Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กาลานุกรม

กาลานุกรม

Description: กาลานุกรม

Search

Read the Text Version

ชมพทู วปี ไดผ้ ู้นำ� ใหม่ โคปาละ ซ่ึงเปน็ ชาวพทุ ธ แตใ่ นระบบของ พราหมณ์เปน็ คนวรรณะศทู ร ได้ตง้ั ราชวงศ์ปาละข้นึ ใน พ.ศ. ๑๒๙๓ (ค.ศ. 750) หลงั จากสิน้ พระเจ้า แถบรฐั พิหาร และเบงกอลในปจั จุบัน (คลมุ ดนิ แดนที่ หรรษวรรธนะแล้ว ชมพทู วีประส่�ำระสายนานเกือบ ๑ เคยเปน็ ของราชาศศางกะดว้ ย) ศตวรรษ ศนู ย์อ�ำนาจกระจดั กระจาย ครนั้ ถึงประมาณ พ.ศ. ๑๒๙๓ ทางด้านตะวันออก ในภาวะที่บา้ นเมืองไร้ กษตั รยิ อ์ งคท์ ี่ ๒ ไดข้ ยายดนิ แดนไปถงึ กนั ยากพุ ชะ ขื่อแป ประชาชน (คนสว่ นใหญใ่ นแถบนเ้ี วลาน้ันถือได้วา่ และต้ังเมอื งหลวงท่ปี าฏลบี ตุ ร เปน็ ชาวพทุ ธ) ได้ประชมุ กันเลือกผนู้ �ำท้องถ่ินคนหน่ึงช่อื โคปาละขึ้นเป็นกษตั ริย์ของตน พระพทุ ธรปู ศิลปะปาละ ยุโรป สนิ้ วงศ์กาหลิฟ เร่ิมวงศ์ใหม่ อาหรับท�ำกระดาษได้จากจีน ทะเลดำ� ไซบีเรยี พ.ศ. ๑๒๙๓ (ค.ศ. 750) กาหลฟิ วงศอ์ ุมยั ยัด พ.ศ. ๑๒๙๔ (ค.ศ. 751) ในยุทธการแห่งแมน่ ้�ำ แคทสะเเปลยี น (Umayyad caliphate) ทีด่ ามัสกัส ถูกชงิ อ�ำนาจ ผู้มีชัย ตาลาส (Battle of Talas) แถบเตอร์กีสถาน ทพั จนี เมดเิ ตทอะเเลรเนียน ดามสั กสั ไดต้ ั้งวงศแ์ อบบาสดิ (Abbasid caliphate) ข้ึนเปน็ วงศ์ พา่ ยแพแ้ กท่ ัพมุสลมิ อาหรับ ท�ำใหจ้ ักรวรรดิจีนในอาเซยี เตอรก์ สี ถาน ใหม่ และไดใ้ หก้ ำ� จัดล้างโคตรกาหลิฟวงศ์เก่าหมดส้ิน (หนี กลางถึงอวสาน อียปิ ต์ ไปได้ ๑ คน) แบกแดด บากเตรีย ตาลาส กูจา มุสลิมอาหรับจบั ช่างฝีมือจีนเป็นเชลยไปแบกแดด ทะเลแดง จนี ชา่ งจนี นักท�ำกระดาษ ได้ท�ำกระดาษให้แกน่ ายมุสลมิ เมกกะ เปอร์เซีย แคชเมยี ร์ ทเิ บต เขมร ตรงจงั หวะทจี่ ะหนนุ ยุคใฝว่ ิทยาท่ีนัน่ และกวา่ จะถึงปี อาหรบั กนั ยากพุ ชะ ๑๓๓๘ (ค.ศ. 795) อุตสาหกรรมผลติ กระดาษก็ตง้ั ม่ันใน แบกแดด อาฟริกา อทาหะเรลบั เบองก่าวอล จากชาวมุสลมิ วิธที �ำกระดาษก็แพร่ไปในอาเซีย ยโุ รป อาฟริกา 88 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

ปาละ ราชวงศ์พทุ ธสดุ ท้าย ปาละ+สถานศกึ ษา น�ำวทิ ยาส่ศู รวี ิชยั ราชวงศ์ปาละ ซง่ึ ลว้ นเปน็ กษัตรยิ ช์ าวพุทธ ได้ มหาวทิ ยาลัยเหล่าน้ีเจริญตามแบบอย่างของ ส่งเสริมการศกึ ษาศาสนา ศิลปวทิ ยาและวฒั นธรรมเป็น นาลนั ทา ซ่งึ อยู่ไม่ไกล (โอทันตปรุ ะอยูห่ า่ งนาลันทาเพยี ง อยา่ งยิง่ ราชาองคท์ ่ี ๑ ที่ ๒ ท่ี ๓ และที่ ๑๐ ได้ต้ังมหา ๖ ไมล์) วหิ าร คอื มหาวทิ ยาลัยใหม่ขึน้ พระองค์ละ ๑ แห่ง คอื โอทันตปุระ (ราว พ.ศ. ๑๒๘๘) วิกรมศิลา (พ.ศ. ๑๓๕๓) ตลอดยคุ ปาละ (จบราว พ.ศ. ๑๖๖๓/ค.ศ. 1120) โสมปรุ ะ (พ.ศ. ๑๓๖๓) และชคทั ทละ (พ.ศ. ๑๖๓๓) นี้ วิทยาการและศลิ ปวฒั นธรรมในนามแห่งพระพุทธ- ศาสนา ไดแ้ พรจ่ ากชมพทู วปี ไปยังศรวี ชิ ัย ตามเส้นทาง การคา้ ขาย วิกรมศิลา อติ าลี บีแซนทนี ทะเลแคสเปยี น กาหลฟิ แบกแดดใฝว่ ิทยา กาหลฟิ ทแี่ บกแดด วงศแ์ อบบาสดิ น้ี (พ.ศ. ๑๒๙๓- ๑๕๙๘=ค.ศ. 750-1055) หนั มาสนใจสง่ เสริมศิลปวทิ ยา ทะเลด�ำ พ.ศ. ๑๓๐๕ (ค.ศ. 762) กาหลฟิ วงศใ์ หม่ คือ (ราชาฮารนู อลั ราษจดิ /Harun al-Rashid ในนยิ าย วงศแ์ อบบาสดิ ยา้ ยเมอื งหลวงจากดามัสกัส มาต้ังที่ อาหรบั ราตรี ก็คอื กาหลิฟ องคท์ ี่ ๕ แหง่ แบกแดด ซง่ึ คอนสแตนตโิ นเปิลซิชิลี เฮรตั กาบลุ แบกแดด เริม่ ตน้ ยคุ ใหม่ ครองราชยใ์ น พ.ศ. ๑๓๒๙-๕๒ และเป็นปราชญ์ ส่งเสริม ดามัสกัส วรรณคด)ี การคา้ ขายก็เป็นชอ่ งทางถา่ ยทอดความรู้ เยรซู าเล็มแอบบาสดิทะเลเมดเิ ตอเรเนยี น ฮารูน อัล ราษจิด มกี ารแปลผลงานของกรีกเป็นภาษาอาหรับ (โดย อเลกซานเดรีย เฉพาะในชว่ งต่อจาก พ.ศ. ๑๓๖๒ มกี ารแปลกนั มาก แบกแดด ระยะหน่งึ ) น�ำความรจู้ ากอินเดียมาใชแ้ ละเผยแพร่ แลว้ ชาวมุสลมิ อาหรบั กพ็ ัฒนาความรูน้ ้นั ๆ ข้นึ อกี ทำ� ให้เกดิ อยี ิปต์ มะดีนะฮ์ อ่าวเปอรเ์ ซีย โอมาน ยุคทองของศิลปวิทยาอสิ ลาม เมกกะ ทะเลอาหรบั ในยุคน้ี แบกแดด และเชียงอาน ไดช้ ่ือวา่ เป็น ๒ มหานครใหญท่ ส่ี ดุ ในโลก ทะเลแดง เยเมน พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 89

ข) ยุคมุสลมิ เข้าครอง มุสลิมอาหรับท�ำลายมหาวิทยาลยั วลภี ระลอกท่ี 1. มสุ ลิมอาหรบั พ.ศ. ๑๓๑๘ (ค.ศ. 775) ชนมุสลมิ อาหรบั ทีม่ า ครองแควน้ สินทต์ งั้ แต่ พ.ศ. ๑๒๕๕ (ค.ศ. 712) ยกทพั มา ทางเรอื เข้าตีเมืองวลภี สงั หารพระเจา้ ศลี าทิตยท์ ี่ ๖ ล้ม ราชวงศ์ไมตรกะ และทำ� ลายล้างพระนครพนิ าศลงโดย ส้ินเชิง โดยการโจมตีของชนมุสลมิ อาหรบั ทที่ ำ� ลายเมือง วลภนี ัน้ มหาวทิ ยาลยั วลภีก็ไดถ้ ูกทำ� ลายลงดว้ ย เปน็ มหาวทิ ยาลยั พุทธศาสนาแหง่ แรกที่ถกู ท�ำลาย (ถ้าไมน่ บั ตกั สลิ า) และพินาศอยา่ งไมเ่ หลอื แมแ้ ตซ่ าก อารยภฏั วทิ ยา จากอินเดยี ส่ยู ุโรป (มีนักประวัตศิ าสตรก์ ล่าววา่ ดาราศาสตรน์ นั้ 90 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก อินเดียรบั ต่อจากเมโสโปเตเมยี และกรีก แล้วเฟ่ืองอยู่ วิทยาการของชมพทู วปี โดยเฉพาะทเี่ จรญิ สืบตอ่ เพียงระยะส้ันๆ จากนั้นก็เบนไปทางโหราศาสตร์ แต่ใน มาราว ๕ ศตวรรษ ในยุคมหาวทิ ยาลยั นาลนั ทาและวลภี ดา้ นคณิตศาสตร์ อินเดียพัฒนาไกลมาก ทเี่ ป็นอย่างนี้ นับแตส่ มยั คปุ ตะ ถงึ หรรษรชั กาล ได้รับการถา่ ยทอด นา่ พจิ ารณาว่า การเหจากดาราศาสตรไ์ ปหาโหราศาสตร์ สโู่ ลกตะวันตกโดยชาวมุสลมิ อาหรับ ทั้งคณติ ศาสตร์ เป็นเพราะการหันไปนยิ มตันตระหรอื ไม่ สว่ นคณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ แพทยศาสตร์ ปรชั ญา เชน่ ยงั ไม่เสอื่ ม เพราะโหราศาสตร์ก็ตอ้ งค�ำนวณมาก) อารยภฏั (ชาวอาหรับเรยี กเพ้ียนเป็น Arjehir) ในยุคกาหลิฟแหง่ แบกแดดน้ี อลั -ขวารซิ มิ (al- แห่งปาฏลีบตุ ร ไดแ้ ตง่ ตำ� ราชอื่ อารยภฏีย์ ไวเ้ มอื่ พ.ศ. Khwarizmi, ช่อื ของเขาเปน็ ท่มี าของคำ�ว่า Algorithm) ๑๐๔๒ โดยประมวลหลักคณติ ศาสตร์-ดาราศาสตร์ รวม ทม่ี ชี ว่ งชวี ติ ใน พ.ศ. ๑๓๒๓-๑๓๙๓ ไดเ้ ขยี นตำ�รา นำ�ตวั เลข ทงั้ ระบบเลขสบิ ตัว การใชเ้ ลข ๐ ทศนยิ ม การทโี่ ลกหมนุ อารบิก (เดิมคอื ตัวเลขอนิ เดยี ฝรัง่ บัดนี้ จงึ เรยี กใหม่วา่ รอบตวั เอง การคำ� นวณจนั ทรคราส-สุรยิ คราส พชี คณติ ตัวเลขฮนิ ด-ู อาระบกิ /Hindu-Arabic numerals) และ และเร่ืองสมการ ความรู้อนื่ ๆ ทางคณิตศาสตร์-ดาราศาสตรม์ าเผยแพร่รวม ทง้ั ไดใ้ หก้ ำ�เนดิ คำ�ว่า Algebra (คำ�เดิมของเขาว่า al-jabr) พรหมคปุ ต์ แหง่ อุชเชนี (ชว่ งชวี ิต พ.ศ. ๑๑๔๑- ๑๒๐๘) กแ็ ตง่ ตำ� ราคณติ ศาสตรไ์ ว้ มอี ยเู่ ลม่ หนง่ึ ชอื่ พชี คณติ

นาลนั ทายงั อยู่ แต่แพรต่ นั ตระ เร่มิ แต่พระศานตรักษติ ต่อด้วยพระปทั มสัมภวะ (ไป ใกลๆ้ กัน องค์หลงั ไป พ.ศ. ๑๒๙๐=ค.ศ. 747) และใน มหาวทิ ยาลัยนาลันทา และมหาวทิ ยาลัยอืน่ ๆ ช่วงตอ่ มา ก็ไดพ้ ระอาจารย์จากมหาวิทยาลัยใหมๆ่ เหลา่ ของปาละ แม้จะยงั คงอยู่ แต่ในดา้ นการศกึ ษาพุทธ- นด้ี ้วย ทเ่ี ดน่ มากคอื พระอตีศะ หรอื ทปี งั กรศรีชญาณ ศาสนา ถอื ไดว้ า่ เกดิ ความเสอ่ื มโทรมภายใน โดยเฉพาะ แหง่ วิกรมศิลา ซึง่ ไปทิเบต ประมาณ พ.ศ. ๑๖๐๐ ความนิยมลัทธิตนั ตระก�ำลงั แผค่ รอบง�ำ มหาวทิ ยาลยั นาลันทา เวลาน้ัน นาลนั ทากลายเปน็ ศูนยก์ ลางการศกึ ษา พทุ ธศาสนาแบบตันตระ และมีการปฏบิ ัตติ ามลัทธิพธิ ี ของตันตระ ดังนนั้ ตนั ตระ (รวมท้ังไสยศาสตร์) จงึ เฟือ่ งฟู ไปทว่ั อน่งึ ในชว่ งเวลานี้ กษตั ริยท์ เิ บตไดน้ ิมนต์พระ อาจารย์จากนาลนั ทาไปสอนและน�ำชาวพทุ ธในทิเบต จะเขา้ ยุคเตอรก์ เปน็ สุลต่าน พทุ ธศาสนาแบบมหายาน เคยเจริญในภาคใต้ของไทย ในท่สี ดุ ยคุ แหง่ วทิ ยาการและสนั ติจะจบลง กาหลฟิ อาหรับทีแ่ บกแดดจะส้นิ อ�ำนาจ เม่อื สหุ นมี่ ุสลมิ พ.ศ. ๑๓๐๐ (ค.ศ. 757) ในชว่ งเวลานี้ ดินแดน พวกเซลจูกเตอรก์ (Seljuq/Seljuk) จะสยบพวกชอี ะฮ์ ที่เป็นภาคใต้ของประเทศไทยปัจจบุ นั ไดร้ วมอยใู่ นเขต โดยมายึดแบกแดด ใน พ.ศ. ๑๕๙๘ (ค.ศ. 1055) และ ของอาณาจักรศรวี ชิ ยั พุทธศาสนาแบบมหายานจงึ ไดส้ ถานะสลุ ต่าน เป็นผคู้ รองอ�ำนาจที่แทต้ อ่ ไป รงุ่ เรืองในดินแดนแถบนด้ี ว้ ย ดงั มเี จดียพ์ ระบรมธาตไุ ชยา และพระบรมธาตนุ ครศรีธรรมราช กบั ทง้ั ปฏมิ าของ พระอวโลกิเตศวรโพธสิ ตั ว์ เปน็ ตน้ เปน็ ประจกั ษพ์ ยาน พระบรมธาตไุ ชยา พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยุตฺโต ) 91

ปาละ กับทเิ บต และศรวี ิชยั อนิ เดยี ค่อยสงบได้ ในยุคแบกแดด ราชวงศ์ปาละตดิ ตอ่ กับทเิ บต และโดยเฉพาะท้งั พ.ศ. ๑๓๐๕-๑๕๙๘ (ค.ศ. 762-1055) เปน็ ยุค การค้าและการพระศาสนา กับอาณาจักรศรวี ชิ ยั มาก กาหลิฟ วงศแ์ อบบาสิด ที่แบกแดด ซึ่งมสุ ลมิ อาหรับยัง มหาวิทยาลยั นาลันทา และวิกรมศิลา กม็ บี ทบาทสำ� คัญ เรอื งอำ� นาจต่อเนอ่ื งสืบมาต้ังแตย่ ุคกาหลฟิ ทีม่ ะดนี ะฮแ์ ละ ในทางไมตรี เม่ือถงึ ตอนน้ี การตดิ ต่อกับเมอื งจนี จึงลดลง ทีด่ ามสั กัส ไป ย้ายมาสนใจด้านทิเบต ศรวี ิชัย ตลอดถึงประเทศทง้ั หลายในอาเซียอาคเนย์ แต่เนือ่ งจากกาหลฟิ ทีแ่ บกแดดหันมาสนใจดา้ น ศิลปวทิ ยา อีกทั้งมีภาระและปญั หาใกล้ตวั ท่ตี ้องจดั การ นอกจากการศึกษา พระศาสนา และพาณชิ ย์ จงึ ทำ� ให้ชมพทู วีปค่อยสงบเพลาจากสงครามเกือบตลอด ศลิ ปะแบบปาละ อนั สืบเน่อื งจากพระพุทธศาสนา กแ็ พร่ ยคุ แบกแดดนนั้ ความนิยมออกไปด้วย เชน่ การหล่อพระพทุ ธรปู และ ภาพพทุ ธประวัติบนใบลาน เทวรปู ตา่ งๆ พระบูชาขนาดยอ่ ม และการวาดภาพ พทุ ธประวตั บิ นใบลาน ฝรงั่ จะฟืน้ จักรวรรดิโรมนั พ.ศ. ๑๓๑๑-๑๓๕๗ (ค.ศ. 768-814) พระเจ้า ชารล์ ะเมน (Charlemagne) หรือชารล์ ส์มหาราช กษตั รยิ ข์ องชนเผา่ แฟรงค์ (เผ่าชนเยอรมันพวกหน่ึง ซ่งึ เป็นท่มี าของฝร่งั เศสและเยอรมนี) รวมอำ� นาจไดแ้ ละตงั้ มหาอาณาจักรใหเ้ ปน็ การฟื้นจกั รวรรดโิ รมันขน้ึ ใหม่ ซึง่ ยืนยาวอยไู่ ด้ ๑๒๕ ปี (พ.ศ. ๑๓๔๓-๑๔๖๘=ค.ศ. 800- 925) แต่กไ็ ด้เปน็ ตน้ กำ� เนิดของ Holy Roman Empire ทต่ี ั้งตน้ ในปี 962 (พ.ศ. ๑๕๐๕) จากซ้าย: Emperor Charlemagne บรมพทุ โธ 92 กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

อาหรบั หยุด เตอร์กจะเรมิ่ บุก ศงั กราจารย์ ที่ฮินดูด้วยกนั ก็ระแวง แต่ความสงบคงอยูไ่ ด้ไมน่ านนกั พอถงึ กลางยุค พ.ศ. ๑๓๓๑-๑๓๖๓ (ค.ศ. 788-820) ช่วงชวี ติ แบกแดดน้นั พวกชนชาติขา้ งเคียงชมพูทวปี ทางดา้ น ของศงั กราจารย์ ปราชญ์ฮนิ ดู นกิ ายไศวะ ผู้ตั้งลัทธิ พายัพ ท่ไี ด้รับอสิ ลามจากมสุ ลิมอาหรับ โดยเฉพาะมุสลมิ อทไวตเวทานตะ และมงุ่ ม่ันกำ� จัดพระพทุ ธศาสนา แตโ่ ดย เตอรก์ ก็เรมิ่ ขยายอ�ำนาจแผ่อิสลามแทนมุสลมิ อาหรับ พืน้ ฐานเดิม เปน็ ทยี่ อมรบั กันวา่ อาจารย์ของอาจารยข์ อง ยคุ แห่งสงครามจงึ จะเริม่ ขึ้น เขาไดห้ ลกั ความคดิ ไปจากพทุ ธศาสนามหายาน และตวั เขาเองกถ็ กู ปราชญฝ์ า่ ยฮนิ ดดู ว้ ยกนั เรยี กวา่ เปน็ “ปรจั ฉนั น- (อนิ เดียจะเป็นสนามรบรับศกึ เตอร์กตง้ั แต่ พ.ศ. เพาทธะ” คอื เป็นคนพทุ ธแอบแฝง (ทำ� นองวา่ ทโี่ จมตี ๑๕๔๔ คอื อีกราว ๒๐๐ ปีขา้ งหนา้ ) พทุ ธศาสนาอยา่ งเตม็ ทีก่ ็เป็นปฏิกิริยาเพื่อแสดงวา่ ตนไม่ ไดเ้ ก่ียวข้องรบั อะไรไปจากพุทธศาสนา) ศงั กราจารย์ สร้าง “บรมพทุ โธ” ในยคุ ของศรีวชิ ัย จีนยกเต๋า ถึงคราวเซนขนึ้ พ.ศ. ๑๓๒๑-๑๓๙๓ (ค.ศ. 778-850) ประมาณ พ.ศ. ๑๓๘๓ (ค.ศ. 840) ทเ่ี มืองจนี ในราชวงศ์ วา่ ในชว่ งเวลาน้ี กษตั รยิ ร์ าชวงศไ์ ศเลนทรแหง่ ชวา ซงึ่ รว่ ม ถัง จกั รพรรดิหวู่จงขนึ้ ครองราชย์ ทรงถือลัทธเิ ตา๋ อยา่ ง สมยั กับศรีวชิ ัยแหง่ สุมาตรา ได้สรา้ งมหาเจดยี ์ Borobu- รุนแรง ถงึ กับไดห้ �้ำห่ันบีฑาพระพทุ ธศาสนาเต็มที่ dur หรือ Barabudur (สนั นิษฐานกนั วา่ เพ้ยี นจาก “บรม พุทโธ”) ทช่ี วาภาคกลาง (ห่างเมอื งจอ๊ กจาร์การต์ าไปทาง ประวตั ศิ าสตรจ์ นี บนั ทกึ ว่า ในช่วง ๒ ปี (พ.ศ. ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ๖๘ กม.) อนั ใหญ่โตดงั ภเู ขา เปน็ ๑๓๘๖-๑๓๘๘/ค.ศ. 843-845) หวจู่ งไดย้ ดึ ทด่ี นิ รบิ ทรพั ย์ ศิลปะแบบคปุ ตะหรือหลังคุปตะ ใชห้ นิ ภเู ขาไฟสเี ทาสรา้ ง สมบตั ิของวดั ทง้ั หลายมากมาย ทำ� ลายอาราม ๔,๖๐๐ ราว ๒ ลา้ น ตร.ฟุต รปู คลา้ ยปิระมิด ชั้นฐานและลานอีก วัด ทุบรือ้ เจดยี ์ ๔๐,๐๐๐ องค์ บงั คับภกิ ษแุ ละภกิ ษุณใี ห้ ๕ ช้ันแรก เป็นรปู สเี่ หลีย่ ม ลาน ๓ ช้นั บน เป็นรปู วงกลม สกึ ๒๖๐,๕๐๐ รูป แมก้ ารท�ำลายจะด�ำเนินไปในเวลาสน้ั แตไ่ ด้เปน็ จดุ เรม่ิ แหง่ ความเสื่อมของพทุ ธศาสนาในจีนสบื Borobudur ถกู ทงิ้ รกรา้ งไปตงั้ แตร่ าว พ.ศ. ๑๕๕๐ ต่อมา (คงจะเมือ่ ชาวพุทธหมดไป) จนกระท่ังนกั โบราณคดี ฮอลันดามาปฏสิ งั ขรณใ์ นปี ๒๔๕๐-๔ และปฏสิ ังขรณ์ครง้ั พ.ศ. ๑๓๘๘ (ค.ศ. 845) ทเี่ มอื งจีน หลังจาก ที่ ๒ เสร็จใกลๆ้ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ทางการไดร้ กุ รานบน่ั ทอนพระพทุ ธศาสนา ปรากฏวา่ พทุ ธ- ศาสนานิกายฉาน(เซน)เดน่ ขึ้นมาเป็นนิกายหลกั ของจีน พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตฺโต ) 93

ศังกราจารย์ กำ� จดั พทุ ธไดอ้ ยา่ งไร วธิ กี ารของศงั กราจารยใ์ นการกำ� จดั พระพทุ ธศาสนา พบปะแต่ละครัง้ มใิ ช่เป็นการมีชีวิตชุมชนอย่างท่ศี งั กรา- ทีส่ �ำคัญ คือ เขาเทย่ี วถกเถียงโตว้ าทะไปทว่ั ทุกถ่ินเฉพาะ จารย์ตง้ั ขน้ึ แบบวัดท่ีว่านี)้ นอกเมือง โดยไมย่ อมสอนคนในเมืองเลย เพราะเวลานน้ั พทุ ธศาสนาแมจ้ ะกำ� ลงั เสอื่ ม แตย่ งั เขม้ แขง็ ในเมอื ง พรอ้ มนน้ั กต็ วี งล้อมเมืองด้วยการจดั คณะนกั บวช รูปร่างเป็นพระ แต่ความรู้ไม่เป็นพุทธ ฮินดขู ้ึน ทำ� นองเลียนแบบสังฆะในพระพทุ ธศาสนา โดย เวลานั้น พระสงฆใ์ นพทุ ธศาสนามากระจกุ กันอยู่ ตงั้ วดั ใหญข่ ้นึ มาใน ๔ ทิศ เรยี กวา่ “มฐั ” ตามอยา่ งวัดใน ในเมอื งใหญ่ๆ ปล่อยให้ชนบทถน่ิ ห่างไกลออ่ นแอ พระ พทุ ธศาสนาทเ่ี รยี กวา่ “วหิ าร” ซงึ่ เปน็ ศนู ยก์ ลางการศกึ ษา ไมม่ ีความรู้ วัดฮินดทู ่จี ัดตัง้ โดยเนน้ ชนบทกม็ ีก�ำลังและได้ (ศาสนาพราหมณ์แต่เดิมมา ไมม่ คี ณะนกั บวช รับความนยิ ม ถงึ กับคอ่ ยๆ เปลย่ี นหรือกลืนวัดพุทธไปเปน็ เพราะพราหมณเ์ ป็นคนวรรณะสงู อยูบ่ า้ นมคี รอบครวั - วดั ฮนิ ดู (ดังมีหลักฐานชัดเจนซง่ึ ผนู้ �ำฮินดบู อกเองว่าวัด Shringeri ทรพั ย์สมบตั ิ ดังท่ชี าวบา้ นรู้จักชูชก เป็นตัวอย่าง แมว้ ่าใน ฮินดูส�ำคญั บางแหง่ ในปัจจุบันน้นั เดิมเปน็ วดั พุทธ) Math พระเวทจะมีคำ� ว่าสงั ฆะบา้ ง ก็หมายถงึ การมาประชมุ ทัพอหิ ร่านผา่ นใกล้ สันตะปาปา แตอ่ นิ เดียยงั ไมเ่ ขา้ ยคุ สงคราม จอหน์ ท่ี ๑๒ พ.ศ. ๑๔๑๔ (ค.ศ. 871) กษตั รยิ ม์ สุ ลิมวงศ์ ซาฟฟาหรดิ ทตี่ ง้ั ตัวขนึ้ ใหมใ่ นอหิ รา่ น ขยายดินแดนเขา้ มาในชมพูทวีปภาคพายัพ ต้ังแต่อัฟกานิสถานเหนอื ถึง ปากีสถานตอนใต้ ซ่ึงมุสลมิ อาหรับเคยเข้ามายึดก่อนแลว้ รวมท้งั ยดึ พามยิ านใน พ.ศ. ๑๔๑๔ (=แยง่ จากมุสลมิ พวก ก่อน) เม่ือเกง่ กลา้ ขึ้นกย็ กไปตีแบกแดดใน พ.ศ. ๑๔๑๙ แตแ่ พก้ ลับมา University of Texas Libraries 94 กาลานกุ รม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

นารายณอ์ วตารแล้ว ศวิ ะอวตารกม็ ี และระบบวรรณะกลับฟ้นื คืนมา อน่งึ นอกจากเทย่ี วโต้วาทะแล้ว ศังกราจารย์ กับ นอกจากนัน้ พวกไศวะสายศังกราจารยค์ งได้ ความคดิ เรอื่ งนารายณป์ างพุทธาวตาร-มายาโมหะ จากท่ี กุมารลิ ะผรู้ ่วมท�ำงานก�ำจดั พุทธศาสนา ได้เท่ยี วชักจงู พวกนิกายไวษณพทำ� ไว้ ในฐานะทพี่ วกตนเป็นปฏิปักษก์ ับ กษตั ริย์และผู้มีกำ� ลังทรพั ย์ก�ำลงั อำ� นาจทง้ั หลายใหเ้ ลกิ พวกไวษณพ ก็เลยสร้างเรอ่ื งพระศิวะอวตารขึ้นมา ใหต้ ี อปุ ถมั ภบ์ ำ� รงุ พุทธศาสนา ทง้ั พุทธศาสนาและตลี ัทธิไวษณพไปพร้อมกนั พทุ ธศาสนาออ่ นแรง รอวันถกู ท�ำลาย เขาแต่งความเปน็ คมั ภีร์ศังกรทคิ วชิ ยะวา่ เหล่า เทพยดาไดม้ าร้องทกุ ข์ตอ่ องคศ์ ิวะพระอิศวรเปน็ เจ้าว่า ถงึ ระยะน้ี พทุ ธศาสนาออ่ นกำ� ลงั มากจนจะถกู กลนื พระวิษณุได้เข้าสิงรา่ งของพระพุทธเจา้ แล้วดำ� เนินการให้ เขา้ ไปในศาสนาฮินดู แมแ้ ตพ่ ุทธคยา สถานทต่ี รสั รู้ ก็ถกู ประชาชนดูหม่ินพราหมณ์ รังเกียจระบบวรรณะ และ ยดึ ไปเป็นของวัดฮินดู ยังเหลอื รงุ่ เรอื งอยู่กเ็ ฉพาะในเขต ละเลกิ บชู ายญั ทำ� ใหเ้ หลา่ เทพยดาไมไ่ ดร้ บั เครื่องเซน่ อำ� นาจของราชวงศป์ าละ ซึง่ ก็จะสญู สิน้ อำ� นาจในไม่ช้า สังเวย ขอใหพ้ ระองค์ช่วย พระศิวะจึงได้อวตารลงมาเป็น ศังกราจารย์เพอ่ื ก้คู �ำสอนของพระเวท ให้การบูชายัญ กำ� เนิดจกั รวรรดโิ รมนั อันศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ราชาทีเ่ จา้ ท้ังหลายเลอื กขน้ึ มา จะเป็นจักรพรรดิ จนี พมิ พพ์ ระไตรปฎิ ก ตอ่ เมอ่ื โปป๊ /สันตะปาปาทกี่ รงุ โรมทรงสวมมงกฎุ ให้ แต่ พ่วงด้วยสรรพตำ� รา พ.ศ. ๑๕๐๕ (ค.ศ. 962) โปป๊ /สนั ตะปาปา จอหน์ กตกิ านี้ก็ไมร่ าบรนื่ ถาวร จักรวรรดนิ ี้เปน็ การรวมตัวกัน ท่ี ๑๒ ทรงถูกกษตั ริยอ์ ติ าลีคุกคาม จึงทรงขอใหก้ ษตั รยิ ์ ไดเ้ พียงหลวมๆ และมีปัญหามาแต่เร่มิ แรก เนือ่ งจากการ พ.ศ. ๑๕๑๕-๒๖ (ค.ศ. 972-983) ท่ีเมืองจนี นัก เยอรมนีมาช่วย เม่ือพน้ ภัย องค์สันตะปาปาจึงประทาน ชกั เยอ่ ย้อื อ�ำนาจระหวา่ งศาสนจกั รโรมนั คาทอลกิ กับ ปราชญ์รว่ มกับช่าง ด�ำเนินการพมิ พ์พระไตรปฎิ กด้วย รางวัล โดยทรงประกอบพธิ สี วมมงกฎุ ใหก้ ษตั รยิ ์ออตโต ฝา่ ยอาณาจกั ร และต่อมารฐั ชาติต่างๆในยุโรปกพ็ ยายาม แม่พมิ พ์ไม้ ๑๓๐,๐๐๐ ช้นิ กวา่ จะเสรจ็ ๑๒ ปี แล้วต้อง ท่ี ๑ (Otto I) แหง่ เยอรมนนี ้ัน เป็นจกั รพรรดิแห่งโรมนั ตงั้ ตัวข้นึ ท�ำใหช้ ว่ งหลงั จาก พ.ศ. ๑๘๑๖/ค.ศ. 1273 มา สร้างหอ้ งสมุดพเิ ศษเก็บรกั ษาแมพ่ มิ พไ์ ว้ ในการนพี้ ระ รวมดินแดนส่วนใหญ่ในยโุ รปตอนกลางและอติ าลเี ขา้ มา แล้ว จักรวรรดนิ ี้มีดินแดนหลักเพียงขอบเขตของราชวงศ์ จกั รพรรดทิ รงอปุ ถมั ภ์ ท�ำให้ได้พิมพ์หนงั สอื ประมวล อยภู่ ายใตก้ ารปกครองอนั เดียวกนั ของกษตั ริย์เยอรมนั ฮับสเบอรก์ (Hapsburg) ในออสเตรียและสเปน ความรูต้ า่ งๆ จำ� นวนมาก (ตอ่ ไปท่เี กาหลี พ.ศ. ๑๗๗๕ ก็ เรยี กวา่ เปน็ จกั รวรรดิโรมันอนั ศักดสิ์ ทิ ธ์ิ (Holy Roman จะมีการพิมพ์อยา่ งน้ี) Empire; H.R.E.) เหมอื นเปน็ การฟื้นจกั รวรรดโิ รมนั โบราณข้ึนมาอกี ครั้งหนึง่ จักรวรรดินีย้ ืนยาวอย่ไู ด้ ๘๔๔ ปี (พ.ศ. ๑๕๐๕-๒๓๔๙=ค.ศ. 962-1806) พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 95

ถงึ ยุคของอาณาจักรทมิฬ ๑๔๘๕ (ค.ศ. 926-942) ตลอดจนพิชิตลังกาทวีปได้หมด ปาณฑยะขึ้นเป็นใหญ่ ในแดนทมิฬ โจฬะเรอื งอำ� นาจ ในระยะ พ.ศ. ๑๕๕๗-๘๗ (ช่วงค.ศ. 1014-1044) แต่ รวมจาลกุ ยะ (ตะวนั ตก) เข้ามาด้วยไมส่ �ำเรจ็ เพราะรบ ระหว่างน้ี พวกปาณฑยะได้แขง็ เมอื งเปน็ อสิ ระ ราว พ.ศ. ๑๔๐๐ (ในช่วง ค.ศ. 850-870) หันไป แพ้ใน พ.ศ. ๑๕๙๗ (ค.ศ. 1054) ออกไป แลว้ กก็ ลับมารบชนะพวกโจฬะใน พ.ศ. ๑๘๐๐ ดูทางแดนทมฬิ ในอนิ เดียใต้ หลงั จากอาณาจักรปัลลวะ (ค.ศ. 1257) และพอถึง พ.ศ. ๑๘๒๒ (ค.ศ. 1279) ท่ีอยเู่ หนือข้นึ ไปได้เสอื่ มอำ� นาจลงราว พ.ศ.๑๓๐๐ และ ต่อมา พ.ศ. ๑๖๑๓ (ค.ศ. 1070) โจฬะก็เลยไป อาณาจกั รโจฬะก็จบสิ้นลง อาณาจักรทมิฬ โดยเฉพาะปาณฑยะและโจฬะกลบั มี รวมกับจาลกุ ยะ (ตะวันออก) ทตี่ ั้งมาแตป่ ี ๑๑๖๘ (ค.ศ. กำ� ลังขน้ึ แลว้ อีกไมช่ ้านกั อาณาจกั รเหลา่ น้ีกแ็ ยง่ ชงิ แขง่ 625) กลายเปน็ ราชวงศจ์ าลุกยะ-โจฬะ ปล่อยให้จาลุกยะ ในทส่ี ดุ ปาณฑยะ ซงึ่ มีราชธานอี ยู่ทม่ี ทรุ า อ�ำนาจกนั ตะวนั ตกอยตู่ อ่ มาจนตกเปน็ ของอาณาจกั รทอ่ี ยเู่ หนอื ขน้ึ ไป (ปัจจบุ ันเรยี กว่า Madurai แตใ่ นคัมภรี ์บาลีรนุ่ มหาวงส์ มพี วกยาทพทเ่ี ทวครี เี ปน็ ตน้ ใน พ.ศ. ๑๗๓๒ (ค.ศ. 1189) เรยี กว่า “มธุรา”) กเ็ ปน็ อาณาจกั รฝา่ ยใต้ทย่ี นื ยงอยไู่ ด้ ถงึ ราว พ.ศ. ๑๔๐๐ พวกโจฬะเขม้ แขง็ ถึงกับ ยั่งยนื ทสี่ ุด กำ� จัดพวกปัลลวะลง แล้วเร่ิมเข้าครอบครอง และทงั้ ชนะ เอาพวกปาณฑยะเขา้ มารวมดว้ ยในชว่ ง พ.ศ. ๑๔๖๙- พระนอน ท่ีศรีลงั กา สน้ิ ยคุ อนรุ าธปรุ ะ ที่โปโลนนะรวุ า 96 กาลานกุ รม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก พ.ศ. ๑๕๓๕ (ค.ศ. 992; ตัวเลขศักราชเรอื่ ง ศรีลงั กาในหลายกรณี ต�ำราทง้ั หลายบอกไว้ต่างกันมาก จงึ ขอให้ถอื โดยประมาณ) กษตั รยิ ์ทมฬิ ผรู้ กุ รานจากโจฬะ ได้ทำ� ลายเมอื งอนรุ าธปุระ ทำ� ใหล้ ังกาย้ายเมอื งหลวงไป ตง้ั ที่ปุลัตถปิ ุระ คอื โปโลนนะรวุ า/Polonnaruva ตงั้ แต่ ค.ศ. 1056 ต่อมาแตร่ าว พ.ศ. ๑๘๐๐ อนุราธปรุ ะได้ถูกท้งิ ร้างจนป่าข้นึ คลุมไปหมด กระทัง่ พ.ศ. ๒๑๗๓ จึงมชี าว อติ าลีคนหน่งึ ไปเยือนและเขียนบรรยายไว้ในหนงั สอื ของ เขา ครัน้ ถึงราว พ.ศ. ๒๔๓๔ ชาวอังกฤษท่ีมาปกครอง อาณานคิ มจึงไดด้ �ำเนนิ การศึกษาและดแู ลทางโบราณคดี

จากซา้ ย: เทวครี ี พหุพลิ หรอื โคมเตศวร นิครนถ์สำ� คัญในศาสนาเชน ยคุ แรก (กอ่ นมหาวีระ) เมอ่ื พุทธศาสนา ขณะที่กาหลิฟอาหรบั แหง่ แบกแดดไมม่ งุ่ เน้นที่จะ ท้งั ท�ำลายแย่งอ�ำนาจกนั เอง และโดยเฉพาะพวกเตอร์ก จะสญู สนิ้ จากอนิ เดีย ขยายจักรวรรดินัน้ กป็ รากฏว่า ดินแดนมสุ ลมิ น้อยใหญ่ ไดท้ �ำใหพ้ ทุ ธศาสนาถึงกับสญู สิน้ ไปจากอนิ เดยี ทเี่ กิดขึน้ จากการแผอ่ �ำนาจในยุคกาหลฟิ อาหรับแหง่ ชว่ งที่ 2. เตอรก์ -สลุ ตา่ น มะดนี ะฮ์และดามสั กสั ก่อนหนา้ นนั้ ต่างก็มพี ลงั ปรารถนา พึงสงั เกตว่า ช่วงต่อไปพวกเตอร์กจะเปน็ ใหญ่ แรงกล้าทจี่ ะขยายดนิ แดนและแผ่อสิ ลามออกไป ดงั นนั้ และนิยมเรยี กผู้ปกครองว่าสุลตา่ น แทนที่จะดำ� รงศกั ดิ์ ความสงบจึงคงอยู่ไมน่ าน แล้วอาณาจักรมสุ ลิมต่างๆ ก็ เตม็ ทเ่ี ป็นกาหลฟิ ตงั้ ตัวขึ้นมาและสงครามกเ็ กดิ ขึน้ อีก รวมทงั้ จะชิงอำ� นาจ จากกาหลิฟเองดว้ ย อาณาจักรมุสลิมท่ีแผข่ ยายในช่วงนพ้ี อจะแยกได้ เป็น ๓ เชื้อสาย คือ พวกอหิ รา่ น (ในจักรวรรดิเปอรเ์ ซยี เกา่ ) พวกเตอรก์ และพวกมงโกลหรอื พวกเร่ร่อนจาก อาเซียกลาง ทัง้ ๓ พวกนท้ี ัง้ ก่อความพินาศต่อชมพทู วีป พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตโฺ ต ) 97

เม่ือพทุ ธศาสนาสูญสนิ้ เตอรก์ ทำ� สงครามไป ก็ปล้นไป จากอนิ เดยี พ.ศ. ๑๕๔๔-๑๕๖๙ (ค.ศ. 1001-1026) ในภาวะ ระลอกที่ 2. มสุ ลมิ เตอรก์ ทอี่ นิ เดียแตกเปน็ อาณาจักรเล็กๆ นอ้ ยๆ ไม่มศี ูนย์รวม อำ� นาจย่ิงใหญ่ ทพั มุสลมิ เตอรก์ กร็ กุ เขา้ มา สุลต่านมะหะหมดั แห่งฆาซนี ครั้งนั้น สลุ ต่านมะหะหมัดแห่งฆาซนีปฏิญาณวา่ จะรกุ รบอินเดยี เพอื่ อิสลามหนหนงึ่ ทกุ ปไี ป และได้ยกทพั เขา้ ตีเมืองต่างๆ ในอินเดยี อย่างต่อเนื่อง แมจ้ ะไม่ครบทกุ ปจี ริง กไ็ ดถ้ งึ ๑๗ ครัง้ การโจมตมี ่งุ ถลม่ วดั สำ� คญั และเทวสถานใหญ่โต ทำ� ลายรปู เคารพหรือ (ถา้ เป็นวสั ดถุ าวรใหญม่ าก) ทบุ ให้ เสยี รูปทรงแล้วยึดริบทรัพยส์ ินอันมหาศาล ขนไปเมือง ฆาซนี เพือ่ ใชใ้ นการขับเค่ียวทำ� สงครามในอาเซียกลาง และสร้างอาณาจักรให้ย่ิงใหญ่ เตอรก์ ต้ังอาณาจักรรกุ เข้ามา ยคุ กาหลฟิ สงบ สุลตา่ นรบรุก ทะเล กาบลุ แคสเปียน พ.ศ. ๑๕๒๐ (ค.ศ. 977) คนมุสลมิ เตอร์ก ชื่อ โดยเฉพาะโอรส คอื สุลต่านมะหะหมัดแหง่ ฆาซนี เซบกู ตคิ นิ (Sebuktigin; เตอร์กเปน็ ชนมีถ่นิ เดมิ อยูใ่ น ซึ่งขึ้นครองใน พ.ศ. ๑๕๔๑ (ถึง ๑๕๗๓) เฮรตั ฆาซนา ละฮอร์ อาเซียกลางและกลายเปน็ มสุ ลมิ จากการแผ่อ�ำนาจของ เตหะราน อาหรับ) ไดร้ บั แตง่ ตงั้ เป็นผู้ปกครองเมืองฆาซนา ได้เปน็ กษัตริย์ยิง่ ใหญท่ ่ีสดุ ซึง่ ท�ำให้ราชวงศน์ ้ี สนิ ท์ ครองอัฟกานสิ ถาน อหิ รา่ นสว่ นใหญ่ และอินเดยี พายัพ ฆาซนาวิด (Ghasna ปจั จุบนั =Ghasni ในอัฟกานสิ ถาน ใต้ ตลอดแคว้นปัญจาบ กาบุล เมืองหลวงปจั จบุ ันลงไปราว ๑๒๕ กม.) อาหรับ อ่าว ทะเลอาหรับ แมว้ า่ คงจะดว้ ยเหตผุ ลทางการเมือง สุลต่านท่าน เปอรเ์ ซยี เซบูกติคินรบชนะกษัตรยิ ์ฮินดู ขยายดนิ แดนมาถงึ นี้ยนื ยนั ความจงรักภกั ดตี ่อกาหลฟิ แห่งแบกแดด แตไ่ ด้ เมอื งเปษวาร์ (=ปุรุษปุระในสมยั พระเจา้ กนษิ กะ) น�ำทรัพยจ์ ากสงครามแยง่ ชงิ มา สร้างอาณาจกั รใหเ้ จรญิ ด้วยศิลปะวฒั นธรรมและอลงั การจนเทียบเทยี มมหานคร ตงั้ ราชวงศฆ์ าซนาวดิ (Ghaznavid) ซง่ึ ยนื ยาว แบกแดด กว่า ๒๐๐ ปี 98 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

เตอร์กรกุ อินเดียไมอ่ าจตั้งรับ (Khajuraho) ทสี่ รา้ งข้นึ ในช่วง พ.ศ. ๑๕๐๐ เศษ ซึง่ มี ภาพแกะสลักคน-เทพเสพกามอนั โด่งดัง ท่ีเวลาน้ีนกั ยุทธการใหญ่ครง้ั แรกใน พ.ศ. ๑๕๔๔ สุลตา่ น ทอ่ งเท่ียวนิยมไปทัศนาจรกนั มาก มะหะหมดั แหง่ ฆาซนียกทพั มา้ มา ๑๕,๐๐๐ สว่ นฝ่าย อนิ เดยี กษตั รยิ ์ฮินดูนามไชยป์ าลแหง่ ปญั จาบ ไดร้ ับก�ำลัง (เทวสถานขชุรโหน้ี เหลอื รอดจากการท�ำลายของ รว่ มรบจากอาณาจักรอนื่ ๆ มที ัพม้า ๑๒,๐๐๐ ทพั ชา้ ง ทัพมสุ ลิมเตอรก์ มาได้ สนั นษิ ฐานวา่ เพราะสรา้ งไวท้ ่ีหา่ ง ๓๐๐ และทหารราบ ๓๐,๐๐๐ ส้รู บกันท่ใี กลเ้ มือง ไกล) เปษวาร์ ฝา่ ยอนิ เดยี ท่มี ีก�ำลังพลเหนอื กว่ามากมาย ได้ พา่ ยแพอ้ ย่างยับเยิน ทหารตายในทร่ี บ ๑๕,๐๐๐ คือ เกือบคร่งึ กองทัพ ทพั หน่งึ ทช่ี ่วยไชย์ปาลรว่ มรบคือกษัตริย์นนั ทะ ซง่ึ ไดต้ ง้ั อาณาจกั รฮินดรู าชวงศจ์ ันเทละขึ้นเม่ือราว พ.ศ. ๑๔๕๐-๑๕๐๐ และเป็นเจา้ ของเทวสถาน ขชุรโห ไทยอีสานและภาคกลาง มที ้ังเถรวาท ยโุ รปก�ำจดั คนนอกครสิ ต์ จากซา้ ย: มหายาน และ พราหมณ์ เข้ามาปนกนั ปรางคส์ ามยอดลพบรุ ี พ.ศ. ๑๕๕๕ (ค.ศ. 1012) รฐั เยอรมนั เรม่ิ กวาดลา้ ง persecution พ.ศ. ๑๕๕๐ (ค.ศ. 1007) ในชว่ งเวลานี้ (persecution) คนนอกรีตนอกศาสนาครสิ ต์ พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยุตโฺ ต ) 99 อาณาจกั รขอมโบราณเรืองอำ� นาจ ปกครองถึงดินแดนท่ี เปน็ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื และภาคกลางของประเทศ ไทยปัจจุบัน โดยตัง้ ละโวห้ รอื ลพบรุ ีเปน็ ราชธานแี ถบนี้ พทุ ธศาสนาแบบมหายานที่ขอมรับจากศรวี ิชยั ผสมกบั ศาสนาฮนิ ดู จึงเขา้ มาปะปนกบั พทุ ธศาสนาแบบเถรวาทท่ี สืบมาแต่เดมิ มพี ระสงฆ์ท้งั ๒ นกิ าย และภาษาสันสกฤต กไ็ ด้เขา้ มามีอิทธพิ ลมากในภาษาและวรรณคดีไทยแต่ บัดน้ัน

เตอร์กน�ำอสิ ลามสู่กลางใจอินเดยี มถุรากถ็ ูกสลุ ต่านมะหะหมดั ปล้นขนทรัพยไ์ ป แล้วเผาเมืองท้ิงใน พ.ศ. ๑๕๖๐-๑ (หลังยุคน้ีเมืองถกู สรา้ งขึ้นใหม่ แตก่ ถ็ กู ปล้นอีก ๔ คร้ัง โดยเฉพาะคร้งั ใหญ่ ใน พ.ศ. ๒๒๑๑ โดยออรังเซบ กษตั รยิ ร์ าชวงศ์โมกุล ที่ ท�ำลายลา้ งวัดทัง้ ปวงหมดสิน้ ) สุลตา่ นมะหะหมดั แหง่ ฆาซนี ไดน้ ามว่าเป็นผู้นำ� ธงชยั แห่งอสิ ลามเขา้ สูก่ ลางใจของอินเดยี สุลตา่ นมะหะหมัด แหง่ ฆาซนี อโนรธามงั ช่อ พมา่ รวมต้งั อาณาจกั ร แผ่อาณาเขต เมอื งพกุ าม แมพ้ ุกามจะเป็นผูช้ นะในการศกึ สงคราม แต่ 100 กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก พทุ ธศาสนาเถรวาทกแ็ ผ่ขยาย มอญกช็ นะในการศกึ ษา เพราะพุกามไดร้ บั เอาวัฒนธรรม ตะเลงมาเปน็ ของตน ตง้ั แต่ภาษา วรรณคดี และศาสนา พ.ศ. ๑๕๘๗ (ค.ศ. 1044) พระเจ้าอนุรุทธมหา- เปน็ ตน้ ไป ราช หรอื อโนรธามงั ชอ่ ตั้งอาณาจักรพุกาม ปราบมอญ รวมพมา่ เปน็ อันเดยี วได้คร้ังแรก เมอ่ื พระเจ้าอนรุ ทุ ธรวมพมา่ แลว้ ได้แผ่อาณาเขต มาถึงล้านนา ล้านชา้ ง จดลพบรุ แี ละทวาราวดี เป็นเหตุ พระเจ้าอนุรทุ ธแหง่ เมืองพุกามนน้ั เปน็ กษัตริย์ ให้พุทธศาสนาแบบพกุ ามจากมอญเผยแพรใ่ นดนิ แดน ของชนชาวมรัมมะท่ีรนุ แรง นบั ถอื พทุ ธศาสนาแบบ เหลา่ นดี้ ว้ ย ตนั ตระ แต่ได้เปลีย่ นพระทัยมานบั ถือพุทธศาสนา เถรวาทเมือ่ ไดท้ รงพบกับพระเถระชาวตะเลง (คือรามัญ (พกุ ามเสียแก่มงโกล คอื จกั รพรรดิกุบไลขา่ น ใน หรอื มอญ) แห่งเมอื งสะเทิม (คือสธุ รรมนคร หรือสุธรรม- พ.ศ. ๑๘๓๐) ปุระ) นามวา่ อรหันต์ (ชือ่ เดิมว่าธรรมทสั ส)ี ต่อมา เมือ่ พระเจ้าอนรุ ทุ ธไปตเี มอื งสะเทมิ ได้ ก็ขนพระไตรปฎิ กมา

จนี ปาละสิ้น เสนะคือสุดท้าย ปากีสถาน เนปาล พ.ศ. ๑๖๑๓ (โดยประมาณ; ค.ศ. 1070) ทาง ตะวันออก ในดินแดนทเี่ ปน็ ส่วนลา่ งของแคว้นเบงกอล นวทวีป บังคลาเทศ ปัจจบุ นั มรี าชวงศเ์ สนะซ่งึ เป็นฮินดู ต้งั อาณาจักรใหม่ขนึ้ ท่ีเมอื งนาเทีย (Nadia ปจั จบุ นั = นวทวีป/Navadwip/ อินเดีย Nabadwip อยู่เหนือเมืองกลั กัตตาตรงขนึ้ ไปเพยี ง ๙๐ กม. หรอื จากปตั นะลงไปทางตะวนั ออกเฉียงใต้ ๔๑๐ กม. ตอนแรกเสนะขึ้นต่ออาณาจักรปาละ แต่ตอ่ มา ไดต้ ั้งตัวเปน็ อสิ ระ และอกี ไม่ช้า ราว พ.ศ. ๑๖๓๘ (ค.ศ. 1095) อาณาจกั รพทุ ธของราชวงศป์ าละก็สิ้นอำ� นาจ และ ราชวงศ์เสนะได้แผ่ขยายเขา้ แทนท่ีท่วั เบงกอล จนถึง พิหารตอนเหนอื เทคโนโลยี: จีนคืบอกี ก้าว เข้าแบกแดด โดยอ้างวา่ มาคมุ้ ครองกาหลิฟ ซงึ่ เปน็ ฝา่ ย นกิ ายสหุ น่ี ใหพ้ น้ ภัยจากพวกชอี ะฮ์ แล้วไมช่ ้ากร็ บั สถานะ พ.ศ. ๑๕๘๘ (โดยประมาณ; ค.ศ. 1045) ที่ เปน็ สลุ ต่าน บัญชาแบกแดด กาหลฟิ อาหรบั ก็สิน้ อ�ำนาจ เมอื งจนี มผี ู้ประดษิ ฐ์ตัวอักษรเรยี งพิมพข์ น้ึ ใช้เป็นครั้ง แรก โดยใชต้ ัวดนิ เผา (ในยุโรป เพิ่งมรี ะบบใช้ตวั อกั ษร เกดิ มหาวทิ ยาลัยในยโุ รป เรียงพิมพ์ โดยกูเตนเบอร์ก/Gutenberg ประดษิ ฐข์ น้ึ ท่ี เยอรมนี ในปี ๑๙๙๓/1450) พ.ศ. ๑๖๓๑-๑๗๑๐ (ค.ศ. 1088-1167) มหา- วทิ ยาลยั แรกของยโุ รป (และโลกตะวนั ตก) เกดิ ขึ้น คอื อาหรบั ลง เตอร์กรุ่ง ม.โบโลนยา (Bologna ค.ศ. 1088) ม.ปารสี (Paris ราว ค.ศ. 1150) และม.ออกซฟอร์ด (Oxford ค.ศ. 1167) พ.ศ. ๑๕๙๘ (ค.ศ. 1055) ขณะที่สลุ ต่านทีฆ่ าซนี เรอื งอำ� นาจข้นึ นนั้ กาหลฟิ ท่แี บกแดดกก็ ำ� ลังออ่ นแอลงๆ (พึงเทยี บ มหาวทิ ยาลยั ในชมพทู วีป โดยเฉพาะ ม.นาลนั ทา และ ม.วลภี ท่ีเกิดมากอ่ นค่อนสหัสวรรษ ต่อมาในช่วงท้าย ไดม้ ีชนมสุ ลมิ เตอรก์ อกี พวกหน่ึง และใกลจ้ ะถกู ทำ� ลายหมดในอีกไมช่ า้ ) จากอาเซยี กลาง เรียกวา่ เซลจกู (Seljuq หรือ Seljuk) บนจากซ้าย: ตัวเรียงพิมพ์โลหะ, ม.โบโลนยา ล่างจากซ้าย: ม.ปารีส, ม.ออกซฟอรด์ พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 101

เสนะ ฟน้ื ฮนิ ดูและระบบวรรณะ และลทั ธิตันตระแบบฮินดู ขณะที่มหาวทิ ยาลยั พุทธยคุ นน้ั รวมทงั้ นาลันทาก็เน้นตันตระ จึงเป็นยุครุ่งเรืองของ พ.ศ. ๑๖๓๘ (ค.ศ. 1095) ราชวงศ์เสนะของฮนิ ดู ตนั ตระ (ซึง่ ตามหลกั ฐานพบที่ทิเบตว่า เมอ่ื ถกู ทพั มุสลิม แผอ่ �ำนาจเข้าแทนท่รี าชวงศป์ าละมากข้นึ ๆ (ถอื วา่ ปาละ บุก กห็ วงั จะเอาชนะมสุ ลิมดว้ ยเวทมนตร์) ส้ินเมอ่ื รามปาลสวรรคตใน พ.ศ. ๑๖๖๓) และไดฟ้ ื้นฟู ศาสนาฮินดู โดยเฉพาะทำ� ระบบวรรณะทีผ่ ่อนคลายลงไป นาเทียหรือนวทวีปนี้ ได้เป็นศนู ยก์ ลางศกั ดิ์สทิ ธิ์ ในสมยั พทุ ธของปาละให้กลับเข้มข้นึ มา อกี แหง่ หน่ึงของฮนิ ดู ดังมีสมญาว่าเป็น “พาราณสีแหง่ เบงกอล” ราชวงศเ์ สนะส่งเสริมสถาบันการศกึ ษาของฮินดู ในเมืองหลวง ให้เป็นมหาวิทยาลยั นาเทยี หรือนวทวีปท่ี รุ่งเรืองของฮินดู นาเทยี ศกึ ษาเนน้ หนกั ทางตรรกศาสตร์ ครเู สด: ครสิ ต์-อิสลาม โปป๊ เออร์บนั ท่ี ๒ พ.ศ. ๑๖๓๘ (ค.ศ. 1095) โดยการเรยี กร้อง ปลุกเรา้ ของโปป๊ เออรบ์ ันท่ี ๒ (Pope Urban II) ประเทศ ครสิ ตท์ ง้ั หลายในยโุ รปรวมกำ� ลงั จดั ทพั ยกไปชว่ ยจกั รวรรดิ บแี ซนทีนส้มู ุสลิมเซลจกู เตอรก์ และกแู้ ผ่นดินศักด์สิ ิทธ์ิ คอื เยรูซาเล็มคนื จากมสุ ลิม เปน็ สงครามศาสนาระหว่าง ครสิ ตก์ ับอิสลาม เรยี กว่าครูเสด (Crusade=สงคราม “ไม้กางเขน”) ครั้งแรกฝ่ายครสิ ตย์ ดึ เยรูซาเล็มไดใ้ นปี ๑๖๔๒ แต่ ยอ้ื แย่งกันไปมา ในท่สี ดุ ทางฝ่ายมสุ ลิมกย็ ึดคืนกลบั ไป ทำ� สงครามกนั นาน ๒๐๐ ปี จงึ ยุติใน พ.ศ. ๑๘๓๔ (ค.ศ. 1291) 102 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

Dhakeshwari วิหารพระวิษณุ สรา้ งโดยกษตั รยิ ์ แห่งราชวงศ์เสนะ อารยธรรมเก่าในแดนทีม่ าเป็นอเมริกา พ.ศ. ๑๖๔๓-๒๐๗๕ (ค.ศ. 1100-1532) จักรวรรดอิ ินคา (Inca Empire) เจริญขน้ึ มาในอเมรกิ าใต้ (มีศนู ย์กลางอยแู่ ถวเปร)ู นับถือศาสนาบูชาพระอาทิตย์ และเชื่อวา่ ราชาของตนสบื เชื้อสายจากพระอาทิตย์ มี สถาปัตยกรรมทีเ่ จริญได้สรา้ งถนนและระบบชลประทาน เปน็ อันมาก แต่ในที่สดุ ถงึ อวสานเพราะการรุกรานของ สเปน นครวัต อนสุ รณแ์ ห่ง จากซ้าย: อารยธรรมขอมโบราณ อินคา นครวัต พ.ศ. ๑๖๕๖-ราว ๑๖๙๓ (ค.ศ. 1113-c1150) ใน รชั กาลพระเจา้ สูรยวรมันท่ี ๒ ขอมโบราณสรา้ งเทวสถาน นครวัต พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 103

สุลตา่ นใหม่ ใชว้ ธิ ีเกา่ : รบมา ปล้นไป เรมิ่ ยคุ มสุ ลมิ ครองอนิ เดยี The Qutab Minar พ.ศ. ๑๗๑๖ (ค.ศ. 1173) มูฮัมหมัดแห่งฆรู ์ หนั พ.ศ. ๑๗๔๙ (ค.ศ. 1206) กุตุบ-อดุ -ดนิ แม่ทพั รกุ -ท�ำลายล้างงา่ ยๆ ไมม่ ีการต่อสู้ มาบกุ ทางอนิ เดีย โดยในระยะแรกใชว้ ิธกี ารแบบสุลต่าน ทหารทาสของมูฮมั หมัดแห่งฆูร์ เท่ียวรบอยู่ในอินเดยี เมือ่ มะหะหมัดแห่งฆาซนเี มื่อเกอื บ ๒๐๐ ปีก่อน คอื ยกทพั เจ้านายสิ้นแล้ว ไดป้ ระกาศตง้ั ตัวเป็นสลุ ตา่ นแหง่ เดลี เริม่ ระหวา่ งน้ัน แมท่ พั อีกคนหนึ่งของมฮู มั หมดั แหง่ มาถลม่ เก็บกวาดทรพั ย์หนหนึ่งๆ ทุกปี ราชวงศ์มุสลิมแรกทป่ี กครองอนิ เดีย และเป็นราชวงศ์ทาส ฆรู ์ ชอ่ื บกั ข์ตยิ าร์ ขัลยี (Bakhtiyar Khalji หรอื Iktiar (แมมหลูก/Mamluk [Slave] dynasty) วงศแ์ รก Khilji) ได้ไปรกุ รบในอินเดยี ภาคตะวันออก ตอ่ มา เมอื่ มฮู ัมหมดั ยดึ ละฮอร์ ล้มราชวงศฆ์ าซนา วิดลง ไดเ้ ป็นใหญ่ในอนิ เดยี เหนอื แล้ว แต่ทางด้านเมอื ง บกั ข์ตยิ าร์ ขัลยี เป็นผ้ดู ำ� เนินการข้นั สุดท้ายใน ฆูร์ ยงั มีภาระตอ้ งจดั การกบั เตอร์กกลุม่ อื่น ก็เลยมอบให้ การกำ� จดั พระพทุ ธศาสนาให้หมดไปจากอินเดีย เปน็ การ แมท่ ัพชอ่ื กุตุบ-อุด-ดนิ ดแู ลดา้ นนี้ สว่ นตนเองไปรบดา้ น รบทำ� ลายลา้ งข้างเดยี ว โดยไม่มีการต่อสู้ อาเซียกลาง 104 กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

พอยคุ มุสลมิ เร่มิ พทุ ธฯ ก็ร้าง มหาวทิ ยาลัยพทุ ธศาสนาทุกแหง่ ถกู ทำ� ลาย (โสมปรุ ะถกู พราหมณ์ผ้คู รองเมอื งเผาไปก่อนแลว้ ใน พ.ศ. พ.ศ. ๑๗๔๑-๑๗๕๐ (ค.ศ. 1198-1207) ๑๕๙๓) เฉพาะแหง่ ท่รี เู้ วลาชัดคอื โอทันตปุระถกู ถลม่ บกั ขต์ ยิ าร์ ขัลยี หรือขิลยี ยกกองทัพมสุ ลมิ เตอรก์ บุกเข้า ทำ� ลายเผาราบ และวกิ รมศิลาไม่เหลอื แม้แตซ่ ากใน พ.ศ. มาแถบพิหารและเบงกอล ๑๗๔๑ ส่วนชคัททละถกู ท�ำลายใน พ.ศ. ๑๗๕๐ เหตกุ ารณ์ตอนนี้ ผเู้ ขยี นประวตั ิศาสตรช์ าวมสุ ลมิ เม่อื ทัพมุสลมิ เตอร์กประสบความส�ำเรจ็ ในการรบ- เอง ได้บันทึกไว้ดว้ ยความภมู ใิ จวา่ ขลั ยไี ดเ้ ผาทำ� ลาย ทำ� ลาย ฆา่ คนท่ไี ม่ยอมเปลีย่ นศาสนาและพระภกิ ษสุ งฆ์ อาคารสถานท่ี ยดึ เงินทองทรพั ย์สิน และใหค้ นเลอื กเอา จนหมดส้นิ เผาวดั และกวาดขนเอาทรัพย์สินไป แลว้ ระหว่างอิสลามกบั ความตาย โดยทำ� การท้งั หมดนน้ั เพ่อื พระพุทธศาสนากส็ ูญส้นิ จากชมพทู วปี อสิ ลาม พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตฺโต ) 105

เหลือแตฮ่ นิ ดู ยงั ส้กู บั มสุ ลมิ ตอ่ ไป แมส้ ลุ ตา่ นและแม่ทพั มสุ ลมิ จะครองอินเดยี ภาค เหนอื ไดใ้ นขน้ั ตน้ นแ้ี ลว้ กย็ งั มภี าระในการสูร้ บปราบ เมอื่ ราชวงศม์ ุสลิมของสุลต่านแห่งเดลเี รมิ่ ต้นใน ปรามพวกฮินดทู แี่ ข็งข้อ และขับเคย่ี วกบั มสุ ลมิ ด้วยกนั ไป พ.ศ. ๑๗๔๙ แลว้ ก็ถอื วา่ ประเทศอนิ เดยี เข้าสยู่ ุคการ อีกหลายรอ้ ยปี จนจบลงด้วยการตกเปน็ เมืองขน้ึ ของฝร่งั ปกครองของมสุ ลิม อังกฤษในทีส่ ุด เรือ่ งราวของพระพทุ ธศาสนา ท่เี จริญรุ่งเรืองใน นักบวชฮนิ ดู อนิ เดยี มา ๑๗๔๑ ปี ก็จบไปแตบ่ ดั น้นั ขลั ยีกวาดล้างดนิ แดนแถบแคว้นพหิ ารปจั จบุ ันใน ช่วง พ.ศ. ๑๗๔๑ เสร็จแลว้ ก็รุกตอ่ ลงไปทางเบงกอล ปี ต่อมากเ็ ข้านาเทยี กษัตรยิ ์ฮินดลู ักษมณเสนหนีออกจาก วงั ไปหลบซอ่ นในวดั ฮนิ ดู ทีส่ ุดก็สวรรคตใน พ.ศ. ๑๗๔๕ ราชวงศเ์ สนะก็ถงึ กาลอวสาน เตอรก์ มา ระลอกใหม่ มูฮมั หมัดไปรบด้านอาเซียกลาง แตไ่ ม่สำ� เรจ็ ผล ด้วยดี และประสบปัญหาตา่ งๆ ในทสี่ ุดไดถ้ ูกลอบสังหาร พ.ศ. ๑๗๑๖ (ค.ศ. 1173) ชนมสุ ลิมเตอร์กอกี ในพ.ศ. ๑๗๔๙ (ค.ศ. 1206) พวกหน่ึง มผี นู้ ำ� เรียกว่า “มูฮัมหมดั แห่งฆูร”์ (Muham- mad of Ghur) ไดต้ ั้งอาณาจักรขึน้ ท่เี มืองฆรู ์ หรือเฆอร์ (Ghur ปัจจุบัน=Ghowr ในอัฟกานสิ ถานตะวนั ตกกลาง) มฮู ัมหมดั แหง่ ฆูร์ จะครองความเปน็ ใหญใ่ นอาเซีย กลาง แตไ่ ม่ส�ำเร็จ จึงหนั มาบกุ ทางอนิ เดยี ใน พ.ศ. ๑๗๒๙ (ค.ศ. 1186) มฮู มั หมดั รกุ เข้ามา ยึดละฮอร์ (เมอื งหลวงใหมข่ องราชวงศ์ฆาซนาวิดของ สุลต่านมะหะหมัด ซงึ่ ย้ายมาจากฆาซนา ในพ.ศ. ๑๗๐๓) ท�ำให้ราชวงศฆ์ าซนาวิดจบสน้ิ ลง University of Texas Libraries 106 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

มหาวทิ ยาลัยฮนิ ดู อยู่รอดได้ ฮนิ ดูก็อปุ ถัมภ์บำ� รงุ มหาวิทยาลยั พุทธศาสนาในฐานะเปน็ สถานศึกษา) จึงหันมาส่งเสรมิ อยา่ งไรก็ตาม นา่ สังเกตวา่ ทัพมสุ ลิมเตอร์กไมไ่ ด้ ทำ� ลายมหาวทิ ยาลัยนาเทยี (นวทวีป) แตน่ าเทยี กลบั ไดเ้ ป็นศนู ย์กลางการศึกษาที่เจรญิ ร่งุ เรอื งในยคุ ทีม่ ุสลมิ ปกครองตอ่ มาอีกหลายรอ้ ยปี (พ.ศ. ๑๗๔๑-๒๓๐๐=ค.ศ. 1198-1757) ที่เปน็ อยา่ งน้นั อาจเปน็ เพราะวา่ นักรบมสุ ลมิ เตอร์กมาถึงนาเทยี เม่ือการรบเสรจ็ ส้นิ ไดเ้ วลาทจ่ี ะ จดั การบา้ นเมือง และผปู้ กครองมสุ ลิมเตอร์กไดร้ ับรวู้ า่ มหาวิทยาลัยท้งั หลายในชมพทู วปี เป็นเกียรตยิ ศของ อาณาจกั ร (ดังที่ในยคุ ที่ฮินดมู ีอำ� นาจขนึ้ แล้ว ราชวงศ์ ทะเล กาบุล รบกนั ทว่ั ท้งั ขา้ งนอก ท้งั ข้างใน ยุคอาหรบั -เตอรก์ มมี งโกลมาต่อ แคสเปียน ขวาเรซมดิ สินท์ พ.ศ. ๑๗๕๘ (ค.ศ. 1215) ทางชมพูทวีปภาค จะเห็นว่า ดนิ แดนแถบนจี้ นถงึ อาเซยี กลาง ถกู พายพั ดา้ นเมืองฆูร์ และฆาซนา ทีเ่ ป็นฐานเรม่ิ แผอ่ ำ� นาจ มสุ ลมิ อาหรบั เขา้ มาทำ� ใหเ้ ปน็ มสุ ลมิ กอ่ น คร้ันมาตอน เฮรตั ละฮอร์ การชงิ อำ� นาจกนั ดำ� เนินไป เมือ่ มูฮัมหมัดแหง่ ฆรู ์ถกู ลอบ นี้ พวกชนชาตจิ ากอาเซียกลางมีเตอร์กเป็นต้น ที่กลาย สังหารใน พ.ศ. ๑๗๔๙ แล้ว กส็ ู้รบกนั ตอ่ มา เปน็ มุสลมิ แลว้ กก็ ลบั ขยายอ�ำนาจแผอ่ ิสลามไปทัว่ แล้ว เตหะราน มุสลมิ เตอรก์ ก็เข้าแทนท่ีมสุ ลมิ อาหรบั พอถงึ พ.ศ. ๑๗๕๘ อาณาจักรฆรู ์ กถ็ กู ยดึ โดย พวก ขวาเรซม-์ ชาห์ ซึง่ มอี ำ� นาจขน้ึ มาจนได้ครองอิหร่าน แต่สุดทา้ ยมสุ ลมิ มงโกลจะเขา้ มาเหมอื นปดิ แทนพวกเซลจูกเตอรก์ (Khwarezm-Shah กม็ ีถิ่นเดิม รายการ ในอาเซียกลาง และกลายเปน็ มุสลิมจากการแผ่อ�ำนาจ อาหรับ อา่ วเปอรเ์ ซยี ทะเลอาหรบั ของอาหรับ) Khwarezm Shah Ala Ad Din Mohammed พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยุตโฺ ต ) 107

ตันตระ-ขชุรโหเตบิ โต สภาพนัน้ ก็คอื การท่คี นคงหันมาหมกมุ่นวนุ่ วาย อินเดยี ก็ถงึ คราวตาย ด้านกามารมณ์กันมาก และอ่อนแอลง ดงั ตวั อย่าง เทวสถาน ขชุรโห (Khajuraho) ดงั กลา่ วแลว้ ข้างตน้ ที่ ควรตั้งขอ้ สงั เกตไว้ศกึ ษากนั ตอ่ ไปด้วยวา่ ลัทธิ สรา้ งข้นึ เมอ่ื พ.ศ. ๑๕๐๐ เศษ ในอาณาจกั รฮินดูของ ตันตระ ที่ยกเอาเรอื่ งการเสพกาม ตลอดจนการดม่ื สุรา ราชวงศจ์ นั เทละ ทเี่ ขา้ รว่ มท�ำสงครามต้านพวกมุสลมิ เมรยั ขึ้นมาท�ำใหม้ ีความหมายเชงิ ปรัชญาและศักดสิ์ ิทธ์ิ เตอรก์ และพ่ายแพอ้ ยา่ งยับเยินใน พ.ศ. ๑๕๔๔ พรอ้ มทงั้ เนน้ ย้ำ� เรอ่ื งเรน้ ลบั เวทมนตร์ ไสยศาสตร์ และ พิธีกรรมมากมาย ซ่งึ ได้เจรญิ ข้นึ ๆ ในพทุ ธศาสนา และ ศาสนาฮนิ ดู แลว้ แขง่ กันมา เร่มิ แตป่ ระมาณ พ.ศ. ๑๒๐๐ จนฟูสะพรงั่ ในระยะทีพ่ ทุ ธศาสนาสญู สิ้นในช่วง พ.ศ. ๑๗๐๐ น้ัน อาจเป็นพฒั นาการ (หรอื หายนาการ) ท่ี สอดคล้องกบั สภาพสังคมอินเดยี เวลานนั้ เจงกิส ขา่ น ผ่านไหนแหลกน่ัน เดลีรอด เจงกสิ ข่านไมเ่ ข้า พ.ศ. ๑๗๖๓ (ค.ศ. 1221) เจงกสิ ขา่ น (Genghis ถึงตอนนี้ อาณาจักรมสุ ลิมท้งั หลายทแี่ ยง่ ชิง Khan) ยกทพั ชนเผ่าเร่รอ่ นจากมงโกเลยี บุกตะลุยบดขย้ี อำ� นาจกันมาในดินแดนแถบนี้ ตั้งแตเ่ ซลจูกเตอร์ก กระทง่ั อาณาจกั รท้งั หลายต้ังแตจ่ ีนภาคเหนือลงมา ผ่านอาเซีย ขวาเรซม-์ ชาห์ ก็ทยอยหมดชอ่ื ไปในชว่ งใกลๆ้ กัน เป็นอนั กลาง ตลอดดินแดนแถบนี้ท่ีเปน็ อฟั กานสิ ถานปจั จบุ นั ขึน้ สู่ยุคใหม่ของประวัติศาสตร์ ทะลุอิหร่าน เขา้ ยโุ รปตะวันออก จดรัสเซียตอนใต้ ท้งั ทำ� ลายบ้านเมอื งและสังหารผคู้ นอย่างยอ่ ยยบั แหลกลาญ สว่ นทางดา้ นอนิ เดีย ซง่ึ ไม่ใชท่ างผ่านของเจงกสิ ข่าน มสุ ลมิ เตอร์กยงั คงอยู่ แต่กน็ บั วา่ ขึน้ สู่ยคุ ใหมด่ ว้ ย ดังเชน่ พามิยาน (Bamian) เมืองผา่ นส�ำคญั ท่ไี ด้ คอื เป็นยุคที่พระพุทธศาสนาสญู สิ้นไปแลว้ กลายเป็นแดนมสุ ลิม และใครมีอ�ำนาจก็ยึดเปลี่ยนมือกนั เจงกิส ข่าน ไป จนถงึ ยุคอาณาจักรฆูร์กย็ ังร่งุ เรืองอยู่ แต่คราวน้ีได้ถกู 108 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก ท�ำลายแบบสิ้นซาก พลเมอื งถกู สังหารหมดส้ิน

๖๕๑ ปี ท่มี ุสลิมครองอินเดีย ปุรษุ ปรุ ะ แคชเมยี ร์ นบั แตน่ ้ี อนิ เดยี เขา้ สยู่ คุ จกั รวรรดมิ สุ ลมิ ทยี่ าวนาน ม.สินธุ ละฮอร์ ม.ยมม.นุคางคา ๖๕๑ ปี เดลี สุลตา่ นแหง่ เดลี เริ่มด้วยจกั รวรรดิมุสลมิ เตอรก์ ของสุลต่านแหง่ เดลี (Delhi Sultanate) ซึ่งจะปกครองอินเดยี ไป ๓๒๐ คุชราต อชุ เชนี ประยาค ปี (ช่วงยง่ิ ใหญ่ ๑๙๒ ปี ถงึ พ.ศ. ๑๙๔๑ + ชว่ งดอ้ ย พาราณสี อำ� นาจ ๑๒๘ ปี ถงึ พ.ศ. ๒๐๖๙) ทะเลอาหรับ ยาทวะ ม.นัมมทา โอริสสา อ่าวเบงกอล จนถกู โคน่ และขนึ้ แทนใน พ.ศ. ๒๐๖๙ โดยราชวงศ์ โมกุล แหง่ จกั รวรรดมิ ุสลิมมงโกล เทวคริ ี ม.โคทาวรี แลว้ โมกลุ ครองอนิ เดยี เรอ่ื ยมาจนตกเปน็ อาณานคิ ม ม.กฤษณะ ของอังกฤษ ใน พ.ศ. ๒๔๐๑ (ค.ศ. 1858) ปาณฑยะ พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 109



๘ ๐ ๐ ปี ท่ี อิ น เ ดี ย ไ ม่ มี พุ ท ธ ศ า ส น า ก) มุสลมิ ครอง ๖ ศตวรรษ

เกาหลีพิมพพ์ ระไตรปิฎก พ.ศ. ๑๗๗๕ (ค.ศ. 1232) เกาหลีในยุคโกรีโอ ฝั่งทะเลดา้ นตะวันตก) จำ� ยอมใหม้ งโกลท�ำลายและบังคับ (Koryo period, 918-1392) มีความสัมพันธ์ทาง ควบคมุ บ้านเมือง จีน ญี่ปนุ่ วฒั นธรรมใกล้ชิดกับจีนสมัยราชวงศส์ ุง (Sung period, ระหว่างล้ภี ัยท่ีเกาะกังหวา่ นนั้ กษัตริยเ์ กาหลไี ด้ 960-1279) แต่มกั ถกู ชนต่างชาติจากมงโกเลยี มารุกราน โปรดใหจ้ ดั พมิ พพ์ ระไตรปฎิ กครบชดุ บรบิ รู ณด์ ว้ ยแมพ่ มิ พ์ เกาะกังหวา่ บอ่ ยๆ ไม้แกะ กวา่ ๘๐,๐๐๐ แผ่น เป็นงานพมิ พท์ ่ีประณตี ในปี ๑๗๗๕ นี้ พวกมงโกลมายำ่� ยี ทำ� ใหร้ าชสำ� นกั เทียบไดก้ ับพระไตรปิฎกท่ีจีนพมิ พ์ในสมยั ราชวงศส์ ุง โกรโี อลี้ภัยไปอยทู่ ่เี กาะกังหวา่ (Kanghwa Island ทาง (ดู พ.ศ. ๑๕๑๕-๑๕๒๖) เกาะกงั หวา่ 112 กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

โป๊ปต้ังศาลไต่สวนศรทั ธา เตอรก์ ยึดเยรูซาเล็ม เพอ่ื ก�ำจัดลัทธนิ อกคริสต์ พ.ศ. ๑๗๘๖ (ค.ศ. 1243) พวกเซลจูกเตอร์ก พ.ศ. ๑๗๗๖ (ค.ศ. 1233) โปป๊ /สันตะปาปา (Seljuk Turks) จากอาเซียกลาง ทม่ี ายึดแบกแดด ล้ม เกรกอรีท่ ่ี ๙ (Gregory IX) โดยรว่ มกับจักรวรรดโิ รมัน กาหลฟิ อาหรบั ขน้ึ เปน็ สุลตา่ นครองอ�ำนาจกันมาต้งั แต่ ได้ต้ังศาลไต่สวนศรทั ธา (Inquisition) ขึน้ เพ่อื กำ� จดั ปี ๑๕๙๘ (ค.ศ. 1055) นนั้ ได้แผ่อ�ำนาจกวา้ งขวางตงั้ แต่ กวาดลา้ ง (persecution) ลทั ธนิ อกรีตและความเชื่อถือ เปอรเ์ ซียไปถงึ อาเซียนอ้ ย (Asia Minor) รวมทั้งแดน ท่ีผดิ แผกแตกต่างจากขอ้ กำ� หนดของนกิ ายโรมนั คาทอลิก อาหรบั ในตะวนั ออกกลาง ครน้ั ถงึ พ.ศ. ๑๖๑๔ (ค.ศ. 1071) การสอบสวนลงโทษมกี ารทรมาน จ�ำคุก ไปจนถงึ เผา กย็ ดึ เยรซู าเล็มได้ และตที ัพของจักรวรรดิบีแซนทีนพ่าย ทง้ั เปน็ แพ้ เป็นจุดเรม่ิ เกดิ สงครามครเู สดส์ (Crusades) ทที่ ัพ คริสต์จากยโุ รปยกมาชิงเยรซู าเลม็ ทัพครสิ ต์มาถึงพอดพี วกเซลจูกเตอรก์ เรมิ่ เส่ือม คร้งั แรกฝา่ ยครสิ ตช์ นะใน พ.ศ. ๑๖๔๒ (ค.ศ. 1099) ตอ่ มามสุ ลิมพวกอืน่ (สุลตา่ นแห่งอยี ิปต)์ ยึดเยรูซาเลม็ กลบั คนื ได้ สว่ นพวกเซลจูกเตอร์กแตกเปน็ แคว้นเล็กแควน้ นอ้ ย และแทบถึงอวสานเมื่อทัพมงโกลที่สบื จากเจงกิส ข่านตยี ่อยยับในปี ๑๗๘๖ (ค.ศ. 1243) ซ้ายจากบน: โป๊ปเกรกอรที่ ี่ ๙ Inquisition สลุ ต่านแห่งอยี ิปต์ พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 113

ไทยต้งั อาณาจักรสโุ ขทยั พุทธศาสนา ในรัชกาลที่ ๕ (บา้ งว่า ท่ี ๖) พระมหาธรรมราชา เถรวาทสายลังกาวงศร์ ุ่งเรือง ลไิ ท (ลือไท ก็วา่ ) ซงึ่ เสวยราชย์ พ.ศ. ๑๘๙๐–๑๙๒๑/ 1347-1378 ทรงอาราธนาพระมหาสามสี งั ฆราชเมือง พ.ศ. ๑๘๐๐ (ค.ศ. 1257) ทปี่ ระเทศไทย พอ่ - ลงั กานามวา่ สมุ นะ มาส่สู ุโขทยั ในปี ๑๙๐๔/1361 ครน้ั ขุนศรีอินทราทติ ยป์ ระกาศอสิ รภาพไม่ขึ้นต่อขอม และตั้ง ออกพรรษาแล้ว เสดจ็ ออกผนวชชั่วคราว ณ วัดอรัญญิก อาณาจกั รสุโขทยั นบั วา่ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกท่ีทรงผนวช และทรงพระราชนิพนธ์ไตรภมู พิ ระร่วง (เรียกเปน็ ค�ำบาลี ในรัชกาลที่ ๓ พอ่ ขนุ รามค�ำแหงมหาราช (ขน้ึ วา่ “เตภมู ิกถา”, บรรยายการเวน้ ชัว่ ทำ� ดี ให้เจรญิ สงู ข้ึน ครองราชย์ พ.ศ. ๑๘๑๘/1275 หรอื ๑๘๒๒/1279, ปี ไปในไตรภมู ิ จนในทส่ี ุดพน้ จากการวา่ ยเวยี นเปล่ยี นแปลง สวรรคตเคยวา่ ๑๘๖๐/1317 แต่ใหมว่ า่ ๑๘๔๒/1299) ในไตรภมู ินน้ั ข้นึ ไปสู่จดุ หมายในภมู ทิ ่ี ๔ และเน้นการ ไดแ้ ผ่ขยายพระราชอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง ทรง ปกครองโดยธรรมอันไมใ่ ช้ความรนุ แรง) ซึ่งถือกนั วา่ เป็น ปกครองราษฎรอย่างบดิ ากับบุตร ทรงประดิษฐ์ตวั อักษร วรรณคดีไทยเลม่ แรก ทรงเผดียงพระสงฆ์เข้าไปเรียน ไทยในปี ๑๘๒๖ และทรงอาราธนาพระมหาเถรสงั ฆราช พระไตรปฎิ กในมหาปราสาท และทรงจดั ระเบยี บคณะสงฆ์ ข้ึนจากเมอื งนครศรธี รรมราช มาพ�ำนัก ณ วดั อรญั ญกิ ตั้ง แบง่ เปน็ ๒ ฝ่ายอยา่ งลังกา เปน็ คามวาสี กับอรญั วาสี คณะสงฆล์ ังกาวงศ์ พระพุทธศาสนาเถรวาทเปน็ ศาสนา ทรงทำ� นบุ �ำรงุ พระพทุ ธศาสนาอีกมากมาย รวมท้งั โปรด ประจำ� ชาตแิ ละรุ่งเรอื งสืบมา พระพทุ ธสหิ งิ ค์ ซึ่งสรา้ งใน ให้จ�ำลองพระพุทธบาททเี่ ขาสุมนกูฏในลงั กามาไว้ใน ลงั กามาอยูท่ น่ี ครศรธี รรมราช ก็ขนึ้ มาประดษิ ฐาน ณ สโุ ขทัย สรา้ งพระพทุ ธชินราช และพระพทุ ธชินสหี ์ กรุงสโุ ขทยั ในรัชกาลน้ี (แต่ ชินกาลมาลปี กรณ์ วา่ ไดพ้ ระ พทุ ธสหิ งิ คม์ าใน พ.ศ. ๑๘๐๐ รชั กาลพอ่ ขนุ ศรอี นิ ทราทติ ย)์ เมือ่ พระเจา้ ลิไทสวรรคตใน พ.ศ. ๑๙๒๑ แล้ว พทุ ธศลิ ปแ์ บบลงั กาเรม่ิ เข้ามาแทนท่พี ุทธศลิ ปแ์ บบ พระราชโอรสไดข้ น้ึ ครองราชย์เป็นพระเจา้ ไสยลอื ไท แต่ มหายาน แมแ้ ต่พระมหาธาตนุ ครศรธี รรมราช กแ็ ปลงรปู ในปีนน้ั เอง สุโขทยั กต็ กเป็นประเทศราชข้นึ ตอ่ กรุงศร-ี เป็นสถูปแบบลังกา อยธุ ยา และพระเจา้ ไสยลอื ไทยา้ ยไปครองเมอื งทพ่ี ษิ ณโุ ลก จนสวรรคตในปี ๑๙๖๒/1419 (บา้ งวา่ ๑๙๕๒) จากบนซ้าย: พระพุทธชินราช สโุ ขทยั ศิลาจารึกหลักท่ี ๑ พอ่ ขุนรามค�ำแหงมหาราช 114 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

เตอรก์ วงศท์ าส ตงั้ กาหลฟิ อาหรบั เปน็ หนุ่ เพอ่ื คุมมสุ ลมิ อาหรับไว้ เพราะพวกแมมหลูกเองท้ังหมด การพิฆาตจากซเี รียเขา้ มาล้ภี ยั ในอียปิ ต์ และอารยธรรม ตัวเองเป็นสุลตา่ น ทง้ั สิ้นไมใ่ ช่ชาวอาหรับ (มักจะเป็นพวกเตอรก์ จากอาเซีย มุสลิมอาหรบั กจ็ งึ รอดพ้นความพินาศมาได้ กลาง) และไม่ได้เปน็ มสุ ลิมมาแต่เดิม บางคนไมร่ หู้ รือแทบ พ.ศ. ๑๘๐๔ (ค.ศ. 1261) ทาสชาวเตอรก์ ที่เปน็ ไม่รู้ภาษาอาหรับเลย อยี ิปต์เองเมื่อเปน็ ท่ีตงั้ ราชวงศ์อาหรับมาหลาย นายทหารในกองทพั มสุ ลิม ซง่ึ เปน็ ใหญข่ ้นึ มาปกครอง ศตวรรษ กก็ ลายเป็นดนิ แดนท่ีมวี ฒั นธรรมแบบอาหรบั อียปิ ต์และซเี รยี ต้งั แต่ พ.ศ. ๑๗๙๓ (ค.ศ. 1250) เมื่อถงึ เตอรก์ คอื ผ้พู ทิ ักษอ์ ารยธรรมมสุ ลมิ และเปน็ ศนู ยก์ ลางแหง่ อารยธรรมมสุ ลมิ อาหรบั นนั้ (อยี ปิ ต์ พ.ศ. ๑๘๐๔ (ค.ศ. 1261) ได้ตงั้ กาหลฟิ ข้ึนมาใหม่ทไ่ี คโร ของอาหรับ เคยเป็นศนู ย์กลางอารยธรรมกรีกต้งั แตย่ คุ ราชวงศโ์ ตเลมี) ในอียิปต์ เป็นการสืบแทนกาหลิฟในแบกแดด ทถ่ี ูกพวก มงโกลทำ� ลายไปแล้ว และตอ่ มาก็ตั้งตวั เองเปน็ สุลต่าน เนอื่ งจากเชี่ยวชาญในการรบ พวกสุลต่าน โดยนยั นี้ พวกแมมหลูกจึงเปน็ ผ้พู ทิ ักษอ์ ารยธรรม แมมหลูกหรือราชวงศ์ทาสเหลา่ นี้ ไดท้ ำ� คุณไว้แก่ อสิ ลามของอาหรับใหค้ งอย่เู หลอื รอดมา สลุ ตา่ นที่เคยเป็นทาสนนั้ สืบวงศ์กันมา เรียกวา่ อารยธรรมอสิ ลามอย่างสำ� คัญย่ิง ๒ ประการ คือ ราชวงศท์ าส เปน็ ภาษาอาหรบั วา่ ราชวงศแ์ มมหลกู (Slave สุดท้าย พวกแมมหลูกก็ขับไลพ่ วกมงโกลออกไป dynasty/Mamluk dynasty/Mameluke dynasty) ๑. ปกปอ้ งแดนมุสลิมไวใ้ นยุคสงครามครูเสดส์ จากปาเลสไตน์และซีเรียได้ แลว้ ครองอำ� นาจตอ่ มา จนถกู เป็นผู้ครองอ�ำนาจแทจ้ รงิ ส่วนองคก์ าหลฟิ เปน็ เพยี งเจวด็ จนกระทง่ั สุดทา้ ยได้ขับไลก่ องทัพครเู สดส์ของคริสตอ์ อก รวมเข้าในจกั รวรรดอิ อตโตมานเตอรก์ ใน พ.ศ. ๒๐๖๐ หรือหุน่ เชดิ บางทนี ายทัพก็ถอดถอนหรอื ถงึ กบั ฆ่ากาหลิฟ ไปจากดินแดนแถบนน้ั จนหมดสนิ้ (ค.ศ. 1517) และเมื่อเตอรกสอ์ อ่ นแอลง พวกแมมหลกู ก็ ไดต้ ามใจตวั การใช้ทาสหรอื แมมหลกู เปน็ กำ� ลงั ทหารส่วน กลับฟนื้ ข้นึ มามีอ�ำนาจอีกระยะหน่ึง แตใ่ นท่ีสดุ กถ็ ูกก�ำจดั ส�ำคัญน้ัน เป็นลักษณะพิเศษของอารยธรรมอสิ ลาม ซ่ึง ๒. ชว่ ยตา้ นทพั มงโกลไว้ ทำ� ให้แดนอสิ ลามบาง หมดส้นิ ใน พ.ศ. ๒๓๕๔ (ค.ศ. 1811) ได้เรม่ิ ข้นึ ในยคุ กาหลิฟทแี่ บกแดด ตั้งแต่ราว พ.ศ. ๑๓๘๐ ส่วนรอดจากการท�ำลายลา้ งของพวกมงโกลมาได้ คือ แล้วใช้กนั ทว่ั โลกมสุ ลิม เช่นซอ้ื ทาสมาเข้าเปน็ กำ� ลงั รบใน กองทพั พวกแมมหลกู นี้รบเก่งมาก และเมือ่ นานเข้าก็จะ ทางด้านอินเดียก็รอดจากการท�ำลายในยุคลูก กลายเป็นผคู้ ุมอ�ำนาจอยู่เบื้องหลงั หรือขนึ้ ครองอำ� นาจ เจงกิสขา่ น (เดลีถกู ทำ� ลายโดยตีมรู ใ์ น ค.ศ. 1398 หลังยคุ เสยี เอง เป็นอย่างน้ีท้ังทางตะวนั ตก คือสลุ ต่านทอี่ ยี ปิ ต-์ ราชวงศ์ทาสล้มไป ๑๐๘ ปีแลว้ ) ซีเรยี ซ่งึ ครองอำ� นาจนานกว่า ๒๕๐ ปี (พ.ศ. ๑๗๙๓- ๒๐๖๐=ค.ศ. 1250-1517) และตะวนั ออก คอื อินเดยี ที่ สว่ นทางตะวนั ออกกลาง เมอ่ื อาณาจักรมสุ ลมิ มรี าชวงศ์ทาสแทรกอยู่ในสายสลุ ตา่ นแห่งเดลี โดยเร่มิ ขน้ึ อน่ื ๆ ถูกพวกมงโกลท�ำลายเรยี บราบ แต่พวกแมมหลูก ใกล้ๆกนั แตอ่ ยูส่ ัน้ เพยี งราวศตวรรษเดยี ว (พ.ศ. ๑๗๔๙- ต้านมงโกลได้ ท�ำใหอ้ ยี ิปตแ์ ละซเี รีย เปน็ ทพี่ ่ึงของชาว ๑๘๓๓=ค.ศ. 1206-1290; ทเี่ ดลีไม่มกี าหลิฟ) มสุ ลิมทห่ี นีการลา้ งผลาญของมงโกลเข้ามาอาศยั แม้เม่อื ต่อมาพวกแมมหลกู ตา้ นไมไ่ หว พวกมงโกลยดึ ซเี รียได้ การทีพ่ วกแมมหลูกแถบตะวันตกตง้ั กาหลิฟขึ้นก็ ในปี ๑๘๓๗ กย็ งั มอี ยี ิปตเ์ หลือรอดอยู่ ชาวมุสลิมจึงหนี พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตโฺ ต ) 115

กลนั ตัน ทะเลจีนใต้ เคดาห์ มะละกา ตรังกานู จกั รวรรดมิ ชปหติ ปะหงั สมุ าตรา บอรเ์ นยี ว ชมั พี ปาเลมบงั ทะเลชวา ชวา มชปหติ สมัยกบุ ไลขา่ น พ.ศ. ๑๘๑๗-๒๔ (ค.ศ. 1274-1281) กุบไลขา่ น มีฝร่ังมารบั ราชการเมอื งจนี จกั รพรรดิมงโกลส่งทพั เรอื ไปตญี ีป่ ่นุ ๒ ครงั้ แตไ่ ม่สำ� เร็จ (ครัง้ แรกเรอื ถกู พายพุ ินาศ ครั้งท่ี ๒ เรือ ๔,๐๐๐ ล�ำแพ้ พ.ศ. ๑๘๑๔ (ค.ศ. 1271) มารโ์ ค โปโล (Marco แกญ่ ป่ี นุ่ ) Polo) ชาวเมืองเวนีส (Venice) ในอิตาลี ออกเดินทาง มายงั ประเทศจีน (คาเธย/์ Cathay) โดยเส้นทางสายไหม พ.ศ. ๑๘๒๒ (ค.ศ. 1280) กบุ ไลข่านล้มราชวงศ์ มาถึงปักก่ิงในปี ๑๘๑๘ ได้รบั ราชการเป็นคนโปรดของ ซ้อง รวมจนี และต้งั ราชวงศ์หยวน ปกครองทเี่ มอื งหลวง พระเจา้ กบุ ไลขา่ น เดนิ ทางไปทง้ั ใน จนี อนิ เดยี และอาเซยี ใหมค่ อื ปักกิง่ (=เบจิง) อาคเนย์ แลว้ กลับถึงเวนีสใน พ.ศ. ๑๘๓๘ (ค.ศ. 1295) ค�ำเลา่ การเดินทางของเขาเป็นเรอื่ งราวแหลง่ เดียวทช่ี าว จากซา้ ย: ยโุ รปไดร้ ู้จกั ตะวันออกไกลกอ่ นครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 17 มาร์โค โปโล พระเจ้ากบุ ไลข่าน 116 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

มชปหิต คัน่ กลาง ตอ่ ศรวี ชิ ยั อ�ำนาจขึน้ มาข่มใหศ้ รวี ชิ ัยเลือนหายไป มาตั้งเมืองต้งั อาณาจักรมสุ ลมิ ขน้ึ ตามชายฝั่งทะเลชวา กอ่ นเข้ายุคมุสลิม อยา่ งไรกต็ าม มชปหติ กเ็ ข้มแขง็ อยูไ่ ด้ไม่นาน และแผ่ศาสนาอสิ ลามออกไป พอถึง พ.ศ. ๒๐๐๐ เศษ เลก็ น้อย จกั รวรรดมิ ชปหิตกถ็ งึ กาลอวสาน และชนมสุ ลมิ พ.ศ. ๑๘๓๖ (ค.ศ. 1293) เกดิ จกั รวรรดมิ ชปหิต เพยี งราวศตวรรษเดียวก็ตอ้ งสญู ส้ิน เพราะนอกจากความ ก็ครอบครองดนิ แดนท่ีเป็นประเทศอินโดนเี ซยี หมดส้นิ กล่าวคือ หลงั จากอาณาจกั รของราชวงศ์ปาละ ทเี่ ปน็ วนุ่ วายภายในแล้ว ถงึ เวลาน้ีดินแดนแคว้นเบงกอลใน แดนพุทธสดุ ท้ายในชมพทู วปี ถูกมุสลมิ เตอร์กทำ� ลาย อินเดียไดถ้ ูกชนมสุ ลมิ เตอรก์ เขา้ ครองแล้ว (ราชวงศ์เสนะ ส้นิ เมือ่ ประมาณ พ.ศ. ๑๖๖๓/ค.ศ. 1120 แลว้ ตอ่ มา สนิ้ พ.ศ. ๑๗๔๕/ค.ศ. 1202) อาณาจกั รศรวี ชิ ยั (อนิ โดยนีเซีย-มาเลเซีย) และพระ พุทธศาสนาท่นี ั่น ก็เสือ่ มตามไปด้วย โดยเฉพาะในระยะ เมื่อจัดบ้านเมืองเขา้ ท่ีแลว้ ถึง พ.ศ. ๑๘๐๐ เศษ พ.ศ. ๑๘๓๖ ไดม้ อี าณาจกั รใหมเ่ กดิ ขน้ึ ในชวาตะวนั ออก ชาวมสุ ลิมจากเบงกอลกม็ า เช่นเดียวกับชาวมสุ ลมิ อาหรับ อันเปน็ อาณาจักรฮนิ ดู มชี อ่ื ว่าจักรวรรดมิ ชปหิต (Ma- จากอ่าวเปอร์เซยี ท่คี ้าขายสบื กันมา ชาวมุสลิมเหล่านี้ได้ japahit Empire) มชิ ้ามินานอาณาจกั รฮินดูนี้ได้เรอื ง เตอรก์ ต้ังจกั รวรรดอิ อตโตมาน บูดาเปส ที่ย่งิ ใหญ่-ยนื ยาว เบลเกรด พ.ศ. ๑๘๓๓ (ค.ศ. 1290) เตอรก์ จากอาเซยี กลาง โรม อีกพวกหน่งึ ตอนแรกกม็ าเปน็ ทหารรับจ้างอย่ใู นกองทัพ ของเซลจูกเตอรก์ นน่ั แหละ ตอ่ มาหลังยคุ มงโกลทีส่ ืบจาก โซเฟีย ทะเลด�ำ ทะเลแคสเปยี น เจงกสิ ขา่ นผา่ นพน้ แลว้ เตอรก์ สายนค้ี นหนง่ึ ไดต้ ง้ั อาณาจกั ร เลก็ ๆ ข้นึ มาในสว่ นหนึง่ ของอนาโตเลยี (Anatolia=Asia ทริโปลี ทะเลเมเดอเิ เตธอนเรสเ์นียน คอนสแตนตโิ นเปลิ Minor คอื เตอรก์ ภี าคตะวนั ออกทอ่ี ยใู่ นอาเซยี ) เปน็ สลุ ตา่ น ไดช้ อ่ื วา่ ออสมานที่ ๑ (Osman I) เปน็ ตน้ ราชวงศอ์ อตโตมาน อเลกซานเดรีย เยดราูซมาัสเลก็มสั แบกแดด อาเซีย ซง่ึ ตอ่ มาจะเรอื งอำ� นาจเปน็ จกั รวรรดอิ อตโตมาน (Ottoman Empire) อนั ยง่ิ ใหญ่ และยนื ยาวกวา่ ๖ ศตวรรษ (สนิ้ สลาย อาฟรกิ า ไคโร อ่าวเปอร์เซยี เม่ือสุดสงครามโลกครัง้ ท่ี ๑ ใน พ.ศ. ๒๔๖๑=ค.ศ. 1918) มะดีนะฮ์ การแผ่ขยายอาณาเขตในแตล่ ะยุค เมกกะ อาณาเขตดัง้ เดิม, 1300-1359 1359-1451 ทะเลแดง เยเมน 1451-1481 (เมห์เหม็ดที่ ๒) 1512-1520 (เซลมิ ที่ ๑) จักรวรรดอิ อตโตมาน 1520-1566 (สุไลมาน) 1566-1683 พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 117

ยอ้ นทวนความ ก) ยคุ มุสลมิ อาหรับ ในชว่ งเดยี วกันนี้ ระยะปี ๑๒๔๘-๑๒๕๘/705- เส้นทางอิสลามส่อู นิ เดีย 715 ทพั มสุ ลมิ อาหรับก็ไดบ้ กุ ขึน้ ไปปราบอาเซียกลาง น�ำ พอถงึ ปี ๑๑๙๓ (ค.ศ. 650 คอื หลังพระศาสดา ประชากรแถบนัน้ เขา้ สูอ่ สิ ลาม พ.ศ. ๑๘๓๗ (ค.ศ. 1294) เปน็ ปเี ร่ิมต้นแห่งการ มฮู ัมมัดเสดจ็ สสู่ วรรค์เพยี ง ๑๘ ปี หลงั สน้ิ รชั กาลพระเจา้ ฝร่งั บนั ทึกว่า ทัพมสุ ลิมอาหรับบุกถงึ ไหน ทัพ ขยายอำ� นาจของชนมสุ ลิมเตอร์ก ลงสทู่ กั ษณิ าบถ หรือ หรรษะ ๓ ป)ี กองทัพมุสลิมอาหรับก็บกุ น�ำอสิ ลามขยาย อนิ เดียแมจ้ ะมกี ำ� ลังพลเหนือกวา่ มากมายกย็ อ่ ยยับ Deccan คือดนิ แดนสว่ นล่าง หรือภาคใต้ของประเทศ เข้ามาถงึ บาลูจิสถาน (Baluchistan ในปากสี ถาน) เข้าใน แหลกลาญและถูกสงั หารอย่างผกั ปลาทน่ี ่นั เพราะพวก อนิ เดียยอ้ นทวนความวา่ หลงั สิ้นรัชกาลพระเจา้ หรรษะ เขตแห่งชมพทู วีป ฮนิ ดู (รวมทง้ั ชาวพทุ ธ) มัวเพลนิ กับชีวติ ที่สุขสบาย (กลาย หรอื สลี าทติ ยใ์ น พ.ศ. ๑๑๙๐ (ค.ศ. 647) แล้ว อนิ เดียก็ เป็นคนอ่อนแอและประมาท) แตอ่ าจเปน็ เพราะอีกอย่าง ระส�ำ่ ระสาย ประจวบพอดวี า่ ศาสนาอสิ ลามได้เกดิ ข้นึ ที่ ตอ่ มาปี ๑๒๕๕/712 แม่ทพั อาหรับอายเุ พยี ง ๒๐ หนง่ึ ดว้ ย คือ ทัพมสุ ลิมยกมาแบบสายฟา้ แลบ คาดไมถ่ ึง อาหรบั ในตะวนั ออกกลาง แล้วแผข่ ยายมาอย่างรวดเรว็ ปี โดยความชว่ ยเหลอื ของคนฮินดูนกั ฉวยโอกาสท่ีมาเข้า และใช้วธิ ีฆ่าทำ� ลายไมเ่ ลอื ก แบบทฝ่ี า่ ยอนิ เดียไมค่ ุ้นและ กับศัตรู นำ� ทพั มุสลมิ เพยี ง ๖,๐๐๐ คน จากบาลูจสิ ถาน ต้ังรับไมท่ นั บุกเขา้ มาบดขยี้และยดึ ครองแควน้ สินท์ไดห้ มด (Sind แคว้นลา่ งสุดเขตปากีสถานปจั จบุ ัน มีการาจีเป็นเมอื ง- หลวง ตดิ แดนอนิ เดยี ) มหาวทิ ยาลัยวลภกี ็พนิ าศในยุคนี้ จบสงครามครูเสดส์ ทค่ี รสิ ต์-อสิ ลามรบกนั มา ๒๐๐ ปี พ.ศ. ๑๘๓๔ (ค.ศ. 1291) สงครามศาสนา ที่ เรียกวา่ ครเู สดส์ ที่ชาวครสิ ต์ยกมารบกบั มุสลิมเพื่อ ชงิ เยรซู าเลม็ กลับคืน ซึง่ ดำ� เนินมาเกือบเต็ม ๒๐๐ ปี (เรมิ่ ค.ศ. 1095) รวมทั้งหมด ๘ ครเู สดส์ จบสนิ้ ลงโดย เยรูซาเลม็ ก็อยใู่ นครอบครองของมุสลิมตามเดมิ University of Texas Libraries 118 กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

ข) ยคุ มุสลมิ เตอรก์ เตอรก์ ลงใต้ ขยายอำ� นาจในทกั ษณิ าบถ ซาอดุ ี อฟั กานสิ ถาน จนี อาระเบยี เนปาล ต่อมามุสลมิ อาหรับออ่ นกำ� ลงั ลง และทศี่ ูนย์กลาง จากนนั้ อกี เกอื บ ๑๐๐ ปี พ.ศ. ๑๘๓๗ (ค.ศ. ปากีสถาน หนั ไปเนน้ งานดา้ นสงบ พวกเตอรก์ ในอาเซยี กลางทเี่ ป็น 1294) อาลา-อุด-ดนิ ขลั ยี (Ala-ud-din Khalji) สลุ ต่าน เดลี มุสลิมแล้ว กย็ กก�ำลงั ออกขยายอำ� นาจแผ่และพิทกั ษ์ แหง่ เดลีนำ� ทพั มา้ ๘,๐๐๐ ไมต่ อ้ งมีเสบียงเลย ออกจาก การาจี อิสลามแทน อนิ เดยี ภาคเหนอื โดยมุ่งไปหาเงินทุนมาใชจ้ า่ ยในบา้ น เมืองและขยายกองทพั ขา้ มเทือกเขาวินธยะ เข้าสู่แดน อินเดยี พ.ศ. ๑๗๔๙ (ค.ศ. 1206) หลงั จากเข้าอินเดยี ทกั ษณิ าบถ บกุ ตเี รอ่ื ยไปในแดน Deccan ตลอดระยะ ภาคเหนือ เผาและฆา่ กราดไปทวั่ ซึ่งเป็นเหตุสดุ ท้ายให้ ทาง ๘๐๐ กม. จบลงดว้ ยการพชิ ติ เมอื งเทวคีรี ราชธานี ยงั ต้องการทุนทรพั ย์เพมิ่ อกี ดงั น้ัน หลงั จากขยายดนิ แดน พุทธศาสนาหมดส้ินจากอนิ เดียแลว้ กเ็ รม่ิ ยุคสลุ ตา่ นแห่ง ของอาณาจักรยาทวะ (ยาทพ) ทมี่ อี �ำนาจเขม้ แข็งท่ีสุดใน ในภาคเหนอื เสรจ็ ไปอกี ระยะหนง่ึ สลุ ตา่ นกย็ กทพั ลงใตอ้ กี เดลี ทีอ่ ินเดียภาคเหนอื เปน็ จกั รวรรดิมุสลิม เหลือเจ้า อนิ เดยี ใต้ลงเสรจ็ ในปี ๑๘๓๙ ไดท้ นุ ทรัพยม์ ายงั เดลีอยา่ ง โดยมใิ ชม่ งุ่ ไปครอบครองดนิ แดน แตม่ ุง่ ขนเอาทรัพยม์ า ฮนิ ดเู พียงหยอ่ มเลก็ หย่อมนอ้ ยท่จี ะตอ้ งปราบต่อไป มากมายมหาศาลแม้จะไดท้ รัพยไ์ ปมากมายและวางระบบ และปราบพวกกษตั ริยฮ์ นิ ดใู ห้ยอมรับอำ� นาจเป็นเมืองข้ึน เก็บภาษขี ึน้ ใหม่อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ แต่สุลต่านแห่งเดลีก็ เพ่อื สง่ เคร่อื งราชบรรณาการมาให้เป็นประจำ� ตอ่ ไป เทมาเสก็ ได้ชือ่ สงิ หปุระ คอื สงิ คโปร์ (อกี ราว ๑๐๐ ปีตอ่ จากนี้ เจา้ ปรเมศวรจะหนี จากสมุ าตรามาขึ้นทนี่ ่ี ฆา่ เจ้าผู้ครองและยึดสงิ คโปร์ แต่ พ.ศ. ๑๘๔๒ (ค.ศ. 1299) เมอ่ื อาณาจักรศรีวิชยั ถูกสยามหรือมชปหติ ตามลา่ และทำ� ลายเมอื งสงิ คโปร์ จงึ ทปี่ าเลมบัง บนเกาะสมุ าตรา เส่อื มอ�ำนาจแล้ว ตำ� นาน หนีตอ่ ไปขนึ้ ท่ใี กล้ปลายแหลมทอง น�ำความเป็นมลายู มลายู (หมายถงึ มลายูในถนิ่ เดมิ บนเกาะสมุ าตรา) เล่าวา่ ไปตง้ั อาณาจกั รมะละกา ทเี่ ปน็ ต้นกำ� เนิดของประเทศ เจา้ ผู้หน่ึงซงึ่ ครองเมืองท่ีน่นั แลน่ เรอื จากสมุ าตรามาข้นึ ท่ี มาเลเซีย) เกาะเทมาเส็ก/เตมาเสก หรือทมู าสกิ /ตูมาสิก (Tema- sek/Tumasik แปลวา่ ดนิ แดนมีน้�ำล้อมรอบ แต่บางทา่ น วา่ อาจเพย้ี นจาก “ธรรมศิกษ”์ ) แล้วตง้ั เปน็ เมอื งโดยเป็น ราชาหรอื เจ้าผู้ครองคนแรก และตงั้ ช่ือที่นัน่ วา่ สิงหปรุ ะ (ต่อมาเพีย้ นเป็นสิงคโปร์) เพราะไดเ้ ห็นสตั ว์ตัวหน่ึงคลา้ ย ราชสีห์ (แตบ่ างตำ� นานว่า พระเจา้ ราเชนทรท่ี ๑ จาก อาณาจักรโจฬะ ได้ต้ังชื่อสิงหปุระ ต้ังแตม่ าตีได้ในปี ๑๕๖๘/1025 แล้ว) พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 119

อาณาจกั รทมิฬสน้ิ อ�ำนาจ พอถึงปี ๑๘๕๒/1309 สลุ ต่านแหง่ เดลปี ราบ สลุ ตา่ นแห่งเดลี ใกล้ส้ินอ�ำนาจ เปลีย่ นเปน็ ของมสุ ลมิ อนิ เดยี ใตไ้ ด้หมดแล้ว กส็ ร้างมสั ยิดไวท้ ีแ่ หลมโคโมริน (Cape Comorin) ซึ่งเปน็ สว่ นปลายใต้สุดของผืนแผน่ ดนิ อยา่ งไรกต็ าม หลงั จากสลุ ต่านอาลา-อุด-ดิน ขลั ยี หนั กลบั ไปดดู นิ แดนชาวทมฬิ ในอนิ เดยี ใต้ ทอี่ าณา- อนิ เดยี เปน็ เคร่อื งหมายว่าประเทศอนิ เดียได้เป็นดินแดน ส้ินชีพในปี ๑๘๕๙/1316 แล้ว ได้เกิดการแยง่ ชิงอ�ำนาจ จกั รปาณฑยะได้มีชยั ชนะอาณาจกั รทแ่ี ข่งอำ� นาจกนั มา ของจักรวรรดมิ ุสลมิ หมดสิ้นแล้ว เกดิ ราชวงศ์ใหม่ และมีความวุ่นวายตา่ งๆ บางอาณาจกั ร ทง้ั หมดตงั้ แต่ พ.ศ. ๑๘๒๒ และครองอำ� นาจสบื มา แตเ่ มอ่ื กแ็ ข็งเมอื ง อีกทงั้ พวกมงโกลกค็ อยมาตี จนสุลตา่ นถึง ทพั มสุ ลมิ เตอรก์ ลงมาอินเดยี เหนือแลว้ พอถงึ ปี ๑๘๕๐/ กับมาต้งั เทวคีรี (Devagiri=Daulatabad) ในภาคใต้เปน็ 1310) กองทัพมสุ ลมิ เตอรก์ ของสลุ ต่านแห่งเดลีกร็ กุ ผ่าน เมอื งหลวงที่ ๒ ในปี ๑๘๗๐/ค.ศ. 1327 ทั้งเพอ่ื คมุ ภาค ทกั ษณิ าบถเขา้ มา ตเี อาอาณาจกั รปาณฑยะเขา้ ไวใ้ ตอ้ ำ� นาจ ใตท้ ่มี ั่งคัง่ อดุ มสมบรู ณ์ไว้ และเพ่อื ตั้งหลกั สกู้ บั พวกมงโกล จากท่ีมน่ั ซึ่งปลอดภัยจากศัตรู (สลุ ตา่ นแหง่ เดลปี กครองปาณฑยะตอ่ มาจนกระทงั่ อาณาจกั รฮนิ ดสู ดุ ทา้ ยทตี่ งั้ ตวั ขน้ึ มาไดใ้ หมค่ อื วชิ ยั นครเขา้ อย่างไรก็ตาม อำ� นาจสงู สุดของสุลต่านแห่งเดลี ครองแทนในปี ๑๙๒๑/1378 กอ่ นท่ีจกั รวรรดิวชิ ยั นคร คงอยูไ่ ดเ้ พยี งถึงปี ๑๘๗๘/1335 จากนนั้ เมอ่ื เรื่องวนุ่ วาย นนั้ เองจะถกู ๔ อาณาจักรมุสลิมรวมกำ� ลงั กันท�ำลายจบ เกิดขน้ึ เร่อื ยๆ สลุ ต่านก็ปราบไม่ไหว อาณาจักรต่างๆ ก็ สนิ้ ไปในปี ๒๑๐๘/1565 แล้วดินแดนแถบนี้ทั้งปวงก็ตก เปน็ อิสระแยกออกไปๆ พอถงึ ปี ๑๘๙๔/1351 อนิ เดยี เป็นของมสุ ลมิ หมดสนิ้ ) ภาคเหนือกม็ ีแต่กบฎให้ปราบ ภาคใต้ก็หลุดจากอำ� นาจ ไทยต้งั อยุธยา ลาวตงั้ ลา้ นช้าง พ.ศ. ๑๘๙๔ (ค.ศ. 1351) ทป่ี ระเทศไทย พระเจา้ อูท่ อง (รามาธิบดีท่ี ๑) ต้งั กรงุ ศรอี ยุธยา พ.ศ. ๑๘๙๖ (ค.ศ. 1353) ท่เี มืองลาว เจา้ ฟ้างุม้ ตั้งอาณาจกั รล้านชา้ ง เปน็ อิสระจากขอม ครองราชย์ ที่เมอื งหลวงพระบาง ยกพระพุทธศาสนาเถรวาทเป็น ศาสนาประจ�ำชาติ 120 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

ย้อนประวัติของวิชยั นคร มงโกลมา-เดลีมอด โดยเฉพาะในภาคใต้นั้น ได้มีอาณาจักรฮินดูเกดิ ตมี รู ล์ งมาจากอาเซียกลาง แผ่อำ� นาจไปในทีต่ ่างๆ ขนึ้ ใหมท่ ย่ี ง่ิ ใหญ่ ซง่ึ มปี ระวตั วิ า่ เมอ่ื สลุ ตา่ นแหง่ เดลปี ราบ แล้ว พ.ศ. ๑๙๔๑ (ค.ศ. 1398) ตีมรู ์ นำ� ทพั มงโกลมา อาณาจักรกมั ปิลีลงในปี ๑๘๗๐/1327 แลว้ ไดน้ �ำตัว บุกท�ำลายลา้ งเดลีพนิ าศแหลกลาญ สังหารคนในเดลีไป ขา้ ราชการสองคนพนี่ อ้ ง ชอ่ื หกั กะ และพกุ กะ หรอื หรหิ ระ ๘๐,๐๐๐ ก�ำจดั สุลต่านแหง่ เดลี และวรี พกุ กะ ไปกรงุ เดลี ใหเ้ ปลย่ี นศาสนาเปน็ คนมสุ ลมิ แลว้ ก็ส่งกลับมาปกครองกมั ปิลี โดยเปน็ เมอื งขึน้ ของสุลตา่ น แม้เขาจะผา่ นไป ไม่อยยู่ ดึ ครอง กท็ �ำให้ระบบ สุลต่านแห่งเดลีออ่ นเปลีย้ ป้อแป้ แต่พอถึงปี ๑๘๗๙/1336 สองพ่ีนอ้ งได้ประกาศ อสิ รภาพไมข่ นึ้ ต่อเดลี และหันกลับไปเปน็ ฮินดู ต้งั แตน่ น้ั มา สุลตา่ นแห่งเดลีกน็ ับได้ว่าถงึ กาลอวสาน อาณาจกั รช่อื “วชิ ัยนคร” ขนึ้ มา ซึง่ เปน็ ดินแดนสดุ ท้าย มสี ถานะเหลอื อยเู่ พยี งเปน็ อาณาจกั รหนงึ่ ทแ่ี ย่งชิงอำ� นาจ ทย่ี ืนหยัดรักษาอำ� นาจของฮินดสู ว่ นหนงึ่ ไว้ใหย้ นื ยงอยู่ กนั กับอาณาจกั รอ่ืนๆ ในอินเดยี เหนือ ทา่ มกลางพลานภุ าพของมสุ ลมิ ยนื ยาวมาไดอ้ กี กวา่ ๒๐๐ ปี Hampi ในวิชยั นคร ส่วนทางดา้ นกรุงเดลี เหตกุ ารณย์ ง่ิ เสื่อมทรามลง จนในท่สี ดุ กถ็ กู พวกมงโกลเขา้ มาทำ� ลายแหลกลาญ พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ พระเจา้ ลไิ ท ขออาราธนาพระสงั ฆราชสมุ นเถร พรอ้ ม เข้าสู่ล้านนา ดว้ ยพระบรมสารีรกิ ธาตุ ไปยังลา้ นนา เปน็ การเร่มิ ตน้ พทุ ธศาสนาแบบลงั กาวงศใ์ นล้านนา และเพื่อบรรจุ พ.ศ. ๑๘๙๘–๑๙๒๘ (ค.ศ. 1355/1385) ท่ี พระบรมสารรี ิกธาตทุ อ่ี ัญเชญิ มานั้น จึงมีการสรา้ งพระ อาณาจกั รล้านนา ซ่งึ พระเจ้าเม็งราย (พญามังราย กว็ ่า) ธาตุเจดีย์ท่ีวัดบบุ ผาราม (คือวัดสวนดอก, เสร็จ พ.ศ. ทรงเป็นตน้ ราชวงศเ์ รมิ่ แต่ประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๒ และ ๑๙๑๗) และพระธาตุดอยสุเทพ (เสรจ็ พ.ศ. ๑๙๒๗) ทรงสรา้ งเมอื งเชียงใหมเ่ ป็นราชธานเี สร็จใน พ.ศ. ๑๘๓๕ (ชือ่ ท่ีต้ังว่า “นพบุรศี รีนครพงิ ค์เชยี งใหม”่ ) ถงึ บดั น้ีเปน็ รัชกาลพระเจา้ กือนาธรรมกิ ราช ครั้งหนึง่ ประมาณ พ.ศ. ๑๙๑๓ พระเจ้ากอื นา (หรือต้อื นา) ทรงสง่ ราชทูตมายงั เจา้ ฟา้ งุ้ม พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 121

มงโกลระลอกใหม่ ยอ้ นกลับมาบุกอินเดียในปี ๑๙๔๑ (เจงกสิ ข่านไม่ได้เข้า เทคโนโลย:ี เกาหลีอีกกา้ วในการพิมพ์ ตหี มด อนิ เดียจดรสั เซยี อนิ เดยี ) ทำ� ลายล้างเดลรี าบเรียบ พ.ศ. ๑๙๓๕ (ค.ศ. 1392) ที่เกาหลี มคี น พ.ศ. ๑๙๑๓ (ค.ศ. 1370) ตีมรู ์ หรือ แทมมาเลน ในปตี อ่ มา ตมี รู ย์ กทพั ไปตีซีเรีย แลว้ เขา้ พฆิ าตถึง ประดษิ ฐต์ วั เรียงพิมพ์โลหะขึ้น แล้ววธิ ีการนีก้ แ็ พร่ขยาย (Timur หรือ Timour หรอื Tamerlane หรอื Timur เมืององั การา (Ankara ปัจจุบันคอื เมอื งหลวงของเตอร์ก)ี ไป และปรากฏวา่ ไปเป็นประโยชน์แก่การพมิ พภ์ าษาของ Lenk=Timur the Lame=ตมี รู ์ผกู้ ะเผลก) ราชาแหง่ จบั สลุ ต่านของออตโตมานเตอรก์ ไดใ้ นปี ๑๙๔๕ จาก ยโุ รป (มากกวา่ พมิ พภ์ าษาเกาหลแี ละจีน เป็นต้น) หมชู่ นเตอร์ก-มงโกล จากอาเซียกลาง ซึง่ เป็นมุสลมิ แล้ว นน้ั เขาคิดการจะเขา้ บุกจนี แตไ่ ด้สิ้นชพี เสียในปี ๑๙๔๘ และอา้ งตนวา่ สบื เชอื้ สายจากเจงกสิ ขา่ น (Genghis Khan; (ค.ศ. 1405) ราชวงศต์ มี ูหริด (Timurids) ของเขาสบื ยอมรบั กนั ว่ารบเก่งปานกับเจงกิสข่าน แต่โหดรา้ ยกว่า) อ�ำนาจมาไม่นานกค็ อ่ ยๆ เลือนลางไป ตั้งเมืองหลวงท่สี ะมารก์ านท์ (Samarkand) เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๙๑๓ อยา่ งไรกด็ ี อีกศตวรรษเศษตอ่ มา (พ.ศ. ๒๐๖๙= ค.ศ. 1526) ผสู้ บื สายทา้ ยวงศข์ องตมี รู ์ คอื บาเบอร์ (Babur จากนน้ั ยกทพั แผอ่ ำ� นาจขยายดนิ แดนลงมา พฆิ าต หรือ Baber) จะมากำ� จดั สุลตา่ นแห่งเดลีและตงั้ ราชวงศ์ ท้งั กษตั ริยแ์ ละราษฎร ผ่านอัฟกานิสถานเขา้ ในตะวนั ออก โมกุลขนึ้ ครองอินเดยี แทนท่ีสบื ตอ่ ไป กลาง ต้ังแตอ่ ิหรา่ น อริ กั ไปจนถึงเขตรัสเซีย เสรจ็ แล้ว พกุ าม สยาม ทะเลจนี ใต้ สมุ าตมระาละปกะาหตังูมาสิก บอร์เนยี ว ปาเลมบงั ชวา จากซ้าย: ตมี ูร์ มะละกา 122 กาลานกุ รม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

กำ� เนดิ อาณาจักรมุสลิม อานุภาพของจีนคมุ้ ครองมะละกา แต่ กรงุ ศรอี ยธุ ยาได้ส่งกองทัพมาปราบเปน็ คราวๆ จุดเรม่ิ ของมาเลเซยี พอโปรตุเกสมา ชื่อมะละกาก็ลบั หาย แต่ก็ถูกตพี า่ ยกลับไปทกุ ครั้ง กระทัง่ ในรัชกาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถกท็ รงสง่ กองทพั มาตี ๒ คร้งั ครนั้ ถงึ พ.ศ. ๑๙๔๖ (ค.ศ. 1403) ทางปลายแหลมมลายู พ.ศ. ๑๙๔๘ (ค.ศ. 1405) หลังจากเจ้าปรเมศวร ปี 1456 จกั รพรรดิจีนได้ทรงมอบอิสรยิ ยศ “สลุ ตา่ น” แก่ เกดิ อาณาจกั รมะละกา (Melaka เคยเรียก Malacca) ซ่งึ ซ่งึ หนีจากปาเลมบัง ไดน้ ำ� ความเปน็ มลายแู หง่ สุมาตรา เจา้ ผู้ครองมะละกา ปรากฏต่อมาว่า อยุธยากบั มะละกา ถือว่าเป็นต้นก�ำเนิดประเทศมาเลเซีย และทำ� ใหอ้ ิสลาม มาต้ังอาณาจักรที่มะละกาใน ปี ๑๙๔๖ แลว้ เวลาน้นั ท้ัง ไดส้ งบศกึ และส่งราชทตู แก่กัน แตใ่ นรชั กาลสุดทา้ ยของ เป็นศาสนาของประเทศน้ี มชปหิตและสยามตา่ งกอ็ ้างอ�ำนาจครอบครองทน่ี นั่ แต่ มะละกา (1488-1511/๒๐๓๑–๒๐๕๔) สงครามกเ็ กิด สยามฝ่ายเดียวท่ีมีก�ำลังจดั การถงึ ได้ เจา้ ปรเมศวรต้อง ข้นึ อกี เพราะสยามถือว่ามะละกาอยใู่ นเขตอ�ำนาจ แต่ แตเ่ ดมิ นน้ั แหลมมลายแู ทบทงั้ หมดอยใู่ นอาณาจกั ร ขึ้นต่อสยาม แตจ่ ะตั้วตวั เป็นอิสระจงึ ได้หันไปพง่ึ อำ� นาจ มะละกาบอกว่าเจา้ ใหญ่ของตนมีแตพ่ ระจักรพรรดจิ นี ศรวี ิชยั มาตลอด ค.ศต. ท่ี 9-13 ต่อมา หลังจากศรีวชิ ยั จนี มาคมุ้ ครอง โดยเจรจาความฝากคณะทูตจีนท่มี าเยอื น เท่านน้ั กองทัพเรอื ของอยธุ ยาถกู ตีพ่ายกลับไป แตถ่ งึ ปี เสอ่ื มอำ� นาจแล้ว ในปี ๑๙๔๔ เม่อื อาณาจักรมชปหิต แลว้ ในปี 1405 กไ็ ด้ส่งคณะทูตของตนไปยังราชส�ำนักจนี 1511 โปรตเุ กสกม็ ายดึ มะละกาได้ คร้ังนน้ั สุลตา่ นส่งทตู แห่งชวาคกุ คามปาเลมบงั ในสมุ าตรา เจ้าชายฮินดูนามว่า และจนี กย็ อมรบั สถานะของมะละกา ไปขอความชว่ ยเหลือจากจีนเพ่ือสกู้ บั โปรตุเกส แต่พระ ปรเมศวรไดห้ นมี าตั้งหลักทเี่ กาะตูมาสิก หรอื เตมาเสก จกั รพรรดจิ ีนทรงอา้ งว่าทางกรงุ จีนก�ำลงั มศี ึกกับพวกตาด (Tumasik/Temasek คือ สิงหปุระ-->สิงคโปร์) แต่เวลา เวลานน้ั เปน็ จงั หวะทจ่ี กั รพรรดยิ งุ โล แหง่ ราชวงศ์ ไมอ่ าจช่วยได้ มะละกาก็ตกเปน็ อาณานคิ มของโปรตเุ กส นัน้ แหลมมลายูตลอดถึงเตมาเสก (เทมาเส็ก ก็เขียน) อยู่ หมิงของจีน ต้องการแสดงอ�ำนาจควบคมุ นา่ นน�้ำและดนิ แต่นน้ั สืบมา จนกระทงั่ พวกดทั ช์ (ฮอลันดา) มาแยง่ เอา ในเขตอ�ำนาจของสยาม เม่อื เจา้ ปรเมศวรขึ้นมาฆ่าเจ้าผู้ แดนแถบน้ี จงึ ส่งกองเรอื รบใหญ่ มเี รือ ๖๒ ลำ� กำ� ลังพล ไปในปี 1641/๒๑๘๔ แลว้ มาจบท่ีองั กฤษเขา้ ขดั ในปี ครองเกาะแล้ว ในปตี อ่ มา กถ็ กู ราชาแห่งปะหังหรือแหง่ ๒๗,๘๐๐ คน โดยนายพลขันทีชาวมสุ ลมิ ชอื่ เจงโฮ เป็นผู้ 1795/๒๓๓๘ และเขา้ ครองเต็มตวั โดยรวมท้งั สงิ คโปร์ใน ปัตตานซี ง่ึ อย่กู ับสยาม ยกกำ� ลงั มากำ� จดั จึงหนตี ่อจนข้ึน บัญชาการ ออกตระเวนแสดงอานุภาพในปี 1405/๑๙๔๘ ปี 1826/๒๓๖๙ เพิ่งไดเ้ อกราชในชอื่ ว่า Federation of มาตัง้ อาณาจกั รทีม่ ะละกา ซงึ่ เวลานนั้ เปน็ หมูบ่ ้านชาว กองเรือแวะทเ่ี มืองจมั ปา สยาม มะละกา ชวา บางเมอื ง Malaya เมอ่ื ปี 1957/๒๕๐๐ แลว้ รวมตัวกนั ก่อต้งั เปน็ ประมงเลก็ ๆ แลว้ กเ็ ขา้ องิ อำ� นาจของจนี เปน็ เกราะกนั สยาม ทางใต้ของอนิ เดีย จนถึงลงั กา แล้วกลบั ถึงจนี ในปี 1407 มาเลเซีย (ชื่อเต็มวา่ Federation of Malaysia) ในปี ในท่ีสุดได้เข้มแขง็ ขึ้นจนกลับเป็นฝา่ ยรุก เชน่ ตปี ะหังได้ ตอ่ มา ในปี 1409 เจงโฮไดน้ ำ� กองทพั เรือออกตระเวนเปน็ 1963/๒๕๐๖ (แตส่ ิงคโปร์ถอนตวั ออกไปในปี 1965/ จากสยาม และต่อมาก็ขยายดินแดนไปทว่ั แหลมมลายู ครง้ั ท่ี ๒ คราวนี้ได้น�ำเคร่ืองราชอิสริยยศที่พระจกั รพรรดิ ๒๕๐๘) จนี พระราชทานมามอบใหแ้ ก่เจา้ ปรเมศวร ประกาศให้ ใน พ.ศ. ๑๙๕๗ (ค.ศ. 1414) เจ้าปรเมศวร มี เปน็ พระราชา แตน่ ไี้ ป มะละกาซงึ่ พยายามแขง็ ขนื ตอ่ สยาม ชนมายุ ๗๐ พรรษา ได้อภิเษกสมรสกบั เจ้าหญิงมุสลิม อยแู่ ลว้ กเ็ ลกิ ส่งเครือ่ งราชบรรณาการแกก่ รงุ ศรอี ยุธยา เปล่ียนศาสนาไปเปน็ มสุ ลิม และเปลีย่ นพระนามเป็น ต่อมา เจ้าปรเมศวรได้เดินทางไปคารวะพระจักรพรรดิ สลุ ตา่ นนามว่าอซิ กันดาร์ ชาฮ์ นอกจากประชากรท่ีน่ัน ยงุ โล ท่เี มืองจีน ถึง ๒ ครัง้ (1411 และ 1419) ส่วนใหญ่จะเปล่ยี นไปเป็นมุสลมิ แล้ว อาณาจักรมะละกา ไดเ้ ปน็ แหล่งแพร่อิสลามไปในหม่เู กาะอนิ โดนเี ซยี ดว้ ย (มะละกาจะตกเปน็ ของโปรตเุ กสใน พ.ศ. ๒๐๕๔/ค.ศ. 1511) พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ โฺ ต ) 123

ยุคอาณานคิ ม โปรตุเกส เรมิ่ ยคุ อาณานิคม ใต้ไดใ้ นปี ๒๐๓๑/1488 ตอ่ ด้วยโคลมั บสั ค้นพบอเมรกิ า พ.ศ. ๑๙๖๑ (ค.ศ. 1418) คนโปรตเุ กสไดช้ ่อื ว่า ในนามของสเปนในปี ๒๐๓๕/1492 จากนนั้ ประเทศทั้ง เปน็ ชาวยุโรปพวกแรกท่ีส่งเสรมิ การส�ำรวจและการหา หลายในยุโรปแถบริมฝง่ั มหาสมทุ รแอตแลนตกิ ส่วนมาก อาณานิคมทางทะเล โดยเร่มิ แรกไดแ้ ล่นเรือจากฝง่ั ทะเล ก็พากนั ออกเดนิ เรอื แสวงหาอาณานคิ ม ไดแ้ ก่ ฮอลนั ดา อาฟรกิ าตะวนั ตกไปยงั เกาะปอรโ์ ต แซนโต (Porto Santo (ตง้ั Dutch East India Company ในปี ๒๑๔๕/1602, ในหม่เู กาะมาเดยี รา/Madeira Islands) ตอ่ นน้ั กวา่ จะถึง Dutch West India Company, ๒๑๖๔/1621) องั กฤษ ปี ๒๐๓๐ เขากไ็ ปถึงสดุ ปลายทวีปอาฟริกา (British East India Company, ๒๑๔๓/1600) และ ฝรง่ั เศส (French East India Company, ๒๒๐๗/1664) โปรตเุ กสเปดิ ทางเดนิ เรอื ทะเลรอบอาฟริกาด้าน University of Texas Libraries จีนพิมพห์ นังสือสรรพวทิ ยา พ.ศ. ๑๙๔๘ (โดยประมาณ; ค.ศ. 1405) ท่เี มอื ง จีน จักรพรรดิยงุ โล แห่งราชวงศห์ มงิ ให้นักปราชญ์ ค้นควา้ และพมิ พห์ นังสือประมวลสรรพวทิ ยา เม่อื เสรจ็ มี จำ� นวนกวา่ ๑๒,๐๐๐ เลม่ เปน็ encyclopedia ชดุ ใหญ่ ทส่ี ดุ ทีเ่ คยมี บน: Yongle Encyclopedia ออตโตมานเตอรก์ ขวา: จกั รพรรดยิ ุงโล แผนทดี่ นิ แดนท่พี บใหม่ หลงั ถูกมงโกลตี ต้งั ตวั ได้ใหม่ พ.ศ. ๑๙๕๖ (ค.ศ. 1413) ตมี ูร์รบชนะแล้วก็ผ่าน เลยไป พวกออตโตมาน-เตอรก์ ทแ่ี ทบจะอวสาน กต็ ง้ั ตวั ข้นึ ใหม่ ตอ่ จากน้กี ม็ ีแต่ขยายอำ� นาจออกไป จนยิ่งใหญ่ ท่สี ุดในช่วง พ.ศ. ๒๐๖๓-๒๑๐๙ ( ค.ศ. 1520-66) 124 กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

พบพระแก้วมรกต ท่เี ชยี งราย สงั คายนาคร้งั แรกของประเทศไทย สุดท้าย ประดิษฐานทีก่ รุงเทพฯ พ.ศ. ๑๙๗๘–๒๐๓๐ (ค.ศ. 1435-1487, บา้ งวา่ พ.ศ. ๑๙๗๗ (ค.ศ. 1434, บา้ งวา่ ๑๙๗๙/1436) ๑๙๗๕–๒๐๓๑/1432-1488) ที่อาณาจกั รลา้ นนา เป็น ทอ่ี าณาจกั รลา้ นนา ในรัชกาลพระเจา้ สามฝง่ั แกน พระ รัชกาลพระเจ้าตโิ ลกราช โอรสของพระเจา้ สามฝัง่ แกน สถปู ใหญ่เกา่ แก่องค์หนึ่ง ณ เมอื งเชียงราย ตอ้ งอสนบี าต พระองค์เคยทรงผนวชท่ีวดั ปา่ แดงเม่อื ปี ๑๙๙๐ ครนั้ พงั ลง ได้พบพระแก้วมรกต (หนังสือ รตั นพิมพวงศ์ ถึง พ.ศ. ๒๐๒๐ ได้ทรงอุปถัมภ์การสังคายนาครั้งแรก ว่า เทวดาสรา้ งถวายพระนาคเสนอรหันตเถระ ที่เมือง ของประเทศไทย (นับต่อจากทลี่ งั กา เปน็ คร้ังที่ ๘) ณ วดั ปาตลีบุตร ตอ่ มาไปอยู่ในลงั กาทวีป แล้วมากัมโพชา โพธาราม หรือวดั เจ็ดยอด เมอื งเชยี งใหม่ ศรอี ยุธยา ละโว้ กำ� แพงเพชร แลว้ จงึ มาถึงเชียงราย เจ้า เมอื งเชียงรายจะซ่อนแกศ่ ตั รู จึงเอาปูนทาลงรักปิดทอง จากซ้าย: บรรจุไวใ้ นพระเจดยี )์ หลงั จากเห็นองค์จริงและแกะปูน พระแก้วมรกต ออกแลว้ ไดป้ ระดิษฐานที่วดั พระแกว้ เมอื งล�ำปาง จาก วดั เจด็ ยอด นนั้ ได้ไปประดษิ ฐานทเ่ี มืองเชยี งใหม่ในปี ๒๐๑๑/1468 ต่อมา อญั เชิญไปสถติ ทเ่ี มืองหลวงพระบางใน พ.ศ. ๒๐๙๕/1552 แล้วยา้ ยไปประดษิ ฐานทีเ่ มืองเวียงจนั ทน์ ในปี ๒๑๐๗/1564 หลังจากน้ัน อญั เชิญมาประดษิ ฐานท่ี โรงพระแก้ว ในพระราชวงั เดิม กรงุ ธนบรุ ี เมื่อปี ๒๓๒๑/ 1778 จนในทส่ี ดุ ณ วนั จันทร์ เดือน ๔ แรม ๑๔ ค่�ำ ปี มะโรง พ.ศ. ๒๓๒๗/1784 ในรชั กาลที่ ๑ แหง่ กรุง รตั นโกสินทร์ โปรดฯ ใหอ้ ญั เชญิ มาประดิษฐานในพระ อโุ บสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ จนบดั นี้ พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยุตโฺ ต ) 125

บา้ นเมืองมนั่ คงลงตวั เข้มแขง็ วัดวาเปน็ แหล่งการศกึ ษาของชาวบา้ นชาวเมอื ง พ.ศ. ๑๙๙๑–๒๐๓๑ (ค.ศ. 1448-1488) ที่กรงุ ศรอี ยุธยา หลงั จากพระเจ้าอทู่ อง หรือสมเด็จพระรามา- ธบิ ดที ี่ ๑ ขนึ้ เสวยราชยเ์ ปน็ ปฐมกษตั รยิ ใ์ นปี ๑๘๙๓/1350 และสวรรคตในปี ๑๙๑๒/1369 แล้ว ผา่ นรชั กาลตา่ งๆ คือ พระราเมศวร (๑๙๑๒ และ ๑๙๓๑–๑๙๓๘) สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๑ หรือขนุ หลวงพะงัว่ (๑๙๑๓– ๑๙๓๑) เจา้ ทองลนั (๑๙๓๑ เพยี ง ๗ วนั ) สมเดจ็ พระราม- ราชาธริ าช (๑๙๓๘–๑๙๕๒) สมเดจ็ พระนครอนิ ทราธริ าช (๑๙๕๒–๑๙๖๗) สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ หรือ เจา้ สามพระยา (๑๙๖๗–๑๙๙๑) มาโดยลำ� ดับ 126 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

บดั นี้ ๑ ศตวรรษลว่ งแลว้ หลังการต้งั กรงุ ศรี- ทรงทำ� สงครามกับพระเจ้าติโลกราช บอ่ ยคร้ัง อยา่ งท่ี ในรัชสมัยของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถนนั้ อยุธยา เป็นรชั กาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ พดู ไดส้ ัน้ ๆ วา่ “ไตรโลก” คู่ศกึ กับ “ติโลก” จนใน ได้ทรงจัดระบบการปกครองแผน่ ดนิ นำ� หลักจตสุ ดมภ์ ที่สดุ ทางเชยี งใหม่ขอเปน็ ไมตรใี นปี ๒๐๑๗/1474 แต่ ที่มแี ต่เดมิ สมัยพระเจา้ อู่ทอง มาวางใหเ้ ป็นแบบแผน เมอ่ื ตง้ั อาณาจักรขนึ้ ใหม่ ภารกิจส�ำคัญอย่างหน่งึ ในรชั กาลตอ่ ๆ มา กม็ ีการขัดแยง้ กันอีก จนสดุ ทา้ ย ทง้ั รอบคอบย่งิ ขึน้ เริ่มแต่การปกครองราชธานี แยกเป็นการ คอื การจดั การเขตปกครองกบั อาณาจกั รข้างเคยี ง เฉพาะ เชยี งใหม่และกรงุ ศรอี ยธุ ยา กเ็ สยี แกพ่ ระเจ้าบเุ รงนอง ทหาร (มีสมุหพระกลาโหม) ฝา่ ยหนง่ึ กบั การพลเรอื น (มี อย่างยิ่งกับสุโขทัยทเ่ี คยครอบครองดนิ แดนแถบนน้ั มา แหง่ พม่า ในปี ๒๑๐๑/1558 และ ๒๑๑๒/1569 ตาม สมหุ นายก) ท่จี ัดเป็นจตสุ ดมภ์ (เวียง วัง คลงั นา) ฝา่ ย ก่อน แตก่ ารนม้ี ไิ ดใ้ ชเ้ วลานาน เพยี งถงึ ปี ๑๙๒๑/1378 ลำ� ดบั โดยเฉพาะเชยี งใหมน่ ้ัน ในท่ีสุด พระเจ้าบเุ รงนอง หนง่ึ ส่วนการปกครองหัวเมอื ง แบง่ เป็นหวั เมืองช้นั ใน ในรชั กาลขนุ หลวงพะงั่ว พระเจ้าไสยลือไทยก็ยอมขนึ้ ต่อ ถึงกบั ให้โอรสมาครองในปี ๒๑๒๑/1578 หลังจาก เมืองพระยามหานคร และเมอื งประเทศราช ซึ่งท้ังหมด กรุงศรีอยธุ ยา และดินแดนของสโุ ขทัยไดถ้ ูกแบง่ เป็น ๒ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชประกาศอสิ รภาพจาก ใชร้ ะบบเดียวกบั ราชธานี ทรงวางลำ� ดับยศขา้ ราชการ (ที่ มณฑล มีเมอื งหลวงทพ่ี ษิ ณุโลก กบั ทกี่ ำ� แพงเพชร โดย พมา่ ในปี ๒๑๒๗/1584 และทรงชนะศกึ ยทุ ธหัตถใี น ต่อมาเรยี กวา่ บรรดาศักด)ิ์ เปน็ เจ้าพระยา พระยา พระ ให้พระเจ้าไสยลือไทยไปครองพิษณุโลก ครน้ั เมือ่ กษตั รยิ ์ ปี ๒๑๓๕/1592 แล้ว ตอ่ มา ไดท้ รงแก้ไขปญั หาด้าน หลวง ขุน หมืน่ พัน ทนาย พรอ้ มท้ังตงั้ พระราชกำ� หนด ที่ครองพิษณุโลกพระองคต์ อ่ มา (คอื พระมหาธรรมราชา เชยี งใหม่ ทำ� ใหโ้ อรสของพระเจา้ บุเรงนอง (มงั นรธาชอ่ ) ศักดินา และทรงตงั้ กฎมนเทยี รบาลให้รัดกุม ที่ ๔) สวรรคต ใน พ.ศ. ๑๙๘๑/1438 สมเด็จพระบรม- ท่ีครองเชยี งใหม่ ยอมใหเ้ ชยี งใหมข่ ้นึ ตอ่ กรงุ ศรีอยุธยา ไตรโลกนาถ คร้งั ยงั เป็นพระราเมศวร (โอรสของเจ้า ในปี ๒๑๓๘/1595 แต่ในกาลต่อๆ มา ท้งั สองกรุงก็มี ในด้านการพระศาสนา ต้ังแตต่ น้ รัชกาล โปรด สามพระยา) ซง่ึ มีพระชนนเี ป็นพระราชธิดาของพระ ปัญหากบั พม่าอกี จนทง้ั เชียงใหม่และกรงุ ศรีอยุธยา ก็ ใหร้ อ้ื พระราชวังแลว้ สรา้ งวัดขึ้นพระราชทานนามว่า วัด มหาธรรมราชา คอื ทรงเปน็ เชือ้ สายทัง้ ราชวงศ์พระร่วง เสียแกพ่ ระเจา้ องั วะแห่งพมา่ ในปี ๒๓๐๖/1763 และ พระศรสี รรเพชญ์ (นีว้ ่าตาม จลุ ยทุ ธการวงศ์ คือย้าย และราชวงศอ์ ู่ทอง กไ็ ด้รับพระบรมราชโองการให้ไป ๒๓๑๐/1767 ตามลำ� ดับ คร้ันเมื่อพระเจา้ ตากสิน พระราชฐาน แตบ่ างตำ� ราว่าสร้างวัดนนั้ ในวัง) และคงจะ ครองเมืองพษิ ณุโลก เปน็ อันรวมอาณาจกั รสุโขทัยเดิมเข้า มหาราชทรงตัง้ กรงุ ธนบรุ ีในปี ๒๓๑๐ น้ันแล้ว ตอ่ มา ทรงดำ� เนินตามอยา่ งพระมหาธรรมราชาลไิ ท เมอ่ื ไดท้ รง กบั กรงุ ศรอี ยุธยาเป็นสยามประเทศอันเดยี วกนั แม้เมอื่ กไ็ ดท้ รงข้นึ ไปท�ำศกึ ชิงเชียงใหม่ใหเ้ ป็นอิสระจากพม่าใน สร้างวดั จฬุ ามณแี ล้ว จึงเสดจ็ ออกทรงผนวชท่ีวัดจฬุ ามณี ขนึ้ ครองราชย์ในปี ๑๙๙๑ แลว้ กป็ ระทับทก่ี รงุ ศรีอยธุ ยา พ.ศ. ๒๓๑๗/1774 เชียงใหม่จงึ ไดม้ เี จา้ เมืองปกครองตอ่ นนั้ ๘ เดือน ๑๕ วนั (ว่า พ.ศ. ๑๙๙๘ บา้ ง ว่า พ.ศ. เพยี ง ๑๕ ปี แลว้ โปรดใหพ้ ระราชโอรสครองกรงุ ศรอี ยธุ ยา มา จนในทส่ี ุด ถึงรชั กาลที่ ๕ ข้ึนสยู่ คุ สมัยใหม่ มกี ารจัด ๒๐๐๘ บ้าง) อีกทง้ั ต่อมาใน พ.ศ. ๒๐๒๗ ไดโ้ ปรดให้พระ พระองคเ์ สด็จไปประทบั ทพี่ ิษณุโลก ๒๕ ปี จนเสด็จ ระบบการปกครองบ้านเมืองใหท้ นั สมยั ล้านนากเ็ ขา้ อยู่ ราชโอรสและพระราชนัดดาผนวชเป็นสามเณร ประเพณี สวรรคตท่ีนัน่ ในปี ๒๐๓๑ ในแบบแผนเดียวกบั ดนิ แดนสว่ นอ่นื ทัง้ ปวงในพระราช- บวชเรยี นคงตั้งต้นจริงจงั แตน่ สี้ ืบมา ในด้านวรรณคดี ที่ อาณาจกั รไทย ซง่ึ ได้พัฒนามาจนแบ่งเป็นจงั หวดั ต่างๆ เปน็ งานใหญค่ อื โปรดใหป้ ระชุมราชบัณฑติ แต่งหนังสือ สว่ นทางเชียงใหม่ กม็ ีเร่อื งขัดแยง้ ทำ� ศึกกับอยุธยา ดังทีป่ รากฏในปัจจุบนั มหาชาติค�ำหลวง ขน้ึ ใน พ.ศ. ๒๐๒๕/1482 มาเรอื่ ยๆ เชน่ ทางอยธุ ยาขัดเคอื งทีเ่ ชยี งใหมเ่ ขา้ ขา้ งชว่ ย สุโขทยั จนถึงสมยั ของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ กไ็ ด้ พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตฺโต ) 127

เทคโนโลย:ี ตะวันตกร่งุ สาง เยอรมนั ก้าวไลม่ าในการพิมพ์ เม่อื ตะวนั ออกร้างแสง พ.ศ. ๑๙๙๓ (ค.ศ. 1450) ทเ่ี ยอรมนี กเู ตนเบอรก์ พ.ศ. ๑๙๙๖-๒๐๗๐ (ค.ศ. 1453-1527) ชว่ ง (Gutenberg) พิมพห์ นังสอื ด้วยตวั เรยี งพิมพโ์ ลหะเปน็ เวลาที่เรียกว่ายคุ คนื ชพี (Renaissance) ในยุโรป คือ คร้งั แรก (หนงั สือท่ีพิมพ์คือไบเบลิ ) ผา่ นพน้ ยคุ มืด โดยมกี ารฟื้นฟูศลิ ปวิทยาการของกรีกและ โรมันโบราณ ทล่ี บั เลือนจมหายไประหว่างเวลา ๑,๐๐๐ จกั รวรรดโิ รมันตะวันออกล่มสลาย ปีแห่งสมยั กลางนนั้ ยโุ รปสน้ิ สมยั กลาง ขณะทีย่ ุโรปและอารยธรรมตะวนั ตกก้าวออก พ.ศ. ๑๙๙๖ (ค.ศ. 1453) หลังจากจักรวรรดิ จากยุคมืดคนื ชีพขึน้ มาได้นี้ ชมพทู วปี และอารยธรรม บีแซนทนี (Byzantine Empire) หรือโรมนั ตะวนั ออก ตะวันออกได้เร่มิ ย่างกา้ วลงไปแลว้ สู่ความอับเฉาในยคุ ถูกพวกออตโตมานเตอรก์ โอบลอ้ มเขา้ มาๆ จนสุดความ แหง่ ความมดื มน ท้งั จากภัยรกุ รานและลทั ธิอาณานิคมท่ี สามารถทจี่ กั รพรรดคิ อนสแตนตินท่ี ๑๑ จะรกั ษาไว้ได้ จะดำ� เนินต่อไป กรงุ คอนสแตนติโนเปลิ ก็แตกแกส่ ลุ ตา่ นมฮู มั หมดั ท่ี ๒ (ถ้ามองโดยรวมทัง้ โลก อาจจะพดู ว่า อารยธรรม นเี้ ป็นอวสานของจกั รวรรดโิ รมนั โบราณ อันถือ มนุษยไ์ ด้ก้าวสู่ยุคแห่งการรกุ รานและห้�ำหัน่ บฑี า ไม่แบบ เป็นจุดก�ำหนดการ “สิน้ สดุ สมัยกลาง” (Middle Ages, โจง่ แจง้ กแ็ บบแฝงเร้น) ค.ศ. 476-1453) ของยโุ รป นบั ว่าเข้าสู่ยุคสมัยใหม่ (modern era) จากบน/จากซา้ ย: ไบเบิลของกูเตนเบอร์ก คอนสแตนตินท่ี ๑๑ กเู ตนเบอรก์ Leonardo da Vinci Michelangelo Buonarroti 128 กาลานกุ รม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

ศาลใหญก่ ำ� จดั คนนอกครสิ ต์ ตง้ั ทสี่ เปน ยิวแยท่ กุ ยคุ และทุกท่ี พ.ศ. ๒๐๒๖ (ค.ศ. 1483) โดยการรอ้ งขอของ ยิวเปน็ พวกหนึง่ ทถี่ กู กำ� จัด (persecution) อยา่ ง ราชาและราชนิ ีแหง่ สเปน โปป๊ /สันตะปาปา ซิกซตสั ที่ ๔ รนุ แรง ท้งั ในสเปนและทอี่ นื่ ในยโุ รป ทั้งในแงต่ ่างศาสนา (Sixtus IV) ทรงมอบอ�ำนาจใหต้ ั้งศาลไตส่ วนศรัทธาของ แลว้ ต่อมากใ็ นแง่เชอื้ ชาติอีก ผสมท้ังทิฐชิ ังยิว หรอื ลทั ธิ สเปน (Spanish Inquisition) ขนึ้ เป็นเอกเทศเพอ่ื ก�ำจัด ต่อตา้ นยิว (anti-Semitism) ที่สืบจากความเชอ่ื วา่ พวก กวาดล้างคนนอกศาสนา (persecution) ศาลฯ ของ ยวิ เปน็ ตัวการใหพ้ ระเยซถู กู จบั ตรงึ ไมก้ างเขน เช่น สเปนน้ขี ้นึ ชอ่ื วา่ เหีย้ มโหดคล่งั ลทั ธอิ ยา่ งที่สดุ ในปี ๑๘๙๑ ที่บางเมอื งในสวิตเซอร์แลนด์และ คนพวกหนง่ึ ที่ถูกฆ่ามาก คอื พวกที่ถกู หาว่าเป็น เยอรมนี พวกยิวถูกหาวา่ เปน็ พวกแพร่โรคไขด้ �ำ แลว้ ยิว แมม่ ดหมอผี ซึ่งถูกกำ� จดั มากมายต้งั แต่คริสต์ศตวรรษ ทกุ คนทีถ่ กู หาตัวได้กถ็ กู ต้อนเข้าไปในอาคารไมแ้ ละเผา ท่ี 14 ถึง 18 (ช่วง พ.ศ. ๑๘๕๐-๒๒๕๐) เช่น Spanish คลอกทง้ั เป็น เฉพาะทีเ่ มืองสตรสั เบอร์กในฝรง่ั เศสคนยวิ Inquisition ท่ใี หเ้ อาคนซึ่งถูกกล่าวหาอยา่ งนไ้ี ปเผาทั้ง ถกู จบั แขวนคอ กวา่ ๒,๐๐๐ คน หรอื อยา่ งในสเปน เมอื่ เป็น วนั ละถึง ๑๐๐ คน พ.ศ. ๒๐๓๕ คนยิวถูกขับออกจากประเทศแสนเจด็ หมื่น คน (แม้แต่หนีภยั การก�ำจัดทางศาสนาอย่างน้ีจาก ยโุ รปมาอยู่ในอเมรกิ าแลว้ คนทหี่ นีมากย็ งั ห�ำ้ หน่ั กันอีก เชน่ ที่เมอื งซาเล็ม ในรัฐแมสสาจูเซทส์ เม่ือปี ๒๒๓๕ กย็ งั มกี ารจับคนท่ถี ูกหาว่าเปน็ แม่มดฆา่ เสยี ๒๐ คน) (ในสเปนนั้น ศาลให้ค�ำวา่ “นอกรีต” รวมถงึ ชาว มสุ ลมิ ดว้ ย) จากบน: โป๊ป ซิกซตัส ท่ี ๔ ยิว พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 129

โคลัมบัสคน้ พบอเมรกิ า และทกุ สง่ิ ทกุ อย่างทอ่ี ยซู่ กี ตะวนั ตก ให้สเปนไปครอบ ครองไดท้ ั้งส้นิ พ.ศ. ๒๐๓๕ (ค.ศ. 1492) คริสโตเฟอร์ โคลัมบสั (Christopher Columbus) นกั สำ� รวจชาวอติ าเลียน ผู้ เน่ืองจากดินแดนเปน็ อนั มากท่ีมาเปน็ ประเทศ ท�ำงานให้แกท่ างการสเปน เดินทางจากยโุ รปไปตะวนั ตก บราซลิ (Brazil) อยู่เลยเส้นแบ่งโลกไปทางทศิ ตะวันออก โดยเชอื่ วา่ เพราะโลกกลม เขาก็จะไปถึงอินเดยี ได้ แต่ ตอ่ มา โปรตเุ กสจึงเข้าครองบราซลิ เป็นอาณานิคม (ค.ศ. กลายเปน็ ว่าเขาไดค้ ้นพบทวปี อเมริกา 1500-1822 = ๓๒๒ ปี) บราซลิ จึงเป็นประเทศเดยี วใน ละตินอเมรกิ าท่พี ดู ภาษาโปรตุเกส (ประเทศอ่ืนแทบท้งั (ต่อมาปี ๒๐๔๒/ค.ศ. 1499 อเมริโก เวสปซุ ซ/ี หมดพดู ภาษาสเปน เว้นเฮตทิ ี่พูดภาษาฝร่งั เศส) บราซลิ Amerigo Vespucci ไดน้ �ำสำ� รวจอเมรกิ าใต้สว่ นเหนือ เป็นประเทศใหญท่ สี่ ดุ ในละตินอเมรกิ าท้งั โดยเนอื้ ที่ และ อยา่ งกวา้ งขวางและเขียนบรรยายการเดนิ ทางไว้ นกั ประชากร เป็นเกอื บคร่งึ หนง่ึ ของทวีปอเมรกิ าใต้ (บราซิล ภมู ิศาสตร์ยโุ รปชอบใจ เลยตง้ั ชอื่ แผน่ ดนิ ทค่ี น้ พบใหมน่ ้ี มีประชากรมากเป็นท่ี ๒ ในทวีปอเมรกิ าทง้ั เหนอื และใต้ ตามชอ่ื ของเขาเปน็ “อเมริกา” คือรองจากสหรัฐอเมรกิ า และมีอาณาเขตกว้างใหญ่เปน็ อนั ดบั ๓ ถดั จาก แคนาดา และสหรฐั ฯ) และเปน็ ประเทศ โป๊ปใหโ้ ปรตุเกสกบั สเปนแบง่ โลก ท่ีมปี ระชากรเป็นคาทอลกิ มากกว่าประเทศอ่ืนใดในโลก ไปหาเมอื งข้นึ ได้คนละซีก ในปี ๒๐๕๗/1514 สันตะปาปาลโี อ ที่ ๑๐ ออก พ.ศ. ๒๐๓๗ (ค.ศ. 1494) สืบเนื่องจากปญั หา พระโองการหา้ มใครอืน่ ผู้ใดก็ตาม มิใหเ้ ขา้ ไปยุ่งเก่ยี ว ทเ่ี พ่ิมขน้ึ ในการแข่งขนั กนั หาอาณานคิ ม จนถงึ กรณกี าร แทรกแซงกับสมบัติของโปรตเุ กส เดนิ ทางของโคลัมบสั น้ี ทำ� ให้ผู้ปกครองประเทศโปรตุเกส จากซ้าย: และประเทศสเปน ตอ้ งมาตกลงกนั ในการแสวงหาผล อเมรโิ ก เวสปุซซี ประโยชน์ทจี่ ะไม่ให้ขัดแยง้ กัน และไดเ้ ซ็นสนธิสัญญา ครสิ โตเฟอร์ โคลัมบสั โตร์เดซิลย่าส์ (Treaty of Tordesillas) โปป๊ อเลกซานเดอร์ ที่ ๖ แผนท่ขี องโคลัมบสั ทงั้ น้ี โดยโปป๊ /สนั ตะปาปาอเลกซานเดอร์ที่ ๖ หน้าตรงขา้ ม: ประทานความชอบธรรมในการแบ่งโลกดว้ ยการขดี เส้น Treaty of Tordesillas แบ่งลงในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ให้ดินแดนในสว่ นทมี่ ิใช่ เส้นแบง่ โลก ท่ีโป๊ปขดี ให้ เปน็ ของชาวครสิ ต์ แยกออกเป็น ๒ ซกี ทุกสง่ิ ทุกอย่าง ที่อยูซ่ กี ตะวนั ออก ใหโ้ ปรตุเกสไปครอบครองไดท้ ้งั หมด 130 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

พระพรหมคณุ าภรณ์ ( ป. อ. ปยุตโฺ ต ) 131

โปรตเุ กสเปดิ อนิ เดยี แกก่ ารหาอาณานคิ ม พ.ศ. ๒๐๔๐ (ค.ศ. 1497) วาสโกดากามา (Vasco da Gama) ชาวโปรตเุ กส เดนิ เรอื ออ้ มแหลมกู๊ดโฮป แล้ว ปตี อ่ มา ๒๐๔๑ กม็ าถึงอนิ เดยี ได้ช่อื ว่าเปน็ ผู้เปิดถน่ิ แดน ตะวนั ออกแกก่ ารคา้ และการจบั จองอาณานคิ มของโปรตเุ กส และเรม่ิ ยคุ แขง่ แยง่ การคา้ และอาณานคิ มระหวา่ งโปรตเุ กส สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส อีกหลายศตวรรษ วาสโกดากามา สองมหาอ�ำนาจมสุ ลมิ ต่างนกิ าย โปรตเุ กสผพู้ ชิ ติ มะละกา คอื ฝรงั่ ชาตแิ รก สเปนลา่ อาณานคิ มและสมบตั ิ ในอเมรกิ า แข่งอ�ำนาจกัน ทมี่ าผูกสัมพนั ธแ์ ละเปดิ การค้ากบั ไทย พ.ศ. ๒๐๕๕ (ค.ศ. 1512) ถงึ ปนี ี้ สเปนซึ่งเป็น พ.ศ. ๒๐๔๕ (ค.ศ. 1502) ทจี่ กั รวรรดอิ อตโตมาน พ.ศ. ๒๐๕๔ (ค.ศ. 1511) ท่ีกรงุ ศรอี ยธุ ยา ใน ยุโรปชาตแิ รกทม่ี าล่าอาณานคิ มในอเมรกิ า ไดค้ รอบ หลังจากลม้ จกั วรรดโิ รมันตะวันออก คอื บีแซนทีนไดใ้ น รชั กาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ (โอรสของสมเดจ็ ครองเกาะขนาดใหญใ่ นเวสตอ์ นิ ดีสหมดแล้ว แตต่ อ้ งผดิ พ.ศ. ๑๙๙๖ และเข้าต้ังเมอื งหลวงในคอนสแตนตโิ นเปิล พระบรมไตรโลกนาถ) ดูอาร์ตี เฟอรน์ านเดซ (Duarte หวงั เศร้าใจเป็นทส่ี ดุ เม่ือพบว่าผืนแผน่ ดนิ ที่นน่ั แทบไมม่ ี แลว้ พวกออตโตมานตอร์กทเี่ ปน็ มุสลมิ นิกายสุหนกี่ ็แขง่ Fernandez) น�ำทูตคณะแรกของโปรตุเกสมาเข้าเฝ้า สมบัตอิ ะไรทีจ่ ะขนเอาไป มแี ต่คนพน้ื ถิน่ ไม่นุง่ ผา้ ทลี่ ้ม อ�ำนาจกบั จกั รวรรดิเปอรเ์ ซยี ทางตะวนั ออก ทเี่ ปน็ มุสลมิ เพือ่ แจง้ ว่าโปรตุเกสไดเ้ ข้าครอบครองมะละกาแลว้ (ยึดได้ หายตายไปอย่างรวดเรว็ เมอื่ ตดิ ตอ่ เกี่ยวข้องกบั คนยุโรป นิกายชอี ะฮ์ ต่อแตน่ กี้ ็ทำ� สงครามกนั เปน็ ระยะๆ ณ ๑๕ สงิ หาคม) กรงุ ศรอี ยุธยาแม้จะถือว่ามะละกาเป็น ดนิ แดนของสยาม แต่เวลาน้นั กำ� ลังมีศกึ หนกั กบั เชยี งใหม่ ต่อมา พวกสเปนได้ข่าววา่ ท่เี ปรู ชาวอินคา เรม่ิ การค้าทาส จึงมไิ ด้ว่ากล่าวอนั ใดต่อโปรตเุ กส เพยี งแต่แสดงความ ร่ำ� รวยมาก แลว้ กไ็ ดย้ ินอีกว่า ที่เมกซิโก พวกแอสเทค จับคนอาฟรกิ นั ขายสง่ มาอเมรกิ า เห็นชอบใหโ้ ปรตุเกสเขา้ มาท�ำการค้าที่พระนครศรอี ยธุ ยา (Aztec) มเี งินและทองคำ� อดุ มสมบูรณ์ ดงั น้นั พอถงึ ปี นครศรีธรรมราช ปัตตานี มะริด (Mergui) และตะนาวศรี ๒๐๖๒/1517 พวกสเปนก็เข้าบกุ อาณาจักรแอสเทค รบ พ.ศ. ๒๐๕๒ (ค.ศ. 1509) เรม่ิ มกี ารคา้ ทาสในทวปี (Tenasserim) อยู่ 2 ปี ก็พิชิตเสรจ็ เปลย่ี นเมืองหลวงของพวกแอสเทค อเมรกิ า คนอาฟรกิ นั ถกู จบั สง่ มาขายเปน็ ทาสตลอดเวลาราว เปน็ เมืองเมกซโิ ก (Mexico City) ไดเ้ งินทองมากมาย ๓๐๐ ปี กวา่ สหรฐั จะเลกิ การคา้ ทาสใน พ.ศ. ๒๓๕๑ (ค.ศ. ทำ� ใหม้ ีจินตนาการวา่ ทางเหนอื ขน้ึ ไปจะมสี มบัติมหาศาล 1808) กข็ ายมาเกนิ ๑๐ ลา้ นคน (หลงั จากเลกิ คา้ ทาสแลว้ ๕๗ ปี สหรฐั จงึ ยกเลกิ สถาบนั ทาสสำ� เรจ็ ในปี ๒๔๐๘/1865) การก�ำจดั พวกแอสเทคนี้ส�ำเรจ็ ไดด้ ว้ ยความชว่ ย เหลอื ของคนอินเดียนแดงพวกทเี่ กลียดชาวแอสเทค และ อาศยั โรคฝดี าษช่วย 132 กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

จนี อาณานคิ มแรกของโปรตุเกส ในอินเดีย ปากีสถาน เนปาล พ.ศ. ๒๐๕๓ (ค.ศ. 1510) กษัตรยิ ม์ านูเอล อนิ เดีย บงั คลาเทศ (Manuel) แหง่ โปรตเุ กสส่งก�ำลงั มายึดเมืองทา่ ส�ำคัญๆ ต้ังแตอ่ า่ วเปอร์เซียจนถึงอนิ เดีย เปน็ ของตน ท�ำให้การค้า กวั แบบเปิดจบสนิ้ ไป และในคราวนี้ท่อี นิ เดยี โปรตเุ กสได้ตัง้ อาณานิคมทก่ี วั (Goa) เป็นศูนย์การค้า และแผศ่ าสนา คริสต์นิกายโรมนั คาทอลิก กษตั รยิ ์มานูเอล ท่ี ๑ จากเมกซิโก พวกสเปนย้อนกลับลงมายังแดนท่ี เบรงิ ทไี่ ซบีเรีย เขา้ อลาสกามาส่ทู วปี อเมริกาเม่อื กว่า กรนี แลนด์ ปัจจบุ นั เปน็ เปรู (Peru) แล้วตอ่ มากร็ ุกเข้าในถ่ินของพวก ๒๐,๐๐๐ ปีมาแลว้ และเปน็ ชนพวกแรกในอเมริกาที่มี อนิ คา (Inca) พอถงึ ปี ๒๐๗๕/1532 กจ็ บั จกั รพรรดอิ นิ คา บันทึกประวัติศาสตร์ ซงึ่ เร่มิ เขียนตั้งแตร่ าว พ.ศ. ๕๐๐ อเมริกาเหนอื Aztec Sun Stone ได้ เมื่อรวบรวมยึดทรพั ยส์ มบัตไิ ด้มากมายแลว้ ปตี ่อมา =50 BC พบท่กี �ำแพงวงั อนุสาวรยี ์ และเครือ่ งปน้ั ดินเผา กส็ �ำเรจ็ โทษจักรพรรดิอนิ คาเสยี และปกครองดนิ แดน เป็นตน้ ซึง่ ทำ� ให้รูป้ ระวัตขิ องราชา และราชินีสำ� คญั มหาสมุทร ท้งั หมด แต่ถงึ ปี ๒๐๗๘/1535 จึงหาท่เี หมาะได้ และต้งั ตง้ั แตย่ ุคนัน้ มาจนถงึ ถกู สเปนเข้าครอง แอตแลนตกิ เมอื งหลวงของตนทีใ่ กลฝ้ ่ังทะเล ชื่อว่าเมอื งลมี า (Lima; ปจั จุบันเปน็ เมอื งหลวงของเปรู) แลว้ สเปนก็ออกรุกราน อารยธรรมมายารงุ่ เรอื งสุดในชว่ งปี ๘๓๕-๑๔๕๒/ มหาสมทุ ร อเมรกิ าใต้ ชนเจ้าถิ่นอินเดยี นแดง ขยายดินแดนออกไปทุกทศิ 292-909 ซึ่งถือกันวา่ เป็นยุคคลาสสิก พวกมายากา้ วหนา้ แปซฟิ กิ อนิ คา ทางคณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ โดยเฉพาะคำ� นวณปฏิทนิ ในท่ซี ึง่ ปจั จบุ นั เป็นเมกซิโกภาคใต้ และ ไดแ้ ม่นย�ำ มีระบบการเขยี นหนงั สือท่ีพฒั นามาก ระบบ อ่าวเมกซิโก กัวเตมาลา (Guatemala) ซ่ึงอยตู่ อนบนของอเมริกา เกษตรและชลประทานท่ซี บั ซ้อนมาก มสี ถาปัตยกรรม กลาง ชนเจา้ ถ่นิ คือพวกมายา (Maya) ยืนหยัดรักษา และประตมิ ากรรมเป็นต้น บางอยา่ งกา้ วหน้ากวา่ ยุโรป แอสเทค มายา ทะเลคารบิ เบียน อสิ รภาพอยไู่ ดท้ นนานกวา่ พวกแอสเทคและอินคา แต่ ในยคุ เดียวกนั แต่แพย้ ุโรปในด้านเทคโนโลยี ไม่ไดพ้ ัฒนา พวกมายาทรดุ โทรมออ่ นก�ำลงั ท้งั จากความแตกแยก เครื่องจกั รท่ที ุน่ พลงั งาน ไม่รจู้ กั ใช้ล้อรถ และไมไ่ ดฝ้ กึ สตั ว์ มหาสมทุ รแปซิฟกิ ภายในและลม้ ตายมากมายดว้ ยโรคระบาดทีม่ ากบั สเปน ไว้ใช้งานแทนแรงคน จึงแพ้พวกยโุ รป อารยธรรมมายา ในท่สี ุดกถ็ ูกพวกสเปนยึดครองในปี ๒๐๘๕/1542 เริ่มเส่ือมมาแลว้ ตง้ั แตห่ ลังปี ๑๔๕๒ ก่อนถูกสเปนทำ� ลาย ในท่สี ุด พวกมายาน้ีเป็นชนอินเดียนแดงเกา่ แก่ มีบรรพ- บุรษุ จากอาเซยี ซึง่ ข้ามแผน่ ดินสว่ นเชอื่ มต่อชอ่ งแคบ พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยตุ ฺโต ) 133

คุรนุ านกั กาบลุ ปาฏลีบตุ ร คิดจะสมาน ยง่ิ เพิ่มการขัดแยง้ ม.สปินธัญุ จาบละฮอรเ์ ดลี มม.ย.คมงนุคาา เบงกอกลัลกตั ตา โอริสสา พ.ศ. ๒๐๖๓ (ค.ศ. 1520) คุรุนานักตั้งศาสนาสิกข์ อคั รา ประสานศาสนาฮนิ ดู กับอสิ ลาม (แตก่ ลายเปน็ มีศาสนาอีก จักรวรรดโิ มกุล ๑ ทจี่ ะตอ้ งมาขดั แยง้ กนั เพ่มิ ขึ้น) คชุ ราต ม.นมั มทา ยคุ บาร์เบอร์ (1530) ฝรงั่ พาโรคระบาดไปแพร่ในอเมรกิ า มุมไบ เพิ่มในยุคอกั บาร์ (1605) เจา้ ถนิ่ ตายดัง่ ใบไมร้ ว่ ง ม.โคทาวรี เพ่มิ ในยุคออรงั เซบ (1707) ทักษณิ าบถ พวกสเปนนำ� โรคระบาด เชน่ ฝดี าษ หดั และไอกรน กวั เข้าไป พวกคนพน้ื เมอื งและอินเดยี นแดงไม่มีภูมิต้านทาน กพ็ ากนั ลม้ ตายเปน็ ใบไม้รว่ ง ท่ีเมกซโิ ก นบั มาร้อยปีจาก มทุรา ๒๐๖๒ ที่สเปนเข้าตนี ้ัน ประชากรเจ้าถิ่นเดิมลดจาก ๒๕ ลา้ นเหลือเพยี งราว ๑ ล้านคน โรคระบาดจากยโุ รปเหล่าน้ี เด๋ียวเกิดท่โี นน่ เด๋ียว เกดิ ทน่ี ่ี โดยเฉพาะฝดี าษ รวมแลว้ ตงั้ แตเ่ รมิ่ พบชาวยุโรป ฝร่งั วา่ ประชากรอนิ เดยี นแดงลดลง ๙๐% เมื่อแรกสเปน เข้าไป มชี าวถน่ิ ๕๐ ลา้ นคน เมื่อถึง ค.ศต.ท่ี 17 เหลอื เพยี ง ๔ ลา้ นคน 134 กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

ระลอกท่ี 3. มสุ ลิมมงโกล ครั้งนั้น บาเบอร์ (Babur หรือ Baber; ค�ำอาหรบั จบยุคสลุ ต่านแหง่ เดลี =เสือ) เจา้ มุสลมิ มงโกล ซง่ึ สบื เช้อื สายจากเจงกิสขา่ น และจากตมี รู ์ อา้ งสทิ ธวิ า่ อนิ เดยี เป็นมรดกทีต่ ีมรู ์ (Timur) เขา้ ยคุ มสุ ลมิ มงโกล บรรพบรุ ษุ ของเขาได้พชิ ิตไว้ แลว้ ยกทพั จากอฟั กานิสถาน พ.ศ. ๒๐๖๙ (ค.ศ. 1526) อาณาจักรสลุ ต่าน เข้ามาก�ำจัดสุลต่านแหง่ เดลีให้สนิ้ อำ� นาจไปโดยส้นิ เชิง แหง่ เดลี (Delhi Sultanate) ของมสุ ลิมเตอร์ก ซง่ึ ตั้ง บาเบอร์ ตง้ั ราชวงศ์ใหม่ขน้ึ ในเดลี เริม่ ครอง ข้ึนเปน็ จกั รวรรดิมุสลิมแรกของอินเดียเมือ่ พ.ศ. ๑๗๔๙ จักรวรรดโิ มกุล หรอื มขุ า่ ล (Mogul/Mughal Empire) (ค.ศ. 1206) จนกระทง่ั ถกู ตีมูร์ (Timur) ทำ� ลายล้างใน ซ่งึ ย่ังยนื มาจนอนิ เดยี ตกเป็นอาณานิคมขององั กฤษใน บาเบอร์ ปี ๑๙๔๑ (ค.ศ. 1398) แลว้ ออ่ นเปลย้ี มานาน ไดถ้ งึ กาล พ.ศ. ๒๔๐๑ (ค.ศ. 1858) อวสาน ในปี ๒๐๖๙ มสุ ลิมเตอร์ก เปอรเ์ ซยี ทางตะวนั ออก และกลมุ่ ประเทศยโุ รปทางตะวนั - อาหรบั ทแ่ี บกแดดตง้ั แต่ พ.ศ. ๑๘๐๑ (ค.ศ. 1258) และ ปกครองมสุ ลิมอาหรบั หมดส้นิ ตก ซึ่งออตโตมานกำ� ลังคุกคามเข้ามาใกลใ้ จกลางแล้ว เมื่อถงึ ยุคของออตโตมานเตอรก์ ในบัดนี้ มสุ ลิมเตอรก์ จาก อาเซยี กลาง ก็ได้มาเป็นผจู้ ัดกจิ การศาสนาอิสลาม และ พ.ศ. ๒๐๖๐ (ค.ศ. 1517) สุลตา่ นเซลมิ ที่ ๑ มุสลิมเตอร์กอาเซียกลาง ย้อนทาง ปกครองชาวมุสลิมอาหรบั ในตะวันออกกลางทั้งหมด (Selim I) แหง่ จกั รวรรดิออตโตมานยดึ ครองซีเรียและ มาครองมสุ ลมิ อาหรบั ตะวนั ออกกลาง อียิปต์ ล้มกาหลฟิ แห่งอยี ปิ ต์ เข้าครอบครองดแู ลเมือง สลุ ต่านเซลิม ท่ี ๑ ศกั ดสิ์ ิทธ์ิ รวมทงั้ มกั กะฮ์ และมะดนี ะฮใ์ นอาระเบยี ถงึ ย้อนหลงั ไปประมาณ ๘๐๐ ปีกอ่ นโน้น ราว พ.ศ. ตอนน้ีจกั รวรรดมิ สุ ลิมเตอรก์ ครอบคลมุ อนาโตเลีย ยโุ รป ๑๒๕๐ (ค.ศ. 700) เมื่อแรกศาสนาอิสลามต้งั ขนึ้ ใหม่ใน ตะวันออกเฉียงใต้ ดนิ แดนอาหรบั แห่งตะวันออกกลาง ดินแดนอาหรบั ทัพมสุ ลมิ อาหรบั จากตะวนั ออกกลาง และอาฟรกิ าเหนอื (Middle East) เดินทาง ๓-๔,๐๐๐ กิโลเมตร น�ำศาสนา อิสลามไปเปล่ยี นชนเผ่าตา่ งๆ ในอาเซียกลาง (Central ความยิ่งใหญข่ องจกั รวรรดิออตโตมานนน้ั พูด Asia) ให้เปน็ มสุ ลมิ งา่ ยๆ กเ็ หมือนกบั รวม ๒ จักรวรรดใิ หญเ่ ขา้ ดว้ ยกัน คอื ทัง้ จกั รวรรดโิ รมันตะวนั ออก (Byzantine Empire ท่ตี ี จากน้ันไมน่ าน ชนชาวอาเซียกลางท่ีเป็นมุสลมิ ไดใ้ นปี ๑๙๙๖=ค.ศ. 1453) และจกั รวรรดิกาหลิฟแห่ง แลว้ โดยเฉพาะพวกเตอรก์ กเ็ ปน็ ฝา่ ยน�ำอสิ ลามลงมาแผ่ อาหรบั (Arab Caliphate) ที่เข้าครองในบัดนี้ แดนทจ่ี ะ ขยายอำ� นาจย้อนเขา้ ไปในแดนอาหรับ ดงั ท่ีได้เริ่มเข้าแทน แข่งอำ� นาจกบั จกั รวรรดิออตโตมาน เหลือเพียงจักรวรรดิ พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยุตโฺ ต ) 135

เกิดโปรเตสแตนต์ ยโุ รปเขา้ ยคุ ปฏริ ปู พ.ศ. ๒๐๖๐-๒๑๐๒ (ค.ศ. 1517-1559) ช่วง สำ� คญั อยใู่ นโลกซกี ตะวนั ออก จงึ เปน็ สมบตั ขิ องโปรตเุ กส เวลาท่ีเรียกวา่ (ยคุ แหง่ ) การปฏิรูป (Reformation) ตามทอี่ งคพ์ ระสนั ตะปาปาไดท้ รงแบง่ โลกไว้ให้แล้วน้ัน ในยโุ รป เน่อื งจากเกดิ ศาสนาคริสตน์ กิ ายโปรเตสแตนต์ คราวนีเ้ อาใหม่ เขาจะแลน่ เรือออกทางทศิ ตะวันตกไปให้ ในพ.ศ. ๒๐๖๐ ทำ� ให้มกี ารปรบั เปล่ียนความคิดความเช่ือ ถงึ หมูเ่ กาะโมลุกกะส์น้นั แลว้ ทีน้แี หละ จะเป็นการพสิ ูจน์ ถอื และการปฏบิ ตั ติ ่างๆ ในทางศาสนาและวฒั นธรรม ว่าหมเู่ กาะโมลุกกะส์นน้ั อยู่ในโลกซกี ตะวันตก จึงตอ้ ง เปน็ สมบตั ขิ องสเปน พระเจ้าแผ่นดนิ สเปนก็ทรงตกลง พรอ้ มนั้นในทางการเมอื ง พวกเจ้าเยอรมันจ�ำนวน หน่ึงอึดอัดไมอ่ ยากขึ้นตอ่ โป๊ปอยู่แล้ว ก็ได้มารต์ นิ ลเู ธอร์ มาเจลแลนออกเรอื ในวันท่ี ๑๐ ส.ค. ถงึ ทะเล ๒๐ เป็นจดุ รวมก�ำลงั จงึ แข็งข้อตอ่ โปป๊ และตอ่ จกั รพรรดิ ก.ย. 1519 ไปกนั ๒๗๐ คน ด้วยเรือ ๕ ลำ� แลน่ ลงทาง โรมันอันศักดิ์สทิ ธิ์ (Holy Roman Emperor) ท�ำให้มี ฝั่งอาฟริกา แลว้ ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก แล่นเลียบ การปราบปรามและรบราฆา่ ฟันกนั อยา่ งรุนแรง ฝง่ั ทวีปอเมริกาใตจ้ นเข้าชอ่ งแคบปลายสุดทวปี (ไดน้ าม ตามช่ือของเขาว่าชอ่ งแคบมาเจลแลน) ออกทะเลใหญ่ เดนิ เรอื หาทางไปมา ไดช้ ่อื มหาสมุทร ที่เคยเรียกวา่ ทะเลใต้ (South Sea) แต่ไดช้ อ่ื ใหม่ตาม แปซิฟกิ อีกท้งั พสิ จู น์วา่ โลกน้ีกลมจรงิ ทีเ่ ขาเรยี กวา่ “มหาสมทุ รแปซิฟิก” (Pacific Ocean, “ห้วงมหรรณพ์อนั สงบ”) แลน่ มาแวะเกาะกวม (Guam) พ.ศ. ๒๐๖๒-๒๐๖๕ (ค.ศ. 1519-1522) แลว้ ไปถึงฟิลปิ ปินส์ ตวั เขาเองเสยี ชวี ิตที่นนั่ (๒๗ เม.ย. เฟอรด์ ินานด์ มาเจลแลน (Ferdinand Magellan) เป็น 1521) คนท่ีเหลอื แล่นเรอื ตอ่ ไปถงึ หมเู่ กาะโมลุกกะส์ แล้ว นกั เดินเรือชาวโปรตุเกส และทำ� งานใหป้ ระเทศของตนมา เดินทางต่อจนเหลือเรือ ๑ ล�ำ มีคน ๒๑ คน กลบั มาถึง นาน แตค่ ราวหนึ่งผดิ หวัง จงึ ไปกราบทูลถวายบรกิ ารแด่ สเปน ๘ ก.ย. 1522 รวมใช้เวลา ๓ ปี ผลได้คอื เป็นการ พระเจา้ ชารล์ สท์ ี่ ๑ แหง่ สเปน โดยเสนอวา่ ตามท่ีถอื กัน พิสูจน์วา่ โลกกลมจรงิ และรูว้ ่าทวีปอเมรกิ ามใิ ช่อินเดีย มาวา่ หมูเ่ กาะโมลกุ กะส์ (Moluccas) แหลง่ เครื่องเทศ แตค่ อื ดนิ แดนท่ีเป็น “โลกใหม”่ บนจากซ้าย: มาร์ตนิ ลเู ธอร์ มาเจลแลน 136 กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก

บน: พระสริ มิ งั คลาจารยแ์ หง่ ลา้ นนา ปราชญ์ พระสิรมิ ังคลาจารย์ ยังมี เชน่ พระญาณกิตติ (โยชนา- พระธาตุดอยสุเทพ ไทยทสี่ กุ ใสในมาตรฐานวชิ าการสากล วนิ ยั , โยชนาอภธิ รรม เปน็ ตน้ ) พระรตั นปญั ญา (สารัตถ- ลา่ งจากซา้ ย: สังคหะ, ชนิ กาลมาลปี กรณ์) พระโพธิรงั สี (จามเทววี งศ์) Pope Clement VII พ.ศ. ๒๐๖๗ (ค.ศ. 1524) ทอ่ี าณาจักรลา้ นนา พระนันทาจารย์ (สารตั ถสังคหะ) พระสุวรรณรงั สี พระเจ้าเฮนรที ี่ ๘ ในรชั กาลพระเมืองแก้ว พระสริ มิ งั คลาจารย์ แหง่ วดั (ปฐมสมโพธสิ งั เขป) สนั นิษฐานกันว่า ปญั ญาสชาดก ก็ สวนขวญั นครเชียงใหม่ รจนาคัมภรี ์ มังคลัตถทีปนี ซง่ึ แต่งในยุคน้ี อธบิ ายมงคล ๓๘ ประการ ในมงคลสตู ร (ข.ุ ขุ.๒๕/๔/๓; ข.ุ สุ.๒๕/๓๑๖/๓๗๖) อนั เปน็ พระสตู รส�ำคญั ทแี่ สดงหลกั องั กฤษประกาศไม่ขน้ึ กบั โป๊ป การด�ำเนินชีวิตของพุทธิกชน และถือเป็นบทสวดหลัก ตั้งนกิ ายใหมข่ องตนเอง ของพุทธบริษัท โดยประมวลอรรถาธบิ ายจากอรรถกถา ฎกี า อนฎุ ีกา เป็นต้น มากมาย พร้อมทัง้ คำ� บรรยายของ พ.ศ. ๒๐๗๗ (ค.ศ. 1534) พระเจ้าเฮนรที ่ี ๘ ท่านเอง นำ� มาแจกแจงอย่างละเอียดลออ มรี ะเบียบ เป็น (Henry VIII) ซง่ึ ไมไ่ ดพ้ ระโอรสทจ่ี ะสบื ตอ่ ราชวงศท์ วิ ดอร์ ลำ� ดบั พรอ้ มดว้ ยระบบการอา้ งองิ ทคี่ รบถว้ นชดั เจนแมน่ ยำ� (Tudor) ทรงหาเหตุถือการอภิเษกสมรสกบั พระมเหสีว่า ปจั จบุ นั ใช้เปน็ ตำ� ราเรียนในหลักสตู รพระปรยิ ัตธิ รรม เปน็ โมฆะ เพอื่ จะทรงมีมเหสีใหม่ จึงไดต้ ดิ ต่อขอใหโ้ ปป๊ แผนกบาลขี องคณะสงฆ์ไทย สำ� หรับ ป.ธ. ๔-๕ และ ๗ ทรงออกกฤษฎีกาตามนนั้ แต่ไมส่ ำ� เรจ็ พระเจา้ เฮนรีท่ี ๘ (ทา่ นรจนาคัมภีรอ์ น่ื อกี ๓ คือ เวสสนั ตรทปี นี จกั กวาฬ- จึงประกาศแยกตัวไมข่ ึน้ ต่อโป๊ป/สนั ตะปาปาที่วาติกนั ทปี นี และสังขยาปกาสกฏกี า) โดยตั้งศาสนจักรอังกฤษ (Church of England) ขน้ึ อันเป็นโปรเตสแตนต์นิกายหนงึ่ และกษัตริยอ์ ังกฤษเปน็ ตลอดชว่ งเวลาตงั้ แตป่ ระมาณกลางพทุ ธศตวรรษ ประมุขศาสนจกั รเอง แลว้ ทรงมีมเหสอี งค์ใหม่และกด ท่ี ๒๐ จนสนิ้ พุทธศตวรรษท่ี ๒๑ เฉพาะอยา่ งย่ิง ใน กำ� ราบส�ำนกั บาทหลวงทง้ั หลายตา่ งๆ นานา รชั กาลพระเมืองแกว้ (พ.ศ. ๒๐๓๘–๒๐๖๘/ค.ศ. 1495- 1525) ลา้ นนาไดเ้ ปน็ ดนิ แดนแหง่ ความร่งุ เรืองของการ ศึกษา มวี รรณคดภี าษาบาลเี กิดขึน้ มาก พระเถระหลาย ท่านเป็นปราชญ์นพิ นธค์ ัมภีรแ์ ละต�ำราไว้ นอกจาก พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป. อ. ปยุตโฺ ต ) 137


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook