Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิเคราะห์หลักสูตร ป.4 ปี 65

วิเคราะห์หลักสูตร ป.4 ปี 65

Published by kroofontutor1, 2022-08-26 05:01:35

Description: วิเคราะห์หลักสูตร ป.4 ปี 65

Search

Read the Text Version

การวเิ คราะห์หลกั สตู ร วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4

สว่ นที่ ๑ ความนำ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นไี้ ดก้ ำหนด สาระการเรียนรู้ออกเป็น ๔ สาระ ไดแ้ ก่ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ และสาระที่ ๔ เทคโนโลยี ซ่งึ องค์ประกอบของหลักสตู ร ทัง้ ในด้าน ของเนื้อหา การจัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผล การเรียนรู้นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการวางรากฐานการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ของผเู้ รียนในแตล่ ะระดับช้นั ใหม้ ี ความต่อเนอ่ื งเชือ่ มโยงกันตั้งแต่ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ จนถึงชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ สำหรับกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้กำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ที่ผู้เรียนจำเป็นต้องเรียนเป็นพื้นฐาน เพื่อให้สามารถ นำความรู้นี้ไปใช้ในการดำรงชีวติ หรือศึกษาต่อในวิชาชีพทีต่ ้องใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ โดยจัด เรียงลำดบั ความยากง่าย ของเน้อื หาท้ัง ๔ สาระในแต่ละระดบั ชน้ั ให้มีการเชื่อมโยงความรู้กบั กระบวนการ เรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คดิ สร้างสรรค์ คดิ วเิ คราะห์วิจารณ์ มที ักษะท่ี สำคัญทง้ั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะใน ศตวรรษท่ี ๒๑ ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหา อยา่ งเปน็ ระบบ สามารถตัดสนิ ใจโดยใชข้ อ้ มลู หลากหลายและประจักษพ์ ยานทีต่ รวจสอบได้ สถาบันสง่ เสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถงึ ความสำคัญของการจัดการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มุ่งหวังให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนมากที่สุด จึงได้จัดทำตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ขึ้น เพื่อให้สถานศึกษา ครูผู้สอน ตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆ ได้ใช้เป็น แนวทางในการพฒั นา หนังสือเรยี น ค่มู อื ครู ส่อื ประกอบการเรียนการสอน ตลอดจนการวดั และประเมนิ ผล โดยตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่จัดทำขึ้นนี้ไดป้ รับปรุง เพื่อให้มคี วามสอดคลอ้ งและเชือ่ มโยงกันภายในสาระการเรียนรู้ เดียวกันและระหว่างสาระการเรียนรู้ใน กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ ทางวทิ ยาศาสตร์กับ คณิตศาสตร์ด้วย นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง และความ เจรญิ กา้ วหน้าของวิทยาการตา่ ง ๆ และทัดเทียมกบั นานาชาติ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สรุปเป็น แผนภาพไดด้ ังนี้ การวิเคราะห์หลักสูตร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

สาระที่ ๑ สาระท่ี ๒ สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ - มาตรฐาน ว ๑.๑-ว ๑.๓ - มาตรฐาน ว ๒.๑-ว ๒.๓ - มาตรฐาน ว ๓.๑-ว ๓.๒ กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี สาระที่ ๔ เทคโนโลยี - มาตรฐาน ว ๔.๑-ว ๔.๒ วิทยาศาสตร์เพม่ิ เติม ⚫ สาระชวี วิทยา ⚫ สาระเคมี ⚫ สาระฟสิ กิ ส์ ⚫ สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ การวิเคราะหห์ ลักสูตร วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4

เป้าหมายของการจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สำรวจตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนำผลมาจัดระบบ หลักการ แนวคดิ และทฤษฎี ดังนน้ั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เปน็ ผู้เรียนรู้และค้นพบด้ วย ตนเองมากที่สุด นั่นคือให้ได้ทั้งกระบวนการและองค์ความรู้ ตั้งแต่วัยเริ่มแรกก่อนเข้าเรียน เมื่ออยู่ใน สถานศึกษาและเมอื่ ออกจากสถานศึกษาไปประกอบอาชีพแลว้ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ในสถานศกึ ษามีเป้าหมายสำคัญ ดงั น้ี ๑. เพือ่ ใหเ้ ข้าใจหลกั การ ทฤษฎีที่เปน็ พนื้ ฐานในวิทยาศาสตร์ ๒. เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจขอบเขต ธรรมชาตแิ ละข้อจำกัดของวิทยาศาสตร์ ๓. เพือ่ ให้มที กั ษะทสี่ ำคัญในการศกึ ษาคน้ ควา้ และคดิ คน้ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔. เพอื่ พัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและการจัดการ ทักษะในการสือ่ สาร และความสามารถในการตัดสินใจ ๕. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และ สภาพแวดลอ้ มในเชิงทม่ี อี ทิ ธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกนั ๖. เพื่อนำความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ สงั คมและการดำรงชวี ติ ๗. เพอ่ื ให้เป็นคนมจี ติ วิทยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มในการใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรค์ เรยี นรู้อะไรในวทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผเู้ รยี นได้เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ท่เี นน้ การ เช่ือมโยง ความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการคน้ คว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบ เสาะหาความรแู้ ละแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย ให้ผูเ้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการเรียนรู้ ทุกขนั้ ตอน มกี ารทำกิจกรรม ดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ชน้ั โดยกำหนดสาระสำคญั ดงั น้ี ✧ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต การดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และ ววิ ัฒนาการของสง่ิ มชี ีวติ ✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคลอื่ นท่ี พลังงาน และคล่ืน ✧ วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรเู้ กี่ยวกบั องค์ประกอบของเอกภพ ปฏสิ มั พันธ์ ภายใน ระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลย่ี นแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปล่ยี นแปลงลมฟ้า อากาศ และผลตอ่ สง่ิ มชี ีวติ และสิ่งแวดล้อม ✧ เทคโนโลยี ● การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต ใน สังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรูแ้ ละทกั ษะทางด้านวิทยาศาสตรค์ ณติ ศาสตร์ และศาสตร์ อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมคี วามคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสง่ิ แวดล้อม การวเิ คราะห์หลกั สูตร วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4

● วทิ ยาการคำนวณ เรยี นรู้เก่ยี วกับการคดิ เชิงคำนวณ การคดิ วเิ คราะห์แก้ปัญหา เปน็ ขัน้ ตอนและเปน็ ระบบ ประยุกต์ใช้ความร้ดู า้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการ ส่อื สาร ในการแกป้ ญั หาทพี่ บในชีวติ จรงิ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พันธ์ระหวา่ งสิ่งไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมชี ีวติ กับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา สง่ิ แวดล้อม รวมท้งั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบตั ขิ องส่ิงมชี ีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชวี ติ การลำเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์แล ะมนุษย์ที่ทำงาน สมั พนั ธก์ นั ความสมั พันธข์ องโครงสร้าง และหน้าที่ ของอวยั วะต่างๆ ของพืชทีท่ ำงานสมั พันธก์ นั รวมทั้งนำ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและ ววิ ฒั นาการของส่ิงมชี ีวติ รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมบัติ ของ สสารกับโครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลงสถานะ ของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลื่อนทีแ่ บบต่าง ๆ ของวัตถรุ วมท้งั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของ คลื่น ปรากฏการณ์ ท่ีเก่ียวขอ้ งกับเสียง แสง และคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมทั้ง นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ เปลี่ยนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและ ภมู ิอากาศโลก รวมทัง้ ผลตอ่ สงิ่ มชี วี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม การวเิ คราะห์หลกั สูตร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการ เปล่ียนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรูแ้ ละทักษะทางด้านวิทยาศาสตรค์ ณติ ศาสตร์และ ศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม โดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม และสิง่ แวดล้อม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวติ จริงอย่างเป็น ขน้ั ตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ รู้เทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม การวิเคราะหห์ ลกั สูตร วิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4

วสิ ัยทัศนก์ ลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิสัยทัศน์ มุ่งให้ผู้เรียน มีความสามารถในการเรียนรู้ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา โดยใช้ทกั ษะกระบวนการทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ รวมท้ังพฒั นาผ้เู รียนให้มเี จตคติ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม ทเ่ี หมาะสมต่อวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมและสง่ิ แวดล้อม สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ในการพัฒนาผเู้ รยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานทก่ี ำหนด ซ่ึงจะช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานมุ่งให้ผู้เรียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังน้ี ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มวี ัฒนธรรมในการ ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ขา่ วสารและประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อ ขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความ ถูกต้องตลอดจนการเลอื กใช้วธิ ีการสอ่ื สารท่มี ีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทีม่ ตี ่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคดิ เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรอื สารสนเทศเพื่อการตดั สินใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธแ์ ละการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใช้ใน การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสนิ ใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ ในการดำเนินชีวติ ประจำวนั การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การเรียนรู้อย่างตอ่ เนื่อง การทำงาน และการอยูร่ ่วมกัน ในสงั คมดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งบคุ คล การจดั การปัญหาและความขดั แย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ที่สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผ้อู ื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสอื่ สาร การทำงาน การแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม การวิเคราะหห์ ลักสตู ร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้ สามารถอยรู่ ่วมกับผ้อู ืน่ ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยอู่ ย่างพอเพียง ๖. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มีจติ สาธารณะ ทกั ษะมจี ำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ทีท่ ุกคนจะต้องเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ คอื การเรียนรู้ ๓R x ๗C ๓R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเปน็ ) ๗C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และทกั ษะในการ แกป้ ัญหา) Creativity and Innovation (ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น)์ Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผนู้ ำ) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสน เทศ และรเู้ ทา่ ทนั สื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร) Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นร้)ู การวเิ คราะห์หลกั สตู ร วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4

คณุ ภาพผู้เรยี น จบชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ❖ เข้าใจลกั ษณะท่ีปรากฏ ชนิดและสมบตั ิบางประการของวสั ดุท่ีใช้ทำวตั ถุ และการเปล่ียนแปลง ของวสั ดุรอบตวั ❖ เข้าใจการดึง การผลัก แรงแม่เหล็ก และผลของแรงทีม่ ีตอ่ การเปล่ียนแปลง การเคลื่อนที่ของ วตั ถุ พลังงานไฟฟ้า และการผลิตไฟฟา้ การเกดิ เสยี ง แสงและการมองเห็น ❖ เข้าใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ปรากฏการณ์ขึ้นและตกของ ดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกำหนดทิศ ลักษณะของหิน การจำแนกชนิดดินและการใช้ ประโยชน์ ลกั ษณะและความสำคัญของอากาศ การเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม ❖ ตัง้ คำถามหรือกำหนดปัญหาเกย่ี วกบั สิ่งท่ีจะเรียนรู้ตามท่ีกำหนดให้หรือตามความสนใจสังเกต สำรวจตรวจสอบโดยใชเ้ คร่ืองมืออยา่ งงา่ ย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบด้วย การเขยี นหรอื วาดภาพ และสอ่ื สารส่ิงทเ่ี รียนรูด้ ้วยการเล่าเรอื่ ง หรือด้วยการแสดงทา่ ทางเพอ่ื ใหผ้ อู้ น่ื เข้าใจ ❖ แก้ปัญหาอยา่ งง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา มที กั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สื่อสารเบื้องตน้ รกั ษาข้อมูลส่วนตวั ❖ แสดงความกระตือรือร้น สนใจทจี่ ะเรียนรู้ มคี วามคิดสร้างสรรคเ์ ก่ยี วกับเร่ืองท่ีจะศึกษาตามที่ กำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ มสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็น และยอมรับฟังความคิดเหน็ ผอู้ นื่ ❖ แสดงความรับผดิ ชอบด้วยการทำงานท่ไี ด้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ จนงานลลุ ว่ งเป็นผลสำเรจ็ และทำงานรว่ มกับผู้อ่นื อย่างมคี วามสขุ ❖ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรแู้ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวติ ศึกษา หาความร้เู พ่ิมเตมิ ทำโครงงานหรอื ชนิ้ งานตามท่ีกำหนดใหห้ รือตามความสนใจ จบช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ❖ เข้าใจโครงสรา้ ง ลักษณะเฉพาะและการปรับตวั ของสิ่งมีชวี ติ รวมท้ังความสมั พันธ์ของส่ิงมีชีวิต ในแหลง่ ทอี่ ยู่ การทำหนา้ ทขี่ องสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื และการทำงานของระบบย่อยอาหารของมนุษย์ ❖ เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลาย การเปลีย่ นแปลงทางเคมี การเปล่ยี นแปลงท่ีผันกลับไดแ้ ละผันกลับไม่ได้ และการแยกสารอย่าง งา่ ย ❖ เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงต่างๆ ผลท่เี กิดจากแรงกระทำต่อวตั ถุ ความดนั หลักการที่มตี ่อวัตถุ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ปรากฏการณ์เบ้ืองต้น ของเสียง และแสง ❖ เข้าใจปรากฏการณ์การขึ้นและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ องคป์ ระกอบของระบบสุรยิ ะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกตา่ งของดาวเคราะห์ และดาวฤกษ์ การข้นึ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์ การใช้แผนทีด่ าว การเกดิ อุปราคา พฒั นาการและประโยชน์ของเทคโนโลยี อวกาศ การวเิ คราะหห์ ลักสตู ร วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4

❖ เข้าใจลักษณะของแหล่งน้ำ วฏั จกั รน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำคา้ ง นำ้ คา้ งแข็ง หยาดน้ำ ฟา้ กระบวนการเกิดหนิ วฏั จกั รหิน การใช้ประโยชนห์ ินและแร่ การเกิดซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของ ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก ❖ ค้นหาขอ้ มูลอยา่ งมีประสิทธภิ าพและประเมินความนา่ เช่ือถือ ตดั สินใจเลือกข้อมลู ใช้เหตุผลเชิง ตรรกะในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทำงานร่วมกัน เข้าใจสทิ ธแิ ละหน้าท่ี ของตน เคารพสิทธขิ องผูอ้ ืน่ ❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปญั หาที่จะสำรวจตรวจสอบ วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสม ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลทั้งเชงิ ปริมาณและคุณภาพ ❖ วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มาจากการสำรวจตรวจสอบ ในรปู แบบท่เี หมาะสม เพอื่ สอ่ื สารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบไดอ้ ย่างมีเหตผุ ลและหลักฐานอา้ งอิง ❖ แสดงถึงความสนใจ ม่งุ มัน่ ในสงิ่ ที่จะเรียนรู้ มคี วามคิดสร้างสรรค์เกยี่ วกับเรื่องท่ีจะศึกษาตาม ความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลกั ฐานอ้างอิง และรับฟังความ คิดเห็นผูอ้ ืน่ ❖ แสดงความรบั ผิดชอบด้วยการทำงานท่ไี ด้รบั มอบหมายอย่างมุ่งมัน่ รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ จนงานลุล่วงเป็นผลสำเรจ็ และทำงานร่วมกับผ้อู ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ ❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรู้และกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต แสดงความช่ืนชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คดิ คน้ และศึกษา หาความรูเ้ พิ่มเตมิ ทำโครงงานหรอื ชิน้ งานตามทก่ี ำหนดให้หรือตามความสนใจ ❖ แสดงถงึ ความซาบซ้ึง ห่วงใย แสดงพฤตกิ รรมเก่ียวกับการใช้ การดแู ลรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ มอย่างรคู้ ณุ คา่ การวิเคราะหห์ ลักสตู ร วชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

ทำไมตอ้ งเรียนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตรม์ ีบทบาทสำคัญยง่ิ ในสงั คมโลกปจั จบุ ันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเ์ กยี่ วข้องกับทุก คนทัง้ ในชีวติ ประจำวนั และการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เคร่ืองมือเครอ่ื งใชแ้ ละผลผลิตตา่ ง ๆ ที่มนุษย์ไดใ้ ช้เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตรช์ ่วยให้มนษุ ย์ได้พัฒนาวิธคี ิด ทั้งความคิด เป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มคี วามสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตดั สนิ ใจโดยใชข้ อ้ มูลทหี่ ลากหลายและมีประจักษ์ พยานท่ีตรวจสอบได้ วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ วัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่งึ เป็นสังคมแห่งการเรยี นรู้ (K knowledge - based society) ดงั น้ันทกุ คนจึงจำเปน็ ต้องได้รับการพัฒนาให้รวู้ ิทยาศาสตร์ เพือ่ ท่จี ะมคี วามรู้ความเข้าใจ ในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนำความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมคี ณุ ธรรม เรียนร้อู ะไรในวทิ ยาศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวงั ให้ผู้เรยี นได้เรยี นรวู้ ิทยาศาสตรท์ ี่เน้นการเชอื่ มโยงความรู้กับ กระบวนการ มที กั ษะสำคญั ในการคน้ ควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ โดยใชก้ ระบวนการในการสบื เสาะหาความรู้ และแกป้ ัญหาที่หลากหลาย ให้ผเู้ รียนมีส่วนรว่ มในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำกจิ กรรมด้วยการลงมือ ปฏิบตั ิจรงิ อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดบั ชัน้ โดยกำหนดสาระสำคญั ไว้ ๔ สาระ ดงั น้ี  วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต การดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของสิง่ มีชีวติ  วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคลอ่ื นท่ี พลังงาน และคลนื่  วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับโลกในเอกภพ ระบบโลก และมนุษย์กับ การเปลีย่ นแปลงของโลก  เทคโนโลยี  การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะ ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิด สร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบ ตอ่ ชวี ติ สังคม และสิง่ แวดล้อม  วิทยาการคำนวณ เรียนรเู้ ก่ยี วกับการพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความรู้ความเข้าใจ มที กั ษะ การคิด เชงิ คำนวณ การคิดวิเคราะห์ แกป้ ญั หาเป็นขัน้ ตอนและเป็นระบบ ประยกุ ต์ใชค้ วามรดู้ า้ นวิทยาการ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ การวเิ คราะห์หลกั สูตร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษะทางสตปิ ัญญา (Intellectual) ที่นกั วิทยาศาสตรแ์ ละผู้ที่นำ วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาแก้ปัญหา ใช้ในการศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกได้เป็น ๑๓ ทักษะ ทักษะที่ ๑-๘ เป็นทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ข้ันพื้นฐาน และทกั ษะที่ ๙-๑๓ เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขนั้ สูงหรือขั้นผสมหรือข้ัน บรู ณาการ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั้ง ๑๓ ทักษะ มดี งั น้ี ๑. การสังเกต (Observing) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง รวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์ เพื่อค้นห้าข้อมูลซึ่งเป็น รายละเอียดของสิ่งน้ัน โดยไม่ใส่ความเห็นของผู้สังเกตลงไป ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตประกอบด้วยข้อมลู เชิง คุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็นได้จากวัตถุหรือเหตุการณ์น้นั ความสามารถทแ่ี สดงให้เหน็ ว่าเกดิ ทักษะนี้ประกอบด้วยการชีบ้ ่งและการบรรยายสมบตั ิของวตั ถุได้โดยการกะ ประมาณและการบรรยายการเปลย่ี นแปลงของส่ิงทีส่ ังเกตได้ ๒. การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพ่มิ ความคิดเหน็ ใหก้ ับขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการ สงั เกตอยา่ งมีเหตุผล โดยอาศยั ความร้แู ละประสบการณ์เดิมมาช่วย ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะนี้ คอื การอธบิ ายหรือสรุป โดยเพมิ่ ความคดิ เหน็ ใหก้ ับขอ้ มลู โดยใชค้ วามรู้หรือประสบการณ์เดิมมาชว่ ย ๓. การจำแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การแบง่ พวกหรือเรยี งลำดับวัตถหุ รือสิ่งท่ีมีอยู่ใน ปรากฏการณ์โดยมเี กณฑ์ และเกณฑ์ดงั กล่าวอาจใช้ความเหมือน ความแตกต่าง หรอื ความสัมพนั ธ์อย่างใดอย่าง หนึ่งกไ็ ด้ ความสามารถท่แี สดงว่าเกดิ ทักษะนี้แล้ว ไดแ้ ก่ การแบง่ พวกของส่ิงต่าง ๆ จากเกณฑท์ ผี่ ู้อื่นกำหนดให้ ได้ นอกจากนนั้ สามารถเรียงลำดับสิ่งของด้วยเกณฑ์ของตัวเองพร้อมกับบอกได้ว่าผู้อ่นื แบ่งพวกของสิ่งของนั้น โดยใชอ้ ะไรเป็นเกณฑ์ ๔. การวัด (Measuring) หมายถึง การเลือกใช้เครื่องมือและการใช้เครื่องมือนั้นทำการวัดหา ปริมาณของส่งิ ตา่ ง ๆ ออกมาเปน็ ตวั เลขท่ีแน่นอนได้อย่างเหมาะสมกับสง่ิ ทวี่ ดั แสดงวธิ ีใชเ้ คร่ืองมอื อย่างถูกต้อง พรอ้ มทั้งบอกเหตุผลในการเลือกใชเ้ ครือ่ งมือ รวมท้ังระบุหน่วยของตวั เลขทีไ่ ดจ้ ากการวดั ได้ ๕. การใช้ตัวเลข (Using Numbers) หมายถึง การนับจำนวนของวัตถุและการนำตัวเลขท่ีแสดง จำนวนทน่ี ับได้มาคิดคำนวณโดยการบวก ลบ คูณ หาร หรอื การหาค่าเฉล่ยี ความสามารถทีแ่ สดงให้เห็นว่าเกิด ทักษะน้ี ไดแ้ ก่ การนบั จำนวนสิง่ ของได้ถูกต้อง เช่น ใชต้ ัวเลขแทนจำนวนการนับได้ ตัดสินได้วา่ วัตถุ ในแต่ละ กลมุ่ มจี ำนวนเท่ากันหรือแตกตา่ งกัน เปน็ ตน้ การคำนวณ เช่น บอกวิธคี ำนวณ คดิ คำนวณ และแสดงวิธีคำนวณ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง และประการสุดท้ายคอื การหาค่าเฉลยี่ เช่น การบอกและแสดงวิธีการหาค่าเฉลี่ยไดถ้ ูกตอ้ ง ๖. การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกั บเวลา (Using Space/Time Relationships) สเปสของวัตถุ หมายถึง ที่ว่างที่วัตถุนั้นครองที่อยู่ ซึ่งมีรูปร่างลักษะเช่นเดียวกบั วัตถุน้ัน โดยทว่ั ไปแล้วสเปสของวตั ถจุ ะมี ๓ มติ ิ คอื ความกว้าง ความยาว และความสงู ความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสมั พันธ์ระหว่าง ๓ มิติ กับ ๒ มิติ ความสมั พนั ธ์ระหว่างตำแหนง่ ท่ีของวตั ถุหนึ่งกับอีกวตั ถุหนงึ่ ความสามารถท่แี สดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการหา ความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส ไดแ้ ก่ การช้ีบง่ รูป ๒ มิติ และ ๓ มิติได้ สามารถวาดภาพ ๒ มิติ จากวัตถุ หรอื จากภาพ ๓ มิติ ได้ การวิเคราะห์หลักสูตร วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

ความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ไดแ้ ก่ ความสมั พันธ์ระหว่างการเปลี่ยนตำแหนง่ ที่อยู่ของวัตถุ กบั เวลา หรือความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสของวัตถุทเ่ี ปล่ียนไปกับเวลาความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะ การหาความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ไดแ้ ก่ การบอกตำแหน่งและทศิ ทางของวตั ถโุ ดยใชต้ ัวเองหรือวัตถุอื่น เป็นเกณฑ์ บอกความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนตำแหน่ง เปลย่ี นขนาด หรอื ปรมิ าณของวัตถกุ ับเวลาได้ ๗. การสอื่ ความหมายข้อมูล (Communicating) หมายถึง การนำข้อมูลที่ไดจ้ าการสังเกต การวัด การทดลอง และจากแหล่งอื่น ๆ มาจัดกระทำเสียใหม่โดยการหาความถี่ เรียงลำดับ จัดแยกประเภท หรือ คำนวณหาค่าใหม่ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ดีขึ้น โดยอาจเสนอในรูปของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ไดอะแกรม กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เป็นต้น ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะนี้แล้ว คือ การเปล่ยี นแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปใหม่ที่เข้าใจดีขึ้น โดยจะต้องรจู้ กั เลือกรปู แบบทใี่ ชใ้ นการเสนอข้อมูลได้อย่าง เหมาะสม บอกเหตุผลในการเสนอข้อมูลในการเลือกแบบแสนอข้อมูลนัน้ การเสนอข้อมูลอาจกระทำไดห้ ลาย แบบดงั ท่ีกลา่ วมาแล้ว โดยเฉพาะการเสนอข้อมูลในรูปของตาราง การบรรจขุ ้อมูลให้อย่ใู นรูปของตารางปกติจะ ใส่คา่ ของตวั แปรอสิ ระไวท้ างซ้ายมือของตาราง และคา่ ของตวั แปรตามไว้ทางขวามือของตารางโดยเขียนค่าของ ตัวแปรอิสระไว้ให้เรยี งลำดบั จากคา่ นอ้ ยไปหาคา่ มาก หรือจากค่ามากไปหาคา่ น้อย ๘. การพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การทำนายหรือการคาดคะเนคำตอบ โดยอาศัย ขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกตหรอื การทำซ้ำ ผ่านกระบวนการแปรความหายของขอ้ มลู จากสมั พนั ธภ์ ายใตค้ วามรู้ ทางวิทยาศาสตร์ ความสามารถที่แสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถทำนายผลที่อาจจะเกิดขึ้นจากข้อมูล บนพน้ื ฐานหลักการ กฎ หรือทฤษฎีที่มีอยู่ ท้งั ภายในขอบเขตของข้อมูล และภายนอกขอบเขตของข้อมูล ในเชงิ ปริมาณได้ ๙. การช้ีบ่งและการควบคมุ ตวั แปร (Identifying and Controlling Variables) หมายถงึ การชบ้ี ่ง ตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม และตัวแปรทีต่ ้องควบคมุ ใหค้ งทีใ่ นสมมตุ ิฐาน หนง่ึ ๆ ตวั แปรตน้ หมายถึง ส่งิ ทีเ่ ปน็ สาเหตทุ ่ีทำให้เกิดผลต่าง ๆ หรอื ส่ิงที่เราต้องการทดลองดูว่า เป็นสาเหตุท่ีก่อใหเ้ กิดผลเช่นน้ันจรงิ หรือไม่ ตวั แปรตาม หมายถงึ สิง่ ที่เป็นผลเนื่องมาจากตวั แปรต้น เม่ือตวั แปรตน้ หรือสิ่งที่เป็นสาเหตุ เปล่ียนไป ตัวแปรตามหรอื สง่ิ ท่เี ป็นผลจะแปรตามไปด้วย ตัวแปรทีต่ อ้ งควบคุมให้คงท่ี หมายถงึ สิ่งอน่ื ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นที่จะทำให้ผลการ ทดลองคลาดเคล่ือน ถ้าหากวา่ ไม่มกี ารควบคุมให้เหมือนกนั ๑๐. การตัง้ สมมุติฐาน (Formulating Hypotheses) หมายถงึ การคดิ หาคำตอบล่วงหนา้ ก่อนทำ การทดลอง โดยอาศยั การสังเกต อาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิมเป็นพ้ืนฐาน คำตอบท่คี ิดล่วงหน้านี้ ยังไม่ ทราบ หรอื ยังไม่เปน็ ทางการ กฎหรอื ทฤษฏีมาก่อน สมมตุ ิฐาน คือคำตอบท่คี ิดไวล้ ่วงหน้ามีกล่าวไว้เปน็ ข้อความ ท่บี อกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตามสมมุติฐานท่ีตั้งขึ้นอาจถูกหรือผดิ ก็ได้ซึ่งทราบได้ภายหลัง การทดลองหาคำตอบเพื่อสนับสนุนสมมุติฐานหรือคัดค้านสมมุติฐานที่ตั้งไว้ สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการตั้ง สมมุติฐาน คือ การบอกชื่อตัวแปรต้นซึ่งอาจมีผลต่อตัวแปรตามและในการตั้งสมมุติฐานต้องทราบตัวแปร จากปัญหาและสภาพแวดล้อมของตัวแปรนั้น สมมุติฐานที่ตั้งขึ้นสามารถบอกให้ทราบถึงการออกแบบการ ทดลอง ซึ่งต้องทราบวา่ ตวั แปรไหนเป็นตัวแปรต้น ตวั แปรตาม และตวั แปรท่ีตอ้ งควบคุมให้คงที่ ๑๑. การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร (Defining Variables Operationally) หมายถึง การกำหนดความหมายและขอบเขตของคา่ ต่าง ๆ ที่อยใู่ นสมมุติฐานทีต่ ้องการทดลองและบอกวิธีวัด ตวั แปรท่ีเก่ียวกบั การทดลองน้ัน การวเิ คราะห์หลักสูตร วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4

๑๒. การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคำตอบจาก สมมตฐิ านทีต่ ัง้ ไว้ ในการทดลองจะประกอบไปดว้ ยกจิ กรรม ๓ ขน้ั คือ ๑๒.๑ ออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองก่อนลงมือทดสอบจรงิ ๑๒.๒ ปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การลงมือปฏิบัติจริงและให้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ๑๒.๓ การบนั ทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทกึ ข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการทดลองซ่ึงอาจ เป็นผลจากการสงั เกต การวัด และอืน่ ๆ ได้อย่างคลอ่ งแคลว่ และถกู ต้อง การบนั ทกึ ผลการทดลอง อาจอยใู่ นรูป ตารางหรือการเขยี นกราฟ ซึ่งโดยทัว่ ไปจะแสดงค่าของตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระบนแกนนอนและค่าของตัว แปรบนแกนต้งั โดยเฉพาะในแต่ละแกนต้องใชส้ เกลทเี่ หมาะสม พร้อมทงั้ แสดงให้เห็นถึงตำแหน่งของค่าของตัว แปรทง้ั สองบนกราฟดว้ ย ๑๓. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป (Interpreting Data and Making Conclusion) การตีความหมายข้อมลู หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะข้อมูลทม่ี ีอยู่ การตีความหมายข้อมูล ในบางคร้งั อาจตอ้ งใช้ทกั ษะอนื่ ๆ ดว้ ย เชน่ การสงั เกต การคำนวณ เป็นต้น และการลงขอ้ สรุป หมายถึง การสรุป ความสมั พันธข์ องข้อมูลทั้งหมด ความสามารถทีแ่ สดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการลงข้อสรุปคือบอกความสัมพันธ์ ของขอ้ มลู ได้ เชน่ การอธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างตวั แปรบนกราฟ ถา้ กราฟเป็นเส้นตรงก็สามารถอธิบายได้ว่า เกิดอะไรข้ึนกับตวั แปรตามขณะท่ีตัวแปรอิสระเปล่ยี นแปลงหรือถ้าลากกราฟเป็นเส้นโค้งให้อธิบายความสัมพันธ์ ระหวา่ งตัวแปรก่อนท่ีกราฟเสน้ โค้งจะเปลี่ยนทิศทางและอธิบายความสมั พนั ธ์ ระหว่างตัวแปรหลังจากท่ีกราฟ เสน้ โคง้ เปลีย่ นทิศทางแลว้ 14. การสร้างแบบจำลอง (Modeling Construction) หมายถงึ การนำเสนอข้อมูล แนวคิด ความคิดรวบยอด เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจในรูปของแบบจำลองต่างๆ เช่น กราฟ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว วสั ดุ สิง่ ของ สงิ่ ประดษิ ฐ์ หุ่น เป็นต้น การวเิ คราะหห์ ลกั สูตร วิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4

จิตวทิ ยาศาสตร์ คณุ ลกั ษณะดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ ลักษณะชบ้ี ่ง/พฤติกรรม ๑.เหน็ คณุ ค่าทางวทิ ยาศาสตร์ ๑.๑ นิยมยกย่องกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ๒.คุณลกั ษณะทางวทิ ยาศาสตร์ ๑.๒ นยิ มยกย่องความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ ๒.๑ ความมเี หตผุ ล ๑.๓ เพ่ิมพนู ความรแู้ ละประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ ๑.๔ ตระหนักความสำคัญของวิทยาศาสตร์ ในการพัฒนา ๒.๒ ความอยากรู้อยากเห็น คณุ ภาพชีวิต ๒.๓ ความใจกวา้ ง ๒.๑.๑ การยอมรบั ขอ้ สรปุ ท่ีมเี หตุผล ๒.๔ ความมีระเบียบในการทำงาน ๒.๑.๒ มคี วามเชอื่ วา่ สง่ิ ท่เี กิดข้นึ ตอ้ งมสี าเหตุ ๒.๑.๓ นิยมยกยอ่ งบคุ คลที่มีความคดิ อยา่ งมเี หตุผล ๒.๕ การมคี า่ นยิ มตอ่ ความเสียสละ ๒.๑.๔ เห็นคุณค่าในการสืบหาความจริงก่อนที่จะยอมรับ หรือปฏบิ ตั ิตาม ๒.๖ การมคี า่ นยิ มตอ่ ความซ่ือสตั ย์ ๒.๒.๑ ชื่อว่าวิธีการทดลองคน้ ควา้ จะทำใหค้ ้นพบวิธีการ แก้ปัญหาได้ ๒.๗ การมคี า่ นยิ มตอ่ การประหยดั ๒.๒.๒ พอใจใฝห่ าความรทู้ างวิทยาศาสตร์เพิม่ เติม ๒.๒.๓ ชอบทดลองค้นคว้า ๒.๓.๑ ตระหนกั ถึงความสำคัญของความมีเหตุผลของ ผู้อื่น ๒.๓.๒ ยอมรับฟังความคิดเห็นและคำวจิ ารณข์ องผ้อู ื่น ๒.๔.๑ ตระหนักถงึ การระวังรักษาความปลอดภัยของ ตนเองและเพื่อนในขณะทดลองวิทยาศาสตร์ ๒.๔.๒ เหน็ คณุ คา่ ของการระวังรักษาเคร่ืองมอื ทใี่ ชม้ ใิ ห้ แตกหกั เสยี หาย ในขณะทดลองวิทยาศาสตร์ ๒.๕.๑ ตระหนักถึงการทำงานใหส้ ำเร็จลุล่วงตามเป้าหมาย โดยไมค่ ำนึงถงึ ผลตอบแทน ๒.๕.๒ เต็มใจท่ีจะอทุ ศิ ตนเพื่อการสร้างผลงานทาง วิทยาศาสตร์ ๒.๖.๑ เห็นคุณค่าต่อการเสนอผลงานตามความเปน็ จริงท่ี ทดลองได้ ๒.๖.๒ ตำหนิบคุ คลทน่ี ำผลงานผอู้ ืน่ มาเสนอเป็นผลงานของ ตนเอง ๒.๗.๑ ยินดที ่ีจะรักษาซ่อมแซมส่งิ ทชี่ ำรุดใหใ้ ช้การได้ ๒.๗.๒ เห็นคุณคา่ ของการใช้วัสดุอุปกรณอ์ ย่างประหยัด ๒.๗.๓ เห็นคณุ ค่าของวัสดุทีเ่ หลอื ใช้ การวเิ คราะหห์ ลกั สูตร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4

ตัวชีว้ ัดช้ันปี สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พันธร์ ะหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ สง่ิ มชี วี ติ และ ความสมั พันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกบั สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถา่ ยทอดพลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่ม ีต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข ปัญหา สงิ่ แวดล้อมรวมท้ังนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ป.๑ ตัวช้วี ัดช้ันปี ป.๓ ป.๒ ป.๖ ๑. ระบุช่ือพืชและสัตว์ที่อาศัย อยู่บริเวณตา่ ง ๆ จากขอ้ มูลท่ี ป.๕ รวบรวมได้ ๑. บรรยายโครงสร้าง และ ๒. บอกสภาพแวดลอ้ ม ที่ ลักษณะของสง่ิ มีชีวิตทีเ่ หมาะสม เหมาะสมกับการดำรงชีวติ ของ กบั การดำรงชีวติ ซง่ึ เปน็ ผลมา สตั ว์ในบรเิ วณที่อาศยั อยู่ จากการปรับตัวของส่ิงมีชวี ติ ใน แต่ละแหล่งท่ีอยู่ ป.๔ ๒. อธิบาย ความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมชี ีวติ กับส่ิงมีชีวติ และ ความสมั พันธ์ ระหว่าง สิ่งมชี ีวติ กบั สิ่งไมม่ ีชีวติ เพือ่ ประโยชนต์ อ่ การดารงชีวติ ๓. เขียนโซ่อาหารและระบุ บทบาทหน้าทข่ี องสิ่งมีชวี ติ ทีเ่ ป็น ผู้ผลิตและผู้บรโิ ภคในโซอ่ าหาร ๔. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของ สิ่งแวดลอ้ มทม่ี ี ต่อการดำรงชวี ิต ของสง่ิ มีชีวิตโดยมสี ่วนร่วมใน การดูแลรักษาสงิ่ แวดลอ้ ม การวเิ คราะหห์ ลกั สูตร วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัตขิ องสงิ่ มีชวี ิต หน่วยพืน้ ฐานของสิ่งมีชวี ิต การลาเลียงสารเข้าและ ออกจากเซลล์ ความสมั พันธข์ อง โครงสรา้ ง และหนา้ ที่ของระบบต่างๆ ของสตั วแ์ ละมนษุ ย์ที่ทางานสัมพันธ์ กนั ความสัมพันธข์ องโครงสร้างและหน้าท่ขี องอวัยวะตา่ งๆ ของพืชท่ที ำงานสมั พันธ์กนั รวมท้ังนาความรู้ไป ใชป้ ระโยชน์ ตวั ชีว้ ัดชัน้ ปี ป.๑ ป.๒ ป.๓ ๑. ระบุชื่อ บรรยายลักษณะและ ๑. ระบุว่าพืชต้องการแสงและน้ำ ๑. บรรยายสิ่งที่จำเป็นต่อการ บอกหน้าที่ของส่วนต่างๆ ของ เพื่อการเจริญเตบิ โต โดยใช้ข้อมูล ดำรงชีวิตและการเจริญเติบโต ร่างกายมนุษย์ สัตว์ และพืช จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ของมนุษย์และสัตว์ โดยใช้ข้อมูล รวมทั้งบรรยายการทำหน้ าท่ี ๒. ตระหนักถึงความจำเป็นที่พืช ทีร่ วบรวมได้ ร่วมกนั ของส่วนต่างๆ ของร่างกาย ต้องได้รับน้ำและแสงเพื่อการ ๒. ตระหนักถึงประโยชน์ของ มนุษย์ในการทำกิจกรรมต่างๆ เจริญเติบโต โดยดูแลพืชให้ได้รับ อาหาร น้ำ และอากาศ โดยการ จากขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ สิง่ ดังกลา่ วอย่างเหมาะสม ดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รับส่ิง ๒. ตระหนักถึงความสำคัญของ ๓. สร้างแบบจำลองที่บรรยาย เหลา่ นอ้ี ยา่ งเหมาะสม ส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกายตนเอง โดย วฏั จกั ชวี ติ ของพชื ดอก ๓. สร้างแบบจำลองที่บรรยาย การดูแลส่วนต่างๆ อย่างถูกต้อง วัฏจักรชีวิตของสัตว์ และ ให้ปลอดภัยและรักษาความ เปรยี บเทียบ วัฏจกั รชีวติ บางชนดิ สะอาดอยู่เสมอ ๔. ตระหนักถึงคณุ ค่าของชีวิตสัตว์ โดยไม่ทำให้วัฏจักรชีวิตของสัตว์ เปลย่ี นแปลง ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๑. บรรยายหนา้ ท่ีของราก ลำตน้ - ๑. ระบุสารอาหารและบอก ใบ และดอกของพืชดอกโดยใช้ ประโยชน์ สารอาหารแต ่ ละ ข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ ประเภทจากอาหารตนเอง รบั ประทาน ๒. บอกแนวทางในการเลือก รับประทานอาหารให้ไดส้ ารอาหาร ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับ เพศและวยั รวมท้ังความปลอดภัย ต่อสุขภาพ ๓. ตระหนักถึงความสำคัญของ สารอาหาร โดยการเลือกรับประ ทานอาหารที่มสี ารอาหารครบถ้วน ในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและ วัย รวมทั้งปลอดภัยต่อสขุ ภาพ การวิเคราะหห์ ลกั สตู ร วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4

ตัวช้ีวดั ชัน้ ปี ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๔. สร้างแบบจำลองระบบย่อย อาหาร และบรรยายหน้าที่ของ อวัยวะในระบบย่อยอาหาร รวมทงั้ อธิบายการย่อยอาหารและ การดดู ซมึ สารอาหาร ๕. ตระหนักถึงความสำคัญของ ระบบย่อยอาหาร โดยการบอก แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะ ในระบบย่อยอาหารให้ทำงานเป็น ปกติ สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ วิวัฒนาการ ของส่งิ มชี วี ิต รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชว้ี ดั ช้นั ปี ป.๑ ป.๒ ป.๓ - ๑. เปรียบเทียบ ลักษณะของ - สิ่งมีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิต จาก ข้อมลู ท่รี วบรวมได้ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๑. จำแนกสิง่ มชี ีวิตโดยใช้ความ ๑. อธิบายลักษณะทางพันธุกรรม เหมือนและความแตกต่างของ ที่มีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูก ลักษณะของสิ่งมีชีวิต ออกเป็น ของพชื สัตว์ และมนษุ ย์ กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ี ๒. แสดงความอยากรู้อยากเห็น ไม่ใช่พชื และสตั ว์ โ ด ย ก า ร ถ า ม ค ำ ถ า ม เ ก ี ่ ย ว กั บ ๒. จำแนกพืชออกเป็นพืชดอก ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของ และพืชไม่มีดอก โดยใช้การมี ตนเองกบั พ่อแม่ ดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ี รวบรวมได้ ๓. จำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มี กระด ู กส ั น หล ั ง แล ะส ั ต ว ์ ไ ม ่ มี กระดูกสันหลัง โดยใชก้ ารมีกระดูก สันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ี รวบรวมได้ การวเิ คราะห์หลกั สตู ร วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4

ป.๔ ตัวชีว้ ดั ชัน้ ปี ป.๖ ป.๕ ๔. บรรยายลักษณะ เฉพาะที่ สงั เกตได้ของสัตวม์ ีกระดูกสันหลัง ในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้า สะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุม่ นก และกล่มุ สตั วเ์ ลย้ี งลูกด้วย น้ำนม และยกตวั อย่างส่ิงมีชีวิตใน แตล่ ะกลุม่ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมบตั ิของ สสารกบั โครงสร้างและแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของ สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี ตัวช้ีวัดชน้ั ปี ป.๑ ป.๒ ป.๓ ๑. อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของ ๑. เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับน้ำ ๑. อธิบายว่าวัตถุประกอบข้ึน วัสดุที่ใช้ทำวัตถุซึ่งทำจากวัสดุ ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ จากชิ้นส่วน ย่อย ๆ ซึ่งสามารถ ชนิดเดียวหรอื หลายชนิดประกอบ และระบุการนำสมบัติการดูดซับน้ำ แยกออกจากกันได้และประกอบ กนั โดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทำวัตถุ กันเป็นวัตถุชิ้นใหม่ได้ โดยใช้ ๒. ระบุชนิดของวัสดแุ ละจดั กลมุ่ ในชวี ติ ประจำวนั หลักฐานเชงิ ประจักษ์ วสั ดตุ ามสมบัตทิ ีส่ ังเกตได้ ๒. อธิบายสมบตั ิทส่ี ังเกตได้ของวัสดุท่ี ๒. อธบิ ายการเปล่ียนแปลงของ เกิดจากการนำวัสดมุ าผสมกนั โดยใช้ วัสดุเมื่อทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้ หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เย็นลง โดยใช้หลักฐาน เ ชิ ง ๓. เปรียบเทียบสมบัติทีส่ ังเกตได้ของ ประจกั ษ์ วัสดุเพื่อนำมาทำเป็นวัตถุในการใช้ งานตามวัตถุประสงค์ และอธิบายการ นำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่โดยใช้ หลกั ฐานเชิงประจักษ์ ๔. ตระหนักถึงประโยชน์ของการนำ วัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ โดยการ นำวสั ดทุ ่ีใช้แลว้ กลบั มาใชใ้ หม่ การวเิ คราะหห์ ลักสูตร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4

ตวั ชีว้ ัดช้ันปี ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๑. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพ ๑. อธิบายการเปลี่ยนสถานะ ๑. อธิบายและเปรียบเทียบการ ด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำ ของสสารเมื่อทำให้สสารร้อนข้ึน แยกสารผสมโดยการหยิบออก ความร้อน และการนำไฟฟ้าของวัสดุ หรือเย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิง การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการ ประจกั ษ์ การรินออก การกรอง และการ ทดลองและระบุการนำสมบตั ิเรื่องความ ๒. อธิบายการละลายของสารใน ตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิง แข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน นำ้ โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ ประจักษ์ รวมทัง้ ระบวุ ิธีแก้ปัญหา และการนำไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ใน ๓. วิเคราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงของ ในชวี ติ ประจำวนั เก่ยี วกบั การแยก ชีวิตประจำวัน ผ่านกระบวนก า ร สารเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทาง สาร ออกแบบช้ินงาน เคมี โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ๒. แลกเปลยี่ นความคิดกบั ผู้อื่นโดยการ ๔ . ว ิ เ ค รา ะ ห ์ แ ล ะ ระ บ ุ ก า ร อภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพ เปลยี่ นแปลงที่ผนั กลับได้และการ ของวัสดอุ ยา่ งมีเหตผุ ลจากการทดลอง เปลยี่ นแปลงทผ่ี นั กลับไม่ได้ ๓. เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง ๓ สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกต มวล การต้องการที่อยู่ รูปร่างและ ปรมิ าตรของสสาร ๔. ใชเ้ คร่ืองมือเพ่อื วัดมวล และปรมิ าตร ของสสารทง้ั ๓ สถานะ สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ติ ประจำวนั ผลของแรงทกี่ ระทาต่อวตั ถุ ลักษณะ การเคลือ่ นทแ่ี บบ ตา่ งๆ ของวัตถุ รวมทงั้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ตัวช้วี ัดชนั้ ปี ป.๑ ป.๒ ป.๓ - - ๑. ระบุผลของแรงที่มีต่อการ เปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ของวัตถุ จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ๒. เปรียบเทียบและยกตัวอย่างแรง สัมผัสและแรงไม่สัมผัสที่มีผลต่อการ เคลื่อนที่ของวัตถุโดยใช้หลักฐานเชิง ประจกั ษ์ การวิเคราะห์หลักสูตร วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4

ตวั ชว้ี ัดชัน้ ปี ป.๑ ป.๒ ป.๓ - - ๓. จำแนกวัตถุโดยใชก้ ารดึงดูดกับ แม่เหล็กเป็นเกณฑ์จากหลักฐาน เชิงประจกั ษ์ ๔. ระบุขั้วแม่เหล็กและพยากรณ์ ผลทเี่ กิดขึ้นระหวา่ งขว้ั แมเ่ หล็กเมื่อ นำมาเข้าใกล้กันจากหลักฐานเชิง ประจกั ษ์ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๑. ระบุผลของแรงโนม้ ถว่ งท่ีมีต่อ ๑. อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของ ๑. อธบิ ายการเกดิ และผลของแรง วตั ถุจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ แรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่ ไฟฟา้ ซงึ่ เกดิ จากวัตถุทผ่ี า่ นการ ขดั ๒. ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัด กระทำต่อวัตถุในกรณีที่วัตถุอยู่ ถโู ดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ น้ำหนักของวตั ถุ นิ่งจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ๓. บรรยายมวลของวัตถุที่มีผล ๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงที่ ต่อการเปลีย่ นแปลงการเคลื่อนท่ี กระทำต่อวัตถุที่อยู่ใ นแนว ข อ ง ว ั ต ถ ุ จ า ก ห ล ั ก ฐ า น เชิง เดียวกนั และแรงลพั ธ์ที่กระทำต่อ ประจักษ์ วัตถุ ๓. ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัด แรงที่กระทำต่อวตั ถุ ๔. ระบุผลของแรงเสียดทานที่มี ตอ่ การเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ี ข อ ง ว ั ต ถ ุ จ า ก ห ล ั ก ฐา น เชิง ประจกั ษ์ ๕. เขยี นแผนภาพแสดงแรงเสียด ทานและแรงที่อยู่ในแนวเดียวกัน ทกี่ ระทำต่อวตั ถุ การวิเคราะหห์ ลักสตู ร วชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสาร และพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่ เกีย่ วข้องกบั เสยี ง แสง และคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมท้ังนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ตัวช้วี ดั ชัน้ ปี ป.๑ ป.๒ ป.๓ ๑. บรรยายการเกิดเสยี งและทศิ ๑. บรรยายแนวการเคล่ือนท่ีของ ๑. ยกตัวอย่างการเปล่ียนพลังงาน ทางการเคลื่อนที่ของเสียงจาก แสงจากแหล่งกำเนิดแสง และ หนึ่งไปเป็นอีกพลังงานหนึ่งจาก หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ อธิบายการมองเห็นวัตถุ จาก หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ หลกั ฐานเชิงประจักษ์ ๒. บรรยายการทำงานของเครื่อง ๒. ตระหนกั ในคุณค่าของความรู้ กำเนิดไฟฟ้าและระบุแหล่งพลัง ของการมองเห็นโดยเสนอแนะ งานในการผลิตไฟฟ้าจากข้อมูลท่ี แนวทางการปอ้ งกนั อันตรายจาก รวบรวมได้ การมองวัตถุที่อยู่ในบริเวณที่มี ๓. ตระหนักในประโยชน์และโทษ แสงสว่างไมเ่ หมาะสม ของไฟฟ้าโดยนำเสนอวิธีการใช้ ไฟฟ้าอยา่ งประหยัดและปลอดภยั ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๑. จำแนกวัตถุเป็นตัวกลาง ๑. อธิบายการได้ยินเสียงผ่าน ๑. ระบุส่วนประกอบและบรรยาย โปร่ง ใส ตัวกลางโปร่งแ สง ต ั ว ก ล า ง จ า ก ห ล ั ก ฐา น เ ชิ ง หน้าท่ขี องแตล่ ะสว่ นประกอบของ และวัตถุทึบแสง จากลักษณะ ประจกั ษ์ วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายจากหลักฐาน การมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ผ่านวัตถุ ๒. ระบุตัวแปร ทดลองและ เชิงประจักษ์ นั้นเป็นเกณฑ์โดยใช้หลักฐาน อธิบายลักษณะและการเ กิด ๒. เขียนแผนภาพและต่อวงจร เชงิ ประจกั ษ์ เสยี งสูง เสียงตำ่ ไฟฟา้ อยา่ งง่าย ๓. ออกแบบการทดลองและ ๓. ออกแบบการทดลองและ อธิบายลักษณะและการเ กิด ทดลองดว้ ยวธิ ที ี่เหมาะสมในการ เสยี งดงั เสยี งค่อย อธิบายวธิ ีการและผลของการตอ่ ๔. วัดระดับเสยี งโดยใชเ้ ครื่องมือ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รม วัดระดบั เสยี ง ๔. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของ ๕. ตระหนกั ในคุณค่าของความรู้ ความรู้ของการตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบ เรื่องระดับเสียงโดยเสนอแนะ อนุกรมโดยบอกประโยชนแ์ ละการ แนวทางในการหลีกเล่ียงและลด ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มลพษิ ทางเสียง ๕. ออกแบบการทดลองและ ทดลองด้วยวิธที ่เี หมาะสมในการ อธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าแบบ อนุกรมและแบบขนาน การวเิ คราะหห์ ลกั สูตร วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4

ตัวชีว้ ัดช้นั ปี ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๖. ตระหนักถึงประโยชน์ของ ความรู้ของการตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน โดยบอกประโยชน์ ข้อจำกัด และ การประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน ๗. อธิบายการเกิด เงามืดเงามัว จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ๘. เขียนแผนภาพรังสีของแสง แสดงการเกิด เงามืดเงามัว สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ ระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการ ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี อวกาศ ตัวชว้ี ัดช้นั ปี ป.๑ ป.๒ ป.๓ ๑.ระบุดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้า - ๑. อธิบายแบบรูป เส้นทางการ ในเวลากลางวัน และกลางคืน ขึ้น และตกของ ดวงอาทิตย์โดย จากขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ ใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ๒. อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็น ๒ . อ ธ ิ บ า ย ส า เ ห ต ุ ก า รเ กิด ด าว ส่ ว น ใ หญ่ ใ น เว ลากล า ง วั น ปรากฏการณ์ การขน้ึ และตกของ จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวัน กลางคืน และการ กำหนดทิศ โดยใช้ แบบจำลอง ๓. ตระหนักถึง ความสำคัญของ ดวงอาทิตย์ โดย บรรยาย ประโ ยชน์ข อ งด วง อ า ทิ ต ย ์ ต่ อ สิ่งมีชวี ติ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๑. อธิบายแบบรูป เส้นทางการ ๑. เปรียบเทียบความแตกต่าง ๑. สร้างแบบจำลองที่อธิบาย ขึ้น และตกของ ดวงจันทร์ โดย ของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การเ กิ ด แ ล ะ เ ปรี ย บเ ที ย บ ใช้ หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ จากแบบจำลอง ปรากฏการณ์ สุริยุปราคาและ จนั ทรปุ ราคา ตัวช้ีวัดชน้ั ปี การวเิ คราะหห์ ลักสตู ร วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4

ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๒. สร้างแบบจำลองที่ อธบิ าย ๒. ใชแ้ ผนทีด่ าวระบตุ ำแหนง่ ๒. อธบิ าย พฒั นาการ แบบรูป การเปลี่ยนแปลง รปู ร่าง และเส้นทาง การข้ึนและตก ของเทคโนโลยี อวกาศ และ ปรากฏของดวงจันทร์ และ ของกลมุ่ ดาวฤกษบ์ นท้องฟ้า ยกตวั อย่างการนำเทคโนโลยี พยากรณร์ ูปรา่ งปรากฏของดวง และอธบิ าย แบบรูปเสน้ ทาง อวกาศมาใช้ประโยชนใ์ น จันทร์ การขน้ึ และตกของกล่มุ ดาวฤกษ์ ชีวิตประจำวนั จากขอ้ มูลท่ี ๓. สรา้ งแบบจำลอง แสดงองค์ บนทอ้ งฟ้าในรอบปี รวบรวมได้ ประกอบ ของระบบสุรยิ ะ และ อธิบาย เปรยี บเทยี บคาบ การ โคจรของ ดาวเคราะห์ต่างๆ จากแบบจำลอง สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณพี บิ ัตภิ ยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก รวมท้ัง ผล ต่อสง่ิ มีชวี ติ และส่งิ แวดลอ้ ม ตวั ช้วี ัดช้ันปี ป.๑ ป.๒ ป.๓ ๑. อธบิ ายลกั ษณะภายนอก ๑. ระบุส่วนประกอบของดิน ๑. ระบุส่วนประกอบของอากาศ บรรยาย ข อ ง ห ิ น จ า ก ล ั ก ษ ณ ะ และจำแนกชนิดของดินโดยใช้ ความสำคัญของอากาศ และผลกระทบของ เฉพาะตวั ท่สี งั เกตได้ ลักษณะเนื้อดินและการจับตัว มลพิษทางอากาศ ต่อสิ่งมีชีวติ จากข้อมูลที่ เป็นเกณฑ์ รวบรวมได้ ๒. อธิบายการใช้ประโยชน์จาก ๒. ตระหนักถึงความสำคัญของอากาศ โดย ดนิ จากข้อมูลที่รวบรวมได้ นาเสนอแนวทางการปฏิบัตติ นในการลดการ เกดิ มลพิษทางอากาศ ๓. อธิบายการเกิดลมจากหลักฐานเชิง ประจกั ษ์ ๔. บรรยายประโยชน์และโทษของลมจาก ขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ ตวั ชีว้ ัดช้ันปี การวิเคราะหห์ ลักสตู ร วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4

ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๑. เปรียบเทียบปริมาณ ๑. เปรียบเทียบปริมาณน้ำใน ๑. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี น้ำใน แต่ละแหล่งและ แต่ละแหลง่ และระบุปริมาณน้ำท่ี หินตะกอน และหินแปร และอธิบาย วัฏจักรหิน ระบุปริมาณน้ำที่มนุษย์ มนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ จากแบบจำลอง ส า ม า ร ถ น ำ ม า ใ ช้ ได้ จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ ๒. บรรยายและยก ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของ ประโยชนไ์ ด้ จากข้อมลู ท่ี ๒. ตระหนักถึงคุณค่าของน้ำ โดย หินและแร่ในชีวิต ประจำวันจากข้อมูลที่รวบรวม รวบรวมได้ นำเสนอแนวทางการใช้น้ำอย่าง ได้ ประหยดั และการอนรุ ักษน์ ำ้ ๓. สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิดซากดึก ๓. สร้างแบบจำลองที่อธิบายการ ดำบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดตี ของ หมนุ เวียนของน้ำในวัฏจกั รน้ำ ซากดึกดำบรรพ์ ๔. เปรียบเทียบกระบวนการเกิด ๔. เปรียบเทยี บการเกดิ ลมบก ลมทะเล และมรสุม เมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้าง รวมทั้งอธิบายผลที่มีต่อสิง่ มีชวี ิตและสิ่งแวดล้อม แข็ง จากแบบจำลอง จากแบบจำลอง ๕. เปรียบเทียบกระบวนการเกิด ๕. อธิบายผลของมรสมุ ต่อการเกิดฤดูของประเทศ ฝน หิมะ และลกู เห็บ จากขอ้ มูลที่ ไทย จากขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้ รวบรวมได้ ๖. บรรยายลักษณะและผลกระทบของน้ำท่วม การกัดเซาะชายฝง่ั ดนิ ถลม่ แผน่ ดินไหว สึนามิ ๗. ตระหนักถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติและ ธรณพี บิ ตั ิภัย โดยนำเสนอแนวทางในการเฝ้าระวัง และปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและ ธรณพี บิ ัติภัยท่อี าจเกดิ ในท้องถ่นิ ๘. สรา้ งแบบจำลองที่อธิบายการเกดิ ปรากฏการณ์ เรือนกระจกและผลของปรากฏการณ์เรือนกระจก ตอ่ สงิ่ มชี วี ิต ๙. ตระหนักถึงผลกระทบของปรากฏการณ์ เรือนกระจกโดยนำเสนอแนวทาง การปฏิบัติตน เพื่อลดกจิ กรรมที่ก่อใหเ้ กิดแก๊สเรือนกระจก สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี การวิเคราะห์หลกั สูตร วิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มี การเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ใช้ ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพ่ือแกป้ ัญหาหรือพัฒนางาน อยา่ งมีความคดิ สร้างสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม ตัวชี้วดั ชัน้ ปี ป.๑ ป.๒ ป.๓ --- ป.๔ ป.๕ ป.๖ --- สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเปน็ ขัน้ ตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทนั และมจี รยิ ธรรม ป.๑ ตวั ชวี้ ดั ชั้นปี ป.๓ ๑. แก้ปัญหาอย่างงา่ ย ป.๒ ๑. แสดงอลั กอริทมึ ในการทำงาน โดยใชก้ ารลองผิด ลองถูก หรือการแกป้ ัญหาอยา่ งง่ายโดย การเปรียบเทยี บ ๑. แสดงลำดับขั้นตอนการ ใชภ้ าพ สญั ลักษณ์ หรือขอ้ ความ ๒. แสดงลำดบั ขน้ั ตอนการ ทำงานหรอื การแกป้ ัญหาอยา่ ง ๒. เขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย ทำงานหรือการแก้ปัญหาอยา่ ง ง่ายโดยใช้ภาพ สญั ลักษณ์ หรือ โดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือส่ือ และ งา่ ย โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือ ขอ้ ความ ตรวจหาข้อผิดพลาดของ ข้อความ ๒. เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย โดย โปรแกรม ๓. เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย ใชซ้ อฟต์แวร์หรือส่ือ และ ๓. ใชอ้ ินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือสือ่ ตรวจหาข้อผดิ พลาดของ ๔. รวบรวม ประมวลผล และ ๔. ใช้เทคโนโลยใี นการสรา้ ง โปรแกรม นำเสนอข้อมลู โดยใชซ้ อฟต์แวร์ จัด เกบ็ เรยี กใช้ข้อมลู ตามวัตถุ ๓. ใช้เทคโนโลยใี นการสรา้ ง จัด ตามวตั ถุประสงค์ ประสงค์ หมวดหมู่ ค้นหา จดั เกบ็ เรียกใช้ ๕. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ ง ๕. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ขอ้ มูลตามวตั ถุประสงค์ ปลอดภยั ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลงใน อย่าง ปลอดภยั ปฏบิ ตั ติ าม ๔. ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ การใช้อินเทอรเ์ น็ต ข้อตกลงในการใช้คอมพวิ เตอร์ อยา่ ง ปลอดภัย ปฏบิ ัติ ตาม รว่ มกนั ดูแลรักษาอุปกรณ์ ขอ้ ตกลงใน การใชค้ อมพวิ เตอร์ เบือ้ งตน้ ใชง้ านอย่างเหมาะสม ร่วมกนั ดูแลรักษา อุปกรณ์ เบือ้ งต้น ใชง้ านอย่าง เหมาะสม การวเิ คราะหห์ ลักสตู ร วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

ตวั ช้ีวัดชน้ั ปี ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๑. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ ๑. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ ๑. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ แก้ปญั หา การอธิบายการทำงาน แก้ปัญหา การอธิบาย การงาน อธิบายและ ออกแบบวิธีการ การคาดการณ์ผลลัพธ์ จาก การคาดการณ์ผลลัพธจ์ ากปัญหา แก้ปัญหาทีพ่ บใน ชีวิตประจำวนั ปญั หาอยา่ งงา่ ย อย่างง่าย ๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรม ๒. ออกแบบ และเขียนโปรแกรม ๒. ออกแบบและเขยี น โปรแกรม อย่างง่ายเพื่อแก้ปัญหาในชีวิต อย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือ ที่มกี ารใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่าง ประจำวัน ตรวจหาข้อผิดพลาด ส่ือ และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดและ ง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและ ของ โปรแกรมและแก้ไข แกไ้ ข แก้ไข ๓. ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหา ๓. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ ๓. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ขอ้ มลู อย่างมีประสิทธิภาพ และประเมินความน่าเชื่อถือของ ตดิ ต่อสือ่ สาร และทำงานร่วมกัน ๔. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ข้อมูล ประเมินความน่าเชื่อถือของ ทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย ๔. รวบรวม ประเมิน นำเสนอ ขอ้ มูล เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน ข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ ๔. รวบรวม ประเมิน นำเสนอ เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้ง ซอฟต์แวร์ที่หลากหลาย เพื่อ ข้อมูลและสารสนเทศ ตาม ผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือ แก้ปญั หาในชีวติ ประจำวนั วัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์ บุคคลที่ไม่เหมาะสม ๕. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ อยา่ ง ปลอดภยั เขา้ ใจ สิทธิและ หลากหลาย เพื่อ แก้ปัญหาใน หน้าที่ ของตน เคารพใน สิทธิ ชวี ติ ประจำวนั ของผู้อ่นื แจ้งผเู้ กี่ยวข้องเม่ือพบ ๕. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่าง ข้อมลู หรือบคุ คลที่ ไมเ่ หมาะสม ปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิ และหนา้ ท่ขี องตน เคารพในสิทธิ ของผอู้ ื่น แจง้ ผู้เก่ียวขอ้ ง เมื่อพบ ขอ้ มูลหรือบุคคล ทไ่ี มเ่ หมาะสม การวิเคราะห์หลักสูตร วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4

ตัวชี้วัดและสาระกา ชั้นประถมศ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พันธร์ ะ ระบบนิเวศ การถา่ ยทอดพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงแทนทใ่ี นระบบนเิ วศ ความหมายขอ ในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการแกไ้ ขปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มรวมท้ังนำความรไู้ ปใ รหสั ตวั ชีว้ ดั ตัวชี้วัด -- สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หนว่ ยพ้นื ฐานของสง่ิ มชี ีวติ กา สัตวแ์ ละมนุษย์ท่ีทำงานสมั พนั ธก์ นั ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าทขี่ องอวยั วะต รหัสตัวชี้วัด ตวั ช้ีวดั ว ๑.๒ ป ๔/๑ ๑. บรรยายหน้าท่ขี องราก ลำต้น ใบ และดอก - ส่วนต่าง ของพชื ดอกโดยใช้ขอ้ มูลที่รวบรวมได้ - รากทำห - ลำต้นทำ ของพชื - ใบทำหน คอื นำ้ ตาล

ารเรยี นรู้แกนกลาง ศกึ ษาปีที่ ๔ ะหวา่ งสิ่งไม่มีชวี ติ กับส่ิงมชี วี ติ และความสมั พันธ์ระหว่างสิ่งมชี วี ิตกับส่ิงมีชวี ติ ต่าง ๆ ใน องประชากรปญั หาและผลกระทบท่ีมตี อ่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม แนวทาง ใชป้ ระโยชน์ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถนิ่ -- ารลำเลียงสารผ่านเซลลค์ วามสมั พันธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ทขี่ องระบบต่าง ๆ ของ ต่าง ๆ ของพชื ทท่ี ำงานสมั พนั ธ์กันรวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่ ง ๆ ของพืชดอกทำหน้าทแี่ ตกตา่ งกัน - ศึกษา โครงสร้างของพืชที่พบในบริเวณสวน หนา้ ท่ดี ูดนำ้ และแรธ่ าตุขึน้ ไปยังลำต้น โรงเรียนอนุบาลลำพูน เชน่ ตน้ มะนาว ำหน้าทีล่ ำเลียงน้ำต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ต้นพริก เป็นตน้ นา้ ท่ีสรา้ งอาหาร อาหารท่พี ืชสร้างข้ึน ลซ่ึงจะเปล่ียนเป็นแปง้ การวิเคราะห์หลกั สูตร วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4

รหสั ตวั ชีว้ ดั ตวั ชว้ี ดั - ดอกทำ ส่วนประก เกสรเพศผ แตล่ ะส่วน สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษ ความหลากหลายทางชีวภาพและววิ ัฒนาการของส่ิงมีชวี ิต รวมท้ังนำความรไู้ ปใช้ประโย รหัสตวั ชว้ี ัด ตวั ชว้ี ัด ว ๑.๓ ป ๔/๑ ๑. จำแนกส่งิ มชี วี ิตโดยใชค้ วามเหมือนและ - สิ่งมีชวี ิต ความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวติ ใช้ ความเห ออกเป็น กลุ่มพืช กลมุ่ สตั ว์ และกลมุ่ ท่ไี ม่ใช่พชื ต่าง ๆ เช และสตั ว์ เคลื่อนท่ีด อื่นเป็นอา และสตั ว์ เ ว ๑.๓ ป ๔/๒ ๒. จำแนกพืชออกเปน็ พืชดอกและพืชไม่มีดอก - การจำ โดยใชก้ ารมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใชข้ อ้ มูล ท่ี เกณฑ์ ใน รวบรวมได้ มีดอก

สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถนิ่ ำหน้าที่สืบพันธุ์ ประกอบด้วย กอบต่าง ๆ ได้แก่ กลีบเลย้ี ง กลีบดอก ผู้ และเกสรเพศเมยี ซง่ึ ส่วนประกอบ นของดอก ทำหน้าที่แตกตา่ งกนั ษณะทางพันธุกรรม สารพันธกุ รรม การเปล่ยี นแปลงทางพันธุกรรมท่มี ีผลต่อสิ่งมีชีวิต ยชน์ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ ตมีหลายชนิด สามารถจัดกลุ่มไดโ้ ดย - หมือนและความแตกตา่ งของลักษณะ ช่น กลุ่มพืชสร้างอาหารเองได้ และ ดว้ ยตนเองไม่ได้ กลุม่ สตั ว์กินส่ิงมีชีวิต าหารและเคลือ่ นทีไ่ ด้ กลุ่มที่ไม่ใช่พืช เชน่ เหด็ รา จลุ นิ ทรีย์ ำแนกพืช สามารถใช้การมีดอกเป็น - สำรวจ จำแนก พืชออกเป็นพืชดอกและพืช นการจำแนก ไดเ้ ปน็ พืชดอกและพืชไม่ ไม่มดี อก ในโรงเรียนอนุบาลลำพูน การวิเคราะห์หลกั สูตร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4

รหัสตวั ชว้ี ดั ตัวชีว้ ัด ว ๑.๓ ป ๔/๓ ๓. จำแนกสัตว์ออกเป็นสตั ว์มีกระดูกสันหลัง - การจำแ ว ๑.๓ ป ๔/๔ และสตั วไ์ ม่มีกระดกู สนั หลงั โดยใช้การมี หลัง เป็น กระดกู สันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ี กระดูกสัน รวบรวมได้ - สตั ว์มกี ร ๔. บรรยายลกั ษณะเฉพาะทีส่ งั เกตได้ของสตั ว์มี ปลา กลุ กระดูกสนั หลงั ในกลุ่มปลา กลมุ่ สตั วส์ ะเทนิ น้ำ สัตวเ์ ลอื้ ยค สะเทนิ บก กลมุ่ สัตว์เล้ือยคลาน กลุม่ นก และ ด้วยน้ำนม กลุ่มสตั ว์เล้ยี งลูกด้วยนำ้ นม และยกตวั อย่าง สงั เกตได้ สิ่งมีชีวิตในแตล่ ะกลุ่ม

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน - แนกสัตว์ สามารถใช้การมีกระดูกสัน นเกณฑ์ในการจำแนก ได้เป็นสัตว์มี นหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสนั หลงั ระดูกสนั หลังมีหลายกลมุ่ ไดแ้ ก่ กลุ่ม ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่ม คลาน กลมุ่ นก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูก ม ซึ่งแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะที่ การวิเคราะห์หลกั สูตร วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พ ธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ิร รหัสตวั ชว้ี ัด ตัวชวี้ ัด - วัสดุแตล่ ว ๒.๑ ป ๔/๑ กนั วัสดุท ๑. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพดา้ นความ มสี ภาพยดื ว ๒.๑ ป ๔/๒ แข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการ มากระทำแ นำไฟฟา้ ของวัสดโุ ดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ รอ้ นจะรอ้ จากการทดลองและระบุการนำสมบัตเิ ร่ือง ที่นำไฟฟ้า ความแขง็ สภาพยดื หยุ่น การนำความรอ้ น ดังนั้นจึงอ และการนำไฟฟา้ ของวสั ดุไปใช้ใน ใช้ในกระ ชวี ติ ประจำวนั ผ่านกระบวนการออกแบบ ประโยชน ช้ินงาน ๒. แลกเปล่ยี นความคดิ กบั ผ้อู น่ื โดยการ อภิปรายเกยี่ วกบั สมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุ อย่างมเี หตุผลจากการทดลอง

พนั ธร์ ะหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนย่ี วระหว่างอนุภาค หลักและ ริยาเคมี สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถิน่ ละชนิดมีสมบตั ิทางกายภาพแตกต่าง - สำรวจขยะทพี่ บบริเวณโรงเรยี นอนบุ าลลำพูน ท่ีมีความแขง็ จะทนต่อแรงขูดขดี วัสดุท่ี และเปรยี บเทียบสมบัติของวสั ดุ ดหยุ่นจะเปลี่ยนแปลงรปู ร่างเม่ือมีแรง และกลบั สภาพเดมิ ได้ วสั ดุท่ีนำความ อนไดเ้ ร็วเมือ่ ไดร้ ับความร้อน และวัสดุ าได้ จะให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ อาจนำสมบัติต่าง ๆ มาพิจารณาเพื่อ ะบวน การ อ อกแ บบ ชิ้น งาน เ พื ่ อ ใ ช้ นใ์ นชวี ิตประจำวัน การวิเคราะหห์ ลกั สตู ร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4

รหสั ตวั ชว้ี ดั ตวั ช้วี ัด - วัสดุเป็น ว ๒.๑ ป ๔/๓ สสารมีสถ ๓. เปรียบเทยี บสมบัตขิ องสสารทงั้ ๓ สถานะ ของแข็ง ม ว ๒.๑ ป ๔/๔ จากข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการสังเกต มวล การ ปรมิ าตรค ตอ้ งการที่อยู่ รูปร่างและปริมาตรของสสาร เฉพาะส่ ปริมาตรแ ๔. ใช้เครอ่ื งมอื เพ่ือวัดมวล และปริมาตรของ บรรจุ สสารทั้ง ๓ สถานะ สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงท ประโยชน์ รหสั ตวั ชี้วดั ตัวชวี้ ดั ว ๒.๒ ป ๔/๑ ๑. ระบผุ ลของแรงโนม้ ถว่ งที่มีตอ่ วตั ถุจาก - แรงโน หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ กระทำต่อ ว ๒.๒ ป ๔/๒ ๒. ใชเ้ ครอ่ื งชั่งสปริงในการวดั น้ำหนกั ของวตั ถุ และเปน็ แ วตั ถหุ นึง่ ๆ วตั ถมุ ีนำ้ ห ชั่งสปริง น โดยวัตถุท มวลนอ้ ยจ

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น - นสสารเพราะมีมวลและต้องการท่อี ยู่ ถานะเป็นของแขง็ ของเหลว หรอื แก๊ส - มีปรมิ าตรและรูปร่างคงที่ ของเหลวมี คงที่ แต่มีรูปร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะ วนที่บรรจุของเหลว ส่วนแก๊สมี และรูปร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะท่ี ที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ - น้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดที่โลก อวัตถุ มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางโลก แรงไมส่ มั ผสั แรงดงึ ดูดท่ีโลกกระทำกับ ๆ ทำใหว้ ัตถุตกลงสู่พื้นโลก และทำให้ หนกั วดั นำ้ หนกั ของวัตถไุ ด้จากเคร่ือง น้ำหนักของวัตถุขึ้นกับมวลของวัตถุ ทีม่ ีมวลมากจะมีน้ำหนักมาก วัตถุที่มี จะมนี ำ้ หนกั น้อย การวิเคราะหห์ ลกั สูตร วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4

รหัสตัวช้ีวดั ตัวชว้ี ดั ว ๒.๒ ป ๔/๓ ๓. บรรยายมวลของวตั ถุทีม่ ีผลตอ่ การ - มวล ค เปล่ียนแปลงการเคลอ่ื นทขี่ องวัตถจุ ากหลักฐาน ประกอบก เชงิ ประจักษ์ ในการเปล ที่มมี วลมา กว่าวัตถุ นอกจากจ แล้วยังหม เคล่ือนทข่ี สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแ ชวี ติ ประจำวัน ธรรมชาตขิ องคลืน่ ปรากฏการณท์ ี่เกีย่ วข้องกับเสยี ง แสง และคลื่นแม่เห รหัสตัวชว้ี ดั ตวั ชว้ี ดั ว ๒.๓ ป ๔/๑ ๑. จำแนกวตั ถเุ ป็นตวั กลางโปรง่ ใส ตวั กลาง - เมือ่ มองส โปรง่ แสง และวัตถุทบึ แสง จากลักษณะ การ แสง จะท มองเห็นส่ิงต่าง ๆ ผา่ นวัตถุน้ันเปน็ เกณฑ์โดยใช้ ชัดเจนต่า หลักฐานเชิงประจักษ์ ตัวกลางโ ชดั เจน ตัว ๆ ได้ไม่ชัด เห็นส่งิ ต่าง

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถน่ิ - ือ ปริมาณเนื้อของสารทั้งหมดท่ี กันเป็นวัตถุ ซึ่งมีผลต่อความยากง่าย ล่ยี นแปลงการเคลื่อนท่ีของวตั ถุ วัตถุ ากจะเปลยี่ นแปลงการเคลื่อนทไ่ี ด้ยาก ที่มีมวลน้อย ดังนั้น มวลของวัตถุ จะหมายถึงเนื้อทั้งหมดของวัตถุน้ัน มายถึงการต้านการเปลี่ยนแปลง การ ของวัตถนุ นั้ ด้วย และการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานใน หล็กไฟฟ้า รวมทั้งนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน สิง่ ตา่ ง ๆ โดยมีวตั ถตุ า่ งชนดิ กันมากัน้ - ทำให้ลักษณะการมองเห็นสิ่งนั้นๆ างกัน จึงจำแนกวัตถุท่ีมากั้นออกเปน็ ปรง่ ใส ซึ่งทำให้มองเห็นส่ิงตา่ ง ๆ ได้ วกลางโปร่งแสงทำให้มองเหน็ สิง่ ต่าง ดเจน และ วัตถุทึบแสงทำให้มองไม่ ง ๆ นนั้ การวเิ คราะห์หลกั สูตร วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวฒั ระบบสุริยะท่ีสง่ ผลต่อสงิ่ มีชวี ิตและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยอี วกาศ รหัสตัวช้ีวัด ตวั ช้ีวดั ว ๓.๑ ป ๔/๑ ๑. อธบิ ายแบบรปู เสน้ ทางการข้นึ และตก ของ - ดวงจันท ดวงจันทร์ โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ หมุนรอบต หมุน รอบ ตวั เองของ ในทิศทาง เหนือ ทำ ทางด้าน ทิศตะวันต ว ๓.๑ ป ๔/๒ ๒. สรา้ งแบบจำลองที่อธิบายแบบรูป การ - ดวงจนั ท เปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจนั ทร์ และ ของดวงจัน พยากรณร์ ูปรา่ งปรากฏของดวงจันทร์ ดวงจนั ทร โดยในแต เป็นเสย้ี วท ดวง จากน แหว่งและ เห็นดวงจ จันทร์จะเ การเปลี่ย เดือน

ฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซดี าวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทง้ั ปฏสิ ัมพนั ธ์ภายใน สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ิน ทร์เปน็ บรวิ ารของโลก โดยดวงจันทร์ - ตวั เองขณะโคจรรอบโลก ขณะท่โี ลกก็ บตัวเองด้วยเช่นกัน การหมุนรอบ งโลกจากทิศตะวนั ตกไปทศิ ตะวันออก งทวนเข็มนาฬิกาเมื่อมองจากขั้วโลก ำให้มองเห็น ดวงจันทร์ปรากฏขึ้น นทิศตะวันออกและตกทางด้าน ตกหมุนเวียนเป็นแบบรปู ซำ้ ๆ ทร์เป็นวตั ถุทเี่ ป็นทรงกลม แต่รูปร่าง - สังเกตรูปรา่ งของดวงจันทร์ในแต่ละคืนท่บี ้าน นทร์ท่มี องเห็นหรือรูปรา่ งปรากฏของ ของนักเรียน รบ์ นท้องฟ้าแตกต่างกนั ไปในแต่ละวัน ต่ละวันดวงจันทร์จะมีรูปร่างปรากฏ ทีม่ ีขนาดเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่องจนเต็ม นั้นรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์จะ ะมขี นาดลดลง อย่างตอ่ เน่ืองจนมองไม่ จันทร์ จากน้ันรูปร่างปรากฏของดวง เป็นเสี้ยวใหญ่ขึ้นจนเต็มดวงอีกครั้ง ยนแปลงเช่นนี้เป็นแบบรูปซ้ำกัน ทุก การวเิ คราะห์หลกั สตู ร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4

รหสั ตวั ชีว้ ัด ตัวชวี้ ัด - ระบบส ว ๓.๑ ป ๔/๓ ศูนย์กลา ๓. สรา้ งแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของ เคราะหแ์ ป ระบบสุรยิ ะ และอธิบายเปรยี บเทยี บคาบ การ ละดวงมีข โคจรของดาวเคราะหต์ ่าง ๆ จากแบบจำลอง แตกต่างก แคระ ดาว เล็กอื่น ๆ เลก็ อ่ืน ๆ แรงโน้มถ่ว ผีพุง่ ไต้แล สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา้ ใจองค์ประกอบ และความสมั พันธ์ของระบบโลก กร เปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู อิ ากาศโลกรวมทงั้ ผลต่อส่ิงมีชีวติ และสงิ่ แวดล้อม รหัสตัวชี้วดั ตวั ชี้วัด --

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่ - สุริยะเป็นระบบที่มีดวงอาทิตย์เป็น างและมีบริวารประกอบด้วย ดาว ปดดวงและบริวาร ซง่ึ ดาวเคราะห์แต่ ขนาดและระยะห่างจากดวงอาทิตย์ กัน และยังประกอบด้วย ดาวเคราะห์ วเคราะห์นอ้ ย ดาวหาง และวตั ถขุ นาด ๆ โคจรอยู่รอบดวงอาทิตย์ วัตถุขนาด เมื่อเขา้ มาในช้ันบรรยากาศเนื่องจาก วงของโลก ทำให้เกดิ เป็นดาวตกหรือ ละอุกกาบาต ระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่นิ - - การวิเคราะห์หลักสตู ร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เขา้ ใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพอื่ การดำรงชีวติ ในสงั คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพอื่ แกป้ ัญหา หรือพฒั นางานอย่างมีความคดิ สรา้ งสรรค คำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ติ สังคม และสงิ่ แวดล้อม รหัสตัวชวี้ ดั ตวั ชี้วดั -- สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหาท่พี บในช การเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รูเ้ ท่าทนั และมีจริยธร รหสั ตัวช้วี ดั ตวั ชว้ี ดั ว ๔.๒ ป ๔/๑ ๑. ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ัญหา การ - การใชเ้ ห อธบิ ายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จาก หรือเง่ือนไ ปญั หาอย่างง่าย ในการแก การคาดกา - สถานะเร ให้ผลลัพธ

งคมทีม่ กี ารเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็วใช้ความรแู้ ละทักษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คด์ ้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถนิ่ - - ชีวิตจริงอยา่ งเป็นขนั้ ตอนและเปน็ ระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารใน รรม สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ิน หตุผลเชิงตรรกะเปน็ การนำกฎเกณฑ์ - ไขท่ีครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณา ก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน หรือ ารณ์ผลลัพธ์ รมิ่ ตน้ ของการทำงานที่แตกต่างกันจะ ธ์ทีแ่ ตกต่างกนั การวิเคราะห์หลกั สูตร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4

รหสั ตวั ช้ีวัด ตวั ชี้วัด ว ๔.๒ ป ๔/๒ - ตัวอย่าง การคำนว และ มีกา ระหว่างกนั ตา่ ง ๆ ๒. ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมอย่างง่าย โดย - การออก ใชซ้ อฟตแ์ วร์ หรอื สอื่ และตรวจหาข้อผดิ พลาด อ อ ก แ บ บ และแก้ไข ออกแบบอ - การเขีย คำส่ัง ให้ค ตาม ควา ตรวจสอบ ทำใหผ้ ลล จะได้ผลล - ตัวอยา่ ง การตอบโต ประจำวนั การฝึกตร ผู้อื่นจะช ปญั หาไดด้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ิน งปัญหา เช่น เกม OX, โปรแกรมที่มี - วณ, โปรแกรมที่มีตัวละครหลายตัว ารสั่งงานทีแ่ ตกต่าง หรือมีการสื่อสาร น, การเดินทางไปโรงเรยี นโดยวิธีการ กแบบโปรแกรมอย่างง่าย เช่น การ บ โ ด ย ใ ช ้ storyboard ห รื อ ก า ร อัลกอรทิ มึ ยนโปรแกรมเป็นการสร้างลำดับของ คอมพิวเตอร์ทำงาน เพอ่ื ให้ได้ผลลัพธ์ ามต้องการ หากมีข้อผิดพลาดให้ บ การทำงานทีละคำสั่ง เมื่อพบจุดที่ ลัพธ์ ไมถ่ กู ต้อง ให้ทำการแกไ้ ขจนกว่า ลพั ธท์ ี่ถกู ตอ้ ง งโปรแกรมทม่ี ีเรอื่ งราว เชน่ นทิ านทมี่ ี ตก้ ับผูใ้ ช้ การต์ นู สน้ั เล่ากิจวตั ร น ภาพเคล่ือนไหว รวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของ ช่วยพัฒนาทักษะการหาสำเหตุของ ดยี ิง่ ข้นึ การวเิ คราะห์หลักสูตร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4

รหัสตวั ชวี้ ดั ตวั ช้วี ัด -ซอฟต์แ ว ๔.๒ ป ๔/๓ Scratch, ๓. ใชอ้ ินเทอร์เน็ตคน้ หาความรู้ และประเมนิ ว ๔.๒ ป ๔/๔ ความนา่ เชอื่ ถือของข้อมลู - การใช้ค ได้ ผลลพั ธ - การประ พิจารณาป เผยแพรข่ ้อ - เมื่อได้ข จะตอ้ งนำ เลอื กขอ้ มูล - การทำรา นำข้อมูล ตนเอง ทเ่ี นำเสนอ ( ๔. รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมูลและ - การรวบ สารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวรท์ หี่ ลากหลาย เพือ่ ต้องการ เ แกป้ ญั หาในชวี ิตประจำวนั - การประ จัดกลมุ่ เร - วิเคราะ ประเมินท

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิ่น วร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น - logo คำคน้ ท่ีตรงประเด็น กระชับ จะทำให้ - ธท์ รี่ วดเรว็ และตรงตามความตอ้ งการ ะเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น ประเภทของเว็บไซต์ ผู้เขียน วันที่ อมลู การอ้างอิง ข้อมูลที่ต้องการจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ำเนื้อหามาพิจารณา เปรียบเทยี บ แลว้ ล ทม่ี ีความสอดคลอ้ งและสัมพันธก์ นั ายงานหรือการนำเสนอข้อมูลจะต้อง ลมาเรียบเรียง สรุป เป็นภาษาของ เหมาะสมกบั กลุม่ เป้าหมายและวิธีการ (บรู ณาการกับวชิ าภาษาไทย) บรวมขอ้ มลู ทำไดโ้ ดยกำหนดหวั ข้อ ที่ เตรยี มอปุ กรณ์ในการจดบนั ทึก ะมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบ รียงลำดับ การหาผลรวม ะห์ผลและสร้างทางเลือกที่เป็นไปได้ ทางเลือก (เปรียบเทยี บ ตดั สนิ ) การวเิ คราะห์หลักสูตร วิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4

รหสั ตวั ชวี้ ดั ตวั ชวี้ ัด ว ๔.๒ ป ๔/๕ - การนำเ ความเห เอกสารรา - การใช ชีวิตประ กลางวันโ และเก็บข ประมวลผ คณุ คา่ ทาง สำหรับ ๕ สำรวจ รา ข้อมูลด้าน ๕. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย - การใช้เท เข้าใจสิทธแิ ละหน้าท่ขี องตน เคารพในสิทธขิ อง เขา้ ใจสิทธ ผู้อ่นื แจง้ ผู้เก่ยี วข้องเมอ่ื พบขอ้ มูล หรือบคุ คลที่ ผู้อื่น เช่น ไม่เหมาะสม ไม่สร้าง ค สแปม ข้อ ส่วนตัวขอ ข้อมูลส่วน ไมไ่ ด้รับอน บัญชขี องผ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook