Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม

Description: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม

Search

Read the Text Version

พจนานกุ รมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม Dictionary of Buddhism พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) Phra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto)

พจนานกุ รมพุทธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม © พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) Dictionary of Buddhism Phra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto) ISBN 974-8357-89-9 พิมพรวมเลม ๓ ภาค ครัง้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๑๕ – ๒๕๑๘ ครัง้ ที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๒๖ – ๒๕๒๘ (เรยี งพิมพใ หมดวยระบบคอมพวิ กราฟก ) คร้งั ที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๕ (เรยี งพิมพใหมดว ยระบบคอมพิวเตอร; พมิ พข นาดอกั ษรธรรมดา และอกั ษรใหญ) ครง้ั ท่ี ๑๓ พ.ศ. ๒๕๔๘ (เปล่ยี นมาใชฟ อนต คือแบบตวั อักษร ทดี่ ดั แปลงข้นึ ใหม) ครงั้ ที่ ๓๔ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ๕,๐๐๐ เลม มลู นธิ กิ ารศกึ ษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) พมิ พที่

อนโุ มทนา มูลนิธิการศึกษาเพอ่ื สันติภาพ พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) ในฐานะ องคกรการกุศลบนฐานแหงพระพุทธศาสนา ซ่ึงดาํ เนินงานเพื่อการศึกษา โดยมีสันติภาพเปนจุดหมาย ไดมีกัลยาณฉันทะในการแผข ยายประโยชน ทางธรรมทางปญ ญาใหงอกงามไพศาล จงึ ดําเนนิ โครงการจัดพมิ พห นงั สอื ธรรมเผยแพร เปน ประจําตลอดมา บดั น้ี ทา นประธานมลู นธิ กิ ารศึกษาเพือ่ สนั ตภิ าพฯ คือ ดร. นิเชต สุนทรพิทักษ ไดแจงบุญเจตนาวาจะจัดพิมพหนังสือธรรมเผยแพรอีกเปน ครง้ั ใหม โดยในวาระนี้ ทางมูลนิธฯิ จะจดั พิมพห นงั สอื ธรรมเลมหลกั ๓ ช่ือ เร่ือง เรือ่ งละ ๕,๐๐๐ เลม คือ ๑. พุทธธรรม (ฉบบั เดมิ ) ๒. พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ๓. พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม ขออนุโมทนามูลนิธิการศกึ ษาเพอ่ื สนั ตภิ าพฯ ทีด่ าํ เนนิ การเผยแพร ธรรมเพ่อื ความเจรญิ ธรรมเจรญิ ปญญา อันจะนํามาซึง่ ประโยชนสขุ ท่แี ท จริงและย่งั ยนื แกประชาชน ขอกุศลจริยาเพอ่ื ประโยชนท างการศกึ ษาครั้งน้ี จงเปนปจจัยแหง ความแผไ พศาลของพระสทั ธรรม เพอ่ื ความเกษมศานต แหงมหาชน ตลอดกาลยาวนานสบื ไป พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๙ มกราคม ๒๕๕๙

คํานาํ (ในการพมิ พครั้งท่ี ๑๐) พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม มีความเปนมาทย่ี าวนาน ผานการจดั ปรบั หลาย ข้นั ตอน จนลงตวั มรี ปู เลมและชอื่ ปจ จบุ ัน เมอื่ พ.ศ. ๒๕๑๕ (พมิ พเ สรจ็ ครัง้ แรก พ.ศ. ๒๕๑๘) โดย มเี นอ้ื หาแยกเปน ๓ ภาค คือ ภาค ๑ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร หมวดธรรม ภาค ๒ พจนานกุ รมพุทธศาสตร ไทย–องั กฤษ ภาค ๓ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร องั กฤษ–ไทย ก. ความเปนมาเดิม — ชวงที่ ๑ – การพิมพระบบโมโนไทป ทง้ั ๓ ภาคของหนังสอื น้ี เปนงาน ๓ ชิ้น ซึ่งมคี วามเปนมาตา งหากจากกัน ดงั ทีไ่ ดเ ลาไวใ นคาํ นาํ ของการพิมพคร้ังท่ี ๑ โดยเฉพาะภาค ๒ “พจนานุกรมพุทธศาสตร ไทย–อังกฤษ” เปนงานเกาสุด เดิมชื่อ พจนานกุ รมศพั ทพ ระพทุ ธศาสนา ไทย–บาล–ี องั กฤษ ไดจ ดั ทาํ ขนึ้ เมอ่ื ผรู วบรวมและเรยี บเรยี งสอนวชิ า ธรรมภาคภาษาองั กฤษ ในแผนกบาลเี ตรยี มอดุ มศกึ ษา มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั จดั ทาํ เสรจ็ ใน พ.ศ. ๒๕๐๖ และไดแ กไ ขเพมิ่ เตมิ เปน ครง้ั คราว จนไดม าจดั รวมเขา เปน ภาค๒ของหนงั สอื นใี้ น พ.ศ.๒๕๑๕ อนง่ึ “พจนานกุ รมพุทธศาสตร ไทย–องั กฤษ” นี้ ไดมีประวตั ิแยกตางหากออกไปอกี สวนหน่งึ คอื ไดข ยายเพิ่มเติมเปนฉบับพิสดาร ซง่ึ พมิ พเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๓ แตจ บเพียงอกั ษร ฐ แลวคา งอยูแค น้นั จนบัดน้ี ภาค ๑ คอื “พจนานกุ รมพุทธศาสตร หมวดธรรม” เปนงานใหมท ีจ่ ัดทําขน้ึ ใน พ.ศ. ๒๕๑๕ โดยตง้ั ใจใหเ ปน เพยี งคูมอื ศึกษาธรรมขนั้ ตน แตกลายเปนสวนที่มเี นอื้ หามาก เมอื่ เทียบกับภาค ๒ แลว ภาค ๑ น้ีไดก ลายเปน สว นหลักของหนงั สือไป สวนภาค ๓ คือ “พจนานุกรมพทุ ธศาสตร อังกฤษ–ไทย” เปนงานแถมและเสริมเทานั้น กลา วคือ เม่ือตกลงวา จะพมิ พภาค ๑ และภาค ๒ รวมเปนเลม เดยี วกนั แลว ก็เหน็ วาควรมี พจนานุกรมพากยอ ังกฤษ–ไทย ไวค ูกับพากยไ ทย–อังกฤษดว ย แมว าจะเปนเพยี งสวนประกอบ ซ่ึง ตามปกติรกู นั วาใชนอย การพมิ พหนังสอื นีเ้ ปน งานที่นับวา ละเอยี ดและซบั ซอน อีกทงั้ ผรู วบรวม–เรยี บเรียงยงั ไดเ พ่มิ เตมิ แทรกเสรมิ ระหวา งดําเนินการพิมพค อ นขางมาก จงึ ใชเวลายาวนาน เขาโรงพมิ พป ลาย พ.ศ.๒๕๑๕ กวา จะเสรจ็ ออกมาเปน เลมหนังสอื ก็ถึงกลางป ๒๕๑๘ รวมเวลาพิมพ ประมาณ ๒ ป ๖ เดอื น การพิมพรวมเลมคร้ังแรกน้ี ถือวาไดรับการสนับสนุนจากคาํ อาราธนาของพระมหาสมบูรณ

๕ สมฺปุณโฺ ณ (ปจจุบัน พ.ศ. ๒๕๔๕ คือ พระราชกติ ตเิ วที เจา อาวาสวดั วชิรธรรมปทปี นครนิวยอรก ) ผูชวยเลขาธิการมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั และเผยแพรโดยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั สวน กระบวนการพมิ พ ดาํ เนนิ การโดยโรงพมิ พคุรสุ ภา ซึ่งใชระบบเรยี งพิมพอกั ษรแบบ Monotype ตอจากนนั้ ใน พ.ศ. ๒๕๒๑ กรมการศาสนาไดขออนญุ าตพมิ พครัง้ ที่ ๒ และครั้งที่ ๓ ซง่ึ เปนการพมิ พซาํ้ ตามเดิม ข. ความเปน มาชวงท่ี ๒ – การพมิ พค รงั้ ท่ี ๔ — ระบบคอมพวิ กราฟค พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม มกี ารเปลี่ยนแปลงคร้งั สําคญั ในการ พมิ พค รั้งท่ี ๔ ทีพ่ มิ พเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๒๘ (หลังพมิ พครงั้ แรก ๑๐ ป) การพิมพค รั้งท่ี ๔ น้ี มจี ดุ เรม่ิ ในปลายป ๒๕๒๔ เมอื่ คณุ สาทร และคณุ พสิ มร ศรศรีวชิ ยั ได ซ้อื พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม นัน้ แจกเปน ธรรมทาน จนหนงั สอื แทบจะไมม ีเหลอื แตย งั ประสงคจ ะแจกตอ ไปอีก จึงปรารภทจ่ี ะพมิ พเ พิ่มเปน ธรรมทาน เวลานัน้ มหาจฬุ าลงกรณราช- วิทยาลยั ประสงคจ ะพมิ พอยแู ลว แตไ มมที นุ ทรัพยเ พยี งพอ จงึ ขอรวมพิมพดวย แตเกดิ เหตขุ ดั ของ เน่ืองจากตนแบบหนงั สอื (อารต เวิรค ) และฟล ม ท่โี รงพิมพเกา สูญหายหมดแลว ตองจดั เตรียมตน แบบทจ่ี ะพิมพข ้ึนใหม ระหวางน้ันมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยไดขยายความคิดในการพิมพโดยประสงคจะเพ่ิม จํานวนใหม ากถงึ ๑๐,๐๐๐ เลม แตย งั ไมม ีทนุ ทรพั ยทีจ่ ะจายคา พิมพ ณ จดุ นก้ี ็ไดม ี “ทนุ พมิ พพ จนานกุ รมพุทธศาสตร” เกิดขน้ึ เนอื่ งจากคณุ หญงิ กระจา งศรี รักตะกนษิ ฐ ทราบปญหาแลว ไดเ ชญิ ชวนญาติมิตรรว มกนั ต้งั ถวาย ซึง่ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดใชพิมพท ัง้ พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม และ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับ ประมวลศพั ท มาจนบัดนี้ ในการพมิ พค รงั้ ที่ ๔ น้ี ตอ งจดั ทาํ ตน แบบใหม จงึ ถอื โอกาสปรบั ปรงุ เพม่ิ เตมิ ตน ฉบบั เชน ใน ภาค ๑ เพมิ่ หมวดธรรมอกี กวา ๓๐ หมวด สว นกระบวนการตพี มิ พใ ชร ะบบคอมพวิ กราฟค ซงึ่ ผเู รยี ง อักษรตองเพียรพยายามในการยักเยื้องพลิกแพลงและตองตัดแตงตัวอักษรบาลีโรมันดวยมือเปลา มากมาย เปนเหตใุ หก ารพิมพใ ชเ วลายาวนานถงึ ปค รงึ่ เศษ จงึ พิมพเ สร็จในคร่ึงหลงั ของ พ.ศ.๒๕๒๘ การพมิ พตนฉบับท้ังหมดของหนงั สือนี้สาํ เรจ็ ดว ยศรัทธาของคุณชลธีร ธรรมวรางกรู สวน การพิมพต นแบบดว ยระบบคอมพิวกราฟค คุณบุญเลศิ วฒุ ิกรคณารักษ เปน ผจู ดั ทาํ ดวยความเพียร เปนอนั มาก ค. ชว งตอสกู ารพิมพคร้ังท่ี ๑๐ หลงั จากการพมิ พค รง้ั ท่ี ๔ ที่เสรจ็ ในป ๒๕๒๘ แลว มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดพ มิ พ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม นใี้ หมเรอื่ ยมา จนถึงครง้ั ลา สดุ ในป ๒๕๔๓ เปน การ

๖ พมิ พค รัง้ ที่ ๙ ในการพิมพต ้งั แตค รง้ั ที่ ๔ เปนตนมา ซึง่ มีผูรจู กั พจนานุกรมฯ น้ีกวางออกไปแลว ไดม ที า นที่ ศรัทธารวมพิมพแจกเปนธรรมทานจํานวนมาก แตในดานเนื้อหาของหนังสือแทบไมมีการเปลี่ยน แปลง เรียกไดว า เปน การพิมพซ ํา้ ไปตามเดมิ คอื คงอยเู ทากับการพิมพค ร้ังที่ ๔ แทจ รงิ นน้ั ระหวา งเวลาทผี่ า นมา ผรู วบรวมและเรยี บเรยี งปรารถนาจะปรบั ปรงุ เพม่ิ เตมิ เนอื้ หา ของหนงั สอื เชน เพิ่มหมวดธรรมบางเร่อื ง แตต ิดขดั เพราะการพมิ พร ะบบเกา แมแ ตระบบคอมพวิ - กราฟค นั้น ตองอาศัยตนแบบทจ่ี ัดลงตวั เมือ่ ยตุ อิ ยา งไรแลว กต็ อ งพิมพตามเดิมอยา งน้นั เร่ือยไป แกไขเปลี่ยนแปลงไดยาก และเมอื่ กาลเวลาลว งไปนาน ตน แบบนนั้ กเ็ ปอ ยผุสลายเสยี ไป พจนานุกรม พทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม น้ี จึงตองพิมพซาํ้ อยา งเดมิ เร่ือยมาต้งั แตค รง้ั ท่ี ๔ พ.ศ.๒๕๒๘ นั้น ยิง่ ครัง้ หลังๆ เม่อื ตน แบบเปอยผเุ สียไปแลว ก็ตอ งนาํ เอาเลม หนังสือฉบบั ท่พี มิ พครง้ั กอนๆ มาถายแบบ ทําใหคุณภาพการพิมพลดลง เชนตวั อักษรเลือนลางลงไป การปรับปรงุ เพ่มิ เตมิ เนอ้ื หากด็ ี การแกไ ขปญ หาการพิมพท่ีจะใหกลับเรยี บรอ ยชดั เจนข้ึนใหม กด็ ี หมายถงึ การที่จะตอ งเรียงพมิ พขอมลู และจัดทําตนแบบขน้ึ ใหม ซงึ่ เปน งานทย่ี าก ซบั ซอน ดวย มตี วั อักษรหลายแบบ หลายขนาด โดยเฉพาะตวั บาลี ทงั้ อักษรไทย และอักษรโรมัน จะตองใชความ ละเอยี ด แมน ยาํ รวมท้งั เวลามากในการตัง้ ใจทาํ อยางจริงจงั ระหวา งนี้ มคี วามกา วหนา ทางเทคโนโลยที ่เี กื้อหนนุ คือในดานอตุ สาหกรรมการพิมพหนังสือ เมือ่ เขา สยู คุ คอมพิวเตอรแ ลว ไดเ ร่ิมมกี ารใชคอมพิวเตอรใ นงานพิมพห นังสือ ต้ังแตประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๐ เปนตน มา ทําใหก ารพมิ พข อ มลู สะดวกข้นึ แกไขปรับปรงุ เปลีย่ นแปลงเพ่มิ เตมิ ขอ มลู ไดง าย และเก็บขอมูลไวใ ชไ ดในระยะยาว แตสําหรับงานพิมพ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม การพมิ พก ย็ งั ตองอาศัยความชาํ นาญ ความละเอยี ดลออและวิริยะอุตสาหะมากทเี ดยี ว ง. ความเปน มาชว งที่ ๓ – การพิมพค รง้ั ที่ ๑๐ คือ ปจ จุบัน — ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร ความกา วหนาชว งที่ ๓ เกดิ ข้นึ เมื่อ ดร.สมศีล ฌานวงั ศะ รองศาสตราจารยป ระจาํ สถาบัน ภาษาจฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย และราชบัณฑติ สํานักศลิ ปกรรม ประเภทวรรณศิลป สาขาวิชาภาษา ศาสตร ไดปลกี เวลาบางสว นจากงานประจํามาจบั งานนด้ี วยศรัทธาและฉันทะ ทผี่ ูกพนั กับหนงั สอื นี้ มายาวนาน ยอ นหลงั ไป เม่ือ ๓๐ กวา ปล วงแลว คือ พ.ศ. ๒๕๑๑ ดร.สมศีล ฌานวงั ศะ สมยั ท่ยี ังเปน นักเรียนมัธยมในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ซึ่งตอมาเปนผูชนะเลิศพิมพดดี แหง ประเทศไทยทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ของสมาคมชวเลขและพมิ พดดี แหงประเทศไทย ไดม ศี รัทธาและฉันทะ ชวยพิมพดีดตน ฉบบั ฉบบั ขยายความแหง ภาค ๒ ของพจนานุกรมฯ ฉบับนี้ ซึ่งไดพ ิมพแ ยกตา งหาก อักษร ก–ฐ และตอมาใน พ.ศ. ๒๕๒๘ ระหวางท่ีศกึ ษาอยูใ นสหรัฐอเมริกา และมาเย่ยี มบานชวั่ คราว เพื่อรว มงานบรรจุศพมารดา ก็มารับปรูฟสว นหน่งึ ของหนังสอื พจนานกุ รมฯ นี้ ท่ีอยูในระหวางจดั

๗ พิมพคร้งั ท่ี ๔ ไปชว ยตรวจ คร้นั กลบั จากอเมรกิ ามาทาํ งานในเมอื งไทยแลว ในคราวจดั งานฌาปน- กจิ ศพ นางกงุ แซฉ ว่ั (ฌานวงั ศะ) ผูเปน มารดา ณ ฌาปนสถาน วดั เทพศิรนิ ทราวาส ในวันท่ี ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๐ กไ็ ดพิมพหนังสือ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม นีเ้ ปน อนุสรณ และเปน ธรรมทาน ดร.สมศลี ฌานวงั ศะ มศี รทั ธาและฉนั ทะทจ่ี ะชวยงานพิมพพ จนานุกรมฯ น้ี อยูตลอดมา แต ในระยะแรกมภี าระรอบดาน ตองระดมแรงทั้งในและนอกเวลาราชการใหแกงานประจํา จนกระท่งั ป พ.ศ.๒๕๔๑ จึงไดพ ยายามปลกี เวลานอกราชการมาเร่ิมดาํ เนนิ งานพมิ พข อ มลู พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม ลงในคอมพิวเตอร และไดต้ังใจวา จะจดั พมิ พค รัง้ ใหมใ หท ันโอกาสที่ผูรวบรวม– เรยี บเรยี งมีอายุครบ ๖๐ ป ในเดอื นมกราคม ๒๕๔๒ การเรยี งพมิ พดวยระบบคอมพิวเตอรน ้ี แมจ ะกาวหนามาก มีประสทิ ธภิ าพสงู และมขี อ ดี พเิ ศษอนื่ อกี หลายอยา ง แตเ มอื่ มาเรยี งพมิ พภ าษาบาลอี กั ษรโรมนั (Romanized Pali) กป็ ระสบปญ หา คลา ยกันกบั การพิมพด ว ยระบบคอมพวิ กราฟค ในครงั้ กอ น เปนเหตใุ ห ดร.สมศลี ตอ งใชเ วลาและ ความเพียรพยายามอีกสว นหน่งึ ในการพฒั นาแบบตัวอักษร (fonts) พิเศษตา งๆ ข้ึนมา เพื่อใชพ มิ พ ภาษาบาลีทงั้ อักษรโรมนั และอกั ษรไทยในแบบตวั อักษรชดุ เดียวกัน ซึ่งก็ประสบความสาํ เรจ็ ดว ยดี ในการทาํ งานดวยศรทั ธาและฉนั ทะน้ี ด.ญ.ภาวนา ฌานวงั ศะ และ ด.ช.ปญญา ฌานวงั ศะ ซ่ึงเปนผูมคี วามใฝรใู ฝศึกษา ไดช วยแบงเบาภาระของคุณพอ โดยชวยกันพิมพขอมลู ทัง้ หมดตามตน ฉบับเดมิ ลงในคอมพวิ เตอรเ สรจ็ สิน้ ตัง้ แตกลางป พ.ศ. ๒๕๔๒ อยางไรก็ตาม งานนี้มิใชหนักแรงและตองใชเวลามากเฉพาะในการพิมพขอมูลและพิสูจน อกั ษรเทานั้น แตมีการตรวจสอบและทวนทานท่ตี องการความละเอียดแมน ยาํ อกี หลายขั้นตอน ยก ตวั อยา งงายๆ เพียงตรวจสอบตัวเลขหมวดธรรมหมวดหนงึ่ ๆ กต็ อ งตรวจสอบท้งั ลําดับของหมวด ธรรมน้นั เอง และการอา งอิงถงึ หมวดธรรมน้นั ณ ทอี่ ืน่ ๆ ในเลมหนงั สือ กบั ท้งั ตวั เลขหมวดธรรมนนั้ และขอ ธรรมยอ ยของหมวด ในสารบญั หมวดธรรม สารบัญประเภทธรรม และดชั นีคนคาํ ทั้งหมด นอกจากนนั้ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลง เชน สลับลําดับหมวดธรรม หรอื เพม่ิ หมวดธรรมใหม ก็ตองตาม เล่ือนหรือเติมเลขตลอดทุกแหง (โดยเฉพาะในระยะหลังนีผ้ ูเรยี บเรยี งไดเ พิ่มหมวดธรรมหลายคร้ัง) จงึ เปน ธรรมดาวา งานจดั ทาํ หนังสือจะตอ งยืดเยอ้ื ยาวนาน แมว าการพิมพจ ะไมทนั เดอื นมกราคม ๒๕๔๒ ตามทีไ่ ดตงั้ ใจไวเ ดิม เพราะเปนงานทม่ี ขี อมลู มาก และละเอยี ดซับซอนอยางทีก่ ลา วแลว อกี ท้ังผูทํางานกป็ ลีกตวั จากงานประจําไมไ ดมากเทา ทีห่ วงั ไว แตการท่ีเวลาเนิ่นนานมา ก็ทาํ ใหม ีโอกาสมองเห็นขอควรแกไขปรับปรงุ และวธิ ีการใหมๆ ในการ ทาํ งานใหไดผลดียง่ิ ขึ้น พรอมทง้ั เปด โอกาสใหผูรวบรวม–เรียบเรยี งเอง มีเวลาท่ีจะหนั มาปรับปรงุ เพิม่ เตมิ เนอ้ื หาของหนงั สอื ตามทีเ่ คยคดิ ไวไ ดบ างสว น ในการทํางานท่ตี อ งอยูกบั ขอ มลู ของหนังสอื ตอเนอ่ื งยาวนาน และไดอ า นทวนตลอด ประกอบ กบั ความละเอยี ดลออ และความแมน ยําทางวชิ าการ ดร.สมศลี ฌานวงั ศะ ไดพบขอบกพรอ งผดิ พลาดตกหลน รวมท้ังปญหาเกี่ยวกับความสอดคลองกลมกลืนกันของขอมูลหลายแหงในตนฉบับ

๘ เดิม และบอกแจง–เสนอแนะ ทําใหผ รู วบรวม–เรียบเรียง แกไขปรบั ปรงุ ใหเ รียบรอ ยสมบูรณย่งิ ขึ้น นอกจากการแกไขปรับปรุง และการจัดปรบั ใหส อดคลองกลมกลืนกันแลว ในการพมิ พคราว น้ี ไดเ พมิ่ เตมิ หมวดธรรมทค่ี วรรูอีกหลายเร่อื ง คือ อตั ถะ ๒; ธรรม ๔; วธิ ปี ฏบิ ตั ติ อ ทกุ ข– สุข ๔; วปิ ล ลาส, วิปลาส ๔; โสตาปตติยงั คะ ๔ สามหมวด; ธรรมสมาธิ ๕; ภพั พตาธรรม ๖; วัฒนมุข ๖; เวปลุ ลธรรม ๖; บพุ นมิ ติ แหง มรรค ๗; อานาปานสติ ๑๖; และ ปจ จัย ๒๔ สวนหมวดธรรมทจี่ ดั ปรบั คําอธบิ ายไดแกไตรลกั ษณ; ธรรมนิยาม ๓; ปรญิ ญา ๓; อตั ถะ ๓ ทั้ง ๒ หมวด; พรหมวหิ าร ๔; พละ ๕; อินทรีย ๕; โพธิปกขยิ ธรรม ๓๗ และ กิเลส ๑๕๐๐ ซึง่ หวังวาจะอาํ นวยประโยชนใ นการ ศกึ ษาธรรมเพมิ่ ข้นึ แมว าในการพิมพครง้ั ที่ ๑๐ น้ี หนังสือจะมีเนอ้ื ความเพมิ่ ขึน้ เปน อนั มาก ถา เทียบตามอตั รา สว นของฉบบั พิมพค รั้งกอนทมี่ ี ๔๗๕ หนา พจนานกุ รมฯ ทีพ่ ิมพคร้ังนี้ คงจะหนาขนึ้ อกี ประมาณ ๒๐ หนา แตอาศยั ระบบการพมิ พแบบคอมพิวเตอร ทชี่ วยใหม ีความยดื หยุนในการจัดปรับตน ฉบับ ไดส ะดวก จงึ พิมพไดจุขน้ึ ทาํ ใหจ ํานวนหนาหนังสือกลบั ลดลงมากมาย เหลอื เพียง ๔๐๘ หนา ขอ สาํ คัญอกี อยางหนงึ่ คอื การพิมพครงั้ น้ีชว ยใหมีฐานขอมูลที่จดั ปรับเรยี บรอ ยแลว ซงึ่ สามารถเก็บรักษาไวไดโดยสะดวกและครบถวน เกื้อกูลอยางยิ่งตองานปรับแกและเพิ่มเติม พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม น้ใี นกาลขา งหนาสบื ไป เนอ่ื งจาก ดร.สมศลี ฌานวงั ศะ มคี วามต้งั ใจสอดคลองกับญาตโิ ยมผูศ รัทธา วาจะพิมพ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ใหท ันปใหม ๒๕๔๕ แตผรู วบรวม–เรยี บเรียงเขยี นสว น เพมิ่ เตมิ น้ีในเวลาท่จี วนเจียนจะถึงปใ หม ดงั นน้ั เมอื่ เขียนเสร็จจงึ ตองเรงขอใหพระครูปลดั ปฎ กวฒั น (อนิ ศร จนิ ฺตาปฺโ) ชว ยพมิ พตน ฉบับสว นเพมิ่ เตมิ นี้ เปนขอมูลดบิ เพ่อื สงใหแก ดร.สมศลี ฌาน- วังศะ อกี ข้ันหน่งึ ขออนุโมทนาผชู วยงานในยามกระช้นั ไว ณ ทีน่ ด้ี ว ย ในการพมิ พเ ผยแพร นอกจาก ดร.สมศลี ฌานวงั ศะ เองจะบาํ เพญ็ ธรรมทาน โดยชวนญาตมิ ติ ร รวมดวยแลว กม็ ีญาติโยมผศู รทั ธาหลายทา นตั้งใจบําเพ็ญธรรมทานสาํ หรบั หนังสือนม้ี านานแลว ซง่ึ ไดแ จง บญุ เจตนาไวต งั้ แตก ลางปน ี้ วา จะพมิ พข นาดขยายใหญ เพอ่ื แจกใหเ ปน ประโยชนก วา งออกไป ขออนุโมทนา รศ.ดร.สมศลี ฌานวังศะ ราชบัณฑิต พรอมทง้ั น.ส.ภาวนา ฌานวังศะ และ ด.ช.ปญญา ฌานวังศะ ท่ไี ดบําเพญ็ กุศลกิจสาํ คัญครง้ั นี้ ดวยศรัทธาและอิทธบิ าทธรรมอยางสงู และ ขออนุโมทนาทานท่ีศรัทธา ผูรวมบําเพ็ญธรรมทานเพื่อประโยชนทางธรรมทางปญญาแกประชาชน และเพ่อื ความเจริญแพรห ลายแหงพระสัทธรรม ทจ่ี ะทาํ ใหพ ระพทุ ธศาสนาสถติ มน่ั เพอ่ื ประโยชนส ขุ แกมหาชน ตลอดกาลนาน พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๒๕ เมษายน ๒๕๔๕

บนั ทกึ ในการพมิ พค รั้งที่ ๔ ความเปนมา – เบ็ดเตลด็ – อนุโมทนา วนั หนง่ึ เมอ่ื ตน เดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๒๔ คณุ สาทร และคณุ พสิ มร ศรศรวี ชิ ยั ไดซ อื้ พจนานุกรมพุทธศาสตร น้ี ฉบับพิมพคร้ังที่ ๓ จากรานจาํ หนายหนังสือของมหาจุฬาลงกรณราช- วทิ ยาลยั จาํ นวน ๑๐๐ เลม นาํ ไปแจกเปน ธรรมทานเอง ๒๐ เลม และนาํ มาถวายใหผ เู รยี บเรยี งแจก ๘๐ เลม เพราะหนงั สอื ทผ่ี เู รยี บเรยี งจดั เตรยี มไวเ ปน ธรรมทาน ไดแ จกไปหมดสนิ้ แลว ตอ มาถงึ ตน เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ คณุ สาทร และคณุ พสิ มร ไดไ ปทร่ี า นจาํ หนา ยหนงั สอื ของมหาจฬุ าลงกรณ- ราชวทิ ยาลยั เพอ่ื ซอ้ื พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร มาถวายใหผ เู รยี บเรยี งแจกอกี และไดท ราบวา หนงั สอื จวนจะหมด จงึ ปรกึ ษากนั และไดแ จง แกผ เู รยี บเรยี งวา จะขอพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร แจกเปน ธรรมทาน ทางฝา ยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ซงึ่ ขาดแคลนในดา นทนุ ทรพั ย เมอ่ื ไดท ราบวา มโี ยม ศรทั ธาจะพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร แจก เหน็ เปน โอกาสวา ถา สมทบพมิ พด ว ย จะไดห นงั สอื ราคา ถูกลงพอสูราคาได จึงขอพิมพรวมดวย เพือ่ จาํ หนา ยหาทนุ บาํ รงุ การศึกษาของพระภิกษสุ ามเณร จาํ นวน ๑,๐๐๐ เลม การพมิ พค รง้ั ที่ ๔ ของ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร นบั วา ไดเ รมิ่ ตน แตน นั้ มา เมอ่ื ตกลงวา จะพมิ พใ หมแ ลว ผเู รยี บเรยี งกไ็ ดเ ตรยี มการเบอื้ งตน เรม่ิ ดว ยการตดิ ตอ กบั โรง พมิ พเ ดมิ เพอ่ื สบื หาอารต เวริ ค และฟล ม เกา แตป รากฏวา สญู หายหมดแลว ตอ แตน นั้ จงึ เสาะหาโรงพมิ พท ี่ เหมาะใหม และตรวจชําระเพิ่มเตมิ ตน ฉบบั แทรกซอ นไปถึงงานอน่ื เชนการพมิ พ พุทธธรรม เปน ตน เวลาลวงไปชา นาน จนถึงเดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๒๗ ตนฉบับจงึ นับวา พรอ ม และไดโรงพิมพเ ปน ยุติ ถึงตอนนมี้ หาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั เหน็ วา การพิมพครัง้ ละจํานวนนอ ยเปนเหตใุ หเ กิดความ ยากลําบากบอยๆ จงึ ขอเพม่ิ จาํ นวนพิมพเ ปน ๑๐,๐๐๐ เลม ท้ังที่ยังไมมที ุนทรัพยส าํ หรับจา ยคา พิมพ ครัง้ นัน้ คุณหญิงกระจา งศรี รกั ตะกนษิ ฐ ไดมาอุปถมั ภผ เู รยี บเรยี งในดา นพาหนะทีจ่ ะติดตอ โรงพิมพตา งๆ เปนตน ครนั้ ไดทราบปญ หาการเงนิ ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั จงึ ไดเ ชิญชวน ญาตมิ ิตรรว มกนั ต้งั “ทนุ พิมพพ จนานุกรมพุทธศาสน” ขนึ้ ชว ยใหม หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั พมิ พพ จนานุกรมพุทธศาสตร ฉบบั นไ้ี ดสําเร็จตามวตั ถปุ ระสงค และยงั มีทุนเหลอื พอสาํ หรบั พมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสน อีกเลมหน่งึ ดังท่ไี ดพ มิ พเผยแพรเสร็จออกไปกอนแลว ดว ย คณุ ยงยทุ ธ และคณุ ชุตมิ า ธนะปรุ ะ มีศรทั ธาแรงกลา ท่จี ะสงเสรมิ การเผยแพรธรรม ไดขอ พิมพหนังสือน้ีแจกเปนธรรมทาน ๓,๐๐๐ เลม และตอมาไดมีเพ่ือนขอรวมพิมพแจกดวยอีก ๑,๐๐๐ เลม รวมเปน ๔,๐๐๐ เลม ผเู รียบเรียงยังไมเ ห็นดวยทีจ่ ะพมิ พ พจนานุกรมพุทธศาสตร น้ี ใหมีจํานวนมากนัก จงึ ไดพ ดู ชกั ชวนใหลดจาํ นวนลงใหเหลือนอยท่ีสดุ คุณยงยุทธ และคุณชุติมา รบั ไปพจิ ารณาระยะเวลาหนึง่ ในทสี่ ดุ จงึ ตกลงยอมลดลงโดยขอพมิ พแจก ๒,๕๐๐ เลม ซงึ่ ก็ยงั เปนจาํ นวนมากอยู ทางดานคณุ สาทร และคณุ พสิ มร ศรศรีวชิ ยั เมอื่ ไดท ราบวา มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั เพมิ่ จาํ นวนพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ขน้ึ จาก ๑,๐๐๐ เลม เปน ๑๐,๐๐๐ เลม กเ็ หน็ วา หนงั สอื จะ แพรห ลายเพยี งพอแลว ไมจ าํ เปน ตอ งชว ยสนบั สนนุ มากนกั ควรเปลยี่ นไปชว ยเผยแพรห นงั สอื พทุ ธ- ธรรม ทค่ี ณุ สาทร และคณุ พสิ มร เหน็ วา สาํ คญั กวา จงึ ขอลดจาํ นวนพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ทต่ี นจะ

๑๐ พมิ พแ จกลงเหลอื เพยี ง ๔๐๐ เลม แลว นาํ เงนิ ไปใชส นบั สนนุ พทุ ธธรรม แทน ดงั ไดไ ปรว มพมิ พพ ทุ ธ- ธรรม มาถวายใหผ เู รยี บเรยี งแจกไปรนุ หนง่ึ แลว จาํ นวน ๒๐๐ เลม อยา งไรกต็ าม งานพมิ พพจนานุกรม พทุ ธศาสตร ยดื เยอ้ื เรอ้ื รงั มาก เวลาลว งไปชา นาน นบั แตค ณุ สาทร และคณุ พสิ มร แจง ขอพมิ พผ า นไป ๓ ปเ ศษแลว การพมิ พก ย็ งั ไมเ สรจ็ คณุ สาทรและคณุ พสิ มรนนั้ มศี รทั ธาในการเผยแพรธ รรมมาก เมอื่ พอรวบรวมทนุ ทรพั ยไ ด กจ็ ะใชส นบั สนนุ การพมิ พด ว ยความเสยี สละ ประจวบกบั ระยะหลังน้ี คุณ พสิ มรปว ยดว ยโรครา ย ถงึ ขน้ั ไมอ าจไวว างใจในชวี ติ ประสงคจ ะเสยี สละเพอื่ สง เสรมิ ธรรมใหเ ตม็ ความ ตงั้ ใจ จงึ มาสอบถามเกยี่ วกบั การพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร และ พทุ ธธรรม เหน็ เคา วา การพิมพ หนงั สอื สองเลม นจ้ี ะเสร็จหางเวลากนั พอควร คํานวณคาใชจ ายกบั กาํ ลังทรพั ยพอจะรับกนั ได จงึ ตกลงกนั วา จะพมิ พแ จกทงั้ สองเลม ตามลาํ ดบั เรม่ิ ดว ยยกจาํ นวนพมิ พธ รรมทาน พจนานกุ รมพทุ ธ- ศาสตร กลบั ขน้ึ จาก ๔๐๐ เลม เปน ๔,๐๐๐ เลม ผเู รยี บเรยี งจงึ แยง และชกั จงู ใหพ มิ พเ พยี ง ๔๐๐ เลม เทา ทเี่ คยลดลงไวค ราวกอ น แตท ง้ั สองทา นยนื ยนั จะพมิ พแ จก ๔,๐๐๐ เลม ผเู รยี บเรยี งจาํ ยอม แตไ ด ขออนญุ าตพเิ ศษไวอ ยา งหนงึ่ กลา วคอื ปกตคิ ณุ สาทร และคณุ พสิ มร พมิ พห นงั สอื ธรรมแจกโดยไม ยอมใหม ชี อื่ ตนปรากฏ คราวนผี้ เู รยี บเรยี งขอรอ งใหย อมแกผ เู รยี บเรยี งในอนั ทจี่ ะตอ งเอย ชอื่ เมอ่ื เลา ถงึ ความเปน มาของการจดั พมิ พ เพอื่ ประโยชนใ นดา นขอ มลู ประวตั ิ ตวั เลขสถติ ิ และความรเู กยี่ วกบั ขอ เทจ็ จรงิ ทเี่ ปน กลางๆ นอกจากนน้ั การทาํ สงิ่ ทด่ี งี ามของบคุ คลหนง่ึ เมอ่ื ผอู นื่ มโี อกาสรู กอ็ าจเปน แรง กระตนุ ใหเ กดิ การกระทาํ ทดี่ งี ามเพมิ่ ขนึ้ ใหม กวา งขวางออกไปในสงั คม ทางดานมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั เม่อื หนังสอื ใกลจะขึ้นแทนพมิ พ ไดบ อกกลา วขอเพ่มิ จํานวนพิมพจาก ๑๐,๐๐๐ เลม ขนึ้ เปน ๑๕,๐๐๐ เลม ผเู รียบเรียงก็ไดข ดั ไว โดยชักจงู ใหระงับ การเพิม่ จาํ นวนเสยี คงพมิ พเพียง ๑๐,๐๐๐ เลม ตามจาํ นวนเดมิ การทผี่ ูเ รยี บเรยี งคอยยงั้ ไมให พิมพมากน้ัน ก็ดวยเห็นวา หนังสือเพียงเทาทพี่ ิมพน ้กี วา มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั จะระบาย ออกไปหมดก็อาจตองใชเ วลานานแสนนาน อกี ประการหนง่ึ กน็ า จะไดม โี อกาสตรวจสอบวา ผลงาน พมิ พส มบรู ณแ คไ หนเพยี งไร นอกจากนน้ั ผูเรียบเรียงยงั มองไมเห็นชดั วาความตอ งการในวงการ ศึกษาธรรมจะมีมากมายนัก หากมีผตู อ งการจํานวนมากจริง กอ็ าจพิมพเพมิ่ ใหมไ ดไ มเหลือกาํ ลัง ในเรื่องนี้ผเู รยี บเรียงยังระลกึ ไดอ กี วา เคยมที า นผูแสดงความจาํ นงพิมพ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร น้ีรายอื่นอีก เทาทนี่ ึกออกเฉพาะหนา ๒ ราย แตข ณะนี้ เวลากระชั้นเกินไปเสียแลว และจาํ นวน พิมพก ม็ ากอยูแ ลว จงึ จาํ ปลอยเลยตามเลยไปกอน หากทานท่ีประสงคจะพิมพน ัน้ ยงั ผูกใจอยู ก็ อาจยกไปรวมในการพมิ พเพมิ่ ใหมน ้นั โดยยอมรบั คาํ ขออภัยไวก อน ณ ที่นี้ การพมิ พค รงั้ นี้ แมว า โดยลาํ ดบั จะเปน การพมิ พค รง้ั ที่ ๔ แตว า โดยงาน ควรจดั เปน ครงั้ ท่ี ๒ เพราะในการพมิ พค รงั้ ใหมน เี้ ทา นนั้ ไดม กี ารทาํ งานใหมอ ยา งแทจ รงิ กลา วคอื มหาจฬุ าลงกรณราช- วทิ ยาลยั เปน สถาบนั ทีจ่ ัดพิมพห นังสอื น้ีครั้งแรก ระหวา งพ.ศ. ๒๕๑๕ ถึง ๒๕๑๘ โดยจดั จาํ หนา ย เกบ็ ผลประโยชนบาํ รงุ การศกึ ษาของพระภกิ ษสุ ามเณร ในมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ตอ มา พ.ศ. ๒๕๒๑ กรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดข อพมิ พซ ้ําเพอ่ื แจกเปน ธรรมทาน โดยใชวิธีถา ย แบบจากฉบับพิมพครงั้ แรกของมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั นับเปนการพิมพค รัง้ ท่ี ๒ สวนฉบบั พมิ พค ร้ังท่ี ๓ กค็ อื ฉบับพมิ พครง้ั ที่ ๒ นั้นเอง แตเ ปน สว นท่โี รงพิมพก ารศาสนาสงวนไวเตรียมจะ จัดจาํ หนาย ๑,๐๐๐ เลม มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดข อซอื้ ไป ๙๐๐ เลม และนาํ ไปจดั จาํ หนา ย หาทนุ บาํ รงุ การศกึ ษาในสถาบนั สว นอกี ๑๐๐ เลม ผูเรยี บเรียงไดม าดว ยอาศยั ปจจัยท่ีมีผูท าํ บญุ

๑๑ เกาๆ ในพิธีตา งๆ เมื่อครง้ั ปฏบิ ัติศาสนกจิ ในสหรฐั อเมรกิ า ซ่ึงต้ังไวเ ปน ทุนช่ือ “ทุนพมิ พพ ทุ ธศาสน- ปกรณ” และไดแจกจา ยเปนธรรมทานไปจนหมด สวนในการพิมพครั้งใหมที่นบั เปนครง้ั ที่ ๔ น้ี นอกจากดาํ เนินการใหมต ลอดกระบวนการพิมพ เริม่ แตเ รียงตวั อกั ษรใหมทัง้ หมดแลว ยังไดแกไ ข ปรบั ปรงุ และเพิ่มเตมิ เน้ือหาอกี เปนอันมาก เชน ภาค ๑ เพิ่มหมวดธรรมอกี เกินกวา ๓๐ หมวด เขียนคาํ บาลีอักษรโรมันของขอธรรมทั้งหมดทั้งหัวขอใหญแ ละขอ ยอยแทรกเขา ทุกแหง พรอมทั้ง ทํา Index of Pàli Terms เพิ่มเขาอกี ภาค ๒ เพมิ่ ศัพทใ หมอ ีกมากกวา ๕๐ ศพั ท ดงั น้เี ปนตน การพิมพคร้งั ใหมน ้ี เดมิ คาดวา จะเสร็จสิน้ ในเวลาอันรวดเร็ว แตค รั้นทําเขา จรงิ กลบั กิน เวลานานถึงปค ร่ึงเศษ เทากับประมาณครงึ่ หนึ่งของเวลาทใ่ี ชในการพิมพค รง้ั แรก สาเหตสุ าํ คญั ของ ความลาชา นอกจากลักษณะของงานที่ตองการความละเอยี ดประณตี แมน ยาํ อยา งพิเศษ กค็ ือระบบ การเรยี งพิมพทีไ่ มส มบูรณ ใชงานไดไมพ อกับประเภทของงาน การพิมพค รง้ั กอนใชระบบโมโนไทป ซึ่งมรี ะบบตวั อักษรและเครือ่ งหมายคอนขางครบถว น ความลา ชาเกดิ จากการตอ งแตง เสรมิ ใหเ รยี บ รอยประณีตงดงาม การแกไ ขแทรกเพิม่ ระหวางเรยี งพิมพ และความไมคลอ งตวั ในการดําเนนิ งาน สว นในการพมิ พค ร้ังน้ีใชร ะบบคอมพวิ กราฟค ซึ่งแมจะมตี วั อักษรท่งี ดงามชัดเจน แตมีอกั ษรและ เคร่ืองหมายไมครบถวน เฉพาะอยา งยงิ่ สาํ หรับการพมิ พค าํ บาลดี ว ยอกั ษรโรมัน แมจ ะไดสัง่ ซื้อ อุปกรณคือจานบันทึกและแถบฟลมตนแบบมาใหมเปนการเฉพาะ ส้นิ เปลอื งทัง้ เงนิ และเวลาที่รอ คอย แตก็ใชงานไดไมสมบูรณ ทั้งน้ีเพราะบริษัทตัวแทนจําหนายท่ีส่ังซ้ืออุปกรณใหน้ันยังไมมี ประสบการณเกี่ยวกับการพิมพอักษรสาํ หรับพจนานุกรมน้ี จึงไมสามารถกําหนดเลือกและจัดหา อุปกรณท ่ีตรงกบั งานแทจรงิ ใหได การเรียงพิมพจึงตอ งอาศยั ความสามารถและความอดทนของนกั เรียงพิมพผูฉลาดหาวิธียักเย้ืองพลิกแพลงใหใชไดสําเร็จผลสวนหนึ่ง ประกอบกับการใชผีมือตัด ตอ ตดิ เติมแตงในอารต เวริ คอกี สว นหนงึ่ ซงึ่ อยา งหลงั น้ีไดท าํ ใหผูเรียบเรยี งส้ินเปลอื งเวลา และแรง งาน ตลอดจนสุขภาพไปกับหนังสือเลมนม้ี าก ตัวอยางเชนเคร่ืองหมาย tilde (~) อยางเดียว ก็ ตอ งนาํ จากท่อี น่ื มาติดแทรกลงในทตี่ า งๆ เกินกวา ๑๐๐ แหง ไมต อ งพูดถึงการติด การเปล่ียน การ เลอ่ื นจดุ ใต/ เหนือพยญั ชนะและขดี เหนือสระของอักษรโรมนั ตลอดจนเรอื่ งปลกี ยอ ยอืน่ ๆ อีกเปน อันมาก ซ่ึงประมวลเขาแลวก็เปนเครื่องช้ีแจงใหเขาใจวา เหตุใดงานนี้จึงใชเวลาพิมพนานกวา หนังสืออนื่ สวนมากอยา งมากมายหลายเทา ตัว ดงั มตี วั อยางหนังสือบางเลมที่ผเู รียบเรียงไดช ว ยจัด ทาํ ในระหวา งชว งเวลาของการพมิ พพ จนานกุ รมนี้ มคี วามหนาประมาณกง่ึ หนงึ่ ของ พจนานกุ รมพทุ ธ- ศาสตร ใชเวลาเรยี งพมิ พและจดั ทาํ อารตเวิรค ประมาณ ๑ เดอื นก็เสรจ็ เรียบรอย ผลเสียท่ีสําคญั อยา งหนงึ่ ของความยากลําบากชานานน้ีกค็ อื งานเขียนและงานพมิ พห นงั สอื อน่ื ๆ โดยเฉพาะการ พมิ พพ ุทธธรรม ครงั้ ใหม ตองพลอยถูกผัดผอนเนน่ิ นานตอๆ กนั ออกไป แมว าการจัดพมิ พจ ะยากลาํ บากมาก จนทําใหเ วลาเกอื บ ๒ ปทที่ ํางานน้ี กลายเปนชวงกาล แหง ความกรอนโทรมของชีวิตในอัตราเรงสูงอีกตอนหนงึ่ แตเ วลา ๒ ปเ ดยี วกันนัน้ เอง กเ็ ปนระยะ ท่ีไดมีแรงสนับสนุนค้ําจุนเกิดข้ึนมาก ดวยไดมีทานผูศรัทธาที่จะสงเสริมงานพระศาสนาเขามา อุปถัมภใ นดา นตางๆ โดยการเสริมกาํ ลงั บา ง ผอนแรงบาง อาํ นวยความสะดวกบา ง เปนสวนรวม แรงรว มใจและเปน กาํ ลังหนนุ อยูขางหลังใหงานบรรลคุ วามสําเรจ็ ทานผูอ ปุ ถมั ภเหลานี้ บางทานก็ เปน เชน เดียวกบั คุณสาทร และคณุ พิสมร ศรศรีวชิ ยั คือ ตามปกติ จะไมเปด เผยชอ่ื ของตนในการ ชว ยงานบญุ แมจ ะพมิ พหนงั สอื เลม ใหญๆ แจกเปนธรรมทาน ก็ไมยอมใหมีช่อื ของตนปรากฏใน

๑๒ หนังสือน้ัน แตคราวนี้ผูเรียบเรียงขออภัยที่จะเอยอางช่ือของทานเหลาน้ันไว ไมวาจะไดบ อกขอ อนญุ าตไวก อ นแลว หรอื ไมก ต็ าม โดยขอใหเ หน็ ประโยชนว า ผใู ชห นงั สือนี้รนุ หลงั ๆ ตอ ไปจะไดร ู จักพจนานุกรมพทุ ธศาสตร อยา งรอบดา น อยา งนอยกเ็ ปน ขอมลู เชงิ ประวัติ และเปนการบนั ทกึ เหตกุ ารณอยา งหนึ่ง ตามขอเทจ็ จริงที่ไดเกดิ ขึน้ แลว อนั จะกอ ประโยชนท างวิชาการไมม ากก็นอ ย ทัง้ น้ี ขออนุโมทนาความอดุ หนนุ สงเสริมของทานทีจ่ ะกลาวถึงตอไปนี้ ผศู รัทธาเสยี สละชว ยพมิ พด ีดตน ฉบบั สว นท่เี พิม่ เตมิ ในการพิมพคร้ังใหมนี้ ก็คือ คุณชลธรี  ธรรมวรางกูร บุคคลเดียวกันกบั ทีไ่ ดพ มิ พด ดี ตนฉบับภาค ๑ ท้งั หมดของพจนานุกรมน้เี มอ่ื พมิ พ ครัง้ แรก สวนในขน้ั เรียงพิมพ คุณบุญเลศิ แซตั้ง แหง บรษิ ัทยนู ติ ี้โพรเกรส ไดรว มมอื ดว ยความมี นํ้าใจและดว ยความใฝเรียนรู พยายามเรียงพิมพง านทยี่ ากมากนี้ใหอ อกมาเปน ผลงานท่ดี ี ในการพิสจู นอ ักษร ทานผศู รัทธามีนา้ํ ใจเก้อื กูลหลายทานไดสละเวลาชวยเหลอื สายหนึ่ง คือ คณุ อัมพร สุขนนิ ทร ซ่งึ เม่อื รบั ไปตรวจ กไ็ ดรบั ความอนเุ คราะหจ ากโยม “มสิ โจ” (คณุ เจอื จนั ทน อัชพรรณ) ชว ยอานซาํ้ ใหด วย อกี สายหนึ่ง คณุ ชุติมา ธนะปุระ รบั ไป แตเม่อื คณุ เฉียดฉตั ร โฉม ปรพิ นธพ จนพสิ ทุ ธิ์ ผเู ปน เพอื่ นไดทราบ กร็ วมศรัทธาชวยตรวจ นอกจากน้นั คณุ สมศีล ฌานวังศะ ผูเคยพมิ พตนฉบบั ฉบับขยายความแหงภาคท่ี ๒ ของพจนานกุ รมน้ี ไดเดนิ ทางจาก สหรัฐอเมริกามาเย่ียมบานช่ัวคราว พอไดทราบก็มารับเอาปรูฟสวนหนึ่งเทาที่มีในระยะเวลาสั้นๆ นนั้ ไปชวยตรวจ และบอกแจง ขอเสนอแนะบางอยางที่มปี ระโยชน คณุ วรเดช อมรวรพพิ ฒั น และคณุ พนติ า องั จนั ทรเ พญ็ อาสาเกบ็ ศพั ทส าํ หรบั Index of Pàli Terms โดยมคี ณุ องั คาร ดวงตาเวยี ง เปน ผชู ว ย และไดต รวจสอบความสมบรู ณข องสารบญั คน คาํ ใหด ว ย โดยเฉพาะคณุ พนติ า องั จนั ทรเ พญ็ ไดส ละเวลาเปน อนั มาก พยายามตดิ ตอ และตดิ ตามทาง โรงพมิ พเ ปน ตน เพอื่ ใหห นงั สอื นไ้ี ดร บั การตพี มิ พอ ยา งดที สี่ ดุ และไดร บั ความรว มมอื ดว ยดจี ากคณุ ปฐม สทุ ธาธกิ ลุ ชยั กรรมการผจู ดั การดา นสทุ ธาการพมิ พ พรอ มทง้ั คณุ สพุ จน มติ รสมหวงั ซง่ึ เปน ผู ชว ยเอาใจใสต ง้ั ใจทจ่ี ะพมิ พใ หป ระณตี งดงาม ในดา นอปุ สรรคตอ งาน และการคา้ํ จนุ ชวี ติ ทเี่ ปน พน้ื ฐานของงาน ผเู รยี บเรยี งถกู รบั เขา พกั รกั ษา ตวั ในโรงพยาบาลพหลโยธนิ นบั แต พ.ศ. ๒๕๒๖ รวม ๓ คราว โดยมนี ายแพทยเ กษม อารยางกรู พ่ีชายของตนเอง เปน ผอู าํ นวยการดแู ลรักษา พรอ มทงั้ ไดร บั ความเอ้ือเฟอ เอาใจใสจ ากพยาบาล และพนักงานเจาหนาท่ดี ว ยดี คุณประพัฒน และคุณหมอกาญจนา เกษสอาด และคณุ หมอสมุ าลี ตนั ติวรี สุต พรอมดว ยเพอื่ นและผใู กลช ดิ นอกจากอปุ ถมั ภด ว ยนติ ยภตั แลว กไ็ ดข วนขวายตดิ ตาม ชว ยแกป ญ หาสขุ ภาพ พรอ มทง้ั สนบั สนนุ ใหม อี ปุ กรณแ ละสถานทอ่ี าศยั ทเี่ ออ้ื ตอ สขุ ภาพและการงาน คณุ หญงิ กระจา งศรี รกั ตะกนษิ ฐ รว มดวยคุณหมอจรญู ผลนิวาส กบั ทั้งศิษยแ ละญาตมิ ิตรได บําเพ็ญความอปุ ถมั ภข ยายออกไปรอบดาน ทง้ั ในทางสนับสนนุ ผลงาน ดวยการจัดตง้ั “ทุนพมิ พ พจนานุกรมพุทธศาสน ” เปนตน และในดา นคํ้าจุนชีวิตของผูทาํ งาน ดว ยการอุปถมั ภความเปนอยู ประจาํ วัน ขวนขวายใหไ ดฟน ฟูสขุ ภาพ และเสริมสรางสปั ปายะตางๆ ตลอดจนจดั หาอปุ กรณท ี่ สําคัญมาไวเพอื่ ใหทาํ งานไดส ะดวกรวดเรว็ ทวปี รมิ าณ นอกจากต้งั ทนุ พิมพใ หแ ลว เมอ่ื หนงั สือเสร็จออกมา โยมผศู รทั ธายงั บําเพญ็ กจิ อาสาสมคั ร ชวยจําหนายหนังสือนั้นอีก เพื่อใหมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยไดผลประโยชนโดยเร็วและเต็ม จํานวนไมตองหักคาคนกลาง บรรดาผูศรัทธาที่ชวยสนับสนุนมหาวิทยาลัยสงฆดวยวิธีเปนสื่อนาํ

๑๓ ผลประโยชนมาใหแ ละเผยแพรผลงานอยเู งยี บๆ เชน นี้ นอกจากโยมผรู เิ รม่ิ ตง้ั ทุนแลว ควรจะเอย นาม ดร.ทวีรสั มิ์ ธนาคม เปนตวั อยางอกี ทา นหน่ึง ยงั มีทานผศู รทั ธาหรือมีจิตเกือ้ กลู อกี หลายทาน ท้ังบรรพชติ และคฤหัสถ ไดป วารณาท่จี ะ ชวยเหลือกิจตางๆ เก่ียวกับหนังสอื น้ี แมจ ะยงั ไมไดขอความรวมมือในคราวน้ี กข็ ออนโุ มทนาความ มีนํ้าใจดีนน้ั ไว และหวังวาคงจะไดข อความอนุเคราะหในงานสําคัญๆ ลาํ ดับตอๆ ไป ทางดา นมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั เม่อื ไดแจงขอพิมพห นังสือแลว ถึงคราวมีเร่ืองเกยี่ ว ขอ งพระมหาอารีย เขมจาโร รองเลขาธิการฝา ยธุรการ กแ็ สดงความพรอมอยูเสมอท่ีจะรว มมือ ดาํ เนินกิจนนั้ ใหล ลุ วงไป ใกลเ ขา มาอกี ภายในวัดพระพเิ รนทร พระถวัลย สมจิตฺโต และพระฉาย ปฺ าปทโี ป ยงั คงเปน องคยนื หลกั ทชี่ วยใหค วามเปน อยขู องผูเ รยี บเรียงภายในวดั คลอ งเบา พอ วางภาระกับสภาพแวดลอมรอบตวั ได สามารถทํางานหนงั สือมงุ ไปแตดานเดียว ผเู รยี บเรยี งถอื วา การทท่ี า นผศู รทั ธาและมนี า้ํ ใจ มาใหค วามอปุ ถมั ภต า งๆ ดว ยกศุ ลเจตนาเรม่ิ การเอง อนั ลว นเปน อสงั ขารกิ กศุ ลทงั้ สน้ิ นน้ั กด็ ว ยเหน็ แกพ ระธรรม หวงั จะสนบั สนนุ งานพระศาสนา ใหเ จรญิ แพรห ลายยง่ิ ขน้ึ โดยมองเหน็ วา ผเู รยี บเรยี งนจ้ี ะเปน กาํ ลงั หรอื องคป ระกอบสว นหนงึ่ ของงาน นนั้ ได ในทาํ นองเดยี วกนั กข็ อไดร บั ความมนั่ ใจทสี่ อดคลอ งตอ ไปอกี ดว ยวา การตอบสนองตอ ความ อุปถัมภเ กือ้ กูล ในลกั ษณะที่เปน การปฏิเสธหรือหลกี เลย่ี ง ซ่งึ มขี ึ้นเปนคร้งั คราวตามโอกาส หรือแม ในกรณสี าํ คญั นน้ั ผเู รยี บเรยี งไดก ระทาํ ไปโดยบรสิ ทุ ธใ์ิ จ ดว ยเหน็ แกก จิ การพระศาสนาหรอื ประโยชน ของสวนรวมตามเหตผุ ลอยางใดอยางหนึ่งอยา งแนน อน โดยทใ่ี นใจจรงิ กอ็ นโุ มทนาเปน อยางย่ิงตอ กศุ ลเจตนาท่หี วงั จะอนุเคราะหเกื้อกูลน้ัน แตย ังยากหรือยงั ไมเหมาะที่จะอธบิ ายเหตผุ ลใหทราบ ในเม่ืองานนี้ก็กําลังจะเสร็จลงอยูตอหนาแลว และท้ังผูเรียงเรียงทั้งผูรวมแรงรวมศรัทธา ตางก็มคี วามปรารถนาตรงเปน อนั เดียวกนั ทีจ่ ะประกาศพุทธวจนะเผยแพรพระสัทธรรม จงึ ขออาง อิงพลังแหงบญุ กศุ ล มศี รทั ธา ฉนั ทะ และวริ ยิ ะ เปน ตน จงเปน ปจ จยั อาํ นวยใหผ ลงานอนั อทุ ศิ ตอ พระศาสนาบชู าธรรมนี้ เปน เครอ่ื งเผยแผค วามรใู นพระพทุ ธศาสนา สงเสริมความเขาใจถกู ตองใน หลกั คาํ สอน ค้ําชูพทุ ธธรรมใหเ จรญิ งอกงามแพรหลาย เพ่อื ประโยชนส ุขแกช าวโลกอยา งกวา งขวาง ตลอดกาลนาน อนงึ่ ผูใ ชห นงั สือน้พี ึงตระหนักวา หลักธรรมตา งๆ ที่ประมวลไวในพจนานกุ รมนี้ เปนเพียง สวนหน่ึงท่ไี ดคัดเลือกมา มิใชท ง้ั หมดในพระไตรปฎ ก พึงถือพจนานุกรมนี้เปน เพยี งฐานสาํ คัญใน การศึกษาคน ควาธรรมใหล ะเอยี ดลึกซ้งึ ยง่ิ ขนึ้ ไป อกี ประการหนึ่ง คาํ อธบิ ายขอธรรมตางๆ ใน พจนานุกรมนี้ จัดทําในลักษณะเปน ตําราหรอื เปนแบบแผน จงึ ยึดเอาหลกั ฐานในคมั ภรี เปนบรรทัด ฐานกอน และใหค วามสําคญั แกค ัมภีรทั้งหลายตามลําดับชั้น เชน พระไตรปฎ กเหนอื อรรถกถา อรรถกถาเหนือมตอิ าจารยรุนหลัง และเหนืออตั โนมตั ิ เปนตน พงึ ใชพจนานกุ รมน้ีเปนที่ปรึกษา โดยมคี วามเขาใจดงั กลา วนัน้ เปน พนื้ อยใู นใจ จะไดค ิดขยายความตอ ออกไปอกี ไดอยา งมีหลักและ มีขั้นมตี อน ตลอดจนวจิ ารณไ ดอยา งมีหลกั เกณฑ พระราชวรมุนี (ประยทุ ธ ปยตุ โฺ ต) ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๒๘

คาํ นาํ (ในการพมิ พค ร้งั ที่ ๑) พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร เลม น้ี เปน ทร่ี วมของงาน ๓ ชน้ิ คอื พจนานกุ รมหมวดธรรม พจนานกุ รมพทุ ธ- ศาสตร ไทย–องั กฤษ และ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร องั กฤษ–ไทย งาน ๓ ชนิ้ นเี้ ดมิ เปน งานตา งหากกนั และเกดิ ขน้ึ ตา งคราวกนั กลา วคอื พจนานกุ รมพทุ ธศาสตรไ ทย–องั กฤษ เดมิ ชอ่ื พจนานกุ รมศพั ทพ ระพทุ ธศาสนา ไทย– บาล–ี องั กฤษ ไดจ ดั ทาํ เผยแพรต ง้ั แต พ.ศ. ๒๕๐๖ และไดแ กไ ขเพมิ่ เตมิ เปน ครง้ั คราว ครง้ั สดุ ทา ยกอ นหนา นี้ ได ขยายเพม่ิ เตมิ เปน ฉบบั พสิ ดาร เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๓ แตจ ดั ทาํ เชน นน้ั ไดเ พยี งจบอกั ษร ฐ กช็ ะงกั ไมม เี วลาทาํ ตอ มา อกี เลย ในระหวา งนน้ั เจา หนา ทมี่ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดข อใหน าํ เอาฉบบั เลก็ เดมิ มาพมิ พไ ปพลางกอ น ใน พ.ศ. ๒๕๑๕ ไดต กลงจะตพี มิ พ โดยขอแกไ ขเพมิ่ เตมิ เลก็ นอ ย แตไ มม เี วลา จงึ ชกั ชา อยู ในระยะเวลาเดยี วกนั นน้ั ผรู วบรวมกาํ ลงั จดั ทาํ หนงั สอื ประเภทอา งองิ ทางพระพทุ ธศาสนาคา งอยหู ลาย เลม จงึ คดิ วา ควรรวบรวมหลกั ธรรมเปน หมวดๆ ทใี่ ชเ ลา เรยี น ใชอ า งองิ และทน่ี า สนใจสาํ หรบั คนทวั่ ไป จาํ นวนไม มากนกั มาพมิ พป ระมวลไวเ พอื่ เปน คมู อื ใชป ระกอบการศกึ ษาเบอ้ื งตน เพยี งใหพ อเหมาะสาํ หรบั นกั เรยี นนกั ศกึ ษา และผสู นใจทว่ั ไป ซงึ่ ไมต อ งการรายละเอยี ดพสิ ดารอยา งนกั คน ควา ในขณะเดยี วกนั กจ็ ะใหค วามหมายภาคภาษา องั กฤษทน่ี ยิ มใชท วั่ ๆ ไป กาํ กบั ไวก บั ขอ ธรรมตา งๆ ดว ย พอเปน ประโยชนใ นขน้ั ตน ๆ เมอ่ื นาํ งานชนิ้ นมี้ ารวมเขา ดว ยกนั กบั พจนานกุ รมพทุ ธศาสตรไ ทย–องั กฤษ กจ็ ะเปน เครอ่ื งเสรมิ กนั และกนั ชว ยใหเ กดิ ประโยชนแ กผ ใู ช มากยง่ิ ขน้ึ งานชน้ิ ทเี่ พม่ิ นไี้ ดต งั้ ชอื่ วา พจนานกุ รมหมวดธรรม ดว ยเหตผุ ล ๒ ประการคอื ประการแรก แม หนงั สอื นจ้ี ะถอื จาํ นวนหวั ขอ ธรรมเปน เกณฑแ ละจดั ลาํ ดบั ตามจาํ นวนเลขกต็ าม แตใ นจาํ นวนทเี่ ทา กนั ไดจ ดั เรยี ง หมวดธรรมตามลาํ ดบั อกั ษร นอกจากนนั้ ยงั ไดจ ดั องคป ระกอบอยา งอน่ื ในระบบการคน ตามลาํ ดบั อกั ษร เชน สารบญั คน คาํ เปน ตน เขา เสรมิ อกี ดว ย ชว ยใหส าํ เรจ็ กจิ ของพจนานกุ รมโดยสมบรู ณ ประการทส่ี อง เพอ่ื ใหเ ปน งานทเี่ ขา ชดุ กนั ไดเ หมาะสมใชป ระโยชนใ นประเภทเดยี วกนั กบั พจนานกุ รมพทุ ธศาสตรไ ทย–องั กฤษ ทที่ าํ ไวแ ลว ระหวา งทท่ี าํ พจนานกุ รมหมวดธรรม อยนู นั้ ไดต ง้ั ใจวา เมอ่ื มโี อกาสขา งหนา จะไดจ ดั ทาํ พจนานกุ รม หมวดธรรม ฉบบั พสิ ดารใหมอ กี เพอ่ื ใหเ ปน ไปตามโครงการทวี่ างไวเ ดมิ ซง่ึ ไดร วบรวมขอ มลู เตรยี มไวก อ นแลว เปน อนั มาก อยา งไรกด็ ี ระหวา งจดั ทาํ พจนานกุ รมหมวดธรรม ฉบบั ปจ จบุ นั อยนู ี้ พจิ ารณาเหน็ วา หมวดธรรม หลายหมวดแมย งั ไมจ าํ เปน สาํ หรบั คนทว่ั ไปทจี่ ะตอ งรกู จ็ รงิ แตม คี วามสาํ คญั เกอื้ กลู แกก ารศกึ ษาธรรมวนิ ยั มาก ไมอ าจตดั หมวดธรรมเหลา นนั้ ทง้ิ ไปได อกี อยา งหนงึ่ ทค่ี ดิ ไวเ ดมิ วา จะแสดงความหมายของหวั ขอ ธรรมแตเ พยี ง สนั้ ๆ พออา งองิ ไดเ ทา นน้ั ครนั้ ลงมอื ทาํ กเ็ หน็ ไปวา ไหนๆ มหี นงั สอื นแ้ี ลว กค็ วรใหส าํ เรจ็ ประโยชนพ อแกจ ะใชก าร ทเี ดยี ว ขอ ธรรมใดใหเ พยี งความหมาย ยงั ไมอ าจเขา ใจชดั ได กไ็ ดท าํ ไขความโดยสรปุ สาระทคี่ วรรเู กยี่ วกบั ขอ ธรรมนน้ั ไวจ นคลมุ ความ การทเ่ี ปน เชน นี้ ไดท าํ ใหพ จนานกุ รมหมวดธรรม มขี นาดหนามาก เมอ่ื รวมเขา กบั พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ไทย–องั กฤษ เดมิ แทนทจ่ี ะเปน สว นประกอบชว ยเสรมิ หรอื เปน สว นรว ม กลบั กลายเปน สว นหลกั ไป แมถ งึ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ไทย–องั กฤษ นนั้ เอง กไ็ ดข ยายตวั ออกไปมากอยแู ลว เมอื่ ทง้ั สอง สว นทข่ี ยายตวั มารวมกนั เขา จงึ ทาํ ใหห นงั สอื มขี นาดใหญเ กนิ ความตง้ั ใจเดมิ ภาคที่ ๓ ของหนงั สอื น้ี คอื พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร องั กฤษ–ไทย เปน สว นทจี่ ดั ทาํ ขนึ้ ใหมใ นการพมิ พ ครงั้ นี้ โดยพจิ ารณาเหน็ วา เมอ่ื มภี าคไทย–องั กฤษแลว กค็ วรมภี าคองั กฤษ–ไทยขนึ้ ดว ยเปน คกู นั เพอ่ื ใหใ ช ประโยชนไ ดค รบถว น แตภ าคองั กฤษ–ไทยทที่ าํ นี้ ถอื เปน เพยี งสว นประกอบเทา นนั้ เพราะปญ หาสาํ คญั ของ นกั ศกึ ษาและนกั เผยแพรพ ระพทุ ธศาสนา อยทู ตี่ อ งการทราบวา ศพั ทธ รรมหรอื ศพั ทพ ระพทุ ธศาสนาคาํ นๆี้ จะใช

๑๕ ภาษาองั กฤษวา อยา งไร ซงึ่ พจนานกุ รมภาคที่ ๒ จะเปน ทปี่ รกึ ษาชว ยบอกหรอื หาคาํ ใชท เี่ หมาะสมเสนอให สว น พจนานกุ รมภาคที่ ๓ ทาํ หนา ทเี่ พยี งรวบรวมศพั ทภ าษาองั กฤษ ทใ่ี ชก บั ศพั ทธ รรมลงตวั อยแู ลว บา ง ทม่ี ผี คู ดิ ขน้ึ ลองใชแ ลว และดเู หมาะสมดบี า ง นาํ มาแสดงใหท ราบวา ผทู ใ่ี ชค าํ ภาษาองั กฤษคาํ นนั้ มงุ หมายถงึ ขอ ธรรมอะไร สว น มากจงึ เปน คาํ ตอ คาํ ไมก นิ เนอื้ ทมี่ าก พจนานกุ รมภาคท่ี ๓ นี้ สามารถจาํ กดั ขนาดใหอ ยใู นกาํ หนดทตี่ ง้ั ใจไวเ ดมิ ได ไมข ยายตวั เกนิ ไป เพราะเหตทุ มี่ คี วามเปน มาตา งหากกนั เชน นี้ สว นทงั้ ๓ ของพจนานกุ รมจงึ มลี กั ษณะเปน อสิ ระจากกนั ไม จาํ กดั อยใู นขอบเขตเดยี วกนั หรอื ในขอบเขตของกนั และกนั เชน ความหมายภาษาองั กฤษของขอ ธรรมเดยี วกนั ท่ี แสดงใน พจนานกุ รมหมวดธรรม กบั ใน พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ไทย–องั กฤษ อาจตรงกนั เฉพาะนยั ทน่ี ยิ มใช ยตุ แิ ลว แตน ยั อน่ื ๆ ทเ่ี สนอแนะไวอ าจมแี ปลกจากกนั ได ขอ ธรรมบางอยา งไมไ ดเ กบ็ ไวใ น พจนานกุ รมพทุ ธ ศาสตร ไทย–องั กฤษ ไมเ ปน ขอ ธรรมทอ่ี ยใู นระดบั อนั ควรทราบ แตป รากฏใน พจนานกุ รมหมวดธรรม เพราะเปน ขอ ยอ ยของหมวดธรรมบางหมวด จาํ เปน ตอ งตดิ เขา ไปอยเู อง ดงั นเี้ ปน ตน ลกั ษณะทเ่ี ปน อสิ ระจากกนั เชน น้ี นบั ไดว า มผี ลดมี ากกวา ผลเสยี เพราะกลบั เปน สว นทมี่ าเสรมิ กนั ชว ยใหส มบรู ณแ ละอาํ นวยประโยชนม ากยง่ิ ขนึ้ เชน เมอื่ คน หาความหมายของขอ ธรรมขอ ใดขอ หนง่ึ ในพจนานกุ รมภาคท่ี ๒ (ไทย–องั กฤษ) ไดแ ลว อาจเปด ดขู อ ธรรมนนั้ ในสารบญั คน คาํ ของพจนานกุ รมภาคท่ี ๑ (หมวดธรรม) แลว หาความหมายไดเ พมิ่ ขน้ึ อกี ขอ ธรรมใดไมม ี ในพจนานกุ รมภาคท่ี ๒ เมอื่ เปด ดสู ารบญั คน คาํ ในภาคท่ี ๑ อาจหาพบกไ็ ด นอกจากนน้ั ยงั ชว ยใหไ มต อ งลงพมิ พ ความหมายซาํ้ กนั ทง้ั หมด ซงึ่ ทาํ ใหเ ปลอื งเนอื้ ทมี่ ากขนึ้ อกี ดว ย อยา งไรกด็ ี ความเปน อสิ ระจากกนั เชน นี้ แมจ ะมผี ล ดบี างประการ แตก ย็ งั ถอื วา เปน ขอ บกพรอ งอยา งหนง่ึ ซงึ่ ในการพมิ พค ราวตอ ๆ ไปถา มเี วลา จะไดใ ชร ะบบอา งองิ ภายในเขาชวยเพิม่ ขนึ้ อกี เพอ่ื ใหง านทง้ั สามภาคประสานเปน ชดุ เดยี วกนั โดยสมบรู ณ และสามารถรักษา ลกั ษณะท่ใี หผ ลดีไวได พรอมทัง้ แกไขมิใหม ขี อบกพรอ งทเ่ี กิดจากความซํ้าซาก เปน ตน ดงั ไดกลาวแลว หนงั สอื นี้เดมิ ต้ังใจทาํ เปนฉบบั เล็ก เพราะหากมเี วลาเพียงพอ จะไดจดั ทาํ ฉบบั พิสดารท่ี คางอยูใหเสร็จสิ้นตอไป แตบัดนี้หนังสือฉบับเล็กนี้ไดขยายตัวออกมากจนมีขนาดใหญยากท่ีจะนําติดตัวไปใช เปนประจาํ ตามความต้ังใจเดิม ในการแกปญหานี้ไดใชร ะบบการพมิ พเขาชว ย โดยถายยอ ลงจากตน ฉบบั เรยี ง พิมพเหลอื เพยี ง ๒ ใน ๓ สวน จะยอเลก็ กวานต้ี วั อักษรก็จะเล็กเกินไป จนทําใหเ กดิ ความยากลาํ บากแกผูใช จาํ นวนมาก ทําอยางนถี้ ึงแมจ ะไมไ ดห นังสือขนาดเลก็ เทาที่ตัง้ ใจเดมิ ก็พอชวยใหใ ชไดส ะดวกขน้ึ มาก และในเวลา เดียวกนั กท็ าํ ใหไดห นังสอื ขนาดกะทัดรดั ท่ีจุเน้อื ความยิ่งกวาปกตเิ ปนอนั มาก การจดั พมิ พห นงั สอื นี้ นบั แตจ ดั เตรยี มตน ฉบบั เพอื่ สง โรงพมิ พใ นปลายป พ.ศ. ๒๕๑๕ จนถงึ ตพี มิ พ เสรจ็ ในบดั นี้ สนิ้ เวลาประมาณ ๒ ป ๖ เดอื น ในการจดั พมิ พไ ดร บั ความรว มมอื รว มใจอยา งดจี ากหลายทา น เจา หนา ทม่ี หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั โดยเฉพาะทา นพระมหาสมบรู ณ สมปฺ ณุ โฺ ณ* ผชู ว ยเลขาธกิ าร ไดช ว ยคอย เรง เรา เทา กบั เปน แรงสนบั สนนุ ใหก ารจดั ทาํ หนงั สอื นค้ี บื หนา มาสคู วามสาํ เรจ็ คณุ ชลธรี  ธรรมวรางกรู ไดช ว ยพมิ พ ดดี ตน ฉบบั ใหโ ดยตลอดดว ยความเออื้ เฟอ และทางโรงพมิ พค รุ สุ ภาไดช ว ยอาํ นวยความสะดวกในการตพี มิ พ นบั วา ทกุ ทา นไดม สี ว นบาํ เพญ็ กศุ ลรว มกนั ในการทาํ วทิ ยาทานนใ้ี หส าํ เรจ็ จงึ ขออนโุ มทนาในความรว มแรงรว มใจและ ความสนบั สนนุ ของทกุ ทา นไว ณ โอกาสนเ้ี ปน อยา งยงิ่ พระราชวรมนุ ี ๒๔ เมษายน ๒๕๑๘ ____________________ *ปจจุบนั (พ.ศ. ๒๕๔๕) เปนที่ พระราชกติ ติเวที



สารบญั ทวั่ ไป ๓ ๔ คําปรารภ ๙ คาํ นํา (ในการพิมพค รง้ั ท่ี ๑๐) ๑๔ บันทกึ ในการพมิ พค ร้ังที่ ๔ คาํ นํา (ในการพิมพค รัง้ ท่ี ๑) 1 3 ภาค 1 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร หมวดธรรม 8 คําช้ีแจงการใชพ จนานุกรมหมวดธรรม 9 อักษรยอชื่อคมั ภรี  10 Abbreviations of Scriptures 17 สารบัญหมวดธรรม 22 สารบญั ประเภทธรรม 57 ดัชนคี น คาํ 60 เอกกะ หมวด 1 84 ทุกะ หมวด 2 113 ตกิ ะ หมวด 3 162 จตุกกะ หมวด 4 189 ปญจกะ หมวด 5 204 ฉักกะ หมวด 6 215 สัตตกะ หมวด 7 221 อฏั ฐกะ หมวด 8 229 นวกะ หมวด 9 249 ทสกะ หมวด 10 292 อติเรกทสกะ หมวดเกิน 10 Index of Pàli Terms 311 313 ภาค 2 พจนานุกรมพุทธศาสตร ไทย–อังกฤษ 314 คํานาํ (ในการพมิ พค รง้ั ท่ี 1) 316 คาํ ชี้แจง 316 อักษรยอและเครือ่ งหมาย 317 เทียบอกั ษรโรมันที่ใชเขยี นบาลี พจนานกุ รม ก–โอ 363 365 ภาค 3 พจนานกุ รมพุทธศาสตร อังกฤษ–ไทย พจนานุกรม A–Z 382 Appendix



ภาค 1 พจนานกุ รมพุทธศาสตร หมวดธรรม Part I Dictionary of Numerical Dhammas



คาํ ชีแ้ จงการใชพ จนานกุ รมหมวดธรรม ก. หลกั การในการรวบรวมธรรม 1. หมวดธรรม คอื หลกั ธรรมทแ่ี สดงไวโดยมจี ํานวนหวั ขอเปนชดุ ๆ ชดุ หนง่ึ ๆ เรยี กวาหมวดธรรมหนึง่ ๆ หมวดธรรมเหลานี้เปนคาํ สอนในพระพุทธศาสนาเพียงสว นหน่ึงเทาน้ัน นอกจากคําสอนประเภทหมวด ธรรมแลว ยงั มคี าํ สอนประเภทคาถาภาษิต ธรรมกถา และโอวาทานศุ าสนีตางๆ อีกเปนอนั มาก ผูท่ี ตองการรูจักพระพุทธศาสนาอยางกวา งขวางท่ัวถงึ จึงควรศึกษาคําสอนประเภทอ่นื ๆ นอกจากหมวด ธรรมดวย อยางไรกด็ ี การศกึ ษาหมวดธรรมเหลา น้นี บั วา สําคญั และมีประโยชนอยา งมาก เพราะเปน คํา สอนประเภทประมวลขอ สรุป มอี รรถกวา งขวาง และถกู ยกขึ้นอาง หรือเปนขอ ปรารภในการแสดงคํา สอนประเภทอน่ื ๆ อยูเนอื งๆ 2. หมวดธรรมมอี ยมู ากมาย แตเ ฉพาะทแ่ี สดงในหนงั สอื นี้ ไดค ดั เลอื กและรวบรวมไวเ พยี งสว นหนง่ึ โดยถอื หลักเกณฑท่ีสาํ คญั คือ 1) มุงเอาหมวดธรรมท่ีมาในพระไตรปฎกโดยตรงเปนพ้ืน สวนท่ีมาในคัมภีรอ่ืนพยายามจาํ กัดเฉพาะ คัมภีรส าํ คญั ในระดับรองลงมา ทีน่ ยิ มนับถอื ใชศ ึกษาและอางอิงกันอยทู ว่ั ไปในวงการศึกษาพระ พุทธศาสนา 2) มุงเอาหมวดทแ่ี สดงหลกั ธรรมโดยตรง ใหส มกบั ชื่อทเ่ี รยี กวา “หมวดธรรม” หลีกเลี่ยงหมวดที่เปน เพยี งเกรด็ ความรู หรอื คาํ แถลงเรอ่ื งราวอนื่ ๆ เวน แตจ ะเปน เรอื่ งทสี่ มั พนั ธก บั หลกั ธรรมอยา งใกลช ดิ 3) คดั เอาเฉพาะหมวดธรรมทค่ี วรรูหรือที่ตองรู โดยฐานเปนหลักสําคญั ของพระพุทธศาสนาบา ง เปน หลักทเ่ี หน็ วานา รูและมปี ระโยชนมากบาง เปน หลักที่ใชหรืออา งอิงอยเู สมอ หรือรูจกั กันอยูท ั่วไปบาง เปนหลกั ทท่ี า นกาํ หนดใหเรียนในหลักสตู รการศึกษาพระพทุ ธศาสนาระบบตา งๆ ในประเทศไทยบาง ข. การจดั ลาํ ดบั 3. การจดั ลําดบั หมวดธรรม – จัดตามลําดับเลขจํานวนกอน รวมหมวดธรรมที่มีจํานวนหัวขอเทากันเขาไวเปนกลุมเดียวกันเรียง จากกลุมที่มีจํานวนนอยไปหากลุมท่มี จี ํานวนมากตามลําดบั เปน หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 ฯลฯ จนถงึ หมวดเกนิ สิบ – ในหมวดเลขเดยี วกัน เรียงตามลาํ ดับอักษร ตามอกั ขรวธิ ีในภาษาไทย 1) หมวดธรรมท่ีมีลาํ ดับอักษรหางกัน แตเปนเร่ืองที่เกี่ยวพันหรือควบคูกัน เมื่อถึงลาํ ดับอักษรของ หมวดหนง่ึ แลว นาํ อีกหมวดหนง่ึ มาตอ ในลาํ ดับถดั ไปทนั ทโี ดยไมคาํ นงึ ถึงลําดบั อกั ษร เชน [67] กศุ ลมลู 3, [68] อกศุ ลมลู 3; [80] ทจุ รติ 3, [81] สจุ รติ 3 เปน ตน 2) หมวดธรรมทีม่ เี ลขจาํ นวนตางกัน แตเ ปน เร่อื งอยางเดยี วกนั อาจจัดเรียงรวมไวใ นหมวดเลขเดียว กัน ตอกันไป โดยไมค าํ นงึ ถึงลําดับเลขหมวด ในกรณีเชนน้ี จะถอื หมวดธรรมท่ีสาํ คญั หรอื รูจ ักกนั มากเปนหลัก เชน [303] พทุ ธคณุ 9, [304] พทุ ธคณุ 2, [305] พทุ ธคณุ 3, [306] ธรรมคณุ 6, [307] สงั ฆคณุ 9 เปน ตน ในกรณีของขอยกเวน 2 ขอน้ี หมวดธรรมทผ่ี ิดลําดบั ใหถอื เปน หมวดธรรมพว ง ไมกระทบกระเทอื นตอ

4 ลําดับอักษรตามปกติ ซ่ึงจะจัดตอไปจากหมวดธรรมที่อยูขางหนา นอกจากน้ัน หมวดธรรมท่ี ผิดลําดับเหลาน้ี จะมีชื่อเรียงอยูในตําแหนงที่เปนลําดับตามปกติของมันเองอีกสวนหน่ึงดวย แตใน ตําแหนงปกตนิ นั้ จะไมน ับเลขลาํ ดับ (ในวงเลบ็ สาํ หรับใสเลขลาํ ดบั จะใสร ูป , ไวแทนชอ งวา ง) และไมม ี รายละเอยี ด มเี พียงคาํ อา งบอกตําแหนงที่จะพึงคน ตอ ไป ซึง่ ชว ยโยงถงึ กันใหผ ูใชห นังสือคนหาไดโดย สะดวกจากทกุ ดา น ตวั อยา ง: [,,] สจุ รติ 3 ดู [81] สจุ รติ 3 [,,] พทุ ธคณุ 2 ดู [304] พทุ ธคณุ 2 สจุ รติ 3 เปน ชอ่ื ของธรรมหมวดท่ีเปน คปู ฏปิ ก ษกบั ทจุ รติ 3 จึงนาํ ไปเรยี งไวตอ จากหมวด ทจุ รติ 3 เน่ืองจากอกั ษร ท อยกู อนอักษร ส สว น พทุ ธคณุ 2 อยใู นกลุมเดยี วกบั พทุ ธคณุ 9 แตมจี ํานวนตางกนั จงึ นาํ ไปเรียงไวตอจากหมวด พทุ ธคณุ 9 อันเปน หมวดธรรมทีถ่ ือเปน หลกั 4. หมวดธรรมทม่ี หี ลายชอื่ ถอื เอาชอื่ ทมี่ าในบาลเี ปน หลกั ใหร ายละเอยี ดไวท เ่ี ดยี ว แตช อ่ื อนื่ ๆ กเ็ รยี งไวใ น ตาํ แหนงท่ีถูกตองตามลาํ ดบั อกั ษรและลาํ ดบั เลขหมวดดว ย โดยไมน บั เลขลาํ ดบั และไมม รี ายละเอยี ด เพยี งใสเ ครอื่ งหมาย , ไวใ นวงเลบ็ ขา งหนา และมคี าํ อา งบอกตาํ แหนง ชอื่ ทม่ี รี ายละเอยี ดอนั พงึ จะคน ตอ ไป เปน การเชอื่ มโยงถงึ กนั ใหค น ไดจ ากทกุ ดา น ตวั อยา ง: [,,,] สมบตั ขิ องอบุ าสก 7 ดู [260] อบุ าสกธรรม 7 สมบตั ิของอบุ าสก 7 กับ อบุ าสกธรรม 7 เปนชื่อของธรรมหมวดเดยี วกนั แสดงรายละเอียดเฉพาะ ที่ อบุ าสกธรรม 7 แหงเดยี ว สวนช่อื สมบตั ขิ องอบุ าสก 7 ไดเ รียงไวด ว ย แตใหดูรายละเอียดท่ี อบุ าสกธรรม 7 5. ตัวเลขท่ีอา งองิ ในหนังสอื นีท้ ั้งหมด หมายถงึ เลขลาํ ดับ (คือเลขขอ) ของหมวดธรรม ไมใชเลขหนา เวน แตจะมคี าํ บอกกาํ กับไวเปนอยา งอื่น อนึ่ง ในเน้อื หนงั สือ ใชตวั เลขอารบิกทัง้ หมด เพื่อใหผ ใู ชภ าคภาษาอังกฤษสามารถใชประโยชน รวมดวยโดยสะดวก ค. ความหมายและคาํ อธบิ าย 6. หนังสือน้ีไมใชหนังสืออธิบายธรรมจําเพาะอยา ง แตเปนหนงั สืออางองิ วา ดวยหลกั ธรรมทั่วไป จําตอง สงวนเนอ้ื ท่ี และแสดงอรรถาธบิ ายท่ีกระชับรัดกุม จึงพยายามหลีกเล่ยี งการอธิบาย แสดงไวแ ตเพยี ง คาํ จาํ กัดความและความหมายเปน สําคญั 1) ภาคภาษาไทย: ความหมายมกั แสดงไวหลายๆ นยั เพ่อื เสริมความเขาใจใหชดั ข้นึ และเพือ่ เลือกใช ไดอ ยางเหมาะสมแกก รณี ขอ ธรรมบางขอมีคาํ แปลโดยพยญั ชนะ ในกรณเี ชนนี้ ความหมายที่เปนคําแปลโดยพยญั ชนะน้ัน จะถูกเรียงไวก อนความหมายอ่ืน ความหมายทีแ่ สดงไวหลายนยั มกั มีทง้ั ความหมายอยางส้นั และความหมายอยา งยาว ท้ังน้ีมงุ เพอ่ื ประโยชนทง้ั ในทางความเขา ใจและในการใชงาน ขอธรรมบางอยา งจาํ เปน ตองอธิบาย เพอ่ื ใหเ ขาใจชดั เจน ในกรณเี ชน นีไ้ ดพยายามอธบิ ายใหส้ัน

5 ท่สี ดุ โดยทําเปนไขความออกจากความหมายของขอ ธรรมน้นั ๆ และใหครอบคลมุ เนอื้ หาสมบรู ณในตวั เสรจ็ ส้นิ ไปในแตล ะขอ ไมใ ชวิธีอธิบายรวมทัง้ หมด แตถ ามขี อ สังเกตหรอื คาํ ช้แี จงกวา งๆ สําหรบั ทัง้ หมวดก็ไดนําไปเขียนไวในตอนทายของหมวดธรรมน้ัน หมวดธรรมท่ีตองอธิบายพึงเห็นตัวอยางเชน [85] ธรรม 3, [107] วโิ มกข 3, [285] วสิ ทุ ธิ 7, [311] วปิ ส สนาญาณ 9 เปน ตน 2) ภาคภาษาอังกฤษ: ความหมายในภาษาอังกฤษมุงเพียงใหเปนสวนประกอบสําหรับชวยเหลือ นกั ศกึ ษาในการศกึ ษาคน ควา ใหก วา งขวางออกไป หรอื เปนสอ่ื ถา ยทอดความรูเ ทานั้น ไมไ ดม งุ ใหเ ปน หลกั ของหนงั สือน้ี โดยปกตใิ นภาคภาษาอังกฤษจะไมมคี าํ อธิบายเลย มีเพยี งความหมายส้ันๆ ซึ่งโดย มากเปนความหมายในรูปคําแปล ขอธรรมใดมีคําแปลหรือความหมายในภาษาอังกฤษท่ีใชกันลงยุติแลวหรือนิยมใชกันแพรหลาย ในหมนู กั ศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาแลว ก็ไดนําเอาคาํ แปลหรือความหมายนั้นมาลงไว โดยถือเปน อิสระจาก ความหมายในภาคภาษาไทย สว นขอ ธรรมใดความหมายในภาษาองั กฤษยังมปี ญ หา ไมเปน ท่ยี ตุ ิหรือยงั ไมสูเปน ทร่ี ูจักท่ัวไป กไ็ ดพยายามตรวจสอบ เลอื กสรร หรือคน หาคํามาใชใ หต รงกบั ความเขา ใจในภาค ภาษาไทยใหมากทส่ี ุด คําแปลและความหมายขอ ธรรมตางๆ ในภาคภาษาอังกฤษสว นมาก ไมต รงกับคําแปลหรอื ความ หมายทีใ่ ชในพระไตรปฎ กแปลฉบับภาษาอังกฤษของสมาคมบาลปี กรณ (The Pali Text Society) ท้ัง น้ีเพราะไดมีการคิดคนสรรหาคําแปลศัพทธรรมตางๆ ในหมูนักปราชญนักศึกษาพระพุทธศาสนา กาวหนาตอ มาอกี มากภายหลังเวลาที่พิมพพระไตรปฎกแปลฉบับภาษาองั กฤษนนั้ แลว อน่งึ คาํ บาลอี ักษรโรมันในวงเล็บตอ ทา ยช่อื หมวดธรรม หรือขอธรรมนนั้ ๆ ไดแสดงไว โดยมงุ ให ผใู ชรูจกั รปู เดิมของศพั ทน ้ันๆ ในภาษาบาลี ถา เปนคาํ สมาสคอื มหี ลายคาํ ประกอบกนั ก็มงุ ใหก ําหนด แยกไดง ายวา มีคาํ อะไรประกอบอยูบางเทานั้น มไิ ดมงุ แสดงรปู ที่ใชจรงิ ในประโยคภาษาบาลี ดงั นน้ั ก) ทีใ่ ดตองการใหเ หน็ รูปศพั ทของคําท่มี าประกอบกนั กจ็ ะใสย ตั ภิ ังค หรือ hyphen (-) แทรกไว ใหดูงา ย ท่ใี ดเห็นวาเปน คาํ ทใ่ี ชร วมกันเปนปกติ กไ็ มแยก ข) เม่ือแยกคาํ โดยใชยัตภิ ังคแ ลว กไ็ มเ ติมพยัญชนะซอน (สงั โยค) ตามหลกั สนธิ ตวั อยา ง: ขันธ 5 หรือ เบญจขันธ บาลเี ปน ปฺจกขฺ นธฺ ประกอบดวย ปจฺ + ขนฺธ ถา เขยี นเปนคํา บาลอี ักษรโรมัน ตามทใี่ ชจ ริงในประโยค ก็เปน Pa¤cakkhandha คอื เขียนตดิ ตอกนั และมีพยญั ชนะ ซอน ไดแ ก k แทรกเขา มา แตในพจนานกุ รมฯ นเ้ี ขียนใหผูศ ึกษากําหนดแยกไดงา ย เปน Pa¤ca- khandha สงั วรปธาน บาลนี ิยมเขยี นเปน สวํ รปฺปธาน ประกอบดว ย สวํ ร + ปธาน ถา เขียนเปน คาํ บาลี อักษรโรมัน ตามทีใ่ ชในประโยค กเ็ ปน Sa§varappadhàna แตในพจนานุกรมฯ นีเ้ ขยี นเปน Sa §vara-padhàna นอกจากน้ี ขอ ความหรอื ถอยคํา ที่อยูใ นชุดเดยี วกัน หรือเปน เรือ่ งทาํ นองเดียวกัน และเรียงอยู ตอเนอ่ื งกัน ถามีสวนทีซ่ า้ํ ตรงกัน อาจใชเครือ่ งหมาย tilde (~) แทนความหรอื คาํ สว นหรือทอ นท่ซี ้าํ ตรง กันน้นั เพอื่ ประหยดั เน้อื ท่ี และชว ยไมใหด ลู านตา เชน A¤¤asamàna-cetasika; Pakiõõaka-~; Akusala-~ พึงทราบและนําไปใชในรูปท่ีเปนคําเต็มวา A¤¤asamàna-cetasika; Pakiõõaka- cetasika; Akusala-cetasika ดงั นเี้ ปน ตน (หลกั ขอนีน้ ํามาใชก ับพากยภาษาไทยดว ยบาง เชน ความ หวัง, ~ใฝหา หมายถงึ คาํ เต็มวา ความหวงั , ความใฝหา)

6 ง. ทมี่ าของหมวดธรรม 7. หมวดธรรมสวนมากมีท่ีมาหลายแหง ถาเปนหมวดธรรมพนื้ ๆ ไมจาํ เปน ตอ งคน หาคําอธิบายแปลกๆ ออกไป ไดแ สดงทมี่ าไวแ ตพอเปนตวั อยาง ถา เปน หมวดธรรมที่ชวนใหค นหาคาํ อธิบายเทยี บเคยี งอยา ง กวางขวาง ไดแ สดงที่มาไวหลายแหง หมวดธรรมบางหมวดหาที่มายาก ไดพ ยายามนํามาแสดงไวเทา ที่ จะหาได อยางไรกต็ าม ในการพิมพค รัง้ แรก คงจะบกพรองในเรอ่ื งน้ีบาง เพราะบางหมวดทที่ ําในระยะ แรก ยงั ไมไดคํานงึ ถึงความมุงหมายขอ น้ี คดิ แตเ พยี งจะแสดงท่ีมาพอเปน ตัวอยา งเทา น้นั ในกรณมี ที ี่มามากมายหลายแหง ทง้ั ในพระไตรปฎ กและคัมภีรรุนหลงั ถอื เอาพระไตรปฎ กเปน หลัก สวนทม่ี าในคมั ภรี รนุ หลังมอี รรถกถาเปน ตน ถาไมม เี หตุผลสมควร อาจไมแ สดงไวเลย เพราะถอื เปน การเกนิ จาํ เปน 8. ท่ีมาท้ังหลายไดแสดงไวท้ังฝายภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อสะดวกแกนกั ศึกษาและนกั คนควาโดย ท่วั ไป ผูใ ชควรสงั เกตดวยวา ทีม่ าใดเปนคมั ภรี ในพระไตรปฎ กหรือคัมภีรส มัยหลัง เพ่ือจะไดรจู กั หวั ขอ ธรรมตา งๆ อยางถูกตอ งชัดเจนยง่ิ ข้นึ เฉพาะทม่ี าในพระไตรปฎ ก ฝายภาษาไทยหมายเอาพระไตรปฎก บาลีอักษรไทย ฉบับสยามรัฐ ชุด 45 เลมจบ การอางใชร ะบบ เลม/ขอ/หนา ตวั อยา ง: ข.ุ อติ .ิ 25/195/237 = ขุททฺ กนิกาย อิตวิ ุตตฺ ก พระไตรปฎกเลม 25 ขอ 195 หนา 237 การอางท่ีมาโดยระบบนี้ชวยอํานวยความสะดวกแกผูมีพระไตรปฎกฉบับแปลภาษาไทย 25 พทุ ธศตวรรษ สามารถใชร วมไดด วย โดยเฉพาะฉบบั ทก่ี รมการศาสนาจัดพมิ พใ หม มี 45 เลมจบ เลข เลม และเลขขอตรงกนั ใชรว มกันได แปลกเฉพาะเลขหนาซึ่งใชกนั ไมไ ด (ความจริง การอางแตเลม กบั ขอ เทานน้ั กเ็ พยี งพออยแู ลว) พระไตรปฎ กฝายภาษาองั กฤษ หมายเอาฉบบั บาลอี ักษรโรมนั ของสมาคมบาลีปกรณ (The Pali Text Society) ในประเทศองั กฤษ ระบบการอางใชอยา งท่นี ยิ มกนั ท่วั ไป อกั ษรยอบอกชื่อคัมภีรทม่ี าตางๆ และคมั ภรี ใดอยูในพระไตรปฎ กหรอื เปนคัมภรี ส มยั หลงั ไดท าํ บัญชีไวเ ปน สวนหนงึ่ ตางหากแลว ท้ังฝายภาษาไทยและภาษาอังกฤษ [ดหู นา 7–10] จ. สารบญั และดชั นี 9. นอกจากสารบัญทั่วไป แลว ในหนงั สือนี้ยังมีสารบัญละเอียดและดัชนีตา งๆ อีก เพอ่ื ชว ยใหการศึกษา คนควาหลักธรรมสะดวกและไดผลดีย่ิงข้ึน สารบัญและดัชนที ้งั หลายจัดทาํ ไวเพ่อื สนองความมงุ หมาย ตา งๆ ดังนี้ 1) สารบญั หมวดธรรม แสดงหมวดธรรมทั้งหมดครบจาํ นวนและตรงตามลาํ ดบั ในหนงั สอื สารบญั นี้ จะชวยใหคนหาหมวดธรรมที่ประสงคไดสะดวกรวดเร็วยิ่งขึน้ และทาํ ใหส ามารถสาํ รวจเทียบเคียง และเชอื่ มโยงหมวดธรรมตางๆ ไดง ายข้ึน 2) สารบญั ประเภทธรรม นาํ เอาหมวดธรรมท้ังหมดมาจดั รวมพวกใหม แยกเปนประเภทๆ ตามเน้ือ หาและคณุ คาในการปฏิบตั ิ สารบัญนจี้ ัดทําไวอยา งเสนอแนะพอเปน แนว แตม ัน่ ใจวาจะเปนเครอื่ ง ชวยในการศึกษาคนควา และเลอื กสรรหลกั ธรรมไปใชประโยชนไ ดเปน อยา งมาก 3) ดชั นคี น คาํ คือดัชนีทีจ่ ัดทาํ ไวทายพจนานกุ รมภาคท่ี 1 ทั้งหมด นาํ เอาขอธรรมทัง้ หมด ท้งั ทเ่ี ปน หมวดธรรมซ่ึงมีเลขจํานวนตางๆ กันก็ดี หัวขอยอยทั้งหลายท่ีเปนสวนประกอบของหมวดธรรม

7 ตางๆ กด็ ี นาํ มาจัดเรยี งใหมต ามลาํ ดบั อกั ษรเปน ชุดเดยี วกนั ท้ังหมด พรอ มดว ยลําดับเลขหมวดทง้ั ปวงทีจ่ ะพงึ คน หาขอ ธรรมน้นั ๆ ได ผทู ี่ทราบเพยี งชอื่ หมวดธรรมแตไ มท ราบจาํ นวนหัวขอ กด็ ี ผูที่ ทราบแตเพยี งขอ ยอยขอ ใดขอหนึง่ แตจ าํ ชอ่ื หมวดธรรมไมไ ดก ็ดี ผูท ่ตี อ งการศกึ ษาขอ ธรรมขอ ใดขอ หน่ึงใหกวางขวางออกไปก็ดี ผูท่ีตองการทราบความหมายของศัพทธรรมคําใดคําหนึ่งโดยเฉพาะ หรือตองการใชหนังสือน้ีอยางพจนานุกรมสามัญก็ดี ยอมใชดัชนีคนคําน้ีสนองความตองการได สําเรจ็ ความประสงคอ ยางรวดเรว็ อนึ่ง คาํ บางคาํ เขยี นไดหลายอยาง แตใ นดชั นีคนคํา เรียงไวอ ยา งเดียว เชน จาตุมหาราชกิ า (เขียน จาตมุ มหาราชกิ า กไ็ ด) ปุพเพนิวาสานสุ สตญิ าณ (เขยี น ปุพเพนิวาสานุสตญิ าณ หรอื บุพเพนวิ าสานุสติญาณ ก็ได) พึงถือวา เปน รปู ท่ีถกู ตอ งดว ยกัน ตามหลักการเขยี นคําทเ่ี ปน ธรรม- บญั ญตั ใิ นพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2493 และ พ.ศ. 2525 เมือ่ พบคําทเ่ี ขียนในรูป อนื่ ซ่งึ หาไมพ บในดชั นีคน คํา พึงเทียบเคยี งตามหลกั ภาษา ใหไ ดร ปู ทีค่ น ไดในดัชนคี น คํานี้ ในการพมิ พค รง้ั ที่ 4 (พ.ศ. 2527–2528) ไดย ายดัชนีคนคํามาไวต นเลม เพอ่ื ใหใ ชงายย่ิงขน้ึ และได เพมิ่ ดัชนีคาํ บาลีอักษรโรมัน (Index of Pàli Terms) เขามา เพ่อื ประโยชนแกผ ูใ ชภาคภาษาองั กฤษ เมือ่ ใชหนงั สือน้ี พึงใชส ารบญั และดัชนีตา งๆ ใหเ ปนประโยชนเ สมอ โดยเฉพาะควรใชเ ปนท่ปี รกึ ษา อนั ดบั แรกกอ นส่งิ อื่น

อกั ษรยอ ชอ่ื คมั ภรี * เรียงตามอักขรวธิ แี หง มคธภาษา (ทพี่ ิมพต วั เอน คอื คัมภีรใ นพระไตรปฎก) อง.ฺ อ. องคฺ ุตฺตรนิกาย อฏกถา (มโนรถปรู ณ)ี ขทุ ทฺ ก.อ. ขุททฺ กปา อฏ กถา (ปรมตฺถโชตกิ า) อง.ฺ อฏก. องคฺ ุตตฺ รนกิ าย อฏกนปิ าต จริยา.อ. จรยิ าปฏ ก อฏ กถา (ปรมตถฺ ทปี น)ี อง.ฺ เอก. องฺคุตฺตรนกิ าย เอกนิปาต ชา.อ. ชาตกฏกถา อง.ฺ เอกาทสก. องฺคุตตฺ รนกิ าย เอกาทสกนิปาต เถร.อ. เถรคาถา อฏ กถา (ปรมตฺถทีปน)ี องฺ.จตุกฺก. องฺคตุ ฺตรนิกาย จตกุ กฺ นปิ าต เถรี.อ. เถรคี าถา อฏ กถา (ปรมตถฺ ทีปน)ี องฺ.ฉกฺก. องฺคตุ ฺตรนกิ าย ฉกกฺ นปิ าต ที.อ. ทีฆนิกาย อฏ กถา (สมุ งฺคลวลิ าสิน)ี อง.ฺ ตกิ . องฺคุตฺตรนิกาย ตกิ นปิ าต ที.ปา. ทีฆนิกาย ปาฏิกวคฺค องฺ.ทสก. องฺคตุ ตฺ รนกิ าย ทสกนปิ าต ท.ี ม. ทีฆนกิ าย มหาวคฺค อง.ฺ ทุก. องฺคตุ ตฺ รนกิ าย ทุกนิปาต ที.สี. ทีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคคฺ อง.ฺ นวก. องคฺ ตุ ฺตรนิกาย นวกนปิ าต ธ.อ. ธมมฺ ปทฏ กถา อง.ฺ ปจฺ ก. องคฺ ตุ ฺตรนิกาย ปจฺ กนปิ าต นิท.ฺ อ. นิทฺเทส อฏกถา (สทฺธมฺมปชโฺ ชติกา) อง.ฺ สตฺตก. องคฺ ุตตฺ รนกิ าย สตฺตกนิปาต ปจฺ .อ. ปฺจปกรณ อฏกถา (ปรมตถฺ ทีปนี) อป.อ. อปทาน อฏ กถา (วสิ ทุ ฺธชนวลิ าสินี) ปฏสิ .ํ อ. ปฏสิ มภฺ ทิ ามคคฺ อฏ กถา (สทธฺ มมฺ ปกาสนิ )ี อภ.ิ ก. อภธิ มฺมปฏก กถาวตถฺ ุ เปต.อ. เปตวตฺถุ อฏ กถา (ปรมตถฺ ทีปน)ี อภ.ิ ธา. อภธิ มฺมปฏก ธาตกุ ถา พุทธฺ .อ. พทุ ธฺ วํส อฏ กถา (มธุรตถฺ วลิ าสินี) อภ.ิ ป. อภิธมฺมปฏก ปฏาน ม.อ. มชฌฺ มิ นกิ าย อฏกถา (ปปจฺ สูทน)ี อภิ.ป.ุ อภิธมมฺ ปฏก ปคุ คฺ ลปฺ ตฺติ ม.อุ. มชฺฌมิ นกิ าย อุปรปิ ณฺณาสก อภิ.ยมก. อภิธมฺมปฏ ก ยมก ม.ม. มชฌฺ มิ นิกาย มชฌฺ ิมปณฺณาสก อภิ.วิ. อภธิ มมฺ ปฏ ก วภิ งคฺ ม.ม.ู มชฺฌมิ นกิ าย มูลปณณฺ าสก อภ.ิ ส.ํ อภิธมฺมปฏ ก ธมมฺ สงคฺ ณี มงฺคล. มงคฺ ลตฺถทีปนี อิติ.อ. อิตวิ ุตตฺ ก อฏ กถา (ปรมตถฺ ทปี นี) มลิ ินฺท. มลิ นิ ทฺ ปฺหา อุ.อ.,อทุ าน.อ. อุทาน อฏกถา (ปรมตถฺ ทปี น)ี วนิ ย. วินยปฏ ก ขุ.อป. ขุททฺ กนกิ าย อปทาน วินย.อ. วนิ ย อฏกถา (สมนตฺ ปาสาทิกา) ข.ุ อิต.ิ ขทุ ทฺ กนิกาย อิติวตุ ฺตก วินย.ฏกี า วนิ ยฏกถา ฏกี า (สารตถฺ ทปี นี) ขุ.อุ. ขุทฺทกนกิ าย อทุ าน วิภงฺค.อ. วิภงฺค อฏ กถา (สมฺโมหวโิ นทนี) ข.ุ ข.ุ ขทุ ฺทกนิกาย ขทุ ทฺ กปา วมิ าน.อ. วิมานวตถฺ ุ อฏกถา (ปรมตฺถทปี น)ี ขุ.จรยิ า. ขุททฺ กนกิ าย จริยาปฏก วสิ ุทธฺ .ิ วสิ ุทฺธมิ คฺค ข.ุ จ.ู ขุทฺทกนิกาย จฬู นิทฺเทส วสิ ทุ ฺธิ.ฏกี า วิสทุ ฺธมิ คคฺ มหาฏีกา (ปรมตฺถมชฺ ุสา) ข.ุ ชา. ขทุ ฺทกนกิ าย ชาตก สงคฺ ณี อ. สงคฺ ณี อฏกถา (อฏสาลนิ )ี ขุ.เถร. ขุททฺ กนิกาย เถรคาถา สงคฺ ห. อภิธมฺมตถฺ สงคฺ ห ขุ.เถร.ี ขุทฺทกนกิ าย เถรคี าถา สงคฺ ห.ฏีกา อภธิ มมฺ ตถฺ สงคฺ ห ฏกี า (อภธิ มมฺ ตถฺ วภิ าวนิ )ี ข.ุ ธ. ขทุ ทฺ กนิกาย ธมมฺ ปท ส.ํ อ. สยํ ตุ ตฺ นิกาย อฏ กถา (สารตถฺ ปกาสินี) ขุ.ปฏิ. ขทุ ทฺ กนกิ าย ปฏิสมภฺ ทิ ามคฺค ส.ํ ข. สยํ ุตฺตนกิ าย ขนฺธวารวคฺค ข.ุ เปต. ขุททฺ กนกิ าย เปตวตถฺ ุ ส.นิ. สํยุตฺตนิกาย นทิ านวคคฺ ข.ุ พทุ ฺธ. ขทุ ฺทกนกิ าย พุทฺธวํส ส.ม. สยํ ุตตฺ นกิ าย มหาวารวคฺค ข.ุ ม.,ข.ุ มหา. ขุทฺทกนิกาย มหานิทฺเทส ส.ส. สํยุตตฺ นกิ าย สคาถวคฺค ข.ุ วมิ าน. ขุทฺทกนกิ าย วมิ านวตถฺ ุ ส.ํ สฬ. สํยุตตฺ นกิ าย สฬายตนวคฺค ข.ุ ส.ุ ขุทฺทกนกิ าย สตุ ตฺ นปิ าต สตุ ฺต.อ. สุตตฺ นิปาต อฏกถา (ปรมตฺถโชตกิ า) ___________________ *คัมภีรช ้ันฎกี าแสดงไวขา งตน เฉพาะทีใ่ ชก นั อยูในวงการศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทย สว นทนี่ อกจากนี้ไมแสดงไว พึงเขา ใจ เอง ตามแนววิธใี นการใชอักษรยอ สําหรบั อรรถกถา ท่ีนาํ อ. ไปตอ ทา ยอักษรยอ ของคมั ภรี ใ นพระไตรปฎ ก เชน ที.อ., ม.อ., ส.ํ อ. เปน ตน (ในกรณีของฎกี า กน็ ํา ฏ.ี หรือ ฏีกา ไปตอ เปน ท.ี ฏ.ี หรอื ท.ี ฏกี า เปน ตน )

Abbreviations of Scriptures (in italics are canonical works) A. Aïguttaranikàya (5 vols.) Pañ. Paññhàna (Abhidhamma) AA. Aïguttaranikàya Aññhakathà PañA. Paññhàna Aññhakathà (Paramatthadãpanã) (Manorathapåraõã) Ps. Pañisambhidàmagga Ap. Apadàna (Khuddakanikàya) (Khuddakanikàya) ApA. Apadàna Aññhakathà PsA. Pañisambhidàmagga Aññhakathà (Saddhammapakàsinã) (Visuddhajanavilàsinã) Ptk. Peñakopadesa Bv. Buddhava§sa (Khuddakanikàya) Pug. Puggalapa¤¤atti (Abhidhamma) BvA. Buddhava§sa Aññhakathà PugA. Puggalapa¤¤atti Aññhakathà (Paramatthadãpanã) (Madhuratthavilàsinã) Pv. Petavatthu (Khuddakanikàya) Comp. Compendium of Philosophy PvA. Petavatthu Aññhakathà (Paramatthadãpanã) (Abhidhammatthasaïgaha) S. Sa§yuttanikàya (5 vols.) Cp. Cariyàpiñaka (Khuddakanikàya) SA. Sa§yuttanikàya Aññhakathà CpA. Cariyàpiñaka Aññhakathà (Sàratthapakàsinã) Sn. Suttanipàta (Khuddakanikàya) (Paramatthadãpanã) SnA. Suttanipàta Aññhakathà D. Dãghanikàya (3 vols.) (Paramatthajotikà) DA. Dãghanikàya Aññhakathà Thag. Theragàthà (Khuddakanikàya) ThagA. Theragàthà Aññhakathà (Sumaïgalavilàsinã) (Paramatthadãpanã) DAò. Dãghanikàya Aññhakathà òãkà Thãg. Therãgàthà (Khuddakanikàya) ThãgA. Therãgàthà Aññhakathà (Lãnatthapakàsinã) (Paramatthadãpanã) Dh. Dhammapada (Khuddakanikàya) Ud. Udàna (Khuddakanikàya) DhA. Dhammapada Aññhakathà UdA. Udàna Aññhakathà Dhtk. Dhàtukathà (Abhidhamma) (Paramatthadãpanã) DhtkA. Dhàtukathà Aññhakathà Vbh. Vibhaïga (Abhidhamma) VbhA. Vibhaïga Aññhakathà (Paramatthadãpanã) (Sammohavinodanã) Dhs. Dhammasaïgaõã (Abhidhamma) Vin. Vinaya Piñaka (5 vols.) DhsA. Dhammasaïgaõã Aññhakathà VinA. Vinaya Aññhakathà (Samantapàsàdikà) (Aññhasàlinã) Vinò. Vinaya Aññhakathà òãkà It. Itivuttaka (Khuddakanikàya) (Sàratthadãpanã) ItA. Itivuttaka Aññhakathà Vism. Visuddhimagga Vismò. Visuddhimagga Mahàñãkà (Paramatthadãpanã) (Paramatthama¤jusà) J. Jàtaka (including its Aññhakathà) Vv. Vimànavatthu (Khuddakanikàya) Kh. Khuddakapàñha (Khuddakanikàya) VvA. Vimànavatthu Aññhakathà KhA. Khuddakapàñha Aññhakathà (Paramatthadãpanã) Yam. Yamaka (Abhidhamma) (Paramatthajotikà) YamA. Yamaka Aññhakathà Kvu. Kathàvatthu (Abhidhamma) (Paramatthadãpanã) KvuA. Kathàvatthu Aññhakathà (Paramatthadãpanã) M. Majjhimanikàya (3 vols.) MA. Majjhimanikàya Aññhakathà (Papa¤casådanã) Miln. Milindapa¤hà Nd 1 Mahàniddesa (Khuddakanikàya) Nd 2 Cåëaniddesa (Khuddakanikàya) NdA. Niddesa Aññhakathà (Saddhammapajjotikà) Nett. Nettipakaraõa

สารบญั หมวดธรรม เอกกะ – หมวด 1 [30] บูชา 2 [1] กลั ยาณมิตตตา [31] ปฏสิ นั ถาร 2 [2] โยนโิ สมนสิการ [32] ปธาน 2 [3] อปั ปมาทะ [33] ปริเยสนา 2 [34] ปจ จยั ใหเ กดิ สัมมาทิฏฐิ 2 ทุกะ – หมวด 2 [35] ปาพจน 2 [4] กรรม 2 [,,] พุทธคณุ 2 [304] [,] กรรมฐาน 2 [36] [,,] พทุ ธคณุ 3 [305] [5] กาม 2 [,,] ไพบลู ย 2 [44] [6] กามคณุ 5 [36] ภาวนา 2 [7] ฌาน 2 [37] ภาวนา 4 [8] ฌาน 2 ประเภท [38] รูป 21, 28 [9] ฌาน 4, 5 [39] มหาภตู หรอื ภูตรูป 4 [10] ฌาน 8 [40] อปุ าทารูป หรอื อปุ าทายรูป 24 [11] ทาน 21 [41] รูป 22 [12] ทาน 22 [42] ฤทธิ์ 2 [13] ทิฏฐิ 2 [,,] โลกบาลธรรม 2 [23] [14] ทฏิ ฐิ 3 [43] วิมตุ ติ 2 [15] ทสี่ ุด (อนั ตา) 2 [,,] เวทนา 2 [110] [16] ทกุ ข 2 [44] เวปุลละ 2 [17] เทศนา 21 [45] สมาธิ 2 [18] เทศนา 22 [46] สมาธิ 31 [19] ธรรม 21 [47] สมาธิ 32 [20] ธรรม 22 [48] สงั ขาร 2 [21] ธรรม 23 [49] สงั คหะ 2 [22] ธรรม 24 [50] สัจจะ 2 [23] ธรรมคุมครองโลก 2 [51] สาสน หรือ ศาสนา 2 [24] ธรรมทําใหงาม 2 [52] สขุ 21 [,,] ธรรมท่ที รงเหน็ คณุ ประจักษ 2 [65] [53] สขุ 22 [,,] ธรรมเปน โลกบาล 2 [23] [54] สทุ ธิ 2 [25] ธรรมมีอปุ การะมาก 2 [,,] อรหันต 2 [61] [26] ธรุ ะ 2 [55] อริยบุคคล 2 [27] นิพพาน 2 [56] อรยิ บุคคล 4 [28] บัญญตั ิ 2, 6 [57] อรยิ บคุ คล 8 [29] บุคคลหาไดยาก 2 [58] โสดาบนั 3

[59] สกทาคามี 3, 5 11 [60] อนาคามี 5 [61] อรหันต 2 [91] ปปญ จะ 3 [62] อรหนั ต 4, 5, 60 [92] ปรญิ ญา 3 [63] อรยิ บคุ คล 7 [,,] ปหาน 3 [224] [64] อัตถะ 2 [93] ปญ ญา 3 [65] อุปญ ญาตธรรม 2 [94] ปาฏิหารยิ  3 [95] ปาปณิกธรรม 3 ติกะ – หมวด 3 [,,] ปฎก 3 [75] [66] กรรม 3 [,,] พุทธคุณ 3 [305] [67] กศุ ลมลู 3 [96] พุทธจรยิ า 3 [68] อกุศลมูล 3 [97] พุทธโอวาท 3 [69] กุศลวติ ก 3 [98] ภพ 3 [70] อกุศลวติ ก 3 [99] ภาวนา 3 [71] โกศล 3 [100] รตั นตรัย [72] ญาณ 31 [101] ลัทธินอกพระพทุ ธศาสนา 3 [73] ญาณ 32 [102] โลก 31 [74] ตัณหา 3 [103] โลก 32 [75] ไตรปฎก [104] โลก 33 [,,] ไตรรตั น [100] [105] วฏั ฏะ 3 หรือ ไตรวฏั ฏ [76] ไตรลกั ษณ [106] วิชชา 3 [,,] ไตรสกิ ขา [124] [,,,] วปิ ล ลาส 3 ระดบั [178] [77] ทวาร 3 [107] วิโมกข 3 [78] ทวาร 6 [108] วิรตั ิ 3 [,,] ทิฏฐิ 3 [14] [109] วิเวก 3 [79] ทกุ ขตา 3 [110] เวทนา 2 [80] ทจุ รติ 3 [111] เวทนา 3 [81] สจุ ริต 3 [112] เวทนา 5 [82] เทพ 3 [113] เวทนา 6 [83] เทวทตู 3 [114] สมบัติ 31 [,,] เทวทูต 4 [150] [115] สมบตั ิ 32 หรือ ทานสมบตั ิ 3 [84] เทวทูต 5 [,,,] สมาธิ 3 [46], [47] [85] ธรรม 3 [116] สรณะ 3 หรือ ไตรสรณะ [86] ธรรมนยิ าม 3 [117] สังขตลักษณะ 3 [87] นิมิต หรอื นมิ ิตต 3 [118] อสงั ขตลกั ษณะ 3 [88] บุญกริ ิยาวัตถุ 3 [119] สงั ขาร 31 [89] บุญกิริยาวัตถุ 10 [120] สงั ขาร 32 [90] บตุ ร 3 [121] สทั ธรรม 3 [122] สันโดษ 3, 12 [123] สัปปุริสบญั ญัติ 3

[,,,] สามัญลกั ษณะ 3 [76] 12 [124] สิกขา 3 หรอื ไตรสิกขา [,,,] สุจริต 3 [81] [147] ธาตุกัมมฏั ฐาน 4 [,,,] โสดาบัน 3 [58] [148] ธาตุ 6 [,,,] อกุศลมูล 3 [68] [149] ธาตกุ มั มฏั ฐาน 6 [,,,] อกศุ ลวิตก 3 [70] [150] นมิ ติ 4 [125] อธปิ ไตย 3 [151] บรษิ ัท 41 [126] อนตุ ตรยิ ะ 3 [152] บริษทั 42 [127] อนตุ ตริยะ 6 [153] บคุ คล 4 [128] อปณณกปฏปิ ทา 3 [154] ปฏิปทา 4 [129] อภิสังขาร 3 [155] ปฏสิ มั ภทิ า 4 [130] อคั คิ 31 [156] ปธาน 4 [131] อคั คิ 32 หรอื อัคคิปารจิ ริยา [157] ปรมตั ถธรรม 4 [132] อัตถะ หรอื อรรถ 31 [158] ประมาณ หรอื ปมาณิก 4 [133] อตั ถะ หรอื อรรถ 32 [159] ปจจยั 4 [134] อาการท่ีพระพุทธเจาทรงส่งั สอน 3 [,,,] ปญญาวฒุ ธิ รรม 4 [179] [135] อาสวะ 3 [160] ปาริสทุ ธิศีล 4 [136] อาสวะ 4 [,,,] ผล 4 [165] [,,,] โอวาทของพระพทุ ธเจา 3 [97] [,,,] พร 4 [227] [161] พรหมวหิ าร 4 จตุกกะ – หมวด 4 [,,,] พละ 4 [229] [137] กรรมกิเลส 4 [,,,] พทุ ธลีลาในการสอน 4 [172] [,,,] กลั ยาณมิตร 4 [169] [,,,] ภาวนา 4 [37] [,,,] กิจในอรยิ สจั จ 4 [205] [,,,] ภาวติ 4 [37] [138] กลุ จิรัฏฐติ ิธรรม 4 [162] ภมู ิ 4 [139] ฆราวาสธรรม 4 [163] โภควภิ าค 4 [140] จักร 4 [164] มรรค 4 [141] เจดีย 4 [165] ผล 4 [,,,] ฌาน 4 [9] [166] มหาปเทส 41 [142] ถูปารหบคุ คล 4 [167] มหาปเทส 42 [143] ทกั ขิณาวิสทุ ธิ 4 [168] มติ รปฏริ ปู ก หรือ มติ รเทียม 4 [,,,] ทรัพยจัดสรรเปน 4 สว น [163] [169] สุหทมิตร หรอื มิตรแท 4 [144] ทฏิ ฐธมั มิกัตถสงั วตั ตนกิ ธรรม 4 [170] โยคะ 4 [,,,] เทวทูต 4 [150] [171] โยนิ 4 [,,,] ธรรมมีอปุ การะมาก 4 [140] [,,,] ราชสังคหวัตถุ 4 [187] [,,,] ธรรมเปนเหตใุ หสมหมาย 4 [191] [172] ลีลาการสอน 4 [145] ธรรมสมาทาน 4 [173] วรรณะ 4 [146] ธาตุ 4 [174] วธิ ีปฏบิ ัติตอทุกข–สุข 4 [175] วบิ ัติ 41 [176] วิบตั ิ 42

13 [177] สมบตั ิ 4 [209] อวชิ ชา 8 [178] วิปลลาส หรือ วิปลาส 4 [210] อันตรายของภิกษสุ ามเณรผบู วชใหม 4 [179] วฒุ ิ หรอื วฒุ ิธรรม 4 [,,,] อปั ปมญั ญา 4 [161] [180] เวสารชั ชะ หรือ เวสารชั ชญาณ 4 [211] อาจารย 4 [181] ศรัทธา 4 [,,,] อาสวะ 4 [136] [182] สตปิ ฏ ฐาน 4 [212] อาหาร 4 [183] สมชวี ธิ รรม 4 [213] อิทธิบาท 4 [184] สมาธภิ าวนา 4 [214] อปุ าทาน 4 [185] สงั ขาร 4 [215] โอฆะ 4 [186] สังคหวตั ถุ 4 [187] สงั คหวัตถุของผูครองแผนดิน 4 หรือ ราช- ปญจกะ – หมวด 5 [,,,] กัลยาณธรรม 5 [239] สังคหวัตถุ 4 [,,,] กามคณุ 5 [6] [188] สงั เวชนยี สถาน 4 [,,,] กําลงั 5 ของพระมหากษัตริย [230] [189] สัมปชัญญะ 4 [216] ขันธ 5 หรือ เบญจขันธ [190] สมั ปทา หรอื สมั ปทาคณุ 4 [,,,] คติ 5 [351] [191] สัมปรายกิ ัตถสงั วตั ตนิกธรรม 4 [217] จกั ขุ 5 [,,,] สัมมัปปธาน 4 [156] [,,,] ฌาน 5 [9] [192] สขุ ของคฤหัสถ 4 [218] ธรรมขันธ 5 [,,,] สุหทมติ ร 4 [169] [219] ธรรมเทสกธรรม 5 [193] โสดาปตติยังคะ 41 [220] ธรรมสมาธิ 5 [194] โสดาปตตยิ งั คะ 42 [221] ธรรมสวนานิสงส 5 [195] โสดาปต ตยิ ังคะ 43 [222] นวกภกิ ขุธรรม 5 [,,,] หลกั การแบง ทรพั ย 4 สว น [163] [223] นยิ าม 5 [196] อคติ 4 [224] นโิ รธ 5 [197] อธษิ ฐาน หรือ อธิษฐานธรรม 4 [225] นิวรณ 5 [198] อบาย 4, อบายภมู ิ 4; และ [351] [,,,] เบญจธรรม [239] [199] อบายมุข 4 [,,,] เบญจศีล [238] [200] อบายมุข 6 [,,,] ประโยชนท ี่ควรถอื เอาจากโภคทรัพย 5 [232] [201] วัฒนมุข 6 [,,,] ปหาน 5 [224] [202] อปส เสนะ หรือ อปส เสนธรรม 4 [,,,] ปญ จกชั ฌาน [9] [,,,] อรหนั ต 4 [62] [226] ปต ิ 5 [,,,] อริยบุคคล 4 [56] [227] พร 5 [203] อรยิ วงศ 4 [228] พละ 5 [204] อริยสัจจ 4 [229] พละ 4 [205] กิจในอริยสจั จ 4 [230] พละ 5 ของพระมหากษัตรยิ  [206] ธรรม 4 [231] พหสู ูตมอี งค 5 [207] อรูป หรือ อารุปป 4 [232] โภคอาทิยะ หรอื โภคาทิยะ 5 [208] อวิชชา 4

[233] มัจฉรยิ ะ 5 14 [234] มาร 5 [,,,] มจิ ฉาวณชิ ชา 5 [235] [258] อินทรีย 5 [235] วณชิ ชา 5 [259] อบุ าสกธรรม 5 [,,,] วฑั ฒิ หรอื วฒั ิ หรอื วฒุ ิ 5 [249] [260] อุบาสกธรรม 7 [236] วมิ ุตติ 5 [,,,] วริ าคะ 5 [224] ฉกั กะ – หมวด 6 [,,,] วิเวก 5 [224] [261] คารวะ หรือ คารวตา 6 [,,,] เวทนา 5 [112] [262] จริต หรือ จริยา 6 [237] เวสารชั ชกรณธรรม 5 [263] เจตนา หรอื สัญเจตนา 6 [,,,] โวสสัคคะ 5 [224] [264] ตณั หา 6 [238] ศลี 5 หรอื เบญจศีล [,,,] ทวาร 6 [78] [239] เบญจธรรม หรอื เบญจกัลยาณธรรม [265] ทศิ 6 [240] ศลี 8 หรอื อัฏฐศีล [,,,] ธรรมคณุ 6 [306] [241] ศลี 8 ทั้งอาชีวะ หรือ อาชวี ฏั ฐมกศีล [,,,] ธาตุ 6 [148] [242] ศีล 10 หรอื ทศศลี [,,,] บัญญัติ 2, 6 [28] [,,,] สกทาคามี 5 [59] [266] ปย รปู สาตรูป 6 × 10 [,,,] สมบัติของอุบาสก 5 [259] [267] ภัพพตาธรรม 6 [243] สังวร 5 [,,,] วฒั นมุข 6 [201] [244] สุทธาวาส 5 [268] วิญญาณ 6 [,,,] องคแ หง ธรรมกถกึ 5 [219] [,,,] เวทนา 6 [113] [,,,] องคแ หงภกิ ษใุ หม 5 [222] [269] เวปลุ ลธรรม 6 [245] อนันตรยิ กรรม 5 [270] สวรรค 6 [,,,] อนาคามี 5 [60] [,,,] สญั เจตนา 6 [263] [246] อนปุ พุ พิกถา 5 [271] สญั ญา 6 [247] อภณิ หปจ จเวกขณ 5 [272] สมั ผสั หรือ ผัสสะ 6 [248] ปพ พชิตอภิณหปจเวกขณ 10 [273] สารณยี ธรรม 6 [,,,] อรหันต 5 [62] [,,,] อนตุ ตรยิ ะ 6 [127] [249] อรยิ วัฑฒิ หรือ อารยวฒั ิ 5 [,,,] อบายมขุ 6 [200] [250] อายุสสธรรม หรอื อายวุ ฒั นธรรม 5 [274] อภญิ ญา 6 [,,,] อารยวฒั ิ 5 [249] [275] อภิฐาน 6 [251] อาวาสิกธรรม 51 [276] อายตนะภายใน 6 [252] อาวาสิกธรรม 52 [277] อายตนะภายนอก 6 [253] อาวาสกิ ธรรม 53 [254] อาวาสกิ ธรรม 54 สตั ตกะ – หมวด 7 [255] อาวาสกิ ธรรม 55 [278] กลั ยาณมิตรธรรม 7 [256] อาวาสิกธรรม 56 [279] ธรรมมีอปุ การะมาก 7 [292] [257] อาวาสกิ ธรรม 57 [280] บุพนมิ ติ แหง มรรค 7 [281] โพชฌงค 7 [282] ภรรยา 7

[283] เมถุนสงั โยค 7 15 [284] วญิ ญาณฐิติ 7 [285] วสิ ทุ ธิ 7 [303] พุทธคุณ 9 [286] สปั ปายะ 7 [304] พทุ ธคณุ 2 [287] สปั ปรุ ิสธรรม 71 [305] พทุ ธคณุ 3 [,,,] สปั ปุรสิ ธรรม 72 [301] [306] ธรรมคุณ 6 [,,,] สมบตั ขิ องอบุ าสก 7 [260] [307] สังฆคุณ 9 [,,,] องคค ุณของกัลยาณมิตร 7 [278] [308] มละ 9 [288] อนสุ ัย 7 [309] มานะ 9 [289] อปรหิ านิยธรรม 71 [310] โลกตุ ตรธรรม 9 [290] อปรหิ านยิ ธรรม 72 [311] วปิ ส สนาญาณ 9 [291] อปริหานิยธรรม 73 [312] สตั ตาวาส 9 [292] อริยทรพั ย 7 [313] อนบุ ุพพวิหาร 9 [,,,] อรยิ บุคคล 7 [63] [,,,] อุบาสกธรรม 7 [260] ทสกะ – หมวด 10 [314] กถาวตั ถุ 10 อัฏฐกะ – หมวด 8 [315] กสิณ 10 [,,,] ฌาน 8 [10] [316] กามโภคี 10 [293] มรรคมอี งค 8 หรือ อฏั ฐงั คิกมรรค [317] กาลามสตู รกังขานิยฐาน 10 [294] ลกั ษณะตัดสนิ ธรรมวินยั 8 [318] กิเลส 10 [295] ลักษณะตดั สินธรรมวนิ ัย 7 [319] กุศลกรรมบถ 101 [296] โลกธรรม 8 [320] กศุ ลกรรมบถ 102 [297] วชิ ชา 8 [321] อกศุ ลกรรมบถ 10 [298] วโิ มกข 8 [322] เถรธรรม 10 [,,,] ศลี 8 [240] [323] ทศพลญาณ [,,,] ศลี 8 ทงั้ อาชีวะ [241] [,,,] ทศพิธราชธรรม [326] [299] สมาบัติ 8 [,,,] ธรรมจรยิ า 10 [320] [300] สปั ปุรสิ ทาน 8 [,,,] ธรรมมอี ปุ การะมาก 10 [324] [301] สัปปรุ ิสธรรม 8 [324] นาถกรณธรรม 10 [,,,] หลกั ตดั สินธรรมวนิ ัย 8 [294] [325] บารมี 10 หรือ ทศบารมี [,,,] อริยบุคคล 8 [57] [,,,] บญุ กริ ิยาวัตถุ 10 [89] [,,,] อริยอฏั ฐงั คกิ มรรค [293] [,,,] ปพพชติ อภิณหปจ จเวกขณ 10 [248] [,,,] อวิชชา 8 [209] [,,,] มจิ ฉตั ตะ 10 [334] [,,,] อาชีวัฏฐมกศลี [241] [,,,] มูลเหตกุ ารบัญญัติพระวนิ ยั 10 [327] [,,,] อุโบสถศลี [240] [326] ราชธรรม 10 หรอื ทศพิธราชธรรม [327] วัตถปุ ระสงคใ นการบญั ญัตพิ ระวนิ ยั 10 นวกะ – หมวด 9 [,,,] วปิ สสนาญาณ 10 [311] [302] นวังคสตั ถศุ าสน [328] วิปส สนูปกเิ ลส 10 [,,,] ศีล 10 [242] [329] สงั โยชน 101

[330] สงั โยชน 102 16 [331] สญั ญา 10 [332] สทั ธรรม 10 [344] จรณะ 15 [333] สมั มตั ตะ 10 [345] ญาณ 16 หรือ โสฬสญาณ [334] มจิ ฉัตตะ 10 [,,,] รูปพรหม หรือ พรหมโลก 16 [351] [,,,] อกศุ ลกรรมบถ 10 [321] [,,,] โสฬสวตั ถุกอานาปานสติ [346] [335] อนสุ ติ 10 [,,,] อานาปานสติ 16 ขนั้ [346] [,,,] อภิณหปจ จเวกขณ 10 [248] [346] อานาปานสติ 16 ฐาน [,,,] อเสขธรรม 10 [333] [347] อปุ กเิ ลส หรอื จติ ตอปุ กเิ ลส 16 [336] อสภุ ะ 10 [348] ธาตุ 18 [337] อันตคาหิกทิฏฐิ 10 [349] อนิ ทรยี  22 [350] ปจ จยั 24 อติเรกทสกะ – หมวดเกิน 10 [,,,] รูป 28 [38] [338] กรรม 12 [351] ภมู ิ 4 หรือ 31 [339] จกั รวรรดวิ ัตร 5, 12 [352] โพธปิ ก ขิยธรรม 37 [340] ปฏิจจสมปุ บาท 12 [353] มงคล 38 [,,,] ปจจยาการ 12 [340] [354] กรรมฐาน 40 [,,,] สนั โดษ 12 [122] [355] เจตสกิ 52 [341] อายตนะ 12 [356] จติ 89 หรือ 121 [342] ธดุ งค 13 [357] ตณั หา 108 [343] กจิ หรือ วญิ ญาณกิจ 14 [358] เวทนา 108 [359] กเิ ลส 1500

สารบญั ประเภทธรรม I. ธรรมทเี่ ปนหลักใหญใ จความ [68] อกุศลมลู 3 เสรมิ ความเปนมนษุ ย) [135] อาสวะ 3 [81] สุจริต 3 1. ธรรมท่เี ปนหลกั ทั่วไป (หรือมี [136] อาสวะ 4 [125] อธปิ ไตย 3 ขอบเขตครอบคลมุ ) [340] ปฏจิ จสมุปบาท 12 [132] อตั ถะ หรือ อรรถ 31 [350] ปจ จัย 24 [133] อตั ถะ หรอื อรรถ 32 [19] ธรรม 21 ค. สจั ฉกิ าตพั พธรรม และธรรมที่ [161] พรหมวหิ าร 4 [20] ธรรม 22 [197] อธิษฐานธรรม 4 [21] ธรรม 23 เกย่ี วขอ ง [239] เบญจธรรม [22] ธรรม 24 [27] นพิ พาน 2 [229] พละ 4 [35] ปาพจน 2 [43] วิมตุ ติ 2 [237] เวสารัชชกรณธรรม 5 [50] สจั จะ 2 [52] สุข 21 [238] ศลี 5 หรอื เบญจศลี [51] ศาสนา 2 [53] สุข 22 [241] อาชีวฏั ฐมกศีล [ ],,, ไตรรตั น [100] [132] อัตถะ 31 [287] สัปปรุ ิสธรรม 71 [85] ธรรม 3 [133] อตั ถะ 32 [301] สปั ปุรสิ ธรรม 8 [100] รัตนตรัย [164] มรรค 4 [319, 320] กศุ ลกรรมบถ 10 [116] ไตรสรณะ [165] ผล 4 [324] นาถกรณธรรม 10 [121] สัทธรรม 3 [310] โลกตุ ตรธรรม 9 2. ธรรมเพ่ือดําเนินชีวิตใหงอก [157] ปรมตั ถธรรม 4 ง. ภาเวตัพพธรรม ธรรมที่พึง [204] อริยสัจจ 4 งามบรรลุประโยชนสขุ [206] ธรรม 4 ปฏบิ ตั ิ (ไมจ ดั ตามลาํ ดบั จาํ นวน) [1] กัลยาณมติ ตตา 2. ธรรมที่เปน หลักการสาํ คญั * [34] ปจจัยแหงสมั มาทิฏฐิ 2 [2] โยนิโสมนสิการ [280] บพุ นมิ ติ แหง มรรค 7 [3] อัปปมาทะ (จดั โดยสงเคราะหในอรยิ สัจจ 4) [97] พุทธโอวาท 3 [24] ธรรมทําใหง าม 2 ก. ปริญไญยธรรม และธรรมที่ [124] ไตรสิกขา, สกิ ขา 3 [25] ธรรมมอี ุปการะมาก 2 [88] บุญกิริยาวตั ถุ 3 [33] ปริเยสนา 2 เก่ยี วของ [89] บุญกริ ยิ าวัตถุ 10 [34] ปจ จยั ใหเกดิ สมั มาทฏิ ฐิ 2 [76] ไตรลกั ษณ [36] ภาวนา 2 [37] ภาวนา 4 [79] ทกุ ขตา 3 [37] ภาวนา 4 [65] อุปญญาตธรรม 2 [86] ธรรมนยิ าม 3 [293] มรรคมอี งค 8 [71] โกศล 3 [148] ธาตุ 6 [319, 320] กศุ ลกรรมบถ 10 [93] ปญ ญา 3 [216] ขนั ธ 5 [352] โพธิปกขิยธรรม 37 [128] อปณ ณกปฏิปทา 3 [223] นิยาม 5 [140] จักร 4 [341] อายตนะ 12 – [182] สตปิ ฏฐาน 4 [179] วุฒิ หรือ วฒุ ธิ รรม 4 ข. ปหาตพั พธรรม และธรรมทเ่ี กย่ี ว – [156] ปธาน 4 [191] สัมปรายิกตั ถฯ 4 – [213] อิทธบิ าท 4 [201] วัฒนมขุ 6 ขอ ง – [258] อนิ ทรยี  5 [213] อทิ ธบิ าท 4 [66] กรรม 3 – [228] พละ 5 [229] พละ 4 [74] ตณั หา 3 – [281] โพชฌงค 7 [231] พหูสตู มีองค 5 [91] ปปญ จธรรม 3 – [293] มรรคมอี งค 8 [237] เวสารัชชกรณธรรม 5 _______________ [249] อรยิ วัฑฒิ 5 *การจัดหมวดหมูในท่ีนี้มิใชเปนการจัด II. ธรรมสาํ หรบั ทุกคน [267] ภัพพตาธรรม 6 อยา งละเอียด และไมเครงครัด แตมุง เพ่ือประโยชนในการศึกษาคนควาเปน 1. ธรรมเพ่ือเปนคุณสมบัติของ สําคัญ (ธรรมใน I.1 นาํ มาจัดเขาเปน สัปปุริสชน (หรือธรรมเพื่อ หมวดตางๆ ของ I.2 ไดดวย แตไ ม ตองการใหซ ํา้ จึงจดั ไวท ่ีเดยี ว)

18 [269] เวปุลลธรรม 6 [289] อปรหิ านยิ ธรรม 71 V. ธรรมสําหรับอุบาสก คือ ผู [280] บุพนมิ ติ แหง มรรค 7 [326] ราชธรรม 10 ใกลช ิดศาสนา [292] อริยทรัพย 7 [327] วัตถุประสงคในการบัญญัติ [325] บารมี 10 1. ธรรมท่พี งึ มี พึงปฏิบัติ [353] มงคล 38 พระวนิ ยั 10 [88] บุญกริ ิยาวัตถุ 3 3. ธรรมเพ่ือพิจารณาเตือนสติมิ [339] จักรวรรดิวตั ร 12 [89] บุญกริ ยิ าวัตถุ 10 [123] สปั ปรุ สิ บัญญตั ิ 3 ใหป ระมาท IV. ธรรมสําหรับคฤหัสถหรือผู [181] ศรทั ธา 4 [83] เทวทูต 3 ครองเรอื น [ ],,, สมบตั ิของอบุ าสก 5 [259] [,,] เทวทตู 4 [150] [240] ศีล 8 [84] เทวทตู 5 1. ธรรมเพือ่ ชวี ิตครอบครัว [241] อาชีวฏั ฐมกศลี [150] นิมติ 4 [90] บตุ ร 3 [242] ศลี 10 [234] มาร 5 [131] อัคคิ 32 [249] อริยวฑั ฒิ 5 [247] อภณิ หปจจเวกขณ 5 [138] กุลจริ ฏั ฐิตธิ รรม 4 [259] อบุ าสกธรรม 5 [250] อายวุ ฒั นธรรม 5 [139] ฆราวาสธรรม 4 [260] อุบาสกธรรม 7 [296] โลกธรรม 8 [183] สมชีวิธรรม 4 [301] สัปปุริสธรรม 8 [282] ภรรยา 7 [ ],,, อโุ บสถศีล [240] III. ธรรมเพื่อความดีงามแหง 2. ธรรมเพื่อความสัมพันธใน 2. ธรรมทีพ่ ึงหลกี เวน สังคม [235] วณชิ ชา 5 สังคม [275] อภิฐาน 6 1. ธรรมเพื่อสงเสรมิ ชวี ิตท่ีดีรวม [131] อัคคิ 32 3. ธรรมท่ีพึงทราบเพ่ือเสรมิ การ กัน [139] ฆราวาสธรรม 4 [158] ประมาณ 4 ปฏิบตั ิ [11] ทาน 21 [168] มติ รเทยี ม 4 [32] ปธาน 2 [12] ทาน 22 [169] มติ รแท 4 [33] ปริเยสนา 2 [23] ธรรมคมุ ครองโลก 2 [265] ทศิ 6 [114] สมบัติ 31 [29] บคุ คลหาไดยาก 2 [278] กลั ยาณมติ รธรรม 7 [115] ทานสมบตั ิ 3 [30] บชู า 2 3. ธรรมเพ่ือความอยูดีทาง [126] อนตุ ตรยิ ะ 3 [31] ปฏสิ นั ถาร 2 [127] อนตุ ตริยะ 6 [42] ฤทธิ์ 2 เศรษฐกิจ [143] ทักขณิ าวิสทุ ธิ 4 [44] เวปุลละ 2 [95] ปาปณิกธรรม 3 [190] สมั ปทาคุณ 4 [49] สงั คหะ 2 [ ],,, การจดั สรรทรพั ยใ ช 4 [163] [221] ธรรมสวนานิสงส 5 [123] สัปปรุ ิสบัญญัติ 3 [144] ทฏิ ฐธมั มิกตั ถฯ 4 [300] สปั ปรุ สิ ทาน 8 [139] ฆราวาสธรรม 4 [159] ปจ จยั 4 [ ],,, อุโบสถศลี [240] [186] สงั คหวัตถุ 4 [163] โภควิภาค 4 [261] คารวะ 6 [192] สขุ ของคฤหสั ถ 4 VI. ธรรมสาํ หรบั ภกิ ษสุ งฆ [273] สารณยี ธรรม 6 [ ],,, ประโยชนจากทรัพย 5 [232] [300] สัปปรุ ิสทาน 8 [232] โภคอาทยิ ะ 5 1. ธรรมเพื่อความดีงามในฐาน 2. ธรรมเพอ่ื ปกครอง คอื จดั และ [316] กามโภคี 10 เปน ภกิ ษุ 4. ธรรมทค่ี ฤหสั ถพึงหลีกเวน คมุ ครองชีวติ ทด่ี ีรว มกนั [137] กรรมกิเลส 4 [26] ธรุ ะ 2 [125] อธิปไตย 3 [168] มติ รเทยี ม 4 [159] ปจ จยั 4 [161] พรหมวิหาร 4 [196] อคติ 4 [160] ปารสิ ทุ ธิศีล 4 [186] สงั คหวตั ถุ 4 [199] อบายมขุ 4 [175] วบิ ตั ิ 41 [187] ราชสงั คหวัตถุ 4 [200] อบายมขุ 6 [202] อปสเสนธรรม 4 [196] อคติ 4 [245] อนนั ตรยิ กรรม 5 [203] อรยิ วงศ 4 [230] พละ 5 ของพระมหากษัตรยิ  [210] อันตรายของภิกษใุ หม 4

19 [222] นวกภกิ ขุธรรม 5 1. ธรรมดา หรอื กฎธรรมชาติ [129] อภสิ ังขาร 3 [227] พร 5 [4] กรรม 2 [146] ธาตุ 4 [242] ศีล 10 [66] กรรม 3 [148] ธาตุ 6 [243] สังวร 5 [76] ไตรลักษณ [157] ปรมตั ถธรรม 4 [ ],,, องคแ หง ภิกษุใหม 5 [222] [86] ธรรมนยิ าม 3 [185] สังขาร 4 [247] อภณิ หปจจเวกขณ 5 [105] วฏั ฏะ 3 [204] อริยสจั จ 4 (ขอท่ี 1) [248] ปพพชิตอภิณหปจจเวกขณ 10 [117] สงั ขตลกั ษณะ 3 [206] ธรรม 4 (ขอที่ 1) [283] เมถนุ สงั โยค 7 [118] อสังขตลักษณะ 3 [212] อาหาร 4 [291] อปริหานยิ ธรรม 73 [145] ธรรมสมาทาน 4 [216] ขันธ 5 [342] ธดุ งค 13 [176] วบิ ตั ิ 42 [263] เจตนา 6 2. ธรรมเพ่ือความดีงามในฐาน [177] สมบัติ 4 [266] ปยรูป สาตรปู 6 × 10 [223] นยิ าม 5 [268] วญิ ญาณ 6 เปน สมาชิกแหง สงฆ [338] กรรม 12 [271] สัญญา 6 [211] อาจารย 4 [340] ปฏจิ จสมุปบาท 12 [272] สัมผสั 6 [251] อาวาสกิ ธรรม 51 [343] กจิ หรอื วญิ ญาณกจิ 14 [276] อายตนะภายใน 6 [252] อาวาสิกธรรม 52 [350] ปจ จยั 24 [277] อายตนะภายนอก 6 [253] อาวาสิกธรรม 53 2. สภาวะอนั พงึ รตู ามที่เปน [341] อายตนะ 12 [254] อาวาสิกธรรม 54 [6] กามคุณ 5 [348] ธาตุ 18 [255] อาวาสกิ ธรรม 55 [16] ทุกข 2 [349] อนิ ทรีย 22 [256] อาวาสกิ ธรรม 56 [19] ธรรม 21 [355] เจตสกิ 52 [257] อาวาสิกธรรม 57 [20] ธรรม 22 [356] จิต 89 หรอื 121 [261] คารวะ หรอื คารวตา 6 [21] ธรรม 23 [358] เวทนา 108 [273] สารณยี ธรรม 6 [22] ธรรม 24 3. สภาวะเน่อื งดว ยระดับชีวิตจติ [290] อปรหิ านิยธรรม 72 [28] บญั ญตั ิ 2 [314] กถาวัตถุ 10 [38] รปู 21, 28 ใจของสัตว [322] เถรธรรม 10 [39] มหาภูต 4 [82] เทพ 3 [324] นาถกรณธรรม 10 [40] อปุ าทารูป 24 [98] ภพ 3 [327] วัตถุประสงคในการบัญญัติ [41] รูป 22 [103] โลก 32 [48] สงั ขาร 2 [104] โลก 33 พระวินยั 10 [50] สัจจะ 2 [162] ภูมิ 4 3. ธรรมเพ่ือความดีงาม ความ [52] สุข 21 [171] โยนิ 4 [53] สุข 22 [198] อบาย 4 สาํ เร็จในฐานเปน ผูส ัง่ สอน [77] ทวาร 3 [207] อรปู 4 [17] เทศนา 21 [78] ทวาร 6 [244] สุทธาวาส 5 [18] เทศนา 22 [79] ทุกขตา 3 [270] สวรรค 6 [155] ปฏสิ ัมภทิ า 4 [85] ธรรม 3 [284] วิญญาณฐติ ิ 7 [158] ประมาณ 4 [102] โลก 31 [312] สตั ตาวาส 9 [172] ลลี าการสอน 4 [110] เวทนา 2 [ ],,, พรหมโลก 16 [351] [219] ธรรมเทสกธรรม 5 [111] เวทนา 3 [ ],,, รปู พรหม 16 [351] [231] พหสู ูตมีองค 5 [112] เวทนา 5 [351] ภูมิ 4 หรือ 31 [ ],,, องคแ หง ธรรมกถกึ 5 [219] [113] เวทนา 6 4. สภาวะอันเปนโทษ อกุศล- [246] อนปุ พุ พกิ ถา 5 [119] สังขาร 31 [278] กัลยาณมิตรธรรม 7 [120] สงั ขาร 32 ธรรมอนั พึงละ [5] กาม 2 (ขอท่ี 1) VII. สภาวธรรม: ธรรมดาและ [13] ทิฏฐิ 2 ธรรมชาติ

20 [14] ทฏิ ฐิ 3 [7] ฌาน 2 [ ],,, อปั ปมญั ญา 4 [161] [68] อกุศลมลู 3 [34] ปจ จัยใหเ กิดสัมมาทิฏฐิ 2 [213] อิทธบิ าท 4 [70] อกศุ ลวติ ก 3 [36] ภาวนา 2 [220] ธรรมสมาธิ 5 [74] ตณั หา 3 [37] ภาวนา 4 [226] ปติ 5 [80] ทุจรติ 3 [45] สมาธิ 2 [228] พละ 5 [91] ปปญ จะ 3 [46] สมาธิ 31 [243] สังวร 5 [130] อัคคิ 31 [65] อุปญญาตธรรม 2 [249] อริยวฑั ฒิ 5 [135] อาสวะ 3 [67] กุศลมลู 3 [258] อนิ ทรีย 5 [136] อาสวะ 4 [69] กศุ ลวิตก 3 [262] จรติ หรือ จริยา 6 [137] กรรมกิเลส 4 [71] โกศล 3 [267] ภพั พตาธรรม 6 [170] โยคะ 4 [73] ญาณ 32 [269] เวปลุ ลธรรม 6 [178] วิปล ลาส 4 [81] สุจรติ 3 [280] บุพนิมติ แหง มรรค 7 [196] อคติ 4 [87] นมิ ติ 3 [281] โพชฌงค 7 [204] อริยสจั จ 4 (ขอ ที่ 2) [88] บญุ กริ ยิ าวตั ถุ 3 [285] วิสทุ ธิ 7 [206] ธรรม 4 (ขอที่ 2) [89] บุญกริ ยิ าวตั ถุ 10 [286] สปั ปายะ 7 [208] อวิชชา 4 [92] ปริญญา 3 [291] อปรหิ านยิ ธรรม 73 [209] อวชิ ชา 8 [93] ปญญา 3 [293] มรรคมีองค 8 [214] อุปาทาน 4 [99] ภาวนา 3 [303] พุทธคณุ 9 [215] โอฆะ 4 [108] วิรตั ิ 3 [304] พุทธคุณ 2 [225] นวิ รณ 5 [122] สนั โดษ 3 [305] พทุ ธคณุ 3 [233] มจั ฉรยิ ะ 5 [124] สิกขา 3 [306] ธรรมคุณ 6 [264] ตัณหา 6 [125] อธิปไตย 3 [307] สงั ฆคณุ 9 [288] อนสุ ัย 7 [128] อปณณกปฏิปทา 3 [311] วปิ ส สนาญาณ 9 [308] มละ 9 [,,] ไตรสกิ ขา [124] [315] กสณิ 10 [309] มานะ 9 [147] ธาตุกมั มัฏฐาน 4 [325] บารมี 10 [318] กิเลส 10 [149] ธาตุกัมมฏั ฐาน 6 [331] สญั ญา 10 [321] อกุศลกรรมบถ 10 [154] ปฏิปทา 4 [333] สัมมตั ตะ 10 [329] สงั โยชน 101 [156] ปธาน 4 [335] อนุสติ 10 [330] สงั โยชน 102 [160] ปารสิ ุทธิศีล 4 [336] อสุภะ 10 [334] มจิ ฉตั ตะ 10 [161] พรหมวิหาร 4 [342] ธุดงค 13 [337] อันตคาหิกทฏิ ฐิ 10 [174] วธิ ปี ฏบิ ตั ิตอ ทกุ ข– สุข 4 [344] จรณะ 15 [347] อปุ กเิ ลส 16 [182] สติปฏฐาน 4 [345] ญาณ 16 [357] ตัณหา 108 [184] สมาธิภาวนา 4 [346] อานาปานสติ 16 ฐาน [359] กเิ ลส 1500 [189] สมั ปชัญญะ 4 [352] โพธิปก ขยิ ธรรม 37 [193] โสตาปต ตยิ งั คะ 41 [353] มงคล 38 VIII. ปฏปิ ต ติธรรม [194] โสตาปต ติยังคะ 42 [354] กรรมฐาน 40 [195] โสตาปต ตยิ ังคะ 43 2. ผลสาํ เร็จของการปฏิบตั ธิ รรม 1. หลกั วธิ กี าร ขอ ปฏบิ ตั ิ อปุ กรณ [197] อธิษฐานธรรม 4 และคณุ สมบตั ิ ทเ่ี กอื้ หนนุ การ [202] อปสเสนธรรม 4 และเครื่องกาํ หนดผลในการ ปฏบิ ตั ิ [204] อริยสัจจ 4 (โดยเฉพาะขอ ท่ี 4) ปฏบิ ตั ิ [205] กิจในอรยิ สัจจ 4 [8] ฌาน 2 ประเภท [1] กลั ยาณมติ ตตา [206] ธรรม 4 (ขอที่ 4) [9] ฌาน 4, 5 [2] โยนิโสมนสิการ [207] อรูป 4 [10] ฌาน 8 [3] อัปปมาทะ [27] นพิ พาน 2 [,] กรรมฐาน 2 [36]

21 [43] วมิ ุตติ 2 [64] อตั ถะ 2 X. พิเศษ: ธรรมเก่ียวกับการ [54] สทุ ธิ 2 [75] ไตรปฎ ก ศกึ ษา* [72] ญาณ 31 [97] พุทธโอวาท 3 [,,] ปหาน 3 [224] [100] รตั นตรยั [26] ธรุ ะ 2 [94] ปาฏิหารยิ  3 [116] สรณะ 3 หรอื ไตรสรณะ [34] ปจจัยใหเ กิดสมั มาทิฏฐิ 2 [106] วชิ ชา 3 [121] สัทธรรม 3 [37] ภาวนา 4 [107] วโิ มกข 3 [134] อาการทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงสงั่ สอน 3 [43] วิมุตติ 2 [109] วิเวก 3 [ ],,, โอวาทของพระพทุ ธเจา 3 [97] [50] สจั จะ 2 [155] ปฏสิ มั ภิทา 4 [151] บรษิ ัท 41 [51] สาสน หรอื ศาสนา 2 [164] มรรค 4 [152] บรษิ ัท 42 [71] โกศล 3 [165] ผล 4 [166] มหาปเทส 41 (พระสตู ร) [73] ญาณ 32 [204] อริยสจั จ 4 (ขอที่ 3) [167] มหาปเทส 42 (พระวนิ ยั ) [74] ตัณหา 3 [206] ธรรม 4 (ขอที่ 3) [218] ธรรมขนั ธ 5 [76] ไตรลักษณ [224] นิโรธ 5 [246] อนปุ พุ พกิ ถา 5 [93] ปญ ญา 3 [ ],,, ปหาน 5 [224] [294] หลกั กาํ หนดธรรมวนิ ยั 8 [121] สัทธรรม 3 [236] วมิ ุตติ 5 [295] หลักกําหนดธรรมวนิ ยั 7 [124] สกิ ขา 3 [274] อภิญญา 6 [302] นวงั คสตั ถุศาสน [132] อตั ถะ 31 [297] วชิ ชา 8 [317] กาลามสตู รกงั ขานยิ ฐาน 10 [133] อตั ถะ 32 [298] วโิ มกข 8 [332] สทั ธรรม 10 [134] อาการทพี่ ระพทุ ธเจา ทรงสงั่ สอน 3 [299] สมาบัติ 8 2. ศาสนคุณ [140] จักร 4 [310] โลกตุ ตรธรรม 9 [94] ปาฏิหารยิ  3 [155] ปฏิสมั ภิทา 4 [313] อนบุ พุ พวหิ าร 9 [96] พทุ ธจริยา 3 [172] ลลี าการสอน 4 [328] วปิ สสนูปกิเลส 10 [126] อนตุ ตริยะ 3 [179] วุฒิธรรม 4 3. บุคคลผูบรรลุผลแหงการ [127] อนตุ ตริยะ 6 [189] สมั ปชัญญะ 4 [134] อาการทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงสง่ั สอน 3 [204] อริยสจั จ 4 ปฏบิ ตั ิ [141] เจดยี  4 [213] อิทธิบาท 4 [55] อรยิ บคุ คล 2 [142] ถูปารหบคุ คล 4 [216] ขันธ 5 [56] อริยบคุ คล 4 [180] เวสารัชชญาณ 4 [228] พละ 5 [57] อรยิ บุคคล 8 [188] สังเวชนยี สถาน 4 [231] พหสู ูตมีองค 5 [58] โสดาบนั 3 [217] จักขุ 5 [278] กลั ยาณมิตรธรรม 7 [59] สกาทาคามี 3, 5 [303] พทุ ธคณุ 9 [280] บุพนมิ ิตแหงมรรค 7 [60] อนาคามี 5 [304] พุทธคณุ 2 [281] โพชฌงค 7 [61] อรหันต 2 [305] พทุ ธคุณ 3 [293] มรรคมอี งค 8 [62] อรหนั ต 4, 5, 60 [306] ธรรมคุณ 6 [304] พุทธคุณ 2 [63] อริยบุคคล 7 [307] สังฆคุณ 9 [317] กาลามสตู รกังขานยิ ฐาน 10 [323] ทศพลญาณ [324] นาถกรณธรรม 10 IX. พระพุทธศาสนา 3. ความเชื่อและการปฏิบัตินอก [340] ปฏจิ จสมุปบาท 12 [341] อายตนะ 12 1. หลักศาสนา หลักพทุ ธศาสนา [352] โพธิปก ขยิ ธรรม 37 [17] เทศนา 21 [13] ทฏิ ฐิ 2 ______________ [18] เทศนา 22 [14] ทฏิ ฐิ 3 *นอกจากน้ี พงึ ดู [1], [2], [17], [18], [26] ธุระ 2 [15] ทสี่ ดุ (อันตา) 2 [35], [36], [45], [46], [55], [91], [35] ปาพจน 2 [101] ลัทธนิ อกพระพุทธศาสนา 3 [125], [156], [184], [205], [208], [50] สัจจะ 2 [173] วรรณะ 4 [218], [236], [287], [323] [51] สาสน หรือ ศาสนา 2

ดชั นคี นคํา ตวั เลขทอี่ า งหมายถงึ เลขลาํ ดับขอ หมวดธรรมใน [ ] กตญาณ 73 กมั มัสสกตาญาณ, กมั มัสสกตาสัทธา 181 กตฺุตา 353 กตญั ูกตเวที 29 กมมฺ าน,ิ อนวชชฺ านิ 250 กตตั ตากรรม, ~วาปนกรรม 338 กถาวตั ถุ 75 กัลยาณธรรม 5 239 กถาวตั ถุ 10 314 กรรม 181, 212, 259 กลั ยาณพจน 251, 252, 253 กรรม 2 กรรม 3 4 กัลยาณมติ ร 3, 250 กรรม 12 66 กรรมการณัปปต ตะ 338 กัลยาณมิตตะ 250 กรรมกิเลส 4 84 กรรมฐาน 2 137 กลยฺ าณมติ ตฺ ตา 324 กรรมฐาน 40 36 กรรมฐานกบั จรติ 354 กลั ยาณมิตตตา 1, 34, 144 กรรมนิยาม (ดู สมบตั ิ 4 ดวย) 262 กรรมปจจัย 176, 223 กลั ยาณมติ ร 4 169 กรรมภพ 340 กรรมวฏั ฏ 340 กลั ยาณมิตรธรรม 7 278 กรรมวปิ ากญาณ 105, 340 กรณุ า 323 กัลยาณวาจา 251, 252, 253 กรุณาคุณ 161, 355 กลนิ่ ดู คันธะ 304, 305 กาม 2 5 กวฬิงการาหาร กษตั ริย 40, 212 กามคุณ 5 6 กสณิ 10 173 กงฺขํ วิหนติ กามฉนั ทะ 225, 329 กงั ขาวิตรณวิสุทธิ 315, 354 กตั ตุกมั ยตาฉนั ทะ 221 กามตณั หา 74, 204, 357 กัปปยะ 285 กปปฺ ยํ เทติ 161 กามภพ 98 กมั มสทั ธา 167 กัมมญั ญตา 300 กามโภคี 10 316 กมฺมนฺตา, อนากลุ า จ 181 กัมมสั สกตา 40 กามโภคีสุข 4 192 353 247 กามโยคะ 170 กามราคะ 288, 329, 330 กามโลก 104 กามวติ ก 70 กามสังวร 239 กามสุขลั ลกิ านุโยค 15, 293 กามสุคตภิ มู ิ 7 351 กามาทนี วกถา 246 กามาวจรจติ 54 356 กามาวจรภูมิ 11 162, 351 กามาวจรสวรรค 6 270, 351 กามาวจรโสภณจติ 24 356 กามาสวะ 135, 136 กามุปาทาน 214 กาเมสุมิจฉาจาร 137, 321 กาเมสุมจิ ฺฉาจารํ ปหาย ฯเปฯ 320 กาเมสมุ ิจฺฉาจารา เวรมณี 238, 319

23 กาโมฆะ 215 กาลญั ตุ า 287 กาลามสูตรกังขานิยฐาน 10 317 กาย 37, 40, 276 กาเลน เทติ 300 กาเลน ธมฺมสากจฉฺ า 353 กายกรรม 66 กาเลน ธมฺมสฺสวนํ 353 กาํ ลงั 5 ของพระมหากษตั รยิ  230 กายกรรม 3 66, 241, 319, 320, 321 กงิ กฺ รณีเยสุ ทกขฺ ตา 324 กิจ 14 (ของวิญญาณ) 343 กายกัมมัญญตา 355 กจิ (ของกรรม) 338 กจิ ของสงฆ 290 กายคตาสติ 335 กจิ จญาณ กิจในอริยสจั จ 4 73 กายทวาร 77, 78 กิรยิ าจติ 20 205 กริ ิยาจิตตฺ ํ 356 กายทจุ รติ 80 กเิ ลส 10 356 กิเลส 1500 318 กายธาตุ 348 กเิ ลสกาม 359 กเิ ลสปรินพิ พาน กายปสสทั ธิ 355 กิเลสมาร 5 กเิ ลสวฏั ฏ 27 กายปาคญุ ญตา 355 กเิ ลสวตั ถุ 10 234 กกุ กุจจะ 105, 340 กายพละ 230 กุมภัณฑ 318 กมุ ภีลภัย 225, 355 กายภาวนา 37 กุลจิรัฏฐิตธิ รรม 4 270 กุลมัจฉรยิ ะ 210 กายมทุ ตุ า 355 กลุ สตรี 138 กเุ วร 233, 257 กายลหุตา 355 กุศล 289 กศุ ลกรรม 270 กายวญิ ญัติ 40 กศุ ลกรรมบถ 10 (ยอ ) 1, 2, 65, 317 กุศลกรรมบถ 10 (สมบูรณ) 4 กายวญิ ญาณ 266, 268, 356 กุศลจติ 21 (37) 319 กศุ ลธรรม 320 กายวิญญาณธาตุ 348 กุศลมลู 3 356 กศุ ลวิตก 3 85 กายวิเวก 109 กุศลวิบากอเหตุกจิต 8 4, 67 กสุ ลธัมมานโุ ยค 69 กายวูปกาสะ 222 356 2 กายสกั ขี 63 กายสังขาร 119, 120 กายสมั ผัส 266, 272 กายสมั ผสั สชาเวทนา 113, 266 กายสุจริต 81 กายานปุ สสนา, กายานปุ สสนาสตปิ ฏ ฐาน 147, 182, 346 กายานุปส สนาจตกุ กะ 346 กายิกทกุ ข 16 กายกิ เวทนา 110 กายกิ สขุ 52 กายินทรยี  349 กายุชกุ ตา 355 กาล 3 340, 356, 357 กาลกตะ 150 กาลจารี 250 กาลวบิ ตั ิ 176 กาลสมบัติ 177

24 กสุ ลสสฺ ูปสมปฺ ทา 97 คนปอกลอก 168 เกสปุตตยิ สตู ร 317 คนรบั ใช 265 เกียจครานการงาน 200 คนหวั ประจบ 168 โกธะ 308, 347 คบคนช่ัว 200 โกลงั โกละ 58 ครุ 278 โกศล 3 71 ครุกกรรม 338 ครุกรณ 273 ขณกิ สมาธิ 46 ครูอาจารย 265 ขณกิ าปต ิ 226 คฤหัสถ 265 ขลุปจฉาภัตตกิ ังคะ 342 คหบดบี ริษทั 152 ขดั เกลา 251 คหปตัคคิ 131 ขัตติยะ 173, 339 คันถธรุ ะ 26 ขตั ติยบริษทั 152 คันธะ 6, 40, 266, 277 ขนั ติ 24, 139, 325, 326, 353 คนั ธตัณหา 264, 266 ขนั ตสิ ังวร 243 คนั ธธาตุ 348 ขนตฺ ี จ 353 คันธวจิ าร 266 ขันธ 5 216 คนั ธวติ ก 266 ขนั ธกะ 75 คนั ธสญั เจตนา 263, 266 ขันธปรนิ พิ พาน 27 คันธสญั ญา 266, 271 ขนั ธมาร 234 คมภฺ รี ฺจ กถํ กตฺตา 278 ขนั ธวินมิ ุต 216 คาถา 302 ขิปปฺ าภิ ฺา 154 คารวะ หรอื คารวตา 6 261 ขณี าสวปฏญิ ญา 180 คารโว จ 353 ขทุ ทกนกิ าย 75 คลิ านปจจัยเภสัชบริขาร 159, 203 ขุททกปาฐะ 75 คลิ านสตุปปาทกะ 255 ขุททกาปต ิ 226 คหิ ปิ ธาน 32 เขตสมบัติ 115 คหิ ิสขุ 4 192 เขมํ 353 คุณบทของนพิ พาน 306 คุณาตเิ รกสมั ปทา 190 คณาปเทส 166 เคยยฺ ํ 302 คติ 5 351 เคหสิต 358 คติวบิ ตั ิ 176 โคจรรูป 5 40 คติสมบัติ 177 โคจรสัปปายะ 286 คนเจบ็ ไข 255 โคจรสมั ปชญั ญะ 189 คนชวนฉิบหาย 168 โคตรภูญาณ 345 คนดแี ตพ ูด 168 คนธรรพ 270 ฆราวาสธรรม 4 139 คนงาน 265 ฆานะ 40, 266, 276

25 ฆานทวาร 78 จาคานุสติ 335 ฆานธาตุ 348 ฆานวญิ ญาณ 266, 268, 356 จาตุมหาราชิกา 270, 351 ฆานวิญญาณธาตุ 348 ฆานสัมผสั 266, 272 จติ 37, 124, 157, 216 ฆานสมั ผัสสชาเวทนา 113, 266 ฆานินทรยี  349 จติ 89, 121 356 ฆายนะ 343 โฆษประมาณ 158 จิตตะ 213 โฆสัปปมาณกิ า 158 จติ ตกมั มัญญตา 355 จติ ตนิยาม 223 จติ ตปสสทั ธิ 355 จิตตปาคญุ ญตา 355 จิตตภาวนา 37 จิตตฺ มสสฺ ปสีทติ 221 จตุตถฌาน 9 จิตตมุทตุ า 355 จตตุ ถฌานภูมิ 3, 7 351 จติ ตลหุตา 355 จตตุ ถชฌฺ านกสุ ลจิตฺตํ 356 จติ ตวเิ วก 109 จตุตถฺจ นิธาเปย 163 จติ ตวิปลาส 178 จตุธาตวุ วฏั ฐาน 147, 354 จิตตวสิ ุทธิ 285 จตุรพธิ พร 227 จติ ตสมบัติ 115 จตโุ ลกบาล 270 จิตตสังขาร 119, 120 จรณะ 15 344 จิตตอุปกเิ ลส 16 347 จรติ หรอื จรยิ า 6 262 จติ ตฺ ํ น กมปฺ ติ 353 จรยิ า 3 ดู พุทธจริยา 3 จติ ตานุปสสนา, จติ ตานุปส สาสติปฏฐาน 182, 346 จรยิ าปฎก 75 จติ ตานุปส สนาจตกุ กะ 346 จักกวตั ติสูตร 339 จติ ตชุ กุ ตา 355 จกั ขุ 40, 266, 276 จินตามยปญญา 93 จกั ขุ 5 217 จีวร 159 จักขทุ วาร 78 จีวรปฏสิ ังยุตต 342 จกั ขธุ าตุ 348 จวี รสันโดษ 203 จกั ขุนทรยี  349 จุติ 343 จกั ขุมา 95 จตุ ูปปาตญาณ 106, 323 จักขุวญิ ญาณ 267, 268, 356 จุลลวรรค 75 จกั ขุวิญญาณธาตุ 348 จูฬนิทเทส 75 จกั ขสุ มั ผสั 266, 272 เจดยี  289 จกั ขสุ ัมผสั สชาเวทนา 113, 266 เจดีย 4 141 จกั ร 4 140 เจตนา 355 จกั รพรรดิ 142, 287, 339 เจตนา 6 263 จักรวรรดวิ ตั ร 5, 12 339 เจตนากาย 263 จาคะ 67, 139, 183, 197, 249, 292 เจตนาสัมปทา 190 จาคสมั ปทา 191, 229 เจตสกิ 157, 216

26 เจตสกิ 52 355 ชีพ, ชีวะ 337 เจตสกิ ทกุ ข 16 ชีวิตรูป 1 40, 359 เจตสกิ เวทนา 110 ชวี ติ นิ ทรยี  40, 349, 355 เจตสิกสุข 52 เจโตปริยญาณ ฌาน 8 เจโตวมิ ตุ ติ 274, 297 ฌาน 2 7 โจรภี รยิ า 43, 252 ฌาน 2 ประเภท 8 ฌาน 4 9, 227, 344 ฉกามาพจรสวรรค 282 ฌาน 5 (ปญจกนยั ) 9, 356 ฉฬภญิ ญะ ฌาน 8 10, 299 ฉันทะ 270 ฌานจิต 67 356 ฉันทสมั ปทา 62 ฌานปจ จัย 350 ฉนั ทาคติ ฌานปญ จกนยั 9 ชนกกรรม 37, 213, 355 ฌานลาภี 252, 253, 254, 322 ชรตา 2, 280 ฌานาทิสังกเิ ลสาทิญาณ 323 ชราธัมมตา 196 ชรามรณะ 338 ญาณ 328 ชลาพชุ ะ 40 ญาณ 31 72 ชวนะ 247 ญาณ 32 73 ชาครยิ านโุ ยค 340 ญาณ 33 106 ชาดก 171 ญาณ 16 345 ชาตกํ 343 ญาณจรติ 262 ชาตรปู 128 ญาณทสั สนะ 73, 184 ชาตรูปรชตปฏคิ ฺคหณา เวรมณี 75, 302 ญาณทัสสนะมปี รวิ ัฏฏ 3 73 ชาตสถาน 302 ญาณทัสสนวสิ ุทธิ 285 ชาติ 359 าณวิปปฺ ยตุ ฺตํ 356 ชาติประเภท (จติ ) 242 ญาณสังวร 243 ชิณณะ 188 าณสมฺปยตุ ตฺ ํ 356 ชิณณปฏิสงั ขรณา 340 าตกานฺจ สงฺคโห 353 ชนิ สาสน 356 ญาตปริญญา 92 ชิวหา ญาตตั ถจรยิ า 96 ชวิ หาทวาร 83, 84, 150 ญาติพลี 232 ชิวหาธาตุ 138 ายปฏปิ นฺโน 307 ชวิ หาวญิ ญาณ 302 ชิวหาวิญญาณธาตุ ฐานาฐานญาณ 323 ชวิ หาสัมผัส 40, 266, 276 ฐานะ 227 ชวิ หาสมั ผัสสชาเวทนา 78 ิตสสฺ อฺถตตฺ ํ ปฺายติ 117 ชิวหินทรยี  348 266, 268, 356 348 266, 272 113, 266 349

27 ดาวดงึ ส 270, 351 เตวิชชะ 62 ดสุ ติ 270, 351 ดกู ารละเลน ไตรตรงึ ส 270 200 ไตรปฎก 75 ไตรลกั ษณ 47, 76, 86, 107, 311 ตตยิ ฌาน 9 ไตรวฏั ฏ 105 ตตยิ ฌานภมู ิ 3 351 ไตรสรณะ 116 ตตยิ ชฌฺ านกสุ ลจิตฺตํ 356 ไตรสรณคมน, ไตรสรณาคมน 116 ตถาคต 143, 337 ไตรสกิ ขา 124, 204, 293 ตถาคตพล 10 180 ตถาคตพลญาณ 10 323 ถัมภะ 347 ถนี ะ 318, 355 ตถาคตโพธิสัทธา 181 ถีนมิทธะ ถูปารหบคุ คล 4 225 ตถาคตสาวก 142 เถรคาถา 142 เถรธรรม 10 75/2.5 ตถาคตอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจา 142 เถรีคาถา 322 เถโร รตตฺ ฺู 75/2.5 ตทงั คนโิ รธ 224 322 ตทังคปหาน 224 ตทาลมั พนะ 343 ตปะ 326 ตโป จ 353 ตรัสรู 188 ทตวฺ า อตตฺ มโน โหติ 300 ททํ จติ ฺตํ ปสาเทติ 300 ตรุณวปิ ส สนา 285, 328 ทมะ 123, 139 ทรัพยจ ัดสรรเปน 4 สวน 163 ตกกฺ เหตุ 317 ทวตั ตงิ สาการ 147 ทวาร 3 77 ตณั หา 91, 340 ทวาร 6 78 ทวปิ ญ จวญิ ญาณจติ 348 ตัณหา 3 74, 204, 357 ทวฺ หี ิ กมมฺ ํ ปโยชเย 163 ทศชาติ 325 ตัณหา 6 264, 266, 357 ทศบารมี 325 ทศพล 180 ตัณหา 108 357, 359 ทศพลญาณ 323 ทศพธิ ราชธรรม 326 ตณั หากาย 264 ทศศลี 242 ทหระ 84 ตณั หาปณธิ ิ 107 ทกั ขณิ าวิสทุ ธิ 4 143 ทกขฺ เิ ณยฺโย 307 ตณั หาวจิ รติ 357 ทกั ขิไณย 259 ทกั ขไิ ณยบคุ คล 2 55 ตตั รมชั ฌัตตตา 355 ตาํ หนิ 252 ติดการพนนั 200 ติดสรุ าและของมนึ เมา 200 ตติ ถายตนะ 101 ตริ จั ฉานโยนิ 198, 351 ตรี ณปริญญา 92 เตจีวริกังคะ 342 เตโชกสณิ 315 เตโชธาตุ 39, 146, 147, 148

28 ทักขิไณยบุคคล 7 63 ทฏิ ฐิสามัญญตา 273 ทักขไิ ณยบุคคล 8 57 ทิฏึ อชุ ุ กโรติ 221 ทกั ขไิ ณยัคคิ 131 ทิฏชุ ุกัมม 89 ทักษณิ ทิศ 265 ทฏิ ุปาทาน 214 ทนธฺ าภิฺ า 154 ทฏิ โฐฆะ 215 ทตฺวา อตตฺ มโน โหติ 300 ทพิ พจกั ขุ 217, 274, 297 ทสั สนะ 343 ทพิ พจกั ขญุ าณ 106 ทสั สนานุตตริยะ 126, 127 ทิพยสมบตั ิ 114 ทาน 123, 186, 229, 239, 325, 326 ทพิ พโสต 274, 297 ทาน 21 11 ทาน 22 12 ทศิ 6 200, 265 ทฆี นิกาย 75 ทานกถา 246 ที่สดุ 2 15 ทานมยั 88, 89 ทุกข 1, 174, 204, 205, 296, 340 ทานสมบัติ 3 115 ทกุ ข 2 16 ทานจฺ 353 ทกุ ขฺ ํ อรยิ สจจฺ ํ ปริ เฺ ยยฺ ํ 205 ทายก 143 ทกุ ขตา 76, 107 ทารสงฺคห 353 ทกุ ขตา 3 79 ทาสภี ริยา 282 ทกุ ขทกุ ขตา 79 ทฏิ ฐธรรมเวทนียกรรม 338 ทกุ ขนโิ รธ 204 ทฏิ ฐธรรมสุขวิหาร 184 ทกุ ขฺ นิโรเธ อฺ าณํ 208, 209 ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ 3, 132, 144 ทุกฺขนโิ รโธ อรยิ สจฺจํ สจฉฺ ิกาตพฺพํ 205 ทิฏฐธมั มิกตั ถประโยชน 144 ทุกขฺ นโิ รธคามนิ ยิ า ปฏปิ ทาย อฺาณํ 208, 209 ทฏิ ฐธัมมิกตั ถสงั วัตตนิกธรรม 4 144 ทุกขนิโรธคามินปี ฏปิ ทา 204 ทิฏ ธมมฺ กิ านํ อาสวานํ สํวราย 327 ทกุ ฺขนโิ รธคามินี ปฏปิ ทา อรยิ สจฺจํ ภาเวตพฺพํ 205 ทิฏฐาสวะ 136 ทกุ ขลักษณะ 47 ทิฏฐิ 91, 288, 318, 329, 355 ทกุ ขเวทนา (ดู เวทนา 5 ดว ย) 111 ทิฏฐิ 2 13 ทกุ ขสมุทยั 204 ทฏิ ฐิ 3 14 ทุกฺขสมทุ เย อฺ าณํ 208, 209 ทิฏิคตวิปปฺ ยตุ ฺตํ 356 ทุกฺขสมุทโย อริยสจฺจํ ปหาตพพฺ ํ 205 ทิฏ ิคตสมปฺ ยตุ ฺตํ 356 ทกุ ฺขสหคตํ 356 ทิฏ นิ ิชฌฺ านกขฺ นฺติยา 317 ทกุ ฺขา 86 ทิฏฐิปปตตะ 63 ทกุ ขานุปสสนา 107 ทิฏ ยิ า สุปฏิวทิ ธฺ า 231 ทุกขนิ ทรยี  349 ทฏิ ฐโิ ยคะ 170 ทกุ ฺเข อฺาณํ 208, 209 ทิฏฐวิ บิ ัติ 175 ทุกฺขา ปฏิปทา ขปิ ปฺ าภิฺา 154 ทฏิ ฐิวปิ ลาส 178 ทุกฺขา ปฏปิ ทา ทนฺธาภิฺ า 154 ทิฏฐวิ สิ ทุ ธิ 285 ทุคคติภยั 229 ทฏิ ฐสิ มั ปทา 2, 280 ทุคติ 351

29 ทจุ ริต 3 80 ธรรม 22 20 ธรรม 23 21 ทุตยิ ฌาน 9 ธรรม 24 22 ทตุ ิยฌานภูมิ 3 351 ทุตยิ ชฌฺ านกสุ ลจิตฺตํ 356 ธรรม 3 85 ทุมมฺ งฺกนู ํ ปุคฺคลานํ นิคคฺ หาย 327 ธรรม 4 206 เทพ 284, 312 ธรรม 5 238, 239 เทพ 3 82 ธรรมของอุบาสกปทมุ 259 เทวดา (ความหมาย) 232 ธรรมของอบุ าสกรตั น 259 เทวตานสุ ติ 335 ธรรมขันธ 5 218 เทวตาพลี 232 ธรรมคณุ 6 306 เทวทูต 3 83 ธรรมคุมครองโลก 2 23 เทวทูต 3, 4 150 ธรรมจริยา 10 320 เทวทูต 5 84 ธรรมจักร 188, 287 เทวปตุ ตมาร 234 ธรรมเจดีย 141 เทวโลก 103 ธรรมฐิติญาณ 285 เทวสมบัติ 114 ธรรมทศั นะ 255 เทศนา 21 17 เทศนา 22 18 ธรรมทาน 11, 229 ธรรมทําใหง าม 2 24 เทศนา 4 17 ธรรมทีพ่ ระพุทธเจาเหน็ คุณประจกั ษ 2 65 เทศนาวธิ ี 4 172 ธรรมเทสกธรรม 5 219 เท่ียวกลางคนื 200 ธรรมธาตุ 348 โทมนสั 1, 112, 340, 358 ธรรมนิยาม 76, 223, 340 โทมนสฺสสหคตํ 356 ธรรมนยิ าม 3 86 โทมนัสสินทรยี  349 ธรรมบท 75 โทสะ 4, 68, 318, 347, 355 ธรรมบชู า 30 โทสจรติ 262 ธรรมปฏสิ ันถาร 31 โทสมลู จติ 2 356 ธรรมประมาณ 158 โทสคั คิ 130 ธรรมปริเยสนา 33 โทสาคติ 196 ธรรมเปน โลกบาล 2 23 ไทยธรรมสมบตั ิ 115 ธรรมเปน เหตุใหสมหมาย 4 192 ธรรมไพบูลย 44 ธตรฐ 270 ธรรมมอี ุปการะมาก 2 25 ธตา 231 ธนานปุ ระทาน 339 ธรรมมอี ุปการะมาก 4 140 ธรรม* 35, 75, 166, 277, 294, 295, 302 ธรรม 21 19 ธรรมมีอุปการะมาก 7 279 ธรรมมอี ุปการะมาก 10 324 ธรรมฤทธิ์ 42 ธรรมสงเคราะห 49 *คํานําหนา ดวย ธรรม- ถาไมมี ใหดทู ี่ ธัมม- ธรรมสมาทาน 4 145

30 ธรรมสมาธิ 5 220 ธมั มานปุ ส สนาจตกุ กะ 346 ธัมมานสุ ติ 335 ธรรมสวนานิสงส 5 221 ธมั มานุสารี 63 ธาตุ 4 39, 146 ธรรมเสรี 352 ธาตุ 6 148 ธาตุ 18 348 ธรรมาจารย 211 ธาตกุ ถา 75 ธาตุกัมมฏั ฐาน 4 147 ธรรมาธปิ ไตย 125, 339 ธาตุกัมมฏั ฐาน 6 149 ธาตเุ จดีย 141 ธรรมาธิษฐาน 17 ธาตมุ นสิการ 4 147, 354 ธุดงค 13 342 ธรรมานุวตั ิ 201 ธรุ ะ 2 26 ธรรมารมณ 266, 277 น กมมฺ ารามตา 291 น ิตสฺส อฺถตฺตํ ปฺายติ 118 ธรรมิกพลี 289 น นิททฺ ารามตา 291 น ปาปมติ ตฺ ตา 291 ธรรมกิ ารกั ขา 339 น ปาปจฉฺ ตา 291 น ภสฺสารามตา 291 ธมฺมกามตา 324 นยเหตุ 317 นรก 198, 351 ธมฺมกาโม 322 นวกภิกขธุ รรม 5 222 น วโย ปฺ ายติ 118 ธมั มคารวตา 261 นวรหคุณ 303 นวสีวถิกา 182 ธมมฺ จริยา จ 353 นวังคสตั ถศุ าสน 51, 302 นวารหคุณ, นวารหาทิคณุ 303 ธัมมจักกัปปวตั ตนสถาน 188 น สงฺคณิการามตา 291 น อนตฺ ราโวสานํ 291 ธมั มตณั หา 264, 266 น อามิสนฺตโร 219 น อปุ ปฺ าโท ปฺายติ 118 ธมั มเทสนามยั 89 นจฺจคตี วาทิตวิสูกทสฺสนา เวรมณี 242 นจฺจคตี ฯเปฯ วภิ ูสนฏ านา เวรมณี 240 ธัมมปฏิสมั ภทิ า 155 นฏั ฐคเวสนา 138 นัตถกิ ทฏิ ฐิ 14 ธัมมมัจฉรยิ ะ 233 นัตถิปจ จยั 350 นาค 270 ธมั มวจิ ยะ 281 ธมั มวจิ าร 266 ธัมมวิตก 266 ธัมมเวปุลละ 44 ธมั มสังคณี 75/3 ธัมมสังคหะ 49 ธมั มสญั เจตนา 263, 266 ธมั มสญั ญา 266, 271 ธมมฺ สากจฉฺ า, กาเลน 353 ธัมมัญตุ า 287 ธมั มัปปมาณกิ า 158 ธมฺมสสฺ วน,ํ กาเลน 353 ธัมมสั สวนมัย 89 ธัมมสั สวนสปั ปายะ 286 ธมมฺ า 86 ธมั มาธิปไตย 125, 339 ธมั มานุธมั มปฏปิ ทา 51 ธัมมานธุ ัมมปฏปิ ตติ 179, 193 ธัมมานปุ สสนา, ธมั มานปุ สสนาสติปฏฐาน 182, 346

31 นาถกรณธรรม 10 324 นิวรณ 5 225 นานตั ตสญั ญา 298 นวิ าโต จ 353 นานาธาตุญาณ 323 นิสสยปจ จัย 350 นานาธิมุตตกิ ญาณ 323 นสิ สยสมั ปนโน 95 นาม 216 นิสสยาจารย 211 นามธรรม 345 นสิ สรณนิโรธ 224 นามบัญญตั ิ 28 นิสสัย 4 159 นามรูป 340 นสิ สยั สมั บนั 202 นามรูปปรจิ เฉทญาณ 92, 345 นีตัตถะ 64 นาย 265 นีลกสณิ 315 นกิ นั ติ 328 เนกขัมมะ 325 นิจศีล 238 เนกขมั มวิตก 69 นิทเทส 75/2 เนกขัมมสงั กปั ป 293 นินทา 296 เนกขมั มสติ 358 นิปปรยิ ายสุทธิ 54 เนกขัมมานสิ งั สกถา 246 นพิ พาน 109, 157, 204, 216, เนคมชานบท 339 295, 306, 310, 311, 332 เนยยะ 153 นิพพาน 2 27 เนยยตั ถะ 64 นิพพานบท 352 เนวสัญญานาสญั ญายตนะ 207, 284, 298, 312 นพิ พานสมบัติ 114 เนวสฺานาสฺ ายตนกุสลจิตฺตํ 356 นพิ ฺพานสจฉฺ กิ ริ ยิ า 353 เนวสญั ญานาสัญญายตนภมู ิ 351 นิพพิทาญาณ, นพิ พิทานุปส สนาญาณ, เนสชั ชกิ ังคะ 342 นพิ พทิ านุปส สนาญาณ 311 โน จฏาเน นโิ ยชเย 278 นิมมานรดี 270, 351 นมิ ิต, นมิ ติ ต 3 87 บณั ฑร 356 บรรพชา ดู บรรพชา นิมิต 4 150 บรรพชาจารย 211 บรรพชิต 289 นยิ ยานกิ ธรรมเทศนา 180 บรกิ รรมนิมติ 87 บริกรรมภาวนา 99 นยิ าม 5 223 บริโภคเจดยี  141 บรษิ ัท 41 151 นริ ยะ 198, 351 บริษัท 42 152 บังสุกลุ จวี ร 159 นิรัคคฬะ 187 บัญญัติ 2, 6 28 บารมี 10 325 นิรามสิ สุข 53 บาว 265 บิณฑบาต 159 นริ ตุ ติปฏสิ ัมภทิ า 155 นโิ รธ 204, 205, 295 นิโรธ 5 224 นโิ รธสมาบัติ 119, 313 นโิ รธวาร 340 นโิ รธสจั จ 204, 340 นโิ รธสฺา 331

32 บุคคล 4 153 ปฏโิ ลมปฏจิ จสมปุ บาท 340 บุคคลหาไดย าก 2 29 บุคคลาธิษฐาน 17 ปฏเิ วธสัทธรรม 121 บญุ กิรยิ าวตั ถุ 3 88 บญุ กิรยิ าวัตถุ 10 89 ปฏิสนธิ 343 บุตร 3 90 บตุ รธดิ า 265 ปฏสิ งั ขรณ 254 บุตรภรรยา 265 บุพการี 29 ปฏสิ ังขาญาณ = ปฏิสงั ขานุปสสนาญาณ บพุ นมิ ติ แหงมรรค 7 280 บุพภาคของการศึกษา 34 ปฏสิ งั ขานปุ สสนาญาณ 311 บชู า 2 30 เบญจกัลยาณธรรม 239 ปฏสิ ันถาร 2 31 เบญจขันธ 216, 357 เบญจธรรม 239 ปฏสิ นั ถารคารวตา 261 เบญจศีล 238 ปฏิสัมภทิ ัปปตตะ 62 ปฏิสัมภทิ า 4 155 ปฏิสัมภทิ ามคั ค 75 ปฐมฌาน 9, 284, 298 ปฐมฌานภมู ิ 3 351 ปฐมฌานกสุ ลจติ ตฺ ํ 356 ปฐมเทศนา 188 ปฐวีกสิณ 315 ปฐวีธาตุ 39, 146, 147, 148 ปกิณณกเจตสกิ 6 355 ปณตี ํ เทติ 300 ปกิณณกอกศุ ลเจตสิก 10 355 ปทปรมะ 153 ปฏกิ ูลมนสิการ 182 ปธาน 2 32 ปฏิคาหก 143 ปธาน 4 156 ปฏิฆะ 288, 329, 330 ปธานสมฺ ึ 355 ปฏฆิ สัญญา 298 ปปญ จะ, ปปญ จธรรม 3 91 ปฏฆิ สัมปยตุ ตจิต 2 356 ปมาณกิ 4 158 ปฏิฆสมฺปยตุ ฺตํ 356 ปมาทะ 347 ปฏจิ จสมปุ บาท 105, 120, 129, 185, 340 ปโยควิบตั ิ 176 ปฏบิ ตั ิบูชา 30 ปโยคสมบัติ 177 ปฏบิ ตั ศิ าสนา 51 ปโยคาภสิ ังขาร 185 ปฏปิ ทา 4 154 ปรโตโฆสะ 34 ปฏปิ ทาญาณทัสสนวสิ ทุ ธิ 285 ปรนิมมิตวสวตั ดี 270, 351 ปฏิปทานตุ ตริยะ 126 ปรมัตถะ 132 ปฏปิ ตตสิ ัทธรรม 121 ปรมตั ถกถา 18 ปฏปิ ส สัทธินิโรธ 224 ปรมัตถเทศนา 18 ปฏิภาคนมิ ติ 87 ปรมตั ถธรรม 4 157, 216, 356 ปฏิภาณปฏสิ ัมภทิ า 155 ปรมตั ถบารมี 325 ปฏริ ปู เทสวาสะ 140 ปรมตั ถสจั จะ 50 ปฏิรูปเทสวาโส จ 353 ปรหติ ปฏบิ ตั ิ 304 ปฏิโลมเทสนา 340 ประชุมเนืองนติ ย 289, 290