. เครอ่ื งดดี และเครือ่ งสี จัดอยูในเครอื่ งดนตรี บรเิ วณขอศอก เปนทา ประกอบเพลงเราสทู อ นใด ประเภทใด ก. เสยี เลอื ดเสียเน้�อมิใชเบา ก. ตะตะ ข. สุษริ ะ ข. ถึงขฆู าลา งโคตรก็ไมห วน�ั ค. อาตตะ ง. ฆะนะ ค. มยิ อมใหผ ใู ดมาทําลาย เฉผพสู าะอฉนบับ ๒๗. ขอ ใดเปน เคร่อื งดนตรที ่ีรบั มาจากประเทศจีน ง. อนาคตจะตองมีประเทศไทย ก. เปย โน ข. เปง มาง ๓๓. เลบ็ ที่ใชในฟอ นเล็บ ตางจากเล็บที่ใชฟอนภูไท ค. กลองยาว ง. ขมิ อยางไร ๒๘. อังกะลุง แตเดิมมที งั้ หมดก่ีเสียง ก. เล็บท่ีใชฟอนเล็บมขี นาดยาวกวา ก. ๕ เสียง ข. ๖ เสยี ง ข. เล็บท่ีใชฟ อ นเลบ็ มีราคาแพงกวา ค. ๗ เสียง ง. ๘ เสียง ค. เล็บที่ใชฟอนเล็บมีจาํ นวนมากกวา ๒๙. ผทู ่ีนาํ องั กะลุงมาดดั แปลงปรับปรงุ ข้ึนใหม ง. เล็บที่ใชฟอ นเล็บไมม พี ู แตฟ อ นภูไทมพี ู เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน จากของเดิมคอื ผใู ด ๓๔. ก. นายมนตรี ตราโมท ข. ม.ร.ว. คกึ ฤทธิ์ ปราโมช ค. หลวงประดษิ ฐไพเราะ ง. นายหวงั ดี นมิ า (หวังเตะ ) ๓๐. เพลงเราสู มที าประกอบเพลงในลกั ษณะใด จากภาพ ใชประกอบการแสดงในขอ ใด ก. ราํ พลายชมุ พล ข. ระบาํ ตารีกีบสั ก. ออ นชอ ย งดงาม ค. ราํ อวยพร ง. ราํ เชิญพระขวญั ข. เขม แข็ง หาวหาญ ค. คกึ คกั สนุกสนาน ๓๕. การแสดงในขอ ใด ควรใชฉากหลังเปน ทงุ นา มกี องฟาง ง. ราเรงิ สดใส ก. ฟอนเงย้ี ว ข. ระบาํ ดอกบัว ค. เตน กาํ รําเคียว ง. เซ้ิงกระโป ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๓๖. การแสดงระบํามา ควรใชฉ ากตามขอใด ๔๓. การแสดงระบําเกยี่ วกบั สัตว ตองใชเครอื่ งแตง กาย ก. ทุงนามีกองฟาง อยางไร ข. ทงุ หญา ทุงดอกไม ก. ถูกตองตามวฒั นธรรมของทองถ�ิน ¾๕ÔàÈÉ ค. โบราณสถานเกา แก ข. ถูกตอ งตามเคร่อื งทรงของกษัตรยิ  ง. สระน้าํ กวางใหญ ค. ถูกตองตามความนยิ มของยคุ สมยั ๓๗. การประดษิ ฐเ ล็บ ไมจ าํ เปน ตองใชอุปกรณขอใด ง. ถกู ตองตามรปู แบบของระบํา ก. กระดาษตะก�ัว ข. กรรไกร ๔๔. ขอ ใดเปน อุปกรณท ี่ใชประกอบการแสดง ค. กาว ง. ลวด ราํ พลายชุมพล เฉพาะสาํ หรบั …ครผู ูสอน ๓๘. การแสดงระบาํ ประกอบการแสดงละคร กําหนดให ก. เคยี ว งอบ ผูร าํ แตง กายอยา งไร ข. ทวน มา จาํ ลอง ก. แตงกายถูกตอ งตามเครอ่ื งทรงของกษัตรยิ  ค. กระตบิ ขาวและสวงิ ข. แตง กายถูกตองตามความหมายของเพลง ง. เลบ็ ยาวมพี ตู รงปลาย ค. แตง กายถกู ตอ งตามสถานท่ีทจ่ี ดั แสดง ๔๕. ขอใดเปนขนั้ ตอนสุดทา ย ในการแสดงหุนน้ิวมอื ง. แตง กายถกู ตองตามแบบทอ งถิ�น ก. การจัดเวที ๓๙. เครื่องแตงกายตัวพระ ตัวนาง ไมใชในการแสดง ข. การเลอื กตวั หนุ ชุดใด ค. การเลอื กเร่ืองการแสดง ก. ละครนอก ข. ละครใน ง. การประเมินผลการแสดง ข. ระบาํ สีบ่ ท ง. ราํ สนี วล ๔๖. วธิ ีการใด ชว ยประหยัดคาใชจ ายและการฝกความ เฉผพสู าะอฉนบับ ๔๐. จากภาพ เปน การแตงกาย คดิ สรา งสรรค ในการแสดงละครหนุ มากทีส่ ดุ ก. คิดประดษิ ฐหนุ ขึน้ เอง ของตวั ละครในขอใด ข. ออกแบบหุนใหรา นคา ประดิษฐให ก. ตัวนาง ข. ตัวพระ ค. ขอยมื หนุ ท่ีเพ่ือนประดษิ ฐไวมาแสดง ง. เดินทางไปซอื้ หนุ ท่ีแหลงผลติ โดยตรง ค. ยักษ เฉพาะสําหรับ…ครูผูสอน ง. ลงิ ๔๗. ผูใดปฏิบัตติ นไมเหมาะสมขณะไปชมการแสดง ก. จอบเงียบเฉยเม่ือผูแสดงผดิ พลาด ๔๑. การแสดงนาฏศิลปข อใด ตองใชเ ครื่องแตง กาย ข. มดปรบมือเม่ือการแสดงจบ ที่จาํ ลองมาจากเคร่อื งทรงของกษตั ริย ค. ฝายนั�งชมการแสดงเงยี บๆ ก. ระบาํ ลพบรุ ี ข. ฟอนมาลัย ง. ทนิ มีอคตติ อ ผูแสดง ค. ระบาํ ดาวดึงส ง. เซ้งิ กระติบ ๔๘. การแสดงขอ ใด มที า ราํ ทีก่ ระฉบั กระเฉงสนุกสนาน ก. ฟอ นเล็บ ๔๒. ระบํากฤดาภินิหาร ผแู สดงตอ งแตงกายตาม ข. เซ้ิงกระตบิ แบบขอ ใด ค. ฟอ นสาวไหม ก. ตวั พระและตัวนาง ง. รําสนี วล ข. ตวั พระและยกั ษ ค. ตัวนางและลงิ ง. ยกั ษแ ละลงิ ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๔๙. ผทู ําหนาทีว่ จิ ารณงานนาฏศลิ ป ไมควรมีขอใด ๕๐. ผใู ดถกู ยกยองวาเปนผูใ หท าระบําทีเ่ กดิ ขน้ึ ใหม ก. มปี ระสบการณเก่ียวกับงานนาฏศิลป ของกรมศิลปากรเปน สว นใหญ ๖¾ÔàÈÉ ข. มคี วามรพู ื้นฐานเกยี่ วกบั การแสดง ก. ครูลมลุ ยมะคปุ ต ค. มีใจทีเ่ ปน ธรรม มคี วามซือ่ สตั ย ข. นายมนตรี ตราโมท ง. มีใจอคติตอการแสดง ค. ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิ ปราโมช ง. คณุ หญงิ แผว สนทิ วงศเสน� เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน ชุดที่ ๒ เวลาทําขอ สอบ ๖๐ นาที ๕๑. เราควรเขยี นเครอื่ งหมายกาํ กบั จังหวะไวตอนใด ๕๖. Solo เปน ศัพทส งั คีตหมายถึงขอ ใด ของบทเพลง ก. เพลงคหู รอื แสดงคู ก. ตอนเร�ิมตน ข. เพลงประสานเสยี ง ข. ตอนทา ย ค. เพลงเด่ยี วหรือแสดงเดย่ี ว ค. ตอนกลาง ง. เพลงชาท้ังจังหวะและทํานอง ง. ตอนใดก็ได ๕๒. เคร่ืองดนตรีในขอใด ไมตองใชป ากเปา ๕๗. ขอใดเปนเครื่องดนตรีพืน้ เมืองภาคใตท ั้งหมด ในการบรรเลง ก. สะลอ ซอ ซึง เฉผพสู าะอฉนบบั ก. แคน ข. ขลยุ ข. ระนาด จะเข ซออู ค. โปงลาง แคน พณิ ค. จะเข ง. โหวด ง. กลองชาตรี ฆอ งคู ทบั ๕๓. การฟงเพลงอยางตัง้ ใจ เกิดผลอยา งไรตอผูฟง ก. ทําใหรูส ึกตนื่ เตน ๕๘. ขอ ใดเปน เคร่อื งดนตรที ่ีใชบ รรเลงท�วั ไปในวง ข. ทาํ ใหร ูสึกเพลิดเพลนิ เครื่องสาย บางครัง้ ใชเ ทียบเสียงเครอ่ื งดนตรีในวง ค. ทาํ ใหร สู กึ เบอ่ื หนา ย ก. ซออู เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ง. ทําใหรสู ึกหงดุ หงิดรําคาญ ข. กลองยาว ๕๔. ขอ ใดเก่ียวขอ งกบั จงั หวะ ค. ระนาดเอก ก. รปู แบบของเพลง ง. ขลยุ เพียงออ ข. ระดบั เสยี งสงู และตาํ่ ค. ความชา -เร็วของเพลง ๕๙. จากภาพ เปน เคร่ืองดนตรี ง. การใชวลขี องเน้�อเพลง ประเภทใด ๕๕. ศัพทส งั คีตขอใดแสดงความรสู กึ หวานซึง้ ก. Forte ก. เครื่องลมไม ข. Piano ข. เครื่องกระทบ ค. Amoroso ค. เครอ่ื งลมทองเหลอื ง ง. Vivace ง. เคร่อื งเปาลมผานลนิ้ ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๖๐. เครอื่ งดนตรขี อใด มรี ะดับเสยี งไมแ นนอนทั้งหมด ๖๗. สญั ลักษณท เี่ ปน เสียงตา่ํ สุดของโนตเพลงไทย ก. กลองสแนร กลองใหญ คอื ขอใด ข. ไซโลโฟน กลองชดุ ก. ด ข. ร ¾๗ÔàÈÉ ค. เบลไลรา ทอมบา ค. ม ง. ฟ ง. ลูกซัด ระฆังราว ๖๘. สญั ลกั ษณตามภาพ กําหนดให ๖๑. จากภาพ เปน เครอื่ งดนตรี ยดึ เสียงใดเปนหลัก ประเภทใด ก. เสยี งเร ข. เสยี งโด ก. เครือ่ งสี ค. เสยี งซอล ง. เสียงฟา เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ข. เครื่องตี ๖๙. ขอ ใดใชบ ันทกึ ตัวโนต เพลงไทย ค. เครื่องดดี ง. เครื่องเปา ก. ๖๒. เครื่องดนตรขี อ ใด มีล้ินอยูบ ริเวณสว นของปาก ข. ทเี่ ปา ก. คลารเิ นต็ ข. รคิ อรเ ดอร ค. ค. พกิ โคโล ง. ฟลูต ๖๓. การบรรเลงเครอื่ งดนตรีใด ท่ีผูบรรเลงตอ งกดลง ง. บนลิม� นวิ้ ของเครื่องดนตรี ๗๐. การเออ้ื น เปน ลกั ษณะการขบั รอ งเพลงประเภทใด เฉผพสู าะอฉนบับ ก. เฟรนชฮ อรน ก. เพลงไทยสากล ข. เพลงสากล ข. หีบเพลงชัก ค. ยูโฟเนย� ม ค. เพลงไทย ง. เพลงปลุกใจ ๗๑. การชมการแสดงนาฏศลิ ป ควรปฏบิ ตั ิตามขอ ใด ง. ทรมั เปต ก. ตะโกนเรยี กเพื่อนมานัง� ดวยกัน ๖๔. การบันทกึ โนต เพลงไทยในแตละหอง ตองบรรจุ ตัวโนต เพลงก่ีตัว ข. พูดวิจารณก ารแสดงเบาๆ ค. ตั้งใจชมอยางมีสมาธิ เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูสอน ก. ๑ ตวั ข. ๒ ตวั ง. คยุ โทรศัพทเบาๆ ค. ๓ ตวั ง. ๔ ตวั ๖๕. เพลงไทยจงั หวะ ๒ ช้ัน มลี กั ษณะอยา งไร ๗๒. ในสมยั ใดทป่ี รากฏขอ หามรอ งเพลงเรอื และ บรรเลงดนตรีในเขตพระราชฐาน ก. มีจงั หวะเรว็ สลับชา ก. สมัยกรุงรตั นโกสนิ ทร ข. มจี ังหวะปานกลาง ค. มีจังหวะเรว็ ข. สมัยกรงุ ศรอี ยุธยา ค. สมัยสโุ ขทยั ง. มีจังหวะชา ง. สมัยกรุงธนบรุ ี ๖๖. โนต เพลงไทย เสยี งมี ใชสัญลกั ษณข อใด ก. ด ข. ร ๗๓. ในสมยั รัชกาลใด ถือเปนยุคทองของดนตรไี ทย ก. รัชกาลที่ ๑ ข. รชั กาลท่ี ๒ ค. ม ง. ฟ ค. รัชกาลที่ ๓ ง. รัชกาลท่ี ๔ ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

๗๔. การรอ งสง เปน ทีน่ ิยมมากจนทาํ ใหการขับเสภา ๘๑. การแสดงเซ้งิ กระโป ใชอ ปุ กรณในขอใดประกอบ คอยๆ หายไป เปน เหตุการณที่เกิดในสมัยใด ก. กะลามะพราว ข. กระปอ งนม ๘¾ÔàÈÉ ก. รชั กาลท่ี ๒ ข. รชั กาลที่ ๓ ค. กระตบิ ขา ว ง. สวงิ ค. รชั กาลที่ ๔ ง. รชั กาลท่ี ๕ ๘๒. ขอใดเปนอปุ กรณประกอบการแสดง ๗๕. หลวงประดษิ ฐไพเราะไดด ดั แปลงอังกะลงุ ของชวา เตน กาํ รําเคยี วทง้ั หมด ใหเปนแบบของไทยอยางไร ก. รวงขา ว กระตบิ ขา ว ตะกรา ก. ปรับใหมเี สยี งครบ ๗ เสียง ข. กะลา กระตบิ ขา ว เคยี ว เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน ข. ปรบั ใหมีความสวยงามดว ยลวดลายไทย ค. สวงิ ตะกรา รวงขาว ค. ปรบั ใหมีขนาดใหญข ึ้นแตคงเสยี ง ๕ เสียง ง. เคียว งอบ รวงขา ว ง. ปรบั ใหม ีขนาดเลก็ เบา สะดวกในการบรรเลง ๘๓. ๗๖. ขอใดเปน ลักษณะเดนของดนตรีภาคใต ก. ออ นหวาน นุมนวล ข. สนกุ สนาน เรา ใจ ค. เชือ่ งชา เรยี บงา ย ง. เรยี บงา ย ไมค ึกคกั จากภาพ เปน การประดิษฐอุปกรณป ระกอบ การแสดงใด ๗๗. จากภาพ เปน ทา ประกอบเพลง ก. รําเชิญพระขวญั ข. ฟอ นเทียน เก่ียวกับขอ ใด ค. ฟอนเล็บ ง. รํากลองยาว เฉผพสู าะอฉนบับ ก. สตั ว ๘๔. ขอใดจับคูไดถ ูกตอ ง ข. ส�งิ ของ ก. เพลงคนื เดือนหงาย-ทาสอดสรอ ยมาลาแปลง ค. ธรรมชาติ ง. บุคคล ข. เพลงดอกไมข องชาต-ิ ทาชักแปงผดั หนา ค. เพลงงามแสงเดือน-ทา ราํ ยวั� ง. เพลงชาวไทย-ทา รําสา ย เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ๗๘. จากภาพ เปน การทาํ ทา ๘๕. บคุ คลใด มีบทบาทสําคญั และอยูใกลช ิดกับผูชม เลยี นแบบสตั วในขอ ใด มากทส่ี ุด ก. กระตาย ก. ฝายอปุ กรณและฉาก ข. ปลา ค. กวาง ข. ฝายดนตรี ค. ผฝู ก ซอม ง. แมว ง. ผูแ สดง ๗๙. เซิง้ กระตบิ เปนการแสดงนาฏศิลปของทองถนิ� ใด ๘๖. ผแู สดงจะดูสวยงามสมจรงิ มากท่สี ุดขนึ้ อยกู ับ ก. ภาคเหน�อ ข. ภาคกลาง ค. ภาคใต ง. ภาคอสี าน ฝา ยใด ก. ฝา ยอุปกรณแ ละฉาก ๘๐. ขอ ใดเปน การแสดงนาฏศลิ ปของภาคใต ข. ฝายเครอ่ื งแตง กาย ก. ฟอ นภูไท ข. ราํ โนรา ค. ฝายดนตรี ค. รํากลองยาว ง. ฟอ นเง้ยี ว ง. ผูฝ กซอ ม ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

๘๗. ผทู ีม่ ีหนาทีถ่ ายทอดผลงานการสรางสรรค ๙๓. เพลงคนื เดอื นหงาย ใชท ารําขอใด ของทกุ ฝา ยใหผ ชู ม คือใคร ก. ทาสอดสรอยมาลาแปลง ก. ฝา ยดนตรี ข. ฝายผแู สดง ข. ทา สอดสรอ ยมาลา ¾๙àÔ ÈÉ ค. ฝา ยผูฝกซอม ง. ฝายอปุ กรณแ ละฉาก ค. ทาชางประสานงา ๘๘. การแสดงนาฏศิลปจ ะประสบผลสําเร็จได ขนึ้ อยู ง. ทาชักแปง ผดั หนา กับผใู ด ๙๔. การแสดงระบําไก ควรประดิษฐอุปกรณใดประกอบ ก. ผูแสดงทุกคน การแสดง ข. ฝา ยเคร่ืองแตงกาย ก. ชฎา ข. ทวน ค. ฝายอุปกรณและฉาก ค. หมวกรูปไก ง. พานดอกไมส ด เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ง. บุคคลผเู กย่ี วของทุกฝา ย ๙๕. เทริด ใชส วมใสในการแสดงขอใด ๘๙. ขอใดเรยี งลําดบั ความเปน มาของราํ วงมาตรฐาน ก. ฟอ นภูไท ข. รําโนรา ไดถูกตอ ง ค. รําสีนวล ง. เซิง้ โปงลาง ก. รําโทน ราํ วงพ้ืนบาน รําวงมาตรฐาน ๙๖. ขอ ใดไมเกี่ยวของกับการวิจารณงานละคร ข. ราํ วงมาตรฐาน รําโทน ราํ วงพนื้ บาน ก. ความสวยงามของเครอ่ื งแตง กาย ค. ราํ วงพ้ืนบา น ราํ วงมาตรฐาน ราํ โทน ข. ความสมจริงของอุปกรณแ ละฉาก ง. ราํ โทน ราํ วงมาตรฐาน รําวงพื้นบาน ค. ความสามารถของนักแสดง ๙๐. จากภาพ เปน การ ง. จํานวนผูช ม แตง กายแบบใดของ ๙๗. การโอนศลิ ปน มาสงั กดั กรมศลิ ปากร เกิดขึ้นใน ผแู สดงรําวงมาตรฐาน สมัยใด เฉผพสู าะอฉนบับ ก. รัชกาลท่ี ๙ ข. รัชกาลที่ ๘ ค. รัชกาลที่ ๗ ง. รชั กาลที่ ๖ ๙๘. ผูใดคดิ ปรับปรงุ ทาราํ ชุดระบํามา ใหสวยงาม ๙๑. ก. แบบไทยพระราชนิยม มีแบบแผนข้ึน เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูสอน ๙๒. ข. แบบไทยประยกุ ต ก. ทานผูหญิงแผว สนิทวงศเ สน� ค. แบบพืน้ เมือง ข. ครลู มลุ ยมะคุปต ง. แบบสากล ค. ครูมลั ลี คงประภสั ร การรําวงมาตรฐานใหส วยงาม ควรปฏิบตั ิตามขอ ใด ง. เจาฟากรมพระยานรศิ รานวุ ดั ติวงศ ก. รําใหช า จดั ระยะคูใหช ิด ข. รําใหพ รอ มเพรียงอยกู บั ที่ ๙๙. เหตใุ ดจึงตอ งมกี ารอนรุ ักษน าฏศิลปไทย ค. ราํ ใหเรว็ จัดระยะคูใหห าง ก. เพราะเปนมรดกทางวฒั นธรรมของไทย ง. รําใหพ รอมเพรยี ง จดั ระยะคูใหพ อเหมาะ ข. เพราะเปน ส�ิงทหี่ าชมยากในปจ จบุ นั เพลงรําวงมาตรฐานในขอ ใด ทีฝ่ ายชายและ ค. เพราะเปนสงิ� ทีก่ าํ ลังจะสูญหายไป ฝา ยหญิง ใชทารําไมเหมือนกัน ง. เพราะเปน สง�ิ ทส่ี วยงาม ก. เพลงดวงจันทรขวญั ฟา ข. เพลงยอดชายใจหาญ ๑๐๐. การเรยี นนาฏศลิ ปมีประโยชนตอนักเรยี นอยางไร ค. เพลงดวงจันทรว ันเพ็ญ ก. ทําใหเ ปน คนดี ง. เพลงคนื เดือนหงาย ข. ทําใหเ รียนเกง ไดค ะแนนดี ค. ทําใหเปน ท่ยี อมรบั ของเพอื่ น ง. ทําใหมีความม�นั ใจ กลา แสดงออก ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š

¾๑ÔàÈ๐É ¡ÃдÒɤÒí µÍº ÇªÔ Ò ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ».๖ ä´Œ¤Ðá¹¹ ñðð¤Ðá¹¹àµÁç ช่ือ ช้นั เลขที่................................................................................................................................................ ....................................................................... ๑. ก ข ค ง ๒๖. ก ข ค ง ๕๑. ก ข ค ง ๗๖. ก ข ค ง ๒๗. ก ข ค ง ๕๒. ก ข ค ง ๗๗. ก ข ค ง เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน ๒. ก ข ค ง ๒๘. ก ข ค ง ๕๓. ก ข ค ง ๗๘. ก ข ค ง ๒๙. ก ข ค ง ๕๔. ก ข ค ง ๗๙. ก ข ค ง ๓. ก ข ค ง ๓๐. ก ข ค ง ๕๕. ก ข ค ง ๘๐. ก ข ค ง ๓๑. ก ข ค ง ๕๖. ก ข ค ง ๘๑. ก ข ค ง ๔. ก ข ค ง ๓๒. ก ข ค ง ๕๗. ก ข ค ง ๘๒. ก ข ค ง ๓๓. ก ข ค ง ๕๘. ก ข ค ง ๘๓. ก ข ค ง ๕. ก ข ค ง ๓๔. ก ข ค ง ๕๙. ก ข ค ง ๘๔. ก ข ค ง ๓๕. ก ข ค ง ๖๐. ก ข ค ง ๘๕. ก ข ค ง ๖. ก ข ค ง ๓๖. ก ข ค ง ๖๑. ก ข ค ง ๘๖. ก ข ค ง ๓๗. ก ข ค ง ๖๒. ก ข ค ง ๘๗. ก ข ค ง ๗. ก ข ค ง ๓๘. ก ข ค ง ๖๓. ก ข ค ง ๘๘. ก ข ค ง ๓๙. ก ข ค ง ๖๔. ก ข ค ง ๘๙. ก ข ค ง ๘. ก ข ค ง ๔๐. ก ข ค ง ๖๕. ก ข ค ง ๙๐. ก ข ค ง ๔๑. ก ข ค ง ๖๖. ก ข ค ง ๙๑. ก ข ค ง ๙. ก ข ค ง ๔๒. ก ข ค ง ๖๗. ก ข ค ง ๙๒. ก ข ค ง ๔๓. ก ข ค ง ๖๘. ก ข ค ง ๙๓. ก ข ค ง เฉผพสู าะอฉนบบั ๑๐. ก ข ค ง ๔๔. ก ข ค ง ๖๙. ก ข ค ง ๙๔. ก ข ค ง ๑๑. ก ข ค ง ๔๕. ก ข ค ง ๗๐. ก ข ค ง ๙๕. ก ข ค ง ๔๖. ก ข ค ง ๗๑. ก ข ค ง ๙๖. ก ข ค ง ๑๒. ก ข ค ง ๔๗. ก ข ค ง ๗๒. ก ข ค ง ๙๗. ก ข ค ง ๔๘. ก ข ค ง ๗๓. ก ข ค ง ๙๘. ก ข ค ง ๑๓. ก ข ค ง ๔๙. ก ข ค ง ๗๔. ก ข ค ง ๙๙. ก ข ค ง ๕๐. ก ข ค ง ๗๕. ก ข ค ง ๑๐๐. ก ข ค ง ๑๔. ก ข ค ง เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ๑๕. ก ข ค ง ๑๖. ก ข ค ง ๑๗. ก ข ค ง ๑๘. ก ข ค ง ๑๙. ก ข ค ง ๒๐. ก ข ค ง ๒๑. ก ข ค ง ๒๒. ก ข ค ง ๒๓. ก ข ค ง ๒๔. ก ข ค ง ๒๕. ก ข ค ง ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š

à©Å¢͌ Êͺ ÇªÔ Ò ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻР».๖ ¾๑àÔ È๑É ขอ ท่ี เฉลย เหตผุ ลประกอบ ชดุ ท่ี ๑ ๑. ข. Allegretto เปนศัพทสงั คตี ทม่ี คี วามหมายวา เร็ว เปน คําตอบที่ถกู การประสานเสียง เปนองคป ระกอบของเพลงขอหน�ึง ที่ผูฟง ตองพจิ ารณาถึงเสยี งเพลงวา ๒. ง. เสยี งขบั รองและเสยี งดนตรีมีความผสมกลมกลืนกันหรอื ไม เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ๓. ก. กวาด เปนศพั ทสังคตี ของดนตรีไทย ทีห่ มายถึง วิธกี ารบรรเลงเครอ่ื งดนตรีประเภทตอี ยา งหนง�ึ โดยการใชไ มต ลี ากไปบนเครอื่ งดนตรี ๔. ค. การเคาะจังหวะตามเพลงทฟี่ งได แสดงถงึ ความตงั้ ใจฟงอยางมีสมาธิของนํา้ ๕. ง. เปน เครอ่ื งดนตรปี ระเภทเคร่ืองดีด สว น แคน โหวด ขลุย เปน เคร่อื งดนตรปี ระเภทเครอ่ื งเปา โปงลาง เปนเคร่ืองดนตรีที่มีลักษณะคลายกับระนาด ซึ�งมีลูกโปงลางท่ีทําจากไมคลายกับลูกระนาด ๖. ข. รอยตอกันเปนผนื ตามระดับเสียง และวางผนื ลูกโปงลางในแนวตงั้ ๗. ก. กลองสะบัดชยั เปนเคร่อื งดนตรีพ้นื บานภาคเหน�อ เปนคําตอบทีถ่ ูก กลองชาตรี เปนเคร่ืองดนตรีพื้นบานภาคใต และมักใชเลนประกอบการแสดงพ้ืนบานภาคใต เชน ๘. ค. ละครชาตรี หนังตะลงุ รวมทัง้ บรรเลงเปนเพลงทํานองตะลงุ ดวย ๙. ก. แบนโจ เปนเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด สวน ดับเบิลเบส ไวโอลิน วิโอลา เปนเครื่องดนตรี เฉผพูสาะอฉนบับ ประเภทเครอ่ื งสี ๑๐. ข. แซก็ โซโฟน เปนเครอื่ งเปาลมผานลนิ้ สวนริคอรเ ดอร พกิ โคโล ฟลตู เปนเครือ่ งเปาลมผานชอ งลม ทรัมเปต บาริโทน เฟรนซฮอรน เปนเครื่องดนตรีประเภทเคร่ืองลมทองเหลืองท้ังหมด เปนคําตอบ ๑๑. ค. ท่ถี ูก ๑๒. ค. จากภาพ เปน เครื่องดนตรปี ระเภทเครอ่ื งคียบ อรด เปนคาํ ตอบท่ีถูก ระฆังราว เปนเคร่ืองดนตรีท่ีมีระดับเสียงแนนอน โดยสามารถบรรเลงเปนทํานองได สวนทิมพะน� ๑๓. ข. กลองสแนร ทอมบา เปน เครอ่ื งดนตรที ม่ี รี ะดับเสียงไมแนนอน ใชบรรเลงประกอบจงั หวะ เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูสอน ๑๔. ค. เสียงลาในโนต ดนตรไี ทย แทนดวยสญั ลกั ษณ ล เปนคาํ ตอบท่ถี กู ๑๕. ค. เปน สญั ลกั ษณต ัวโนต ดนตรีสากล เรยี กวา ตัวขาว ๑๖. ก. จากภาพ เปน โนต “ตัวดาํ ” มีอตั ราของเสียงเทา กบั คร�ึงหนง�ึ ของตวั ขาว ตวั เขบ็ตสามชั้น มีอตั ราเสยี งนอยทส่ี ดุ จากทง้ั ๔ ตวั ทก่ี าํ หนดให คอื มีอตั ราเสยี งคร�งึ หนึง� ของ ๑๗. ข. ตัวเขบต็ สองชั้น เปนคาํ ตอบท่ีถกู ๑๘. ค. จากภาพ เปนสญั ลักษณแ ทนตวั หยดุ ตวั เขบ็ตหน�ึงชน้ั มีอตั ราจังหวะเทา กับตัวเขบ็ตหน�ึงช้ัน เปน คําตอบทถ่ี กู ๑๙. ข. จากภาพ เปนสัญลกั ษณแทนตวั หยดุ ตัวกลม มอี ัตราจังหวะเทากับตัวกลม เปนคําตอบที่ถกู ๒๐. ข. เสยี งท่เี รียงจากเสยี งต่ําไปหาเสยี งสูง เรียกวา บันไดเสียงขาขนึ้ เปนคาํ ตอบทถ่ี กู ๒๑. ค. เพลงพรปใหม เปน เพลงไทยสากล มเี นอ�้ รองทกี่ าํ หนดไวแลว ไมไดค ิดข้ึนมาใหม การยืนรอ งเพลงไทย ตองยืนสาํ รวมทา ทางและการเคลอ่ื นไหวรา งกาย เพราะการรอ งเพลงไทยไมตอง ๒๒. ก. เคลื่อนไหวรา งกายตามเพลง เหมอื นกบั เพลงสากล ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔÅ»Š

๑๒¾àÔ ÈÉ ขอ ที่ เฉลย เหตผุ ลประกอบ ๒๓. ค. การขับรอ งเพลงโดยแบงวรรคตอนใหถูกตอ ง ชวยใหผ ูฟ ง เขา ใจความหมายของเพลงไดถูกตอง ตามเน�อ้ เพลง ไมผ ิดเพีย้ น หากรอ งผดิ วรรคตอนอาจทาํ ใหบางคาํ ความหมายเปลย่ี นไปได ๒๔. ค. เพลงเราสู เปน เพลงปลกุ ใจ ขณะรองควรแสดงสหี นา ฮกึ เหมิ จรงิ จัง คัมภีรสังคีตรัตนากร แบงประเภทเครื่องดนตรีออกเปน ๔ ประเภท คือ ตะตะ (เครื่องสาย) สุษิระ ๒๕. ข. (เครื่องเปา ) อะวะนทั ธะ (เคร่อื งหุมหนงั ) ฆะนะ (เครื่องตี) เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน ๒๖. ก. ตะตะ เปนเครือ่ งดนตรีประเภทเคร่ืองสาย ซ�ึงรวมเครือ่ งดดี และเคร่อื งสอี ยูในกลมุ เดยี วกนั ๒๗. ง. ขิม เปนเครือ่ งดนตรที มี่ าจากประเทศจีน ทน่ี าํ มาบรรเลงรวมกบั วงดนตรไี ทย เปนคาํ ตอบทถี่ ูก องั กะลงุ เปน เครอ่ื งดนตรที ม่ี าจากอนิ โดนเ� ซยี ซง�ึ มเี สยี ง ๕ เสยี ง พอมาถงึ ไทย หลวงประดษิ ฐไพเราะ ๒๘. ก. (ศร ศลิ ปบรรเลง) ไดน าํ มาดดั แปลง ปรบั ปรงุ ใหม เี สยี ง ๗ เสยี ง ๒๙. ก. หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง) เปน ผูป รับปรุง ดัดแปลงองั กะลุงใหมีเสียงครบ ๗ เสยี ง จากเดิมมี ๕ เสียง และคดิ วิธีบรรเลงเปนแบบของไทยเอง เพลงเราสู เปน เพลงปลุกใจ ดังนัน้ ทาประกอบจงึ ตองมลี กั ษณะ เขมแขง็ หาวหาญ ตามความหมาย ๓๐. ข. และจงั หวะทาํ นองเพลง ๓๑. ค. จากภาพ เปน ทา ประกอบเพลงเราสทู อ นเพลง “บานเมอื งเรา เราตอ งรักษา” จากคาํ ถาม เปน การทาํ ทาประกอบเพลงเราสู ทอ นท่ีวา “เสียเลอื ดเสียเนอ้� มิใชเ บา” ตามวิธกี ารทําทา ๓๒. ก. ประกอบท่ถี กู กําหนดมา เฉผพูสาะอฉนบบั ๓๓. ง. เล็บท่ีใชในการฟอ นเลบ็ ทางภาคเหนอ� ไมมีพูเหมอื นเลบ็ ท่ีใชในการฟอ นภูไทของภาคอีสาน ๓๔. ง. แวนเทียน เปน อปุ กรณท่ีใชในการราํ เชญิ พระขวัญ เปน คาํ ตอบทถ่ี ูก เตนกํารําเคียว เปนการแสดงท่ีเกี่ยวของกับการทํานา ดังนั้นจึงควรใชฉากเปนทองทุงนาใหเห็น ๓๕. ค. บรรยากาศดว ย ๓๖. ข. ระบํามา เปนระบําท่ีเก่ียวของกับมาซ�ึงเปนสัตวท่ีวิ�งไดเร็ว จึงควรใชฉากทุงหญา ทุงดอกไม ซ�ึงเปน ที่โลงแจงและกวา งขวาง เหมาะสําหรับฉากการแสดงระบํามา การประดษิ ฐเ ล็บที่ใชป ระกอบการฟอนเลบ็ จาํ เปน ตองใชอ ปุ กรณ กระดาษตะกว�ั กรรไกร กาว แตไ ม เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ๓๗. ง. ตอ งใชล วด ๓๘. ก. ระบําประกอบการแสดงละครเปนระบําท่ีตองคงรูปแบบการแสดงแบบดั้งเดิมไว รวมถึงการแตงกาย ที่ตอ งแตง ใหถูกตอ งตามเครอ่ื งทรงของกษตั รยิ  รําสีนวล ไมตองแตงกายเปนตัวพระ ตัวนาง เพราะไมเนนการแสดงชาย-หญิง แตเปนการแสดง ๓๙. ง. หมูคณะทเี่ ปนผูหญิงท้ังหมด ๔๐. ข. จากภาพ เปน การแตง กายของผแู สดงตัวพระ ระบําดาวดึงส เปนระบําประกอบการแสดงละครหรือระบํามาตรฐานชุดหนึ�ง ซ�ึงตองคงรูปแบบดั้งเดิม ๔๑. ค. ไว โดยเฉพาะเคร่อื งแตงกายท่ีจาํ ลองมาจากเครือ่ งทรงของกษตั รยิ  ๔๒. ก. ระบาํ กฤดาภินิหาร ผูแสดงจะตองแตงกายตวั พระ ตวั นาง ตามรปู แบบการแสดง การแตง กายในการแสดงระบําเก่ียวกับสัตว ควรแตงกายใหสอดคลองกับรูปแบบของระบาํ เชน แสดง ๔๓. ง. ระบาํ มา ก็แตง กายเลียนแบบมา ๔๔. ข. รําพลายชุมพล ตองมีอุปกรณ ๒ อยา ง คอื ทวน และมา จําลอง ตามรูปแบบการแสดงที่ถกู ตอ ง หลงั จากแสดงหนุ นวิ้ มอื แลว ควรมีการประเมนิ ผลการแสดงทุกครั้ง เพ่อื สรุปผลการแสดงและหา ๔๕. ง. ขอ บกพรอ ง พรอ มกบั ปรับปรุงวิธีการแสดงในครง้ั ตอไป ๔๖. ก. การประดษิ ฐห นุ เอง จะชว ยประหยดั คา ใชจ า ยมากทส่ี ดุ และยงั ชว ยใหค วามคดิ สรา งสรรคในการออกแบบ หนุ ดว ยตนเอง ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

ขอท่ี เฉลย เหตผุ ลประกอบ ¾ÔàÈÉ ง. การชมการแสดงไมควรมีอคตติ อผแู สดง เพราะนอกจากจะทําใหช มการแสดงไมส นกุ แลว ยังทาํ ให ไมไดอรรถรสในการชมการแสดงอีกดว ย ๑๓๔๗. ๔๘. ข. เซ้ิงกระติบ เปน การแสดงพืน้ เมอื งภาคอีสานทจ่ี ังหวะสนกุ สนาน เรา ใจ ๔๙. ง. การมีอคติตอ การแสดง อาจทาํ ใหเกดิ ความลาํ เอียง ในการวจิ ารณได ครลู มลุ ยมะคปุ ต เปน ศลิ ปน ทม่ี คี วามรคู วามสามารถในเรอ่ื งนาฏศลิ ปม าก สามารถประดษิ ฐท า ระบาํ ใหม ๕๐. ก. หลายชดุ ดว ยกนั จนถกู ยกยอ งวา เปน ผใู หท า ระบาํ เกดิ ขน้ึ ใหม ของกรมศลิ ปากร ชุดท่ี ๒ เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน เคร่ืองหมายกํากับจังหวะ ตองเขยี นไวท ่ีตอนเริม� ตนของเพลงเสมอ เพราะนกั รองหรอื นกั ดนตรีจะตอง ๕๑. ก. ดกู อ นท่จี ะรอ งเพลงหรือบรรเลงดนตรี ๕๒. ค. จะเขเ ปนเครือ่ งดนตรที ี่ใชว ิธกี ารบรรเลง โดยการดีดสายบนเคร่อื งดนตรี ๕๓. ข. การฟง เพลงอยา งต้งั ใจและมีสมาธิ ทําใหเกิดความรสู กึ เพลิดเพลนิ ได ๕๔. ค. จังหวะเกี่ยวขอ งกับความชา-เร็วของบทเพลง ๕๕. ค. Amoroso เปนศัพทส งั คตี หมายถึง ความรสู กึ หวานซ้งึ เปน คาํ ตอบท่ีถกู ๕๖. ค. Solo เปนศัพทส งั คีต หมายถงึ เพลงเดี่ยวหรือแสดงเดีย่ ว ๕๗. ง. กลองชาตรี ฆอ งคู ทบั เปนเครอื่ งดนตรพี ้ืนเมืองภาคใตท้งั หมด สวนขออนื่ ไมใช ขลุยเพียงออ เปนเครื่องดนตรีท่ีใชบรรเลงทั�วไปในวงเครื่องสาย และสามารถใชเทียบเสียงเครื่องดนตรี ๕๘. ง. ในวงได เนอ� งจากมีเสยี งทที่ ําใหเครอ่ื งดนตรีช้ินอืน่ ตง้ั เสยี งใหสอดคลอ งกันได เฉผพสู าะอฉนบับ ๕๙. ข. จากภาพ เปน เบลไลรา จดั อยูในเครอ่ื งดนตรปี ระเภทเคร่อื งกระทบ ๖๐. ก. กลองสแนร และกลองใหญ เปน เครื่องดนตรที มี่ ีระดับเสยี งไมแนนอน และไมส ามารถเลนเปน ทาํ นอง เพลงได จัดเปนเครือ่ งกระทบท่ีใชในการใหจังหวะเทานน้ั ๖๑. ค. จากภาพ คือ แบนโจ เปน เครื่องดนตรีประเภทเครอื่ งดีด ๖๒. ก. คลารเิ น็ต เปน เคร่อื งดนตรีประเภทเครอื่ งเปา ลมไมท่มี ลี นิ้ บรเิ วณสว นของปากทเี่ ปา ๖๓. ข. หบี เพลงชกั เปนเครื่องดนตรีประเภทคียบอรด ทีเ่ วลาเลนตองใชน ว้ิ กดลิ�มนวิ้ ใหเปน ทาํ นองเพลง การเขียนโนตเพลงไทย ตองเขียนตัวโนตในหองเพลงแตละหองใหครบ ๔ ตัว ตามวิธีการเขียนโนต เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูสอน ๖๔. ง. เพลงไทยทถี่ ูกตอง ๖๕. ข. เพลงจงั หวะสองช้นั เปน จงั หวะปานกลาง ไมช า และไมเรว็ มาก ๖๖. ค. ม เปนสญั ลกั ษณแทนเสียงมี ในการเขียนโนต เพลงไทย ๖๗. ก. ด เปน สญั ลกั ษณแ ทนเสยี งตํ่าทส่ี ดุ ของโนต เพลงไทย ๖๘. ง. จากภาพ เปนสัญลักษณก ญุ แจประจําหลกั ฟาเบส ทย่ี ดึ เสยี ง ฟา เปนหลกั ในการเลน ดนตรี ๖๙. ก. โนตเพลงไทยใชชองวา งท้ังแปดชอ งบันทกึ ตวั โนต ตามวธิ ีการเขียนโนต เพลงไทยทถี่ กู ตอง ๗๐. ค. เพลงไทย เปน เพลงที่มกี ารเอ้ือนเปนลกั ษณะเฉพาะ ซ�งึ ไมม ีในเพลงประเภทอืน่ ๗๑. ค. การชมการแสดงนาฏศลิ ปอยา งมีสมาธิ เปน การชมทีด่ ีและมีมารยาทในการชม ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เปนยุคสมัยที่มีความเจริญทางดนตรีและนาฏศิลปมาก ถึงขนาดท่ีวาไปที่ไหนก็ ๗๒. ข. มีแตเสียงดนตรี จนตอ งมกี ฎหามเลน ดนตรีในเขตพระราชฐาน ๗๓. ข. ในสมยั รชั กาลท่ี ๒ ถอื เปน ยคุ ทองของดนตรเี พราะพระมหากษตั รยิ ท รงสนพระทยั ดนตรไี ทยมาก และมกี ารพฒั นาดนตรีในหลายดา น ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

๑๔¾àÔ ÈÉ ขอ ท่ี เฉลย เหตผุ ลประกอบ ๗๔. ค. ในสมัยรชั กาลที่ ๔ มคี วามนยิ มการรอ งเพลงสงใหดนตรีรับกันมาก ทําใหก ารขบั เสภาคอยๆ หายไป เพราะไมไดรับความนิยม เน�องจากอังกะลุงที่นํามาจากชวาในตอนแรกมี ๕ เสียง และไมสามารถนํามาบรรเลงแบบไทยได ๗๕. ก. หลวงประดิษฐไพเราะ จึงปรับเสยี งองั กะลงุ ใหม ี ๗ เสียง และปรับวิธีเลนใหมใหเ ลน เพลงไทยได ๗๖. ข. ดนตรภี าคใต มกั มลี ักษณะจงั หวะทาํ นองเรว็ ทําใหสนกุ สนาน เรา ใจ เชน ดนตรีท่ีประกอบการแสดง โนรา ๗๗. ง. จากภาพ เปนการแสดงทา ทางของตาํ รวจ ซ�งึ เกี่ยวขอ งกับบคุ คล เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน ๗๘. ค. จากภาพ เปนการเลยี นแบบลักษณะของกวาง ๗๙. ง. เซง้ิ กระตบิ เปนการแสดงพ้นื เมอื งภาคอีสาน ๘๐. ข. ราํ โนรา เปนศลิ ปะการแสดงพื้นเมืองของภาคใต เซิ้งกระโป เปนการแสดงพ้นื เมืองภาคอีสาน ใชกะลามะพรา ว หรือกระโป ตามภาษาพ้ืนเมอื ง ๘๑. ก. ภาคอสี าน มาประกอบการแสดง ๘๒. ง. เคียว งอบ รวงขาว เปน อปุ กรณท ่ีใชประกอบการแสดงเตน กํารําเคยี วท้ังหมด สวนขออนื่ ไมใช ๘๓. ค. จากภาพ เปนการประดิษฐเ ลบ็ ท่ีใชป ระกอบการแสดงฟอนเล็บ ๘๔. ก. เพลงคนื เดอื นหงาย ใชท ารําสอดสรอยมาลาแปลง ตามที่กรมศิลปากรกาํ หนด ๘๕. ง. ผแู สดงเปนผูท่อี ยูใกลช ดิ ผชู มมากท่สี ุด เพราะตอ งแสดงตอหนา ผูชม ผูแสดงจะดสู วยงาม และสมจรงิ มาก ข้ึนอยูกบั ฝายเครอื่ งแตง กายวา จะแตงกายใหผ ูแสดงอยา งไร เฉผพสู าะอฉนบบั ๘๖. ข. จึงจะดสู วยงามและสมจริงมากท่ีสุด ๘๗. ข. ผแู สดงจะเปนคนทถี่ ายทอดผลงานของทกุ ฝาย ใหผ ูชมไดชม เปน ขัน้ ตอนสุดทา ย ๘๘. ง. การแสดงนาฏศิลป ตอ งอาศยั ความรว มมอื ตงั้ ใจทาํ งานของทุกฝาย จงึ จะประสบความสําเร็จได รําวงมาตรฐานมาจากการละเลน รําโทน และตอ มาพัฒนาเปน รําวงพืน้ บาน และพัฒนาเปน ๘๙. ก. รําวงมาตรฐานในท่ีสดุ เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ๙๐. ค. จากภาพ เปนการแตงกายแบบพ้นื เมือง การราํ วงมาตรฐานใหส วยงามน้ัน จะตองรําใหพรอมเพรียง และจัดระยะหา งระหวางคูใหพอเหมาะ ๙๑. ง. ขณะเคลื่อนทเ่ี ปน วงกลม ๙๒. ข. เพลงยอดชายใจหาญ เปนเพลงรําวงมาตรฐานทผี่ แู สดงชายและหญงิ ทาํ ทา ไมเหมอื นกนั คือ ผูชาย ใชทารํา จอเพลงิ กาฬ ผูหญิงใชท าราํ ชะนร� ายไม ๙๓. ก. ทาราํ สอดสรอยมาลาแปลง เปน ทา ราํ ที่ใชร าํ วงมาตรฐานเพลงคืนเดอื นหงาย ๙๔. ค. ผูแสดงระบําไก ควรสวมหมวกรปู ไก ตามความหมายของการแสดงจึงเหมาะสม ๙๕. ข. เทริด เปน เครื่องแตง กายของผูแสดงโนรา ๙๖. ง. จาํ นวนผชู มไมเ กย่ี วขอ งกบั การวจิ ารณง านละคร ตามหลกั การวจิ ารณท ถ่ี กู ตอ ง เดมิ ทศี ลิ ปน สงั กดั กรมมหรสพ ตอ มาในสมยั รัชกาลที่ ๗ ไดย ุบกรมมหรสพ และตัง้ กรมศลิ ปากร ๙๗. ค. ขน้ึ มาแทน เหลาศลิ ปนจงึ ตองโอนไปสังกัดกรมศิลปากรแทน ๙๘. ก. ผูท ่ปี รบั ปรงุ ทารําชุดระบาํ มา คือ ทา นผหู ญิงแผว สนทิ วงศเ สน� เปนคําตอบท่ถี ูก ๙๙. ก. นาฏศิลปไทย ถือเปนมรดกทางวฒั นธรรมไทยทีม่ มี าตัง้ แตสมยั โบราณ จงึ ควรอนรุ กั ษไว ๑๐๐. ง. การเรียนนาฏศิลป ชว ยฝกความมั�นใจและกลาแสดงออกได เพราะเปน การแสดงตอ หนาผูช ม ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š

¤ÇÒÁÃŒÙà¾èÔÁàµÔÁÊÒí ËÃºÑ ¤ÃÙ ¾๑àÔ È๕É Ë¹Ç‹ ÂÏ ·Õè ๑ º··Õè ๒ à¤ÃÍ×è §´¹µÃÕµ‹Ò§æ ดนตรีไทยและดนตรีสากลแมจะมีความแตกตางกันอยูบาง แตก็มีบางสวนที่เหมือนกัน เฉพาะสาํ หรบั …ครผู ูสอน เชน เวลาบรรเลงเคร่ืองดนตรีตางก็ใชกิริยาในการบรรเลงเหมือนกันทั้ง ๔ กิริยา คือ ดีด สี ตี เปา มีองคประกอบของดนตรที เ่ี หมอื นกนั คอื มสี ว นทที่ าํ ลาํ นํา และสว นท่ีควบคมุ จงั หวะ มวี ัฒนธรรมการ ใชบรรเลงในวิถีชีวิตเหมือนกัน คือใชบรรเลงในพิธีกรรม ใชบรรเลงเปนพิธีการ และใชบรรเลงเพ่ือ ความบันเทิง เปนตน แตก็มีหลายประเด็นท่ีมีความแตกตาง ซ�ึงสามารถจะเปรียบเทียบใหเห็นพอ สังเขปดงั น้� ตารางเปรยี บเทียบดนตรีไทยกบั ดนตรสี ากล ดนตรีไทย ดนตรสี ากล ๑ จําแนกตามกิริยาของผูบรรเลงท่ีทําใหเคร่ือง ๑ จําแนกตามโครงสรางทางกายภาพของ ดนตรีเปลงหรือผลิตเสียงเปน ๔ สกุล คือ เคร่ืองดีด เคร่ืองดนตรเี ปน ๕ สกุล คือ เครื่องสาย เครอ่ื งลมไม เครื่องสี เครือ่ งตี เครือ่ งเปา เครอ่ื งทองเหลือง เครื่องกระทบ และเครื่องคยี บอรด ๒ ลักษณะการประสานของวงดนตรีไทย แบง ๒ ลักษณะการประสมวงดนตรีสากลคือการนํา เฉผพสู าะอฉนบับ ออกเปนวงปพาทย วงเคร่ืองสาย และวงมโหรี ซ�ึง เคร่ืองดนตรีสกุลตางๆ มาประสมกัน แบงออก เปน เครื่องดนตรีของทุกวงจะแบงหนา ทีก่ ันเปน ๒ พวก คอื วงออรเคสตรา และวงแบนด ซ�ึงเครื่องดนตรีสากล พวกทําลํานําจะทําหนาที่บรรเลงทํานองหลักทําความ ของทุกวงจะแบงกันทําหนาท่ีบรรเลงสวนตางๆ ของ โหยหวน หยอกลอ และแทรกแซง สวนพวกควบคุม บทบรรเลง ไดแก สวนทํานอง สวนจังหวะ สวน จังหวะจะทําหนาที่เดินจังหวะ เนนจังหวะหนักเบา ประสานเสยี ง และสว นสอดทาํ นอง หยอกลอในจังหวะและทํากระสวนจังหวะยอย ซ�ึงเรียก เฉพาะสําหรับ…ครูผูสอน วา “หนา ทับ” ๓ ลักษณะของจังหวะ ดนตรีไทยจะเรียก ๓ ลักษณะของจังหวะ ดนตรีสากลมีธาตุ กระสวนของการเคาะจังหวะวา “หนาทับ” และเรียก ประกอบรวมกันอยู ๓ สวน คือ สวนกําหนดกลุม อตั ราความเรว็ ของจงั หวะวา “ช้ัน” จังหวะเรียกวา “มีเตอร” สวนกระสวนการเคาะจังหวะ เพ่อื แสดงจดุ คลายของจงั หวะเรยี กวา “รเี ธิม” และสวน บอกอัตราความเร็วของจังหวะเรียกวา “เตมโป” หรือ “เทมโป” ๔ ลักษณะของบทเพลง เพลงไทยจะแบงออก ๔ ลักษณะของบทเพลง บทเพลงของดนตรี เปน ๒ ลักษณะ คือ เพลงบรรเลง ไดแก เพลงโหมโรง สากลมีมากมายหลายลักษณะ แตโดยท�ัวไปจะจําแนก เพลงหนา พาทย เพลงเร่อื ง เพลงทายเครื่อง และเพลง ออกเปน ๓ ประเภท คือ ประเภทเพลงบรรเลง เพลง ออกภาษา สว นเพลงขับรอง ไดแก เพลงเถา เพลงตบั ขับรอ ง และเพลงประสานเสยี ง ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

๒ 㪾Œ ²Ñ ¹Ò¤³Ø ÀÒ¾¡Òû¯Ôºµ§Ò¹ ¾๑ÔàÈ๖É ¡ÒÃà·ÂÕ ºà¤ÂÕ §µÃǨÊͺÁҵðҹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒà¾èÍ× ¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾ÀÒ¹͡ ¢Í§ÊÒí ¹¡Ñ §Ò¹ÃѺÃͧÁҵðҹáÅлÃÐàÁÔ¹¤³Ø ÀÒ¾¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ (ÊÁÈ.) เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ไดกําหนดมาตรฐานดานผูเรียน พรอมระบุตัวบงช้ีและเกณฑการพิจารณาคุณภาพของผูเรียน เพื่อใหผูสอนและสถานศึกษาใชเปนแนวทาง วิเคราะหสภาพผูเรียน และนําจุดออนจุดแข็งมาพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสอดคลองกับสภาพจริงของ ผเู รยี นและทอ งถนิ� ผูสอนจึงตองดําเนินการศึกษาและวิเคราะหตัวช้ีวัดช้ันป จากมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ และมาตรฐานดา นผเู รียนของ สมศ. ควบคกู ันไป จึงจะสามารถกําหนดระดับ มาตรฐานการแสดงออกของผูเรียน ระดับคุณภาพและความกาวหนาทางการเรียน การรวบรวมขอมูลหลักฐาน การจัดทําแฟมผลงาน และการรายงานผลการวิจัยเพ่ือพัฒนาผูเรียนไดตามระดับมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ ทคี่ ุรุสภากําหนด และยงั สอดคลอ งกับมาตรฐานดา นผสู อน เพือ่ รองรบั การประเมนิ ภายนอกจาก สมศ. อีกดว ย ผจู ดั ทําสื่อและโครงการสอนฯ ชดุ แมบ ทมาตรฐาน ไดว ิเคราะหมาตรฐานตวั ช้วี ัดชั้นป และสาระการเรียนรู จากหลักสูตรแกนกลางฯ’๕๑ เพ่ือนํามาออกแบบกิจกรรมและสื่อการเรียนรูที่เหมาะสม เพื่อใชเปนเคร่ืองมือ สําหรับวัดและประเมินผล รวมท้ังเปนเคร่ืองช้ีวัดความสําเร็จของผูเรียน ท่ีสอดคลองกับมาตรฐานตัวช้ีวัด และ เฉผพสู าะอฉนบับ มาตรฐานบงช้ีตามท่ี สมศ. กําหนดให เปนการยืนยันความสามารถท่ีแทจริงของผูเรียนแตละคนวา ผูเรียนมี ความสามารถในการปฏิบตั ติ ามสง�ิ ที่กําหนดไวในหลกั สตู รและมาตรฐานการเรียนรจู รงิ ๆ ผูสอนและผูเรียนจะไดรวมกันพิจารณา กําหนดเปาหมายความสําเร็จกอนลงมือปฏิบัติกิจกรรมนั้นๆ และสามารถจัดเก็บหลักฐานรองรอย เพ่ือใชเปนขอมูลสะทอนผลการเรียนรูที่เกิดข้ึนของผูเรียนแตละคนไดอยาง ชัดเจน โดยเฉพาะอยางยิ�งเปนการฉายภาพการปฏิบัติงานของผูสอนตามระบบวงจรคุณภาพ PDCA (Planning Doing Checking Action) เพ่ือประกันคุณภาพภายในและรองรับการประเมินภายนอกตลอดเวลา เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน Áҵðҹ´ÒŒ ¹¼ÙŒàÃÕ¹ (ÃдºÑ »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ) ตัวบง ชี้ เกณฑก ารพจิ ารณา มาตรฐานที่ ๑ : ผเู รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา นยิ มทีพ่ งึ ประสงค ๑.๑ ผเู รยี นมวี นิ ยั มคี วามรับผดิ ชอบ ๑.๑.๑ รอ ยละของผเู รียนทีม่ าโรงเรยี นทนั เวลา ๑.๑.๒ รอ ยละของผเู รียนท่ีปฏบิ ตั ิตามระเบยี บของสถานศึกษา โดยเฉพาะการ เขา แถวเคารพธงชาติ และปฏิบตั กิ จิ กรรมตางๆ ๑.๑.๓ รอ ยละของผูเรียนที่สนใจกจิ กรรมการเรียน และรับผดิ ชอบงานทีค่ รู มอบหมาย ๑.๑.๔ รอยละของผูเรียนทแ่ี ตงกายเรียบรอ ยในสถานการณตา งๆ ๑.๑.๕ รอ ยละของผูเ รียนทเี่ ดินผา นครแู ละผใู หญอ ยา งสุภาพเรียบรอย มสี ัมมาคารวะ ๑.๑.๖ รอ ยละของผูเรยี นทม่ี ีมารยาทในการรบั ประทานอาหาร ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔÅ»Š

ตวั บงชี้ เกณฑก ารพิจารณา ¾๑ÔàÈ๗É ๑.๒ ผเู รียนมคี วามซื่อสัตยส จุ รติ ๑.๒.๑ รอ ยละของผเู รียนทป่ี ฏบิ ตั ิตามระเบียบการสอบและไมลอกการบา น เฉผพสู าะอฉนบับ ๑.๒.๒ รอยละของผเู รียนทท่ี รพั ยสนิ ไมส ญู หาย ๑.๒.๓ รอ ยละของผเู รียนที่พดู แตค วามจรงิ (ไมโ กหก) ๑.๓ ผเู รียนมีความกตัญกู ตเวที ๑.๓.๑ รอ ยละของผเู รยี นทร่ี ัก เคารพ พอแม ผปู กครอง และแสดงออกซงึ� การ ตอบแทนพระคุณอยางเหมาะสม เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ๑.๓.๒ รอ ยละของผูเรยี นทร่ี ะลึกถึงพระคณุ ของครูบาอาจารย และแสดงออกซง�ึ การตอบแทนพระคณุ อยา งเหมาะสม ๑.๓.๓ รอ ยละของผูเรยี นทเี่ ปน สมาชิกทีด่ ขี องครอบครัว ชุมชน และสงั คม ๑.๔ ผูเรยี นมคี วามเมตตากรุณา ๑.๔.๑ รอ ยละของผูเรียนทรี่ ูจ ักการใหเพื่อสว นรวมและเพอื่ ผูอ น่ื โอบออมอารี เออื้ เฟอ เผอื่ แผ ๑.๔.๒ รอ ยละของผูเรยี นทแี่ สดงออกถงึ การมีน้ําใจ หรอื ใหก ารชวยเหลือผูอน่ื และไมเ หน็ แกตวั ๑.๔.๓ รอยละของผเู รียนทร่ี ูจ กั แบง ปนทรพั ยสิน หรือสงิ� ของเพ่ือผูอ่นื ๑.๕ ผูเรยี นมีความประหยดั และใช ๑.๕.๑ รอยละของผูเรียนทีใ่ ชทรพั ยส ิน และสิ�งของของโรงเรียนอยางประหยดั ทรพั ยากรอยา งคมุ คา ๑.๕.๒ รอ ยละของผูเ รยี นทใ่ี ชอปุ กรณการเรยี นอยา งประหยัดและรูคณุ คา ๑.๕.๓ รอยละของผเู รยี นทร่ี วมกิจกรรมการประหยัด (เชน กิจกรรมรไี ซเคิล เปน ตน) ๑.๕.๔ รอยละของผเู รียนทใ่ี ชน ้ํา ไฟ และสาธารณปู โภคอืน่ ๆ ทง้ั ของตนเอง และของสวนรวมอยา งประหยดั และรูค ณุ คา ๑.๖ ผูเรียนปฏบิ ัตติ นเปน ประโยชนตอ ๑.๖.๑ รอยละของผเู รยี นที่เขา รวมกิจกรรมบาํ เพญ็ ตนเพ่อื สวนรวม สวนรวม ๑.๖.๒ รอยละของผูเรียนท่เี ขารวมกิจกรรมการอนรุ กั ษส�งิ แวดลอม ๑.๖.๓ รอยละของผเู รียนทเ่ี ขารว มกจิ กรรมการพฒั นาสถานศึกษาและทองถ�ิน มาตรฐานที่ ๒ : ผูเ รยี นมีสขุ นิสัย สุขภาพกาย และสขุ ภาพจติ ทด่ี ี เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูสอน ๒.๑ ผูเ รียนรจู ักดแู ลสุขภาพ สุขนสิ ยั ๒.๑.๑ รอยละของผเู รียนที่รูจกั เลอื กรบั ประทานอาหารที่มีคณุ คา และออกกาํ ลังกายสม่าํ เสมอ ๒.๑.๒ รอ ยละของผเู รียนที่ออกกาํ ลงั กายอยา งสมํา่ เสมอ ๒.๑.๓ รอ ยละของผูเรียนที่มสี ขุ นสิ ยั ท่ีดีและปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจาํ วนั ไดเองอยา ง ถกู ตองเหมาะสมตามวยั ได ๒.๒ ผูเ รยี นมีนํา้ หนกั สวนสงู และมี ๒.๒.๑ รอ ยละของผูเรียนทม่ี นี าํ้ หนกั ตามเกณฑมาตรฐานของกรมอนามัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ กระทรวงสาธารณสขุ ๒.๒.๒ รอยละของผเู รียนทม่ี สี ว นสูงตามเกณฑมาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ๒.๒.๓ รอยละของผูเรียนทไ่ี ดร ับการตรวจรา งกาย การทดสอบเกี่ยวกบั การเห็น การไดยนิ และมรี ายงานผลการตรวจรางกาย ๒.๒.๔ รอ ยละของผเู รยี นท่ีมีสมรรถภาพ / มีรา งกายแขง็ แรงตามเกณฑ มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของกรมพลศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (๒๕๔๓) ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๑๘¾àÔ ÈÉ ตวั บง ชี้ เกณฑการพิจารณา ๒.๓ ผเู รยี นไมเ สพหรอื แสวงหา ๒.๓.๑ รอยละของผูเรียนที่มคี วามรู ความเขา ใจ เกีย่ วกบั โทษของสงิ� เสพติดและ ผลประโยชนจ ากสิ�งเสพตดิ สง�ิ มอมเมา และสิ�งมอมเมา หลกี เล่ียงสภาวะ ๒.๓.๒ รอ ยละของผเู รยี นทม่ี ที กั ษะการปฏเิ สธ และชกั ชวนไมใ หเ พอ่ื นเสพยา ท่ีเส่ียงตอ ความรุนแรง โรคภัย เสพตดิ และอบุ ัตเิ หตุ รวมทั้งปญ หาทางเพศ ๒.๓.๓ รอยละของผูเรยี นทไ่ี มเสพส�ิงเสพติด และปลอดจากสง�ิ มอมเมา เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน ๒.๓.๔ รอยละของผเู รียนที่รจู กั ประโยชนและโทษของการใชอนิ เทอรเ นต็ (Internet) และเกมคอมพวิ เตอร ๒.๓.๕ รอ ยละของผูเรียนที่มีสํานกึ แหง ความปลอดภัย และการปฏบิ ตั ิตน อยางถูกตอ ง การระมดั ระวงั ตนในการใชช วี ติ ประจําวัน การรจู กั รักนวล สงวนตวั และการปอ งกนั ทรัพยสนิ ของตนเองและสวนรวม ๒.๓.๖ รอยละของผูเ รียนท่ีรจู ักหลีกเลยี่ งกิจกรรมท่เี ปน อบายมขุ และการพนัน ๒.๔ ผเู รียนมคี วามม�นั ใจ กลาแสดงออก ๒.๔.๑ รอ ยละของผเู รยี นมีความม�นั ใจและกลาแสดงออกอยา งเหมาะสม อยา งเหมาะสมและใหเกียรตผิ ูอ ่นื ๒.๔.๒ รอ ยละของผเู รียนทร่ี ูจักใหเกียรติผอู นื่ ๒.๕ ผูเรยี นราเริงแจม ใส มมี นษุ ยสมั พนั ธ ๒.๕.๑ รอยละของผเู รยี นที่หนา ตาทาทางราเรงิ แจมใส ทดี่ ีตอเพอ่ื น ครู และผอู ่ืน ๒.๕.๒ รอยละของผูเรียนทม่ี กี ิจกรรมนันทนาการกับเพือ่ นตามวยั เฉผพสู าะอฉนบบั ๒.๕.๓ รอยละของผูเรียนทย่ี ้มิ แยม พดู คยุ ทกั ทายเพอ่ื น ครู และผูอ่ืน ๒.๕.๔ รอยละของผเู รยี นที่เขา กบั เพื่อนไดดี และเปนที่รักของเพอ่ื นๆ มาตรฐานที่ ๓ : ผเู รยี นมีสนุ ทรยี ภาพ และลักษณะนิสัยดา นศิลปะ ดนตรี และกฬี า ๓.๑ ผูเ รยี นมคี วามสนใจ และเขารวม ๓.๑.๑ รอ ยละของผเู รียนที่มีความรัก และสนใจงานศลิ ปะ และการวาดภาพ กิจกรรมดานศิลปะ ๓.๑.๒ รอยละของผเู รียนทีเ่ ขารวมกิจกรรมศิลปะเปน ประจําอยางนอย ๑ อยาง ๓.๑.๓ รอ ยละของผูเ รยี นที่มผี ลงานดานศิลปะและการวาดภาพทต่ี นเอง เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ภาคภมู ใิ จ ๓.๑.๔ รอ ยละของผเู รียนทีส่ ามารถวพิ ากษวจิ ารณง านศลิ ปไ ด ๓.๒ ผูเรยี นมคี วามสนใจและเขารวม ๓.๒.๑ รอ ยละของผูเรียนทส่ี นใจกจิ กรรมดา นดนตรี / นาฏศลิ ป กิจกรรมดา นดนตรี / นาฏศิลป หรือการรอ งเพลง โดยไมข ัดหลักศาสนา ๓.๒.๒ รอ ยละของผเู รยี นที่เขารวมกจิ กรรมดนตรีเปนประจาํ อยางนอ ย ๑ อยาง ๓.๒.๓ รอ ยละของผูเรียนที่มีผลงานดานดนตรี / นาฏศลิ ป หรือการรอ งเพลง ๓.๒.๔ รอ ยละของผเู รียนทส่ี ามารถวิพากษว จิ ารณง านดานดนตรี / นาฏศิลปได ๓.๓ ผเู รยี นมคี วามสนใจและเขารว ม ๓.๓.๑ รอยละของผูเรยี นท่ีชอบดกู ฬี าและดูกฬี าเปน กิจกรรมดานกฬี า / นนั ทนาการ ๓.๓.๒ รอ ยละของผเู รียนทีเ่ ขารว มกิจกรรมกีฬา / นนั ทนาการเปน ประจํา อยางนอ ย ๑ ประเภท ๓.๓.๓ รอยละของผเู รยี นทมี่ ผี ลงานดา นกฬี า / นนั ทนาการ ๓.๓.๔ รอยละของผูเรยี นที่รแู พร ูชนะ มีนํา้ ใจนักกฬี า ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š

ตวั บงชี้ เกณฑก ารพจิ ารณา ¾๑àÔ È๙É ๓.๔ ผูเรยี นสนใจและเขา รว มกจิ กรรม ๓.๔.๑ รอยละของผูเรียนท่สี นใจกจิ กรรมศิลปวัฒนธรรม และประเพณ�ทดี่ งี าม ศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณ�ทด่ี งี าม ของทอ งถิน� และของไทย ของทอ งถนิ� และของไทย ๓.๔.๒ รอยละของผเู รยี นทเ่ี ขารวมกิจกรรมศิลปวัฒนธรรม และประเพณ� เปนประจําอยา งนอ ย ๑ ประเภท ๓.๔.๓ รอ ยละของผูเรยี นที่มีผลงานดา นศลิ ปวัฒนธรรม และประเพณ�ทด่ี ีงาม เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ของทองถิ�นและของไทย ๓.๔.๔ รอยละของผเู รยี นท่สี ามารถนาํ ศิลปวัฒนธรรม และประเพณ�มาพฒั นา เอกลักษณค วามเปน ไทยได มาตรฐานท่ี ๔ : ผูเรียนมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห คดิ สังเคราะห มวี จิ ารณญาณ มีความคดิ สรา งสรรค คิดไตรต รอง และมวี ิสยั ทศั น ๔.๑ ผูเรยี นมที ักษะการคดิ วเิ คราะห ๔.๑.๑ รอยละของผูเรียนที่สามารถจาํ แนกแจกแจงองคประกอบของส�ิงใดสง�ิ หน�ึง คดิ สังเคราะห สรุปความคดิ อยาง หรือเร่อื งใดเรื่องหนง�ึ อยา งถกู ตอ ง เปนระบบและมกี ารคดิ แบบองครวม ๔.๑.๒ รอยละของผูเรียนทส่ี ามารถจัดลําดับขอ มลู ไดอยา งถกู ตอ งและเหมาะสม ๔.๑.๓ รอ ยละของผูเรยี นที่สามารถเปรียบเทยี บขอมูลระหวา งหมวดหมไู ดอยา ง เฉผพสู าะอฉนบับ ถกู ตอง ๔.๑.๔ รอ ยละของผเู รยี นที่สามารถจดั กลุม ความคดิ ตามวตั ถุประสงคท่กี ําหนดได อยา งถูกตอ ง เชน การพดู หนา ชัน้ ตามทก่ี าํ หนด เปน ตน ๔.๑.๕ รอยละของผูเ รียนที่สามารถตรวจสอบความถกู ตองตามหลกั เกณฑได อยา งตรงประเดน็ เชน การตรวจคําบรรยายภาพตามหลกั เกณฑท ่ี เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูสอน กําหนดให เปนตน ๔.๑.๖ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถสรปุ สาระและเชื่อมโยงเพ่อื นาํ มาวางแผนงาน โครงการได เชน การเขียนโครงการ หรือรายงาน เปน ตน ๔.๑.๗ รอยละของผูเรียนที่สามารถสรุปเหตผุ ลเชิงตรรกะ และสรา งสิ�งใหมได เชน การเขียนเรยี งความ เขียนเร่ืองสน้ั ได เปน ตน ๔.๒ ผเู รียนมที กั ษะการคิดอยา งมี ๔.๒.๑ รอยละของผูเรียนทส่ี ามารถวจิ ารณส ง�ิ ท่ีไดเ รียนรู โดยผา นการไตรตรอง วจิ ารณญาณ และคดิ ไตรตรอง อยางมีเหตผุ ล ๔.๒.๒ รอ ยละของผเู รียนท่สี ามารถเชอื่ มโยงความสมั พนั ธระหวา งขอ มูลความคิด ตางๆ ไดอ ยา งถกู ตองมีเหตผุ ล ๔.๒.๓ รอยละของผูเรยี นทีส่ ามารถประเมนิ ความนา เช่ือถือของขอมูลและเลือก ความคิดหรือทางเลือกทเี่ หมาะสม ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๒๐¾ÔàÈÉ ตวั บงช้ี เกณฑการพิจารณา ๔.๓ ผเู รยี นมีทกั ษะการคดิ สรางสรรค และจนิ ตนาการ ๔.๓.๑ รอยละของผเู รียนที่สามารถรวบรวมความรคู วามคิดเดิม แลว สรางเปน ความรใู หมต ามความคิดของตนเองไดอยา งมหี ลักเกณฑ เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน ๔.๓.๒ รอ ยละของผูเรยี นท่สี ามารถคิดนอกกรอบได ๔.๓.๓ รอยละของผเู รยี นทม่ี ีผลงานเขียน / งานศิลปะ / งานสรางสรรค ๔.๓.๔ รอ ยละของผูเรยี นที่สามารถพฒั นาและริเรมิ� สิ�งใหม ๔.๓.๕ รอ ยละของผูเรียนท่สี ามารถคาดการณและกําหนดเปาหมายในอนาคต ไดอยางมีเหตุผล มาตรฐานที่ ๕ : ผเู รียนมีความรแู ละทกั ษะท่ีจําเปนตามหลักสตู ร มี ๘ ตวั บง ชี้ คอื คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบรวบยอดระดับชาตใิ นระดับดี ใน ๘ กลมุ สาระ ในระดบั ชัน้ ป.๓, ป.๖, ม.๓ และ ม.๖ ๕.๑ กลุมสาระการเรยี นรวู ชิ าภาษาไทย ๕.๒ กลุมสาระการเรยี นรูวชิ าคณติ ศาสตร ๕.๓ กลมุ สาระการเรียนรูวชิ าวิทยาศาสตร ๕.๔ กลุมสาระการเรยี นรูว ชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม เฉผพสู าะอฉนบับ ๕.๕ กลุมสาระการเรียนรวู ิชาสขุ ศึกษาและพลศึกษา ๕.๖ กลุมสาระการเรียนรูวิชาศลิ ปะ ๕.๗ กลมุ สาระการเรียนรูวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕.๘ กลมุ สาระการเรยี นรวู ชิ าภาษาตางประเทศ เกณฑการพจิ ารณา ๕.๑-๕.๘ ๕.๑.๑-๕.๘.๑ รอยละของผเู รียนทม่ี ผี ลการเรยี นรวบยอดระดบั ชาตริ ะดบั ดี ในระดบั ชน้ั ป.๓ เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ๕.๑.๒-๕.๘.๒ รอยละของผเู รียนท่ีมผี ลการเรยี นรวบยอดระดบั ชาติระดบั ดี ในระดบั ช้นั ป.๖ ๕.๑.๓-๕.๘.๓ รอ ยละของผเู รยี นทม่ี ีผลการเรยี นรวบยอดระดับชาติระดบั ดี ในระดบั ชน้ั ม.๓ ๕.๑.๔-๕.๘.๔ รอ ยละของผเู รียนที่มีผลการเรยี นรวบยอดระดับชาติระดบั ดี ในระดบั ช้ัน ม.๖ มาตรฐานที่ ๖ : ผูเรยี นมที ักษะในการแสวงหาความรดู ว ยตนเอง รกั การเรยี นรแู ละพัฒนาตนเองอยางตอเน�อง ๖.๑ ผูเ รียนมีนิสัยรกั การอา น สนใจ ๖.๑.๑ รอยละของผูเรยี นที่อานหนงั สือนอกหลักสตู ร อยา งนอยเดือนละ ๑ เลม แสวงหาความรูจากแหลง ตา งๆ ๖.๑.๒ รอ ยละของผูเรยี นทอ่ี า นวารสารและหนังสอื พมิ พเ ปนประจาํ รอบตวั ๖.๑.๓ รอยละของผเู รียนท่สี ามารถสรปุ ประเดน็ และจดบนั ทกึ ขอมลู ความรทู ี่ได จากการอานอยูเสมอ ๖.๑.๔ รอ ยละของผเู รยี นทส่ี ามารถต้ังคาํ ถามเพื่อคนควาความรเู พม�ิ เตมิ จากการอา นได ๖.๑.๕ รอยละของผูเรยี นทแ่ี สวงหาขอมลู จากแหลงเรียนรตู างๆ ท้งั ภายใน ภายนอกโรงเรียน ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š

ตัวบง ชี้ เกณฑก ารพจิ ารณา ¾๒àÔ È๑É ๖.๒ ผเู รยี นใฝร ู ใฝเ รียน สนุกกับการ ๖.๒.๑ รอยละของผูเ รยี นที่สามารถสังเคราะห / วเิ คราะหและสรุปความรู / เรียนรู และพัฒนาตนเองอยเู สมอ ประสบการณไดอ ยางมเี หตผุ ล ๖.๒.๒ รอ ยละของผูเรยี นที่มคี วามสามารถในการจดบนั ทกึ ความรู เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน และประสบการณไ ดอ ยางเปน ระบบ ๖.๒.๓ รอ ยละของผเู รยี นทร่ี จู กั ตนเองและสามารถบอกจดุ เดน จดุ ดอ ยของ ตนเองได ๖.๒.๔ รอ ยละของผเู รยี นท่ีมีวธิ กี ารพัฒนาตนอยางสรา งสรรค และเปนรูปธรรม ๖.๒.๕ รอยละของผเู รยี นท่สี ามารถใชผ ลการประเมนิ มาพฒั นาตนเอง และสามารถบอกผลงานการพัฒนาตนเองได ๖.๓ ผเู รยี นสามารถใชหองสมุด ๖.๓.๑ รอ ยละของผูเรยี นทีร่ ูจกั คนควาหาหนงั สอื ในหอ งสมดุ และใชหอ งสมดุ ใชแ หลงเรียนรู และส่ือตางๆ ไมต่าํ กวาสปั ดาหล ะ ๓ ครั้ง ทัง้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา ๖.๓.๒ รอยละของผเู รยี นทีม่ ีโอกาสเขาถึงแหลงเรียนรูท้งั ในและนอกโรงเรยี น ๖.๓.๓ รอ ยละของผเู รียนทีส่ ามารถคนควา หาความรจู ากอนิ เทอรเ น็ต (Internet) เฉผพสู าะอฉนบับ หรือส่ือเทคโนโลยีตา งๆ ได มาตรฐานที่ ๗ : ผูเรยี นมีทักษะในการทาํ งาน รกั การทาํ งาน สามารถทาํ งานรวมกับผอู นื่ ได และมีเจตคตทิ ีด่ ีตออาชีพสุจริต ๗.๑ ผูเรียนสามารถวางแผน ทาํ งาน ๗.๑.๑ รอยละของผเู รยี นที่มีการทาํ งานครบตามลาํ ดบั ข้ันตอนการปรับปรุงงาน ตามลําดบั ขั้นตอน ไดอ ยางมี และผลงานบรรลุเปาหมาย ประสทิ ธิภาพ ๗.๑.๒ รอ ยละของผเู รยี นทอ่ี ธบิ ายข้ันตอนการทํางาน และผลงานทีเ่ กดิ ขึ้น ทัง้ สวนทีด่ ี และสว นท่ีมขี อบกพรอง เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูสอน ๗.๒ ผเู รยี นรักการทาํ งาน ๗.๒.๑ รอ ยละของผูเรียนที่รักการทํางานและมเี จตคติทดี่ ีตอ การทาํ งาน สามารถทาํ งานเปน ทีมได ๗.๒.๒ รอยละของผเู รียนทส่ี ามารถใชก ระบวนการกลมุ และการรว มกันทาํ งาน เปน ทมี ๗.๒.๓ รอยละของผเู รยี นทรี่ ับผดิ ชอบงานท่ีกลุมมอบหมายและขจัดความขัดแยง ในการทาํ งานได ๗.๒.๔ รอ ยละของผูเรยี นทส่ี ามารถแสดงความชื่นชม หรอื ต้งั ขอสงั เกตเก่ียวกบั การทํางานในกลุมไดอยางชัดเจน ๗.๓ ผเู รียนมีความรสู ึกทีด่ ตี อ อาชีพสุจริต ๗.๓.๑ รอยละของผูเรียนท่จี าํ แนกอาชีพที่สจุ รติ และไมสจุ ริตได และหาความรเู กี่ยวกับอาชพี ทตี่ น ๗.๓.๒ รอยละของผูเรยี นท่มี คี วามรูส ึกท่ดี ีตออาชีพสุจริต สนใจ ๗.๓.๓ รอยละของผเู รยี นทส่ี ามารถบอกอาชพี ทีต่ นสนใจ พรอ มใหเ หตุผล ประกอบได ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๓ 㪌¾²Ñ ¹Ò¼Å¡ÒÃàÃÕ¹âŒÙ ͧ¼ÙàŒ ÃÂÕ ¹ ๒¾àÔ È๒É Áҵðҹ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙŒ µÑǪéÇÕ ´Ñ ªÑé¹»‚ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃáŒÙ ¡¹¡ÅÒ§ ¡Å‹ØÁÊÒÃСÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙÈÅÔ »Ð µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢Ñé¹¾é×¹°Ò¹ ¾.È. ๒๕๕๑ เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน สาระท่ี ๒ : ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ : เขา ใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วเิ คราะห วพิ ากษว ิจารณค ณุ คาดนตรี ถายทอดความรสู กึ ความคดิ ตอดนตรอี ยางอิสระ ช่นื ชม และประยกุ ตใชใ นชวี ิตประจําวนั ระดับชั้น ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ป. ๖ ๑. บรรยายเพลงที่ฟง โดยอาศัยองคประกอบดนตรี ● องคป ระกอบดนตรีและศพั ทสงั คตี และศพั ทส งั คตี ๒. จําแนกประเภทและบทบาทหนาท่ีเครื่องดนตรี ● เคร่อื งดนตรีไทยแตล ะภาค ไทยและเครอื่ งดนตรที ีม่ าจากวัฒนธรรมตางๆ ● บทบาทหนาท่ีของเครอ่ื งดนตรี ● ประเภทของเครอ่ื งดนตรสี ากล ๓. อา น เขยี นโนตไทยและโนต สากลทํานองงา ยๆ ● เคร่อื งหมายและสัญลักษณทางดนตรี ● โนตบทเพลงไทย อัตราจังหวะสองช้นั เฉผพูส าะอฉนบับ ● โนต บทเพลงสากลในบนั ไดเสียง C Major ๔. ใชเ ครอ่ื งดนตรีบรรเลงประกอบการรองเพลง ● การรองเพลงประกอบดนตรี ดนสด ที่มจี งั หวะและทาํ นองงายๆ ● การสรางสรรครปู แบบจงั หวะ และทาํ นองดวย เครือ่ งดนตรี เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ๕. บรรยายความรูสกึ ท่ีมีตอดนตรี ● การบรรยายความรูสึกและแสดงความคดิ เห็นท่มี ตี อ ๖. แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับทาํ นอง จังหวะ บทเพลง - เน�อ้ หาในบทเพลง การประสานเสียงและคุณภาพเสียงของเพลงท่ีฟง - องคประกอบในบทเพลง - คุณภาพเสียงในบทเพลง มาตรฐาน ศ ๒.๒ : เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่เี ปน มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน�ิ ภมู ปิ ญ ญาไทยและสากล ระดบั ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ป. ๖ ๑. อธิบายเกย่ี วกบั เร่อื งราวของดนตรีไทย ● ดนตรีไทยในประวัตศิ ารสตร ในประวตั ศิ าสตร - ดนตรใี นเหตุการณสําคัญทางประวตั ศิ าสตร - ดนตรใี นยุคสมัยตา งๆ ๒. จําแนกดนตรีที่มาจากยคุ สมยั ทตี่ า งกัน - อทิ ธิพลของวัฒนธรรมทมี่ ตี อดนตรี ๓. อภิปรายอทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมตอ ดนตรีในทอ งถน�ิ ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

สาระที่ ๓ : นาฏศิลป มาตรฐาน ศ ๓.๑ : เขา ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ ยา งสรา งสรรค วเิ คราะห วพิ ากษว จิ ารณ คณุ คา นาฏศลิ ป ¾ÔàÈÉ ๒๓ถายทอดความรสู ึก ความคดิ อยางอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใ ชในชวี ติ ประจาํ วัน ระดบั ชัน้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ป. ๖ ๑. สรางสรรคการเคล่ือนไหวและการแสดง โดยเนน ● การประดิษฐทาทางประกอบเพลงปลุกใจหรือเพลง การถายทอดลีลาหรอื อารมณ พ้ืนเมอื งหรือทอ งถ�ิน เนน ลลี าหรอื อารมณ เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ๒. ออกแบบเครอ่ื งแตงกายหรอื อุปกรณป ระกอบ ● การออกแบบสรางสรรค การแสดงอยางงายๆ - เคร่ืองแตงกาย - อปุ กรณ ฉากประกอบการแสดง ๓. แสดงนาฏศิลปและละครงา ยๆ อยา งสรางสรรค ● การแสดงนาฏศลิ ปแ ละการแสดงละคร - ราํ วงมาตรฐาน - ระบํา - ฟอ น - ละครสรางสรรค ๔. บรรยายความรูสึกของตนเองท่ีมีตองานนาฏศิลป ● บทบาทและหนา ท่ีในงานนาฏศิลปและการละคร เฉผพสู าะอฉนบับ และการละครอยางสรา งสรรค ๕. แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง ● หลักการชมการแสดง - การวิเคราะห - ความรูส ึกชนื่ ชม ๖. อธบิ ายความสมั พันธร ะหวางนาฏศลิ ปแ ละการละคร ● องคประกอบทางนาฏศลิ ปแ ละการละคร เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูสอน กบั สิง� ทีป่ ระสบในชวี ิตประจาํ วัน มาตรฐาน ศ ๓.๒ : เขา ใจความสมั พนั ธร ะหวา งนาฏศลิ ป ประวตั ศิ าสตร และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คา ของนาฏศลิ ป ทเ่ี ปน มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน�ิ ภมู ปิ ญ ญาไทยและสากล ระดบั ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง ป. ๖ ๑. อธิบายส�ิงทม่ี ีความสาํ คัญตอ การแสดงนาฏศิลป ● ความหมาย ความเปนมา ความสําคัญของนาฏศลิ ป และละคร และละคร - บคุ คลสําคัญ - คุณคา ๒. ระบุประโยชนท ีไ่ ดร บั จากการแสดงหรอื การชม ● การแสดงนาฏศลิ ปและละครในวนั สาํ คัญของ การแสดงนาฏศลิ ปและละคร โรงเรียน ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอนÀÒ¤¼¹Ç¡ เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน¾๒ÔàÈ๔É ¡ÒÃÇ´Ñ áÅлÃÐàÁ¹Ô ¼Å¼ŒàÙ ÃÕ¹ ตาราง ๑ ( โปรดดู สว นหนาของเลม หนา ข ) วิเคราะหม าตรฐานการเรยี นรูและตวั ชีว้ ดั ชั้นป ตาราง ๒ ( โปรดดู ภายในเลม ทายหนว ยการเรยี นรูแตล ะหนวย ) แบบบันทกึ ผลการเรียนประจาํ หนว ย ตาราง ๓ ( โปรดดู สว นหนา ของเลม หนา ค ) แบบบนั ทึกผลการเรียน เพ่อื ตัดสนิ ระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวชิ า ดนตร-ี นาฏศลิ ป ป.๖ เฉผพสู าะอฉนบับ ตาราง ๔ ( โปรดดู สวนหนา ของเลม หนา ง ) แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ ความสามารถการอา น คดิ วเิ คราะหฯ แบบบนั ทึกผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ตาราง ๕ ( โปรดดู สว นหนา ของเลม หนา จ ) แบบบันทึกผลการประเมินดานคุณธรรมของผเู รยี น ตาราง ๖ ( โปรดดู สวนหนาของเลม หนา ฉ ) แบบแสดงผลการประกนั คณุ ภาพผูเรยี นตามเปา หมายตัวชี้วัดชน้ั ป ปพ. ๖ ( โปรดดู สว นทา ยของเลม หนา พเิ ศษ ๓๐ ) แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียนรายบุคคล ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔÅ»Š

µÑÇÍÂÒ‹ § ¡ÒÃ㪵Œ ÒÃÒ§ áÅÐẺºÑ¹·Ö¡µ‹Ò§æ ÀÒÂã¹àÅÁ‹ ¾๒ÔàÈ๕É ครใู ชตรวจสอบสาระการเรยี นรใู นแตล ะ เฉผพสู าะอฉนบับ หนว ยวา ตรงกบั มาตรฐานตวั ชว้ี ดั ขอ ใด ๑คำมชาี้แตตจเรงรฐาียา:นนรรกูาาใใรหนงผขูสอ อใดนบใตชางัวต ชาร้วี าัดงนÇชตี้ ั้นรàÔ ว¤จปÃส.๖อÒบÐวËา Á เนÒอื้µหÃสาสา°ารรÒะะ¹กกาา¡รรเเÒรรÃียียนàนÃรรใู ÂÕูนห¹นÃว ยáÙŒ กÅ๑ารÐเµรหยี ÇÑนน๒บวªร๑ทยูสÇÕé อททดี่´Ñี่ ๓คลอÃงÒก๔ÂับมหÇทานบªตÔ่ีวทร๒๑Òยฐทาี่ น´ก¹าร๑µเรÃียหน-Õ นร๒¹บแูว๓ทลยÒะท¯ทต่ีี่ Èัว๓ชÅÔวี้ ัด»ช๔Šน้ั ป»ห ท.นบ๖่ีวท๔๑ยที่ เพอ่ื วางแผนการเรียนการสอน เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ครใู ชบนั ทึกคะแนนการวัดผลในระหวาง การเรยี นการสอนในแตละเรือ่ ง และสรุป ศม๒ฐศ..ม๑๒ฐศ..ม๒๓ฐศ..ม๑๓ฐ..๒ ๒ ข ตาราง๒ รายการ๑วัดผป๖รละเกมนิ าผรลตปามรเปะา áหเºมมºาºยินѹก·าเ¡Öรมเ¼รÅอ่ืีย¡นจÒรÃู บàป๕Ãร๔ÂÕ ห๓ะ¹จ»นำหÃนÐว¨วÓยยË๒ท¹ี่ ‹Ç๑Âส๑า๒.ร๓.ะ๔บท.แ๕จ.ร๖่ีแอลำ.ร๒ใ๑.ละาแช๒ยทบ.ศ๓นะนเาส.ดแ่มีรเ๑ัพคก.ยกคารอนสเจี๒.ราทจรขยเปรธดตงัอ่ือ๓รพ.ำะ่ือสา๔ยีิบรหงปสรภงทแ.กยงังล๕นะค.ีดาอวรร๖ปิน่ีดคกาคเงโยว.ะานแะอ๓ภ๑.รรนกานีตวบทาแสเงแสกต๒ถา.ทรารดแตมตรี่สลฟานลดยอแแราื่อม.แกนสรไรนคะรบีะออยงธงาบสงทรยทีแลาดทรตดิเกนฏริบทรทิรธดสูบสรกยาละคงม่ีรำเาะารโาิศาบลกึองธบียหเยคแาะีทนกดบรวาเฏคยอิพลิะดทลรงลาคทวลล็นจขาอ่ีมยุปศรคคยแปลยะงาล่มีวะะารบเองอื่อาแรวลิราคสปกมลีโคสกขาเงตีจะงางากานงลปครดี่ยามรรา่ิควองโดอาทแมงศะับตหยะแลอยงวฒัทดิกรงานดตคหัสยกสนสชก่ืลอยๆรวูสยเย่ีมนตงณุนัมออนง่ิหาือาะนับาัฒนึกๆุคกีรตคทธกฏลบพงงอา็นภททไขสาีไนรรสวะคลท่ีปกาศหนัใทายำ่ีไมอรคีธรานรทปาร่ีเิลพดนธวหยมรงยัารคมมะรกำปรรรแงเอใตงรรตทสรรณนสสบันาะะาแสลมืองนอ่ือาบตี่หรยยีกอำจปลรอะงตงงเชาใๆงจควองารกะรๆอปุเนดองขมงงัากคพักะญบางกกดชนาหงอวกการลทดรันยนนตีวตตังวราาแงณ่ีนมติๆาเตลอะรรริศสพฏปีีไตแแตะรปดกาดทลคีใศสสรอสรนรางนงะยีรดดิละตงรสทจทกาปงงแรดโำฟ่ีอหนอดแ✓สวงบรงนยลดันถอืาะเงนิ่นกฏน✓านศ✓าริลฏช✓ปมศิลป ✓ ✓ ✓ ✓ ๑๐๑๐๑๘๐๑๑๐๙๑๐๘๐๑๘๐๘๘๙ ๓๐๓๓๐๒๓๐๗๓๒๐๓๒๐๙๐๒๓๘๒๘๐๒๘๗๒๘ ๓ ๓๓๒๓๓๓๓๒๓๓๔๓๓๔๒๔๓๒๔๓๔๓๓๔๓๗๓๔๔๓๑๓๓๘๓๙๓๙๗๓๙ขปเอศกรงตะีย่ศเ๒อสพวดาจ๒.กปล๑นศงันับ.งร๑หเต(ททะส๒๖วรก(ี่ฟำีย)แะ๕.ีศอน๑งแงลแ)บอละ(๒สแตบกง๔เโะดบลคาน.าทศร๑)จงะงทรรรตำสๆคคงัใ่อืรอย๒(บสนศชังห๓วอุณงาาาาค.อเาดงว๑ศย)คกท๒ภตตีงมเะนคยัรลอพงหา(.คอว๑ต๒วัอ่ืาทาพกลนิดางยรงน)าชำงเ(ามคเีทดๆส๑รนดหคทจรว้ีปเนีม่ยี)อนำข็นูสเ่ีำรตงัดาคแงบสียกึะจชรงรนดรนกชทีบาา่ือรกีแ้ทอกีม่ยรรง้ันยโปบ่มีวๆรจดีนาารฒัเดีนยตงละยปนเตรนไเง-แพภทตูสหกรธ.ขลลกกึรทีไ๖ยรรอาว:ทขีแง.แอืร-แจ๓พเดทรบัลยมลเขแงัล๒หก๒พนัฒ-่ีฟะแร.หปะบยีะ๑ต.ศอขตแลลพนงวนนเกง.ัว-พัชรงล.อสงระ๒ะกาบโ.ฒักขวเโสีปพอืบดกนทะค-กลพน้ิดรอ๒ขยาคนกรรชง.รัฒตขาุมรเยพลกรกอะ-คงรฟาัน้รอมยแทอร๑หงเนแ.ลเฒังขนูกวคาเภาลงกลทกูนกเพลาลมาี่ินาอแ-๒ดิสยเฟคะนนงท.ำอี่ชกมพาวอืร๑พาฒัขลำังเลคปรากงเงทาคฝน่ืขค๑กคบทคเลวอัฒคว่อืหกเรคนร.ข๑งดิกี่ขยีชใดิพฝพีตทงาะะรงาคปชเ่ีมียานใรน๑ไอมอนเหกขอ่ืกดขทรลฒัแเดิกบหทเอนนรางตพบครองอนคีเยีง่ีะลาดกงทเเ็นชยนนอวัคล๑ิดบงตลบนรขกตครเาอ่ืทาักโงคเาปื่อคงกยีอทชรรนรรนพากแบวี่งนสีอ่ืิดาฐนคบื่อะท่ือต๔าจลลรจทรางเดิบแแรแา่ีองะสดบากดงทา๓คลลรหไยนยีนลทนบงหี่ทรดิะกะานง๓ยตททบ/ศยนนชมาก*ารัพ่ีแททบทย๒ีไิ้นเคาาบี่ทททล่ีตถ๒รงยาทวยงึะม็ทาว่ีาส๑นดั*ขมรผอปุใร-หงลูผก(ดใแรKลเช-บิจาตาปกบปก)น-แย็มปาบรรรค-กแรรบะระะบวปา-ปแเกมบมไเารบรรด-มแปอินทะมบเะบเรทคบมแปนิต่ีะ-เรบกับเรินมรกูปมอษะแบผทือ่(เรินนิาะบงปมKักะศลทรดงบหกเรษนิ ลิ)มักปะมปทะาสาลปเินษศรม/กัรนรือะักทะะลิัมนิษะศเวักทปทวฐมทะเิลดัฤษะศัดนิามกักักัปะิลผทนษทะแศษนิษปักะลลิ/ละศกะชธษะปเลิกะะิ้นาะพ/ิ์ดปศกรรปงิละื่อาระอาปรเบะนนะากะบนวเ็บมนว-สKคทนนิกแะ่พีดิเ-บากผสตึง/ทบรว-แามลป็มปีพ่ิเบทรร-แกคร(Pงึะบพ่ีPะบปทสรา-ปแเ(ึงบรงมไ่ีพ)Pาบรรปทะคด-แป/นิะึงบสะรพี่เ/บเ)รปทคะรงมแปหงึะ-บสรA่ีพุณคคบียเปรนิะงทปมงึะแบลสรคคุณนแเรปพี่ินดะบกังปุณมะสรคึงคลษบรเราินละลปงมุณะปณูขสะคนหคกักัรเินลรงมเณุะษะอลคคะษคขกัสินณเลุณษงักงมุณคยีณักคะณนลนิุณฐษนกัลคะะาณักลษสุณทกักันะเณ่ือษลรีพ่ษ/ะักชณคยี งึษณิ้นะวนปณงาะะรามทะนพี่สงึงคป ร(ะAเตส)็มงขคอ ไ(งดAน กั) เรคเียตะน็มแแนKตน/ลPระ/Aวคไมดนด า น หมายเหตุ : ✓ ✓ ✓ ✓ ตาราง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ อยูท ายหนว ยฯ ของแตละหนวย ๑☞ระสดับ✓รคคปุ วหุณผผรมาปภลนารากยับพาเปหรรปตุงุร➠ะ๔เทมคี่คซรนิ ✓รูสอหูพามรดมฒัไเือสมีมาสรนรผาถิมถกาาาใแนกนชลแศา๓วบรึกบเษ➠รบายี จันดนัดที ทรึกูปำนผขี้เร๒พึ้นาะนื่อกจเบ็ไกดำันณห ทพฑนึกอผปวใชลรยะกเามรสินเวรสียนสวนทว นแนี่ ทตท๓ล่ี ี่ะ๒กห๑คาชนะรผค่ือลวทแลค.ง.ยะงขำง.นา.ะชแแ.าขอน.นแ.นบื่ออ.นเ.ส.ก.นจบง..น...นิจ.น.ทา.น....จ.กอก...ดัก..ป.จร..า.แส..กเ.ร..ารกร...อนม...าียก...ก.ะบ..ะบร...น..กด.ว..าทูร....เ..ดั.าร.ณ..ิษป....ด..ผ.ร.ป....นา.ฐ....สลป.....ก..ร...ร....มส..อ...าระ..า....มั....รา.ะ...บ.ยเ.....ฯฤ..บ..ม.เ....บส.....ทม.....ิน.ทร....ุค.มั....ธ..นิ....ี่น.ต..รค์ิป.....ฤ.....ดกั....เนรล..../ท.ล..เ.ะ.า....รเ...จ.....ธนงอ..ยี...ห...ำ......ิผ.น...ผง.ห.ร.........ปขล.ือ....นล.........ฏ.อ.ปบ..ว.ก..........บิย...ง.ัน.ร.า......ท.ัต..น...ะท.ร.......ิ่ี...จ..ัก.เึก./๑....ร....ำ..ลเ......ีย..ร...ห....ง......ยีน.....ใ..น.......น..น..ต......ว.....แ.....า...ย......บ....ม...........บ.....ต..........บ......วั........ัน.ช..........ท...้ีว.......ึก.ดั........อ.........ื่น....๑.ผ.....๑.๐ูป...๓...๐.ร....ะ.๐.....เ..๑ม......ิน......๙....๘๒๗๐ เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูสอน ๖๑´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö ๑ ครกู รอกคะแนนดาน KPA ทว่ี ดั ประเมินผลไวในแตล ะเร่ือง ๖ นําคะแนนสว นท่ี ๑ + ๒ + ๓ และนํามาหาคารอยละ ๒ รวมคะแนนดา น KPA ของแตละมาตรฐานตวั ชีว้ ัดในชอ งคะแนนรวม เพ่ือประเมินระดบั คณุ ภาพ โดยใชเ กณฑ ๓ นําคะแนนรวมทัง้ หมดมากรอกลงในสวนที่ ๑ ● คา คะแนน ๘๐% ข้นึ ไป = ๔ ๔ กรอกคะแนนสวนที่ ๒ จากผลงานกิจกรรมบูรณาการสรา งสรรค ● คาคะแนน ๗๐-๗๙% = ๓ ● คา คะแนน ๖๐-๖๙% = ๒ ทกี่ าํ หนดใหนกั เรียนทาํ หรอื เลือกทาํ ● คา คะแนน ตา่ํ กวา ๖๐% = ๑ ๕ กรอกคะแนนสวนท่ี ๓ จากผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธป์ิ ระจาํ หนว ย และสรปุ ผลการประเมินพัฒนาการเรียนรูประจําหนวย ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๒๖¾àÔ ÈÉ ครูใชบันทึกเมื่อจบปการศึกษา เพื่อตัดสิน ระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน แตละคน ค áº(º´ºÒŒ ¹¹Ñ ¤·ÇÖ¡ÒÁ¼ÃÅÙŒ ·¡¡ÑÒÃÃÉÒÐàÂ/áÇÂÕ ÃªÔ¹ÐºÒà¾Ç´¹èÍ× ¡¹µÒµ´ÑÃÃʤ-Õ ¹Ô ³Ø¹ÃҸЯôÈÃѺÔÅÁ¼»¨ÅŠ ÃÊ»ÔÂÑÁ.¸Ä๖÷ÃÁ¸·Ôì áÒŧФ¡Ò‹ Ò¹ÃÔÂàÁÃ)Õ¹ เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน คำชีแ้ จง : ๑. ตรใหวัดมผสคูสินะอรแะนนดนับนำผขขลออ กงมแาลู รตผเลรละยีกรนาารยโวกดดั ายผรนลลำจงคใานะกแชตนอานงรารงวม๒ท่ีไขดอไ งปแเทตลียะบหกนับวเกยมณาฑกรซองึ่กเลปงนใตนวัตเาลรขาง๘ใหรตะรดงบักบั รายการประเมิน ๓ตาราง ๒. ๓. รายการประเมนิ หนวยการเรียนรู หนวยท่ี หนวยท่ี หนว ยท่ี หนว ยท่ี รวมคะแนน คา คะแนนที่ ท่ีเกบ็ สะสม ตอ งการจริง ๑ ๒ ๓ ๔ เต็ม ได เต็ม ได หมายเหตุ Ẻº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹à¾èÍ× µ´Ñ Ê¹Ô ÃдºÑ ¼ÅÊÁÑ Ä·¸ì·Ô Ò§¡ÒÃàÃÂÕ ¹ ดานความรู (K) ๓๔๐ ๑. หลักฐาน/ช้นิ งาน ๒๗๐ ๗๓๑ ๖๙๔ ๓๗.๗๔ คาคะแนนท่ีตองการจรงิ ๘ ๔๐ ๓๕ ที่กำหนดไว ครผู สู อนสามารถ ๒. ผลงานการประเมินตนเองของนกั เรียน ๙ ๔๐ ๓๖ ๓. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธปิ์ ระจำหนว ย ใหครนู ำคะแนนมากรอกใหค รบทุกหนวย ปรบั เปลีย่ นได ๑๒๐ ๑๑๑ ดา นทักษะ / กระบวนการ (P) ๒๗ ๑๒๐ ๑๐๙ ๔๐ ๓๖.๖๖ ๑. ทกั ษะการขับรอ งเพลง/การแสดงนาฏศิลป ๒๘ ๒. ทกั ษะการแสดงออกทางดนตรี/นาฏศลิ ป ๕ ๒๔ ๒๐ ๑๐ ๘.๓๓ ดา นคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค (A) ๑. นสนาฏุกศสลินปาน แลเพะสลนิดเใพจผลลินงใานนกทาราทงดำนกจิตกรี/รนรามฏทศาิลงปดนรอตบรต/ี วั สอบปลายภาค เฉผพูสาะอฉนบับ ๑๒ ๑๐ ๘ ๔ รวมคะแนน ๕ เกณฑการประเมิน ระดบั ผลการเรยี นรู ๑๐๐ ๙๐.๗๓ ๔ ๔ หรือชวงคะแนน รอ ยละ ๘๐-๑๐๐ = ดีเย่ยี ม ๒ หรือชว งคะแนน รอยละ ๖๐-๖๔ = นาพอใจ ๓.๕ หรือชวงคะแนน รอ ยละ ๗๕-๗๙ = ดมี าก ๑.๕ หรอื ชว งคะแนน รอยละ ๕๕-๕๙ = พอใช ๓ หรือชว งคะแนน รอ ยละ ๗๐-๗๔ = ดี ๑ หรือชว งคะแนน รอ ยละ ๕๐-๕๔ = ผานเกณฑข น้ั ต่ำ ๒.๕ หรอื ชว งคะแนน รอยละ ๖๕-๖๙ = คอนขา งดี ๐ หรอื ชว งคะแนน รอ ยละ ๐-๔๙ = ตำ่ กวาเกณฑ เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ๑ ครูนาํ คะแนนเก็บสะสมดา น KPA จากตาราง ๒ ของแตละหนวยมากรอก ๒ ครรู วมคะแนนสะสมดาน K ดา น P และดา น A เปนคะแนนทเ่ี กบ็ สะสม ท้ังคาคะแนนเต็ม และคะแนนทไ่ี ด ๓ แปรคา คะแนนสะสมดา น KPA เปน คาคะแนนท่ตี อ งการจริง เชน คะแนนรวมดาน K คะแนนเตม็ = ๗๓๑ + ๔๐ + ๔๐ = ๘๔๑๐๑ = ๒๐.๒๗ ตอ งการจรงิ ๔๐ แปรคา ได นํา ๒๐.๒๗ ไปหารคะแนนเกบ็ ท่ไี ด ==๒๖๗๐๙๖.๒๔๕๗๒+๐๓.๒๕๗+ ๓๖ คาคะแนนจริงทีไ่ ด = ๓๗.๗๔ ๔ ครกู รอกคะแนนสอบปลายภาค ๕ รวมคะแนนจรงิ ที่เปนคะแนนเก็บของนกั เรยี นในแตละดาน และคะแนนสอบปลายภาค แลวนาํ ไปเทยี บกบั เกณฑเ พ่ือตดั สนิ ระดับผลการเรียน ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

ครูใชบนั ทกึ เม่ือจบปก ารศกึ ษาเพือ่ ประเมนิ ครูใชบันทึกเมอ่ื จบปก ารศกึ ษา ๒¾ÔàÈ๗É ความสามารถการอา น คิดวเิ คราะห และ เพื่อประเมนิ ผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม เขยี นสื่อความของนักเรียน เพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน ของนกั เรียน áºÃºÒºÂѹǷԪ֡ҼŴ¡¹Òõ»ÃÃ-ÕÐà¹Á¹ÔÒ¯¤ÇÈÒÔÅÁ»ÊÒŠ Á»Ò.Ã๖¶¡Ò»ÃÍËÒШ¹Ó»¤‚¡Ô´ÇÒÃÔà¤ÈÃ¡Ö ÒÉÐËҏ..á..Å...Ð.à.¢..ÂÕ...¹..Ê...×èÍ...¤..Ç...ÒÁ ÃÒÂÇáºªÔ ºÒº´¹Ñ ·¹¡Ö µ¼ÃÅÕ-¡¹ÒÃÒ»¯¯ÈÔºÔÅµÑ »¡Ô Š¨Ô »¡Ã. Ã๖ÁྻÍ×è ÃÊШѧӤ»Á‚¡áÅÒÃÐÊÈÒÖ¡¸ÉÒÃÒ.³...»...Ã...Ð.â.Â..ª...¹.......... เฉพาะสาํ หรบั …ครูผสู อน คำช้ีแจง : ๑. กใค(รหใาทวหะรผาาหผปสูยมวสูรอเสาลอะนงาเมนเมมปร)แนิารียลหระนะเถรมนอืหินแักผรลผเลอืระลงียผใโาชนลดนเรงยปทาวขนนม่คี ดี หรกกกูิจลัน✓ำกกัพหรฐจิ รนาลามนดงรปใกจณนรำาาชะนรเเอปวลมงรนือินระกะคเ๓มชดว-้นิินบัา๕มงคาสุณชนาิน้ภจมาาาเกพพรผถ่อื แลกสลงาะาะรทนสออ รา นุปนผฯล คำชแ้ี จง : ทใหีน่ ผ ักสู เรอยี นนปปรฏะเบิ มัตนิ ิ ผโดลยกขารีดป✓ฏบิ ตั ลิกงิจในกชรรอมงเผพลือ่ กสางัรคปมระแเลมะินสาธารณประโยชน ๔ตาราง ๒. สมรรถภาพ หลักฐาน/ช้นิ งาน ระดบั คณุ ภาพ ผลการซอม รายการกิจกรรม ผลการประเมนิ áºáºÅºÐá¹Ñ º·º¡Ö º¼Ñ¹Å·¡Ö¡Ò¼Ã»ÅáÐÒàÃÁ»Ô¹¯¤ÔºÇµÑÒÁÔ¡Ê¨Ô Ò¡ÁÃÒÃÃÁ¶à´¾ŒÒèÍ× ¹Ê¡Ñ§ÒäÍÁ‹ÒÏ¹Ï นักเรยี น ภาระงาน ๓ ๒ ๑ สรุปผลการประเมนิ ผา น ไมผาน ผา น ไมผ า น ซอ ม ๑. ชก่อืจิ งการนรมกบารู รณทาำกหาวั รโขเศนรษฐกจิ พอเพียง ✓ การอาน - ✓ ดีเยี่ยม ๒. ชกอ่ืจิ งการนรมกบารู รณสำารกวาจรเจคิตรออ่ื างสดานตรพี ืน้ บา น ๓. ....ก..........จิ.........ก.........ร........ร.......ม...........อ.........น่ื..........ๆ...............ท...........ีท่..........า........ง.......ส.........ถ...........า.......น...........ศ.........กึ.........ษ..........า........ก.........ำ.......ห...........น..........ด......................................................................................................................... ✓ คดิ วเิ คราะห ก. หพนัฒวนยาทกี่ า๓รคบดิ ทท่ี ๑ ✓ ดี การเขยี น ✓ ควรปรบั ปรุง ก. ขหพอ นัฒว๑นยาทก่ี า๑รคบิดทท่ี ๑ ๒ ๓ลงช...ื่อ....ผ...ปู ...ร...ะ..เ..ม...นิ /......................................................................./....................................................... เฉผพูส าะอฉนบับ ๑ เกณฑก ารประเมิน ดานการอาน - มออนีาานนสิ จยัถบัรกู กัใตจกอคางวรตาอามามสนอำกัคขัญรวิธี - ดา นการคิดวิเคราะห - ลงช...่อื....ผ...ูป ...ร...ะ..เ..ม...นิ /......................................................................./....................................................... ดา นการเขยี น ------มเเรสลแขีนะรอืสยีบสิุปกดนุขัยสใงขรอชาคักอเครวทคกะำาจ็สาวแมจราำลคเมคระขดิงิญัแสยีแเสำหขนลนดอ็นะวงแขงเคนกเลอ รวใ่ยีะคือ่นามวดิงมกกีมทเราบัหาอีู่รเรน็คเารยขขวนอ่ื าียาองไทนมดทงใเไค่อีนรดดิาอ่ืกอ นงายแทไราลดเี่องขะ าเปยีหนรนมไะดาสะบสกมารณได ง ๑ ครแู ละนักเรยี นรว มกันเลือกช้นิ งาน เพื่อสะทอ นความสามารถ ● ครปู ระเมนิ ผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมเพอ่ื สงั คม เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูส อน โดยดูรายการชน้ิ งานท่ีมเี ครอ่ื งหมาย * กํากบั จากตาราง ๒ และสาธารณประโยชนข องนกั เรียน โดย ของแตละหนวย หรอื ผลงานกิจกรรมประเมนิ ความสามารถ พิจารณาจากกจิ กรรมทีเ่ สนอแนะไว และ การอา นฯ (ทา ยเลม) หรอื เปนงานทีค่ รกู ําหนดข้นึ เอง กิจกรรมอื่นๆ ทีท่ างสถานศึกษากาํ หนด ๒ ครูประเมินความสามารถในแตละดานของนักเรยี นเปนระดับ คุณภาพตามเกณฑ ๓ ครสู รุปผลการประเมนิ ความสามารถการอาน คดิ วเิ คราะห และเขยี นส่อื ความของนกั เรยี น โดยพิจารณาจากหลักเกณฑ ตามท่ีเสนอแนะไว ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๒๘¾àÔ ÈÉ ครใู ชบ นั ทกึ เมือ่ จบภาคเรยี นท่ี ๑ และภาคเรยี นท่ี ๒ เพ่ือประเมนิ ความเปนผมู คี ณุ ธรรมของนักเรยี น เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน จ คคใ๒(ให๔ุณุณหáผผธºธ๒=๑สูรสูรอรºรอดมนมน๒เี ºทยสขสีย่ร่ีมอัง¹Ñ๓ุป๑มเงีเกคผแ,·ตรตล๓๒ื่อพ¡Öกล งฤาะ=ห¼กร๓ต๑มปดลกิ Åารมุ,ีร๒ยะรค๒¡เมมณุ*แ=Ò๓นิ๑ธกลÃใรผำนะรกาป๒»แมนบัรต*Ãะเ*ล๓ก๑เเ*ปมะÐณภàนินฑÁ๒าคคค,ุณณุÔ¹๑เ๑ร๑๗ลธ´ียรัก=นรษÒŒ๒มไณ¹โมขดะอผ๓๑ย¤องาทันนน³Ø ำ๒พักเเกคึงเ¸รณปร๔๑ีย่ือรฑÃนงะ)หใสÃ๒นงมแคÁาตท๓๑ย¢ลก่ี ะ✓ำÍ๒ภหาล§นคง๓๑ดเ¼ใรไนวียชàŒÙ๒ในÃนอ หงโÕÂ๒๑รดละยกั¹ดใส๒บัสตู รผร»ะล๓๑แดกÃกับานค๒รÐกะป¨แลร๑๑นาÓ๘ะงเน»มก๒นิา¡‚๑ร*ศ*Òถ๑๓ึกึงซÃษ่ึง๔È๒าใชข¡Öลเนั้ กง๓๑พÉณในืน้ ฑÒช๒ฐ.ตอา...นงา..๔๑.รม...ะพ.เ..ดก...๒.บัศ.ณ....ค..ฑ..ะ๓๒๑..ก.แ.๕..าน..๕.๒ร.น..ป๑..*.ร๔๑ะเม๒นิ ๑ คำชแี้ จง : ๑. ๕ตาราง ภาคเรยี นท่ี ระดบั คะแนน* ๒. ๑ ๒๑ ๒ ๓. ๓ ๒๐ ๑ ๓ คุณธรรม ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁ¹Ô ´ÒŒ ¹¤³Ø ¸ÃÃÁ¢Í§¼àÙŒ ÃÂÕ ¹ ๒ คะแนนรวม เฉผพสู าะอฉนบบั ๓กลมุ คุณธรรม รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ *คณุ ธร(รLมeเaพr่อืnกtาoรพbeฒั )นาตนคุณธรรม(เพLอื่ eกaาrnรพtoัฒนdoาก)ารทำงานคณุ ธรรม( เLพeือ่ aกrnารtพoฒั liนveากwาiรthอยoูรthวeมrกsนั )ในสังคม มจี ติ สาธารณะ* ผลการประเมิน ดเี ยีย่ ม ดี ผาน ไมผา น ดีเยยี่ ม ดี ผาน ไมผา น ผา น ภาคเรยี นที่ ๑๒ ความเปนประชาธิปไตยเกณฑเกณฑ๑๒๑๒เกณฑ เกณฑ เกณฑ รปะดรับะเผมลินก*า*ร ความมีมนุษยสมั พนั ธ๑๒ ๑๒ ดเี ยีย่ ม ดี ๑๒ ไมผาน ความสามคั คี๑๒๑๒๑๒ ๑๒ ๑๒ เกณฑ ๑๒ ความกตัญกู ตเวที✓ คะแนนรวม✓ ✓ ความมนี ้ำใจ ความซอ่ื สัตยส จุ รติ * ความรบั ผดิ ชอบ ความมุง ม่ันในการ ทำงาน* ความมวี นิ ยั * ความประหยัด คะแนนรวม รักความเปน ไทย* หกลารักรธกั รษรมาศขีลั้นพ๕้ืนหฐารนือ การอยูอยางพอเพียง* ความมีเหตผุ ลและ การเช่ือม่นั ในตนเอง ความสนใจใฝเรียนรู* รกั สะอาด เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ลงชื่อผูป ระเมิน .......................................................................... (ผูส อน) เกณฑก าชร๑๒ว ป๕ง๑รค--ะะ๒๒เแม๐๔นินนคุณธรรมของแรตะดล บัะกผดลลีเมุ กยดคายี่ี ุณรมปธรระรเมม*นิ ** ลงชื่อผูปกครอง .......................................................................... (........................................................................) ๙-๑๔ ผา นเกณฑ (........................................................................) ๖-๗ ไมผานเกณฑ ................... /.............................. /.................... ................... /.............................. /.................... ๑ ครูสังเกตพฤตกิ รรมและประเมินคุณธรรมของนกั เรียนในแตละภาคเรยี น ๒ ครูรวมคะแนนของคุณธรรมแตล ะกลุม ๓ ครูนาํ ระดบั คะแนนของคุณธรรมแตล ะกลมุ มาเทยี บกับเกณฑและสรุปผลการประเมนิ ผลในภาคเรียนนน้ั ๆ ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š

ครูใชบนั ทกึ เมื่อจบปก ารศึกษา ๒๙เพือ่ แสดงคณุ ภาพผเู รียนตาม ¾àÔ ÈÉ มาตรฐานตวั ชีว้ ดั ช้ันป เปนระดบั ความกาวหนา ẺáÊ(P´e§r¼foÅr¡mÒÃÃa»ÒnÂÃcÇÐe¡Ôª¹Ñ ÒS¤t´Ø³a¹nÀµdÒþa-Õ r¼¹dÙŒàÒïBÕÂÈa¹ÅÔ sµ»eÒŠ dÁ»à».EÒ‡๖vËaÁluÒaÂtµioÑÇnª)éÇÕ Ñ´ªÑé¹»‚ ๑กศศาดศร๒น๒ปทศ.ส๒ร.๑ำต๑เศะด.ค๒นดาส๑ศท((รงอ.น๒า๕๖๑อ่ืๆม่ีง(นต๒).)๔งงีจ๑(เรด.า๓บสัง)แีแ๑ย(นหยี)รส๒ลใๆตรวงช(ดอะ)ย๑ะรศเงาคแแาจคไี)คพันทลยำลรำวทบแะคื่อยะเาคชทสนรขวแงมมณุรดางัยีำลกีแ้คายมคนนนะปภิดาตีจเตรอตราคยูสเโงะรพงรหรน(เกึเงบี ื่อพภเฐ็นตาทรสชงยทล:ไาเรม่ียีดกทๆงเัน้นรงตีนลี่ยแยทขอะงตวตลแ่ีฟอปดปดรกะล๒ัวงงนทีรบับะเ.บัะชตโม่ีพท๑.๖ทโกนรคาดบว้ีลำอ.ตีจตยงานดั)บใวสา(ททอรอหกอากเชEาฟ่ีหาใงกาะกวผศไมหนั้นงรvลฒัดณัปยจราaสูปกผนอังอทบั นlหงธองฑา่ีสูuเครควพ้ีวนรอaะปกณุลมหtปรนงาiะนoภรกรน--nอาะปา-ำบก)เแพรผบา-มสทใระเรด-ชลีม่ปินปปรเ-ผงอเยดรีจกมคคดาแรผนจะางัารวนีศลสายบำหบัีมนิ่อืลานรัพแะาครรวมงเเนปาะนวคทรขะดคมปคเาแยขกดกียสนรรสดิวมล๔าาปรนื่องัตียนึ้เงุับยราะคงหรตะรงสูทเโดะตีมอีบคน็เพนกึร=เำแนไรมภเตนยทดลณุกจลกฐตรทไองม่ีะเีย่นิรูกาดดุทาลทคงีสีตวภแงยนงวปับคณุีมี่กฟาอปลาแากบัหดงรภยณุะดราลลพทนบๆะาะะนกทุลโกำตพทโหสภดหน่มีไนอรหาบเยหดยง๔สตีไมาบอาามทดอพจมคียสงกทมพ,าาางาาาากหจากศนิขกยราช๓ยงังนวัยอารยลยหจิถัฒอากิ้นงอทถร,ถวทเงถขงึงำนเพาะึงงเเี่คนรงึ๒พธคงึอลราปอียรรล๓งเงรนงรื่อทงมนรมหงมะคงมี่ฟรากมดตยีดรผี=รยีผงรอะนานผีูนไีผๆือลงบผูสหตดลๆลดดดลตรไกสูกวดไีกนี๑ไกาทาอดาาตายมรางรรนรโีปแรเลปดปลรปรหำแระยยีบรหะนรดบะลทขะนนวเหะทเบัทบมวยเะีดนมเหทมย่ีททบมมม๒หว๑แนินี่ที่นิทบหทย๔นิน๑ว✓าิน่ีาบลท่ีคทท๑วยนค๓=ตคตท่ีทยี่คะทว๑ว๒วี่ทรว่ีรผทวา๑ย๑า่ีพฐฐาล๑ลมาี่ทม-มาากองมจ-รก่ี.รนน-ใกรเใแา.ูครเก-พนูคกช.ลบูคกล-ตแกพก่ียคูฒั.ว-ฝือพกรววบช.วแฒัาว-ฟวักพกรกกเ.วานฒักงเลาพขเอรฟ.รขางเนชฒักพาลับมาาะยีขขนอฒัมเเหียกพาศงลมงตงพฒัคขนน้ีวยีมรอางกเนเาปุมนัฒอลุณเพียตเลกนาึกบงนขรเาสดัชปราขบเกนเงาคชลขรนรกัภาเะาพกอ่ืษขนลรงัคาาชลครบงดิกอื่กาาาาแคฐรามลเายำือไิดเกใราาแอพาสร้ันคใลวทดิถงาาบกรกใรจาคลบยีใผจจเะไทดิยายบยคจรใ๑ทนสปะิดทงบจกบแอตมชคคาหแดิทบลยีตท่โีแบายทยทย/เวแิดรลบพทงทวัรครี่ชลทกาบถบ=ทือลโข๑ขโท๒ี่บรลมงะบทงึนาทนิ้เดี่ฤ๔ะอ่อืาบัทะพาอ๓ทรททเี่ขตะทงชทงตรทงรย่ีสูต๓งรทลหเทแอดทอ่ี๒นั้คพหักึกขางปอ๒ียักนลแ่ีนิกงักปขสแอน๒ล๑นกัะเษแาขตนรงษอสาพลรรงาเขษทลอรขท๒ษกะทขะทปะะลอรดกขี่ปีวกะ๑แยีลอะฟ่ี่ีขงเ๒่ีแใฝะอมรอรนใสม๑งำทมอในงะกงบในส๑ดตาบัน่ชีงผเผหเรนแินภงคัวมเด่นือม๑คปคลลมโเูทรนมงชนขงราวระอ่ืเาเเรเอ่ือาตศาคดผปงพตยีาอปตบมงงุัพดรตนลล)ตดนรื่อคงนนทรเงนรสงกิดฐนรตสตฐจตรยีฐเรงัฐาาหงัักรงาลสีะคาหรตีไน็นาานีตดเทอนวัวเกนรนระยโนบัลดนนียยีนน้ัตั้นคปนน้ันนั้ ว✓กรแตตาต✓ูารต่ำ✓ม้ังรั้งอ✓กลแศกแ✓ยวะต๔✓ึกาตลคาวษะนรหขราะรร๘อนดอ๓อ อมงบัย๐ายยชาขคลลลน้ิสขุณอะะ๒ะงร้ึนงภา๖ุป๖นไ๗นา๐ผป๐ักพ๐๑ล-เ-ร๖ก๗ยี๙า๙นรมปแสคราตรวปุตศะล ากเระมมฐ๒าคกานิร.นนปา๑ตวกร(Sหะาาเนมรuมเmาเรินกตยี mรณานะมaดรฑtูับiv e ๖ตาราง เฉพาะสําหรบั …ครูผสู อน ✓ ช ẺáÊ´§¼Å¡ÒûÃСѹ¤³Ø ÀÒ¾¼ÙŒàÃÂÕ ¹µÒÁ໇ÒËÁÒµÑǪÇéÕ ´Ñ ªéѹ»‚ ฉ ดีมาดกมี ๒าดกีมากศศ๒ศท๒ศ.โอ๒๒ดศ.กง๒๓ยศ.า(ถ๒ศ๓๑นเ.ร(ศ่นิ๑น๓๒)แ.า(ศ๓๑กน๓ฏ.ส(๓)อม๑ศ๑า.นกด)ศ๑ธ(.๓จรศห)๒ช๑าาา(ิบงิล๓ลอำ๓.(รฏมมอส)ต๑าปแ๔ะภ(.๓ถ)ย๕ศรย๒กคานแอ)ิปรา.าาเ(ลิาแย)ร๒ลอกยร(๖รง(ฐบงรกปสเ๑ื่อะกดแทสาง)แหราับดกแ(งชย)าแสนรอรส๒ตรนงาสลอยรอบดยตดอดน้ัานร)ุคง่ิะๆธิทงาบธรลตวงล:ลทากิบคยีทธิบรขนลีเะฏะป่ีวัาคปควิพะาค่ีมอาาาคผศรรบารรยชวหยฏงลราร.เลิะม่ือูสาาุปคดค๖อสจขรศวี้สปมงยคอนือวง่ิยลราอิลบแดัแงริดทะกนาอาต่อืงป)ใตสูาโลมเงยช่ีมรานวนเยแหงนึกสะกไีรคุัฒสคีไชชกลั้นลท็นขรมผห็บสัมวีวาะนนาะยใอณมปวลารติลยพคนงธทใงมแวยักสนะหปรกรันต่ีไลคบสทรงาปรรราดนธะารรำมะรอืตี่รรรรรเกคยคจปชะวอตอาับะาๆำวัญงมมปุงอรหจรวัตกทะกดตกขแาวนัิศันกีม่รากนอสาอาณรนักตีกงดตสมแนาอคางรปตูลสรรีใางรณุรนดผแแาฏะงสนภลสกศดดกอาิล-งงบพาป-หรภ-แอปร-ลาจือธร-ยะอำิบกะ-แสใภาาเถ-นมนอร-ยรอปิา าสแ-อกเนิยยรบรงกสกถดท-าาแคจ่ือสราดยแง-นาออสรงสวรุดรงองบนตธดดรรยอาิง่ลาลนทิาคบิบปรศทลงาบมธยะแะาวทีธคกยเาลีคิบกึี่ปอคๆกรสฏคขิพยควาีม่ารากรษรดาะรศอราคหอวไลยไาะป่ือวงาเสลิงมดดาวสจยขรสคนรหงดปมาคอืาบางงิ่อละแานมนกแงริดทอโใงคือ่ฏตยสนตสูสยลเาวา่มีนงศหชกรกึรัมรชุคะฒัไคีกไิลาไีลมน็วนขสวีพหาาวทนงปะปิตใณอทมยาันสวรนคยธแปงร่ไีมยัหแรไธรใรเกลตดะรดทรนสลรรรรงาะกนระคะมือาำ่ตีปะยีรกจบัเอหไยคกอาตชรอาำดจนๆบวาัญงปุะอมรวงากราวลกกันทดรกตกไแงตันัะรนาไีม่ดาอูกนสิศคไดณรรตกีตาาดดารแพรรฏปาอสงไสแีใรดจิโงรศตนดดแสาะาลิรทงสยดนกรไปไอเดงอดนณดนแหงงบาลนาถนรฏกะรก่นิือาาศกวฏากไริลามดรแาศรปรกสลิลแชดบัปะลหมคงแมะหกรนลบานกาบะตรววบัททหรยยทหทฐนบที่หทานบวท่ี๑่ี นนยบ๒วทหที่ ยทวตททนบี่ ทยี่ัว๑ทหวี่ท๓ท่ี๒ชยี่นบท๓่ี๓ทว้ีวท่ี๓ัด่ีย๔กท-ห๓ทช..่ี-่ีล้ันก๑พ-พ๔ศแก.ป-กัฒััฒเึกกตล.-ขพแษตฐก.านะนพ-ียฒัชแบองเาา.าาพานกพัฒป-บๆน้ังมวคธกนกพกน.ฒัจแ-กรลธิงบิเวาหนาา.ำขฒัะกพกบีกลงา-ร/รตานกปาวัแแดกยีพแ.ชลมคุมางค-ยฒัแกนดิาาขเล.นิษอน.รกลุมดิกพฒัเเ๔ดิรกบาภาิ้นอเวนรปแใกธฐสะลบคขพยี่รกาฒัชงแทเาือ่น๑คาบิลอชบนแำบมุปคงิดขรรยีวกาัฒพบแงก่ีการิดะุปนา่ือสครทมดิขทรนรยีาลขชกงลาวกลำยยนแทบดเาะคกิดอทานทอมุนกรอคจหดุาะาโาะกบสางทขดิารงธวี่คย่ีครลดงรรยนกบาทณปดททก๑อ๑ทสจิิบคแดดิชแ่ือรมุนแรปาบดทงารับงทาบืต่ีดิปาลนสนงคี่แรตสนปขะขทด.ร๑ทวบยี่ดคาควดรค๕ติดทแกดรณอารสอน๑ิถทบสม่ีทอะนนิดงดิีพรลอี่ไงฏะข๒ชีกตง่ิที่หนอบหดทไีดตชขคก๒วบ๑น้ืเอศ๓ทอทีวรบกทาทรพจรัวดุอเ่ีวอเงบลิไีิตขบม่ีือฏย๔ไีมพทขาาี่กมท๓บทื่อปผทายี๔กกทแคีมศอาทาลลู่ีเปยนจหนยขากพสวแีเ่ร๑ลทิลรงี่กรกดัใรขทรอาแบูสดาส๑เปลแีก่นาะกแอดิือมทรอขทสึกป่ีงดนัเงรลหำทสแงขลพขคทสอดาตปแี่ำงรหทวรอดสะน้ึ๑ำอวหางณส่ีอสยลรอืนกึคง๑งดค๒กาใมนกดากกุกเถดนีร๒มงัญฏรารางวตาใ๑าม่นิใวชชจสนรใชฒัหรตัวยีันาแน๑ดุแื่นลช​นา้ันออโนสลนนยสฏชะิ้นด๑ยเกเเำะธุคคร้ีดทรมศยา​ราอครียส่อืรงชแงเิลรตศูภรญันทลมงลุดแปอมแิปือี่ชขัยวสกหแสรแกสื่นอดแารลาดลางชงรลือยะธงวโนแอวลเ๔ร✓ติครขสาบเงะ✓ขวฏยีดะเคข✓รยีานศงดรยี✓นมอทลิ นับกป่ี๓งม✓คาชา✓วุณ้ิน✓ห✓✓นงภ๒✓าาาทนพางก๑ารเรสียนรมคขุปาวอกตางานมรรักฐกปเาราศนรยี วะนกห๒เแมานศต.รนิ๒ลาเะตรร๓คียะาศน.ดนม๑แบั ร๓ลูะ.จ๒ัดทำสารสนเทศ เฉผพสู าะอฉนบับ ๖ตาราง ẺáÊ´§¼Å¡ÒûÃСѹ¤³Ø ÀÒ¾¼ÙàŒ ÃÂÕ ¹µÒÁà»Ò‡ ËÁÒµÑǪÕÇé Ñ´ªÑ¹é »‚ เฉพาะสําหรบั …ครูผูสอน ๑ ครูนาํ คะแนนหลักฐาน / ชิ้นงานจากตาราง ๒ ของแตละหนวย มาประเมินเปน ระดบั คุณภาพ ๒ ครปู ระเมินผลความกา วหนา ทางการเรยี นตามมาตรฐาน การเรยี นรแู ตล ะขอ โดยเทยี บจากเกณฑ ๖».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

¾๓àÔ È๐É áººÃÒ§ҹ¼Å¡Òþ²Ñ ¹Ò¤³Ø ÀÒ¾¼ŒÙàÃÕ¹ÃÒºؤ¤Å ป๖พ. สาระการเรียนรพู ื้นฐาน ดนตรี-นาฏศลิ ป ป.๖ ชื่อ ชั้น................................................................................................................................................................................................... ................................................ ปการศึกษา………………………………………………………… เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน »ÃÐÇѵÔʋǹµÑÇ ชื่อ นามสกลุ........................................................................................................................................... .................................................................................................... เพศ  หญิง  ชาย วนั / เดอื น / ปเ กดิ (พ.ศ.) หมเู ลอื ด…………………………………………………………………………………………………….. ………………………………….. เลขประจาํ ตวั ประชาชน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ทอ่ี ยขู องนกั เรยี น บา นเลขที่ ………………………………. หมู ………………………………. ซอย ……………………………………………………….. เฉผพสู าะอฉนบบั ถนน ตาํ บล/แขวง…………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………. อาํ เภอ/เขต จงั หวดั………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………. โทรศัพท ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน àÇÅÒàÃÂÕ ¹ã¹Ãͺ»¢‚ ͧ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹ รายการ จาํ นวนวนั ภาคเรียน วนั เปด เรียน มาเรยี น ลาปวย ลากิจ ขาดเรียน ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ รวม Ãкº´ÙáŪ‹ÇÂàËÅ×͹¡Ñ àÃÕ¹ การกรอกขอ มลู ใน ปพ.๖ เพอ่ื ใหครผู ูสอนตรวจสอบขอมูลของผเู รียน เม่อื จบปก ารศึกษา ดังน้� ๑. การยา ยทอี่ ยขู องผเู รยี น ๒. พฤติกรรมการมาเรียน ๓. สขุ ภาพของผูเรยี น ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔÅ»Š

¼Å§Ò¹·èչѡàÃÕ¹àÅ×͡໹š ËÅÑ¡°Ò¹áÊ´§¤ÇÒÁÊíÒàÃ稵ÒÁÁҵðҹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ¾๓ÔàÈ๑É (Self-achievement) ตัวอยา งผลงานที่ขาพเจา ภาคภมู ใิ จ (ผูเรียนกรอกขอมลู ) ผลงาน เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ช่ือผลงาน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ตรงกบั สาระการเรียนรทู ่ี ………………………………………. มฐ.ศ …………………………………. ตัวชี้วดั ขอ ……………………………….. ประกอบหนว ยการเรยี นรทู /ี่ เรอื่ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………. เหตุผลที่เลือก ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. รายละเอียดของผลงาน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. คุณธรรมทใ่ี ชใ นการทํางาน การพ่งึ ตนเอง ความประหยัด เฉผพูสาะอฉนบับ ความสนใจใฝรู ความอุตสาหะ ความรับผิดชอบ ความซ่อื สัตยส จุ ริต ความสามคั คี ความมีมนษุ ยสัมพนั ธ ความเปน ประชาธิปไตย คณุ ธรรมอ่ืนๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. เฉพาะสาํ หรบั …ครูผูสอน ความเหน็ ของ ผปู กครอง ความเหน็ ของ ครูผสู อน .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... (ลงช่ือ)..................................................................................................... (ลงช่ือ)..................................................................................................... หมายเหตุ : นกั เรียนอาจเลือกตัวอยา งผลงานสะทอ นความสําเรจ็ มากกวา ท่ีกาํ หนดก็ได ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š

¾๓ÔàÈ๒É ¡ÒÃÃºÑ Ãͧ¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹áÅо²Ñ ¹Ò¡ÒôҌ ¹µÒ‹ §æ ¢Í§¹Ñ¡àÃÕ¹ เฉพาะ ํสาห ัรบ…ค ูรผูสอน ภาคเรียนที่ ๑ ความคดิ เห็นของ ผปู กครอง ความคดิ เห็นของ ครผู ูสอน …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… (ลงชอื่ )…………………………………………………………………………………… (ลงช่อื )…………………………………………………………………………………… เฉผพสู าะอฉนบับ ภาคเรียนท่ี ๒ ความคดิ เหน็ ของ ผปู กครอง เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ความคิดเห็นของ ครูผูส อน …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… (ลงชอ่ื )…………………………………………………………………………………… (ลงชือ่ )…………………………………………………………………………………… ผูจ ดั ทําเอกสาร ประทับตรา สถานศึกษา (ลงช่ือ)………………………………………………………………………………… (ลงชือ่ )………………………………………………………………………………… ( )……………………………………………………………………………….. ( )……………………………………………………………………………….. วนั ที่ / /…………………….. …………………………………….. ……………………. ครใู หญ/ อาจารยใ หญ/ ผอู ํานวยการ วันที่ / /…………………….. …………………………………….. ……………………. ๖».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔÅ»Š


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook