Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ✍️ อนัตตลักขณสูตร พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ)รจนา

✍️ อนัตตลักขณสูตร พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ)รจนา

Description: ✍️ อนัตตลักขณสูตร พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ)รจนา

Search

Read the Text Version

พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ) รจนา สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักด์ิ อุปสโม ป.ธ.๙, M.A., Ph.D.) ตรวจช�ำระ พระคันธสาราภิวงศ์ แปลและเรียบเรียง

อนัตตลักขณสูตร พระคันธสำรำภิวงศ : แปลและเรียบเรียง ๓๗ วัดทำมะโอ ต�ำบลเวียงเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปำง ๕๒๐๐๐ ISBN : 978-616-348-589-2 พิมพครั้งท่ี ๑ : ธันวำคม ๒๕๕๖ จ�ำนวน : ๑๐,๐๐๐ เลม พิมพท่ี : หจก. ประยูรสำสนไทย กำรพิมพ ๔๔/๑๓๒ ซอยก�ำนันแมน ๓๖ ถนนก�ำนันแมน แขวงบำงขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหำนคร ๑๐๑๕๐ โทรศัพท ๐๒-๘๐๒-๐๓๗๗, ๐๒-๘๐๒-๐๓๗๙ มือถือ ๐๘๑-๕๖๖-๒๕๔๐

คําอนุโมทนา พระธรรมค�ำสอนขององคสมเด็จพระสัมมำสัมพุทธเจำ บรมครูของเทวดำและมนุษยทั้งหลำยที่ประทำนแกชำวโลกน้ัน ใน ทำงพระพุทธศำสนำเรียกวำ สัตถุศำสน จ�ำแนกโดยลักษณะแลวมี ๙ อยำงท่ีเรียกวำ นวังคสัตถุศำสน มีควำมละเอียดลึกซ้ึงและวิจิตร พิสดำรดวยนัยหลำกหลำย ตรัสไวเพื่อสองน�ำทำงแกมวลชนผูมุงหวัง ประโยชนสุขทั้งในชำตินี้และชำติตอไป ตลอดจนอ�ำนวยประโยชน สูงสุดแกผูแสวงหำควำมหลุดพนจำกวัฏสงสำร ทำนผูประพันธหนังสือ อนัตตลักขณสูตร ท่ีออกสูสำยตำ ของทำนผูอำนน้ี คือ ทำนอำจำรยมหำสีสยำดอ (พระโสภณมหำเถระ) อัครมหำบัณฑิต อดีตเจำส�ำนักมหำสียิตตำ จังหวัดยำงกุง ประเทศ เมียนมำร ทำนมีเกียรติคุณเล่ืองลือวำเปนผูเช่ียวชำญพระไตรปฎก และแตกฉำนภำษำบำลีสันสกฤต เปนกรรมกำรช�ำระพระไตรปฎก ในสมัยสังคำยนำครั้ง ๖ (ฉัฏฐสังคีติ) และยังด�ำรงต�ำแหนงผูถำม พระไตรปฎก (สังคีติปุจฉกะ) อีกดวย

[๒] นอกจำกน้ัน ทำนยังเปนวิปสสนำจำรยที่ผำนกำรปฏิบัติ ธรรมอยำงจริงจังเปนเวลำนำน และมีประสบกำรณในกำรสอน กรรมฐำน หนังสือธรรมบรรยำยเก่ียวกับกำรปฏิบัติวิปสสนำภำวนำ ซ่ึงไดรับกำรถอดเทปและจัดพิมพเปนหนังสืออีกรำว ๗๐ เลม โดย สวนใหญไดรับกำรแปลเปนภำษำอังกฤษไวแลว ทำนไดรับกำร ยกยองวำเปนหนึ่งในบุคคลส�ำคัญระดับโลก ชีวประวัติโดยยอของ ทำนไดรับกำรบันทึกไวในหนังสือ Who’s Who in the World ซึ่ง บันทึกชีวประวัติของบุคคลส�ำคัญระดับโลกไว โดยเหตุที่ทำนผูประพันธมีควำมแตกฉำนเช่ียวชำญใน ปริยัติและปฏิบัติทั้งจำกต�ำรำและประสบกำรณตรง ดังน้ัน ขอเขียน ของทำนจึงเจำะลึกถึงแกนแทของเน้ือหำท่ีไดน�ำมำอธิบำยอยำง แจมแจงชัดเจน ท่ีจริงแลวแมหนังสืออธิบำยเรื่องอนัตตำจะมีมำก หลำยฉบับที่เขียนโดยทำนผูรู แตหนังสือเหลำน้ันมิไดเทียบเคียงหลัก ปริยัติและปฏิบัติอยำงสมบูรณพรอม ดังน้ัน ผูประพันธจึงน�ำเสนอ ผลงำนที่เทียบเคียงปริยัติเขำกับปฏิบัติ เพื่อใหผูอำนเขำใจหลักกำร ปฏิบัติอยำงถูกตอง อันจะน�ำไปสูควำมกำวหนำในกำรปฏิบัติธรรม ตำมล�ำดับ

[๓] ขำพเจำมีควำมปรำรถนำอยูเสมอวำ เมื่อไรหนอจึงจะมี หนังสือท่ีเปนสื่อกำรศึกษำวิเครำะหพระพุทธพจนในรูปของภำษำ ไทยอยำงกระจำงแจงท้ังในเชิงปริยัติและปฏิบัติ เพื่อใหสมกับ ค�ำสวดสรรเสริญกันอยูทุกเม่ือเชื่อวันวำ สำตฺถ� สพฺยฺชน� เกวล- ปริปุณฺณ� ปริสุทฺธ� พฺรหฺมจริย� ปกำเสสิ (พระพุทธองคทรงประกำศ พรหมจรรยอันบริสุทธิบริบูรณส้ินเชิงพรอมท้ังอรรถและพยัญชนะ) ซึ่งจะกอใหเกิดศรัทธำและควำมเคำรพเทิดทูนบูชำวำ พระด�ำรัสที่ ตรัสไวน้ันชำงบริสุทธิ์บริบูรณทั้งอรรถและพยัญชนะ ตอเมื่อขำพเจำ ไดพบหนังสืออนัตตลักขณสูตรของทำนอำจำรยมหำสีสยำดอ เปน หนังสือที่มีควำมสมบูรณท้ังในแงมุมวิชำกำรและแนวทำงปฏิบัติ มี ค�ำอธิบำยกระจำงชัดเจนท้ังในดำนภำษำ สภำวธรรม และขั้นตอน กำรปฏิบัติ เปนหนังสือท่ีเหมำะส�ำหรับพุทธศำสนิกชนชำวไทยควร มีไวเปนแนวทำงในกำรศึกษำแนวทำงในกำรปฏิบัติ ดวยเหตุดังกลำวนี้ ขำพเจำจึงเชิญชวนแกมขอรองให พระคันธสำรำภิวงศ แหงวัดทำมะโอ จังหวัดล�ำปำง ด�ำเนินกำรแปล

[๔] หนังสือ “อนัตตลักขณสูตร” ที่แปลและอธิบำยโดยพระโสภณ มหำเถระ (มหำสีสยำดอ) ทั้งน้ีเพื่อใหศำสนิกชนชำวไทยไดเขำใจ หลักกำรปฏิบัติอยำงถองแทตรงตำมพุทธำธิบำย และเปนหลักสูตร เรียนของนิสิตปริญญำโท หลักสูตรพุทธศำสตรมหำบัณฑิต สำขำ วิชำวิปสสนำภำวนำ ณ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขตบำฬศึกษำพุทธโฆส นครปฐม ทำนผูแปลน้ีไดศึกษำบำลีใหญท่ีวัดทำมะโอตั้งแตเปน สำมเณรอำยุ ๑๕ ป และไดไปศึกษำตอที่ประเทศเมียนมำรเปน เวลำ ๑๐ ป จนจบกำรศึกษำระดับธรรมำจริยะจำก ๒ สถำบัน คือ สถำบันรัฐบำลและสถำบันเอกชนเจติยังคณะ จังหวัดยำงกุง ไดรับ เกียรติบัตรเปน พระคันธสำรำภิวงศ สำสนธชธรรมำจริยะ และ เจติยังคณะ คณวำจกธรรมำจริยะ โดยสอบชั้นธรรมำจริยะของ สถำบันเอกชนไดเปนอันดับสองของประเทศเมียนมำร อีกทั้งสอบ ไดเปรียญธรรม ๙ ประโยค และปริญญำพุทธศำสตรดุษฎีบัณฑิต สำขำวิชำพระพทุ ธศำสนำ มหำวทิ ยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลยั นอกจำกน้ัน ทำนยังมีผลงำนเขียนและแปลคัมภีรภำษำบำลีและ พมำกวำ ๕๐ เลม ดังน้ัน ขำพเจำจึงเห็นวำทำนเปนผูเหมำะสมท่ี จะด�ำเนินกำรแปลหนังสือเลมน้ี เพ่ือใหเปนมรดกธรรมฝำกไว ในพระพุทธศำสนำ

[๕] ขำพเจำไดอำนตรวจทำนแกไขส�ำนวนแปลเปนตอนๆ ไป ต้ังแตตนจนจบ เห็นวำทำนผูแปลไดด�ำเนินกำรแปลและเรียบเรียงไว โดยละเอียด มีหลักฐำนอำงอิงจำกพระไตรปฎก อรรถกถำ และฎีกำ อยำงสมบูรณ จึงขออนุโมทนำกุศลจิตของพระคันธสำรำภิวงศผูแปล หนังสือเลมน้ี และหวังวำทำนผูอำนจะไดรับประโยชนตำมสมควร (สมเด็จพระพุทธชินวงศ)



คาํ นยิ ม อำจำรยอักษรำ ศิลปสุข ไดสงหนังสืออนัตตลักขณสูตรของ ทำนพระอำจำรยคันธสำรำภิวงศ แหงวัดทำมะโอ จังหวัดล�ำปำงไป ใหผมอำนและแจงวำ ทำนผูนิพนธไดข อใหผ มเขยี นคำ� นยิ มใหดว ย ผมยนิ ดนี อ มรบั เกยี รตนิ ี้ ทงั้ ๆ ทร่ี วู ำ ตนไมม คี วำมรคู วำมเขำ ใจ เร่ืองนี้ดีพอ ผมเห็นวำ เร่ืองอนัตตำ เรื่องจิตมโนวิญญำณ เร่ือง ปฏิจจสมุปบำท เร่ืองนิพพำน เปนเร่ืองลึกซ้ึง เขำใจยำกที่สุดส�ำหรับ นักศึกษำพุทธศำสนำ แตเมื่อไดอำนหนังสือเลมน้ีแลวท�ำใหเขำใจ หลักอนัตตำไดแจมแจงขึ้น ทำนผูประพันธซึ่งเปนนักปรำชญทำง พระพุทธศำสนำ และภำษำบำลีช้ันยอดทำนหน่ึงที่ผมยกยองเทิดทูน อยำงสูง ไดอธิบำยหลักอนัตตำ ตำมแนวอนัตตลักขณสูตรอยำง ละเอยี ดพสิ ดำร พรอ มดว ยหลกั ฐำน และตวั อยำ งบคุ คลทนี่ ำ� มำอำ งองิ จำกพระไตรปฎก อรรถกถำ ฎีกำ และปกรณพิเศษคือวิสุทธิมรรค เปน ตนอยำ งครบถว น

[๘] นอกจำกนี้ ผมยังไดควำมรูใหมอีกหลำยอยำง เชน เรื่อง พระพุทธองคทรงแสดงเหมวตสูตรอีกสูตรหน่ึงหลังจำกที่ทรงธัมม- จักกัปปวัตนสูตร กอนแสดงอนัตตลักขณสูตรเปนตน ซ่ึงไมเคยพบ จำกทไ่ี หนมำกอน ทำ� ใหอ ยำกศึกษำคน ควำ สูตรนีต้ อไป เช่ือวำ หนังสือเลมนี้จะเปนคูมือกำรศึกษำหลักธรรมที่ลึกซึ้ง ในพระพทุ ธศำสนำทสี่ ำ� คญั เลมหนงึ่ ตอไป ขออนุโมทนำในกุศลจิต และควำมอุตสำหะวิริยะของทำน อำจำรยคันธสำรำภวิ งศอ ยำ งสงู มำ ณ ทน่ี ดี้ ว ย ดวยควำมเคำรพ ศำสตรำจำรยเกยี รตคิ ุณ แสง จันทรง ำม

คํานํา ชำวโลกท่ัวไปท่ีตองประกอบอำชีพกำรงำน อยูกับครอบครัว และสังคม เปนผูมีกิเลสหนำแนนดวยควำมโลภ โกรธ หลง จึงได ชื่อวำ ปุถุชน คือ ผูมีกิเลสหนำ โดยเฉพำะอยำงยิ่งควำมโลภหรือ ตัณหำเปนสมุทยสัจท่ีเหมือนรำกเหงำของภพ ตัณหำนั้นท�ำใหยึดติด ผูกพันในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และธรรมำรมณ (มโนสัมผัส) อีกทั้งทุกคนก็ยึดม่ันในตัวตนอยูตลอดเวลำวำมีตัวเรำ ของเรำ เรำ เปนบุรุษหรือสตรี ในขณะเดียวกันก็มีมำนะที่ถือตัววำเรำดีกวำผูอ่ืน ดังนั้น ชำวโลกจึงตองเวียนตำยเวียนเกิดในวัฏสงสำรเร่ือยไปดวย ตัณหำ มำนะ และทิฏฐิ ซ่ึงเรียกวำ ปปญจธรรม คือ ธรรมท�ำใหเน่ินชำ พระปจเจกพุทธเจำผูตรัสรูอริยสัจ ๔ ดวยพระองคเอง สำมำรถขจัดธรรมเหลำน้ันได แตไมอำจสั่งสอนผูอื่นใหรูตำมน้ัน พระองคจึงปรินิพพำนไปแตเพียงพระองคเดียว ไมอำจแนะน�ำผูอ่ืน ใหบรรลุธรรมแลวปรินิพพำนเหมือนพระองค ซ่ึงตำงจำกพระสัมมำ- พุทธเจำผูตรัสรูอริยสัจ ๔ ดวยพระองคเอง ทรงมีพระญำณยิ่งใหญ ไรขอบเขต สำมำรถสั่งสอนผูอื่นใหรูตำม

[ ๑๐ ] ดังน้ัน พระพุทธเจำโคตมะจึงทรงแสดงธรรมโปรดปญจวคั คีย ดวยพระสูตรแรกช่ือ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร อันประกำศอริยสัจ ๔ อยำงบริบูรณในยำมดวงอำทิตยเริ่มอัสดงจนถึงสิ้นสุดปฐมยำม ใน วันเพ็ญเดือน ๘ ตรงกับวันเสำร มหำศักรำช ๑๐๓ ทำนโกณฑัญญะ สดับพระสูตรนี้แลว ไดบรรลุธรรมเปนพระโสดำบัน มีศรัทธำใน พระรัตนตรัยอยำงม่ันคงวำ “พระพุทธเจำเปนผูตรัสรูชอบดวยพระ- องคเอง พระธรรมเปนค�ำสอนอันถูกตอง พระสงฆเปนกลุมบุคคล เชนกับเรำผูหยั่งเห็นอริยสัจ ๔ และไตรสิกขำคือศีล สมำธิ ปญญำเปน ปฏิปทำเพื่อควำมหลุดพนอยำงแทจริง”ตอจำกนั้นทำนโกณฑัญญะ ไดทูลขออุปสมบท พระพุทธองคจึงประทำนอุปสมบทแกทำน สวนปญจวัคคีย ๔ รูปท่ีเหลือ คือ วัปปะ ภัททิยะ มหำนำมะ และอัสสชิ ยังไมอำจหยั่งเห็นอริยสัจได ทำนเหลำน้ันเพียงเกิดศรัทธำ ดวยกำรสดับพระสูตร จึงยังไมไดรับกำรอุปสมบททันที แตไดปฏิบัติ กรรมฐำนในเพศนักบวช ในเวลำตอมำทำนวัปปะบรรลุธรรมเปน พระโสดำบันในวันแรม ๑ ค�่ำ ทำนภัททิยะบรรลุในวันแรม ๒ ค�่ำ ทำนมหำนำมะบรรลุในวันแรม ๓ ค�่ำ ทำนอัสสชิบรรลุในวันแรม ๔ ค�่ำ หลังจำกที่ไดบรรลุธรรมแลวทำนเหลำน้ันจึงทูลขออุปสมบท พระพุทธองคไดประทำนอุปสมบทแกทำนเหลำนั้นเชนกัน

[ ๑๑ ] ในบุคคล ๔ จ�ำพวก คือ อุคฆิตัญู (ผูบรรลุธรรมเร็วดวยกำร ฟงอุเทศคือหัวขอ), วิปญจิตัญู (ผูบรรลุธรรมชำดวยกำรฟงนิเทศ คือค�ำอธิบำยโดยสังเขป), เนยยะ (ผูอำจบรรลุธรรมไดดวยกำรฟง ปฏินิเทศคือค�ำอธิบำยโดยพิสดำร) และปทปรมะ (ผูไมอำจบรรลุ ธรรมได) ทำนโกณฑัญญะจัดเปนจ�ำบุคคลพวกวิปญจิตัญู เพรำะได สดับธัมมจักกัปปวัตนสูตรที่พระพุทธองคทรงแสดงรำว ๔ ชั่วโมง ตลอดปฐมยำมจึงบรรลุธรรมได (แตฉบับพระสูตรที่พบในปจจุบัน เปนฉบับยอ เพรำะมีเน้ือหำครบถวนในพระสูตรอ่ืนแลว จึงไมยก ข้ึนสังคำยนำโดยพิสดำร) สวนทำนวัปปะเปนตนจัดเปนเนยยบุคคล เพรำะตองอำศัยควำมเพียรปฏิบัติธรรม ๑ วันเปนตนไป จึงบรรลุ ธรรม บำงคนกลำววำ กำรฟงและพิจำรณำธรรมก็ท�ำใหบรรลุธรรม ได โดยไมจ�ำเปนตองลงมือปฏิบัติ ถำเทียบกำรปฏิบัติธรรมของทำน วัปปะเปนตนก็ท�ำใหทรำบวำค�ำนั้นไมถูกตอง ลองพิจำรณำดูวำใคร จะมีปญญำเทียบเทำทำนวัปปะเปนตน และใครจะแสดงธรรมไดดี ไปกวำพระพุทธเจำ ถำบุคคลบรรลุธรรมไดดวยกำรฟงและพิจำรณำ ธรรมดังกลำว ทำนวัปปะเปนตนก็คงจะไดบรรลุธรรมโดยไมตอง ลงมือปฏิบัติใหล�ำบำก แตท่ีจริงมิไดเปนเชนนั้น

[ ๑๒ ] นอกจำกนนั้ วธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องทำ นวปั ปะเปน ตน กลำ วไวใ นคมั ภรี  อรรถกถำ (วิ.ม.อ. ๓/๑๙/๑๘) วำในปญจวัคคียท่ียังไมไดบรรลุธรรม ๔ รูป ปญจวัคคีย ๒ หรือ ๓ รูปปฏิบัติธรรมไมไดออกบิณฑบำต สวน ปญจวัคคียที่เหลือ ๑ หรือ ๒ รูปพรอมกับพระโกณฑัญญะออก บิณฑบำต ปญจวัคคียและพระพุทธเจำรวม ๖ รูปฉันบิณฑบำตนั้น แมในคัมภีรอรรถกถำจะไมไดระบุวำ รูปใดปฏิบัติธรรม รูปใดออก บิณฑบำต แตผูที่บรรลุธรรมภำยหลังนำจะเปนผูออกบิณฑบำต เพรำะมีปลิโพธคือควำมกังวลในกำรบิณฑบำตจึงท�ำใหบรรลุธรรมชำ ในขณะน้ันพระพุทธองคไดประทับอยูในปำอิสิปตนะน้ัน เสมอเพ่ือขจัดอุปสรรคที่เกี่ยวกับกำรปฏิบัติ โดยมิไดเสด็จออก บิณฑบำต บำงขณะปญจวัคคียมำเขำเฝำทูลถำมปญหำบำง บำง ขณะพระพุทธองคก็เสด็จไปหำเพื่อตอบปญหำบำง ขอน้ีแสดงวำ พระพุทธองคทรงเอำใจใสปญจวัคคียเปนอยำงดีในยุคเริ่มกอตั้ง ศำสนำ สงผลใหทำนเหลำนั้นประสบควำมกำวหนำในกำรปฏิบัติ โดยเร็ว แมปญจวัคคียทั้งหมดจะไดบรรลุธรรมเปนพระโสดำบัน สำมำรถก�ำจัดสักกำยทิฏฐิ คือ ควำมเห็นผิดวำเปนตัวตน เห็น ประจักษควำมเปนอนัตตำแลว ทำนเหลำน้ันก็ยังมีอัสมิมำนะ คือ ควำมถือตัววำเรำดีกวำผูอ่ืน ซึ่งตองก�ำจัดดวยอรหัตตมรรคเทำน้ัน

[ ๑๓ ] ดังนั้น ในวันแรม ๕ ค�่ำ เดือน ๘ พระผูมีพระภำคจึงรับสั่งเรียก พระปญจวัคคียมำชุมนุมกันแลวแสดงอนัตตลักขณสูตร ทุกรูปไดฟง พระสูตรน้ี ไดบรรลุธรรมเปนพระอรหันต อนัตตลักขณสูตรน้ีปรำกฏในสุตตันตปฎก สังยุตตนิกำย ขันธวรรค (ส�.ข. ๑๗/๕๙/๕๕) และในวินัยปฎก มหำวรรค (วิ.ม. ๔/๒๐/๑๗) แมเนื้อหำในพระสูตรนี้จะสั้นมำก ท้ังยังไมไดแนะน�ำแนวทำงในกำร ปฏิบัติไว แตพระปญจวัคคียก็สำมำรถบรรลุธรรมเปนพระอรหันต ไดดวยกำรเจริญวิปสสนำตำมที่พระพุทธองคทรงแสดงไวในธัมม- จักกัปปวัตนสูตร แมในหนังสือเลมน้ีก็กลำวถึงวิธีปฏิบัติวิปสสนำของ ทำนเหลำนั้นในขณะฟงพระสูตรน้ีอีกดวย พระสูตรนี้อธิบำยอนัตตลักษณะโดยละเอียดเพื่อแสดงวำ ไมมีอำตมันหรือวิญญำณแตอยำงใด มีเพียงขันธ ๕ ที่ไมอยูในบังคับ บัญชำใหเที่ยงและเปนสุขที่ถำวร อนัตตลักษณะจัดเปนหลักธรรมท่ี ละเอียดเขำใจยำก ผูที่ยังไมเขำใจอนัตตลักษณะไมอำจบรรลุมรรคผล ได และพบในศำสนำพุทธเทำน้ัน ไมปรำกฏในศำสนำอ่ืน ท่ีจริงแลวชำวโลกอำจเขำใจอนิจจลักษณะและทุกขลักษณะ อยำงผิวเผิน เชน เมื่อแกวน�้ำแตกก็พูดวำไมเที่ยง ถำถูกหนำมต�ำก็ พูดวำเปนทุกข ควำมเขำใจเชนน้ีไมใชกำรหย่ังเห็นลักษณะดังกลำว

[ ๑๔ ] อยำงแทจริง เพรำะวำแกวน�้ำเปนบัญญัติที่ไมมีจริง และทุกขที่เกิด จำกหนำมต�ำก็เปนควำมรูสึกท่ีทนไดยำกซ่ึงเรียกวำ ทุกขเวทนำ ไมใช ทุกขในไตรลักษณ สวนอนัตตลักษณะเปนส่ิงที่ไมประจักษแกชำวโลก ทั่วไป เพรำะคนท่ัวไปมักเขำใจวำมีวิญญำณแฝงอยูในรำงกำยหรือแม จะเขำใจวำ ไมม ีวิญญำณดงั กลำว กย็ งั รูสกึ วำ มีรำ งกำยหรอื อวัยวะทำง รำงกำยท่ีเคล่ือนไหวท�ำสิ่งตำงๆ อยู เปนเรำ ของเรำ บุรุษ หรือสตรี ควำม เขำใจวำเปนตัวตนเชนนี้ตรงกันขำมกับอนัตตลักษณะโดยส้ินเชิง ทำนอำจำรยมหำสีสยำดอ (พระโสภณมหำเถระ) อดีต เจำส�ำนักมหำสียิตตำ จังหวัดยำงกุง ประเทศเมียนมำร ไดเห็น ควำมส�ำคัญของพระสูตรน้ี จึงบรรยำยไวที่ส�ำนักของทำน ๑๕ ครั้ง เร่ิมต้ังแตวันข้ึน ๘ ค�่ำ เดือน ๗ พ.ศ. ๒๕๐๖ จบในวันแรม ๘ ค�่ำ เดือน ๑๐ พ.ศ. ๒๕๐๖ ในขณะนั้นทำงส�ำนักไดอัดเสียงไวแลวน�ำ มำถอดเทป หลังจำกน้ันจึงน�ำไปใหทำนอำจำรยตรวจสอบขัดเกลำ ส�ำนวนเปนครั้งสุดทำย และไดจัดพิมพใน พ.ศ. ๒๕๒๐ ภำยหลังตอ มำ ชำวพมำศิษยของทำน คือ U Ko Lay (Zeya Maung) เปนผูแปล ไดแปลเปนภำษำอังกฤษช่ือ The Anattalakkhana Sutta จัดพิมพ ใน พ.ศ. ๒๕๒๐ ผูแปลไดด�ำเนินกำรแปลต�ำรำเก่ียวกับวิปสสนำของทำน อำจำรยมหำสีสยำดอในปที่ผำนมำปละ ๑ ฉบับ รวมเปน ๗ ฉบับ

[ ๑๕ ] คือวิปสสนำนัย ๑ วิปสสนำนัย ๒ มหำสติปฏฐำนสูตร ธัมมจักกัป- ปวัตนสูตร ปฏิจจสมุปบำท นิพพำนกถำ และพรหมวิหำร ในปนี้ ไดด�ำเนินกำรแปลหนังสือ อนัตตลักขณสูตร ของทำนอำจำรยเปน เลมท่ี ๘ เพ่ือเผยแพรวรรณกรรมท่ีมีคุณคำตอกำรปฏิบัติธรรมใน แผนดินสยำมนี้ เมื่อคร้ังที่ผูแปลเดินทำงไปศึกษำปริยัติธรรม ณ ประเทศ เมียนมำรระหวำง พ.ศ. ๒๕๒๘-๒๕๓๘ ไดพบต�ำรำเลมนี้และอำน ศึกษำดู เห็นวำมีประโยชนมำกตอกำรปฏิบัติธรรม เหมือนแผนท่ี เดินทำงน�ำไปสูจุดหมำยปลำยทำงแหงศำนติสุข จึงคิดวำควรแปล เปนภำษำไทยเพ่ือใหกุลบุตรชำวไทยมีโอกำสเขำใจและปฏิบัติธรรม อยำงถูกตองตำมท่ีกลำวไวในต�ำรำเลมน้ี อีกทั้งพระเดชพระคุณเจำ ประคุณสมเด็จพระพุทธชินวงศ (สมศักด์ิ อุปสโม ป.ธ.๙, Ph.D) ก็ กลำวปรำรภเรื่องท่ีทำนประสงคจะใหเมืองไทยมีต�ำรำทำงศำสนำ ท่ีทรงคุณคำเหมือนต�ำรำที่ชำวพมำแตงไว และแนะน�ำวำควรแปล ต�ำรำพมำของทำนอำจำรยมหำสีสยำดอเปนภำษำไทยเพื่อใหกุลบุตร ชำวไทยมีโอกำสศึกษำคนควำ ทั้งนี้เพ่ือสืบทอดพระพุทธศำสนำ ตอไป ดังนั้น ผูแปลจึงด�ำเนินกำรแปลต�ำรำเลมนี้ใน พ.ศ. ๒๕๕๖ นี้ และจะแปลเรื่องวัมมิกสูตรของทำนอำจำรยมหำสีสยำดอใน พ.ศ. ๒๕๕๗ เปนล�ำดับตอไป

[ ๑๖ ] หนังสือเลมน้ีมีเน้ือหำที่นำสนใจหลำยอยำง อำทิเชน ๑. ใชภำษำเขำใจงำย ๒. น�ำเร่ืองที่พบในพระสูตรและอรรถกถำมำแสดงไวเปน ตัวอยำง ๓. แสดงกำรเปรียบเทียบที่ท�ำใหเขำใจไดชัดเจนยิ่งข้ึน ๔. อธิบำยควำมตำมเน้ือหำในอรรถกถำและฎีกำ ๕. เทียบเคียงกับประสบกำรณในกำรปฏิบัติวิปสสนำอยำง แทจริง ในกำรแปลคร้ังนี้ ผูแปลมอบหมำยใหคุณอุดมพร สิรสุทธิ แปลจำกตนฉบับภำษำอังกฤษช่ือวำ The Anattalakkhana Sutta แลวน�ำมำเทียบกับตนฉบับภำษำพมำ นอกจำกน้ัน เพื่อใหหนังสือ เลมนี้มีเนื้อหำสำระพรอมมูลในเชิงวิชำกำร ผูแปลจึงเพิ่มเชิงอรรถท่ี เก่ียวกับหลักภำษำและเกี่ยวกับหลักธรรม โดยอำงอิงหลักฐำนจำก พระไตรปฎก อรรถกถำ ฎีกำ และไวยำกรณบำลี หวังวำจะเปน ประโยชนแกทำนผูอำนตำมสมควร ขออนุโมทนำขอบคุณผูชวยด�ำเนินกำรแปลในครั้งน้ี คือ คุณอุดมพร สิรสุทธิ ผูแปลจำกฉบับภำษำอังกฤษ และชวยขัดเกลำ ส�ำนวนแปล รวมท้ังตรวจแกค�ำผิดและจัดท�ำดรรชนีตลอดทั้งเลม

[ ๑๗ ] กำรบริจำครวมสรำงหนังสือธรรมะมีอำนิสงสมำก ทั้งนี้ เพรำะหนังสือธรรมะก็คือพระพุทธเจำผูสำมำรถเทศนและส่ังสอน เวไนยชนได จัดวำเปนกำรธ�ำรงรักษำพระศำสนำและจุดประกำย แหงปญญำแกปวงชน เหมือนกำรจุดประทีปในที่มืด และบอกทำง แกคนหลงทำงเพ่ือประโยชนแกมวลชนชั่วกำลนำน หนังสือท่ีทำน ทั้งหลำยจัดพิมพเผยแพรนี้จะน�ำไปมอบใหส�ำนักเรียน หองสมุด และ ประชำชนทั่วไปที่สนใจใฝรูธรรมะ โดยไมมีกำรจ�ำหนำยแตอยำงใด ขออนุโมทนำกุศลจิตของทำนเจำภำพผูบริจำคทรัพยเพื่อ จัดพิมพหนังสือเลมน้ีไวเปนสมบัติในบวรพระพุทธศำสนำ ขอให ทุกทำนท่ีไดบ�ำเพ็ญบุญรวมกันในคร้ังน้ีจงมีควำมสุขสวัสดี เจริญ รุงเรืองในธรรมของพระอริยเจำทั้งปวง และบรรลุศำนติสุขอันเปน จุดมุงหมำยของชำวพุทธโดยพลันเทอญ พระคันธสำรำภิวงศ วัดทำมะโอ จังหวัดล�ำปำง ธันวำคม ๒๕๕๖ www.wattamaoh.org, [email protected]



วจนารมฺโภ สตฺตำ ส�สำรคำมิกำ เทเสสิ’นตฺตลกฺขณ� ๑. อตฺตำติ คำห’มำคมฺม อนตฺตฺ ุ ตสำธก�. ทุกฺขิตำ ตปฺปหำนำย อนตฺตฺ ู ชิโน สำม� สสทฺธมฺมคณุตฺตม� ปติปำโมชฺชเจตสำ. ๒. สกฺกจฺจ� ต� ชิน� นตฺวำ คุโณฆธำรก� โสห� นำนำรฏเสุ วณฺณิตำ กำม� ตทตฺถทีปกำ. ๓. โปรำณเกหิ วิฺ ู หิ เนกำนตฺตกถำ สนฺติ กตำย� สำธุสมฺมตำ กุสเลน สุธีมตำ. ๔. ตถำป มหาสี เถเรน ปริยตฺติปฏิปตฺติ- อนุโลเมน สำ กตำ ปฏิปตฺตินย� สุภ�. ๕. สฏีกำฏกถำปำฬ- อุชุ พฺยตฺตำ อล� ทำตุ� สมเด็จพระพุทธชินวงศ อิติ มม� ต� ปริวตฺติต�ุ. ๖. คุณูปกำรต� ตำย เถโร ทิสฺวำน อชฺเฌสิ สงฺฆสฺส ครุนฺ จ เม ปริวตฺตยำมิ สำธุก�. ๗. เตน พุทฺธสฺส ธมฺมสฺส นโม กตฺวำ สภำสำย คนฺธสำรำภิว�โส



พจนารมภ ๑. เหลำสัตวผูด�ำเนินไปในสังสำรวัฏ อำศัยควำมยึดม่ัน วำเปนอัตตำแลวลวนอยูเปนทุกข พระชินเจำผูหย่ังเห็นควำมเปน อนัตตำดวยพระองคเอง จึงทรงแสดงอนัตตลักขณสูตรอันใหส�ำเร็จ กำรหยั่งเห็นควำมเปนอนัตตำเพื่อขจัดควำมยึดม่ันวำเปนอัตตำน้ัน ๒. ขำพเจำนั้นขอนมัสกำรพระชินเจำพระองคนั้นผูทรง หมูแหงคุณธรรมโดยเคำรพ พรอมทั้งพระสัทธรรม และหมูสงฆ ผูสูงสุด ดวยจิตอันประกอบดวยปติปรำโมทย ๓. ตำ� รำทก่ี ลำ วถงึ อนตั ตำอนั แสดงควำมหมำยของอนตั ตำ นั้น ผูรูแตกำลกอนในประเทศตำงๆ ไดอธิบำยไว มีอยูหลำยฉบับ ๔. แตหนังสือท่ีกลำวถึงอนัตตำฉบับน้ี อันพระมหำสีเถระ ผูทรงปญญำแตกฉำนในปริยัติและปฏิบัติประพันธไว ไดรับยกยอง วำดีเลิศ ๕. หนังสือเลมนั้นรจนำไวโดยคลอยตำมพระบำลี อรรถ- กถำ และฎีกำ ตรงประเด็น ชัดเจน สำมำรถแสดงวิธีปฏิบัติอัน ดีงำมได

[ ๒๒ ] ๖. พระเถระผูปรำกฏสมณศักด์ิวำ “สมเด็จพระพุทธ- ชินวงศ” ไดเห็นวำหนังสือเรื่องอนัตตำนั้นอ�ำนวยคุณประโยชน จึง มอบหมำยใหขำพเจำแปลหนังสือดังกลำว ๗. ดว ยเหตนุ น้ั ขำ พเจำ ขอนมสั กำรพระพทุ ธเจำ พระธรรม พระสงฆ และครูของตนแลว จักแปลดวยภำษำไทยเปนอยำงดี พระคันธสำรำภิวงศ

สารบัญ หนำ ค�ำอนุโมทนำ ................................................................... [ ๑ ] ค�ำนิยม ............................................................................ [ ๗ ] ค�ำน�ำ ............................................................................... [ ๙ ] วจนำรมฺโภ ...................................................................... [ ๑๙ ] พจนำรมภ ....................................................................... [ ๒๑ ] บทท่ี ๑ บทน�ำ ................................................................................ ๓ วันท่ีทรงแสดงอนัตตลักขณะสูตร........................................ ๔ พระพุทธพจน: เร่ิมตนอนัตตลักขณสูตร.............................. ๖ ควำมเห็นผิดวำรูปเปนอัตตำ............................................... ๗ เหตุท่ีรูปไมใชอัตตำ ............................................................ ๑๐ รูปกอใหเกิดทุกขอยำงไร.................................................... ๑๐ หลักฐำนที่ช้ีชัดวำรูปไมใชอัตตำ.......................................... ๑๓

[ ๒๔ ] หนำ ชีวอัตตะ และปรมอัตตะ ................................................. ๑๔ ค�ำสรรเสริญของพกพรหม ............................................... ๑๕ ก�ำเนิดของควำมเช่ือเก่ียวกับกำรสรำงโลก ....................... ๑๖ อัตตวำทุปำทำน (ควำมยึดม่ันในอัตตำ) ........................... ๑๘ ควำมเขำใจผิดเก่ียวกับอัตตำ ........................................... ๑๙ ถำไมเขำใจอัตตวำทุปำทำน ก็ไมเขำใจอัตตำ.................... ๒๐ อัตตวำทุปำทำน ๔ ประเภท............................................ ๒๒ กำรหย่ังเห็นควำมเปนอัตตำในขณะเจริญวิปสสนำกรรมฐำน..... ๒๕ บทที่ ๒ ๓๑ ๓๔ เวทนำไมใชอัตตำ ............................................................ ๓๖ กำรเทียบเคียงพระอภิธรรมและพระสูตร......................... ๓๘ กำรเขำใจผิดวำเวทนำเปนอัตตำ ...................................... ๓๙ เหตุที่เวทนำไมใชอัตตำ.................................................... ๔๐ หลักฐำนท่ีชี้ชัดวำเวทนำไมใชอัตตำ ................................. ๔๒ เวทนำท�ำใหเกิดทุกขไดอยำงไร........................................ ๔๘ เวทนำไมเปนไปตำมบังคับบัญชำ..................................... กำรแสวงหำธรรมและกำรไดธรรมจักษุของทำนพระสำรีบุตร ..

[ ๒๕ ] หนำ ทีฆนขสูตร ...................................................................... ๕๔ กำรบรรลุนิพพิทำญำณดวยกำรก�ำหนดรูเวทนำ ............... ๖๓ กำรบรรลุมรรคผลดวยนิพพิทำญำณ................................ ๖๔ กำรพูดควำมจริงไมขัดแยงกับใครๆ ................................. ๖๕ ทำนพระสำรีบุตรบรรลุเปนพระอรหันต........................... ๖๖ กำรประชุมสำวกสันนิบำต............................................... ๖๘ บทที่ ๓ ๗๑ ๗๒ สัญญำและสังขำรไมใชอัตตำ ........................................... ๗๓ เหตุที่สัญญำไมใชอัตตำ ................................................... ๗๙ ทรงประกำศวำสัญญำเปนอนัตตำ ................................... ๘๑ สังขำรไมใชอัตตำ ............................................................ ๘๒ ควำมเห็นท่ีขัดแยงกับค�ำสอนของพระพุทธเจำ................. ๘๕ ควำมหมำยของสังขำรในพระสูตรนี้ ................................. ๘๖ เหตุที่สังขำรไมใชอัตตำ.................................................... ๘๗ สังขำรเปนเหตุใหเกิดทุกขไดอยำงไร................................ สังขำรไมเปนไปตำมควำมปรำรถนำของเรำ .....................

[ ๒๖ ] หนำ เร่ืองเปรตท่ีถูกเข็มทิ่มแทง ............................................... ๘๙ กำรเห็นแจงอนัตตำเกิดข้ึนไดอยำงไร............................... ๙๔ บทที่ ๔ ๙๙ ๑๐๐ วิญญำณไมใชอัตตำ ...................................................... ๑๐๑ เหตุที่วิญญำณไมใชตัวตน ............................................. ๑๐๒ ทรงประกำศวำวิญญำณไมใชอัตตำ ตัวตน .................... ๑๐๔ วิญญำณน�ำทุกขมำใหอยำงไร ....................................... ๑๐๖ วิญญำณไมอยูในบังคับบัญชำของเรำ............................ ๑๐๙ ผลที่เกิดจำกเหตุ .......................................................... ๑๑๕ เร่ืองของสำติภิกษุ ........................................................ ๑๓๒ ขอควำมในเผณปณฑูปมสูตร........................................ พระสัทธรรมโดยสังเขป ................................................ บทท่ี ๕ ๑๓๕ ๑๓๖ ไตรลักษณ.................................................................... ๑๓๗ อนัตตลักษณะ.............................................................. อนัตตลักษณะเปนเร่ืองเขำใจยำก .................................

[ ๒๗ ] หนำ กำรอธิบำยอนัตตำดวยอนิจจัง...................................... ๑๓๘ กำรอธิบำยอนัตตำดวยทุกขัง........................................ ๑๔๑ กำรอธิบำยอนัตตำดวยอนิจจังและทุกขัง ...................... ๑๔๑ กำรโตวำทะของสัจจกนิครนถ ...................................... ๑๔๒ อัตตำที่ไมเก่ียวกับขันธ ๕............................................. ๑๕๔ เหตุใดจึงเรียกวำไมเที่ยง............................................... ๑๕๘ อนิจจลักษณะ .............................................................. ๑๖๒ อนิจจำนุปสสนำญำณ .................................................. ๑๖๓ ทุกขสองชนิด ............................................................... ๑๖๓ ทุกขลักษณะ ................................................................ ๑๖๕ ทุกขำนุปสสนำญำณ..................................................... ๑๖๕ ทุกขำนุปสสนำญำณเกิดข้ึนไดอยำงไร........................... ๑๖๕ กำรยึดถือดวยตัณหำวำ “รูปน้ีเปนของเรำ”.................. ๑๖๖ กำรยึดถือดวยมำนะวำ “รูปนี้เปนของเรำ”................... ๑๖๘ กำรยึดถือดวยทิฏฐิวำ “รูปน้ีเปนอัตตำของเรำ”............ ๑๖๙

[ ๒๘ ] หนำ บทที่ ๖ ๑๗๑ ๑๗๙ เวทนำไมเที่ยงเปนตน................................................... ๑๘๐ พึงเห็นเวทนำ ๓ ตำมควำมเปนจริง .............................. ๑๘๒ สัญญำไมเที่ยงเปนตน .................................................. ๑๘๗ สังขำรไมเท่ียงเปนตน................................................... ๑๙๔ วิญญำณไมเท่ียงเปนตน................................................ กำรพิจำรณำรูป ........................................................... บทท่ี ๗ ๒๐๕ ๒๐๙ กำรพิจำรณำขันธ ๕ ดวยนัย ๑๑ อยำง ........................ ๒๑๐ กำรพิจำรณำรูปภำยในและรูปภำยนอก........................ ๒๑๑ กำรพิจำรณำรูปหยำบและรูปละเอียด........................... ๒๑๒ กำรพิจำรณำรูปเลวและรูปดี ........................................ ๒๑๔ กำรพิจำรณำรูปไกลและรูปใกล .................................... กำรพิจำรณำเวทนำ ๑๑ อยำง......................................

[ ๒๙ ] หนำ กำรพิจำรณำสัญญำ ๑๑ อยำง ..................................... ๒๒๓ กำรพิจำรณำสังขำร ๑๑ อยำง...................................... ๒๒๘ กำรพิจำรณำวิญญำณ ๑๑ อยำง .................................. ๒๓๖ จิตในชำติหนึ่งๆ เกิดข้ึนไดอยำงไร ................................ ๒๓๘ กำรรูกฎของปฏิจจสมุปบำทดวยกำรรูกรรมวัฏและวิปำกวัฏ . ๒๔๑ บทที่ ๘ ๒๕๕ ๒๕๖ กำรพัฒนำวิปสสนำญำณ.............................................. ๒๖๔ วิปสสนำญำณพัฒนำขึ้นไดอยำงไร................................ ๒๖๖ นิพพิทำญำณเกิดข้ึนเม่ือเห็นอนิจจลักษณะ................... ๒๖๙ นิพพิทำญำณเกิดข้ึนเมื่อเห็นทุกขลักษณะ..................... ๒๗๒ นิพพิทำญำณเกิดขึ้นเมื่อเห็นอนัตตลักษณะ .................. ๒๗๓ ควำมหมำยของนิพพิทำญำณ ....................................... ๒๗๔ ควำมปรำรถนำนิพพำนที่แทและเทียม ......................... ๒๗๕ ควำมสุขในนิพพำน ...................................................... ๒๗๖ กำรรอคอยนิพพำนดวยควำมกระตือรือรน ................... ๒๘๓ องคคุณ ๖ ประกำรของสังขำรุเปกขำญำณ................... ๒๘๘ กำรเกิดข้ึนของวุฏฐำนคำมินีปฏิปทำ............................. กำรเกิดควำมเบื่อหนำยแลวไดบรรลุมรรคผล................

[ ๓๐ ] หนำ ประสบกำรณกับค�ำบรรยำยตำงกันอยำงไร................... ๒๘๘ กำรพิจำรณำของพระอรหันต ....................................... ๒๙๐ บทสรุป ........................................................................ ๒๙๓ สักกำระแดพระอรหันตท้ัง ๖........................................ ๒๙๕ อนุโมทนำกถำ.............................................................. ๒๙๕ อนัตตลักขณสูตร.......................................................... ๒๙๖ ค�ำถำมและค�ำตอบเกี่ยวกับขันธ ๕ ............................... ๓๐๐ กำรพิจำรณำขันธ ๕ ดวยนัย ๑๑ อยำง ........................ ๓๐๔ วิปสสนำญำณพัฒนำขึ้นไดอยำงไร................................ ๓๐๗ บทสรุป ........................................................................ ๓๐๘ เชิงอรรถ.......................................................................... ๓๑๑ ดัชนีคนค�ำ ....................................................................... ๓๔๔ รำยนำมผูบริจำค ............................................................. ๓๔๙





๕๔ สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง หมายรผู ดิ ๆ ทยี่ งั ละไมไ ด ความยดึ มนั่ เกา ทม่ี ี อยูก็ถูกถอนขึ้น สังวรก็ดวยสติ ถอดถอน กด็ ว ยปญ ญา นแ้ี หละ เราอาศยั กายอาศยั ใจ ใหเ กดิ สตปิ ญ ญา ละกเิ ลสได อนัตตลักขณสูตรออตตยยาามมาา ลลออมมืืธธัั ยยใใสสจจาามมศศคคขขยยัั ววออรรออตตแแนนาากกมมโโุุ เเมมววดดททลลกกูู าานนาาแแาายยลลททตตววกกุุ าาททมมกกาา ดดนนใใ็็ หหใใููคคจจททรรบบาาััออนนยยไไาาปปลลปปมมืื ฏฏกกบบิิาาตตยยัั ิิ ใหเ กดิ สตปิ ญ ญา ละกเิ ลสได กด็ ว ยปญ ญา นแี้ หละ เราอาศยั กายอาศยั ใจ อยูก็ถูกถอนข้ึน สังวรก็ดวยสติ ถอดถอน หมายรผู ดิ ๆ ทย่ี งั ละไมไ ด ความยดึ มน่ั เกา ทม่ี ี สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง นโม ตสฺส ภควโต อร๕ห๔โต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส. ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาค ผูไกลจากกิเลส ตรัสรูชอบดวยพระองคเอง พระองคน้ัน คํานํา พระธรรมเทศนาช่ือเหมวตสูตรท่ีขาพเจาไดแสดงในลําดับ ตอจากธัมมจักกัปปวัตนสูตรน้ันไดจบลงเมื่อวันเพ็ญเดือน ๘ วันนี้ จะขอเร่ิมแสดงพระธรรมเทศนาช่ืออนัตตลักขณสูตร ซ่ึงพระผูมี- พระภาคไดทรงแสดงไวเปนลําดับท่ี ๓ พระสูตรนี้เปรียบเสมือน

๒ อนตั ตลกั ขณสตู ร บทสรุปพระธรรมคําสอนของพระบรมศาสดาทั้งหมด จึงมีความ สําคัญอยางย่ิงควรที่พุทธศาสนิกชนพึงศึกษาใหเขาใจ คําสอนและความเช่ือตามลัทธินอกพุทธศาสนากลาวไดวา จัดเขาในประเภทอัตตวาท หรืออัตตทิฏฐิทั้งสิ้น โดยเช่ือวามีส่ิงที่ เรยี กวา ตวั ตน หรอื วญิ ญาณ อาศยั อยใู นรา งกายของสงิ่ มชี วี ติ ทง้ั หลาย เชน มนุษย เทวดา และสัตวตางๆ ไดแก วัว ควาย และสุนัข เปนตน ในทามกลางกลุมชนที่เช่ือถือลัทธิอัตตวาทอยางเหนียวแนน ซึ่งมีอยูมากมายเวลาน้ัน พระพุทธองคไดทรงประกาศวา “ส่ิงที่เรียก วา อัตตา วิญญาณ หรือตัวตน นั้นไมไดมีอยูจริง เปนแตเพียงถอยคํา ท่ีสมมุติข้ึนมา แทท่ีจริง สิ่งที่เขาใจกันวาเปนตัวตน หรืออัตตาน้ัน เม่ือ วาโดยสภาวะปรมัตถแลว เปนเพียงกระแสของรูปและนามท่ีเกิดดับ ตอเน่ืองกันไปเทาน้ัน” ดงั น้นั จึงจําเปน ตองทําความเขาใจใหถอ งแทเกี่ยวกับคาํ สอน ในอนัตตลักขณสูตรน้ี ท่ีจริงพระพุทธองคไดทรงอธิบายเร่ืองอนัตตา มากอ นแลว ในขณะตรสั เรอื่ งอรยิ สจั ๔ เมอ่ื ครง้ั ทที่ รงแสดงธมั มจกั กปั - ปวัตนสูตร ตอมาเมื่อทรงแสดงเหมวตสูตร ไดทรงขยายความเรื่อง อนัตตาวา “เมื่ออายตนะ ๖ (ตา, หู, จมูก, ล้ิน, กาย และใจ) เกิดข้ึน สัตวโลกจึงเกิดขึ้น”๑ หลังจากนั้นไดทรงแสดงหลักการเรื่องอนัตตา อีกคร้ังอยางแจมแจงและสมบูรณในพระสูตรท่ี ๓ น้ี

๑ บทนํา ในปฐมสังคายนา พระธรรมสังคาหกาจารยไดบันทึกบทนํา ไวในสังยุตตนิกาย ขันธวรรค ดังนี้ เอวํ เม สุตํ. เอกํ สมยํ ภควา พาราณสิยํ วิหรติ อิสิปตเน มิคทาเย. ตตฺร โข ภควา ปฺจวคฺคิเย ภิกฺขู อามนฺเตสิ ภิกฺขโวติ. ภทนฺเตติ เต ภิกฺขุ ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ. ภควา เอตทโวจ. “ขาพเจาไดสดับมาอยางน้ี สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาค ประทับอยู ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน เขตเมืองพาราณสี เวลาน้ัน พระผูมีพระภาคตรัสเรียกภิกษุปญจวัคคียวา ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ปญจวัคคียทูลรับวา ‘พระพุทธเจาขา’ พระผูมีพระภาคจึงตรัส พระดํารัสนี้ตอไป”

๔ อนตั ตลกั ขณสูตร วันที่ทรงแสดงอนัตตลักขณสูตร พระผูมีพระภาคไดทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตนสูตร เปน พระสูตรแรกในตอนคํ่าของวันเพ็ญเดือน ๘ เมื่อ ๒๕๕๑ ปมาแลว (นับจาก พ.ศ. ๒๕๐๖) ในขณะท่ีทรงแสดงปฐมเทศนานั้น มีทาน โกณฑัญญะเพียงรูปเดียวเทานั้นที่ไดดวงตาเห็นธรรมบรรลุเปน พระโสดาบัน ทานโกญฑัญญะเห็นแจงธรรมท้ังปวง มีศรัทธาอันไม คลอนแคลนในพระธรรมคําสอนของพระบรมศาสดาแลว ไดทูล ขออุปสมบทเปนภิกษุในพระศาสนา และพระพุทธองคไดประทาน อุปสมบทดวยเอหิภิกขุอุปสัมปทา สวนปญจวัคคียที่เหลือ ๔ รูป คือทานวัปปะ ทานภัททิยะ ทานมหานามะ และทานอัสสชิน้ัน ทานเหลาน้ันยังไมบรรลุมรรคผล พระพุทธองคจึงทรงสั่งสอน และดูแลใหทานทั้ง ๔ ปฏิบัติธรรมอยางจริงจัง โดยมิไดออกไป บิณฑบาต แมพระพุทธองคก็ไดประทับอยูในพระอารามมิได เสด็จออกบิณฑบาต เพื่อทรงแนะนําส่ังสอนใหปญจวัคคียอีก ๔ ทานน้ันสามารถกําจัดอุปสรรคและกิเลสที่อาจเกิดข้ึนในขณะปฏิบัติ วิปสสนา หลังจากท่ีไดเจริญวิปสสนาอยางจริงจังและตอเน่ืองไมมี หยุด ทานวัปปะก็ไดบรรลุโสดาปตติผลในวันแรม ๑ ค่ําของเดือน ๘ ทานภัททิยะไดบรรลุเปนพระโสดาบันตอมาในวันแรม ๒ คํ่า ทาน มหานามะบรรลุเปนพระโสดาบันในวันแรม ๓ คํ่า และพระอัสสชิ บรรลุเปนพระโสดาบันในวันแรม ๔ คํ่า๒

อนตั ตลกั ขณสตู ร ๕ ปญจวัคคีย ๔ รูปไมไดบรรลุธรรมดวยการฟงธัมจักกัป- ปวัตตนสูตร แตตองทําความเพียรเจริญวิปสสนาอยางจริงจังตอไป ขาพเจาจึงขอเตือนไมใหหลงเชื่อคําสอนผิดๆ ของคนท่ีอางอยาง ไมรับผิดชอบวา บุคคลสามารถบรรลุธรรมเปนพระโสดาบันไดดวย การฟงพระธรรมเทศนาเทานั้นโดยไมตองเจริญวิปสสนา ในคัมภีรอรรถกถา๓ ไดกลาววา หลังจากปญจวัคคียได บรรลุธรรมเปนพระโสดาบันทั้งหมดและไดอุปสมบทเปนภิกษุใน พระพุทธศาสนาแลว พระพุทธองคจึงทรงแสดงอนัตตลักขณสูตร ในวันแรม ๕ ค่ํา เดือน ๘ ดังนั้น คําวา “สมัยหน่ึง” ที่พระอานนท กลาวไวในคํานําของอนัตตลักขณสูตร จึงหมายถึงวันแรม ๕ คํ่า เดือน ๘ ขณะที่พระผูมีพระภาคประทับอยู ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน เขตเมืองพาราณสี

๖ อนัตตลกั ขณสูตร พระพุทธพจน: เริ่มตนอนัตตลักขณสูตร รปู  ภิกขฺ เว อนตตฺ า. “ภิกษุท้ังหลาย รูปมใิ ชอ ัตตา” คนทั่วไปมักจะคิดวา ตนเองและคนอ่ืนๆ คือส่ิงมีชีวิตที่มี วิญญาณหรือตัวตนแฝงอยูภายใน สิ่งที่เขาคิดวาเปนวิญญาณนั้น เรียกวา อัตตา ซึ่งเปนคําบาลีท่ีมาจากคําวา อาตมัน ในภาษา สันสกฤต คําวา อัตตา นี้ บางทีเรียกวา ชีวะ ดังน้ัน คําวา อัตตา จึง หมายถึงการมีชีวิต มีวิญญาณ หรือเปนสิ่งมีชีวิต เปนการเช่ือวามี วิญญาณหรือชีวะอยูในรางกายของคน ความเช่ืออยางน้ีจัดเปน ความเห็นผิดเก่ียวกับอัตตา เรียกวา อัตตทิฏฐิ ปุถุชนท่ัวไปยังไมหลุดพนจากอัตตทิฏฐิ จะแตกตางกันบาง ก็ท่ีความมากนอย และการแสดงออกเทาน้ัน บางคนเช่ือในอัตต- ทิฏฐิมากและยึดถือเหนียวแนนมาก บางคนมีความเช่ือที่เบาบาง บางคนแสดงออกชัดเจนมาก บางคนจะไมแสดงออกชัดเจนนัก ผูมี ความรูเร่ืองรูปนามเปนอยางดีก็จะมีอัตตทิฏฐิที่เบาบาง แตก็ยังไม จัดวาหลุดพนจากอัตตทิฏฐิ เพราะยังมีความเห็นผิดอยูวา มีวิญญาณ หรืออัตตา ท่ีทําหนาท่ีคิด ทํา พูด และรับรูอารมณท่ีนาพอใจตางๆ อยู นักปฏิบัติท่ีพัฒนาวิปสสนาปญญาโดยการกําหนดรูสภาวธรรม จะรูไดวา ไมมีอัตตา มีเพียงความเปนไปของรูปนามเทานั้น จึงเปน

อนัตตลกั ขณสูตร ๗ อิสระจากอัตตทิฏฐิ แตก็ไดเฉพาะชวงที่เจริญวิปสสนาอยูเทานั้น เม่ือใดที่เลิกกําหนดรูการเกิดดับของรูปนาม อัตตทิฏฐิก็จะกลับมา ครอบงําอีก เพราะยังรูสึกวามีตัวเราที่เคลื่อนไหวรางกาย กระทํา อากัปกิริยาตางๆ อยู เพื่อใหพระปญจวัคคียละทิ้งความเห็นผิดเรื่องอัตตา และ มีความเขาใจชัดวา ไมมีส่ิงท่ีเรียกวา วิญญาณ หรือตัวตน อาศัย อยูในรูปนามท่ีประกอบกันเปนรางกายของคน พระพุทธองคจึง ทรงเร่ิมตนพระธรรมเทศนาดวยการประกาศวา รูป ภิกฺขเว อนตฺตา (ภิกษุทั้งหลาย รูปมิใชอัตตา) ความเห็นผิดวารูปเปนอัตตา รูปท่ีคนทั่วไปเขาใจผิดกันวาเปนอัตตาตัวตน คืออะไรเลา คือ ปสาทรูปตางๆ ไดแก จักขุปสาทรูปที่ทําใหเห็น โสตปสาทรูปที่ ทําใหไดยินเสียง ฆานปสาทรูปท่ีทําใหรูกลิ่น ชิวหาปสาทรูปที่ทําให รูรส กายปสาทรูปที่ทําใหไดรับรูสัมผัสทางกาย ปสาทรูปเหลานี้ เปนฐานท่ีต้ังของการรับรู (วิญญาณ) และเปนที่ตั้งของพลังชีวิต (ชีวิตินทรีย)

๘ อนัตตลักขณสูตร ดวยเหตุท่ีมีจักขุปสาทรูป จึงเกิดการรับรูรูปทางตา (จักขุ- วิญญาณ) และเมื่อมีจักขุวิญญาณก็ยอมมีความเห็นผิดวามีอัตตา ตัวตนที่เปนผูเห็น ในทํานองเดียวกัน การมีโสตปสาทรูป ฆาน- ปสาทรูป ชิวหาปสาทรูป และกายปสาทรูป จึงทําใหเกิดการรับรู เสียงทางหู (โสตวิญญาณ) มีการรับรูกลิ่นทางจมูก (ฆานวิญญาณ) มีการรับรูรสทางลิ้น (ชิวหาวิญญาณ) และมีการรับรูสัมผัสทาง กาย (กายวิญญาณ) ปสาทรูปเหลาน้ีทําหนาที่เปนฐานที่เกิดของ วิญญาณ จึงเปนเหตุใหเกิดความเขาใจผิดวารูปเปนอัตตาตัวตน รูปชีวิตินทรียเปนพลังชีวิตที่รักษารางกายไมใหเนาเปอยผุพังจึง ทําใหเกิดความเขาใจผิดวารูปเปนอัตตาตัวตน ถาขาดปสาทรูป เชน จักขุปสาทรูป เปนตน ก็ยอมไมมีส่ิง ท่ีเรียกไดวาเปนวิญญาณ ยกตัวอยางเชน ทอนไมท่ีแกะสลักเปน รูปคน แมจะมีลักษณะคลายคนแตทอนไมก็ไมมีปสาทรูปท่ีจะทําให เกิดการเห็นและการรับรู ดังน้ัน จึงไมมีการเขาใจผิดวา รูปสลักไม นั้นมีชีวิต หรือมีอัตตาตัวตน ในกรณีของคนที่ตายแลวก็เชนกัน ไมมีการเขาใจผิดวา รางคนที่เพิ่งตายนั้นเปนสิ่งมีอัตตาตัวตน ท้ังนี้เพราะในรางคนตาย แลวไมมีปสาทรูปตางๆ เชน จักขุปสาทรูปเปนตน ดังน้ันตราบใด ที่ยังมีปสาทรูปตางๆ ก็ยังเขาใจผิดวาส่ิงที่รับรูโดยอาศัยปสาทรูป เชน รูปท่ีเห็น เสียงท่ีไดยิน กลิ่นที่ไดรับ รสที่ไดล้ิม และ

อนตั ตลักขณสูตร ๙ สัมผัสทางกาย (ไดแก ปฐวี, เตโช, วาโย) ตลอดจนอิตถีภาวรูป (รูป ที่แสดงความเปนหญิง) และปุริสภาวรูป (รูปที่แสดงความเปนชาย) เปนอัตตาตัวตนของเราดวย ดังนั้น เม่ือเห็นรูปารมณ (สีตางๆ), ไดยินสัททารมณ (เสียงตางๆ) ท่ีเกี่ยวกับจักขุปสาทรูป เปนตน คนทั่วไปจึงเขาใจผิดวาอารมณเหลาน้ีเปนอัตตาตัวตนอีกดวย สรุปไดวา คนเรามักเห็นวารางกายทั้งหมดที่เกิดมาพรอม กับตาและหูเปนตนน้ัน เปนอัตตาตัวตน เมื่อพูดตามแบบชาวโลก ทั่วไป เราเรียกรางกายท้ังหมดที่ประกอบดวยตา หู เปนตนวาเปน ตัวเรา เปนวิญญาณของเรา การเรียกเชนน้ีไมใชมุสาวาท แตเปนการ เรียกตามสมมุติบัญญัติที่ชาวโลกใชเรียกเพื่อสื่อความกัน แตเม่ือวา โดยสภาวะปรมัตถแลว รางกายท้ังหมดเปนเพียงองครวมท่ีประกอบ ดวยรูปและนามเทานั้น ดวยเหตุน้ี พระพุทธองคจึงทรงประกาศออก มาตรงๆ อยางแจมแจงวา “แมวาบุคคลทั้งหลายจะเห็นวารูปขันธ เปนตัวตน แตความจริงรูปขันธไมใชอัตตา ไมใชตัวตน แตเปนเพียง รูปซ่ึงเปนสภาวธรรมอยางหนึ่งเทานั้น” สวนผูท่ีนับถือลัทธิอัตตวาทจะเช่ือวา รูปขันธ ซ่ึงไดแก รางกายของเขานั้นเปนอัตตาตัวตน และจะตองต้ังคําถามขึ้นวา “เหตุใดรูปจึงไมใชอัตตา” ดังนั้น พระผูมีพระภาคจึงไดทรงช้ีแจงวา เหตุใดรูปจึงไมใชอัตตา

๑๐ อนตั ตลกั ขณสูตร เหตุท่ีรูปไมใชอัตตา รูปฺจ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺส, นยิทํ รูป อาพาธาย สํวตฺเตยฺย. ลพฺเภถ จ รูเป “เอวํ เม รูป โหตุ, เอวํ เม รูป มา อโหสี”ติ. “ภิกษุท้ังหลาย ถารูปน้ีเปนอัตตาแลว รูปนี้ คงไมเปนไปเพ่ือเบียดเบียน และบุคคลคงได การจัดแจงในรูปวา รูปของเราจงเปนอยางนี้เถิด (จงอยูในสภาพดี) รูปของเราอยาไดเปนอยางน้ัน เลย (จงอยามีสภาพไมดี)” รูปกอใหเกิดทุกขอยางไร ถารูปเปนอัตตาแลว รูปนี้คงไดเปนไปเพื่อเบียดเบียนเรา แตในความจริงรูปเปนไปสูความเจ็บปวย ไมคงความเปนหนุมสาว และความแข็งแรง จึงทําใหเกิดทุกขดวยการแกชรา การเส่ือมโทรม และการตาย ถาไมมีรูป ก็จะไมมีผมหงอก ฟนหัก หลังโกง หูตึง ตา ฝาฟาง หนังเหี่ยวยน และความเจ็บปวย ดังน้ันจึงกลาวไดวา รูปเปน เหตุใหเกิดทุกข เหตุที่มีรูป เราจึงเปนทุกขเพราะปวดตา ปวดหู ปวดฟน ปวดหลัง ทองอืด รอน หนาว ปวดเจ็บ คัน และทุกขเพราะโรค

อนัตตลกั ขณสูตร ๑๑ ที่เกี่ยวกับเลือด ผิวหนัง กระเพาะอาหาร ปสสาวะ ความดันโลหิต เปนตน อาการเหลานี้เกิดขึ้นไดเพราะมีรูปเปนที่ปรากฏของอาการ เจ็บปวยท้ังหลาย นอกจากน้ีรูปทําใหเราเปนทุกขเพราะความหิว ความกระหาย ถูกยุงกัด ถูกแมลงและส่ิงอ่ืนๆ รบกวน ความทุกข และความลําบากทั้งหลายเกิดข้ึนเพราะมีรูป ดังน้ัน รูปซ่ึงมีหนาท่ี ทําใหกายของเราเปนทุกขจึงเปนสิ่งท่ีนําความทุกขมาให นอกจากน้ัน รูปยังทําใหเกิดการตายขึ้นอีกดวย เม่ือรูป ทรุดโทรมและผุพังลง ความตายก็เกิดตามมา จึงอาจกลาวไดวารูป ทําใหเปนทุกขเพราะทําใหเราตองตาย ดังน้ัน เราควรพิจารณาวา ถารูปเปนตัวตนของเราจริง ก็คง ไดเปนไปเพื่อความแก ความเจ็บ และความตาย เราอาจทําใหคนอื่นๆ เปนทุกข แตไมมีใครที่จะพยายามทําใหตนเองเปนทุกข ในเม่ือรูป เปนตัวตนของเรา รูปก็ไมควรทําใหตนเองเปนทุกขดวยการแก เจ็บ และตาย แมในเวลากอนที่จะแก เจ็บ และตาย รูปก็ยังอาจทําใหเรา ทุกขดวยการปวยเปนโรคตางๆ คนท่ีอายุนอยถึงแมจะมีสุขภาพ แข็งแรงไมมีโรคภัยไขเจ็บ แตถาดํารงอยูในอิริยาบถเดียว เชน นั่ง ยืน หรือเดินเปนเวลานานๆ ก็จําเปนตองเปลี่ยนอิริยาบถบอยๆ ไมสามารถทนอยูในอิริยาบถใดได เพราะความรูสึกเม่ือยหรือรอน

๑๒ อนัตตลักขณสตู ร ตามแขนขาจากการอยูในอิริยาบถทาเดียวนานๆ ความทุกขเหลานี้ เกิดขึ้นเพราะมีรูปเปนตนเหตุ ดังนั้น จึงอาจพิจารณาไดวา ถารูปเปนอัตตาของเราแลว ก็ไมควรนําความทุกขมาใหเรา รูปจึงไมเปนไปตามความประสงค ของเรา นอกจากนี้ พระพุทธองคไดตรัสตอไปวา “ถารูปเปนอัตตา ของเราแลวไซร เราคงไดการจัดแจงในรูปวา รูปของเราจงเปนอยาง นี้เถิด (จงอยูในสภาพดี) รูปของเราอยาไดเปนอยางนั้นเลย (จงอยา มีสภาพไมดี)” หมายความวา หากรูปเปนอัตตาของเราจริง เราตอง สามารถบังคับบัญชารูปใหเปนไปตามความประสงคของเรา ทุกคน ยอมตองการใหรางกายเปนหนุมเปนสาวอยูเสมอ ไมอยากแกชรา เจบ็ ปว ย แลวตายไป แตร ูปไมเคยเชื่อฟง ไมยอมทําตามความประสงค ของเรา ความสดช่ืนของรูปในวัยหนุมสาวคอยๆ กลายเปนความ เส่ือมโทรมแหงวัยชรา สุขภาพที่แข็งแรงคอยๆ ออนแอลง แมวาเรา จะไมตองการใหเปนอยางน้ัน ทําใหเกิดโรคภัยไขเจ็บและจบลงดวย ความตาย เราไมสามารถบังคับบัญชาใหรูปเปนไปตามความตองการ ได ดังน้ัน พระพุทธองคจึงทรงช้ีใหเห็นวา รูปไมใชอัตตาตัวตนของ เรา ดวยขอความวา

อนัตตลักขณสตู ร ๑๓ “รูปมิใชอัตตา ถารูปนี้เปนอัตตาแลว รูปน้ีคงไมเปนไป เพื่อเบียดเบียน และบุคคลคงไดการจัดแจงในรูปวา รูป ของเราจงเปนอยางนี้เถิด (จงอยูในสภาพดี) รูปของเรา อยาไดเปนอยางนั้นเลย (จงอยามีสภาพไมดี)” ถารูปน้ีเปนอัตตา ก็จะไมนําความทุกขมาให และเรายอม จะบังคับบัญชาใหรูปเปนอยางท่ีเราตองการได แมวาเราจะไม สามารถทําใหคนอ่ืนเชื่อฟงคําส่ังของเรา แตเราควรจะสามารถบังคับ หรือจัดการกับตัวของเราเองใหเปนไปตามความตองการได แต เน่ืองจากรูปไมใชอัตตาตัวตนของเรา มันจึงนําความทุกขมาใหเรา และไมอยูในบังคับบัญชาของเรา หลักฐานท่ีช้ีชัดวารูปไมใชอัตตา ยสฺมา จ โข ภิกฺขเว รูป อนตฺตา, ตสฺมา รูป อาพาธาย สํ- วตฺตติ. น จ ลพฺภติ รูเป “เอวํ เม รูป โหตุ, เอวํ เม รูป มา อโหสี”ติ. “แตเพราะรูปเปนอนัตตา จึงเปนไปเพื่อเบียดเบียน และ บุคคลยอมไมไดการจัดแจงในรูปวา รูปของเราจงเปนอยางนี้เถิด (จงอยูในสภาพดี) รูปของเราอยาไดเปนอยางน้ันเลย (จงอยามีสภาพ ไมดี)”

๑๔ อนัตตลกั ขณสตู ร ในความเปนจริง รูปไมใชอัตตา จึงเบียดเบียนเราดวยความ แกและความเจ็บปวย นอกจากน้ี รูปยังไมเชื่อฟงคําส่ังหรือเปนไป ตามการจัดแจงของเรา รูปจึงไมใชอัตตาของเรา และเพราะรูปไมใช อัตตาของเรา เราจึงไมสามารถบอกกับรูปวา จงเปนอยางน้ี (จงอยู ในสภาพดี) จงอยาเปนอยางนั้น (จงอยามีสภาพไมดี) ชีวอัตตะ และปรมอัตตะ ตามความเชื่อของพวกอัตตวาท กลาววา อัตตะ มี ๒ ชนิด คือ ชีวอัตตะ และ ปรมอัตตะ พวกเขาเช่ือวา สัตวโลกทุกชนิด ไม วาจะเปนมนุษย เทวดา หรือสัตวเดรัจฉานก็ตาม ยอมมีตัวตน หรือวิญญาณอยูภายใน เรียกวา ชีวอัตตะ โดยวิญญาณหรือชีวะน้ี เชื่อกันวาเกิดจากการสรางสรรคของพระผูเปนเจา บางพวกก็เชื่อวา ชีวอัตตะนี้ เปนสวนยอยๆ ท่ีแยกออกมาจากปรมอัตตะ ซ่ึงเปนอัตตะ ที่ย่ิงใหญของพระผูเปนเจา ปรมอัตตะ คืออัตตะของพระผูเปนเจาผูสรางโลกพรอม ทั้งสัตวโลกทั้งหมด บางเช่ือวาปรมอัตตะนี้สถิตอยูทุกหนทุกแหง ในโลก แตบางก็เช่ือวาปรมอัตตะนี้สถิตอยูในสวรรค ไมมีใครเคยพบเห็นพระผูเปนเจาหรือปรมอัตตะ ดวยเหตุนั้น ความเช่ือในชีวอัตตะ ปรมอัตตะ และเร่ืองพระผูเปนเจาเปนผูสราง

อนัตตลกั ขณสูตร ๑๕ โลกจึงเปนเพียงการคาดคะเนของคนสมัยกอนพระพุทธเจาเสด็จ มาอุบัติข้ึนในโลก ดังจะเขาใจไดอยางแจมแจงจากคําสรรเสริญของ พกพรหม คําสรรเสริญของพกพรหม สมยั หนงึ่ พระพทุ ธองคไ ดเ สดจ็ ไปยงั พรหมโลกเพอ่ื ขจดั ความ เห็นผิดของพกพรหม ในคร้ังน้ัน พกพรหมเห็นพระพุทธเจาเสด็จมา ก็กราบทูลพระพุทธองควา “ทานผูนิรทุกข ทานเสด็จมาดีแลว แม วาทานนาจะมาต้ังนานแลว พรหมโลกน้ีเที่ยง ม่ันคง ยั่งยืน ดีเลิศ ไมมีการตายจากพรหมโลกน้ี”๔ พระพุทธองคตรัสตอบวา “พกพรหมกําลังหลงอยูในอวิชชา หนอ ทานกลาวส่ิงที่ไมเท่ียงวาเที่ยง กลาวส่ิงท่ีไมยั่งยืนวายั่งยืน”๕ เมื่อพรหมบริวารตนหน่ึงของพกพรหมไดยินดังนั้นไดกลาว กับพระพุทธเจาวา ขาแตพระโคดม ทานอยารุกรานพกพรหมเลย พกพรหมผูนี้เปนมหาพรหม เปนใหญในพรหมโลกนี้ เปนผูเห็น ทุกอยาง มีอํานาจเหนือสรรพสัตว เปนผูสรางโลกและสรรพสัตว ท้ังหลายในโลก เปนผูประเสริฐสูงสุด เปนผูแตงต้ังกษัตริย พราหมณ มนุษย และสัตวทั้งหลาย เปนบิดาของสรรพส่ิงท้ังอดีตและอนาคต ดังน้ันทานจงสรรเสริญพกพรหม๖