Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ✍️ กำกึ๊ดกำปาก

✍️ กำกึ๊ดกำปาก

Description: ✍️ กำกึ๊ดกำปาก

Search

Read the Text Version

กำ�กดึ๊ กำ�ปาก งานวิจยั วฒั นธรรมภาคเหนอื

หนงั สือชดุ การประเมินและสังเคราะห์ สถานภาพองค์ความรู้จากการวิจัยวฒั นธรรม เล่ม 2 กำ� ก๊ึดก�ำปากงานวิจัยวฒั นธรรมภาคเหนือ บรรณาธกิ ารหนงั สือชดุ อานนั ท์ กาญจนพันธ์ุ บรรณาธิการเล่ม อานนั ท์ กาญจนพันธ์ุ ผู้จดั พมิ พ์ ภาควชิ าสังคมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ 239 ต.สเุ ทพ อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่ โทร. 053-943546 Email : [email protected] Website : www.soc.cmu.ac.th แบบปก สุขมุ ชวี าเกียรติย่งิ ยง พิมพ์ท่ ี บลมู ม่งิ ครเี อชัน่ 77/1 หมู่ 5 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชยี งใหม่ โทร. 081-7165246 พมิ พ์ครงั้ ที่ 1 มีนาคม 2558 จ�ำนวน 500 เล่ม สนบั สนนุ การจัดพมิ พ์ สำ� นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ (ปัจจบุ ัน กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม) ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของส�ำนกั หอสมดุ แหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ. ก�ำกึ๊ดกำ� ปาก งานวจิ ยั วัฒนธรรมภาคเหนอื .-- เชียงใหม่ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานษุ ยวิทยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่, 2015. 272 หน้า. -- (การประเมนิ และสงั เคราะห์ สถานภาพองค์ความรู้จากการวจิ ัยวฒั นธรรม เล่ม 2). 1. ไทย--ความเป็นอยู่และประเพณี. 2. วฒั นธรรมไทย--ท้องถ่นิ --ไทย. I. ช่ือเรอ่ื ง. 390.9593 ISBN 978-974-672-951-2

คำ�นำ� หนงั สอื ชดุ นมี้ อี ยดู่ ว้ ยกนั 4 เลม่ เกดิ จากความพยายามปรบั ปรงุ ผลงานวจิ ยั ใน “โครงการประเมินและสังเคราะห์สถานภาพองค์ความรู้การวิจัยวัฒนธรรมใน ประเทศไทย” ทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ จากส�ำนกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ (สวช.) หรือ กรมส่งเสริมวัฒนธรรมในปัจจุบัน ภายใต้ความรับผิดชอบของ คณะอนกุ รรมการวิจัยวัฒนธรรม ที่มี ศ.ดร.อานนั ท์ กาญจนพันธุ์ เป็นประธาน เพอื่ ประมวลรวบรวมและศกึ ษาวเิ คราะหง์ านวจิ ยั ทางวฒั นธรรมทผ่ี ลติ ขนึ้ มาในชว่ ง ระหว่าง พ.ศ.2537-2547 จากความพยายามดงั กลา่ ว คณะผวู้ จิ ยั ไดช้ ว่ ยกนั ปรบั ปรงุ และเขยี นผลงาน วิจัยขน้ึ มาใหม่ ในลกั ษณะเป็นบทความ ตามประเดน็ หลกั 4 ประเดน็ ทไ่ี ด้มาจาก การแยกแยะออกมาศึกษาวิจัยในโครงการดังกล่าว เพ่ือชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ เชือ่ มโยงกนั อย่างซบั ซ้อน ประกอบด้วย 1. พลงั ความคดิ และภูมิปัญญา 2. ศิลปและวัฒนธรรม 3. ความหลากหลายทางชาติพนั ธ์ุ 4. วฒั นธรรมกบั การพฒั นา ในการด�ำเนินงานวิจัยของโครงการน้ีได้แบ่งกลุ่มศึกษาแยกออกมาเป็น ภูมิภาค รวม 4 ภาคคือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และ ภาคใต้ ซ่ึงท�ำให้การจัดพิมพ์คร้ังนต้ี ้องแยกหนงั สือออกเป็น 4 เล่มตามรายภาค ด้วยเช่นเดยี วกัน

แม้โครงการวิจัยนจี้ ะเริ่มทำ� งานครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 แต่ก็ต้องอาศัย กระบวนการท�ำงานและการประสานงานที่ซับซ้อน และต้องเผชิญกับปัญหา ขลุกขลักอย่างมากมาย เพราะเก่ียวข้องกับนักวิชาการจ�ำนวนมาก ที่เข้ามามี ส่วนร่วมจากแต่ละภูมิภาค จนต้องใช้เวลานานมากจึงส�ำเร็จลุล่วงไปได้ และ ในทา้ ยทส่ี ดุ กส็ ามารถปรบั ปรงุ ผลการวจิ ยั นนั้ เพอ่ื เขยี นเปน็ บทความยอ่ ยๆ และพมิ พ์ ออกมาเป็นหนงั สือทั้ง 4 เล่มน้ี ซ่ึงน่าจะมีส่วนส�ำคัญในการกระตุ้นและผลักดัน งานวิจยั ทางวฒั นธรรมให้มพี ลงั ทางสตปิ ัญญามากย่ิงขน้ึ ในระยะแรกของการวิจัยจะเน้นเฉพาะการสำ� รวจและรวบรวมผลงานวิจัย ท้ังในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ด้วยการประมวลและสร้างเป็นบรรณานกุ รม ขน้ึ มา พรอ้ มกบั การปรทิ ศั นเ์ นอ้ื หาสรปุ เพอื่ ใหเ้ ปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานทชี่ ว่ ยชห้ี มดุ หมาย และทิศทางการวิจัยส�ำหรับช่วงเวลาดังกล่าว พร้อมท้ังอำ� นวยความสะดวกให้กับ การค้นคว้าวจิ ัยทางวัฒนธรรมในอนาคต สว่ นในระยะทสี่ องของการวจิ ยั นกั วจิ ยั ในโครงการจะประเมนิ และสงั เคราะห์ สถานภาพความรู้ของงานวิจัยทางวัฒนธรรม ตามประเด็นต่างๆ ท่ีได้แยกแยะไว้ แลว้ ขา้ งตน้ โดยใหค้ วามส�ำคญั กบั การวเิ คราะหเ์ นอื้ หาความรทู้ คี่ น้ พบจากการวจิ ยั ตลอดจนประเมินแนวความคดิ และวธิ ีวทิ ยาที่ใช้ในการวจิ ัย เพอ่ื เปิดเวทีให้เกิดการ ถกเถียง และช่วยแสวงหาทางเลือกใหม่ๆ ในการพัฒนางานวิจัยทางวัฒนธรรม ต่อไป ส�ำหรับการปรบั ปรุงผลงานวิจัยจากโครงการน้ี เพ่ือเขยี นเป็นบทความและ พิมพ์เป็นหนงั สือในครั้งนี้ ผู้เขียนบทความแต่ละคนได้เลือกงานวิจัยเพียงบางส่วน ที่น่าสนใจเท่านน้ั ข้ึนมาประเมินและสังเคราะห์เท่าที่จะท�ำได้ในวงจ�ำกัด แต่บาง บทความก็ได้พยายามศึกษางานวิจัยใหม่ๆ เพิ่มเติมขึ้นมาจนถึงปัจจุบัน เพื่อให้ ครอบคลุมและเป็นประโยชน์มากท่ีสุด ต่อการพัฒนางานวิจัยทางวัฒนธรรมใน อนาคต

ในนามของประธานคณะวิจัยต้องขอขอบคุณนกั วิจัยในโครงการทุกท่าน ที่ช่วยกันผลักดันการวิจัยท่ียากล�ำบากนจ้ี นส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และขอขอบคุณ ส�ำนกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.) และ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ในปจั จบุ นั ในการสนบั สนนุ โครงการวจิ ยั ทมี่ คี วามส�ำคญั ต่อการชหี้ มดุ หมายใหก้ บั เสน้ ทางการวจิ ยั ทางวฒั นธรรม และมปี ระโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ ตอ่ การพฒั นางานวจิ ยั ทาง วฒั นธรรมให้เป็นอีกพลงั หนงึ่ ในการขับเคลอ่ื นสงั คมไทย อานนั ท์ กาญจนพันธ์ุ เชยี งใหม่ 2557

สารบญั บทที่ 1 บทนำ� 9 อานนั ท์ กาญจนพนั ธุ์ บทท่ี 2 ศลิ ปวฒั นธรรมในความเคล่ือนไหวทางวฒั นธรรม อภญิ ญา เฟื่องฟสู กลุ 35 2.1 บทนำ� 38 2.2 การมองศิลปวฒั นธรรมในตัวเอง 46 2.3 ศิลปวัฒนธรรมในเชงิ คุณค่า 50 2.4 วาทกรรมในศลิ ปวฒั นธรรม 54 2.5 ศิลปวัฒนธรรมกับการวจิ ัยแบบมีส่วนร่วม 62 2.6 ศิลปวัฒนธรรมเชิงวิพากษ์ 66 2.7 ศิลปะกับความเป็นจริงทางสังคม 73 2.8 ศิลปะกบั การท้าทายระบบคุณค่า 79 2.9 บทสรุป 91 97 บทท่ี 3 ความเคลอื่ นไหวและอตั ลกั ษณท์ างชาติพันธุ์ 103 109 ขวญั ชีวัน บัวแดง 115 3.1 บทนำ� 3.2 บริบททางสังคมและการเคลือ่ นไหวทางชาติพนั ธุ์ 3.3 การอพยพโยกย้ายเข้าเมือง (Urban Migration) 3.4 การข้ามพรมแดนและการพลดั ถิน่ 3.5 การปรับเปลย่ี นด้านเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม และศาสนาของชมุ ชนชาตพิ นั ธุ์

3.6 ประวัติศาสตร์ชาตพิ ันธ์ุ 119 3.7 ขบวนการต่อสู้และการเมอื งเชิงอัตลักษณ์ 121 3.8 บทสังเคราะห์แนวทางการศึกษา 128 3.9 บทสรุป 136 บทท่ี 4 พืน้ ทีท่ างวฒั นธรรมในวาทกรรมการพฒั นา อานนั ท์ กาญจนพนั ธุ์ 4.1 บทนำ� 155 4.2 วาทกรรมการพัฒนาในการเมืองของอัตลกั ษณ์ทางชาตพิ นั ธ์ุ 161 4.3 ความรู้ท้องถิ่นกับการช่วงชิงความรู้ในการพฒั นาพืน้ ทส่ี งู 165 4.4 พลวตั ของชุมชนท้องถิ่นในการเมืองของการต่อรอง 174 ความหมายและความรู้ 4.5 การช่วงชงิ พ้ืนท่ีทางวฒั นธรรมในการพฒั นาความเป็นเมือง 194 4.6 การเมอื งของอตั ลักษณ์ในการช่วงชิงพน้ื ทข่ี องสังคมสมยั ใหม่ 207 4.7 บทสรุป 218 บทที่ 5 พลงั ความคดิ และภูมิปญั ญา 233 239 กาญจนา เงารังสี, ชพู ินจิ เกษมณี และหทัยชนก อนิ ทรกำ� แหง 245 5.1 บทนำ� 250 5.2 พลงั ความเช่อื ทางศาสนากับอัตลกั ษณ์ของท้องถน่ิ 255 5.3 พลงั ภูมปิ ัญญาในการรักษาพยาบาลพื้นบ้าน 257 5.4 พลงั ภูมิปัญญากบั พลวตั ของการจดั การทรพั ยากรธรรมชาต ิ และการเกษตร 5.5 พลวัตของภมู ปิ ัญญากับความเข้มแข็งของวฒั นธรรมชุมชน 5.6 บทสรุป

8 ก�ำ กึ๊ดก�ำ ปาก

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 9 บทท่ี 1 บทน�ำ อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ บทความต่างๆ ในหนังสือเล่มนี้ได้จ�ำกัดขอบเขตการศึกษางานวิจัยทาง วฒั นธรรมในภาคเหนอื เอาไว้เพยี งงานวิจยั ทีเ่ ร่มิ ต้นตงั้ แต่ทศวรรษที่ 2530 เป็นต้น มาเท่านนั้ ท้ังๆ ทจี่ รงิ แล้วงานศึกษาด้านวัฒนธรรมได้เริม่ มาก่อนหน้านน้ั นานมาก จงึ ควรยอ้ นกลบั ไปพจิ ารณางานส�ำคญั ๆ เหลา่ นน้ั บางสว่ น เพอื่ จะไดเ้ ขา้ ใจแนวทาง และความเชือ่ มโยงกบั การวิจัยในช่วงหลงั จากนนั้ มากขึน้ เท่าทจี่ ะย้อนกลับไปได้มี หลักฐานชัดเจนว่า งานศึกษาวิจัยทางวัฒนธรรมเริ่มปรากฏขึ้นอย่างเป็นทางการ ครัง้ แรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2482 จากผลงานวิจยั ของหม่อมเจ้า สนทิ รังสติ ซ่งึ ได้พมิ พ์ ไว้เป็นบทความภาษาเยอรมันร่วมกับนกั วิชาการชาวเยอรมันเก่ียวกับลักษณะของ วฒั นธรรมหนิ ตงั้ ของชาวลวั ะในจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน (Steinmann and Sanidh Rangsit 1939) ท้ังนี้ หม่อมเจ้า สนทิ รงั สติ นับเป็นคนไทยคนแรกที่ศึกษาวชิ ามานุษยวทิ ยา อยา่ งเปน็ ทางการในมหาวทิ ยาลยั ในประเทศเยอรมนั กอ่ นหนา้ นกั วชิ าการตะวนั ตก ช่อื Peter Kunstadter กว่า 2 ทศวรรษ เนอ่ื งจากเขาเพ่ิงจะเข้ามาศึกษาวฒั นธรรม ของชาวลวั ะในชว่ งทศวรรษที่ 2500 และไดพ้ มิ พเ์ รอ่ื งราวเกยี่ วขอ้ งกบั ชวี ติ วฒั นธรรม ของชาวลัวะเรื่อง “Living with Thailand’s gentle Lua” ลงในนติ ยสาร National Geographic Magazine ในปี 2509 (Kunstadter 1966)

10 กำ�ก๊ดึ กำ�ปาก ในช่วงทศวรรษที่ 2480 นน้ั อาจกล่าวได้ว่าการศึกษาวิจยั ทางวัฒนธรรมใน หมชู่ าวไทยสว่ นใหญน่ า่ จะยงั มลี กั ษณะไมเ่ ปน็ ทางการมากนกั คงจำ� กดั อยใู่ นแวดวง ของผสู้ นใจในทอ้ งถนิ่ จ�ำนวนหนงึ่ ทพี่ ยายามเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และบนั ทกึ เขยี นขนึ้ ไว้อ่านกันเป็นส่วนตัว ภายหลังก็ได้มีการน�ำมาพิมพ์เป็นหนงั สือแจกในงานศพอยู่ บ้าง ตัวอย่างหนงั สือสำ� คัญเล่มหนง่ึ ในช่วงนคี้ ือ หนงั สือเร่ือง ผีของชาวลานนา ไทยโบราณ (แกว้ มงคล ชยั สรุ ยิ นั ต์ 2486) ซง่ึ ไดบ้ นั ทกึ การท�ำพธิ ไี หวผ้ อี ารกั ษเ์ มอื งที่ จงั หวดั เชยี งรายครง้ั สดุ ทา้ ยเอาไวอ้ ยา่ งละเอยี ด จากทไ่ี ดพ้ บเหน็ มาดว้ ยตวั เอง และ ยงั ได้กล่าวถงึ ความเชื่อเรื่องผีต่างๆ เพิ่มเติมไว้อย่างน่าสนใจ ผู้สนใจศกึ ษาในท้องถนิ่ และท�ำงานอยู่นอกวงวชิ าการทางการ หรือนอก สถาบันการศึกษามีบทบาทอย่างส�ำคัญในการศึกษาวัฒนธรรมในช่วงทศวรรษ ท่ี 2490 ในฐานะผู้บุกเบิกการศึกษาวิจัยทางวัฒนธรรมเพราะสามารถพมิ พ์ผลงาน จากการศึกษาวัฒนธรรมท้องถ่ิน และวัฒนธรรมไทนอกประเทศไทยเป็นหนงั สือ ไว้หลายเล่ม คนทโ่ี ดดเด่นและมผี ลงานมากที่สดุ คนหนง่ึ กค็ อื บุญชว่ ย ศรีสวสั ดิ์ ซงึ่ พมิ พห์ นงั สอื เรอื่ ง 30 ชาตใิ นเชยี งราย (บญุ ชว่ ย ศรสี วสั ดิ์ 2493) และนา่ จะเปน็ คนไทยคนแรกๆ ทส่ี นใจศกึ ษากลมุ่ ชาตพิ นั ธบ์ุ นทสี่ งู อยา่ งจรงิ จงั หลงั จากการศกึ ษา ครั้งแรกของหม่อมเจ้าสนทิ รงั สิตแล้ว นอกจากนน้ั กย็ ังมเี รอ่ื ง ไทยสบิ สองปันนา (บญุ ช่วย ศรสี วสั ดิ์ 2498) และ คนไทยในพมา่ (บญุ ช่วย ศรีสวัสด์ิ 2503) เป็นต้น ในช่วงทศวรรษที่ 2500 นกั ศึกษาวัฒนธรรมในท้องถ่ินที่อยู่นอกสถาบันได้ เริม่ หนั มาสนใจศึกษากลุ่มชาติพันธ์ุขนาดเลก็ ดังจะเห็นได้จากการศึกษากลุ่มชาติ พันธ์ุมลาบรี (ตองเหลือง) ของ ไกรศรี นิมมานเหมทิ ร์ (Kraisri and Hartland-Swann 1962) และตอ่ มากย็ งั ได้ศกึ ษาความเชอ่ื เกยี่ วกบั ผอี ารกั ษค์ อื ผปี แู่ สะและย่าแสะ ซงึ่ เช่ือกันว่าเป็นผีของชาวลัวะ (Kraisri 1967) หลังจากนน้ั มาก็มีนกั ศึกษาวัฒนธรรม นอกสถาบนั เพมิ่ ขน้ึ ตามมาอกี หลายคน อาทเิ ชน่ สงวน โชตสิ ขุ รตั น์ ซงึ่ เขยี นหนงั สอื เร่ือง ประเพณีไทยภาคเหนือ (สงวน โชติสุขรัตน์ 2510) ด้วยการรวบรวมและ บนั ทึกเร่อื งราวของประเพณตี ่างๆ ไว้จ�ำนวนมาก

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 11 ขณะท่ีช่วงปลายทศวรรษท่ี 2490 และต้นทศวรรษท่ี 2500 นน้ั เองก็เริ่มมี นกั วิชาการชาวต่างชาตจิ ำ� นวนหนง่ึ เข้ามาศกึ ษาสังคมและวฒั นธรรมของชาวบ้าน พื้นราบในภาคเหนือเป็นครั้งแรก เพ่ือท�ำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกและต่อมาก็ได้ พิมพ์เป็นหนงั สือ เริ่มต้นจากงานศึกษาของ John E. deYoung (1955) เรอ่ื ง Village Life in Modern Thailand ซง่ึ ถือได้ว่าเป็นงานศึกษาชีวิตภายในชุมชนหมู่บ้าน ภาคเหนอื เป็นครงั้ แรก และตามมาดว้ ยงานศกึ ษาของ Konrad Kingshill (1960) Ku Daeng (Kudaeng) - The Red Tomb - A Village Study in Northern Thailand งานท้ังสองช้ินนน้ั ศึกษาหมู่บ้านในอ�ำเภอรอบๆ ตัวเมืองเชียงใหม่ที่ไม่ ห่างไกลมากนกั คือ อ�ำเภอแม่รมิ และ อ�ำเภอสารภี ส่วนงานศกึ ษาอกี ชิน้ หนง่ึ ของ Laurence C. Judd (1961) เร่ือง Chao Rai: Dry Rice Farmers in Northern Thailand ได้หันไปศึกษาการท�ำไร่ในจังหวัดน่านท่ีห่างไกลออกไปจากตัวเมือง ผลงานเหลา่ นลี้ ว้ นมลี กั ษณะเปน็ งานดา้ นชาตพิ นั ธว์ุ รรณา ทพ่ี รรณนาชวี ติ ดา้ นตา่ งๆ ของชาวบา้ นอยา่ งละเอยี ด แตไ่ มไ่ ดว้ เิ คราะหเ์ จาะลกึ ลงไปในประเดน็ ใดประเดน็ หนงึ่ มากนกั งานช้ินสุดท้ายในช่วงแรกนค้ี ืองานของ Michael Moerman (1968) เรื่อง Agricultural Change and Peasant Choice in a Thai Village ซึ่งเร่ิม ศึกษาวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมการเกษตรของชุมชนชาวไทยลื้อใน อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา ด้วยการให้ความส�ำคัญกับมุมมองในวัฒนธรรม ของชาวบา้ น ทง้ั ดา้ นการตดั สนิ ใจและการจดั การการผลติ ทางการเกษตรดา้ นตา่ งๆ ในขณะทช่ี ุมชนชนบทเริม่ สมั พนั ธ์กบั สังคมภายนอกมากขนึ้ ส�ำหรับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์บนที่สูงของนักวิชาการ ชาวตะวนั ตกนนั้ เรมิ่ ขน้ึ ในช่วงกลางทศวรรษที่ 2500 จากความวติ กกงั วลกบั ปัญหา ความมั่นคงจากภัยของลทั ธิคอมมิวนิสต์ และปัญหาการปลกู ฝิ่นเป็นสำ� คญั ดังจะ เหน็ ได้จากการศึกษาช้ินแรกของ Gordon Young (1962) เรื่อง Hill Tribe of Northern Thailand: A Socio-Ethnological Report ได้รับการสนับสนนุ จากยูซอม (USOM) ซึ่งเป็นหน่วยงานด้านการทหารของสหรัฐในประเทศไทย หลังจากนน้ั ก็ยังมีการ ศึกษาเชิงส�ำรวจชวี ติ ความเป็นอยู่ทัว่ ๆ ไปเก่ียวกบั กลุ่มชาตพิ ันธุ์บนท่ีสูงอกี ชน้ิ หนงึ่

12 กำ�กึ๊ดก�ำ ปาก ของนกั มานษุ ยวทิ ยาจากมหาวทิ ยาลยั คอรแ์ นลล์ และรว่ มกบั นกั วชิ าการไทยจำ� นวน หนง่ึ อาทเิ ชน่ สเุ ทพ สนุ ทรเภสชั และภายหลงั ไดเ้ ขยี นขนึ้ เปน็ รายงานชอ่ื ‘A Report on Tribal People in Chiengrai Province, North of the Mae Kok River’ (Hanks et. al. 1964) รายงานชนิ้ นเ้ี ขยี นขนึ้ ในปี พ.ศ. 2507 ซงึ่ เปน็ ชว่ งเวลาเดยี วกนั กบั การตงั้ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และในปถี ดั มากม็ กี ารจดั ตงั้ ศนู ยว์ จิ ยั ชาวเขา โดยมี William Robert Geddes เป็นหัวเร่ยี วหวั แรงคนส�ำคญั และเป็นนกั วจิ ยั ที่ศกึ ษากลุ่มชาติพนั ธุ์ม้งอย่างจรงิ จงั เป็นคนแรกๆ ต่อมาภายหลงั ได้พมิ พ์ผลงานวจิ ยั เป็นหนงั สอื เรอื่ ง Migrants of the Mountains: the Cultural Ecology of the Blue Miao (Hmong Njua) of Thailand (Geddes 1976) ซ่ึงช่วยเสริมสร้างความเข้าใจวัฒนธรรมของชาวม้งและการปรบั ตัวของพวก เขาภายใต้บริบทเชงิ นเิ วศได้อย่างมาก หลังจากการจัดต้ังมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ขึ้นในปี พ.ศ. 2507 นกั วิชาการ ไทยในสถาบันก็ได้เร่ิมหันมาสนใจศึกษาวัฒนธรรมและเริ่มตีพิมพ์ผลงานวิจัยใน ช่วงปลายทศวรรษท่ี 2510 ด้วยการเริม่ ต้นแปลหนงั สือส�ำคัญๆ ทางประวตั ิศาสตร์ และวรรณกรรม ดังเช่นงานของ สมหมาย เปรมจิตต์ และ ปวงค�ำ ตุ้ยเขียว เรอื่ ง มงั รายศาสตร์ (2518) และงานของ สงิ ฆะ วรรณสยั เรอ่ื ง อสุ สาบารส วรรณกรรม ลานนาไทยสมยั พระเจา้ กอื นา แปลโดย สงิ ฆะ วรรณสยั (2519) เปน็ ตน้ ในชว่ งแรก นถ้ี ือว่าเป็นช่วงของการวางรากฐานการศึกษาวัฒนธรรม ซ่ึงให้ความส�ำคัญกับ การเตรยี มค้นคว้าหรอื ประมวลรวบรวมเอกสารต่างๆ ทีเ่ ขียนบนใบลาน ในชว่ งหลงั ปี พ.ศ. 2520 กเ็ กดิ กระแสทอ้ งถนิ่ ศกึ ษาเพมิ่ ขน้ึ จากการขยายตวั ของสังคมไทย ท่ีเร่ิมหันกลับมาเห็นว่าประเทศไทยมีท้องถ่ินต่างๆ ท่ีแตกต่างกัน อยหู่ ลายพน้ื ท่ี ขณะนน้ั ถอื เป็นกระแสความคดิ ทคี่ กึ คกั อย่างมาก จรงิ ๆ แล้วกระแส นก้ี เ็ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของกระแสทม่ี าจากสว่ นกลาง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ กระทรวงศกึ ษาที่ ต้องการจะส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถ่ิน แทนท่ีก่อนหน้านน้ั ท่ีเรามุ่งสนใจแต่กระแส ของรัฐชาติ จากปี 2520 เป็นต้นมา กระแสในวงวิชาการก็เร่ิมหันกลับมาให้ความ ส�ำคัญกับเร่ืองท้องถิ่น ที่เน้นถึงความแตกต่างหลากหลายของท้องถ่ินต่างๆ การ ศึกษาวัฒนธรรมล้านนาก็เป็นส่วนหนงึ่ ของกระแสนน้ั ด้วย นกั วิจัยเริ่มต้นหันกลับ มามองตนเองว่าการศึกษาก็ต้องมีข้อมูลหลกั ฐาน

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 13 ในกรณขี องวฒั นธรรมลา้ นนา ภาคเหนอื ถอื วา่ ไดเ้ ปรยี บมาก เพราะมเี อกสาร จ�ำนวนมาก เม่ือเทียบกับภาคใต้ หรือภาคอีสาน หรือภาคอ่ืนๆ หากไม่นับรวม ภาคกลาง แมจ้ ะมเี อกสารมากมาย แตก่ ย็ งั ไมม่ คี นอา่ นกนั มากนกั คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่จงึ สนใจรวบรวมเอกสารใบลาน โดยมี สมหมาย เปรมจติ ต์ (2524) เป็นตัวตั้งตัวตีท่านหนึ่งที่พยายามรวบรวมและเข้าไปอ่านและปริวรรต เอกสารว่าเน้ือหาเป็นอย่างไร ต่อมาสถาบันวิจัยสังคมของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก็สานต่อในการเก็บรวบรวม และบันทึกไว้ในรูปของไมโครฟิล์ม ในช่วงนน้ั จะเน้น เร่ืองงานประมวลข้อมูลเอกสาร แต่นกั วิจัยส่วนใหญ่ท่ีอยู่ในวงการก็มักจะรวมกัน อยู่ท่ีวิทยาลัยครูเชียงใหม่ (ในปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่) ซ่ึงเป็น นกั วชิ าการดา้ นภาษาไทย หรอื ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ซงึ่ จะใหค้ วามสำ� คญั กบั เรอ่ื งคตชิ น โดยพวกนกั ภาษาไทยก็จะสนใจศึกษาเก็บข้อมูลในเรื่องของคติชน ที่เราเรียกว่า มขุ ปาฐะ ส่วนพวกนกั ประวตั ศิ าสตร์ก็จะหันมาทางประวัติศาสตร์จากการบอกเล่า ตัวอย่างของงานศึกษาวิจัยท่ีน่าสนใจในช่วงน้ี ก็เช่น โลกทัศน์ชาวล้านนาไทย (สิทธิ์ บุตรอินทร์ 2522) และ บทความเรื่อง “โลกทัศน์ชาวล้านนาศึกษาจาก ซอเก็บนก” (สุรสิงห์สำ� รวม ฉมิ พะเนาว์ 2525-2527) เป็นต้น ชว่ งทศวรรษที่ 2520 นก้ี ถ็ อื เปน็ จดุ เปลยี่ นสำ� คญั ของการศกึ ษาวฒั นธรรมใน สังคมภาคเหนอื ทงั้ ในส่วนของนกั วชิ าการจากต่างประเทศและนกั วชิ าการไทยเอง ทศ่ี กึ ษาวจิ ยั วฒั นธรรมในประเดน็ ตา่ งๆ ดว้ ยการวเิ คราะหแ์ ละสรา้ งขอ้ ถกเถยี งอยา่ ง ลกึ ซงึ้ มากขน้ึ ดงั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ไดจ้ ากผลงานวจิ ยั 2 ชน้ิ ของ Jack Potter ในหนงั สอื เรอ่ื ง Thai Peasant Social Structure (Potter, 1976 ภายหลงั นฤจร อทิ ธจิ รี ะจรสั ได้แปลเป็นไทย) และ Andrew Turton ในบทความเรอื่ ง “Northern Thai peasant society: twentieth-century transformations in political and jural structure” (Turton, 1976) หนงั สอื ของ Jack Potter ไดโ้ ตแ้ ยง้ ผลงานวจิ ยั ของนกั วชิ าการตา่ งประเทศกอ่ น หนา้ นน้ั ทใ่ี หภ้ าพสงั คมแบบโครงสรา้ งหลวม บนพนื้ ฐานของความเปน็ ปจั เจกชนนยิ ม อย่างมาก ด้วยการช้ีให้เห็นว่าสังคมวัฒนธรรมของสังคมชาวนาในภาคเหนือ ยังมีวัฒนธรรมของการรวมกลุ่มช่วยเหลือกันอยู่อย่างเข้มแข็ง โดยเฉพาะกลุ่ม

14 กำ�กดึ๊ ก�ำ ปาก เหมืองฝาย ที่เป็นหลักในการบริหารจัดการน�้ำส�ำหรับการเกษตรได้อย่างดี ซ่ึง เป็นการเสนอภาพสังคมชาวนาในด้านบวก ขณะท่ี Andrew Turton กลับแย้งว่า สังคมชาวนาเร่ิมเผชิญกับปัญหาความขัดแย้งกันภายในชุมชนมากขึ้น ท่ามกลาง การเปลย่ี นแปลงเข้าสู่การผลิตเชงิ พาณชิ ย์ที่ก�ำลงั เกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว ในส่วนของนกั วิชาการไทยนน้ั เริ่มส�ำเร็จการศึกษาด้านมานุษยวิทยาและ สังคมวิทยากันมาในช่วงเดียวกันนี้เอง และค่อยๆ มีผลงานวิทยานิพนธ์ระดับ ปริญญาเอกทยอยออกมาหลายฉบับ ซึ่งแสดงถึงการวิจัยทางวัฒนธรรมที่ลุ่มลึก มากขึน้ กว่าในอดตี อาทิ วิทยานิพนธ์ของสุเทพ สนุ ทรเภสชั ที่ส�ำเรจ็ การศึกษาใน ปีพ.ศ. 2520 (1977) และภายหลังน�ำมาพิมพ์เป็นหนงั สือเร่ือง Islamic Identity in Chiang Mai City (Suthep 2013) ด้วยการศึกษาชุมชนชาวจีนฮ่อ ที่นับถือศาสนา อสิ ลามในเมอื งเชยี งใหม่ และสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ การแสดงตวั ตนของพวกเขา ภายใต้ ความแตกตา่ งหลากหลายทางชาตพิ นั ธใ์ุ นเมอื งเชยี งใหมเ่ ปน็ ครง้ั แรก หลงั จากนน้ั ก็ มวี ทิ ยานิพนธ์ของ อไุ รวรรณ ตนั กิมหยง เร่ือง ‘Resource mobilization in traditional irrigation systems of northern Thailand : a comparison between the lowland and the upland irrigation communities’ (Uraivan 1983) ซ่ึงยืนยันข้อสังเกตของ Jack Potter เกี่ยวกับวัฒนธรรมในการรวมกลุ่มเหมอื งฝายของชาวนาในภาคเหนือ ด้วย การมองว่าเป็นภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ที่มศี ักยภาพในการจดั การทรัพยากรด้วยตนเอง ในชว่ งปลายทศวรรษท่ี 2520 นนั้ เอง ผเู้ ขยี นกไ็ ดพ้ มิ พห์ นงั สอื เรอื่ ง พฒั นาการ ของชีวิตและวัฒนธรรมล้านนา(อานันท์ 2527) ซ่ึงปรับปรุงมาจากบางส่วนใน วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกของผู้เขียนเอง ด้วยการอภิปรายถกเถียงให้เห็นถึง ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ ภายในชุมชนชนบทท่ีเพ่ิมมากขึ้น เพราะความ แตกตา่ งดา้ นสถานภาพทางเศรษฐกจิ และการเปลยี่ นแปลงสงั คมชนบทเขา้ สรู่ ะบบ เชงิ พาณชิ ย์ และหลงั จากนน้ั ผเู้ ขยี นกไ็ ดห้ นั ไปศกึ ษาพธิ กี รรมและความเชอ่ื เชน่ พธิ ี ไหวผ้ ปี แู่ สะและยา่ แสะ ซงึ่ เปน็ ผอี ารกั ษเ์ มอื งเชยี งใหม่ รวมทงั้ ศกึ ษาผตี ระกลู ทเี่ รยี ก วา่ ผปี ยู่ า่ และมงุ่ เนน้ ไปทพ่ี ธิ ไี หวผ้ มี ดผเี มง็ ทมี่ พี ธิ กี รรมซบั ซอ้ นกวา่ พธิ ไี หวผ้ ปี ยู่ า่ ทวั่ ไป ในชว่ งนนั้ มผี ศู้ กึ ษากนั มากอยแู่ ลว้ และในภายหลงั กไ็ ดน้ �ำผลการศกึ ษามารวมพมิ พ์

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 15 ในหนงั สอื เรอ่ื ง เจ้าท่ีและผปี ู่ย่า: พลวตั ของความรู้ชาวบ้าน อ�ำนาจและตวั ตนของ คนท้องถิ่น (อานนั ท์ 2555) ในช่วงเดียวกันนน้ั นกั วิชาการตะวันตกก็เร่ิมให้ความ สนใจศกึ ษาการนับถือผขี องชาวบ้านในภาคเหนือกนั มากขึ้นด้วยเช่นกัน ดงั จะเห็น ไดจ้ ากวทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาเอกของ Walter Irvine นบั วา่ ภายหลงั ไดน้ ำ� มาเขยี นเปน็ บทความเรอ่ื ง “Decline of village spirit cults and growth of urban spirit mediumship: the persistence of spirit beliefs, position of women and modernization” (Irvine 1984) โดยช้ีให้เห็นถึงจ�ำนวนคนทรงผีเจ้านายได้เพิ่มข้ึนในพ้ืนที่เมือง ที่ต้องเผชิญ กบั ปญั หาจากการเปลย่ี นแปลงดา้ นต่างๆ เพอ่ื ถกเถยี งใหเ้ หน็ ถงึ กระบวนการรอื้ ฟนื้ วัฒนธรรมด้งั เดิมข้นึ มาใหม่ ในช่วงของการเปลีย่ นแปลงเข้าสู่สังคมสมยั ใหม่อย่าง รวดเร็ว จากความเข้าใจวัฒนธรรมเพียงว่าเป็นรากเหง้าดั้งเดิมและคุณค่าที่ดีงาม ในงานศึกษาวิจัยช่วงแรกๆ ต่อมาผู้ศึกษาวิจัยวัฒนธรรมได้ค่อยๆ เปิดกว้าง และยอมรับว่าวัฒนธรรมไม่ได้คงที่ตายตัวเสมอไป หากแต่ยังอาจปรับเปล่ียน ไปได้ตามสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไป และในช่วงหลังทศวรรษ 2520 น้ีเอง นกั วิชาการส่วนหนง่ึ ก็เร่ิมศึกษาวัฒนธรรมในเชิงการตั้งคำ� ถาม พร้อมทั้งมีความ เข้าใจวัฒนธรรมอย่างซับซ้อนหลากหลายและมีพลวัตมากขึ้น บนพ้ืนฐานของ แนวความคิด ทฤษฎี และวิธีวิทยาที่แตกต่างและย้อนแย้งกันเองไปพร้อมๆ กัน ซึ่งจะปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนในงานวิจัยช่วงหลังทศวรรษท่ี 2530 เป็นต้นมา เม่ือการศึกษาวิจัยวัฒนธรรมแทบทั้งหมดเป็นผลงานของนกั วิชาการในระบบของ สถาบนั การศกึ ษาระดบั สงู ดงั จะสะทอ้ นออกมาอยา่ งชดั เจน ในบทความเชงิ สำ� รวจ องคค์ วามรแู้ ละสถานภาพงานวจิ ยั วฒั นธรรม ในประเดน็ ปญั หาตา่ งๆ ทง้ั 4 ประเดน็ ท่รี วมกนั อยู่ในหนงั สือเล่มนี้ ส�ำหรับบทความแรกของอภิญญา เฟื่องฟูสกุล เรื่อง “ศิลปวัฒนธรรมใน ความเคลอ่ื นไหวทางวฒั นธรรม” แมจ้ ะเจาะจงศกึ ษาเฉพาะประเดน็ ศลิ ปวฒั นธรรม เป็นหลัก แต่ก็ได้ช่วยปูพ้ืนฐานความเข้าใจวัฒนธรรมท่ีหลากหลายและซับซ้อน บนพน้ื ฐานของแนวคดิ ทฤษฎี และวธิ วี ทิ ยาตา่ งๆ ไวอ้ ยา่ งครอบคลมุ จงึ ถกู จดั เรยี ง

16 ก�ำ กึ๊ดกำ�ปาก ไวใ้ นลำ� ดบั แรกของหนงั สอื เลม่ นี้ เพอื่ ทจ่ี ะชว่ ยวางกรอบและแนวทางใหส้ ามารถอา่ น บทความที่ตามมาหลังจากนนั้ ได้อย่างเชอื่ มโยงกนั มากขน้ึ บทความน้ีเร่ิมต้นด้วยการต้ังค�ำถามกับความเข้าใจวัฒนธรรมแบบ สารตั ถะนยิ ม (หรอื แกน่ สารนยิ ม) ทม่ี องวฒั นธรรมในเชงิ คณุ ค่าทด่ี งี ามและตายตวั ซึ่งเป็นมุมมองของการศึกษาวัฒนธรรมกระแสหลัก ว่าสร้างปัญหาในการอธิบาย วฒั นธรรมในยคุ ปจั จบุ นั อยา่ งไร ในขณะทว่ี ฒั นธรรมโดยเฉพาะศลิ ปวฒั นธรรมก�ำลงั ถกู เปลยี่ นใหก้ ลายเปน็ สนิ คา้ มากขน้ึ และเสนอใหห้ นั มาทำ� ความเขา้ ใจกบั วฒั นธรรม ในมติ ขิ องความสมั พนั ธเ์ ชงิ อ�ำนาจ ในฐานะทเี่ ปน็ กลยทุ ธข์ องการตอ่ รองของกลมุ่ ชน ต่างๆ ในสงั คม ซง่ึ อาจเรม่ิ ต้นจากการมองความหมายทางวฒั นธรรมทซี่ ่อนแฝงอยู่ และพยายามวเิ คราะห์ต่อไปว่าความหมายต่างๆ เช่น อตั ลกั ษณ์นนั้ ประกอบสร้าง ขึ้นมาได้อย่างไร โดยช้ีให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงทิศทางการศึกษาวัฒนธรรม ดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนทางทฤษฎี ท่ีได้รับอิทธิพลจากกระบวนทัศน์ หลังสมยั ใหม่นิยม และแนวการศกึ ษาแบบวัฒนธรรมศึกษาในตะวันตกมากขึ้น ทง้ั นบี้ ทความไดต้ งั้ ขอ้ สงั เกตเบอื้ งตน้ วา่ การศกึ ษาศลิ ปวฒั นธรรมสว่ นใหญ่ ยังคงยดึ มุมมองของการศึกษาวฒั นธรรมกระแสหลกั อยู่ โดยเร่มิ จากการมองศิลป วัฒนธรรมในตัวเองแบบสารัตถะนยิ ม ท่ีมีแก่นแกนร่วมกันทางวฒั นธรรม ด้วยการ วิเคราะห์เชิงพรรณนาเพ่ือเข้าใจโครงสร้างภายในของศิลปะนน้ั ๆ ในลักษณะของ การมองตัวงานศิลป์คล้ายกับเป็นระบบปิด ที่มีระเบียบภายในและความเชื่อมโยง กันขององค์ประกอบภายในระบบนน้ั ๆ เอง ซ่ึงอาจจะมองความเชื่อมโยงระหว่าง ศลิ ปะและสงั คมไดบ้ า้ ง แตก่ อ็ ยใู่ นฐานะทเ่ี ปน็ ความเปน็ จรงิ เชงิ ประจกั ษเ์ ทา่ นน้ั เชน่ การผลติ ซำ�้ ความสมั พนั ธท์ แ่ี นน่ แฟน้ ของชมุ ชนเปน็ ตน้ ทง้ั นอี้ าจจะมคี วามพยายาม แก้ปัญหาดงั กล่าวอย่บู า้ ง ด้วยการหนั ไปศกึ ษาวจิ ยั ศลิ ปวฒั นธรรมดว้ ยวธิ กี ารวจิ ยั แบบมีส่วนร่วม เพอื่ เชือ่ มโยงระหว่างนกั วิจัยและผู้ถูกวิจยั มากขน้ึ ด้วยการปฏิเสธ ค่านิยมในเรื่องความเป็นกลางของผู้วิจัย และ “ความเป็นวิทยาศาสตร์” ของ งานวจิ ยั แตก่ ม็ กั จะยงั ไมไ่ ดเ้ ปลย่ี นความเขา้ ใจวฒั นธรรมไปจากกระแสหลกั มากนกั

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 17 งานวิจัยตามแนวทางข้างต้นอาจจะมีแนวทางการวิเคราะห์แตกต่างกันอยู่ บ้าง ต้ังแต่การวิเคราะห์เชิงสถิตและเชิงเดี่ยวไปจนถึงการมองความเปล่ียนแปลง และเชอื่ มโยงการอธบิ ายเชงิ สงั คมหรอื การใชว้ ธิ กี ารจากวชิ าการสาขาตา่ งๆ รว่ มกนั ตลอดจนบางสว่ นกอ็ าจจะน�ำทฤษฎตี า่ งๆ มาชว่ ยวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ย ไมว่ า่ จะเปน็ มุมมองเชิงโครงสร้างในฐานะท่ีเป็นวิธีคิดเชิงลึก การวิเคราะห์เชิงสัญวิทยา เพื่อ ช้ีให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจของอุดมการณ์ รวมท้ังการวิเคราะห์เชิงหน้าที่ แต่ท้ังนท้ี ั้งนน้ั การศึกษาตามแนวทางเช่นนกี้ ็ยังมีข้อจ�ำกัดอยู่มาก ตรงท่ียังมองไม่ เหน็ ความสำ� คญั ของมนษุ ยใ์ นฐานะผกู้ ระทำ� การทางวฒั นธรรมและสงั คมเทา่ ทคี่ วร ย่ิงไปกว่านนั้ บทความนี้ยังพบด้วยว่า งานวิจัยจ�ำนวนมากนน้ั มักจะมอง ศลิ ปวฒั นธรรมในเชงิ คณุ คา่ แลว้ กเ็ หน็ “ศลิ ปะ” เปน็ เพยี งผลติ ผลจากการสรา้ งสรรค์ ของปัจเจกชน ด้วยการผูกติดศิลปะไว้กับคุณค่าต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น คุณค่า เชิงสุนทรียะ และคุณค่าเชิงภูมิปัญญาท่ีเปรียบเสมือนมรดกทางวัฒนธรรม ท่ีสามารถถ่ายทอดและสั่งสมจากรุ่นสู่รุ่นได้ อีกท้ังยังตั้งข้อสังเกตเพิ่มเติมว่า การวจิ ยั เชน่ นอ้ี าจจะมเี จตนาดใี นการกระจายอ�ำนาจการศกึ ษาและทา้ ทายการรวม ศนู ยอ์ ำ� นาจอยบู่ า้ ง แตก่ อ็ าจแปรเปลย่ี นไปสกู่ ารสรา้ งกระแสอนรุ กั ษน์ ยิ มระดบั ยอ่ ยๆ ข้ึนมาก็ได้ด้วยเช่นเดียวกนั ด้วยเหตุน้ีเอง บทความนจี้ ึงได้ต้ังสังเกตต่อไปว่า งานวิจัยในระยะหลังๆ มักจะหันไปรบั ทฤษฎหี ลงั สมัยใหม่ทีเ่ น้นความสัมพนั ธ์เชิงอ�ำนาจมากข้ึน ด้วยการ วิเคราะห์ศิลปวัฒนธรรมในเชิงวาทกรรม ที่อยู่ในกระบวนการสร้างและสถาปนา ความเปน็ จรงิ ทางสงั คม ซงึ่ ทำ� ใหศ้ ลิ ปวฒั นธรรมเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการปะทะประสาน กันของอ�ำนาจต่างๆ ท้ังอ�ำนาจระหว่างรัฐ เผ่าพันธุ์ และเพศ รวมทั้งเพ่ิมมิติของ การวพิ ากษว์ จิ ารณค์ วามสมั พนั ธเ์ ชงิ อ�ำนาจระหวา่ ง “เสยี ง” ของผคู้ นในสนามของ ความสัมพันธ์ต่างๆ รวมทัง้ เสยี งระหว่างชาวบ้านและนกั วจิ ยั อกี ด้วย มุมมองเชิงวิพากษ์เช่นน้ีเองชวนให้หันมามองศิลปวัฒนธรรม ในฐานะที่ เป็นเรื่องของภาพแทนความจรงิ มากกว่าทจ่ี ะมองว่าศลิ ปวัฒนธรรมสะท้อนความ เป็นจรงิ ซ่ึงมนี ัยว่าไม่มใี ครสามารถพูดความจริงได้ทง้ั หมด และก็ไม่มใี ครสามารถ

18 กำ�ก๊ดึ ก�ำ ปาก ผูกขาดอ�ำนาจในการนิยามความจริงได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ความจริงในเรื่อง ต่างๆ ล้วนเป็นความจริงบางส่วนจากมุมของคนบางกลุ่ม ขณะที่เปิดช่องให้มีผู้ ท้าทายและต่อรองได้เสมอ ในฐานะที่เป็นท้ังพ้ืนท่ีของการสถาปนาอ�ำนาจและ พ้ืนท่ีท่ีท้าทายอ�ำนาจด้วย ความจริงทางวัฒนธรรมจึงไม่หยุดนงิ่ ตายตัว แต่กลับ ยงั ไหลเลอ่ื นเปลยี่ นแปลงได้ มมุ มองเชน่ นเ้ี องท�ำใหง้ านศกึ ษาวจิ ยั ตา่ งๆ หนั มาสนใจ วัฒนธรรม ท้งั ในแง่ท่เี ป็น “กระบวนการ” และเป็นปฏิบตั ิการท่ไี ม่เบด็ เสรจ็ แทนท่ี จะมองวัฒนธรรมเป็นเพียง “โครงสร้าง” หรือ “ระเบยี บ” ทมี่ ีเอกภาพเท่านน้ั เช่น กระบวนการสถาปนา “ความดง้ั เดิมแท้จรงิ ” (authenticity) ในการสร้างความชอบ ธรรมแก่การฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม ผ่านการสร้างสารัตถะนิยมขึ้นมาใหม่ จนกลาย เป็นพนื้ ทข่ี องการชว่ งชงิ อตั ลกั ษณท์ างวฒั นธรรมของกล่มุ ตา่ งๆ ทง้ั รฐั เอกชน และ กลุ่มศลิ ปินเอง ส�ำหรับบทความชิ้นต่อมาของ ขวัญชีวัน บัวแดง เรื่อง “ความเคลื่อนไหว และอัตลกั ษณ์ทางชาติพนั ธุ์” นน้ั ผู้เขยี นบทความได้เริม่ ต้นด้วยการทบทวนความ เขา้ ใจความหมายของชาตพิ นั ธ์ุ ในฐานะประเดน็ ศกึ ษาหลกั จากความเขา้ ใจพน้ื ฐาน ทต่ี ้งั อยู่บนแนวความคิดแบบโครงสร้างนิยมว่า ชาติพันธ์ุเป็นสำ� นกึ ร่วมทเ่ี น้นความ เป็นอันหนง่ึ อันเดียวกันในทางเชื้อสายที่สืบทอดกันมา ซ่ึงต่อมาก็มีความพยายาม ปรบั ความหมายใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณจ์ รงิ มากขน้ึ ดว้ ยการนยิ ามเพมิ่ เตมิ ให้ ชาตพิ นั ธเ์ุ ปน็ กลมุ่ ทสี่ ร้างขนึ้ มาทางสงั คม เพอ่ื ท�ำความเขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ซ่ึงไม่เพียงแตกต่างกันเท่านนั้ แต่ยังมีความไม่เท่าเทียมกัน ทั้งทางโครงสร้างและการล�ำดับข้ันของความแตกต่างอีกด้วย ขณะท่ีการนิยาม บางส่วนก็เน้นความหมายของการธ�ำรงชาติพันธุ์หรือจิตส�ำนกึ ชาติพันธุ์ ในระดับ องคร์ วมทส่ี มาชกิ ยอมรบั เอาบรรทดั ฐานรว่ มกนั ในกระบวนการปฏสิ มั พนั ธท์ างสงั คม แต่นกั วิชาการบางส่วนกลับเหน็ ว่า ในความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มนน้ั สมาชิกแต่ละ คนอาจปรับเปลี่ยนความเป็นชาติพันธุ์ของตนได้ด้วย ในแง่นคี้ วามเป็นชาติพันธุ์ จึงไม่ตายตัว หากสามารถปรับเปลี่ยนไปได้ตามการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้าง สังคม

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 19 หลังจากนนั้ ผู้เขียนบทความจึงหันมาปูพื้นฐานส�ำหรับการทบทวนแนวทาง ในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ เร่ิมจากในระยะแรกๆ มักจะสนใจลักษณะเฉพาะทาง วัฒนธรรมของกลุ่มคน เพ่ือท�ำความเข้าใจว่าแต่ละกลุ่มมีอัตลักษณ์ (identity) อย่างไร โดยเฉพาะเจ้าอาณานคิ มหรือรัฐบาล ซึ่งต้องการจ�ำแนกชาติพันธุ์ ท่ีใช้ ในการก�ำหนดนโยบายและแนวทางในการ “จัดการ” กับกลุ่มต่างๆ ทางด้าน การเมอื งการปกครอง รวมทง้ั ในการ “พฒั นา” สคู่ วามทนั สมยั ดว้ ย แตใ่ นระยะหลงั เม่ือบริบทและเงื่อนไขต่างๆ เปล่ียนแปลงไป อาทิเช่น การอพยพเคลื่อนย้ายของ ผู้คนและการติดต่อสื่อสารได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว การศึกษากลุ่มชาติพันธุ์จึงได้ รับอิทธิพลของแนวคิดหลังสมัยใหม่มากข้ึน ด้วยการหันมาเร่ิมมองความสัมพันธ์ ทางชาติพันธุ์ในเชิงวาทกรรม หรือการสร้างความหมาย โดยเฉพาะความหมาย ของอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ ซึ่งเต็มไปด้วยการครอบง�ำและการต่อต้าน เพื่อการ ช่วงชงิ ความหมายในการสร้างตัวตนท่แี ตกต่างจากคนอืน่ ตลอดจนการรวมตวั กัน ให้มีพลังในการต่อสู้และปรับเปล่ียนความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจกับกลุ่มอื่น เช่นเดียว กับกรณขี องการศกึ ษาศลิ ปวัฒนธรรมในบทก่อนหน้าน้ี ในส่วนของกรณีศึกษาวจิ ยั ชาตพิ นั ธุ์ในภาคเหนอื นนั้ ผู้เขียนบทความกช็ ใี้ ห้ เห็นว่า ได้ปรับเปล่ียนไปตามบริบทและเงื่อนไขของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ หลาย ประการด้วยกัน นับตั้งแต่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีการเดินทางและ การสอื่ สาร การเปิดพรมแดนและการรวมตวั ของประชาคมอาเซยี น การลงนามใน ปฏิญญาสากลและข้อตกลงของสหประชาชาติและองค์กรระหว่างประเทศ การ ปรับปรุงเชิงสถาบันและแนวนโยบายว่าด้วยชาติพันธุ์ของรัฐไทย ทั้งนี้ในช่วงหลัง มีหลายหน่วยงานมากขึ้นในการท�ำหน้าท่ีสนับสนนุ การวิจัยและการเผยแพร่งาน ด้านชาตพิ ันธุ์ ตวั อย่างเช่น ศนู ย์มานุษยวทิ ยาสิรนิ ธร (องค์กรมหาชน) ที่สนบั สนนุ การวจิ ยั และเผยแพร่ความรู้เรื่องชาตพิ นั ธุ์ และศูนย์ศึกษาชาติพนั ธ์ุและการพฒั นา มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ เป็นต้น การเปลยี่ นแปลงดงั กลา่ วขา้ งตน้ มสี ว่ นอยา่ งมากในการปรบั เปลย่ี นประเดน็ ในการวิจัยชาติพันธุ์ ซ่ึงเร่ิมหันมาให้ความส�ำคัญกับการศึกษาประเด็นใหม่ๆ หลายประการด้วยกันคือ

20 ก�ำ กึ๊ดก�ำ ปาก ประเด็นแรก การอพยพโยกย้ายเข้าเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์ ซ่ึงงานวิจัย จ�ำนวนหนง่ึ พบว่า นอกจากแรงกดดนั ต่างๆ บนพืน้ ท่สี งู แล้ว การเปิดพ้ืนที่เมืองให้ แกก่ ลมุ่ ชาตพิ นั ธไ์ุ ดเ้ ขา้ มาคา้ ขายในตลาดการทอ่ งเทยี่ วมสี ว่ นสำ� คญั ในการดงึ ดดู ให้ พวกเขาอพยพโยกย้ายเข้าเมือง เม่ือเข้ามาอยู่ในเมืองพวกเขาก็ต้องปรับตัวหลาย ด้าน ทงั้ ด้านกลยุทธ์ในการประกอบอาชีพ ท่ตี ้องพ่งึ พาความสมั พนั ธ์กับเครอื ข่าย ทางสังคมต่างๆ ขณะที่ผู้หญงิ จะมีบทบาทมากขึ้น จนสามารถตอบโต้และต่อรอง กบั ผทู้ มี่ อี ำ� นาจกวา่ หรอื เพศชายได้ เพราะสามารถเขา้ ถงึ ความรแู้ ละมปี ระสบการณ์ ทชี่ ่วยให้สะสมทนุ และสร้างพน้ื ท่ที างสังคมของตนได้ แม้กลุ่มชาติพนั ธุ์บางคนอาจ จะสามารถเพิ่มรายได้ที่เป็นตัวเงิน หรือพัฒนาอาชีพถาวรและมีสถานภาพทาง เศรษฐกิจและสังคมที่ม่ันคงมากขึ้น แต่บางส่วนก็ต้องเผชิญกับความเส่ียง จาก ท้ังการท�ำงานและการติดเช้ือ HIV/AIDS จากปัญหาการขาดอำ� นาจต่อรองเพราะ ไร้สัญชาติและขาดความเข้าใจการปรับตัวใช้ชีวิตกับสังคมวัฒนธรรมในเขตเมือง ขณะที่ผู้โยกย้ายเข้าเมืองบางส่วนก็พยายามสืบต่อวัฒนธรรมด้ังเดิม พร้อมๆ ไป กบั การปรบั รปู แบบให้สอดคล้องกับวถิ ีชีวติ แบบใหม่ตามไปด้วย ประเด็นที่สอง การข้ามพรมแดนและการพลัดถ่ิน ซ่ึงประกอบไปด้วยกลุ่ม ชาตพิ ันธุ์ทีห่ ลากหลาย ต้งั แต่กลุ่มผู้ลภ้ี ัยจากพม่า ทั้งท่อี ยู่ในค่ายอพยพและอาศยั อยตู่ ามบรเิ วณรอบนอกของเมอื งชายแดน ซงึ่ สมั พนั ธก์ บั หนว่ ยงานตา่ งๆ ทงั้ ในฐานะ ที่เป็นฝ่ายรับหรือฝ่ายถูกกระท�ำและต่อรองกับผู้เก่ียวข้องจากภายนอก พร้อมๆ กนั นน้ั กย็ งั มคี วามพยายามทจี่ ะสรา้ งบา้ นแหง่ ใหมใ่ นพน้ื ทใ่ี หม่ ดว้ ยการเปลยี่ นจาก การเป็นผู้พลดั ถิ่นให้กลายเป็นส่วนหนงึ่ ของหมู่บ้านไทย นอกจากนนั้ จะมกี ารศกึ ษาปญั หาตา่ งๆ ของกลมุ่ แรงงานขา้ มชาติ ซง่ึ สว่ นหนง่ึ เกิดจากการขูดรีดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ขณะที่พบว่าพวกเขาก็มีความพยายาม จะแก้ปัญหาเหล่านนั้ ด้วยตนเอง ด้วยการการสร้างส่ือเพ่ือปรับอัตลักษณ์ของตน ในสังคมไทย แรงงานข้ามชาติเหล่าน้ีส่วนใหญ่ก็จัดอยู่ในกลุ่มกลุ่มชาติพันธุ์เดียว กับกลุ่มท่ีอยู่ในประเทศไทยมาก่อน และได้สถานภาพพลเมืองไทยแล้ว แต่พวก เขากลับไม่ได้รู้สึกเป็นอันหนง่ึ อันเดียวกันกับผู้ท่ีอพยพเข้ามาใหม่เสมอไป แม้แต่

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 21 กลุ่มเด็กและเยาวชนซงึ่ เป็นทายาทรุ่นท่ี 2 ก็ยงั มปี ัญหาของความไม่ชัดเจนในด้าน สถานภาพทางกฎหมาย และยังมีการศึกษากลุ่มผู้หญิงในขบวนการกู้ชาตไิ ทใหญ่ ทเ่ี นน้ บทบาทและสถานภาพในความพยายามสรา้ งพน้ื ทท่ี างสงั คม เพอ่ื เพม่ิ อ�ำนาจ ให้กบั เพศสภาพของตนด้วย ประเดน็ ที่สาม การปรับเปล่ยี นด้านเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรมและศาสนา ของชมุ ชนชาตพิ นั ธ์ุ ซงึ่ มกั จะเรม่ิ จากการเผชญิ กบั ปญั หาความขดั แยง้ ในการใชท้ ด่ี นิ และทรัพยากรธรรมชาติ จนต้องเปลี่ยนแปลงมาเป็นการเกษตรเชิงพาณชิ ย์ และ ปรบั การใชแ้ รงงานจากการแลกเปลย่ี นแรงงานกลายเปน็ การจา้ งงานแลว้ ชมุ ชนบน พื้นที่สูงบางแห่งยังหันมาพ่ึงพาระบบเศรษฐกิจบนพ้ืนฐานของการท่องเท่ียว และ การออกไปทำ� งานในเมอื งและตา่ งประเทศ ซงึ่ นำ� มาซงึ่ ปญั หาการคา้ บรกิ ารทางเพศ นอกจากนน้ั กลมุ่ ชาตพิ นั ธบ์ุ างกลมุ่ กย็ งั เปลย่ี นศาสนาจากศาสนาดงั้ เดมิ เปน็ ศาสนา คริสต์และพุทธ ซ่ึงอาจถือเป็นการประดิษฐ์วัฒนธรรมข้ึนมาใหม่ เพื่อก�ำหนด ต�ำแหน่งแห่งที่และความเป็นตัวตนทางวัฒนธรรมของพวกเขา ในบริบทของการ สร้างชาติและการพฒั นาในยุคสมัยใหม่ ประเด็นท่ีสี่ ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ พบว่ามีการศึกษาประวัติศาสตร์และ ลักษณะวัฒนธรรมเฉพาะของคนกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกัน แต่อยู่ในหลายรัฐชาติ มากขน้ึ ประเด็นสดุ ท้าย ขบวนการต่อสู้และการเมอื งเชงิ อตั ลักษณ์ ประเดน็ นกี้ ลาย เปน็ ประเดน็ หลกั ในงานวจิ ยั ระยะหลงั ๆ จ�ำนวนมาก สว่ นหนง่ึ เกยี่ วขอ้ งกบั การตอ่ สู้ กับนโยบายและปฏิบัติการของรัฐที่มักมีผลกระทบทางลบแก่ชุมชนชาติพันธุ์ต่างๆ งานวิจัยพบกลยุทธ์ในการต่อสู้หลายประการ เช่น การสร้างวาทกรรมตอบโต้ วาทกรรมของรัฐที่จ�ำกัดการใช้ทรัพยากรท่ีดินและป่าไม้บนพื้นที่สูง ด้วยการชี้ว่า ระบบการทำ� ไรห่ มนุ เวยี นของชาวปกาเกอะญอสามารถสรา้ งหลกั ประกนั และความ มน่ั คงในการยังชพี การศกึ ษาเชงิ วาทกรรมนเี้ องกไ็ ดเ้ ปดิ ประเดน็ ใหเ้ กดิ ววิ าทะทางวชิ าการอยา่ ง กว้างขวาง นกั วิชาการบางคนวพิ ากษ์วิจารณ์ว่าการสร้างภาพดงั กล่าวจะไม่ได้ผล

22 ก�ำ กึด๊ ก�ำ ปาก ในการตอ่ สเู้ พอื่ ชว่ งชงิ ทรพั ยากรปา่ เพราะความจรงิ นนั้ คนกะเหรยี่ งไดท้ ำ� การเกษตร แบบถาวร เพอื่ ปลกู พชื เศรษฐกจิ และค้าขายมานานแลว้ ขณะทนี่ กั วชิ าการอกี สว่ น หนงึ่ ก็เสนอให้มองว่า วาทกรรมนน้ั เป็นกลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหาและการสร้าง อัตลักษณ์ ท่ีเกี่ยวข้องกับชีวิตในหลายๆ ด้านมากกว่าด้านการเกษตรเท่านั้น ซ่ึงอาจมีท้ังการสร้างอัตลักษณ์เชิงบวกและยืดหยุ่น ในความพยายามต่อรองและ ตอ่ ต้านการถกู กกั ขงั อยใู่ นภาพลกั ษณท์ ตี่ ายตวั และอาจจะยอ้ นแยง้ กนั เอง หรอื ไม่ ได้เคลื่อนไหวไปในทศิ ทางเดยี วกนั เสมอไป ในระยะหลังๆ การศึกษาการสร้างอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ยังพยายาม เชื่อมโยงกับประเด็นของการสร้างกลุ่มศาสนาใหม่ ในลักษณะของขบวนการ เคลื่อนไหวแบบพระศรีอาริย์ เพื่อแยกแยะกลุ่มของตนออกจากศาสนาหลัก ด้วยการสร้างอัตลักษณ์ที่แตกต่างออกไปจากกลุ่มชาติพันธุ์อื่น และจากกลุ่ม ชาติพันธ์ุเดียวกนั ท่ีนบั ถือศาสนาอ่นื สว่ นทา้ ยของบทความผเู้ ขยี นยงั ไดส้ งั เคราะหเ์ พม่ิ เตมิ เพอ่ื ชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ทศิ ทาง ของการเปลยี่ นแปลงแนวความคดิ และวธิ วี ทิ ยาในการวจิ ยั ดา้ นชาตพิ นั ธใ์ุ นชว่ งสบิ ปี ทผี่ า่ นมา ซง่ึ กำ� ลงั โนม้ เอยี งมาเนน้ แนวคดิ เรอ่ื งอตั ลกั ษณช์ าตพิ นั ธ์ุ ทแ่ี ตกตา่ งไปจาก ความเขา้ ใจแบบสารตั ถะนยิ มทใี่ ชก้ นั มากอ่ นหนา้ นี้ ทมี่ องอตั ลกั ษณช์ าตพิ นั ธอ์ุ ยา่ ง ตายตัว ด้วยการหันมามองว่าอตั ลกั ษณ์ทางชาตพิ ันธ์ุเคลือ่ นไหวและเปล่ยี นแปลง ได้ อีกทั้งยังมีลักษณะพหุลักษณ์ ผสมผสาน สามารถปรับข้ามท้องถ่ิน และเป็น อัตลักษณ์ที่ช่วงชิง ในสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพทางเศรษฐกิจและ สงั คมอย่างรวดเรว็ อกี ด้วย ในดา้ นวธิ วี ทิ ยาผเู้ ขยี นบทความกย็ งั ไดต้ ง้ั ขอ้ สงั เกตอกี ดว้ ยวา่ แนวโนม้ ของ การศึกษาวิจัยก�ำลังเปลี่ยนจากแนวทางแบบชาติพันธุ์วิทยาที่เน้นการศึกษาชุมชน เดยี ว พ้ืนท่เี ดียว หรอื กลุ่มชาตพิ นั ธุ์เดียวอย่างลกึ ซง้ึ มาสู่การศกึ ษาความสมั พนั ธ์ ระหว่างกลุ่ม หรือความสัมพันธ์กับรัฐและกลุ่มอ�ำนาจภายนอก พร้อมทั้งถกเถียง เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับผู้ปฏิบัติการในลักษณะต่างๆ มากข้ึน ท้ายที่สุดผู้เขียนบทความก็ชักชวนให้อภิปรายต่อไปอีกในประเด็นท่ีว่า การศึกษา

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 23 ทางมานษุ ยวิทยาควรกระท�ำโดย “คนนอก” หรอื “คนใน” เพราะยังเป็นประเดน็ ท่ีหาข้อยุติไม่ได้ แม้ในระยะสิบปีท่ีผ่านมา คนในกลุ่มชาติพันธุ์หรือในพ้ืนท่ีศึกษา จะได้เป็นผู้ศึกษาวิจัยเองมากข้ึน ในด้านหนงึ่ อาจช่วยให้ง่ายต่อการศึกษา ในอีก ดา้ นหนง่ึ พวกเขากอ็ าจจะไมต่ า่ งจากคนนอก เมอ่ื ไดร้ บั การศกึ ษาสงู ขน้ึ จากภายนอก สงั คมของตนเอง เพราะนกั มานษุ ยวทิ ยาที่ศกึ ษาชมุ ชนชาตพิ ันธ์ุของตนเอง กอ็ าจ จะไม่ต่างจากนกั มานุษยวิทยาที่ไปศึกษาสังคมคนอื่น ในแง่ที่มีอัตลักษณ์ซ้อนอยู่ ในตวั เอง ในบทถดั มาเปน็ ขอ้ เขยี นของ อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ ซงึ่ ศกึ ษาเฉพาะประเดน็ วัฒนธรรมกับการพัฒนา แต่ก็ได้ช่วยสานต่อแนวความคิดท่ีมองวัฒนธรรมใน มิติของความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจ จากแนวความคิดเร่ืองวาทกรรมและอัตลักษณ์ ใน 2 บทความแรก ขณะท่เี ลือกแนวความคิดเรื่องพื้นทวี่ ัฒนธรรม ในฐานะทีเ่ ป็น พ้ืนที่ของการช่วงชิงความหมายและปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงอำ� นาจมาเน้น เปน็ แนวความคดิ หลกั เพอ่ื เชอ่ื มรอ้ ยศลิ ปวฒั นธรรมในฐานะของพนื้ ทขี่ องภาพแทน ความจรงิ ในบทความแรกของอภญิ ญา และการเมอื งของอตั ลกั ษณท์ างชาตพิ นั ธ์ุ ใน บทความของขวัญชีวันเข้ากับการศึกษาการเมืองของการพัฒนา เพราะมีประเด็น ดา้ นเนอื้ หาทซ่ี อ้ นทบั กนั อยบู่ า้ ง แตก่ ส็ ามารถแสดงความเชอื่ มโยงได้ ดว้ ยการนำ� แนว ความคิดเรอ่ื งพน้ื ทีม่ าช่วย ทง้ั นี้หลงั ทศวรรษท่ี 2540 เป็นต้นมา พน้ื ท่ีได้กลายเป็น แนวความคิดหลักในการวจิ ัยด้านวฒั นธรรมกับการพัฒนามากข้ึนในภาคเหนือ ผู้เขียนบทความเริ่มต้นด้วยการท�ำความเข้าใจแนวความคิดเร่ืองพ้ืนที่ วัฒนธรรม เพื่อต่อยอดเพิ่มเติมจากการมองวัฒนธรรมที่เคยจ�ำกัดอยู่เฉพาะในเชิง คณุ ค่า และเสนอให้หันมามองมิตทิ ส่ี ร้างสรรค์ของวัฒนธรรมมากขึน้ พร้อมๆ กับ การหนั ไปใหค้ วามสนใจกบั วฒั นธรรมในเชงิ ความสมั พนั ธเ์ ชอื่ มโยงกนั ของความคดิ วา่ ดว้ ยอำ� นาจ และ อตั ลกั ษณ์ จากการนยิ ามพนื้ ทว่ี ฒั นธรรมในเชงิ วเิ คราะหว์ า่ เปน็ “สนามของความสัมพันธ์เชงิ อ�ำนาจ” ในกระบวนการผลิตสร้างความแตกต่างทาง วัฒนธรรม ด้านหนง่ึ พื้นท่ีวัฒนธรรมจึงมีสถานะเสมือนเป็นการเมืองของการสร้าง ความเป็นอื่น ในด้านหนงึ่ จึงมีลักษณะเป็นการจินตนาการและบังคับควบคุมภาพ

24 กำ�กดึ๊ กำ�ปาก ตวั แทน แตใ่ นอกี ดา้ นหนง่ึ พน้ื ทว่ี ฒั นธรรมกเ็ ปดิ ใหม้ ตี อ่ สชู้ ว่ งชงิ อตั ลกั ษณ์ เพอื่ ผลติ สร้างความแตกต่างให้อยู่เหนือการควบคุมนนั้ ด้วย ทั้งนก้ี ระบวนการดังกล่าวเกิดข้ึนในพ้ืนที่ท่ีเก่ียวเนื่องกัน ภายใต้บริบทของ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการเมืองของความไม่เท่าเทียมกัน และมีการครอบงำ� กันอยู่ในระบบโลก ซ่ึงแตกต่างจากการมองวัฒนธรรมแบบสารัตถะนิยมท่ีตายตัว ในอดีต ที่แยกวฒั นธรรมแต่ละวฒั นธรรมเป็นอิสระออกจากกนั และกนั วฒั นธรรม หนงึ่ จะผกู ตดิ อยเู่ ฉพาะกบั ดนิ แดนในอาณาบรเิ วณหนงึ่ ภาพของพน้ื ทท่ี างวฒั นธรรม จึงมีลักษณะกลมกลืนอย่างเป็นอันหนง่ึ อันเดียวกัน และไร้ปัญหาความขัดแย้งกัน ภายใน จนทำ� ให้ไม่สนใจเรอ่ื งของพืน้ ท่ีทางสงั คมและวฒั นธรรม แต่ในโลกยุคโลกาภิวัตน์ท่ีวัฒนธรรมไร้พรมแดน มีผลให้วัฒนธรรมต่างกัน ปฏิสมั พันธ์กันมากขึน้ จนยากทจ่ี ะตีกรอบให้วฒั นธรรมหนงึ่ ตดิ อยู่ในดินแดนเดยี ว ไดอ้ กี ตอ่ ไป ในสถานการณเ์ ชน่ นนี้ กั วชิ าการจงึ เรยี กรอ้ งใหห้ นั มาสนใจแนวความคดิ พนื้ ทว่ี ฒั นธรรมอยา่ งจรงิ จงั ในการศกึ ษาวจิ ยั ทางวฒั นธรรม ซง่ึ ตอ้ งเนน้ ความส�ำคญั ของผู้กระทำ� การทางวัฒนธรรมพร้อมกนั ไปด้วย เพราะพวกเขาไม่ได้ถกู วัฒนธรรม กำ� หนดเสมอไปเทา่ นนั้ หากยงั ปฏบิ ตั กิ ารในฐานะเปน็ ผกู้ ระทำ� อยา่ งจรงิ จงั ดว้ ยการ สร้างสรรค์ ช่วงชงิ และต่อรองกบั ความหมายทางวฒั นธรรมต่างๆ ทเี่ ปลีย่ นแปลง อยา่ งรวดเรว็ ในโลกสมยั ใหม่ เพอื่ ปรบั เปลย่ี นความสมั พนั ธเ์ ชงิ อ�ำนาจทแี่ อบแฝงอยู่ โดยเฉพาะในวาทกรรมการพฒั นา ผา่ นการตอ่ สทู้ างการเมอื งในพนื้ ทวี่ ฒั นธรรมมติ ิ ต่างๆ ส�ำหรับพื้นที่วัฒนธรรมมิติแรกนน้ั ผู้เขียนบทความเสนอว่าเป็นพื้นที่ของ วาทกรรมการพัฒนา ท่ีอยู่ในการเมืองของอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ ซึ่งคาบเกี่ยว กับเน้ือหาในบทก่อนอยู่บ้าง แต่ในบทนจ้ี ะเน้นเฉพาะการต่อสู้ของกลุ่มชาติพันธุ์ ทม่ี ีต่อการนิยามความหมายการพฒั นาของภาครัฐ ท่มี ีลักษณะครอบงำ� ผ่านการ เน้นความจริงเพียงด้านเดียว ในความพยายามจะมุ่งเน้นเฉพาะการพัฒนาด้าน การสร้างโครงสร้างพ้ืนฐานสมัยใหม่ เพ่ือสนับสนนุ เศรษฐกิจเชิงพาณชิ ย์เป็นหลัก ขณะท่ีกล่าวหากลุ่มชาติพันธุ์ว่าด้อยพัฒนา พวกเขาจึงนิยามอัตลักษณ์ของตน

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 25 ให้แตกต่างจากกลุ่มชนอื่น เช่น กลุ่มชาติพันธุ์บางกลุ่มจะนิยามอัตลักษณ์ของตน ด้วยการปรับเปลี่ยนแบบแผนการใช้พ้ืนที่เพาะปลูก จากก่ึงเร่ร่อนมาเป็นก่ึงถาวร พรอ้ มทงั้ การรกั ษาพน้ื ทปี่ ลกู ขา้ วแบบเกา่ และอนรุ กั ษค์ วามรขู้ องกลมุ่ ชาตพิ นั ธข์ุ อง ตนเอง ในพนื้ ทวี่ ฒั นธรรมมติ ทิ สี่ องนน้ั ผเู้ ขยี นบทความได้วเิ คราะห์ว่าเปน็ พน้ื ทขี่ อง การช่วงชิงความรู้ในการพัฒนาพื้นท่ีสูง ซึ่งผลักให้การวิจัยด้านวัฒนธรรมกับการ พัฒนาเริ่มหันไปสนใจชุดความรู้อื่นๆ โดยเฉพาะชุดความรู้ท่ีเรียกว่า ภูมิปัญญา ท้องถน่ิ ท่ีเป็นคู่ตรงกันข้ามกบั ชุดความรู้สากลแบบวทิ ยาศาสตร์ จากอทิ ธิพลของ วาทกรรมทอ้ งถน่ิ นยิ มทพ่ี ยายามตอบโตก้ บั กระแสโลกาภวิ ตั น์ แตก่ ารวจิ ยั ไดพ้ บวา่ ความรู้ท้องถิ่นไม่ได้อยู่ในรูปขององค์ความรู้ท่ีด�ำรงอยู่แล้วอย่างตายตัวเสมอไป เพราะในขณะปฏบิ ตั กิ ารนน้ั ผกู้ ระท�ำการสามารถปรบั เปลยี่ นและผสมผสานความรู้ ต่างๆ อยู่เสมอตามสถานการณ์ เพ่ือการต่อรองในบริบทของการช่วงชิงความรู้ใน การพฒั นา ตวั อยา่ งงานวจิ ยั บนพนื้ ทส่ี งู ของภาคเหนอื ชว่ ยใหม้ องเหน็ ความรทู้ อ้ งถน่ิ ในหลายมติ ิ ทง้ั เป็นภมู ปิ ัญญาทม่ี ศี กั ยภาพและพลวตั ในการปรบั ตวั กบั การพฒั นา ท้ังเป็นทุนทางวัฒนธรรม ที่สามารถเปลี่ยนให้เป็นกลยุทธ์ในการสร้างอัตลักษณ์ อีกทั้งเป็นปฏิบัติการของการช่วงชิงความหมายและการผสมผสานความรู้ตาม สถานการณ์ ในส่วนนจ้ี ึงมีเนื้อหาซ้อนกันและคาบเก่ียวกับบทที่แล้วและบทต่อไป อยู่ด้วย ในพื้นที่วัฒนธรรมมิติที่สาม ผู้เขียนบทความวิเคราะห์ว่าเป็นพ้ืนที่ใน การเมอื งของการตอ่ รองความหมายและความรขู้ องชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ทม่ี พี ลวตั ในสว่ น นี้มีประเด็นท่ีอาจคาบเกี่ยวกับบทต่อไปอยู่บ้าง แต่ในบทนจ้ี ะเน้นไปที่การปฏิบัติ การทางการเมือง โดยเฉพาะความพยายามของชมุ ชนในการจะเข้าไปมบี ทบาทใน การเมอื งทอ้ งถนิ่ มากขนึ้ ผา่ นระบบการเลอื กตง้ั ทอ้ งถน่ิ ในระดบั ตา่ งๆ เพอื่ จะไดม้ สี ว่ น ในการจดั การกบั ความเสยี่ งตา่ งๆ และการตอ่ รองกบั นโยบายและการเมอื งในระดบั สูงข้ึนไป จนการเลือกตั้งได้กลายเป็นพื้นที่ของการต่อรองกับอ�ำนาจทางการเมือง เพ่ือแสวงหาทรัพยากรจากรัฐมาตอบสนองการบรโิ ภคความหมายของความเป็น

26 ก�ำ กึ๊ดกำ�ปาก สมัยใหม่ นอกจากนน้ั การเมืองของชาวบ้านยังมีลักษณะเสมือนเป็นการปฏิบัติ การในชวี ติ ประจำ� วนั ของการตอ่ รอง เพอ่ื ปรบั เปลยี่ นความสมั พนั ธเ์ ชงิ อำ� นาจกบั รฐั ซง่ึ มกั จะเกย่ี วขอ้ งกบั ความพยายามปรบั เปลย่ี นโครงสรา้ งของความสมั พนั ธใ์ นระยะ ยาวอีกด้วย โดยเฉพาะการช่วงชิงการนิยามสิทธิชุมชนและวาทกรรมความรู้ ซึ่งมี หลากหลายรปู แบบและแตกต่างกันไปในหลายบรบิ ทของการพฒั นา ขณะที่ผู้เขียนบทความวิเคราะห์ว่าพ้ืนท่ีวัฒนธรรมในมิติที่ส่ีแสดงให้เห็น ได้ในการช่วงชิงพ้ืนที่ของการพัฒนาความเป็นเมือง ทั้งนกี้ ารวิจัยหลายช้ินบ่งช้ีว่า กระบวนการพฒั นาสงั คมเมอื งใหเ้ ปลยี่ นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ นนั้ มกั สรา้ งผลกระทบ ตามมา จนก่อให้เกิดความขัดแย้งกันเองอย่างมากมาย ทั้งความทันสมัย ความ เสอ่ื ม และผลกระทบเชงิ ลบในดา้ นตา่ งๆ กลมุ่ คนในสงั คมเมอื งไมว่ า่ จะเปน็ กลมุ่ คน ท้องถ่นิ รัฐและกลุ่มทนุ จากภายนอก และกลุ่มคนทีก่ ่อตวั ข้ึนใหม่ จงึ พยายามเข้า มามบี ทบาทในการกำ� หนดทศิ ทางการพฒั นาสงั คมเมอื ง ตามจนิ ตนาการทแี่ ตกตา่ ง กนั ของกลุ่มตนมากขนึ้ โดยต่างคนต่างก็เข้ามาช่วงชิงพืน้ ทท่ี างวัฒนธรรมกนั อย่าง หลากหลาย ทง้ั ดว้ ยการผลติ สรา้ งความหมายใหมจ่ ากการบรโิ ภควฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ บา้ ง และจากการผสมผสานวฒั นธรรมตา่ งๆ บา้ ง ในความพยายามทจ่ี ะผลกั ดนั ให้ สงั คมเมอื งพฒั นาไปในทศิ ใดทศิ ทางหนงึ่ เพยี งทศิ ทางเดยี ว ซงึ่ มกั จะแปลกแยกและ มองข้ามกลุ่มคนทหี่ ลากหลายอน่ื ๆ ในสงั คมเมือง ทงั้ นส้ี งั คมเมอื งสมยั ใหมจ่ ะมที ง้ั การผลติ และการบรโิ ภคความหมายอยคู่ วบคู่ กัน ดังจะเห็นได้จากกรณขี องการสร้างพื้นที่พิธีกรรม เพื่อช่วยสร้างภาพชวนฝันท่ี ล่ืนไหลและซ้อนทับกันไปมาได้ ทั้งการเล่นกับอดีต พร้อมๆ ไปกับการสร้าง จินตนาการของภาพตัวแทนใหม่ๆ ท่ีแทรกซ้อนอยู่ในปฏิบัติการเชิงพื้นที่ในโลก ของวัตถไุ ด้ด้วย เช่น การเข้าทรงดูเหมอื นก�ำลงั อยู่ในพนื้ ทอี่ ันศกั ด์ิสทิ ธิ์ ทอ่ี าจจะดู แปลกประหลาดสำ� หรับการจินตนาการความเป็นเมืองสมัยใหม่ แต่ในยุคปัจจุบัน ท่ีความเป็นจริงได้เส่ือมหายไปกับการพัฒนา ผู้คนอาจจะพอใจของเลียนแบบ มากกว่าของจริงและเปลือกนอกมากกว่าสาระ มายาภาพจงึ กลายสภาพเป็นเรือ่ ง ของความศักดสิ์ ิทธ์ิเข้ามาแทนท่ี

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 27 การศึกษาพิธีกรรมในการเข้าทรงผีเจ้านายในสังคมเมืองเชียงใหม่ได้ชี้ให้ เห็นถึงการด้ินรนต่อสู้ของกลุ่มคนในสังคมเมืองบางส่วน ซึ่งพยายามตอบโต้กับ ทศิ ทางของการพัฒนาความเป็นเมอื งในปัจจบุ นั ท่ีมกั จะอยู่นอกเหนือการควบคุม ของพวกเขามากขึ้นทุกที ขณะที่เปลี่ยนแปลงให้พวกเขาเป็นปัจเจกชนมากขึ้น จนไมเ่ หน็ ความสำ� คญั ของพน้ื ทส่ี ว่ นรวม พวกเขาจงึ หนั มาชว่ งชงิ พนื้ ทท่ี างวฒั นธรรม ของพธิ กี รรมในการเขา้ ทรง ทอ่ี าจจะยงั อยใู่ นความควบคมุ ของพวกเขาอยบู่ า้ ง เพอ่ื ช่วยให้พวกเขาสามารถบรโิ ภคความหมายของการย้อนยุคได้อย่างไร้ขีดจำ� กัดและ เลอื กใช้ชวี ติ อยู่ในสงั คมเมืองอย่างแตกต่างหลากหลาย แทนการปล่อยให้ชีวิตของ พวกเขาต้องถูกฉดุ กระชากลากถใู ห้พฒั นาไปในทิศทางเดยี วเท่านนั้ ส�ำหรับพื้นท่ีวัฒนธรรมมิติสุดท้ายนน้ั ผู้เขียนบทความได้วิเคราะห์เพ่ิมเติม ว่าเป็นพื้นที่การเมืองของอัตลักษณ์ของกลุ่มคนที่หลากหลาย ซึ่งพยายามเข้ามา ชว่ งชงิ พนื้ ทขี่ องสงั คมสมยั ใหม่ โดยเฉพาะกลมุ่ คนทตี่ อ้ งเผชญิ กบั ปญั หาผลกระทบ ด้านลบของสังคมสมัยใหม่เอง ไม่ว่าจะเป็นปัญหาสุขภาพ ปัญหาแรงงาน และ ปัญหาสภาวะข้ามแดน พวกเขาจะสร้างอัตลักษณ์ด้วยการช่วงชิงความหมายของ การพฒั นาในสงั คมสมยั ใหม่ ซงึ่ เกยี่ วขอ้ งกบั การสรา้ งความหลากหลายของความรู้ ในฐานะท่ีเป็นทุนทางวัฒนธรรม และการเสริมสร้างพลังของความเช่ือ ศาสนา ความเปน็ ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และชาติ ในฐานะทเี่ ปน็ สทิ ธทิ างวฒั นธรรมและสทิ ธชิ มุ ชน ซ่ึงกลายเป็นพื้นฐานของการเคลื่อนไหวต่อสู้เพื่ออัตลักษณ์ของกลุ่มชนที่มีความ หลากหลายในสงั คมมากข้ึน แมบ้ ทความนจ้ี ะเนน้ ศกึ ษาเฉพาะประเดน็ วฒั นธรรมกบั การพฒั นากต็ าม แต่ ได้พยายามเช่ือมโยงและร้อยเรยี ง ท้งั แนวความคิดและประเดน็ ต่างๆ ทีเ่ ป็นหัวข้อ ศึกษาในบทความอื่นๆ ด้วย รวมทั้งหัวข้อศึกษาของบทความสุดท้ายของหนงั สือ เล่มนข้ี อง กาญจนา เงารงั สี ชูพนิ จิ เกษมณี และหทยั ชนก อินทรกำ� แหง ซงึ่ ศกึ ษา เฉพาะพลงั ความคดิ และภมู ปิ ญั ญา เพราะถอื เปน็ พนื้ ทว่ี ฒั นธรรมทสี่ ำ� คญั พน้ื ทหี่ นง่ึ ในการสรา้ งอตั ลกั ษณ์ชาตพิ นั ธ์แุ ละการช่วงชงิ ทศิ ทางการพฒั นาของกล่มุ คนต่างๆ ส่วนบทความสดุ ทา้ ยไดแ้ ยกแยะพลงั ความคดิ และภมู ปิ ัญญาออกเป็นดา้ น ต่างๆ เร่มิ จากพลงั ความเชอ่ื ทางศาสนาในการสร้างอตั ลักษณ์ของท้องถิน่ ซ่ึงงาน

28 ก�ำ ก๊ึดก�ำ ปาก วจิ ยั ทง้ั หลาย พบวา่ เมอื่ สงั คมภาคเหนอื เปลยี่ นเขา้ สยู่ คุ สมยั ใหมท่ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั ชวี ติ ทางเศรษฐกจิ ในลกั ษณะทตี่ อ้ งพง่ึ พาสงั คมภายนอกทอ้ งถนิ่ ชวี ติ ของชาวบา้ นจงึ ไร้ ความมน่ั คงมากขน้ึ จนทำ� ใหช้ มุ ชนทอ้ งถนิ่ รสู้ กึ ไรอ้ ำ� นาจตอ่ รองในทางโลก ความเชอื่ ทางศาสนากลบั ยงั คงเปน็ ทง้ั พลงั ทางดา้ นจติ ใจและภมู ปิ ญั ญา ในการสบื ทอดความ คิดให้ต่อเนื่อง และยังเป็นพลังในการสร้างสรรค์ความเป็นชาติพันธุ์และอัตลักษณ์ ของท้องถ่นิ ตลอดจนเป็นพลังสำ� คญั ในการช่วงชงิ พน้ื ท่ีทางวฒั นธรรมของคนท้อง ถ่ิน ในการเสริมสร้างศักยภาพของท้องถ่ินเอง เพ่ือปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงที่ ก�ำลังเกิดขึ้นอย่างรวดเรว็ พลังความคดิ และภูมิปัญญาในด้านทสี่ องอยู่ในการรกั ษาพยาบาลพนื้ บ้าน ดงั เช่นกรณกี ารเคล่ือนไหวของกลุ่มผู้ติดเช้ือเอชไอวี ท่ีพยายามช่วงชิงพ้ืนที่ของชุด ความรู้ที่แตกต่างกันระหว่างการรักษาพยาบาลพ้ืนบ้านกับการแพทย์สมัยใหม่ ดว้ ยการรอื้ ฟน้ื การรกั ษาโรคแบบจารตี ขนึ้ มาใหม่ เพอ่ื ชว่ ยดแู ลสขุ ภาพของผตู้ ดิ เชอื้ เอชไอวี ซ่ึงแสดงนัยของการท้าทายอ�ำนาจของวาทกรรมการแพทย์สมัยใหม่ หลังจากทเี่ คยผกู ขาดการดูแลสขุ ภาพในสงั คมไทยมาอย่างช้านาน ส่วนพลังภูมิปัญญาด้านต่อมาเก่ียวข้องกับศักยภาพและพลวัตของการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและการเกษตร ซึ่งการศึกษายืนยันอย่างหนักแน่น ตรงกันว่า ชุมชนท้องถิ่นมีภูมิปัญญาท่ีมีศักยภาพในการจัดการทรัพยากรของ ตนเอง แต่ระบบการจัดการของรัฐได้เข้ามาเบียดขับพลังของชุมชนออกไป ท้ังๆ ท่ีการจัดการของท้องถ่ินมีประสิทธิภาพมากกว่า งานวิจัยหลายช้ินยังพบด้วยว่า พลังภมู ิปัญญาเป็นศักยภาพส่วนหนงึ่ ของผู้น�ำชาวนา ทีส่ ามารถสร้างพลังอ�ำนาจ ของตน ตามคตคิ วามเชอ่ื ท้องถิ่นเร่ืองอ�ำนาจศักดิ์สทิ ธิเ์ พ่อื เสรมิ บารมใี ห้กับตนเอง เช่น ในการจัดการระบบเหมืองฝาย เพ่ือให้เกิดความยุติธรรมในการจัดสรรน้�ำ ใหก้ บั ผคู้ นจำ� นวนมาก ทเ่ี รมิ่ ขดั แยง้ กนั อยา่ งมาก เมอื่ ชาวบา้ นหนั ไปผลติ เชงิ พาณชิ ย์ อย่างเข้มข้นมากข้ึน ในด้านสุดท้ายผู้เขียนบทความเสนอว่าพลวัตของภูมิปัญญานนั้ ขึ้นอยู่กับ ความเขม้ แขง็ ของวฒั นธรรมชมุ ชน ซงึ่ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของระบบความรพู้ นื้ บา้ นทม่ี พี ลงั

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 29 ในฐานะที่เป็นชีวิตทางวัฒนธรรมของชุมชน เพราะมีพลวัตที่แสดงออกผ่าน กระบวนการเรยี นรเู้ พอ่ื ปรบั ตวั ในการแสวงหาทางออกหรอื ทางเลอื กส�ำหรบั วถิ ชี วี ติ ทป่ี ระสบกบั ความยากล�ำบากจากความเปลยี่ นแปลงทถ่ี าโถมเขา้ สชู่ มุ ชน ตลอดจน ชว่ ยลดทอน ถว่ งดลุ หรอื โตต้ อบกบั อำ� นาจทค่ี รอบงำ� จากภายนอกอยา่ งชาญฉลาด ในการเสรมิ สร้างการพัฒนาอย่างยงั่ ยนื ทั้งนี้ทั้งน้ันงานศึกษาด้านภูมิปัญญาต่างสะท้อนให้เห็นด้วยว่า พลัง ภมู ปิ ญั ญานนั้ อยทู่ มี่ คี วามยดื หยนุ่ สงู เมอ่ื ตกอยภู่ ายใตเ้ งอ่ื นไขทจ่ี �ำเปน็ หรอื จ�ำยอม ทอ้ งถน่ิ สามารถปรบั ปรงุ หรอื เปลย่ี นแปลงระบบภมู ปิ ญั ญาของตนใหต้ อบสนองตอ่ เงอื่ นไขเหลา่ นน้ั ได้ และเมอ่ื ใดกต็ ามทวี่ ถิ ชี วี ติ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงใหมเ่ กดิ ปญั หาขน้ึ พวก เขากพ็ รอ้ มทจี่ ะหนั กลบั ไปฟนื้ ฟรู ะบบภมู ปิ ัญญาตามประเพณไี ดอ้ กี เชน่ กนั โดยหนั กลับมาในรูปลักษณ์ที่เหมือนเดิมหรือต่างจากเดิมไปบ้าง ขณะที่ยังสามารถรักษา อุดมการณ์และคณุ ค่าของความเป็นชมุ ชนเอาไว้ได้ บทความส�ำรวจองค์ความรู้และสถานภาพงานวิจัยวัฒนธรรมในประเด็น ศกึ ษาท้งั 4 ประเดน็ ที่รวมกันอยู่ในหนงั สอื เล่มนไี้ ด้แสดงให้เหน็ ถงึ ความแตกต่าง หลากหลายในความเขา้ ใจวฒั นธรรมวา่ มที ง้ั ความซบั ซ้อนของพลงั ในการวเิ คราะห์ และข้อจ�ำกัดไปพร้อมๆ กัน เพราะวัฒนธรรมเก่ียวข้องกับความสัมพันธ์ที่ซ้อนทับ กันอยู่หลายระดับ ขณะที่ยังแอบแฝงและซ้อนทับอยู่กับการครอบง�ำทางความคิด อกี ดว้ ย โดยเฉพาะในโลกของวฒั นธรรมทก่ี �ำลงั ถกู เปลย่ี นใหเ้ ปน็ สนิ คา้ มากขน้ึ การ ศึกษาวิจัยวัฒนธรรมด้วยมุมมองเชิงเดี่ยวจึงอาจมีข้อจ�ำกัดอยู่มาก และสามารถ เข้าใจวัฒนธรรมได้เพียงบางส่วนเท่านนั้ การสังเคราะห์องค์ความรู้จากการวิจัย วฒั นธรรมครงั้ นไ้ี ดย้ นื ยนั อยา่ งมงุ่ มนั่ อกี ครง้ั หนงึ่ วา่ การศกึ ษาวจิ ยั วฒั นธรรมจำ� เปน็ ต้องเริ่มจากการให้ความส�ำคญั กับมุมมองเชงิ ซ้อน ดงั ทผี่ ู้เขยี นได้เคยนำ� เสนอไว้ใน หนงั สือของผู้เขยี นเองก่อนหน้านีแ้ ล้ว (ดู อานนั ท์ 2537) นอกจากนน้ั การวจิ ยั วฒั นธรรมทท่ี บทวนมายงั แสดงถงึ ความแตกตา่ งและ ขัดแย้งกันอย่างมากมาย เพราะการศึกษาทั้งหลายนนั้ มักจะตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของ ความรใู้ นแนวความคดิ ทฤษฎี และวธิ วี ทิ ยาทต่ี า่ งกนั แตก่ ไ็ ดช้ ว่ ยเผยใหเ้ หน็ ทง้ั การ

30 กำ�กึ๊ดกำ�ปาก ตั้งคำ� ถาม การวิเคราะห์ข้อมลู การถกเถียงประเดน็ ปัญหาและข้อคดิ เห็นที่ขัดแย้ง กัน การวิพากษ์วจิ ารณ์ และการเสนอข้อค้นพบใหม่ๆ ท่ีย้อนแย้งกันด้วย ซงึ่ น่าจะ เปน็ ทง้ั พนื้ ฐานและกา้ วยา่ งทส่ี �ำคญั ในการชว่ ยยกระดบั การเรยี นรู้ เพอ่ื การคน้ ควา้ และวจิ ยั วฒั นธรรมให้มสี ติ ความเฉยี บคมและมพี ลงั มากยง่ิ ขนึ้ ได้อย่างดี พร้อมทงั้ น่าจะมีส่วนช่วยเสริมสร้างการขับเคลื่อนสังคมไทยให้เดินหน้าต่อไปได้ ด้วยความ เคารพในความหลากหลายทางวัฒนธรรมอย่างจริงจัง ในขณะท่ีสังคมไทยก�ำลัง เปลีย่ นเข้าสู่สังคมพหวุ ัฒนธรรมมากย่ิงข้ึนอยู่ในปัจจบุ ันน้ี

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 31 เอกสารอ้างองิ แก้วมงคล ชยั สรุ ิยนั ต์ (2486) ผีของชาวลานนาไทยโบราณ (พิมพ์แจกในงานศพ นาง ถมยา อิทรังสี) กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พระจนั ท์ บญุ ชว่ ย ศรีสวสั ดิ์ (2493) 30 ชาตใิ นเชียงราย. พระนคร: โรงพิมพ์อทุ ยั . (2498) ไทยสบิ สองปันนา.พระนคร: สำ� นกั พิมพ์คลงั วทิ ยา. (2503) คนไทยในพม่า. พระนคร: โรงพิมพ์รามินทร์. สงวน โชตสิ ขุ รัตน์ (2510) ประเพณีไทยภาคเหนือ นนทบรุ ี: สํานกั พิมพ์ศรีปัญญา สมหมาย เปรมจิตต์ และ ปวงคำ� ต้ยุ เขียว (2518) มงั รายศาสตร์ เชียงใหม:่ ภาควชิ าสงั คมวทิ ยา และมานษุ ยวิทยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ สมหมาย เปรมจติ ต,์ กมล ศรีวชิ ยั นนั ท์ และ สรุ สงิ หส์ ำ� รวม ฉมิ พะเนาว์ (2524) พระเจดยี ์ในลานนา ไทย; งานวิเคราะห์และอนุรักษ์ศิลปและสถาปัตยกรรม ลานนาไทย เชียงใหม่: โครงการศกึ ษาวจิ ยั ศลิ ปสถาปัตยกรรมลานนา สถาบนั วจิ ยั สงั คม มหาวิทยาลยั เชียงใหม,่ สงิ ฆะ วรรณสยั (2519) อุสสาบารส วรรณกรรมลานนาไทยสมัยพระเจ้ากือนา / แปลโดย สงิ ฆะ วรรณสยั . เชียงใหม่ : คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ____ (2522) โคลงเร่ืองมังทรารบเชียงใหม่.: เชียงใหม,่ ศนู ย์หนงั สอื เชียงใหม่ สทิ ธิ์ บตุ รอนิ ทร์ (2522) โลกทศั น์ชาวล้านนาไทย เชียงใหม:่ ศนู ย์หนงั สอื มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ สรุ สิงห์ส�ำรวม ฉิมพะเนาว์ (2525-2527) “โลกทศั น์ชาวล้านนาศกึ ษาจากซอเก็บนก” วารสาร สังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ 2(11): อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ (2527) พฒั นาการของชีวติ และวัฒนธรรมล้านนา เชียงใหม:่ โครงการ ต�ำรามหาวิทยาลยั ห้องจ�ำหนา่ ยหนงั สอื ส�ำนกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ___ (2537) ทฤษฎีและวิธีวิทยาของการวิจัยวัฒนธรรม: การทะลุกรอบและกับดักของ ความคดิ แบบคู่ตรงกันข้าม กรุงเทพฯ: ส�ำนกั พิมพ์อมั รินทร์ ___ (2555) เจ้าท่แี ละผีป่ ยู ่า: พลวตั ของความรู้ชาวบ้าน อำ� นาจและตวั ตนของคนท้องถ่นิ เชียงใหม:่ ภาควชิ าสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ DeYoung, John E. (1955) Village Life in Modern Thailand. Berkeley: University of California Press. Geddes, William Robert (1976) Migrants of the Mountains: the Cultural Ecology of the Blue Miao (Hmong Njua) of Thailand. Oxford: Clarendon Press. Hanks, Lucien M., Jane R. Hanks, Lauriston Sharp and Ruth B. Sharp (1964) ‘A Report on Tribal People in Chiengrai Province, North of the Mae Kok River’. Department of Anthropology, Cornell University.

32 กำ�ก๊ดึ กำ�ปาก Irvine, Walter (1984) “Decline of village spirit cults and growth of urban spirit mediumship: the persistence of spirit beliefs, position of women and modernization”, Mankind 14(4): 315-324. Judd, Laurence C. (1961) Chao Rai: Dry Rice Farmers in Northern Thailand. Ithaca: Cornell University. Kingshill, Konrad (1960) Ku Daeng (Kudaeng) - The Red Tomb - A Village Study in Northern Thailand Chiang Mai: The Prince Royal’s College. Kraisri Nimmanahaeminda and Julian Hartland-Swann (1962) “Expedition to the Khon Pa (or Phi Tong Luang) Journal of the Siam Society 50(2): 165-186. Kraisri Nimmanahaeminda (1967) “The Lawa Guardian Spirits of Chiengmai”, Journal of the Siam Society 55(2): 185-225 Kunstadter, Peter (1966) “Living with Thailand’s gentle Lua”, National Geographic Magazine (July: 122-152) Moerman, Michael (1968) Agricultural Change and Peasant Choice in a Thai Village. Berkeley: University of California Press. Potter, Jack M. (1976) Thai Peasant Social Structure. Chicago: University of Chicago Press. Steinmann, Alfred and Sanidh Rangsit (1939) “Monument Forms and Sacrificial Sites of the Lawa”, Zeitschrift fur Ethnologie 71: 163-174. Suthep Soonthornpasuch (2013) Islamic Identity in Chiang Mai City. Chiang Mai: Center for Ethnic Studies and Development, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai Uni- versity. Turton, Andrew (1976) “Northern Thai peasant society: twentieth-century transformations in political and jural structure”, The Journal of Peasant Studies 3(3): 267-298. Uraivan Tan Kim Yong (1983) ‘Resource mobilization in traditional irrigation systems of northern Thailand : a comparison between the lowland and the upland irrigation communities’ PhD Dissertation, Cornell University. Young, Gordon (1962) Hill Tribe of Northern Thailand: A Socio-Ethnological Report. Bangkok: Usom.



34 ก�ำ กึ๊ดก�ำ ปาก

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 35 บทที่ 2 ศลิ ปวฒั นธรรม ในความเคล่อื นไหวทางวัฒนธรรม อภิญญา เฟื่องฟูสกลุ 2.1 บทน�ำ ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่าวัฒนธรรมมีความส�ำคัญ ท้ังในแง่ของการเป็น องค์ประกอบส�ำคัญของอุดมการณ์แห่งชาติ และเป็นพลังขับเคลื่อนทางการเมือง และเศรษฐกจิ ทท่ี รงพลงั ทงั้ ในระดบั ประเทศและระดบั โลก ทวา่ วฒั นธรรมคอื อะไร กนั เล่า มันหมายถึงภาษา การฟ้อนรำ� รปู แบบการแต่งกาย รูปแบบการปลกู สร้าง บ้านเรือน หรือว่าจะหมายถึงค่านิยมและบรรทัดฐานทางสังคมเบื้องหลังสิ่งที่เป็น รปู ธรรมเหลา่ นนั้ โดยทว่ั ไป ในระดบั สามญั สำ� นกึ ของชาวบา้ นอาจเนน้ ไปทลี่ กั ษณะ รูปธรรมของวัฒนธรรม ในขณะท่ีนักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาสนใจกรอบ นามธรรมเบอื้ งหลงั สง่ิ ทมี่ องเหน็ ไดม้ ากกวา่ อยา่ งไรกต็ าม กรอบคดิ ทางสงั คมวทิ ยา- มานุษยวิทยาท่ีเคยใช้ศึกษาวัฒนธรรมมาก่อนหน้านดี้ ูจะไม่สามารถอธิบายพลวัต ทางวัฒนธรรมอันสลับซับซ้อนในระบบโลกปัจจุบันได้ ในโลกวชิ าการตะวันตก เรา พบเห็นการปรับตัวทางทฤษฎีขนานใหญ่ท่ีเอียงไปทางแนวคิดหลังสมัยใหม่นิยม (postmodernism) ซ่ึงมีมโนทัศน์วัฒนธรรมเป็นแกนส�ำคัญอย่างหนง่ึ ของการศึกษา

36 ก�ำ กึ๊ดก�ำ ปาก และท�ำให้กระแส “วัฒนธรรมศึกษา” (cultural studies) แพร่หลายอยู่ในปัจจุบัน ในกรอบคดิ นวี้ ฒั นธรรมถกู นยิ ามใหมใ่ หห้ ลดุ จากกรอบคดิ แนวสารตั ถะนยิ ม และหนั มาเน้นความเกยี่ วข้องกับความสมั พันธ์เชิงอ�ำนาจท่ีซบั ซ้อนในระบบโลกด้วย การสำ� รวจสถานภาพองคค์ วามรใู้ นการวจิ ยั วฒั นธรรมในประเทศไทยจงึ เปน็ สิ่งจ�ำเป็นยิ่ง แต่มิได้จ�ำเป็น เพราะว่าเราต้องตามลอกเลียนแบบตะวันตกในการ ศึกษา ทว่าจ�ำเป็นเพราะเราต้องส�ำรวจเพ่ือประเมินดวู ่าเราก�ำลังอยู่ทไี่ หน และควร จะไปทางไหน แนววิจัยแบบใดจึงจะเอ้ือให้เราเข้าใจสถานการณ์ทางวัฒนธรรมใน สังคมของเรา ท�ำให้เรารู้เท่าทันและสำ� เหนียกถึงโครงครอบทางวัฒนธรรมของเรา เอง ให้รู้ว่าอีกด้านหนง่ึ ของวัฒนธรรม อันมุ่งเน้นความกลมเกลียวเป็นด้านท่ีเคย ถูกใช้เพื่อเป็นเคร่ืองมือของความรุนแรงได้อย่างไร และเราควรวางท่าทีอย่างไร ในเวทโี ลก เมื่อวฒั นธรรมกำ� ลงั กลายเป็นสินค้าและเป็นประเด็นยุทธศาสตร์ในเวที การต่อรองระหว่างประเทศหลายๆ เวที และหากว่าวฒั นธรรมเป็นส่วนสำ� คญั ของ อัตลักษณ์แห่งชาติแล้ว เรายิ่งจ�ำต้องเข้าใจว่าอัตลักษณ์ของตัวเราและชาติเราถูก ประกอบสร้างขนึ้ มาอย่างไรด้วย ศลิ ปะจดั เปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั หนงึ่ ของวฒั นธรรม การทบทวนสถานภาพ องค์ความรู้ในครัง้ นจี้ งึ มุ่งศกึ ษาศิลปะในแง่ท่ีเป็นส่วนหนง่ึ ของวฒั นธรรม มากกว่า ที่จะเน้นทบทวนงานวิจัยประเภทที่มุ่งศึกษาศิลปะในกรอบของแง่มุมทางศิลปะ แขนงนน้ั ๆ เพยี งถา่ ยเดยี ว เนอื่ งจากจดุ ประสงคป์ ระการหนง่ึ ของการศกึ ษานตี้ อ้ งการ เข้าใจการนิยามความหมายของวัฒนธรรมที่ซ่อนแฝงอยู่เบื้องหลังการวิจัยต่างๆ ดังนนั้ กลุ่มงานท่ีเลือกมาศึกษาจึงสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับสังคมใน แง่มมุ ใดแง่มมุ หนงึ่ ด้วย ในการส�ำรวจสถานภาพองค์ความรู้คร้ังนี้ ผู้วิจัยเลือกส�ำรวจงานวิจัย ย้อนหลังกลับไปในช่วงระหว่างปี 2541–2556 เป็นหลัก โดยส�ำรวจจากงาน วิจัย วิทยานิพนธ์ บทความ หนงั สือจากมหาวิทยาลัยต่างๆ และจากงานวิจัยที่ สนับสนนุ โดยองค์กรและแหล่งทุนท้ังภาครัฐและเอกชน รวมท้ังงานท่ีน�ำเสนอใน เวทีการประชุมในระดับประเทศและนานาชาติ ตลอดจนงานวิชาการที่เผยแพร่ใน

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 37 อินเตอร์เนต็ ส่วนประเภทของงานทางศิลปะที่ศึกษานนั้ จะครอบคลุมงานด้าน สถาปัตยกรรม, จิตรกรรมและประติมากรรม, ผ้าและหัตถกรรม, ดนตรี, การฟ้อน ร�ำและการละเล่น, วรรณกรรมและต�ำนาน ประเด็นหลักที่จะศึกษาคือ วิเคราะห์การตั้งโจทย์วิจัย (problematization) วิธีวิทยา ระเบียบวิธีวิจัย (research methodology) กระบวนการสร้างกรอบคิด นามธรรม (conceptualization) และดทู ฤษฎที ใี่ ชต้ ลอดจนความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทฤษฎี กบั ขอ้ มลู ทส่ี ำ� คญั จะศกึ ษาดวู า่ งานวจิ ยั ตา่ งๆ นน้ั ซอ่ นคำ� จำ� กดั ความ “วฒั นธรรม” ไวอ้ ยา่ งไร และมองความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งศลิ ปะกบั สงั คมแตกตา่ งกนั อยา่ งไร การมี ค�ำจ�ำกดั ความที่ต่างกันนน้ี �ำไปสู่มมุ มองและวธิ ีวิเคราะห์ตลอดจนการต้งั โจทย์และ ยทุ ธศาสตร์การวจิ ัยที่แตกต่างกนั ด้วย นอกจากนน้ั ในการท�ำความเข้าใจแนวโน้ม และจารตี ของงานวจิ ยั นน้ั จะตอ้ งค�ำนงึ ถงึ บรบิ ททางสงั คมในแวดวงวชิ าการตลอด จนนโยบายและยทุ ธศาสตรข์ องแหลง่ ทนุ ตา่ งๆ ทอี่ ดุ หนนุ การวจิ ยั ในแงน่ ค้ี วามเขา้ ใจ และการนยิ ามความหมายของวฒั นธรรมจากองคก์ รตา่ งๆ ในสงั คมกเ็ ปน็ ตวั ก�ำหนด ทิศทางการวิจัยด้วย ในเบ้ืองต้นจะท�ำความเข้าใจร่วมกันเก่ียวกับวิธีวิทยาก่อน ซึ่งผู้วิจัยมุ่งให้ หมายถึง กระบวนการที่เรียกว่า conceptualization อันกินความกว้างกว่าค�ำว่า ระเบยี บวธิ วี จิ ยั หรอื methodology ซง่ึ เนน้ ทต่ี วั เทคนคิ ของวธิ กี ารทำ� วจิ ยั วธิ วี ทิ ยานนั้ หมายความถงึ การเชอื่ มโยงความคดิ ในระดบั ตา่ งๆ ในขนั้ ตอนตา่ งๆ ของการทำ� การ วิจัย เริ่มตั้งแต่การตั้งโจทย์ ประโยคที่ใช้ในโจทย์จะบ่งบอกทิศทางการท�ำวิจัยว่า จะตอบค�ำถามประเภท why หรือ what หรือ how นนั่ ก็คือ โจทย์มุ่งจะอธิบาย ปรากฏการณ์หรือเพยี งแต่จะเล่าหรอื พรรณนาสิ่งท่เี กิดข้ึน นอกจากนนั้ ในโจทย์ก็ ยงั ประกอบดว้ ยมโนทศั นส์ �ำคญั ทเ่ี ปน็ กญุ แจของการวจิ ยั จากนนั้ ในสมมตฐิ าน เรา จะเหน็ การเชอ่ื มโยงมโนทศั นห์ รอื ตวั แปรตา่ งๆ ชดั เจนขน้ึ การอธบิ ายความเชอ่ื มโยง ท่ีละเอียดข้ึน อาจอยู่ในส่วนของกรอบคิดในการท�ำวิจัย ซึ่งงานบางช้ินจะระบุไว้ ชดั เจนวา่ มกี รอบคดิ อยา่ งไรในขณะทง่ี านหลายๆ ชน้ิ แมจ้ ะมไิ ดร้ ะบปุ ระเดน็ นชี้ ดั เจน แต่เราก็จะเห็นได้ในกระบวนการน�ำเสนองานวจิ ัยว่า มีการใช้รูปแบบการวิเคราะห์

38 กำ�ก๊ึดก�ำ ปาก (mode of analysis) อย่างไร ใช้หน่วยของการวเิ คราะห์ (unit of analysis) อะไร หรอื ใช้ทฤษฎีอะไร ในประเด็นทฤษฎีน้ี จะมองเห็นกระบวนการเช่ือมโยงความคิดได้ จากวิธีการที่งานวิจัยน�ำทฤษฎีมาปรับใช้กับข้อมูล จะเลือกน�ำส่วนใดของทฤษฎี หน่ึงๆ มาใช้ จะท�ำให้ข้อมูลสนทนากับมโนทัศน์ตามทฤษฎีอย่างไร เนื่องจาก มโนทัศน์และทฤษฎีนนั้ สามารถมีระดับความเป็นนามธรรมได้หลายระดับ เมื่อจะ น�ำไปใช้กับข้อมูล จึงต้องรู้จักการลดระดับหรือเพ่ิมระดับความเป็นนามธรรมของ มโนทัศน์ท่ีเลือกใช้ อย่างไรก็ตาม ในส่วนนี้พบว่า งานวิจัยส่วนใหญ่มิได้ให้ ความส�ำคัญกับการใช้ทฤษฎีมากนกั แต่ก็มีอยู่จ�ำนวนหนงึ่ ท่ีระบุชัดเจนและมุ่งใช้ งานวิจัยในกรอบทฤษฎีบางอย่างหรือเพื่อตรวจสอบทฤษฎีนน้ั หรือแม้กระท่ังจะ พยายามใช้แนวทฤษฎที ่ดี ูจะขัดแย้งกนั มาศึกษาร่วมกันในเร่ืองหนงึ่ ๆ แต่เนื่องจาก งานวจิ ยั สว่ นใหญม่ ไิ ดใ้ หค้ วามส�ำคญั กบั ประเดน็ ทฤษฎี ผวู้ จิ ยั จงึ ไมส่ ามารถจดั แบง่ ประเภทของงานวจิ ยั ตามแนวทฤษฎตี า่ งๆได้ จงึ จะขอกลา่ วรวมทง้ั สามประเดน็ คอื วธิ ีวิทยา ระเบียบวธิ ีวิจัยและทฤษฎไี ว้ด้วยกนั 2.2 การมองศลิ ปวฒั นธรรมในตัวเอง วธิ วี ทิ ยาในงานวจิ ยั ทศี่ กึ ษาสามารถแยกแยะออกไดเ้ ปน็ 2 กลมุ่ ใหญด่ ว้ ยกนั กลุ่มแรกเน้นการเก็บข้อมูลเชิงประจักษ์เก่ียวกับลักษณะของศิลปะในแขนงหนง่ึ ๆ กลุ่มทส่ี อง เน้นการสนทนาระหว่างข้อมูลและทฤษฎี สำ� หรบั การวิจัยของกลุ่มแรก นน้ั การเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษน์ บั เปน็ วธิ กี ารวจิ ยั พนื้ ฐานของการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกับศิลปะในแต่ละแขนง แม้จนปัจจุบัน ก็ยังคงพบการเก็บรวบรวมข้อมูลใน ลกั ษณะนอ้ี ยมู่ าก เชน่ การเกบ็ รายละเอยี ดเกย่ี วกบั บา้ นหรอื สถาปตั ยกรรม แจกแจง รายละเอยี ดเกย่ี วกบั ประเพณกี ารปลกู เรอื น (อนวุ ทิ ย,์ 2539, กรกนก, 2545) ชนดิ และ ลักษณะลายผ้าและการทอผ้า (ทรงศกั ดิ,์ 2533, นสุ รา, 2539) ลักษณะของดนตรี พืน้ บ้าน (ณรงค์ชยั และคณะ, 2542, รณชิต, 2536) รปู แบบของการละเล่นพืน้ บ้าน (นชุ นาฏ, 2545, รงุ่ นภา, 2545) ลกั ษณะของสภุ าษติ และโคลงลา้ นนา (ทรงศกั ดแ์ิ ละ

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 39 หทัยวรรณ, 2542, ลมูล, 2538) เป็นต้น จดุ ที่คล้ายกนั ของระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ในกลุ่ม น้ีก็คือ การเก็บข้อมูลเชิงพรรณนา (descriptive) โดยแจกแจงรายละเอียดของ องคป์ ระกอบศลิ ปะแขนงนน้ั ๆ เพอ่ื ตอบคำ� ถามประเภท what เกย่ี วกบั โครงสรา้ งและ องค์ประกอบทางศิลปะแขนงนน้ั ๆ เสียเป็นส่วนใหญ่ เช่น ลกั ษณะฉนั ทลกั ษณ์ของ บทกลอน รปู แบบของดนตรีทัง้ ด้านเนื้อหาและโครงสร้างของระบบโน้ต โครงสร้าง ของลายผ้าและเทคนคิ การทอผ้ามีลักษณะอย่างไร เป็นต้น ในแง่น้ี ผู้วิจัยมุ่งให้ ข้อมูลอธิบายตัวมันเอง นน่ั ก็คือรายละเอียดวิเคราะห์เชิงพรรณนาท�ำให้เราเข้าใจ โครงสรา้ งภายในของศลิ ปะนนั้ ๆ วธิ วี เิ คราะหเ์ ชน่ นมี้ องงานศลิ ปใ์ นลกั ษณะ system thinking คือมองเห็นตัวงานศิลป์เป็นคล้ายระบบปิด ท่ีมีระเบียบภายในและความ เชื่อมโยงกนั ขององค์ประกอบภายในระบบนนั้ ๆเอง อย่างไรก็ตาม แม้หน่วยการวิเคราะห์ (unit of analysis) จะอยู่ท่ีตัว องค์ประกอบของงานศิลป์เป็นส่วนใหญ่ แต่ก็มีความพยายามท่ีจะเชื่อมโยงงาน ศลิ ปะแขนงนน้ั ๆ เขา้ กบั วถิ ชี วี ติ ความเปน็ อยแู่ ละประเพณขี องชาวบา้ น หรอื อกี นยั หนง่ึ พยายามนำ� เสนอโดยใหศ้ ลิ ปะเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวฒั นธรรมมากกวา่ ทจ่ี ะแยกกลา่ วถงึ เฉพาะตวั ศลิ ปะนนั้ ๆ วธิ กี ารเชอื่ มโยงนน้ั ใชท้ งั้ การศกึ ษาเปรยี บเทยี บ เชน่ งานศกึ ษา เรอ่ื งโคลงคำ� สอนล้านนา 2 ชนิ้ ซงึ่ ผ้วู จิ ยั พยายามเพมิ่ มติ ขิ องการศกึ ษาเปรยี บเทยี บ ชน้ิ แรกคอื งานของทรงศกั ดแิ์ ละหทยั วรรณ (2542) นำ� วรรณกรรมประเภทโคลงของ ล้านนามา 5 เรื่องศกึ ษาเปรยี บเทียบในแง่ สำ� นวนโวหาร และเนอื้ หาตลอดจนวิธี การสอนจริยธรรม พบความคล้ายคลึงท่ีช้ใี ห้เห็นว่าทั้ง 5 เรอ่ื งน่าจะมที ่ีมาจากเรือ่ ง เดยี วกนั สว่ นงานกอ่ นหนา้ นน้ั ของลมลู (2538) ศกึ ษาเปรยี บเทยี บสภุ าษติ ลา้ นนากบั ไทลอ้ื เปรยี บเทยี บทง้ั ดา้ นโครงสรา้ งประโยคและวลที ใี่ ช้ การใชค้ ำ� ศลิ ปะการประพนั ธ์ ตลอดจนเนอื้ หาของสภุ าษติ พบความคลา้ ยกนั ทง้ั ในดา้ นโครงสรา้ งและเนอื้ หา ชใี้ ห้ เหน็ ลกั ษณะของทศั นคตทิ างสงั คม ปรชั ญาและศลี ธรรมทคี่ ลา้ ยกนั ในแงน่ ี้ ดผู วู้ จิ ยั งานท้ังสองช้ินจะมีสมมติฐานลึกๆ ว่า การศึกษาเปรียบเทียบจะช่วยให้ค้นพบ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมร่วมกันของผู้คนในแถบนี้ได้ ผู้วิจัยจึงมีสมมติฐานลึกๆ ในเรอื่ ง แกน่ แกนรว่ มกนั ทางวฒั นธรรม อยา่ งไรกต็ ามการศกึ ษาวเิ คราะหท์ ี่ “เนอื้ หา”

40 กำ�กดึ๊ กำ�ปาก อนั แสดงออกชดั ๆ ในภาษานน้ั งา่ ยตอ่ การสกดั เอาสงิ่ ทเี่ ปน็ คา่ นยิ มทางสงั คมออกมา ไดต้ รงๆ แตง่ านศลิ ปะบางประเภท เชน่ ดนตรที ไี่ มม่ เี นอ้ื รอ้ งนน้ั มคี วามเปน็ นามธรรม มากกว่า เช่นนีแ้ ล้วจะเช่ือมโยงนยั ยะทางสังคมอย่างไร ในกลุ่มแนวมานุษยวิทยาดนตรี (musical anthropology) มีตัวอย่างจากงาน วทิ ยานพิ นธห์ ลายเลม่ ของสาขาวชิ าดนตรี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล (รณชติ , 2536, ณรงคช์ ยั และคณะ, 2542) ในบางเล่ม เมื่อผู้วิจัยมีพ้ืนฐานความรู้และทักษะในศิลปะแขนง นน้ั ๆ เช่นเป็นนกั ดนตรี ช่วยให้สามารถแปลงเสียงดนตรีพ้ืนบ้านที่อัดเทปออกมา เปน็ โนต้ สากล ทำ� ใหเ้ ราเหน็ ภาพของโครงสรา้ งตวั โนต้ และโครงสรา้ งของเพลงทเี่ ปน็ รปู ธรรมได้ เชน่ งานศกึ ษาดนตรใี นพธิ กี รรมสง่ วญิ ญาณผตู้ ายของชนเผา่ มง้ (ณรงคช์ ยั และคณะ 2542) ซงึ่ ชใี้ หเ้ หน็ วา่ โครงสรา้ งเพลงในพธิ กี รรมนนั้ มลี กั ษณะเชงิ โครงสรา้ ง ทจ่ี ัดอยู่ในแนวศลิ ปะท่เี รยี กว่า minimalism คอื มคี วามเรียบง่าย มที ำ� นองหลกั เป็น ท่อนสั้นๆ เล่นซ�้ำๆกนั มอี ัตราจังหวะและความดังเบาของเสยี งค่อนข้างสม�่ำเสมอ ตลอดเพลง มบี นั ไดเสยี งทช่ี ดั เจน เปน็ ตน้ แมใ้ นการศกึ ษาจะท�ำใหเ้ หน็ วา่ ดนตรเี ปน็ ส่วนประกอบส�ำคัญของพิธีกรรม มีการบรรยายข้ันตอนของพิธีกรรมโดยละเอียด แต่ปัญหาอยู่ท่ีว่า ภาพของสังคมหรือวัฒนธรรมท่ีพรรณนามานน้ั มักดูราวกับเป็น ฉากหลังหรอื เวทใี ห้ศิลปะนนั้ ๆ แสดงตนออกมา ผู้วิจัยยังไม่อาจเชอื่ มโยงลกั ษณะ องคป์ ระกอบและโครงสรา้ งทางศลิ ปะทเี่ ปน็ ประเดน็ แกนกลางของการศกึ ษาใหเ้ ขา้ โยงกบั ภมู หิ ลงั ทางสงั คมวฒั นธรรมได้อยา่ งชดั เจน กลา่ วอกี นยั หนงึ่ งานวจิ ยั จะนา่ สนใจมากหากผู้วิจัยจะช้ีให้เห็นว่าโครงสร้างเรียบง่ายแบบศิลปะแนว minimalism สอดคล้องเชื่อมโยงกับลักษณะเรียบง่ายของโครงสร้างสังคมหรือไม่อย่างไร การชี้ ให้เห็นความสอดคล้องเชิงโครงสร้างระหว่างศิลปะและสังคมเช่นน้ี เห็นได้ในงาน ศกึ ษาจติ รกรรมฝาผนงั ของปริตตา (2536) ความพยายามเช่ือมโยงศิลปะและสังคมอาจเห็นง่ายกว่าในกรณีที่ช้ีว่า กระบวนการผลิตงานศิลปะ ในที่นี้คือดนตรีและเครื่องดนตรีน้ัน เก่ียวข้องกับ กระบวนการทางสงั คมอยา่ งไร งานศกึ ษาเรอื่ งกลองหลวงลา้ นนาของรณชติ (2536) ผู้วิจัยชี้ให้เห็นว่ากระบวนการผลิตกลองหลวงนน้ั นอกจากตัวช่างแล้ว ขนาดของ

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 41 กลองทใี่ หญม่ ากทำ� ใหต้ อ้ งอาศยั ความรว่ มแรงรว่ มใจของคนในชมุ ชนหลายฝา่ ย ทงั้ ในการกลึงกลอง การขนเคล่ือนย้าย และการแข่งขันก็เป็นโอกาสของการผลิตซำ้� ความสมั พนั ธ์ทแ่ี น่นแฟ้นของชมุ ชนอีกด้วย งานบางช้ินในแนวท่ีเน้นความจริงเชิงประจักษ์น้ี พยายามใช้วิธีวิจัยหลาย สาขามาผนวกไว้ด้วยกนั เช่นงานของมนู (2542) ทศ่ี กึ ษาโคลงนิราศหรภิ ุญไชยโดย สำ� รวจเสน้ ทางคมนาคมและแหลง่ โบราณสถานตามทปี่ รากฏในนริ าศ ผวู้ จิ ยั ทงั้ ใชว้ ธิ ี การทางประวตั ศิ าสตร์ผา่ นเอกสารชนั้ ตน้ และชนั้ รองตลอดจนวธิ กี ารมานษุ ยวทิ ยา โดยการสมั ภาษณ์ผสู้ งู อายใุ นชมุ ชนและออกสำ� รวจเส้นทางในภาคสนาม มกี ารทำ� แผนทีแ่ ละศึกษาพัฒนาการทางประวตั ศิ าสตร์ของเส้นทางดังกล่าว ทำ� ให้ “ความ เป็นจริง” ของเส้นทางการเดินทางระหว่างล�ำพูนและเชียงใหม่ ในจินตนาการที่ ปรากฏในบทกวีกลายมาเป็นความเป็นจริงเชิงประจักษ์และท�ำให้ผู้อ่านรู้สึกถึง ความเชื่อมต่อของเวลาจากอดีตถึงปัจจุบัน และสามารถเห็นความเปล่ียนแปลง ทางกายภาพและทางสังคมทเี่ กดิ ขึน้ ด้วย โดยสรุป งานวิจัยในกลุ่มแรกน้ี แม้จะมีความแตกต่างตง้ั แต่งานท่คี ่อนข้าง มีลักษณะการวิเคราะห์เชิงสถิตย์และเชิงเดี่ยว ไปจนถึงงานท่ีพยายามเน้นความ เปล่ียนแปลงในมิติเวลา และเชื่อมโยงการอธิบายเชิงสังคมหรือการใช้วิธีการจาก วิชาการต่างสาขาร่วมกัน แต่ก็มีจุดร่วมที่เห็นว่าเราจะเข้าถึงศิลปะและสังคม ได้ ในฐานะที่เป็นความเป็นจริงเชิงประจักษ์ และมีวิธีการมองวัฒนธรรมในแบบ สารัตถะนยิ ม กลมุ่ ทสี่ องคอื งานวจิ ยั ทเ่ี นน้ การสนทนาระหวา่ งขอ้ มลู และทฤษฎี กลมุ่ นน้ี บั เปน็ กลมุ่ ใหญอ่ กี กลมุ่ หนงึ่ ทส่ี ามารถแบง่ กลมุ่ ยอ่ ยไดห้ ลากหลายตามแนวทฤษฎที ใี่ ช้ หรืออาจแบ่งตามวิธที ขี่ ้อมลู สัมพันธ์กบั ทฤษฎกี ไ็ ด้ งานศกึ ษาในกลุ่มนนี้ น้ั ประกอบ ดว้ ยงานศกึ ษาหลากหลายสาขาหรอื มกี ารผสมผสานระหว่างหลายสาขา เชน่ การ ผสมระหวา่ งวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละมานษุ ยวทิ ยา หรอื การวเิ คราะหภ์ าษากบั ขอ้ มลู ทางประวตั ศิ าสตร์ งานกลมุ่ นใ้ี หค้ วามสำ� คญั แกก่ ารสรา้ งกรอบแนวคดิ และวธิ ี วทิ ยา (conceptualization) ตลอดจนการใชห้ รอื ประยกุ ตท์ ฤษฎี บางครงั้ กผ็ สมผสาน

42 ก�ำ ก๊ึดกำ�ปาก ระหว่างการเก็บข้อมูลและน�ำเสนอภาพมุมกว้างทั้งระบบกับการเจาะลึกในระดับ จลุ ภาค งานบางชนิ้ เนน้ การเสนอภาพนงิ่ ในขณะทงี่ านบางชนิ้ มงุ่ เนน้ การเคลอ่ื นไหว เปลย่ี นแปลง ทงั้ นข้ี อบเขต และระดบั การวเิ คราะหจ์ ะเปน็ เชน่ ไรนน้ั ขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั ส�ำคัญสองประการคือ การตงั้ โจทย์วจิ ยั และการเลือกใช้ทฤษฎี ทัง้ สองประเดน็ ดัง กล่าวล้วนสัมพันธ์กัน การใช้ทฤษฎีช่วยก�ำหนดมุมมองของผู้วิจัยต่อปัญหา และ จะพบวา่ นกั วจิ ยั มวี ธิ กี ารใชท้ ฤษฎตี า่ งๆ กนั บา้ งใชเ้ พอื่ ใหข้ อ้ มลู ยนื ยนั ทฤษฎที ม่ี อี ยู่ บ้างต้องการการทดลองผสานแนวทฤษฎีทแี่ ตกต่างกันในงานวจิ ัยชิ้นเดียวกนั บ้าง ต้องการให้ข้อมูลสนทนากับทฤษฎี คืออาจใช้ข้อมูลเพ่ือต้ังค�ำถามกลับต่อทฤษฎี ดว้ ย ในทน่ี จ้ี ะแบง่ แนวการวจิ ยั ออกตามรปู แบบและวธิ กี ารวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ ข้อมลู (mode of analysis) แนวแรกพยายามอธิบายและสังเคราะห์ข้อมูลจากมุมมองเชิงโครงสร้าง (structural mode of analysis) จุดที่แตกต่างจากนกั วิจัยกลุ่มแรกที่พยายามมอง งานศลิ ปะในเชงิ โครงสรา้ งดว้ ยกค็ อื นกั วจิ ยั ในกลมุ่ ทสี่ องนี้ เนอ่ื งจากมกี ารประยกุ ต์ ใช้ทฤษฎีในแนวโครงสร้างนิยม (structuralism) ท�ำให้มิได้หยุดอยู่แค่เพียงการมอง ศิลปะจากแง่มุมเชิงประจักษ์ที่มองเห็นได้เท่านนั้ หากแต่ยังเชื่อในโครงสร้างระดับ ลกึ บางอย่างทม่ี องไม่เหน็ และยงั มีความพยายามเชือ่ มโยงโครงสร้างของงานศลิ ป์ เข้ากับโครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรมอีกด้วย งานในแนวนี้ได้แก่ งานของแอนดรู เทอรต์ นั (Turton, 1980) ซงึ่ ไดอ้ ทิ ธพิ ลจากงานของปแิ ยร์ บรู ด์ เิ ยอร์ (Bourdieu, 1977) ทวี่ เิ คราะหก์ ารใชพ้ น้ื ท่ี และความหมายเชงิ สญั ลกั ษณข์ องพน้ื ทภ่ี ายในบา้ นของชาว เบอร์เบอร์ (Berber) เทอร์ตนั เลอื กศกึ ษาเรือนล้านนา โดยเน้นโครงสร้างของความ สัมพันธ์ทางสังคมและระบบคุณค่า ซ่ึงสะท้อนออกมาให้เห็นในพิธีกรรมเก่ียวกับ การปลูกเรือนและรูปแบบการใช้พ้ืนท่ีภายในครัวเรือนแบบล้านนา พิธีกรรมเหล่า นน้ั ประจเุ อาไวด้ ้วยความหมายทางสงั คมในเรอ่ื ง พลงั เหนอื ธรรมชาติ ระบบอาวโุ ส และความแตกต่างระหว่างเพศหญิงและชาย การใชแ้ นวคดิ โครงสรา้ งนยิ มนนั้ มกั ทอนงานศลิ ปะลงไปใหเ้ ปน็ องคป์ ระกอบ หนว่ ยยอ่ ยทส่ี ดุ ทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบขน้ั พนื้ ฐาน วธิ เี ชน่ นเี้ หน็ ไดจ้ ากการศกึ ษาเรอ่ื งผา้

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 43 (ชนดิ า, 2541) ซงึ่ เนน้ ทลี่ ายรปู ตวั S หรอื ลายซกิ แซกคลา้ ยตวั Z งานศกึ ษานทิ านชาว ไท (ศิราพร, 2548) และงานศึกษาวรรณคดีคำ� โคลงล้านนา (ปฐม 2552) กพ็ ยายาม ทอนประโยคตา่ งๆ ในนทิ านลงเปน็ อนภุ าคยอ่ ยๆ สว่ นงานศกึ ษาจติ รกรรมฝาผนงั ยคุ ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ (ปรติ ตา, 2536) กม็ สี มมตฐิ านเชน่ กนั วา่ ลายเสน้ ขนั้ พน้ื ฐานทสี่ ดุ ของ การวาดแบบลายไทยก็คอื เส้นโค้ง หน่วยพนื้ ฐานท่ีสดุ ขององค์ประกอบทางศลิ ปะ เหล่านนั้ ไม่เพียงเป็นพ้ืนฐานและโครงสร้างส่วนลึกของงานศิลป์ แต่หากยังเป็น โครงสรา้ งของวธิ คี ดิ พน้ื ฐานทางวฒั นธรรมดว้ ย ลายโคง้ ในผา้ ชาวลาวทอี่ ทุ ยั ธานนี น้ั กค็ อื ตวั แทนของนาคอนั เปน็ ความเชอื่ ในพลงั ธรรมชาตแิ ละพลงั เหนอื ธรรมชาติ สว่ น อนุภาคในนทิ านก็เป็นตัวแทนของความคิด ความเช่ือและจินตนาการท่ีเป็นสากล ของมนุษย์ เช่นความคิดเก่ยี วกบั ของวิเศษ การตง้ั ครรภ์ทแี่ ปลกประหลาด อนภุ าค เร่ืองการหลอกลวง การลงโทษ และการให้รางวัล อนภุ าคพืน้ ฐานทพี่ บคล้ายกนั ชี้ ให้เห็นถึงความคิดและการหมกมุ่นของมนุษย์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของตนเองกับ พลงั ในธรรมชาติ หรอื การจดั ระเบยี บความสมั พนั ธท์ างสงั คมของตน นอกจากนว้ี ธิ ี คดิ ดงั กล่าวยังมีลักษณะเด่นคอื เป็นวธิ ีคิดแบบคู่ตรงข้ามด้วย นาคในวธิ ีคิดของชน แถบฝั่งโขงเป็นตวั แทนของคู่ตรงข้ามคือ หวั นาค (ผู้ชาย) – หางนาค (ผู้หญงิ ) หรอื ความเช่ือว่านาคมลี ักษณะก้ำ� กงึ่ ระหว่างคู่ตรงข้าม เช่นพ้นื ดินและน�้ำ ความดีและ ความชว่ั ลกั ษณะความกำ�้ กง่ึ คอื ทม่ี าของอำ� นาจของนาค สว่ นการศกึ ษาอนภุ าคใน นทิ านพน้ื บ้านนน้ั กพ็ บวา่ สมั พนั ธ์กบั คตู่ รงขา้ มมากมายในพลอ็ ตเรอื่ ง เช่น ความด-ี ความชว่ั พระเอก-ผรู้ ้าย ผ้หู ญงิ กบั พระและปิตาธปิ ไตย ข้อห้าม-การละเมดิ ข้อหา้ ม การลงโทษ-การใหร้ างวลั เปน็ ตน้ สว่ นในการศกึ ษาภาพจติ รกรรมฝาผนงั นน้ั พบวา่ องค์ประกอบพืน้ ฐานในภาพเช่น การใช้สี การจัดวางต�ำแหน่งตัวละคร รูปลักษณ์ ของตัวละครสอดคล้องกับความสัมพนั ธ์ท่ีไม่เท่าเทยี มในสังคม รูปนาฏลกั ษณ์หรือ สีทองอันงามสง่าตลอดจนต�ำแหน่งศูนย์กลางภาพ=ชนช้ันสูง ส่วนรูปร่างธรรมดา และตำ� แหน่งพนื้ ทีช่ ายขอบภาพ=ชนชน้ั ล่าง เป็นต้น อยา่ งไรกต็ าม โครงสรา้ งนยิ มนนั้ มจี ดุ ออ่ นทเี่ ปน็ ทรี่ จู้ กั กนั ดี นนั่ กค็ อื เป็นแนว การวเิ คราะหท์ ม่ี ลี กั ษณะสถติ ย์ มองไมเ่ หน็ การเปลยี่ นแปลง และไมเ่ นน้ บทบาทของ

44 ก�ำ กึ๊ดกำ�ปาก มนษุ ยใ์ นฐานะผกู้ ระทำ� การทางสงั คม ผวู้ จิ ยั งานทง้ั 4 ชนิ้ ทก่ี ลา่ วมาตา่ งจงึ พยายาม แก้ไขจุดอ่อนทางทฤษฎีดังกล่าวด้วยการผสานแนวทฤษฎีที่เน้นบทบาทมนุษย์ใน แบบต่างๆ กัน งานเรื่องผ้าชาวลาวของชนดิ าผนวกเอาประเด็นเร่ืองผ้าในฐานะที่ เป็นสงิ่ ผลิตและกระบวนการผลติ ซำ้� อตั ลักษณ์ของเพศหญงิ ซึง่ ได้อิทธพิ ลจากแนว การวเิ คราะหเ์ รอื่ งผา้ อสี านของสรุ ยิ า (2536) ทเี่ หน็ กระบวนการผลติ ผา้ เป็นเรอื่ งของ พธิ กี รรมเปลย่ี นผา่ นจากเดก็ ไปสคู่ วามเปน็ สาว นบั เปน็ การเนน้ บทบาทของผหู้ ญงิ ใน กระบวนการผลติ และบรโิ ภค ส่วนงานจติ รกรรมฝาผนงั ของปริตตา พยายามผสาน แนวคดิ ของคลฟิ ฟอรด์ เกริ ซ์ ต์ (Geertz) และแนวคดิ ของ เบซลิ เบริ น์ สไตน์ (Berstein) ทเี่ นน้ บทบาทของปจั เจกในฐานะผใู้ ชร้ หสั ทางวฒั นธรรม การวเิ คราะหจ์ งึ รวมถงึ การ ศึกษาโลกทัศน์และธรรมเนียมในหมู่ช่างด้วย สำ� หรับการศึกษานทิ านของศิราพร มีการน�ำเสนอวิธีวิทยาแบบใหม่ในการวิเคราะห์ต�ำนานที่เรียกว่า “การแสดง” (performance) ซึ่งเน้นการเล่านิทานสดๆ ให้แก่กลุ่มผู้ฟัง เพ่ือท�ำให้เห็นว่าเม่ือ “ตัวบท” ถูกน�ำเสนอในสถานการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับคน จะเกิดการตีความท่ีทำ� ให้ ตัวบทมีชีวิต เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เล่า ตัวบท และผู้ฟังอย่างไร การเน้นเรื่อง การส่ือสารและการตีความท�ำให้จุดเน้นของการศึกษาอยู่ที่เหตุการณ์ของการเล่า นทิ าน (storytelling event) มากกว่าตวั นทิ านเอง นอกจากนน้ั มงี านของปฐม (2552) ทต่ี คี วามนทิ านคำ� โคลงลา้ นนาเกย่ี วกบั ผหู้ ญงิ รกั พระทจ่ี บลงดว้ ยความตายของพระ ผวู้ จิ ยั เลอื กใชส้ ญั วทิ ยา (semiology) มาอา่ นเพอื่ แกไ้ ขจดุ ออ่ นของโครงสรา้ งนยิ มทไ่ี ม่ สนใจความสมั พนั ธเ์ ชงิ อำ� นาจทางอดุ มการณ์ ปฐมอา่ นนทิ านเสยี ใหมว่ า่ ความตาย ของพระมิใช่บทลงโทษทางศีลธรรมต่อพระท่ีหลงรักหญิงสาว หากแต่เป็นชัยชนะ ของผู้หญิงและความรักทก่ี ้าวข้ามพรมแดนทางชนชั้น ศาสนาและปิตาธปิ ไตย นอกจากน้ี ยังมีงานวิจัยบางชิ้นท่ีแม้จะอาศัยกรอบคิดแบบโครงสร้างนิยม แตก่ ใ็ ชข้ อ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากภาคสนามของตน บวกกบั ขอ้ สรปุ ของขอ้ มลู จากสาขาวชิ าการ อื่นมาสนทนาปะทะสงั สรรค์กบั ทฤษฎอี นื่ ๆ อย่างมชี วี ติ ชวี า งานศึกษาเรือ่ งบ้านใน เขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนท่ีเป็นทั้งแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะของโรซานา วอเทอรส์ นั (Waterson,1990) นนั้ ในบทแรกไดใ้ ชข้ อ้ มลู จากนกั นริ กุ ตศิ าสตรท์ ศี่ กึ ษา รากเหงา้ พฒั นาการของภาษาตา่ งๆ มาศกึ ษาหา “จดุ เรมิ่ ” หรอื จดุ กำ� เนดิ รว่ มกนั ของ

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 45 รปู แบบบา้ นเขตดงั กลา่ ว แนวการศกึ ษาเชน่ นจ้ี ดั อยใู่ นกรอบการอธบิ ายเชงิ จดุ ก�ำเนดิ (genetic mode of analysis) โดยไดอ้ ทิ ธพิ ลจากทฤษฎกี ารแพรก่ ระจายทางวฒั นธรรม (diffusionism) จากนนั้ ในบทต่อๆมาของหนงั สือ ผู้วจิ ยั หนั กลบั มาหากรอบคิดแบบ โครงสร้างนิยม คือศึกษาความสอดคล้องกันของโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมกับ โครงสร้างของความคดิ ทางวฒั นธรรม มกี ารสนทนาอย่างมีชีวิตชีวาระหว่างข้อมลู ท่ีได้จากการศึกษาเปรียบเทียบและกรอบทฤษฎี เช่น แม้จะน�ำวิธีการของ ปิแยร์ บรู ด์ เิ ยอร์ มาใชซ้ งึ่ เปน็ ตวั อยา่ งคลาสสคิ ของการศกึ ษาเรอื่ งการใชพ้ นื้ ทใี่ นบา้ นและคา่ นยิ มทางสงั คม โดยเฉพาะกรอบการแบง่ แยกทางเพศ ผวู้ จิ ยั ตงั้ คำ� ถามวา่ ขอ้ สรปุ ของ บรู ด์ เิ ยอรน์ น้ั เปน็ ขอ้ สรปุ ของตวั บรู ด์ เิ ยอรเ์ องหรอื เปน็ วธิ คี ดิ ของชาวเบอรเ์ บอรก์ นั แน่ ผวู้ จิ ยั ยงั พบจากขอ้ มลู สนามในเขตทศี่ กึ ษาวา่ ตรงกนั ขา้ มกบั กรณขี องชาวเบอรเ์ บอร์ ที่มีการแบ่งแยกทางเพศชัดเจน บ้านในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ดูจะไม่จ�ำกัด กรอบของผู้หญิงให้อยู่แต่เพียงในครวั เรือน ผู้หญงิ ทนี่ มี่ บี ทบาทสำ� คญั ในเศรษฐกิจ พธิ กี รรมและบางครง้ั ในทางการเมอื งดว้ ย โลกทศั นข์ องคนแถบนดี้ จู ะชนื่ ชมการผสม ผสานพลังของทง้ั สองเพศมากกว่าที่จะเน้นการแยกท้งั สองเพศให้เป็นข้ัวตรงข้าม นอกจากรูปแบบการอธิบายเชิงโครงสร้างหรือเชิงจุดก�ำเนดิ แล้ว รูปแบบ การวเิ คราะห์สงั เคราะห์ข้อมูลอีกแบบหนง่ึ ก็คอื การอธิบายหรอื วเิ คราะห์เชิงหน้าที่ (functional mode of analysis) การอธบิ ายในแนวนคี้ รอบคลมุ การใชท้ ฤษฎแี บบหนา้ ท่ี นิยม (functionalism) หรือโครงสร้างหน้าท่ีนิยม (structural functionalism) ตลอด จนการอธบิ ายทางประวตั ิศาสตร์ หรือรัฐศาสตร์ทเ่ี น้นบทบาททางสังคมของศิลปะ งานวิจัยเร่อื งผ้าของซซู าน คอนเวย์ (Conway, 2003) เป็นงานระดบั มหภาคท่ีใช้ทงั้ ข้อมูลประวัตศิ าสตร์ มานษุ ยวิทยา การสมั ภาษณ์ และสงั เกตการณ์ ผู้เขียนชใ้ี ห้ เหน็ บทบาททางสังคมของผ้า เช่น การเรยี นทอผ้าเป็นกลไกทผี่ ู้หญิงได้รับการปลูก ฝังค่านิยมทางศาสนา และผ้ายังเป็นเคร่ืองมือของการสื่อสารเพ่ือแสดงอัตลักษณ์ ทั้งอัตลักษณ์เฉพาะบุคคล อัตลักษณ์ประจ�ำชาติพันธุ์ และอัตลักษณ์ทางชนชั้น นอกจากนนั้ เพอ่ื แกไ้ ขจดุ ออ่ นของหนา้ ทน่ี ยิ มในเรอ่ื งการวเิ คราะหเ์ ชงิ สถติ ย์ ผเู้ ขยี น จึงเน้นบทบาทของผ้าในกระบวนคลี่คลายทางประวัติศาสตร์ด้วย ในแง่การเมือง

46 กำ�ก๊ดึ กำ�ปาก ระหว่างรัฐ ผ้าเป็นบรรณาการส�ำคัญของการติดต่อระหว่างล้านนา ล้านช้าง สิบสองปันนา จีน พม่า และสยาม และในช่วงของการเปล่ียนแปลงทางสังคม เข้าสู่ยุคสมัยใหม่ เม่ือหัวเมืองเหนือถูกผนวกให้กลายเป็นส่วนหนงึ่ ของรัฐสยาม ในศตวรรษท่ี 19 เจ้านายผู้ชายฝ่ายเหนือจ�ำต้องเปล่ียนแปลงการแต่งกายให้มา เป็นชุดข้าราชการเหมือนของราชส�ำนกั สยาม การแต่งกายจึงเป็นวิธีการประกาศ จุดยืนทางการเมืองอีกด้วย การศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการค้าผ้า ของชนช้ันสูง ท�ำให้ผู้เขียนสามารถเสนอข้อพิสูจน์เชิงประจักษ์ทางประวัติศาสตร์ มาหกั ล้างขอ้ สรปุ ก่อนนท้ี เี่ ชอ่ื กนั วา่ ในยคุ ก่อนสมยั ใหม่ ล้านนามรี ปู แบบเศรษฐกจิ ค่อนข้างปิดและเป็นเชงิ สถิตย์คือเป็นรปู แบบเกษตรทพ่ี ึ่งตนเอง 2.3 ศิลปวฒั นธรรมในเชิงคุณค่า สิ่งส�ำคัญประการหนงึ่ ที่ก�ำหนดทิศทาง โจทย์ และกระบวนการวิจัยท่ีได้ กล่าวไปแล้วนนั้ ก็คือการนิยามความหมายของค�ำว่า “ศลิ ปะ” และ “วฒั นธรรม” ซ่งึ แม้ผู้วิจัยอาจมิได้ตระหนกั และนยิ ามออกมาอย่างชัดเจนในงานวจิ ัย ทว่าทัศนะ ของผู้วิจัยเกี่ยวกับความหมายของมโนทัศน์ทั้งสองจะซ่อนแฝงอยู่เสมอ ราวกับ เป็นเข็มทิศที่มองไม่เห็นซ่ึงก�ำกับทิศทางของงานวิจัยท้ังหมด การส�ำรวจทัศนะ ของผู้วจิ ัยในประเด็นน้ี นอกจากจะช่วยให้เข้าใจสมมตฐิ านพ้นื ฐานของงานวจิ ัยได้ แล้ว เม่ือมองภาพรวมของงานวิจัยจ�ำนวนมากๆ ก็จะท�ำให้เห็นภาพว่าสังคมไทย มอง “วัฒนธรรม” อย่างไร สิง่ นม้ี ผี ลให้เราเข้าใจปรากฏการณ์และพฤตกิ รรมทาง วัฒนธรรมร่วมสมัยได้กระจ่างขึ้นด้วย การนยิ ามศลิ ปะและวฒั นธรรมมิอาจแยกขาดจากกนั ได้ เนือ่ งจากงานวจิ ัย ทส่ี ำ� รวจนน้ั มองเหน็ ศลิ ปะเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวถิ ที างวฒั นธรรมเสมอ จะมขี อ้ แตกตา่ ง กต็ รงทวี่ า่ งานวจิ ยั ตา่ งๆเหลา่ นมี้ องความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งศลิ ปะกบั วถิ ที างสงั คมและ วัฒนธรรมในทิศทางแตกต่างกนั อย่างไร

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 47 งานวจิ ยั สว่ นใหญม่ กั เหน็ วา่ “ศลิ ปะ” เปน็ เรอ่ื งของการสรา้ งสรรค์ (creativity) และผลติ ผลการสรา้ งสรรคข์ องปจั เจก ในแงน่ ศี้ ลิ ปะจงึ ผกู กบั “ระบบคณุ คา่ ” อยา่ ง แยกไม่ออก ระบบคุณค่าน้ีอาจมีหลายมิติ ประการแรก คือคุณค่าเชิงสุนทรียะ (aesthetic value) ในแง่นี้ ศิลปะเป็นเรอื่ งของความงามท่เี กิดจากองค์ประกอบทาง ศลิ ปะต่างๆ เช่น เส้น สี รูปทรง หรือเสียงและจังหวะจะโคน ความงามนเี้ ป็นพลงั จรรโลงความคิดจิตใจ ซงึ่ สมั พันธ์กับประการทส่ี อง คือคุณค่าทเ่ี ป็นพลงั สร้างสรรค์ ของปจั เจก (individual creativity) ในแงน่ ศี้ ลิ ปะขดั เกลาความคดิ และจติ วญิ ญาณของ มนุษย์ที่เป็นผู้สร้างและผู้เสพงานนนั้ ๆ ศิลปะจึงท�ำให้ความเป็นมนุษย์สมบูรณ์ขึ้น ประการท่ีสาม คือคุณค่าที่เป็นบรรทัดฐานและค่านิยมทางสังคม (social norms) จุดน้ีเป็นจุดบรรจบระหว่างศิลปะและวัฒนธรรม ศิลปะเป็นท่ีที่สะท้อนโลกทัศน์ และค่านิยมร่วม หรือเป็นที่ทค่ี ณุ ค่าเหล่านน้ั แสดงตวั ออกมาเป็นรูปธรรม ศิลปะจงึ สมั พนั ธ์กับกระบวนการขัดเกลาทางสงั คมอย่างแยกไม่ออก ในบรรดาคุณค่าท้ังสามประการน้ี คณุ ค่าประการทีห่ นงึ่ และสามจะถกู เน้น มากเปน็ พเิ ศษ งานวจิ ยั หลายชนิ้ ศกึ ษาโครงสรา้ งและรายละเอยี ดขององคป์ ระกอบ ทางศลิ ปะแขนงนนั้ ๆ และหลายชน้ิ กก็ ลา่ วถงึ คา่ นยิ มทางสงั คมทแ่ี ฝงอยใู่ นงานศลิ ป์ ส่วนคุณค่าข้อสองที่เป็นเร่ืองพลังสร้างสรรค์ของปัจเจกนน้ั มักกลายเป็นส่วนหนง่ึ ของความเข้าใจโดยปริยายมากกว่าจะถูกเน้นศึกษาเป็นการเฉพาะ อย่างไรก็ตาม มีข้อยกเว้นในงานวิจัยบางชิ้นที่มีโจทย์เป็นการศึกษาตัวศิลปินที่เป็นปัจเจกบุคคล หรอื กลุ่มศลิ ปิน เช่นงานของวฒั นะ (2546) กจิ ชยั (2547) และอารยะ (2547) ซง่ึ การ เน้นท่ีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลช่วยให้เห็นคุณค่าศิลปะในความหมายท่ีสองได้ชัดเจน ความน่าสนใจของงานศึกษากลุ่มน้ีอยู่ท่ีมองเห็นตัวปัจเจกในฐานะเป็น “พื้นที่” ซงึ่ พลงั สรา้ งสรรคส์ ว่ นบคุ คลมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั พลงั ของสงั คม งานสามชนิ้ ทกี่ ลา่ วมาน้ี งานของวฒั นะมลี กั ษณะเนน้ ทต่ี วั ศลิ ปนิ ในฐานะปจั เจกมากทสี่ ดุ กวา่ งานอกี สองชนิ้ เป็นการศึกษาประวัติชวี ติ บุคลกิ ภาพ ประสบการณ์ส่วนตวั และผลงานศลิ ปะ แต่ กระนน้ั ก็เห็นได้ว่าผู้วิจัยมองศิลปินปัจเจกบุคคลเป็นเวทีที่พลังทางสังคมในระดับ ต่างๆ มาปะทะสังสรรค์กนั

48 ก�ำ กด๊ึ ก�ำ ปาก ส�ำหรับมโนทัศน์ “วฒั นธรรม” นนั้ งานวจิ ัยจำ� นวนมากมองเหน็ วฒั นธรรม เป็นระบบคุณค่าร่วม แม้จะศึกษางานศิลปะอันเป็นรูปธรรมท่ีคุณค่าเหล่าน้ัน แสดงออกมา แตก่ ม็ แี นวโนม้ ทจ่ี ะเหน็ วฒั นธรรมเปน็ ระเบยี บแบบแผนทางนามธรรม ซึ่งเป็นสารัตถะและเป็นความจริงในตัวเอง เป็นโครงครอบเชิงโลกทัศน์และ จักรวาลทัศน์ที่มีลักษณะครอบคลุม (overarching symbolic universe) และเป็น เข็มทิศที่ก�ำหนดทิศทางของวิถีชีวิต แบบแผนความคิดเชิงนามธรรมดังกล่าวน้ีมี องคป์ ระกอบสองสว่ น สว่ นแรกคอื นามธรรมทเ่ี ปน็ เรอ่ื งของระบบคณุ คา่ และคา่ นยิ ม อกี สว่ นหนง่ึ ไดแ้ กต่ วั องคค์ วามรซู้ ง่ึ นยิ มเรยี กกนั วา่ “ภมู ปิ ญั ญา” กระแสความนยิ ม ศกึ ษาเรอ่ื งภมู ปิ ญั ญา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นไดอ้ ทิ ธพิ ลจากแนวโนม้ ท้องถิน่ นยิ ม (localism) ทเี่ ฟื่องฟเู ป็นอย่างมากในช่วงสองทศวรรษทผ่ี ่านมา ทำ� ให้ งานวจิ ยั จำ� นวนมากเช่น จนิ ตนา (2539) ทพิ วรรณ (2546) ปรางทพิ ย์ (2541) อารยะ (2547) กิจชัย (2547) ตลอดจนกลุ่มชุดงานวิจัยของสกว. มุ่งเน้นทก่ี ารค้นคว้าเพอื่ ฟื้นฟูและสืบทอดองค์ความรู้ดงั กล่าว ในแง่ของคำ� นิยาม “ภูมปิ ัญญา” ปรางทพิ ย์ (2541: 7-18) รวบรวมคำ� นยิ าม ภมู ปิ ญั ญาและภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นไวจ้ ากแหลง่ อา้ งองิ มากมายถงึ 17 แหลง่ ซง่ึ สว่ น ใหญ่นิยามสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันว่า หมายถึง “ความรู้ความสามารถท่ี ชาวบ้านสร้างขึ้นจากประสบการณ์....เป็นองค์ความรู้ท้งั หมดของชาวบ้านท่ไี ด้จาก การเรียนรู้ ถ่ายทอดส่ังสมจากบรรพบุรุษและผู้มีความรู้ในชุมชน เป็นการใช้สติ ปญั ญา โดยอาศยั ศกั ยภาพทม่ี อี ยเู่ พอ่ื ใหส้ ามารถดำ� เนนิ ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมน่ั คงปลอดภยั .. โดยสมั พนั ธ์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสภาพแวดล้อมทางสงั คม” การมองเห็นวัฒนธรรมเป็นเรื่องของการถ่ายทอดและส่ังสมความรู้จากรุ่น ต่อรุ่น (cultural heritage) เช่นน้ี ท�ำให้งานหลายชิน้ เน้นศึกษากระบวนการถ่ายทอด องค์ความรู้ของภูมิปัญญาชาวบ้าน (ปรางทิพย์ 2541, จิรวัฒน์ 2540, กรรณกิ าร์ 2548) ในกลุ่มนท้ี ี่น่าสนใจคืองานของจริ วัฒน์ซ่ึงมสี มมติฐานของการศึกษามาจาก การมองเห็นวิกฤติของระบบการศึกษาไทยโดยรวมว่า เกิดจากการรวมศูนย์และ เน้นการถ่ายทอดความรู้จากบนสู่ล่าง ดังนนั้ งานวิจัยของเขาจึงมีเป้าหมายที่จะ

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 49 กระจายอำ� นาจทางการศกึ ษาดว้ ยการสนบั สนนุ ใหฟ้ น้ื ฟกู ารถา่ ยทอดความรใู้ นแบบ อดีต และเน้นให้สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างการถ่ายทอดความรู้ในระบบทางการของ มหาวิทยาลยั กับระบบภมู ปิ ัญญาแบบชาวบ้าน อย่างไรก็ตาม เราจะเห็นว่างานวิจัยมีพื้นฐานวิธีคิดท่ีมองชาวบ้านกับรัฐ เป็นคู่ตรงข้าม ผลก็คือ ความพยายามในการฟื้นฟูกระบวนการเรียนรู้ของอดีตนนั้ ท�ำให้กระบวนการเรียนรู้เป็นไปในรูปแบบที่มีการจัดต้ัง เป็นการเรียนรู้แบบต้ังใจ และจงใจ เรมิ่ ตงั้ แตม่ กี ารเตรยี มกลมุ่ เปา้ หมายซง่ึ มกั เปน็ เดก็ ๆ มกี ารจดั กระบวนการ เรียนการสอนทีเ่ ชญิ ผู้อาวโุ สมาสอน และการจัดกจิ กรรมเสริมที่หนนุ ให้ชาวบ้านมา มสี ่วนร่วม อย่างไรก็ตาม บรรยากาศเหล่านนี้ ่าจะแตกต่างจากกระบวนการเรียนรู้ โดยธรรมชาติท่ีไร้การจัดตั้ง การเรียนรู้ท่ีเป็นธรรมชาติในวิถีชีวิตท่ีเคยเป็นมา ในอดีตนนั้ เป็นการเรียนรู้แบบค่อยเป็นค่อยไป เป็นการเรียนรู้จากความเคยชิน (habitualization) ซ่ึงองค์ความรู้และค่านิยมทางสังคมจะค่อยๆ ซึมเข้าไปโดยท่ีตัว ผู้เรียนอาจไม่ทันตระหนกั อำ� นาจของวัฒนธรรมอยู่ตรงกระบวนการซึมซับโดยไม่ ตระหนกั นี้เอง งานวิจัยที่ผู้วิจัยตั้งใจจัดกิจกรรมฟื้นฟูต่างๆ ขึ้นมามักไม่ใส่ใจว่า กระบวนการเรยี นรทู้ างวฒั นธรรมทท่ี รงพลงั เปน็ กระบวนการเรยี นรแู้ บบไมต่ ระหนกั เสียมากกว่า นอกจากนนั้ ก็อาจไม่ตระหนกั อีกว่า กระบวนการจัดต้ังดังกล่าวนนั้ ก็ เป็นกระบวนการอ�ำนาจของการเลือกสรรที่อาจท�ำให้งานศิลปะบางอย่างถูกเลือก และคนบางกลมุ่ ถกู กำ� หนดเปน็ กลมุ่ เปา้ หมาย การจดั การสอนใหเ้ ปน็ กจิ กรรมพเิ ศษ เฉพาะกจิ ทำ� ใหเ้ กดิ ความเปน็ ทางการในระดบั หนงึ่ และการเนน้ ความรวู้ า่ เปน็ เรอ่ื งที่ จะถกู “ถา่ ยทอด” กท็ ำ� ใหก้ ระบวนการเรยี นรมู้ แี นวโนม้ ทอี่ าจเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี ว คอื การถา่ ยโอนจากผรู้ สู้ ผู่ เู้ รยี น ซงึ่ อาจลดทอนความสำ� คญั ของความรทู้ เ่ี กดิ จากการ ประดษิ ฐ์ด้วยตนเอง หรือการเปิดพื้นทีแ่ ก่การคดิ ให้ผิดแผกไปจากท่ไี ด้รบั ถ่ายทอด มา โดยสรปุ กค็ อื แมก้ ารวจิ ยั ลกั ษณะนจ้ี ะมเี จตนาดที จี่ ะใหเ้ กดิ การกระจายอ�ำนาจ ในการบรหิ ารการศกึ ษาซง่ึ เปน็ วธิ คี ดิ ทที่ า้ ทายการรวมศนู ยอ์ ำ� นาจ แตถ่ า้ หากไมร่ ะวงั ก็อาจแปรรูปไป เป็นการสร้างกระแสพลังอนุรกั ษ์นยิ มในระดบั จุลภาคขนึ้ มากไ็ ด้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook