Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1635005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป6-Update

1635005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป6-Update

Published by Cupasong02, 2021-07-06 05:31:12

Description: 1635005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป6-Update

Search

Read the Text Version

ò. ⹌µà¾Å§ÊÒ¡Å โนตสากลเปรียบเสมือนอักขระทางดนตรี ทําหนาท่ีบันทึกบทเพลงตางๆ เพ่ือไมให สูญหายและเผยแพรตอไป ดังน้ัน การเรียนรูเรื่องดนตรีสากลจึงจําเปนตองมีความรูเก่ียวกับ ตัวโนตเปนพ้ืนฐาน ดงั น�้ ๑. บรรทัด ๕ เสน คือ สัญลักษณทางดนตรีท่ีใชสําหรับบันทึกตัวโนต เพ่ือบอกถึง ระดับเสยี งของตวั โนตวาสูงหรือตํา่ กวาตวั โนต ตวั อ่ืนๆ อยา งไร ๒. ตวั โนต คือ สญั ลกั ษณท ่ใี ชบ นั ทึกแสดงความส้นั หรอื ยาวของเสยี ง ซง�ึ อัตราความ สน้ั หรือยาวของตวั โนตขึ้นอยกู บั เครอ่ื งหมายกาํ หนดจังหวะ ดังน้� สัญลกั ษณ ช่ือเรียก อตั ราความยาวของเสียง ผฉูสบอับน ตวั กลม มอี ตั ราความยาวของเสียงยาวทีส่ ดุ ตวั ขาว มอี ัตราความยาวของเสียงเปนครึ�งหนึ�งของตวั กลม ตวั ดาํ มีอัตราความยาวของเสียงเปน ครงึ� หนึ�งของตัวขาว ตัวเขบ็ตหนึง� ชัน้ มอี ตั ราความยาวของเสยี งเปน คร�ึงของตัวดาํ ตัวเขบ็ตสองชนั้ มอี ตั ราความยาวของเสยี งเปนครึ�งหนึ�งของตัวเขบ็ตหนึ�งช้ัน ตวั เขบ็ตสามชัน้ มอี ตั ราความยาวของเสยี งเปน ครงึ� หนึ�งของตัวเขบ็ตสองชนั้ แผนภูมิการเปรยี บเทียบอตั ราความยาวของตัวโนต ๓๘ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๓. ตวั หยุดหรอื เครอื่ งหมายพักเสียง คอื เครื่องหมายทีท่ ําใหเสยี งเงยี บหรอื เสียงหยุด ช�ัวคราว โดยจังหวะยังคงดําเนินตอไป ซึ�งชวงเวลาของการหยุดเสียงจะนานเทาใดขึ้นอยูกับ ลกั ษณะของตัวหยุด ดงั น้� ตวั หยดุ แบบตา งๆ หยดุ ตวั กลม อตั ราจงั หวะยาวทสี่ ดุ เทียบเทากับอตั ราจงั หวะของโนต ตัวกลม หยุดตัวขาว มอี ัตราจังหวะเปนคร�งึ หน�งึ ของหยดุ ตัวกลม เทียบเทากับอัตรา จงั หวะของโนต ตวั ขาว หยุดตัวดํา มีอัตราจังหวะเปนครึ�งหน�ึงของหยุดตัวขาว เทียบเทากับอัตรา จังหวะของโนตตวั ดาํ ผฉูสบอับน หยุดตัวเขบ็ตหน�ึงช้ัน มีอัตราจังหวะเปนคร�ึงหนึ�งของหยุดตัวดํา เทียบเทา กบั อัตราจังหวะของโนต ตัวเขบ็ตหนึ�งช้นั หยุดตัวเขบ็ตสองช้ัน มีอัตราจังหวะเปนครึ�งหนึ�งของหยุดตัวเขบ็ตหนึ�งชั้น เทยี บเทา กับอตั ราจงั หวะของโนตตวั เขบ็ตสองชั้น หยุดตัวเขบ็ตสามช้ัน มีอัตราจังหวะเปนครึ�งหนึ�งของหยุดตัวเขบ็ตสองชั้น เทียบเทากับอตั ราจังหวะของโนตตัวเขบต็ สามชัน้ ๔. เครอ่ื งหมายกาํ กับบรรทดั คือ สัญลกั ษณห รือเคร่อื งหมายท่ีใชกําหนดเสยี งตัวโนต ในบรรทัด ๕ เสน ซึ�งเราเรียกวา กุญแจประจําหลัก ในเลมน้�ใหนักเรียนเรียนรูกุญแจประจํา หลกั ซอล และกญุ แจประจําหลักฟาเบสดงั ที่กลา วในหนาถัดไป ๓๙´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๑) กุญแจประจําหลักซอล คือ เคร่ืองหมายท่ีกําหนดเสียงตัวโนตในบรรทัด ๕ เสน ใหม ีตําแหนง คงที่ โดยยดึ เสียง ซอล เปน หลัก ๒) กุญแจประจําหลักฟาเบส คือ เครื่องหมายท่ีกําหนดเสียงตัวโนตในบรรทัด ๕ เสน ใหม ีตําแหนงคงที่ โดยยึดเสียง ฟา เปน หลัก ๕. เครื่องหมายกําหนดจังหวะ คือ เคร่ืองหมายท่ีใชกําหนดจังหวะและตัวโนตท่ีใช บันทึกในบทเพลง มีลักษณะคลายกับเลขเศษสวน เชน 24 34 44 เปนตน ลกั ษณะของ ๒ จังหวะ ๓ จงั หวะ และ ๔ จังหวะ ผฉูสบอับน ๑) 24 คอื ลกั ษณะเพลงท่ีกําหนดใหมี ๒ จังหวะใน ๑ หอ งเพลง เชน 24 ๒) 34 คอื ลกั ษณะเพลงที่กําหนดใหมี ๓ จังหวะใน ๑ หอ งเพลง เชน 43 ๓) 44 คอื ลักษณะเพลงทก่ี าํ หนดใหมี ๔ จงั หวะใน ๑ หองเพลง เชน 44 ๔๐ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

Scale ซ่ึงหมายถงึ บันไดเสยี งนน้ั มาจากคาํ ภาษาละตินวา Scala ซงึ่ หมายถึง บนั ได ๖. บันไดเสียง คือ เสียงของดนตรีที่ถูกนํามาเรียงลําดับ อาจเรียงจากเสียงตํ่าไป หาเสียงสูง หรอื จากเสยี งสงู ไปหาเสยี งตํ่า เสยี งท่ีเรยี งจากเสยี งต่ําไปหาเสียงสูง เรียกวา บนั ไดเสียงขาขึน้ เสยี งทีเ่ รยี งจากเสยี งสงู ไปหาเสยี งตาํ่ เรยี กวา บนั ไดเสยี งขาลง บันไดเสยี งแบงออกเปน ๒ ประเภท ดงั น้� ๑) บันไดเสียงเมเจอร คือ ระดับเสียงดนตรีที่ไลเสียงไปทีละขั้นครบ ๘ ขั้น (เสยี ง) เสยี งแตละขน้ั จะมีระยะหางของเสยี งคงท่แี นนอนท้งั ขาข้ึนและขาลง ระดบั เสียงเร�มิ ตน ของบันไดเสียง ใชเสียงใดเปนเสียงเริ�มตนก็จะเรียกช่ือบันไดเสียงตามช่ือโนต (Tonic) เชน เรมิ� ตนทีโ่ นตชื่อ โด (c) ไลเสียงไปจนครบ ๘ เสียง โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด กจ็ ะเรยี กช่ือ เปน บันไดเสียงซเี มเจอร ( C Major) ระดบั เสียงในเสียงเมเจอรท้ัง ๘ ระดบั เสียง มีระยะหางกัน ดังน้� T T S T T T Sระดบั เสยี งท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 ผฉสู บอับน หน่ึงเสยี ง หนึ่งเสยี ง ครึง่ เสียง หนึ่งเสียง หนึง่ เสยี ง หน่งึ เสยี ง ครึง่ เสียง T ยอมาจาก Tone หมายถงึ เต็มเสียง (หนงึ่ เสยี งเตม็ ) S ยอมาจาก Semitone หมายถงึ คร่ึงเสยี ง ๒) บันไดเสยี งไมเนอร คอื ระดบั เสยี งดนตรที ี่สรา งมาจากเสยี งเมเจอร โดยนาํ เอา ระดับเสียงท่ี ๖ มาสรา งเปน ระดบั เสียงตัวท่ี ๑ บนั ไดเสียงไมเนอร ซงึ� แบงเปน ๓ แบบ ดังน้� (๑) แบบเนเจอรัล ไมเนอร (๒) แบบฮารม อนิก ไมเนอร (๓) แบบเมโลดิก ไมเนอร ในบทเรียนน้�นักเรียนจะไดเรียนรูบันไดเสียงแบบซีเมเจอร (C major) ซึ�งเปน บนั ไดเสียงที่มีการไลเ สียงแบบทนี่ ิยมกนั ท�วั ไป บนั ไดเสียงแบบซีเมเจอรมีรูปแบบการเขียน ดังน�้ ภาพแสดงบันไดเสยี ง C เมเจอร (C Major Scale) ๔๑´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ตวั อยา ง เพลงท่ีมบี ันไดเสยี งแบบซเี มเจอร เพลงพรปใ หม เน�อ้ รอง พระเจาวรวงศเ ธอ พระองคเ จา จักรพนั ธเ พญ็ ศิริ ทาํ นอง พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ส__วสั _______ดี วนั ป ใหม พา____ให บรร_____ดา เรา ทา น ร่ืน______ - รมย ฤกษ- ยาม ดี เปรม-ปรีดช์ิ ื่น______ชม ตาง สขุ _____สม นิ - ยม ยิน___ - ดี ขา วงิ _____วอน ขอ พร จาก ฟา ให บรร_______ดา ปวงทา น สขุ __ ผฉูสบอับน - ศรี โปรด ประ__ทานพร โดย ปรา___________น� ให ชาว ไทย ลวน มี โชค___ - ชยั ให บรร_____ดา ปวง ทา น สุข_____สนั ต ทกุ วนั ทุก คืน ชนื่ -ชมใหสม ฤ___ - ทยั ให รุง ____เรอื ง ใน วัน ป ใหม ผอง ชาว ไทย จง ส - วัส - ดี ต - ลอด ป จง มี สุข ใจ ต-ลอด ไป นับ แต บดั ___ - น้� ให สิ้น ทุกขสุข เก-ษมเปรม______ปรดี ิ์ ส - วสั ___ดี วัน ป ใหม เทอญ ๔๒ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ò ๑ เขียนตวั โนตลงใน ใหถกู ตอ ง ผฉสู บอับน ๒ เขยี นสัญลักษณ ลงในบรรทัด ๕ เสน บรรทดั ละ ๕ เสียง ตามที่กาํ หนด ๑) ฟา ซอล ลา ที โด(สงู ) ๒) ที ซอล ที ฟา เร ๓) เร มี โด(ต่ํา) ที ฟา ๔) ลา มี ฟา ซอล โด(ต่ํา) ๕) ซอล เร มี ฟา ที ๔๓´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ»ÃШӺ· มศฐ2./.ต1ัวช(3้วี )ดั ๑ ฟง เพลงลาวจอย ๒ ช้นั แลวฝก รอ งเปนเสยี งตวั โนต จากน้ันตอบคาํ ถาม เพลงลาวจอย ๒ ชน้ั ---ด รมซร ---- -ม-ร ---ด รมซร มรดร -ม-ซ ---ม ซลดซ ---ม รดรม --ซล -ด-ร มรดล -ด-ซ ---- ---- -ซ-ล ดรมล ---- -ซ-ล -ซ-ล ดรมซ ---- ---- -ซ-ม รดรม ---- -ด-ร มรดร -ม-ด ๑) ตวั โนต ท่ีมีในเพลง ไดแ ก ด ร ม ซ ล………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒) เพลงน้�มหี อ งเพลงทั้งหมด ๓๒………………………………………………………………………………………………………………………………. หองเพลง ๓) เพลงน้�มีจงั หวะเพลง ❍ สามชัน้ ❍✓ สองช้ัน ❍ ชั้นเดียว ๔) ยกตัวอยางหอ งเพลงที่มีเสยี ง ๔ ตัว จากเพลงลาวจอ ย ๒ ชน้ั ผฉูส บอับน หอ งท่ี ๑ หอ งที่ ๒ หอ งที่ ๓ หองที่ ๔ หอ งท่ี ๕ หองท่ี ๖ หองที่ ๗ หองที่ ๘ รมซร รมซร มรดร มรดล ซลดซ รดรม ดรมล ดรมซ รดรม มรดร ๕) ผลการประเมนิ การออกเสยี งตวั โนต (ใหครูหรอื เพอื่ นประเมิน) รายการประเมนิ ผลการประเมิน (๑) การออกเสยี งถูกตองตามอักขรวธิ ี (๒) การออกเสียงถกู ตองตามจงั หวะ ดี พอใช ควรปรับปรุง ทาํ นองเพลง ขึน้ อยูกับดุลยพนิ จิ ของผสู อน.................................... .................................... ……………………………. (๓) การเออ้ื นเสียง .................................... .................................... ……………………………. .................................... .................................... ……………………………. ลงชอ่ื ……………………………………… ผปู ระเมนิ กลุมท…ี่ ………………………………. ๔๔ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

๒ ยกตัวอยางเพลงไทยสากลหรอื เพลงสากลทีม่ ีโนตเพลงกํากบั มา ๑ เพลง (เพลงส้ันๆ มฐ./ตัวชว้ี ัด ไมย าวมาก) แลวฝกรอ งเปน เสยี งตวั โนต และเขยี นตวั โนต ในบรรทดั ๕ เสน ศ2.1 (3) (เขยี นเนอ้� เพลง) เพลง แมงมมุ…………………………………………………………………………………………………. (ตวั อยาง) แมงมุมลายตัวนัน้ ฉันเหน็ มนั ซมซานเหลือทน………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. วันหน่ึงมนั ถกู ฝน ไหลหลนจากบนหลังคา………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. พระอาทิตยสอ งแสง ฝนแหง เหือดไปลบั ตา………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. มันรบี ไตขน้ึ ฝา หนั หลงั มาทําตาลกุ วาว………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑) เพลงน้ม� ีจงั หวะ ❍ เร็ว ❍✓ปานกลาง ❍ ชา ผฉูสบอบั น ๒) ตัวโนต ที่เห็นในเพลงน้� ไดแ ก ❍✓ ตัวขาว ❍✓ ตวั ดํา ❍ ตัวเขบ็ต ๑ ช้นั ❍ ตัวเขบ็ต ๒ ช้ัน ❍ ตัวเขบต็ ๓ ชั้น ❍✓ อน่ื ๆ…………ต……ัว…ก…ล……ม………. ๓) เพลงน�้ใชก ุญแจประจาํ หลัก คอื ❍✓ กุญแจประจาํ หลักซอล ❍ กญุ แจประจาํ หลกั ฟาเบส ๔) เขยี นโนตเพลงทีย่ กตัวอยางมา ๑ ทอ นเพลง 44 ๔๕´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

แบบทดสอบท่ี ๓ : กา ✗ คําตอบท่ีถกู ที่สดุ ๑. โนต เพลงไทยเสยี งโด ใชสัญลักษณข อ ใด ๗. ตัวโนต ตัวดํา หมายถงึ ขอใด ก. ม ข. ร ก. ค. ท ✗ง. ด ✗ข. ๒. ขอใดไมใ ชสญั ลักษณแทนเสยี งดนตรไี ทย ค. ✗ก. ค ข. ด ค. ม ง. ท ง. ๓. ๑ หอ งเพลงของการบันทึกโนตเพลงไทย ๘. ตวั โนต ใด มีอัตราเสียงยาวท่ีสดุ บนั ทกึ ตวั โนตไดจํานวนกต่ี ัว ✗ก. ก. ๑ ตวั ข. ๒ ตวั ค. ๓ ตัว ✗ง. ๔ ตัว ข. ค. ผฉสู บอับน ๔. สญั ลักษณท เี่ ปน เสียงสูงสดุ ของโนต เพลงไทย คือขอ ใด ก. ซ ✗ข. ท ง. ค. ร ง. ล ๙. สญั ลักษณตามภาพ กําหนดใหย ดึ ๕. เสียงซอล แทนดว ยสัญลกั ษณข อใด เสยี งใดเปน หลกั ✗ก. ซ ข. ม ก. เสยี งโด ข. เสียงเร ค. ด ง. ล ๖. ขอ ใดใชบนั ทึกตวั โนต เพลงสากล ✗ค. เสียงซอล ก. ง. เสียงที ข. ๑๐. บนั ไดเสยี งแบบเมเจอร มรี ะดบั เสยี งกี่ระดบั ก. ๙ ระดับ ค. ✗ข. ๘ ระดบั ✗ง. ค. ๗ ระดบั ง. ๖ ระดับ ๔๖ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

º··èÕ ô Ã͇ §áÅкÃÃàŧà¾Å§¹†Ò¿˜§ ขอบขายสาระการเรยี นรูแ กนกลาง รายวชิ าศิลปะ ช้ัน ป.๖ ตัวชีว้ ดั ช้ันป สาระพ้นื ฐาน ความรูฝง แนนตดิ ตัวผเู รียน มฐ. ศ ๒.๑ (๔) ใชเคร่ืองดนตรีบรรเลง ● การรอ งเพลงประกอบดนตรี ● การรองเพลงและการใชเครื่องดนตรี ประกอบการรองเพลง ดนสด ทม่ี ีจงั หวะ ● การสรา งสรรคร ปู แบบจงั หวะและทาํ นอง และทาํ นองงา ยๆ บรรเลงประกอบเพลง ควรยึดหลักการ ดวยเครอื่ งดนตรี ปฏิบัติใหถูกตองและสอดคลองกับจังหวะ ทํานองเพลง จงึ มีความไพเราะและนา ฟง ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹�ʡً ÒÃàÃÂÕ ¹ ผฉสู บอับน à¾×èÍ¹æ ¤´Ô Ç‹Ò ¹Ñ¡ÃŒÍ§ã¹ÀÒ¾ áÊ´§·‹Ò·Ò§¡ÒÃÌͧ¶Ù¡µÍŒ §ËÃ×ÍäÁ‹ ÍÂÒ‹ §äà ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö ๔๗

ñ. ¡ÒÃÌͧà¾Å§»ÃСͺ´¹µÃÕ การขับรองเพลง จัดเปนกิจกรรมการสรางสรรคทางดนตรีประเภทหน�ึง บุคคลทุก เพศทุกวัยสามารถทําได โดยอาศัยทักษะการขับรองและความตั้งใจ การขับรองเพลงให ไพเราะ สามารถเรียนรูจากหลักการตางๆ ในการขับรองเพลงแตละประเภท โดยเฉพาะการ ขบั รองเพลงไทยและการขบั รองเพลงไทยสากล การขับรองเพลงอาจแบง วธิ ีการขบั รองออกเปน ๓ ลกั ษณะ ดังน�้ ลักษณะการรอ งเพลง ๑. การรอ งไปพรอมดนตรี ๒. การรอ งรบั หรือการรองสง ๓. การรองสอด เปนการรองควบคไู ปกบั เปนการรองท่ีผูรอง จะรองไป เปน การบรรเลงดนตรี การบรรเลงดนตรี จนจบทอนเพลง แลว ดนตรีก็ สอดแทรกขณะรอ งเพลง จะบรรเลงตอจนจบทอนเพลง ทอนใดทอ นหนึ�งทีย่ งั รอง ผฉูสบอับน หากมกี ารรองทอ นตอ ไป ไมจบทอ น ดนตรกี ็จะบรรเลงสง ใหผูรอ ง สามารถขับรองตอ ไปไดสลบั ▲ น�งั อยา งสํารวมกริ ยิ า เปน ทาน�งั ท่ี กนั ไปจนจบเพลง ถูกตอ งในการขบั รอ งเพลงไทย ๑. การขับรอ งเพลงไทย การขับรอ งเพลงไทย มีหลักในการปฏบิ ัติ ดังน้� ๑) ทาทางในการรองเพลงใหถูกตองเหมาะสม ผูท่ีขับรองเพลงไทย สามารถขับรองโดยปฏิบัติได ๒ แบบ คอื ทานัง� และทายนื (๑) ทานั�ง เปนการน�ังในลักษณะนั�งพับเพียบ ผูขับรองควรน�ังสํารวมกิริยาทาทางเรียบรอย ไมกระดุก กระดกิ เคล่ือนไหว หันหนา เขา หาผูชม (๒) ทายืน บางคร้ังการขับรองเพลงไทย อาจจะตองยืนรอง ผูขับรองตองสํารวมทาทางและการ เคล่อื นไหวท้งั มอื เทา และลําตวั ๔๘ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๒) ควรศึกษาทําความเขาใจเน้�อหาเพลงกอนวา ตองการที่จะส่ือความหมายใด เพ่อื สามารถสอดแทรกอารมณตามบทเพลงไดอ ยา งถกู ตอ ง ๓) ควรทําความเขาใจกับวรรคตอนของคําตา งๆ ในเน้�อรอ ง ถาหากแบงหรอื แยก คาํ ไมถ ูก อาจทําใหความหมายคลาดเคลอ่ื นไปจากเดมิ ได ๔) ขับรอ งใหถกู ตองกับจงั หวะทํานองของเพลง ๕) เปลงถอยคําใหถูกตองชัดเจนตามภาษาท่ีขับรองทั้งพยัญชนะ สระ และ คําควบกลํ้า ๖) การเอ้ือนเสียง เปนการทําเสียงท่ีไมมีเน้�อรองปะปนอยู ซ�ึงมีทั้งที่เปนทํานอง หรือทเ่ี ปนเน�้อรอ งก็ได ถาเปน เสียงเอื้อนในเน�อ้ รอง ควรทําเสียงของเนอ้� รองใหต รงกบั เสยี งใน ภาษา คือ ทาํ เสียงใหต รงกับวรรณยุกต และตอ งพยายามรักษาตําแหนง ของคํา และรูจักลาก เสียงเอือ้ นใหเขา กับจงั หวะของเพลงดวย ๗) การหายใจเขาและออกในขณะขับรอง ควรใหสอดคลองกับจังหวะของเพลง เพราะถาหายใจไมถูกจังหวะ จะทําใหเสียงขาดหายไป ผฉูสบอับน ตวั อยา ง เพลงไทยทีค่ วรฝกรอง เพลงเขมรอกโครง เน้�อรอ ง แถบรตั น ภูมิรัตน ทํานอง หมอ มตวน วรวรรณ เม่ือทาํ ผดิ เตอื นให ไมนา โกรธ ควรหรือโทษ วาคิด รษิ ยา เรารวมเรยี น รว มเลน เปนเพ่อื นมา เสนหา ใกลชิด สนทิ กนั อยา วูวาม ถามไถ ใหก ระจาง เราคบอยา ง เพื่อนตาย ไมเ หหัน จงนึกถึง ความเดมิ เรม่ิ สมั พนั ธ ตางหมายมั่น มงุ หวงั ตง้ั ใจดี ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö ๔๙

เพลงลาวเดินดง เน�้อรอ ง ม.จ.จันทรนิภา เทวกลุ ทาํ นอง ตอยตริ�ง แมเ รายังนอยนดิ ก็มจี ิตเมตตา ทําประโยชนนานา ตามแตส ามารถตน ยะยิ้มยะแยม ชดชอ ยแฉลม ชวนใหใ จแชม ผใู ดไดยล สสี ลับแสนสวย รื่นรวยกมล ลมชวยสุคนธ ฉะฉํา่ กาํ จร ชูชอชดชอย นอ ยนอยอรชร ใครเศราเรา รอ น ชวยผอนใจเย็น ผูใดไขเ จ็บ เกบ็ ไปใหเหน็ ผฉูสบอับน ชน่ื ใจไมเ วน เปนสุขยง่ิ เอย ๒. การขับรองเพลงไทยสากล การขบั รอ งเพลงไทยสากล มหี ลักในการปฏบิ ตั ิ ดังน�้ ๑) การทาํ ทา ทางในการรอ งเพลงไทยสากล จะใชท า ยืนรอ งเปนสว นใหญ การยนื รองเพลงไทยสากล ตองยืนรองอยางสงางาม และแสดงสีหนาทาทางใหสอดคลองกับจังหวะ ทาํ นอง และความหมายของเพลง ๒) ศึกษาเน้�อรองของเพลงวา มีความหมายอยางไร ควรเนนเสียงชวงใดหรือใช สาํ เน�ยงเสยี งการรอ งอยางไรจึงจะเหมาะสมกบั เพลง ๓) ศึกษาทํานองเพลงใหเขาใจวาเปนเพลงประเภทใด ใหอารมณอยางไร เพราะ ผขู บั รองควรใสอารมณใ หถกู ตอ งเหมาะสมกบั ทํานองเพลง ๔) แสดงสีหนาทาทางใหเขากับบรรยากาศของเพลง ไมควรแสดงกิริยาเฉยเมย หรอื แสดงทา ทางมากเกนิ ไป ๕) รอ งใหถ ูกตองตามเน�้อรอ ง จงั หวะ และทาํ นอง ๕๐ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

๖) รอ งใหเต็มเสียง แตไมใ ชการตะโกน รวมทงั้ การออกเสียงพยัญชนะและอกั ขระ ใหถกู ตอ ง ชัดเจน ๗) หายใจใหถ กู ตองกับจังหวะของเพลง ๘) ควรรักษามารยาทในการขับรอ งเพลง ดงั น�้ (๑) แตง กายใหเ หมาะสมกบั โอกาสและสถานท่ที าํ การขับรอ ง (๒) เลือกเพลงทจ่ี ะขบั รอ งใหเ หมาะสมกับกลุมผูฟง (๓) ไมควรพูดจาหยอกลอกับผูฟงมากจนเกินไป และใชภาษาสุภาพในการ สอ่ื สารกัน (๔) ควรมหี นา ตายิม้ แยมแจม ใส ไมห งุดหงิด (๕) พยายามสบตาและกวาดสายตาไปยังผูช มใหท �วั ถึง ตัวอยาง เพลงไทยสากลท่คี วรฝก รอง ผฉสู บอบั น เพลงใกลร งุ เน�้อรอ ง ม.จ.จักรพันธเ พ็ญศิริ จักรพันธุ ทํานอง พระบาทสมเด็จพระมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดยินเสยี งแวว ดังแผว มาแตไ กลไกล ชมุ ชน่ื ฤทยั หวานใดจะปาน ฟงเสยี งบรรเลงขับเพลงประสาน จากทิพยว มิ านประทานกลอ มใจ ใกลย ามเม่อื แสงทองสอ ง ฉันคอยมองจอ งฟาเรืองราํ ไร ลมโบกโบยมาหนาวใจ รอชา เพยี งไรตะวันจะมา เพลิดเพลินฤทยั ฟง ไกประสานเสียงกัน ดอกมะลิวัลยอ วลกล่นิ ระคนมณฑา โอในยามนเี้ พลนิ หนักหนาแสงทองนวลผองนภา แสนเพลนิ อรุ าสาํ ราญ หมูม วลวิหคบนิ ผกมาแตร ังนอน เฝาเชยชิดชอนลิม้ ชมบวั บาน ยินเสยี งบรรเลงดงั เพลงขับขาน สอดคลองกังวานซาบซานจบั ใจ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö ๕๑

เปนเพลงรองโตตอบ นิยมเลนในจังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดใกลเคียง แตเดิม คนสพุ รรณบุรีและอา งทองนิยมเลน เพลงชนดิ หนง่ึ เรยี กวา เพลงยวั่ คอื ยั่วเยาดวย กลอนสัน้ ๆ ไปมา ภายหลงั ไดพ ัฒนาเปนเพลงอแี ซว เพลงเราสู เน้�อรอง นายสมภพ จนั ทรประภา ทาํ นอง พระบาทสมเด็จพระมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร บรรพบรุ ุษของไทยแตโ บราณ ปกบานปองเมอื งคุมเหยา เสยี เลอื ดเสียเน้อื มใิ ชเ บา หนาทีเ่ รารักษาสบื ไป ลูกหลานเหลนโหลนภายหนา จะไดม ีพสธุ าอาศัย อนาคตจะตอ งมีประเทศไทย มยิ อมใหผ ใู ดมาทําลาย ถงึ ขูฆ า ลางโคตรก็ไมห วนั่ จะสกู ันไมห ลบหนีหาย สตู รงน้ี สูที่นี่ สูจนตาย ถึงเปน คนสดุ ทายก็ลองดู บานเมืองเราเราตอ งรักษา อยากทําลายเชญิ มาเราสู เกียรติศักดขิ์ องเราเราเชดิ ชู เราสไู มถอยจนกา วเดยี ว นอกจากการขับรองเพลงไทยและเพลงไทยสากลที่ไดกลาวแลว การขับรองแบบ ผฉสู บอบั นดนสดก็เปนวิธีการขับรองแบบหน�ึง ซึ�งตองอาศัยปฏิภาณไหวพริบในการขับรอง การดนสด สวนมากใชเน้�อรองแบบคํากลอนแบบชาวบาน ใชคํางายๆ มีการสัมผัสระหวางวรรค สัมผัส ระหวางบาท และการซ้ําวรรคสุดทาย เพ่ือใหผูรองคนตอไปไดมีเวลาคิดเน�้อรองทอนตอไปได การขบั รอ งแบบดน สดมใี หเ ห็น เชน เพลงพวงมาลยั เพลงอแี ซว เปน ตน ▲ ผทู ี่จะขับรอ งเพลงอีแซวไดด ี จะตอ งมีไหวพรบิ ปฏภิ าณในการคิดเนอ้� เพลงไดอยางรวดเร็ว ๕๒ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ตัวอยาง เพลงประเภทดนสด เพลงพวงมาลัย รอ งโดย นายบญุ ชู และนางทองเล่ือน คุณพันธุ ต.พนมทวน อ.พนมทวน จ.กาญจนบรุ ี (จากหนงั สอื เพลงพืน้ บาน โดยเอนก นาวกิ มลู ฯ) บุญชู เอย…เอย ลอยมา ฉันจะวาพวงมาลยั (รับซ้าํ หมด) เออระเหยลอยมา มาแตทา ยทวน (รับซ้าํ หมด) ชว งรําหยดราํ ยอย ไปเหมือนห่ิงหอยชมสวน ภัสดาหนา นวล มาเม่ือจวนเยน็ เอย (รบั ซ้ําหมด ๒ เทยี่ ว) ทองเล่อื น เอย ลอยมา ลอยมาแตบ านทวน (รับซํ้าหมด) แมช า งรําหยดราํ ยอ ย (ซา้ํ ) ไปอยา งหง่ิ หอยชมสวน ภสั ดาหนา นวล มาจากบานทวนยังไงเอย (รบั ซ้าํ หมด) บญุ ชู เอย ลอยมา มาแตต ะเพนิ * คู (รับซํา้ หมด) จะไปกระโดดน้ําตาย (ซ้ํา) ไอท ี่นาํ้ ไหลอูอู เขาวานองมชี ู ไมบ อกใหร บู า งเลยเอย (รบั ซ้ําหมด) (*ตะเพนิ ในทน่ี ห้ี มายถึงบรเิ วณทม่ี นี า้ํ ไหลลน คลา ยๆ เข่ือนหรอื ฝาย) เพลงอีแซว รองโดย นายไสว วงษงาม แมบ ญุ มา สุดสุวรรณ แมบ วั ผนั จันทรศรี ผฉสู บอับน วันศุกรท่ี ๑๙ ธนั วาคม ๒๕๒๙ (จากหนังสือเพลงพ้ืนบาน โดยเอนก นาวกิ มูลฯ) ไสว พูด-แมผันแมบุญมา (จา ) อยากจะชวนแมส องคนนีไ้ ปเท่ียวชมปา กันไหมละ (กด็ ีเหมอื นกัน, ไปซจิ ะ) ดเี หมือนกนั นานๆ ไดมา ไมเ คยเขาปา (ฉันเองก็ไมไดเคยไปมานานแลว) หนั หวนชวนแมผ ันเอยกับแมบ ญุ มาเอย (เอิงเอยแมบญุ มา) มาซวิ าไปชมปาใหร บี ไป นีฉ่ นั เดนิ ขึ้นหนาแกก็มาตามหลังเอย- (เองิ เอย มาตามหลงั ) ตน ไมหลายอยา งมที งั้ ตน เล็กตน ใหญ โนนแนประดูคู (อ)ุ โลก ตน โศกไมส ัก ดเู สลาตน รกั แลดสู ูงวิไล ดูสูงปลอดยอดโปรง พรู ะหงดอกหอมเอย (เอิงเอยแลว ดอกหอม) แมลงภูตามตอมไมกลัวตวั จะตายหนอแมลงภกู ็คลงึ แมลงวนั ก็เคลา เหมือนอยา งพรี่ ักเจาแมช ืน่ ใจ บอกวานองชมบา งบอกวาพ่ชี มบางเอย (เอยแลวชมบาง) ชมสกู ันฟงเอย ไมเปนไร (เออเออเอยไมเ ปนไร) บญุ มา ฟงเอยเมอ่ื ไดฟ ง สนองเอย (เออ เอยฟงสนอง) เสียงมาบอกกะนอ งพอหนมุ เมืองไหน เอาขางนอ งชมบาง ขางพชี่ มบา ง มะมาชมสกู ันฟงไมเ ปน ไร อโี นน จาํ ปอีนจ่ี าํ ปาโนน แนะการะเกด ดอกพกิ ุลบุญเทศทง้ั กระถนิ หนอไมไ ทย ตนกระทมุ กระถนิ มที ้ังกนิ ราเองิ เอย (เองิ เอยแลว ยะรา) อกี ทงั้ หมูไมใ นปา เอยแลวมากมาย (เออ เออเอยแลวมากมาย) ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö ๕๓

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ ๑ แบง กลุม ใหแ ตละกลุมเลือกฝกรองเพลงไทยมา ๑ เพลง แลวออกมารอ ง หนาชัน้ เรียน จากนัน้ ใหเพื่อนแสดงความคิดเหน็ และประเมินผล รายการประเมนิ ผลการประเมนิ ดี พอใช ควรปรับปรุง (๑) ทา ทางในการรอ ง ขึน้ อยูกับดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน.................................... .................................... ……………………………. (๒) น้าํ เสียงในการรอง (๓) ความถูกตอ งกับจงั หวะ ทํานอง .................................... .................................... ……………………………. (๔) ความชดั เจนในการออกเสียงพยญั ชนะ .................................... .................................... ……………………………. .................................... .................................... ……………………………. สระ คําควบกล้าํ (๕) การเออ้ื นเพลง .................................... .................................... ……………………………. ลงช่ือ ……………………………………… ผปู ระเมนิ กลมุ ท…ี่ ………………………………. ผฉูสบอับน ๒ แบงกลุม ใหฝกรองเพลงไทยสากลหรือเพลงสากล มากลุมละ ๑ เพลง จากนั้น ออกมาแสดงหนา ชน้ั เรยี นโดยใหข บั รอ ง ๑ คน และสมาชกิ คนอน่ื ใหท าํ ทา ประกอบ (ใหเพ่อื นกลุมอื่นประเมินผล) รายการประเมนิ ผลการประเมนิ ดี พอใช ควรปรบั ปรงุ (๑) ทา ทางในการรอ ง .................................... .................................... ……………………………. (๒) นํ้าเสียงในการรอ ง (๓) ความถูกตองกับจงั หวะ ทาํ นอง ขึน้ อยกู บั ดุลยพินิจของผูสอน.................................... .................................... ……………………………. (๔) ความชดั เจนในการออกเสียงพยญั ชนะ .................................... .................................... ……………………………. สระ คําควบกลาํ้ .................................... .................................... ……………………………. (๕) การแสดงทา ประกอบ .................................... .................................... ……………………………. ลงชื่อ ……………………………………… ผปู ระเมนิ กลมุ ท…ี่ ………………………………. ๓ แบงกลุม ฝกรองเพลงประเภทดนสดท่ีมีจังหวะทํานองงายๆ หนาช้ันเรียน ใหเพ่ือน กลุมอ่ืนแสดงความคิดเหน็ ขึน้ อยกู ับดุลยพินจิ ของผสู อน ๕๔ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ò. ¡ÒÃÊÃÒŒ §ÊÃäÏ ٻẺ¨Ñ§ËÇÐáÅзíҹͧ´ÇŒ Âà¤ÃèÍ× §´¹µÃÕ การบรรเลงเคร่ืองดนตรีประกอบการรองเพลง ชวยทําใหเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ซ�ึงนักเรียนสามารถเลือกเครื่องดนตรีท่ีตนเองชื่นชอบและสามารถเลนไดอยาง ถูกตองมาบรรเลงประกอบการรองเพลงได เคร่ืองดนตรีท่ีนักเรียนสามารถบรรเลงไดงาย ไดแก เคร่ืองจังหวะชนิดตางๆ เชน กลอง ฉิ�ง ฉาบ เปน ตน ตวั อยาง เครอื่ งจังหวะของเครอื่ งดนตรีไทยและสากล เครอื่ งดนตรไี ทย เครอ่ื งดนตรีสากล กลองยาว ฉง�ิ ฉาบ ลูกแซ็ก ก�ิงสามเหลยี่ ม ผฉสู บอับน ทอมบา นอกจากการบรรเลงเคร่ืองดนตรีใหถูกตองตามจังหวะและทํานองเพลงแลว เรายัง สามารถสรา งสรรคก ารบรรเลงเครอ่ื งดนตรใี หแ ปลกออกไปได เชน การบรรเลงเครอื่ งดนตรอี ยา ง ชา ๆ ในเพลงทมี่ จี งั หวะเร็ว การบรรเลงเคร่อื งดนตรอี ยางเรว็ ๆ ในเพลงทม่ี จี ังหวะชา เปนตน การสรางสรรคทางดนตรีนอกจากที่ไดกลาวไปแลว เรายังสามารถสรางสรรควิธีอ่ืนๆ ไดอ กี เชน ประดษิ ฐท า ทางประกอบเพลงตามจงั หวะทํานองดนตรี การสรางสรรคท างดนตรี แตงเน้อ� เพลงขน้ึ ใหมโ ดยใชจงั หวะทาํ นองเพลงเดิม เปลยี่ นจังหวะและทํานองเพลงใหมไ มใหเ หมอื นเดมิ วาดภาพตามอารมณเ พลงทฟ่ี ง ขณะนั้น ฯลฯ การคดิ สรางสรรคท างดนตรี นอกจากจะทาํ ใหเกิดผลงานดนตรีในรปู แบบใหมๆ แลว ยงั เปนการฝก ใชความคดิ สรา งสรรค การใชความคดิ จินตนาการในการประยุกตใ ชความรูตา งๆ มาผสมผสานกันจนเกิดเปนผลงานทางดนตรที ่มี ีคุณคาข้นึ มา ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö ๕๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ò แบง กลมุ ใชเครือ่ งดนตรีบรรเลงเพลงท่กี ําหนด โดยบรรเลงเครอ่ื งดนตรใี ห แตกตางไปจากเดิม จากนนั้ บันทกึ ขอ มลู เพลงใครรักใคร ใครรักใครโคงใคร ไมต องเกรงอกเกรงใจ ใครรักใครโคงออกมารํา (ซ้าํ ) คหู นง่ึ เขารําสวยเดน คสู องสวยเดนงามตา คูสามงามหนกั หนา คสู ่ีหวานตา คูหา หวานใจ ใครจะสวยกวา ใคร ฉนั มองไปแลว ก็มองมา (ตัวอยา ง) ๑) เครอ่ื งดนตรที ่ใี ชบรรเลง ประกอบดว ย …………………………………………………………………………………………………………………………… กลองยาว ฉ่งิ ฉาบ............................................................................................................................................................................................................................................................................................. ผฉสู บอับน .............................................................................................................................................................................................................................................................................................. ๒) วธิ ีการบรรเลงใหแตกตางจากเดมิ คอื …………………………………………………………………………………………………………………………….. บรรเลงใหเ รว็ ขน้ึ กวาเดิม…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................. ๓) นกั เรียนคดิ วาวิธีการท่บี รรเลงเพลงแบบใหมมีความไพเราะหรือไม ❍ ไพเราะ ❍✓ ไมไ พเราะ เพราะ เสยี งบรรเลงดนตรีและเสยี งขับรองไมส มั พันธก ัน........................................................................................................................................................................................................................................................................ ๔) นอกจากวธิ ีการบรรเลงดงั กลา วแลว นักเรียนยังมวี ิธกี ารสรา งสรรคท างดนตรแี บบอื่นอกี คือ การเลือกใชเ ครือ่ งดนตรตี างประเภทมาบรรเลงรวมกัน เชน เคร่ืองดนตรไี ทย............................................................................................................................................................................................................................................................................................. บรรเลงรว มกับเคร่อื งดนตรสี ากล............................................................................................................................................................................................................................................................................................. ๕) นกั เรียนคิดวา การสรางสรรคผลงานทางดนตรีมีประโยชนห รอื ไม ❍✓ มี ❍ ไมม ี เพราะ ชวยทาํ ใหเ กิดวธิ ีการหรอื เทคนคิ การบรรเลงดนตรีใหมๆ........................................................................................................................................................................................................................................................................ และอาจทาํ ใหไ พเราะกวาเดมิ.............................................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................................. ๕๖ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô »ÃШ�º· แบง กลมุ เลอื กใชเ คร่ืองดนตรีประเภทเคร่อื งจงั หวะ บรรเลงประกอบการขับรองเพลง มศฐ2./.ต1วั ช(4ี้ว)ัด ท่ชี ื่นชอบ แลวบันทึกขอ มูล ๑) เพลงทีเ่ ลือก คอื เพลง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒) เครอ่ื งดนตรที เ่ี ลอื กใช ประกอบดว ย …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓) ผลการบรรเลงเครอื่ งดนตรีประกอบเพลง (ใหครูหรือเพื่อนกลมุ อ่ืนประเมนิ ) รายการประเมนิ ผลการประเมิน (๑) การใชเ ครือ่ งดนตรไี ดถูกวิธี (๒) ความสอดคลองกบั จงั หวะทาํ นอง ดี พอใช ควรปรบั ปรุง (๓) ความคดิ สรา งสรรคในการบรรเลง (๔) ความไพเราะในการบรรเลง ขน้ึ อยกู ับดุลยพินิจของผสู อน.................................... .................................... ……………………………. ผฉสู บอับน (๕) ความพรอมเพรียง .................................... .................................... ……………………………. .................................... .................................... ……………………………. .................................... .................................... ……………………………. .................................... .................................... ……………………………. ลงชอื่ ……………………………………… ผปู ระเมิน กลุมท…ี่ ………………………………. ๔) นกั เรยี นพอใจกับการบรรเลงดนตรขี องตนเองหรอื ไม ❍ พอใจ ❍ ไมพ อใจ เพราะ ....................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................. ๕) ส�งิ ทีค่ วรปรับปรงุ ในการบรรเลงเครือ่ งดนตรคี รง้ั ตอ ไป คือ …………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................. ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö ๕๗

แบบทดสอบที่ ๔ : กา ✗ คาํ ตอบทีถ่ กู ทส่ี ุด ๑. ขอ ใดเปนจุดเดน ของการขับรอ งเพลงไทย ๖. ขอใดเปนหลักในการขับรองเพลงไทยสากล ก. จงั หวะ ทถ่ี ูกวธิ ี ข. ทํานอง ✗ก. แสดงสหี นา ใหเ ขากับเนือ้ รอง ✗ค. การเออ้ื น ข. ปรบมือพรอ มกับรอ งเพลง ง. ทา นั่ง ค. ตะโกนรอ งใหสุดเสยี ง ๒. ขอ ใดเปนทา นง่ั ท่เี หมาะสมในขณะรอ ง ง. นง่ั คุกเขาขณะรอ ง เพลงไทย ๗. การรอ งเพลงไทยสากล ควรเริม่ ฝก ขอ ใด ก. น่ังคกุ เขา ก. ฝก การเอ้อื นเสยี ง ข. นง่ั ขัดสมาธิ ข. ฝกเลนเครื่องดนตรี ค. น่ังชนั เขา ค. ฝกการเตน ตามจงั หวะ ✗ง. นัง่ พับเพยี บ ✗ง. ฝก รอ งตามจงั หวะทํานองเพลง ผฉสู บอับน ๓. ถาหายใจไมสอดคลองกับจังหวะทํานองเพลง ๘. เพลงใดเกี่ยวของกับการดนสด จะเกดิ ผลในขอ ใด ก. เพลงลอยกระทง ก. เสยี งตา่ํ ลง ข. เพลงพรปใหม ข. เสยี งสงู ขนึ้ ✗ค. เพลงลําตัด ✗ค. เสยี งขาดหายไป ง. เพลงเราสู ง. เสยี งกังวานข้นึ ๙. ขอ ใดเปน การใชเครอ่ื งดนตรีสรางสรรค ๔. กอนรอ งเพลงไทย ผรู อ งควรทาํ อยา งไร จังหวะเพลง ✗ก. ศึกษาเน้อื เพลง ก. บรรเลงใหถ ูกตองตามจงั หวะเพลง ข. จาํ ชอื่ นกั ดนตรี ข. บรรเลงใหถ ูกตองตามทํานองเพลง ค. จําช่อื เครือ่ งดนตรี ค. บรรเลงตามโนต เพลง ✗ง. บรรเลงใหเ รว็ กวา เดิม ง. อานโนตเพลงไทย ๕. การฝก ขับรอ งเพลงไทย ควรฝกรอ งเพลงใด ๑๐. การสรา งสรรคง านดนตรี ใหป ระโยชนข อ ใด ก. เพลงเราสู ✗ก. ทําใหไดผ ลงานดนตรรี ูปแบบใหม ข. เพลงใกลร งุ ข. ทาํ ใหไ ดร บั การยกยองจากคนอื่น ค. เพลงชาตไิ ทย ค. ทําใหด นตรมี คี วามไพเราะขึน้ ✗ง. เพลงลาวเดินดง ง . ทําใหเ พลงนั้นเปนทนี่ ยิ ม ๕๘ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä แบงกลุม ประดิษฐเครื่องดนตรมี า ๔-๕ ช้นิ แลวบรรเลงประกอบการรอ งเพลง ของกลมุ ตนเอง (ใหนกั เรียนเลอื กเพลงเอง) ๑) เพลงท่ีเลือก คอื เพลง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒) เคร่ืองดนตรีที่ประดษิ ฐ มดี งั น้� (๑) ประเภท………………………………………………………. ❍ เครอ่ื งดดี ❍ เครือ่ งสี ❍ เครื่องตี ❍ เครอื่ งเปา (๒) ประเภท………………………………………………………. ❍ เครอื่ งดดี ❍ เครอื่ งสี ❍ เครอ่ื งตี ❍ เครื่องเปา ประเภท(๓) ………………………………………………………. ❍ เคร่ืองดีด ❍ เครอ่ื งสี ❍ เคร่อื งตี ❍ เคร่ืองเปา (๔) ประเภท………………………………………………………. ❍ เครื่องดีด ❍ เคร่ืองสี ❍ เครื่องตี ❍ เครื่องเปา (๕) ประเภท………………………………………………………. ❍ เครอื่ งดีด ❍ เครอื่ งสี ❍ เครื่องตี ❍ เครอื่ งเปา ๓) ผลการบรรเลงเคร่ืองดนตรีประกอบเพลง (ใหค รหู รือเพ่ือนกลมุ อ่ืนประเมิน) รายการประเมิน ผลการประเมิน ผฉูสบอับน (๑) การใชงานไดจริงของเคร่อื งดนตรี ดี พอใช ควรปรับปรงุ (๒) ความสอดคลอ งกบั จงั หวะทํานอง (๓) ความคดิ สรางสรรคในการบรรเลง ขนึ้ อยูกับดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน.................................... .................................... ……………………………. (๔) ความไพเราะในการบรรเลง .................................... .................................... ……………………………. (๕) ความพรอมเพรียง .................................... .................................... ……………………………. .................................... .................................... ……………………………. .................................... .................................... ……………………………. ลงชอ่ื ……………………………………… ผปู ระเมิน กลุม ท…ี่ ………………………………. ๔) นกั เรียนพอใจกับการบรรเลงดนตรีของกลมุ ตนเองหรอื ไม ❍ พอใจ ❍ ไมพ อใจ เพราะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕) สง�ิ ทคี่ วรปรบั ปรงุ ในการบรรเลงเครือ่ งดนตรคี ร้ังตอ ไป คือ …………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö ๕๙

กา ✗ คาํ ตอบที่ถูกที่สุด แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ ๑ประจาํ หนวยการเรยี นรทู ่ี ä´Œ¤Ðá¹¹ ¤Ðá¹¹àµçÁ ñð ๑. องคประกอบทางดนตรีไมเกีย่ วขอ งกับขอใด ๖. ขอ ใดเปน เครือ่ งดนตรีของทอ งถิ่นภาคกลาง ก. จังหวะ ✗ก. กลองยาว ข. ฆอ งคู ข. ทํานอง ค. สะลอ ง. โปงลาง ค. รปู แบบของเพลง ๗. เคร่อื งดนตรขี อใด ใชต รี ว มขบวนแห ✗ง. จาํ นวนของผเู ลน ก. ขลยุ เพียงออ ๒. การสังเกตเสียงสงู และตํ่าของเพลงดูไดจ าก ✗ข. กลองยาว องคประกอบใด ค. ฆอ งวง ก. จังหวะ ง. จะเข ✗ข. ทาํ นอง ๘. เสยี งลา ในโนต เพลงไทยแทนดวย ค. การประสานเสยี ง สัญลักษณใ ด ผฉูสบอับน ง. รปู แบบของเพลง ก. ด ✗ข. ล คลอ หมายถงึ ขอใด ๓. ค. ท ง. ซ ✗ก. การบรรเลงดนตรตี ามทางรอง ๙. ตวั เขบต็ หนงึ่ ช้นั หมายถึงขอ ใด ข. การบรรเลงดนตรีลอ กับเพลง ก. ค. การขบั รองเสยี งตา่ํ กวาปกติ ง. การขบั รองเสยี งสงู กวาปกติ ข. ๔. การบรรเลงเครื่องดนตรีเพยี งชนิ้ เดียว ✗ค. เก่ยี วของกับศพั ทส งั คตี ขอ ใด ก. กวาด ข. ทอด ง. ✗ค. เดี่ยว ง. กรอ ๕. จากภาพ ๑๐. ขอใดเปนลกั ษณะเดนของการรองเพลงไทย เปนเครือ่ งดนตรี ✗ก. การเออื้ น ทอ งถ่ินใด ข. จังหวะ ก. ภาคเหนอื ✗ข. ภาคอีสาน ค. ทํานอง ค. ภาคกลาง ง. ภาคใต ง. ทาน่ัง ๖๐ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ẺºÑ¹·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШíÒ˹Nj  รายการวัดประเมินผลตามเปาหมายการเรยี นรู ประจาํ หนวยท่ี ๑ คําชีแ้ จง : ๑. ครกู ําหนดคะแนนเต็มของกจิ กรรมทตี่ องการวัดผลเพ่ือเก็บสะสม ๒. ครูนําคะแนนจากการวัดผลดานความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) ของนกั เรียนแตล ะคน กรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมนิ ๓. ชนิ้ งานทมี่ ีเครื่องหมาย * ใหใชป ระกอบการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนสื่อความ รายการประเมนิ รายการเครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผลการเรียนรูของนักเรยี น คะแนนรวมดา น ดานความรู (K) ดา นทักษะ/กระบวนการ (P) ดา นคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค (A) K/P/A ตวั ชวี้ ัดชนั้ ป.๖ หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมินผลสมั ฤทธ์ดิ า น K / P / A ศ ๒.๑ (๑) บรรยายเพลงที่ฟง โดย - ก.พฒั นาการคิด *บทที่ ๑ - แบบประเมินทกั ษะศลิ ปะ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ อาศยั องคป ระกอบดนตรแี ละศัพท ขอ ๑ เขยี นบรรยายถึง ท่พี ึงประสงค สงั คีต องคประกอบและศัพท สงั คีตของเพลงไทย ศ ๒.๑ (๒) จําแนกประเภทและ - ก.พฒั นาการคดิ บทท่ี ๒ - แบบประเมินทักษะศลิ ปะ - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ บทบาทหนา ท่เี คร่อื งดนตรไี ทยและ ขอ ๑ เขยี นชอื่ และบทบาท - แบบประเมินทักษะศิลปะ ท่ีพงึ ประสงค เครอ่ื งดนตรีท่ีมาจากวฒั นธรรม หนา ทขี่ องเครอื่ งดนตรไี ทย ตางๆ - ก. พฒั นาการคิด บทท่ี ๒ - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ ทพ่ี ึงประสงค ขอ ๒ เขียนชอื่ และหนา ที่ ของเครอื่ งดนตรีสากล ศ ๒.๑ (๓) อา น เขยี น โนตไทย - ก.พฒั นาการคิด บทท่ี ๓ - แบบประเมินทักษะศิลปะ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ และโนต สากลทาํ นองงายๆ ขอ ๑ ฟงเพลงลาวจอย ท่พี ึงประสงค ๒ ชนั้ แลว ฝก รอง - ก.พฒั นาการคดิ บทที่ ๓ - แบบประเมนิ ทักษะศิลปะ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผฉสู บอับน ขอ ๒ แลว ฝก รอ งเปน เสยี ง ท่พี ึงประสงค ตัวโนตและเขียนตัวโนต ศ ๒.๑ (๔) ใชเ คร่อื งดนตรบี รรเลง - ก.พัฒนาการคดิ บทที่ ๔ - แบบประเมินทักษะศลิ ปะ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ประกอบการรองเพลงดน สดทม่ี ี แบง กลมุ เลือกใชเคร่อื ง ทพ่ี งึ ประสงค จงั หวะและทาํ นองงา ยๆ ดนตรีประเภทเครอ่ื ง จงั หวะบรรเลงประกอบการ ขบั รอ งเพลงท่ชี ่นื ชอบ ศ ๒.๑ (๕) บรรยายความรสู กึ ท่มี ี - ก.พัฒนาการคิด บทท่ี ๑ - แบบประเมนิ ทกั ษะศลิ ปะ - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ตอดนตรี ขอ ๒ เลอื กฟง เพลงไทย ที่พึงประสงค ศ ๒.๑ (๖) แสดงความคดิ เหน็ หรอื เพลงสากลมา ๑ เพลง เก่ยี วกบั ทาํ นอง จงั หวะ การ แลวเขยี นบรรยายความ ประสานเสยี ง และคุณภาพเสยี ง รสู กึ และแสดงความคดิ เหน็ ของเพลงทีฟ่ ง สวนท่ี ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดา นผลการเรียนตามตวั ชีว้ ัด สวนท่ี ๒ คะแนนจากการประเมินตนเองของนกั เรยี น ผลงานกิจกรรมบรู ณาการฯ ที่นักเรียนปฏิบัติ ชอ่ื งาน .................................................................................. สวนที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธผิ ลประจําหนวย การทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ประจาํ หนวยท่ี ๑ สรุปผลการประเมินพัฒนาการเรียนรูประจําหนว ย ผาน ไมผาน ๒ พอใช ขอเสนอแนะ ............................................................................................................... ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ผานเกณฑประเมิน ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ......................................................................................................................................... ลงชื่อ ........................................................................................................ ผูประเมิน ................... / ................... / ................... ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทําขึ้นก็ได ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö ๖๑

˹Çè ¡ÒÃàÃÕ¹ÃéÙ·Õè ๒´¹µÃÕä·Â¡Ñº»ÃÐÇѵÔÈÒʵÃìä·Â ผฉูสบอับน แผนผงั ความคิดประจําหนว ยการเรยี นรูท ่ี ๒ เปา หมายการเรยี นรูประจําหนว ยที่ ๒ กับปรดะนวัตติศรีไาทสตยรไ ทย เมื่อเรยี นจบหนวยน้� ผเู รียนจะมีความรูค วามสามารถตอ ไปน�้ ดทน่ีมตารขไี ทอยง ๑. อธิบายเร่อื งราวของดนตรีไทยในประวตั ิศาสตร ๒. จําแนกดนตรีท่ีมาจากยุคสมยั ที่ตางกัน ประวตั แิ ละวิวัฒนาการ ๓. อภปิ รายอทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมตอดนตรีในทอ งถนิ� ของดนตรีไทย คุณภาพท่พี งึ ประสงคของผูเ รยี น อิทธิพลของวัฒนธรรม ๑. รูและเขา ใจเรอื่ งราวดนตรีในประวตั ิศาสตร ตอดนตรีทองถน�ิ ๒. รแู ละเขา ใจอิทธิพลของวัฒนธรรมตอ ดนตรี ๖๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

º··èÕ ñ ·èÕÁҢͧ´¹µÃäÕ ·Â ขอบขายสาระการเรยี นรูแกนกลาง รายวิชาศลิ ปะ ชั้น ป.๖ ตัวชี้วดั ชน้ั ป สาระพืน้ ฐาน ความรฝู ง แนน ตดิ ตัวผูเรยี น ● ดนตรีไทย ถือกําเนิดมาต้ังแตสมัย มฐ. ศ ๒.๒ (๑) อธบิ ายเรือ่ งราวของ ● ประวัติและวิวฒั นาการของดนตรีไทย ดนตรีไทยในประวัตศิ าสตร ● อทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมตอ ดนตรที อ งถน่ิ โบราณกอนอาณาจักรสุโขทัย และมี มฐ. ศ ๒.๒ (๒) จําแนกดนตรีทมี่ าจาก การพัฒนามาตอเนื่อง สอดคลองกับ ยคุ สมัยทีต่ างกนั วฒั นธรรมของคนในทองถิ่น มฐ. ศ ๒.๒ (๓) อภปิ รายอิทธิพลของ วัฒนธรรมตอดนตรีในทองถิ่น ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹Óʡً ÒÃàÃÂÕ ¹ ผฉูสบอับน à¾×èÍ¹æ ºÍ¡ä´ŒäËÁ¤ÃѺÇÒ‹ à¤ÃèÍ× §´¹µÃäÕ ·Â·Õàè Ëç¹ã¹ÀÒ¾ ¹‹Ò¨ÐÁÕ·ÕÁè Ò¨Ò¡ÍÐäúŒÒ§ ๖๓´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ñ. »ÃÐÇѵÔáÅÐÇÔÇ²Ñ ¹Ò¡Òâͧ´¹µÃäÕ ·Â ดนตรีไทยมีกําเนิดมาต้ังแตสมัยโบราณ ซึ่งจากการสันนิษฐานของผูเชี่ยวชาญดาน ดนตรแี ละประวตั ิศาสตร ไดใหแ นวคิดเกี่ยวกบั การกําเนดิ หรือทมี่ าของดนตรไี ทย ดังนี้ á¹Ç¤Ô´·Õè ñ สันนิษฐานวา ดนตรีไทย ไดแบบอยางมาจากอินเดีย เนื่องจากอินเดียเปนแหลง อารยธรรมโบราณที่สําคัญแหงหน่ึงของโลก อารยธรรมตางๆ ของอินเดียไดเขามามีอิทธิพล ตอประเทศตางๆ ในแถบเอเชียอยางมาก ท้ังในดานศาสนา ประเพณี ความเชื่อ ตลอดจน ศิลปะแขนงตางๆ โดยเฉพาะทางดานดนตรี ดังจะเห็นไดจากรูปรางลักษณะเครื่องดนตรีของ ประเทศตางๆ ในแถบเอเชีย เชน จีน เขมร พมา อินโดนีเซีย และมาเลเซีย มีลักษณะ คลายคลึงกันเปนสวนมาก เน่ืองจากประเทศเหลานี้ตางก็ยึดแบบฉบับดนตรีของอินเดียเปน บรรทัดฐานรวมท้ังประเทศไทยดวย เหตุผลสําคัญที่สนับสนุนแนวคิดน้ีคือ ลักษณะของเครื่อง ดนตรีไทยสามารถจาํ แนกเปน ๔ ประเภท คือ เครื่องดีด เครือ่ งสี เครอ่ื งตี และเครือ่ งเปา ซึ่ง ผฉูสบอบั นใเคกรล่ือเ คงยีดงนกตับรลีอักอษกณเปะนเค๔รอ่ื ปงดระนเตภรทขี อเชงนอนิเดเียดวียกตนัามมทดี กี่ งั ลนา ้ีวไวใ นคัมภีร “สังคตี รตั นากร” ทีจ่ ําแนก ๑. ตะตะ คอื เครื่องดนตรี ประเภทมสี าย ๒. สษุ ริ ะ คือ เครื่องเปา เปน คมั ภีรทางดนตรขี องอนิ เดีย มีชอ่ื วา Sangita-Ratanakara โดย ศถงคเทวะ ๓. อะวะนัทธะ หรอื อาตตะ คือ เครื่องหมุ หนงั หรอื กลองตา งๆ ๔. ฆะนะ คอื เครือ่ งตีหรือเครอ่ื งกระทบ การสันนิษฐานเก่ียวกับการกําเนิดหรือที่มาของดนตรีไทยตามแนวคิดขอนี้ เปน แนวคิดที่มีมาแตเดิม ซึ่งเปนแนวคิดที่ไดรับการนํามากลาวอางกันมาก บุคคลสําคัญที่เปน ผูเสนอแนวทางนี้ คอื สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ á¹Ç¤Ô´·Õè ò สันนิษฐานวา ดนตรีไทยเกิดมาจากความคิดและสติปญญาของคนไทยที่มีพรอมกับ คนไทยต้ังแตสมัยท่ียังอยูทางตอนใตของประเทศจีนแลว ทั้งนี้เนื่องจากดนตรีเปนมรดกของ มนุษยชาติ ทุกชาติทุกภาษาตางก็มีดนตรีซ่ึงเปนเอกลักษณของตนดวยกันทั้งน้ัน ถึงแมวาใน ภายหลังจะมีการรับเอาแบบอยางดนตรีของตางชาติเขามาก็ตาม แตก็เปนการนําเขามา ปรบั ปรุงเปลย่ี นแปลงใหเ หมาะสมกบั ลักษณะและนสิ ัยทางดนตรขี องคนในชาตนิ ้นั ๆ ๖๔ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

เปนเครื่องดนตรีที่ใชตีรวมกับวงปพาทยในการแสดงโขนกลางแปลง เชน ในการบรรเลงเพลงเชดิ แนวคิดน้ีไดใหขอสันนิษฐานไววา คนไทยในสมัยท่ียังอยูทางตอนใตของประเทศจีน ก็คงจะมีดนตรีของตนเองเกิดข้ึนแลว ท้ังน้ี จะสังเกตเห็นไดวา เครื่องดนตรีดั้งเดิมของไทย จะมีช่ือเรียกเปนคําโดด ซึ่งเปนลักษณะของคําไทยแท เชน เกราะ โกรง กรับ ฉาบ ฉ่ิง ป เปนตน ในเวลาตอ มาเม่ือคนไทยไดอพยพลงมาต้งั ถน่ิ ฐานในแถบแหลมอนิ โดจนี จงึ ไดมาพบ วัฒนธรรมแบบอินเดีย โดยเฉพาะเครื่องดนตรีอินเดีย ซ่ึงชนชาติมอญและเขมรรับไวกอนท่ี ไทยจะอพยพเขามา ดวยเหตุน้ีชนชาติไทยซ่ึงมีอุปนิสัยรักงานดนตรีอยูแลว จึงรับเอา วัฒนธรรมทางดนตรีแบบอินเดีย ผสมกับแบบมอญและเขมร เขามาผสมผสานกับดนตรี ดั้งเดิมของตนจึงเกิดเครื่องดนตรีเพิ่มข้ึนอีก ไดแก พิณ สังข ปไฉน บัณเฑาะว กระจับป จะเข เปน ตน เม่ือคนไทยไดต้ังถิ่นฐานอยูในแหลมอินโดจีนอยางมั่นคงแลว ไดมีการติดตอสัมพันธ กับประเทศเพ่ือนบานในแหลมอินโดจีน หรือแมแตกับประเทศตะวันตกท่ีเขามาติดตอคาขาย ทาํ ใหไ ทยรับเอาเครอื่ งดนตรบี างอยางของประเทศเหลา นัน้ มาใชเลนในวงดนตรไี ทยดว ย เชน ● กลองแขก ปช วา ของชวา (อนิ โดนเี ซยี ) ● กลองมลายู ของมลายู (มาเลเซีย) ผฉสู บอับน ● เปงมาง ตะโพนมอญ ปม อญ และฆอ งมอญ ของมอญ ● กลองยาว ของพมา ● ขิม มา ลอ ของจีน ● กลองมรกิ ัน ของชาวอเมริกัน ● เปย โน ออรแ กน และไวโอลิน ของชาวตะวันตก นับตั้งแตไทยไดมาต้ังถิ่นฐานในแหลมอินโดจีนและไดกอต้ังอาณาจักรไทยขึ้น จึงถือ เปน การเรม่ิ ตน ประวัตศิ าสตรไ ทย จากหลักฐานทป่ี รากฏเปนลายลกั ษณอกั ษร ไดกลาวถงึ การ สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้น และหลังจากที่พอขุนรามคําแหงมหาราชไดประดิษฐอักษรไทย ขึ้นใชแลว จึงปรากฏหลักฐานดานดนตรีไทยท่ีเปนลายลักษณอักษร ทั้งในหลักศิลาจารึก หนังสือวรรณคดี และเอกสารทางประวัติศาสตรในแตละยุค ซึ่งสามารถนํามาใชเปนหลักฐา นในการอางอิงในเรื่องวิวัฒนาการของดนตรีไทยตั้งแตสมัยสุโขทัย เปนตนมา ซ่ึงพอสรุปได ดังตอ ไปน้ี ๖๕´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

๑. สมยั สุโขทยั ระฆังวงเดือน หลอ จากสัมฤทธห์ิ รือทองเหลอื ง ใชเ ปน เครื่องตบี อกสัญญาณ ของพระสงฆในสมัยโบราณ และใชประกอบการบรรเลงดนตรบี างโอกาส ดนตรีไทยมีลักษณะเปนการขับลํานําและรองเลนอยางพ้ืนเมือง เครื่องดนตรีไทย ในสมัยนที้ ่ีปรากฏหลกั ฐานกลาวถงึ ไวในหนังสอื ไตรภมู พิ ระรว ง ซ่งึ เปนหนงั สอื วรรณคดที แ่ี ตง ในสมัยนี้ เชน แตร สังข มโหระทึก ฆอง กลอง ฉง่ิ แฉง(ฉาบ) บัณเฑาะว พณิ ซอพงุ ตอ (สนั นษิ ฐานวา คอื ซอสามสาย) ปไ ฉน ระฆัง และกังสดาล เปน ตน ลกั ษณะการผสมวงดนตรี มีปรากฏหลกั ฐานท้ังในศลิ าจารึกและหนังสอื ไตรภูมพิ ระรวง กลาวถงึ “เสยี งพาทย เสียงพิณ” ซึ่งจากหลักฐานดังกลา วน้ี สันนษิ ฐานวา วงดนตรีไทยในสมยั สุโขทัย นา จะมดี ังนี้ ๑) วงบรรเลงพิณ มีผูบรรเลง ๑ คน ทําหนาที่ในการดีดพิณและขับรองไปดวย เปน ลกั ษณะของการขบั ลาํ นาํ เสียงท่ีสั้น-ยาว หนัก-เบา ของการขับรอง หรือการบรรเลงดนตรีทั้งใน การดาํ เนินทํานองและกาํ กับจงั หวะทมี่ ีสวนสดั เหมาะสม ชดั เจน ๒) วงขับไม ประกอบดวยผบู รรเลง ๓ คน คือ คนขับลาํ นาํ คนสซี อสามสายคลอ เสียงรอง และคนไกวบัณเฑาะว ใหจ ังหวะ ๓) วงปพ าทย เปนลักษณะของวงปพาทยเ ครือ่ งหา มี ๒ ชนดิ คอื (๑) วงปพาทยเครื่องหาอยางเบา เปนวงดนตรีท่ีใชบรรเลงประกอบการแสดง ละครชาตรี (เปนละครเกาแกท่ีสุดของไทย) ประกอบไปดวยเครื่องดนตรีชนิดเล็กๆ จํานวน ผฉสู บอบั น๕ ช้นิ คือ ๑. ป ๒. กลองชาตรี ๓. ทบั (โทน) ๔. ฆอ งคู ๕. ฉิ่ง (๒) วงปพ าทยเ ครอื่ งหา อยา งหนกั เปน วงดนตรที ใี่ ชบ รรเลงประโคมในงานพิธี และบรรเลงประกอบการแสดงมหรสพตางๆ ซึ่งประกอบดวยเครื่องดนตรีจํานวน ๕ ช้ิน คือ ๑. ปใ น ๒. ฆองวงใหญ ๓. ตะโพน ๔. กลองทัด ๕. ฉิง่ จะเหน็ วา วงปพาทยเ คร่อื งหา ในสมยั น้ยี ังไมม ีระนาดเอก ๔) วงมโหรี เปนลักษณะของวงดนตรีอีกรูปแบบหน่ึง ท่ีนําเอาวงบรรเลงพิณกับ วงขบั ไมมาผสมกัน เปนลักษณะของวงมโหรเี คร่ืองส่ี เพราะประกอบดวยผบู รรเลง ๔ คน คอื ๑. คนขับลํานาํ และตกี รบั พวงใหจ งั หวะ ๒. คนสีซอสามสายคลอเสยี งรอง ๓. คนดีดพณิ ๔. คนตีทบั (โทน) ควบคุมจังหวะ ๖๖ ▲ วงมโหรเี ครือ่ งสี่ เปนวงดนตรไี ทยทีบ่ รรเลงดวยเคร่ืองดนตรไี ทยส่ีชิ้น ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

เปนขอบัญญัติพิเศษเก่ียวกับพระราชฐาน พระราชวงศ และระเบยี บการปกครองในราชสํานัก ๒. สมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา ดนตรีไทยในสมัยนี้ ไดปรากฏเปนหลักฐานอยูในกฎมนเทียรบาล ซึ่งระบุช่ือของ เครื่องดนตรีไทยเพ่ิมขึ้นจากท่ีเคยระบุไวในหลักฐานสมัยสุโขทัย นาจะเปนเคร่ืองดนตรีท่ีเพิ่ง เกิดในสมัยน้ี ไดแก กระจับป ขลุย จะเข และรํามะนา นอกจากนี้ ในกฎมนเทียรบาลสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑-๒๐๓๑) ปรากฏขอหามตอนหนึ่งวา “...หามรอง เพลงเรือ เปาขลุย เปาป สีซอ ดีดกระจับป ดีดจะเข ตีโทนทับ ในเขตพระราชฐาน...” ซ่ึงแสดงวา สมัยนี้ดนตรีไทยเปนที่นิยมกันมาก แมในเขตพระราชฐานก็มีคนไปรองเพลงและเลนดนตรี กันเปนที่เอิกเกริกและเกินพอดี จนกระทั่งพระมหากษัตริยตองทรงออกกฎมนเทียรบาล ดงั กลาวขึ้นไว วงดนตรีไทยในสมัยนมี้ ีการเปลีย่ นแปลงและพฒั นาขึน้ กวา ในสมัยสโุ ขทยั ดังนี้ ๑) วงปพาทย ในสมัยน้ีก็ยังคงเปนวงปพาทยเครื่องหาเชนเดียวกับในสมัยสุโขทัย แตม รี ะนาดเอกเพม่ิ ขนึ้ ดังนั้น เคร่ืองดนตรขี องวงปพ าทยเครอ่ื งหาในสมยั น้ี จงึ ประกอบดว ย ระนาดเอก ปใ น ฆองวงใหญ กลองทัด ตะโพน ฉ่งิ ๒) วงมโหรี ไดมีการพัฒนามาจากวงมโหรีเคร่ืองส่ีในสมัยสุโขทัย เปนวงมโหรี เครือ่ งหก เพราะไดเ พ่ิมเครื่องดนตรีเขาไปอกี ๒ ชนิ้ คือ ขลุย และรํามะนา (ทแําทในหพวงิณม)โหขรลใี นุยผฉสู บอบั น สมัยน้ีประกอบดวยเครื่องดนตรีจํานวน ๖ ช้ิน คือ ซอสามสาย กระจับป ทับ(โทน) รํามะนา กรบั พวง ▲ วงมโหรีเครอ่ื งหก เปนวงดนตรีไทยท่บี รรเลงดว ยเครือ่ งดนตรีไทยหกชนิ้ ๓. สมยั กรงุ ธนบุรี เน่ืองจากในสมัยน้ีเปนชวงระยะเวลาอันส้ันเพียงแค ๑๕ ป ประกอบกับเปนสมัย แหงการกอสรางบานเมืองและการปองกันประเทศเปนสวนมาก วงดนตรีไทยในสมัยน้ีจึงไมมี ปรากฏหลักฐานไวว าไดม กี ารพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงอยา งไรบาง ๖๗´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

๔. สมยั กรงุ รัตนโกสนิ ทร ในสมัยนี้บานเมืองไดผานพนจากภาวะศึกสงคราม และไดมีการกอสรางเมืองให มั่นคงเปนปกแผน เกิดความสงบรมเย็นทั่วไปแลว ศิลปวัฒนธรรมของชาติก็ไดรับการฟนฟู ทะนุบํารุงและสงเสริมใหเจริญรุงเรืองขึ้นโดยเฉพาะทางดานดนตรีไทย สมัยน้ีจึงไดมีการ พัฒนาเปล่ยี นแปลงดนตรไี ทยใหเ จรญิ ขึ้นเปน ลําดบั ดงั นี้ สมัยรัชกาลท่ี ๑ ดนตรีไทยในสมัยนี้สวนใหญ ยังคงมีลักษณะและรูปแบบตามที่ มีมาตั้งแตสมยั กรุงศรอี ยุธยา มที ีพ่ ฒั นาขนึ้ บางคือ การเพิม่ กลองทัดอกี ๑ ลกู ในวงปพ าทย ซึ่งแตเดิมมามีแค ๑ ลูก พอมาถึงสมัยรัชกาลท่ี ๑ วงปพาทยมีกลองทัด ๒ ลูก (เสียงสูง (ตวั ผู) ๑ ลกู และเสยี งตํ่า (ตวั เมยี ) ๑ ลูก) และการใชก ลองทัด ๒ ลูก ในวงปพ าทย ก็เปน ที่ นยิ มกนั มากจนกระท่ังปจจบุ ันน้ี สมยั รัชกาลท่ี ๒ ในสมยั นถี้ อื วา เปน ยคุ ทองของดนตรีไทยยุคหน่งึ ทั้งนี้เพราะองค พระมหากษัตริยทรงสนพระทัยดนตรีไทยเปนอยางย่ิง พระองคทรงพระปรีชาสามารถในทาง ดนตรไี ทย คือ ซอสามสาย ไดม ีซอคูพระหัตถชอ่ื วา “ซอสายฟาฟาด” นอกจากนีพ้ ระองคยัง ผฉูสบอับนไเพดลพงระ“รบาหุ ชลนันิพลนอธยเเพลล่อื งนไ”ทยข้ึนเพลงหนึ่ง เปนเพลงท่ีไพเราะและเปนอมตะมาจนทุกวันนี้ คือ การพัฒนาและเปล่ียนแปลงของดนตรีไทยในสมัยนี้ ไดแก การนําเอาวงปพาทย มาบรรเลงประกอบการขับเสภาเปนครั้งแรก นอกจากน้ี ยังมีกลองชนิดหน่ึงเกิดข้ึน โดยได ดัดแปลงจาก “เปงมาง” ของมอญ ตอมาเรียกกลองชนิดนี้วา “กลองสองหนา” ใชตีกํากับ จังหวะแทนเสียงตะโพนในวงปพาทยประกอบการขับเสภา เน่ืองจากเห็นวาตะโพนดังเกินไป จนกระท่ังกลบเสียงขับรอง ปจจุบันนิยมใชกลองสองหนาตีกํากับจังหวะหนาทับในวงปพาทย- ไมแ ขง็ สมัยรัชกาลที่ ๓ การพัฒนาและเปลี่ยนแปลงของวงดนตรีไทยในสมัยน้ี ไดแก การพัฒนาวงปพ าทยใ หพัฒนาขน้ึ เปน วงปพาทยเครื่องคู เพราะไดมกี ารประดิษฐร ะนาดทุมมา คกู บั ระนาดเอก และประดษิ ฐฆองวงเล็กมาคกู บั ฆองวงใหญ สมัยรัชกาลที่ ๔ การเปล่ียนแปลงของดนตรีไทยในสมัยนี้ ไดแก มีการปรับปรุง วงปพาทยใหพัฒนาข้ึนเปนวงปพาทยเครื่องใหญ เพราะไดมีการประดิษฐเคร่ืองดนตรีเพิ่มข้ึน อกี ๒ ชนดิ เลียนแบบระนาดเอกและระนาดทมุ โดยใชโ ลหะทาํ ลกู ระนาดและทาํ รางระนาดให แตกตางไปจากรางของระนาดเอกและระนาดทุมท่ีทําจากไม เรียกวา ระนาดเอกเหล็กและ ๖๘ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ระนาดทุมเหล็ก นํามาบรรเลงเพิ่มในวงปพาทยเครื่องคู ทําใหขนาดของวงปพาทยขยาย ใหญข้ึน จึงเรยี กวา วงปพ าทยเครอ่ื งใหญ ในสมัยนี้นิยมการรองเพลงสงใหดนตรีรับกันมาก หรือท่ีเรียกกันวา “การรองสง” จนทําใหการขับเสภาซึ่งเคยนิยมกันมากอนคอยๆ หายไป และการรองสงก็เปนแนวทางใหมี ผูคิดแตงขยายเพลง ๒ ชั้นของเดิมใหเปนเพลง ๓ ช้ัน และตัดลงเปนช้ันเดียว จนกระท่ัง กลายมาเปนเพลงเถาในที่สุด (ซ่ึงเพลงเถาเกิดขึ้นมากมายในสมัยนี้) นอกจากน้ียังมีวง เครื่องสายเกดิ ขึน้ มาดวยในสมยั น้เี ชนกนั สมัยรัชกาลท่ี ๕ ไดมีการปรับปรุงวงปพาทยขึ้นใหมอีกประเภทหนึ่ง ซ่ึงตอมา เรียกวา “วงปพาทยดึกดําบรรพ” โดยเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ สําหรับใชบรรเลง ประกอบการแสดง “ละครดึกดําบรรพ” ซึ่งเปนละครท่ีเพ่ิงเกิดขึ้นในสมัยน้ีเชนกัน หลักการ ปรับปรุงของทาน คือ ตัดเคร่ืองดนตรีชนิดเสียงเล็กแหลมหรือดังเกินไปออก คงไวแตเคร่ือง ดนตรที ่มี ีเสียงทุม นมุ นวล กับเพิ่มเครอ่ื งดนตรีบางอยา งเขา มาใหม เคร่อื งดนตรีในวงปพาทย ดึกดําบรรพ จงึ ประกอบดวยระนาดเอก ฆองวงใหญ ระนาดทมุ ระนาดทมุ เหลก็ ขลยุ ซออู ฆอ งหุย (ฆอ ง ๗ ใบ) ตะโพน กลองตะโพน และเครื่องกํากบั จงั หวะ สมัยรัชกาลท่ี ๖ ไดมีการปรับปรุงวงปพาทยข้ึนมาอีกประเภทหน่ึง โดยนําวงผฉสู บอบั น ดนตรีของมอญมาผสมกับวงปพาทยของไทย ตอมาเรียกวงดนตรีผสมนี้วา “วงปพาทยมอญ” โดยหลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เปน ผปู รับปรงุ วงปพ าทยม อญมที ง้ั วงปพ าทยม อญ เคร่ืองหา เคร่ืองคู และเคร่ืองใหญ เชนเดยี วกับวงปพ าทยข องไทย และเปนทน่ี ิยมใชบ รรเลง ประโคมในงานศพ มาจนกระท่ังถึงทุกวันนี้ นอกจากนี้ยังไดมีการนําเคร่ืองดนตรีของตางชาติ เขามาบรรเลงผสมกับวงดนตรีไทย บางชนิดก็นํามาดัดแปลงใหเปนเครื่องดนตรีของไทย ทําใหร ูปแบบของวงดนตรีไทย เปลี่ยนแปลงและพฒั นา ดงั นี้ ๑) การนาํ เครื่องดนตรีของชวาหรอื อินโดนีเซยี คือ “องั กะลุง” มาเผยแพรใ นไทย เปนครั้งแรก โดยหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ซึ่งนํามาดัดแปลง และปรับปรุง ข้นึ ใหม ใหม เี สียงครบ ๗ เสยี ง (เดมิ มี ๕ เสยี ง) และปรบั ปรงุ วิธกี ารเลน โดยถือเขยาคนละ ๒ เสียงทําใหเคร่ืองดนตรีชนิดนี้ ไดกลายเปนเครื่องดนตรีไทยอีกชนิดหน่ึง เพราะคนไทย สามารถทาํ อังกะลงุ ไดเ อง อกี ท้ังวธิ กี ารบรรเลงกเ็ ปน แบบเฉพาะของไทย แตกตา งไปจากของ ชวาโดยสน้ิ เชงิ ๖๙´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๒) การนําเคร่ืองดนตรีของตางชาติเขามาบรรเลงผสมในวงเคร่ืองสาย ไดแก ขิม ของจีน และออรแกนของฝรั่ง ทําใหวงเคร่ืองสายไดพัฒนารูปแบบของวงไปอีกลักษณะหนึ่ง คอื “วงเคร่ืองสายผสม” สมัยรัชกาลท่ี ๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจา อยหู ัว ไดท รงสนพระทัยทางดาน ดนตรีไทยมาก พระองคไดพระราชนิพนธเพลงไทยไวถึง ๓ เพลง คือ เพลงโหมโรงคลื่น- กระทบฝง ๓ ช้ัน เพลงเขมรลออองค (เถา) และเพลงราตรีประดบั ดาว (เถา) พระองคแ ละ พระราชินีไดโปรดใหครูดนตรีเขาไปถวายการสอนดนตรีในวัง ตอมาไดมีเหตุการณการ เปล่ียนแปลงการปกครอง รัชกาลที่ ๗ จึงทรงสละราชบัลลังก ทําใหการพัฒนาดานดนตรี หยุดชะงักไป อยางไรก็ตามดนตรีไทยในสมัยรัชกาลนี้ ไดพัฒนารูปแบบและอื่นๆ จนกระท่ัง สมบูรณเปน แบบแผนดังเชน ในปจ จบุ นั นี้ ในสมัยปจจุบนั ไดม กี ารสงเสริมการอนรุ ักษวัฒนธรรมไทยมากข้นึ โดยเฉพาะการ รักษาและสงเสริมการเลนดนตรีไทยใหคงอยูและแพรหลาย เพราะดนตรีไทยถือเปนมรดกทาง วัฒนธรรมอยางหนึ่งของไทย และใชประกอบการแสดงนาฏศิลปไทย รวมท้ังเปนส่ิงหน่ึงท่ี คนไทยจะตองภูมิใจในภูมิปญญาของบรรพบุรุษไทยในอดีต การทําใหเยาวชนไทยไดเห็น ผฉูสบอับน คุณคาของดนตรไี ทย จะชว ยทาํ ใหดนตรีไทยอยคู ูกบั ไทยและพัฒนาตอ ไปในวนั ขา งหนา ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ แบง กลุม ศกึ ษาคนควา ประวัติการดนตรไี ทย แลวเขียนช่อื เครอ่ื งดนตรี ในแตละยคุ สมยั ลงในกรอบ (ตวั อยา ง) ๑) สมัยสุโขทัย ๒) สมัยอยธุ ยา ๓) สมยั รัตนโกสนิ ทร ซอสามสาย........................................................................................ ระนาดเอก........................................................................................ กลองทัด........................................................................................ บัณเฑาะว........................................................................................ ปใ น........................................................................................ ซอสามสาย........................................................................................ กลองชาตรี........................................................................................ ฆองวงใหญ........................................................................................ ระนาดเอกเหลก็........................................................................................ ทับ(โทน)........................................................................................ ราํ มะนา........................................................................................ ระนาดเอกทมุ........................................................................................ ฯลฯ........................................................................................ ฯลฯ........................................................................................ ฯลฯ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ๗๐ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ò. Í·Ô ¸¾Ô ŢͧÇѲ¹¸ÃÃÁµÍ‹ ´¹µÃ·Õ ŒÍ§¶¹èÔ ดนตรีนับเปนมรดกทางวัฒนธรรมอยางหน่ึงของแตละสังคม ที่บรรพบุรุษของสังคม ชุมชนน้ันๆ ไดสรางสรรคพัฒนาและสืบตอกันมาอยางตอเน่ืองจนกระท่ังกลายเปนเอกลักษณ หรือลักษณะเฉพาะ ท่ีสะทอนรูปแบบวัฒนธรรมของสังคมหรือชุมชน บานเมืองหรือสังคม น้ันๆ เชน ดนตรีของภาคเหนือยอมแตกตางจากดนตรีของภาคใต แมจะเปนมรดกศิลป- วัฒนธรรมไทยเหมือนกัน แตถาเราไดสัมผัสไมวาจะเปนทางตา หรือทางหู เราก็จะสามารถ จาํ แนกแยกแยะไดว า เปน ดนตรขี องทองถ่นิ ใด เปนกลองพื้นเมืองภาคเหนือชนิดหนึ่ง เรียกอีกอยางวา กลองกนยาว มักใชแสดง ในงานบุญของวดั ทางภาคเหนอื โดยเฉพาะชาวไทยใหญท อี่ าศยั อยูใ น จ. แมฮ องสอน ๑. ดนตรีทองถิ่นภาคเหนอื ดนตรีพื้นบานของภาคเหนือมี ลักษณะเดน คือ มีความออนหวาน นุมนวล ไพเราะ มีท้ังการขับรองเพลง การบรรเลง ดนตรีเด่ียวและวงโดยใชเครื่องดนตรีทองถิ่น ภาคเหนือ ซึ่งสะทอนใหเ ห็นถึงวัฒนธรรม วถิ ี ชีวิตของชาวเหนือท่ีมีจิตใจออนโยน ตามวิถี ผฉสู บอบั น ชีวิตท่ีเรียบงายกลมกลืนกับธรรมชาติที่มีความ อุดมสมบรู ณ ▲ ลลี าการตกี ลองปเู จ เปน การแสดงดนตรีอยา งหนึ�ง ของคนทอ งถิน� ภาคเหนอ� ๒. ดนตรที อ งถิ่นภาคอีสาน ภาคอีสาน เปนทองถ่ินที่มีวัฒนธรรมหลากหลาย เพราะมีอาณาเขตติดตอกับ ประเทศเพื่อนบาน คือ ประเทศลาวและ ประเทศกัมพูชา จึงไดรับอิทธิพลทางดาน วัฒนธรรมมาจากประเทศเพ่ือนบานดวย คนทองถ่ินภาคอีสาน มีความเรียบงาย สนุกสนานตามวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของ คนในภูมิภาค การแสดงดนตรีของภาคอีสาน สวนมากเนนความสนุกสนาน และอาจใช ดนตรีบรรเลงประกอบการแสดงในประเพณี และพิธีกรรมตางๆ อีกดวย ▲ พณิ อสี าน เปนเครื่องดนตรที น่ี ยิ มเลนในวงดนตรีพื้นบาน ทอ งถน�ิ ภาคอสี าน ซ�งึ ใหเ สียงบรรเลงทีส่ นุกสนาน เรา ใจ ๗๑´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๓. ดนตรที อ งถิน่ ภาคกลาง ดนตรีพื้นบานภาคกลาง มีลักษณะเดนเนนความสนุกสนาน ครื้นเครง สะทอน ความเปนอยูและอาชีพ ซึ่งสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมและมีนิสัยรักความสนุกสนาน เชน เพลงเกี่ยวขาว สะทอนใหเห็นถึงการประกอบอาชีพเกษตรกรรม การแสดงรํากลองยาว สะทอ นใหเห็นถงึ ความสนกุ สนานของคนทองถน่ิ ภาคกลาง เปน ตน ผฉูสบอับน ▲ รํากลองยาว เปนการแสดงการเลนดนตรขี องคนในทอ งถ�ินภาคกลางอยางหน�ึงท่ีใหค วามสนกุ สนาน เพลิดเพลนิ ๔. ดนตรที องถ่นิ ภาคใต ▲ ดนตรที ่ีใชประกอบการแสดงโนรา มจี ังหวะเรว็ เรา ใจ ดนตรีพื้นบานภาคใต มีทั้งใชใน ในขณะที่ทารา ยราํ ของผูแสดงโนรา มลี กั ษณะออนชอย และวองไว พธิ ีกรรมและงานเทศกาล เชน ปก าหลอ มกั ใชเลนในงานศพ ดนตรีทองถ่ินภาคใตมักมี ทํานองเพลงสนุกสนาน จังหวะเราใจ คึกคัก แสดงใหเห็นถึงชีวิตของคนภาคใตท่ีมีความ สนุกสนาน แข็งแกรง แข็งแรง แตแฝงไป ดวยความออนชอย เชน การบรรเลงดนตรี ประกอบการแสดงโนรา ท่ีมีทวงทํานอง ไพเราะ และสอดคลองกับทารําที่มีลีลาการ รายรําทีอ่ อ นชอย งดงาม เปนตน ๗๒ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò แบงกลุม ศึกษาลักษณะวงดนตรพี ้ืนบานทอ งถ�นิ ตางๆ แลว ยกตัวอยางวงดนตรี ทอ งถ�ินละ ๑ วง พรอมเขียนชอ่ื เครือ่ งดนตรที ่ีใชบ รรเลง (ตวั อยา ง) วงดนตรีทอ งถิ�นภาคเหน�อ วงดนตรที อ งถ�ินภาคอสี าน (๑) ชอ่ื วงดนตรี คอื วงกลองปเู จ………………………………………………………… (๑) ชอ่ื วงดนตรี คือ วงโปงลาง………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………….. (๒)เครอ่ื งดนตรีใชบรรเลง ประกอบดวย (๒)เครือ่ งดนตรใี ชบ รรเลง ประกอบดว ย กลองปเู จ ฉาบ ฆอง............................................................................................................................... โปงลาง แคน ฉิง่ พิณอีสาน............................................................................................................................... พณิ ไห กลองตึง้............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ผฉูสบอบั น (๓) โอกาสท่ีใชแสดง คือ …ใ…ช…แ…ส……ด…ง…ใ…น……ง…า…น……บ……ญุ … (๓) โอกาสทใี่ ชแ สดง คือ …ใ…ช…แ…ส……ด……ง…ใ…น…โ…อ……ก…า…ส…… ของวัดทางภาคเหนอื ท่ัวไป…………………………………………………………………………………………….. ท่วั ไป…………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………….. วงดนตรที องถิ�นภาคกลาง วงดนตรที อ งถน�ิ ภาคใต (๑) ช่ือวงดนตรี คอื วงปพ าทยมอญ………………………………………………………… (๑) ชื่อวงดนตรี คอื วงกาหลอ………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………….. (๒)เคร่อื งดนตรีใชบ รรเลง ประกอบดวย (๒)เครือ่ งดนตรีใชบรรเลง ประกอบดว ย ตะโพนมอญ เปงมางคอก ปมอญ............................................................................................................................... ปฮ อ กลองทน ฆอง............................................................................................................................... และฆองมอญ บางครั้งอาจผสมกับ............................................................................................................................... เครือ่ งปพาทยข องไทย เชน ระนาด............................................................................................................................... ............................................................................................................................... (๓) โอกาสทีใ่ ชแสดง คือ ใชบ รรเลงใน……………………………………………… งานศพ…………………………………………………………………………………………….. ............................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………….. (๓) โอกาสทใ่ี ชแ สดง คอื ใชบ รรเลงใน……………………………………………… งานศพ…………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………….. ๗๓´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô »ÃШӺ· ๑ ศกึ ษาความเปนมาของดนตรีไทย แลว ยกตวั อยางและอธิบายเร่ืองราวของดนตรไี ทย มศฐ2./.ต2ัวช(1ีว้ )ดั ที่เกดิ ข้ึนมา ๑ ตวั อยา ง (เขยี นลงในสมุด) ข้นึ อยูก บั ดุลยพินจิ ของผสู อน ๒ เขยี นจาํ แนกชอื่ เคร่อื งดนตรีไทยท่ปี รากฏในยุคสมัยตา งๆ มศฐ2./.ต2ัวช(2้วี )ัด (ตวั อยา ง) เครือ่ งดนตรี เครอ่ื งดนตรี ๑) ซอสามสาย............................................................................................................. ๑) ระนาดเอก............................................................................................................. ๒) บัณเฑาะว............................................................................................................. ๒) ปใ น............................................................................................................. ๓) กลองชาตรี............................................................................................................. ๓) กระจับป............................................................................................................. ๔) พิณ............................................................................................................. ๔) กรับพวง............................................................................................................. สมยั สุโขทยั สมยั อยธุ ยา สมัยรตั นโกสนิ ทร สมัยธนบุรี ผฉูสบอบั น เครอ่ื งดนตรี เครื่องดนตรี ๑) ฆองวงใหญ............................................................................................................. ๑) ระนาดเอกเหลก็............................................................................................................. ๒) กลองทดั............................................................................................................. ๒) ระนาดทุมเหลก็............................................................................................................. ๓) ตะโพน............................................................................................................. ๓)ซอสามสาย............................................................................................................. ๔) ฉ่งิ............................................................................................................. ๔) อังกะลุง............................................................................................................. ๓ แบงกลมุ สาํ รวจดนตรพี ื้นบา นในทองถ�ินตางๆ แลว อภิปรายตามหัวขอ ทีก่ ําหนดและ มฐ./ตวั ชว้ี ดั เโลเคอกัขรกษีย่ือาณนงสดใบะนนขันกตอทางรรกึวีทแงี่ใสดช(ทดนบ งําตรลรรเทีงลใองนงปสถรม�นิะขกดุ น้ึ อ)อบยกู ับดุลยพินจิ ของผสู อน ศ2.2 (3) ๑) ๒) ๓) ๔) วฒั นธรรมประเพณ�ทเี่ กยี่ วของกับการแสดงดนตรี ๗๔ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

แบบทดสอบท่ี ๓ : กา ✗ คาํ ตอบทถี่ ูกที่สุด ๑. ขอใดไมใชเครอ่ื งดนตรที ี่บรรเลงในสมยั ๖. หลักฐานทางดนตรีเร�ิมปรากฏในสมัยใด สุโขทยั ✗ก. สโุ ขทยั ข. อยธุ ยา ✗ก. ขิม ข. สังข ค. ธนบรุ ี ง. รตั นโกสนิ ทร ค. ระฆัง ง. กังสดาล ๗. วงบรรเลงพิณ ใชเครือ่ งดนตรีประเภทใด ๒. การขับลาํ นํา เกี่ยวของกับขอใด ✗ก. เคร่อื งดีด ก. ยานพาหนะ ข. เครื่องสี ✗ข. บทรอ ยกรอง ค. เคร่ืองตี ค. การชมบานเมอื ง ง. เครือ่ งเปา ง. การเขยี นจดหมาย ๘. เครอ่ื งดนตรีใด ทีป่ รากฏในสมัย ๓. ขอใดเปน ลักษณะสาํ คัญของดนตรไี ทยใน กรงุ ศรีอยุธยา สมัยอยุธยา ก. ฉง�ิ ก. นยิ มเลน ในงานประเพณ� ข. ฆองคู ผฉสู บอบั น ค. บัณเฑาะว ข. มีผเู ลน ดนตรีเปนขุนนางทง้ั หมด ค. มีการจัดแสดงเฉพาะในพระราชวัง ✗ง. กระจับป ✗ง. นาํ เคร่อื งดนตรีตา งชาติมารวมบรรเลง ๙. ซอสายฟาฟาด เปนเครอ่ื งดนตรที เี่ กี่ยวของ ๔. ประเทศใดเก่ยี วขอ งกบั ท่ีมาของดนตรีไทย กับกษตั ริยพ ระองคใด ก. กรีก ก. รชั กาลที่ ๑ ข. พมา ✗ข. รชั กาลที่ ๒ ✗ค. อนิ เดยี ค. รัชกาลท่ี ๓ ง. องั กฤษ ง. รชั กาลท่ี ๔ ๕. ขอใดเปน เคร่ืองดนตรีท่มี าจากมาเลเซีย ๑๐. ขอ ใดเปน ลักษณะเดน ของดนตรี ก. กลองมรกิ ัน ภาคเหนอ� ✗ข. กลองมลายู ก. กระฉับกระเฉง คึกคัก ค. กลองยาว ข. สนุกสนาน คร้ืนเครง ง. กลองแขก ✗ค. ออ นหวาน นมุ นวล ง. เรยี บงา ย สนุกสนาน ๗๕´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä แบงกลมุ สาํ รวจวงดนตรีพ้นื บา นในทอ งถิ�นของนักเรียน แลว บนั ทึกขอมูล (ตัวอยาง) ๑) วงดนตรีพนื้ บา นทส่ี ํารวจ มดี ังน�้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… วงกลองยาว............................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒) ลักษณะเดน ของวงดนตรใี นทอ งถิ�น คอื …………ม……เี ค……ร…อ่ื …ง……ด…น……ต…ร……ีไ…ม…ม…า…ก……ช…น้ิ …………แ…ล…ะ…บ……ร…ร…เ…ล……ง…ใ…น………………. จงั หวะสนุกสนาน............................................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓) เขียนช่ือเครอ่ื งดนตรพี ้ืนบานทส่ี าํ รวจลงในชอ งตามประเภท เครอ่ื งดีด เครอ่ื งสี –.............................................................................................................. –.............................................................................................................. ผฉูสบอบั น .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. เครอ่ื งดนตรพี ืน้ บา น ในทอ งถ�ิน เคร่ืองตี เครื่องเปา โหมง หรอื ฆอ ง ฉาบ กรับ.............................................................................................................. –.............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. ๔) วฒั นธรรมประเพณท� เ่ี ก่ยี วขอ งกบั วงดนตรที อ งถ�ินของตน คอื ใชแสดงในงานมงคล……………………………………………………………………………….. เชน ประเพณบี วชนาค ประเพณีแหนางแมว เปนตน………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕) นกั เรียนช่นื ชอบดนตรีทอ งถิ�นของตนหรอื ไม ❍✓ ชอบ ❍ ไมช อบ เพราะ มีความสนุกสนาน………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๗๖ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

กา ✗ คาํ ตอบที่ถูกที่สุด แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ ๒ประจําหนวยการเรียนรทู ่ี ä´Œ¤Ðá¹¹ ¤Ðá¹¹àµçÁ ñð ๑. ขอ ใดเปน เครอื่ งดนตรีด้ังเดมิ ของไทย ๖. เพลงบหุ ลนั ลอยเลือ่ น เก่ียวของกับ ผฉูสบอับน ก. ขิม ข. มาลอ รชั กาลใด ก. รชั กาลท่ี ๑ ค. เปย โน ✗ง. โกรง ✗ข. รชั กาลท่ี ๒ ๒. กงั สดาล เปน เครอ่ื งดนตรที ป่ี รากฏใน สมยั ใด ค. รชั กาลที่ ๓ ง. รัชกาลท่ี ๔ ✗ก. สุโขทัย ๗. การประดิษฐร ะนาดทมุ คูกับระนาดเอก เกดิ ขึ้นในสมยั รัชกาลใด ข. อยธุ ยา ก. รชั กาลที่ ๑ ค. ธนบุรี ข. รชั กาลท่ี ๒ ง. รตั นโกสินทร ๓. ขอใดไมใชเ คร่ืองดนตรใี นวงปพ าทย ✗ค. รัชกาลท่ี ๓ เครอ่ื งหาอยา งเบาในสมยั สุโขทัย ก. ป ข. ทับ ง. รชั กาลท่ี ๔ ๘. องั กะลงุ เปนเครื่องดนตรที นี่ ํามาจาก ✗ค. ขมิ ง. ฉง�ิ ประเทศใด ๔. เครอ่ื งดนตรีประเภทเคร่อื งสี ท่ใี ชใ นวงขับไม ก. มาเลเซยี ข. ฟลปิ ปนส ไดแ กขอใด ค. เวียดนาม ✗ง. อินโดนเ� ซีย ✗ก. ซอสามสาย ๙. ขอ ใดทาํ ใหเครอื่ งดนตรีทองถ�นิ มีความ ข. ซอดวง แตกตางกนั ค. ซออู ง. สะลอ ก. การเมอื ง ✗ข. วัฒนธรรม ๕. สมยั กรุงศรอี ยธุ ยา มกี ารเปลยี่ นแปลงใน วงปพ าทยอ ยางไร ค. เศรษฐกิจ ง. ภูมิประเทศ ก. มีระนาดทมุ เพม�ิ ๑๐. ปก าหลอ เก่ียวขอ งกับประเพณ�ใด ✗ข. มรี ะนาดเอกเพิ�ม ✗ก. งานศพ ค. ตัดกลองทดั ออกไป ข. งานแตงงาน ง. ตดั ตะโพนออกไป ค. งานข้ึนบา นใหม ง. งานทาํ บญุ บาน ๗๗´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

Ẻº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÒí ˹‹Ç รายการวดั ประเมนิ ผลตามเปา หมายการเรียนรู ประจําหนว ยท่ี ๒ คําช้ีแจง : ๑. ครูกาํ หนดคะแนนเตม็ ของกิจกรรมที่ตองการวัดผลเพ่อื เกบ็ สะสม ๒. ครนู าํ คะแนนจากการวดั ผลดานความรู (K) / ทักษะกระบวนการ (P) / คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค (A) ของนักเรียนแตล ะคน กรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมิน ๓. ช้นิ งานทมี่ เี ครื่องหมาย * ใหใ ชประกอบการประเมินการอาน คิดวเิ คราะห และเขียนสื่อความ รายการประเมิน รายการเครือ่ งมอื วัดและประเมินผลการเรยี นรขู องนักเรยี น คะแนนรวมดา น ดา นความรู (K) ดา นทักษะ/กระบวนการ (P) ดา นคุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค (A) K/P/A ตัวชว้ี ัดช้นั ป.๖ หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ดาน K / P / A ศ ๒.๒ (๑) อธบิ ายเรื่องราวของ - ก. พฒั นาการคดิ บทท่ี ๑ - แบบประเมินทักษะศลิ ปะ - แบบประเมินคณุ ลักษณะ ดนตรไี ทยในประวัตศิ าสตร ขอ ๑ ศึกษาความเปน มา ที่พึงประสงค ของดนตรีไทย แลว ยก ตวั อยาง และอธบิ าย เรอื่ งราวของดนตรไี ทย ทเี่ กดิ ขึน้ มา ๑ ตวั อยาง ศ ๒.๒ (๒) จําแนกดนตรที ม่ี าจาก - ก. พฒั นาการคดิ บทที่ ๑ - แบบประเมินทักษะศลิ ปะ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ยคุ สมยั ที่ตา งกัน ขอ ๒ เขียนจาํ แนกชื่อ - แบบประเมนิ ทักษะศลิ ปะ ท่ีพึงประสงค เครอื่ งดนตรไี ทยทปี่ รากฏ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผูสอนฉบบั ในยุคสมยั ตา งๆ ทีพ่ ึงประสงค ศ ๒.๒ (๓) อภิปรายอทิ ธพิ ลของ - ก. พฒั นาการคดิ บทที่ ๑ วัฒนธรรมตอดนตรีในทองถ�ิน ขอ ๓ แบงกลุม สํารวจ ดนตรีพนื้ บานในทองถิน� และอภปิ รายตามหวั ขอ ท่ี กําหนด แลว เขียนบนั ทึก สวนท่ี ๑ คะแนนจากการประเมินดานผลการเรียนตามตวั ชีว้ ัด สว นท่ี ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนักเรียน ผลงานกจิ กรรมบรู ณาการฯ ทีน่ ักเรียนปฏิบตั ิ ชอื่ งาน .................................................................................. สวนที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธผิ ลประจาํ หนว ย การทําแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ประจําหนว ยที่ ๒ สรปุ ผลการประเมินพัฒนาการเรยี นรปู ระจาํ หนวย ขอเสนอแนะ ............................................................................................................... ผาน ไมผาน ......................................................................................................................................... ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ผานเกณฑประเมิน ลงชื่อ ........................................................................................................ ผูประเมิน ................... / ................... / ................... ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทําขึ้นก็ได ๗๘ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ÅÕÅÒ¹Ò¯ÈÔŻР๓˹Çè ¡ÒÃàÃÕ¹ÃéÙ·èÕ ผฉสู บอบั น แผนผงั ความคดิ ประจําหนวยการเรียนรูท่ี ๓ เปา หมายการเรียนรูป ระจาํ หนวยที่ ๓ การแสดงทาประกอบเพลง นาฏศิลปไทยกบั การออกแบบ เมอ่ื เรยี นจบหนวยน้ี ผเู รยี นจะมคี วามรูความสามารถตอ ไปน้ี เคร่อื งแตง กาย อปุ กรณ และฉาก ๑. สรางสรรคก ารเคลื่อนไหวและการแสดงโดยเนน การถา ยทอดลีลา ทา ประกอบเพลง ทา ประกอบเพลงปลุกใจ หรืออารมณ การออกแบบกบั การแสดง ๒. ออกแบบเคร่อื งแตง กายหรืออปุ กรณประกอบการแสดงอยา งงายๆ ๓. แสดงนาฏศิลปและละครงายๆ ลีลานาฏศิลป ๔. บรรยายความรสู ึกของตนเองทม่ี ตี อ งานนาฏศิลปและการละครอยา ง การชมการแสดงและองคป ระกอบ การแสดงนาฏศิลปไทย สรางสรรค ทางนาฏศิลปแ ละการละคร บทบาทและหนา ที่ในงาน ๕. แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง นาฏศลิ ปและการละคร ๖. อธบิ ายความสัมพนั ธระหวา งนาฏศิลปแ ละการละครกับส่ิงทป่ี ระสบ การชมการแสดง องคป ระกอบทางนาฏศลิ ปแ ละการละคร ในชวี ติ ประจําวัน กบั ชวี ิตมนษุ ย การแสดงนาฏศิลปและการละคร คุณภาพทีพ่ ึงประสงคของผูเ รยี น ๑. สรางสรรคก ารเคล่อื นไหวและการแสดงนาฏศลิ ปง ายๆ ๒. ออกแบบเครื่องแตงกายหรอื อุปกรณประกอบการแสดงงายๆ ๓. บรรยายความรสู กึ ของตนเองทีม่ ีตอ งานนาฏศิลป ๔. แสดงความคดิ เหน็ ในการชมการแสดง ๕. เขา ใจความสัมพันธระหวางนาฏศลิ ปแ ละการละครกับส่งิ ท่ปี ระสบ ในชวี ิตประจําวัน ๗๙´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

º··Õè ñ ¡ÒÃáÊ´§·èÒ»ÃСͺà¾Å§ ขอบขา ยสาระการเรียนรแู กนกลาง รายวิชาศิลปะ ชน้ั ป.๖ ตัวชี้วัดชั้นป สาระพนื้ ฐาน ความรฝู งแนน ติดตัวผเู รยี น มฐ. ศ ๓.๑ (๑) สรางสรรคการเคลื่อนไหว ● ทาประกอบเพลง ● การแสดงทาประกอบเพลง ควรแสดง และการแสดง โดยเนน การถา ยทอดลลี า หรอื ● ทา ประกอบเพลงปลกุ ใจ อารมณ ใหสอดคลองกับจังหวะทํานองเพลงและ เนอ้ื หาของเพลง และเนน ลลี าหรืออารมณ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ ผฉูสบอับน à¾èÍ× ¹æ ¤´Ô Ç‹Ò ¡Ò÷íÒ·‹Ò »ÃСͺà¾Å§àËÁ×͹ã¹ÀÒ¾ µŒÍ§ÁÕà·¤¹Ô¤ÍÐäúŒÒ§¤ÃºÑ ๘๐ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРö

ñ. ·‹Ò»ÃСͺà¾Å§ การทําทาประกอบเพลง สามารถนําภาษาทาทางนาฏศิลปมาใชเพ่ือส่ือความหมาย ตามเน้อ� รองของเพลง ซงึ� บทเพลงทีน่ าํ มาใชประกอบทา รํา มหี ลากหลายประเภท เชน เพลง ปลุกใจ เพลงพระราชนพิ นธ เพลงพืน้ บา น เปน ตน นกั เรยี นจึงควรเรียนรู และทาํ ความเขา ใจ เก่ียวกับหลกั การประดษิ ฐทา ประกอบเพลงพื้นฐาน ดังน้� เน�้อเพลงท่บี งบอกความหมายชัดเจน ทวงทํานองและจงั หวะชา หรอื เรว็ เพื่อใหเขา กบั ทาประกอบ ของบทเพลง ๑ การเลอื กเพลงทต่ี อ งการ ผฉสู บอับน หลักการประดษิ ฐท าประกอบเพลง ๒ การทําทาประกอบเพลง เน�้อเพลงและความหมายของเพลงตองสอดคลอง ทว งทาํ นองและจงั หวะชา หรอื เร็ว กบั ทาประกอบ เชน ● จังหวะชา - ทาประกอบเพลงควรเคล่ือนไหว ● เพลงเก่ียวกับสัตว - ทาประกอบตองเลียนแบบ ชา นิ�มนวล เนน ความสวยงาม สัตว เชน ปลา กระตาย เปนตน ● จงั หวะเรว็ - ทาประกอบเพลงควรเคลือ่ นไหว ● เพลงเกี่ยวกบั ธรรมชาติ - ทาประกอบตอง รวดเรว็ คกึ คัก เนน ความสนกุ สนาน เลยี นแบบธรรมชาติ เชน ลมพดั ฝนตก เปน ตน ● เพลงเกีย่ วกบั อาชีพ - ทา ประกอบตอ ง เลียนแบบอาชพี ตางๆ เชน ตาํ รวจ ทหาร เปนตน ๘๑´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

ò. ·Ò‹ »ÃСͺà¾Å§»Å¡Ø 㨠เพลงปลุกใจ เปนเพลงท่ีมีเน้�อรองและทํานองเพลง เก่ียวกับความรักความสามัคคี ของคนในชาติ ฟงแลวทาํ ใหเกิดความรูส กึ คกึ คกั ฮกึ เหิม เพลงเราสเู ปน เพลงพระราชนพิ นธในพระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ซง�ึ เปน เพลงปลกุ ใจทที่ าํ ใหเ กดิ ความรสู กึ เขม แขง็ หนกั แนน กอ ใหเ กดิ ความรกั ชาติ และราํ ลกึ ถงึ บญุ คณุ ของบรรพบรุ ษุ ไทย ทป่ี กปอ งรกั ษาชาตบิ า นเมอื งใหค งอยอู ยา งสงบสขุ มาจนถงึ ปจจุบนั ใชผูแสดงเปนชายลว น และหญงิ ลวน หรอื อาจเปน ชายและหญิงคูกัน มกั แสดงในงาน รืน่ เรงิ ตา งๆ หรือแสดงสลับฉากละคร ¡ÒäԴ·Ò‹ »ÃСͺà¾Å§àÃÒÊÙŒ µÍŒ §Ê×èͤÇÒÁËÁÒ µÒÁà¹Íé× ÃŒÍ§ä´ŒÍ‹ҧª´Ñ ਹ â´Â๹Œ ¤ÇÒÁ˹¡Ñ á¹¹‹ ËÒŒ ÇËÒÞ áÅÐʧҋ §ÒÁ ໚¹ËÅ¡Ñ ¤‹Ð ผฉูสบอับน เพลงเราสู เน้�อรอง นายสมภพ จนั ทรประภา ทํานอง พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร บรรพบุรษุ ของไทยแตโ บราณ ปกบานปองเมืองคุมเหยา เสียเลอื ดเสียเนื้อมิใชเ บา หนาทีเ่ รารกั ษาสบื ไป ลูกหลานเหลนโหลนภายหนา จะไดมพี สธุ าอาศัย อนาคตจะตองมปี ระเทศไทย มิยอมใหผใู ดมาทาํ ลาย ถงึ ขูฆาลางโคตรก็ไมหว่ัน จะสกู นั ไมหลบหนหี าย สตู รงน้ี สูที่นี่ สูจนตาย ถึงเปน คนสุดทา ยก็ลองดู บา นเมืองเราเราตองรักษา อยากทาํ ลายเชญิ มาเราสู เกยี รตศิ ักด์ิของเราเราเชิดชู เราสูไมถ อยจนกาวเดียว ๘๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

àÁ×èÍࢌÒ㨤ÇÒÁËÁÒ¢ͧà¾Å§áÅÇŒ ÁÒ½¡ƒ áÊ´§·Ò‹ »ÃСͺ¾ÃŒÍÁæ ¡Ñ¹àŤ‹Ð ๑๒ บรรพบุรษุ ของไทยแตโบราณ ปกบานปอ งเมือง ๓ ๔ คุม เหยา ผฉสู บอับน ๕ เสยี เลอื ดเสียเน�้อ ๖ มิใชเบา หนา ที่เรารักษาสืบไป ๘๓´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

๗๘ ลูกหลานเหลนโหลนภายหนา จะไดม ีพสุธาอาศยั ๙ ๑๐ ผฉูสบอับน อนาคตจะตองมปี ระเทศไทย มยิ อมใหผ ูใดมาทําลาย ๑๑ ๑๒ ถึงขูฆา ลางโคตรก็ไมห วั�น จะสูกันไมห ลบหนห� าย ๑๓ ๑๔ สตู รงน�้ สูท่นี � สูจ นตาย ๘๔ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

๑๕ ๑๖ ถงึ เปน คนสดุ ทายก็ลองดู บานเมอื งเราเราตองรักษา ๑๗ ๑๘ อยากทําลายเชญิ มาเราสู ผฉสู บอบั น ๑๙ เกยี รตศิ กั ดิข์ องเราเราเชดิ ชู ๒๐ เราสไู มถ อย จนกา วเดียว äÁ‹ÂÒ¡àÅÂãªä‹ ËÁ¤Ð àÁ×Íè ¹¡Ñ àÃÕ¹½ƒ¡ÃíÒä´¤Œ ú·Ø¡·‹ÒáÅŒÇ Í‹ÒÅÁ× ½ƒ¡«ÍŒ ÁºÍ‹ Âæ à¾×èͤÇÒÁáÁ‹¹ÂíÒ áÅФÅÍ‹ §á¤Å‹Ç㹡ÒÃÃÒí ¹Ð¤Ð ๘๕´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРö

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ แบงกลุม แสดงทา ประกอบเพลงเราสู แลว บนั ทึกขอ มลู ๑) นกั เรียนใชเ วลาฝก ❍ ๑ ช�วั โมง ❍ ๒ ชว�ั โมง ❍ มากกวา ๒ ช�วั โมง ๒) ทา ประกอบเพลงทฝี่ กยากทสี่ ุด คือ ………………………………………………………………………………………………………………………………………. เพราะ ............................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ๓) ทา ประกอบเพลงทีน่ กั เรยี นชอบมากท่ีสดุ คือ ………………………………………………………………………………………………………………… เพราะ ............................................................................................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ๔) ความรูสกึ ท่ีมีตอ การแสดงของกลุมนักเรียน ❍ พอใจ ❍ ไมพอใจ เพราะ ............................................................................................................................................................................................................................................................................ ๕) ผลการประเมรินาย(ใกหาค รรปูหรระอืเมเพิน่อื นกลมุ อข่นืึ้นปอรยะกู เบัมดินุล)ยพินิจของผสู อนผฉูสบอบั น .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ผลการประเมนิดี พอใช ควรปรับปรุง (๑) ความถูกตอ งของทาทาง ........................................... ........................................... …………………………………. (๒)ความสอดคลองกบั จงั หวะ ........................................... ........................................... …………………………………. (๓)ความพรอ มเพรยี ง ........................................... ........................................... ………………………………… (๔) ความสวยงามในการเคล่ือนไหว ........................................... ........................................... ………………………………… (๕)ความมีอารมณรว มในการแสดง ........................................... ........................................... ……………………………….. ลงชื่อ ………………………………………………………………… ผปู ระเมิน กลุมที่ …………………………………. ๖) สิ�งทค่ี วรปรบั ปรุงในการแสดงครง้ั ตอ ไป คือ ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘๖ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ»ÃШӺ· มศฐ2./.ต1วั ช(1ว้ี )ดั แบงกลุม แสดงทาประกอบเพลงปลกุ ใจ โดยเลือกเพลงและคิดทาประกอบเพลงเอง มศฐ3./.ต1ัวช(1ว้ี )ัด ๑) เพลงทีเ่ ลือก คอื เพลง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒) ทา ประกอบเพลงที่ใชแ สดง ประกอบดวย …………………………………………………………………………………………………………………………. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ๓) ผลการประเมนิรา(ยใกหาค รรปูหรระอืเมเพิน่อื นกลมุ ขอึน้ ื่นอปยกูระบั เดมลุ นิ ย)พินิจของผูส อน ผลการประเมนิดี พอใช ควรปรบั ปรุง ผฉูสบอับน (๑) ความเหมาะสมของทาทาง ........................................... ........................................... …………………………………. (๒)ความสอดคลอ งกบั จงั หวะ ........................................... ........................................... …………………………………. ........................................... ........................................... ………………………………… มฐ./ตัวช้วี ัด ศ2.1 (3) (๓) ความพรอ มเพรียง (๔) ความสวยงามในการเคลื่อนไหว ........................................... ........................................... ………………………………… (๕) ความมีอารมณรวมในการแสดง ........................................... ........................................... ……………………………….. ลงชอื่ ………………………………………………………………… ผปู ระเมิน กลุมท่ี …………………………………. ๔) นกั เรยี นพอใจกบั การแสดงของกลมุ นกั เรียนหรือไม ❍ พอใจ ❍ ไมพอใจ เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๕) สงิ� ทค่ี วรปรับปรุงในการแสดงครั้งตอ ไป คอื ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘๗´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ö


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook