Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

Description: หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รรายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยกรงุ เทพมหานคร สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนยิ ม รัฐบาลภายใต้การนาของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กาหนดนโยบาย เร่งด่วนตามที่แถลงต่อรัฐสภา เม่ือวันท่ี 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ที่กาหนดให้มีการช่วยเหลือ เกษตรกร และพัฒนานวัตกรรม เร่งศึกษาวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีการใช้กัญชา กัญชง และพืช สมุนไพรในทางการแพทย์ อุตสาหกรรมทางการแพทย์ และผลิตภัณฑ์อ่ืน ๆ เพ่ือสร้างโอกาสทาง เศรษฐกิจและการสร้างรายได้ของประชาชน โดยกาหนดกลไกการดาเนินงานท่ีรัดกุม เพื่อมิให้เกิด ผลกระทบทางสังคมตามที่กฎหมายบัญญัติไว้อย่างเคร่งครัด เพ่ือให้การดาเนินนโยบายของรัฐบาล ดังกล่าว เป็นไปตามนโยบายที่แถลงไว้ต่อรัฐสภา กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้มอบหมายให้สานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ร่วมกับโรงพยาบาลเจ้าพระยา อภัยภูเบศร และมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้า เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาเกี่ยวกับกัญชาและกัญชง โดยมีจดุ มงุ่ หมายให้เป็นหลักสูตรที่ให้ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติเกีย่ วกับกญั ชาและกัญชง ที่ถูกต้อง ให้แก่ผู้เรียนและประชาชนทั่วไป ดังปรากฏตามเน้ือหาสาระในเอกสารหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด เมื่อสถานศึกษานาหลักสูตรน้ีไป จดั การเรียนรู้ หรือเผยแพร่ในวงกว้าง จะก่อให้เกิดประโยชนต์ ่อการสรา้ งภูมิคุ้มกันทางสังคมใหผ้ ู้เรียน รวมทง้ั ประชาชนทั่วไป ไมใ่ ห้ใชก้ ญั ชาและกัญชงในทางท่ผี ิด ๆ ได้ และเมอ่ื มีภูมิคุ้มกนั ท่ดี ีดงั กล่าวแล้ว การปลูกกัญชาและกัญชงเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ และสร้างรายได้ของประชาชน ก็จะเป็นไป ดว้ ยความถูกต้อง และยั่งยืนต่อไป ขอขอบคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชง ศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ทุกท่าน ที่ได้ร่วมมือร่วมใจกันจัดทาหลักสูตรนี้ได้สาเร็จลุล่วง อยา่ งสมบูรณ์ เป็นประโยชน์ตอ่ สงั คมและประเทศชาตเิ ป็นอย่างดี (ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์) รฐั มนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนิยม เอกสารหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ฉบับนี้ เป็นเอกสารหลักสูตรท่มี ีเนื้อหาทันต่อกระแสการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก ทีม่ ีการศกึ ษาวิจัย เก่ียวกับการนาพืชกัญชาและพืชกัญชง มาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ และการสร้างผลิตภัณฑ์ที่เป็น ประโยชน์หลาย ๆ อย่าง เช่น สารสกัดในพืชกัญชาและพืชกัญชงท่ีสาคัญ คือ แคนนาบิไดออล (cannabidiol: CBD) สามารถนามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ได้ สว่ นเมล็ดกัญชง กส็ ามารถนามาใช้ เป็นประโยชน์ทางอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีผลการวิจัย พบว่า เมล็ดกัญชงมีโปรตีนสงู มากกว่าโปรตีน จากถ่ัวเหลือง จึงมีการวิจัยเพื่อแปรรูปเมล็ดกัญชงเป็นผลิตภัณฑ์ทดแทนถั่วเหลือง นอกจากนี้ยัง นาไปใชเ้ ป็นสว่ นประกอบของเครื่องสาอางอีกด้วย สว่ นต้นกญั ชงกใ็ หป้ รมิ าณเส้นใยที่มคี ณุ ภาพสูงและ แข็งแรง จึงเหมาะท่ีจะแปรรูปเป็นเชือก เยื่อกระดาษ และเสื้อผ้า เป็นต้น จะเห็นได้ว่าพืชกัญชา และ พืชกัญชง เป็นท้ังพืชยา และพืชท่ีสามารถนามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นประโยชน์ได้เป็นอันมาก ในขณะเดียวกันพืชกัญชาก็เป็นพืชท่ีมีสารเสพติดให้โทษอยู่ด้วย ซึ่งหากผู้ใช้ไม่มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพิษภัยของกัญชา ก็อาจมีอันตรายต่อชีวิตได้ เอกสารหลักสูตรฉบับน้ีได้บรรจุเนื้อหาท่ีเป็น ประโยชน์ตอ่ ผู้เรยี น ตลอดจนผสู้ นใจทัว่ ๆ ไป ไดเ้ รียนรเู้ ก่ยี วกบั พืชกัญชาและพชื กัญชงที่ถูกต้อง และ สามารถนาความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดี ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตของตนเอง ครอบครัว และสังคมโดยส่วนรวมได้ ขอขอบคุณ ดร.ปรเมศวร์ ศิริรัตน์ ผู้อานวยการสานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร และผู้มีส่วนร่วมพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชา และกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอยา่ งชาญฉลาด ทุกท่าน ท่ีได้รวมพลังกันจัดทาหลักสูตรรายวชิ าทเ่ี ป็น ประโยชน์อย่างย่ิงนี้ เพ่ือให้การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของประเทศ โดยรวมทันต่อการเปลี่ยนแปลงของกระแสการใช้พืชกัญชาและพืชกัญชง ซ่ึงผู้เรียนสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งต่อไป (ดร.ดศิ กลุ เกษมสวสั ด)ิ์ เลขาธกิ าร กศน.

คำนิยม กกกกกกกหลักสูตรกัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด เป็นหลักสูตรท่ีมีคุณค่า อย่างย่ิงต่อการเตรียมความพร้อมให้กับสังคมไทย เพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงของกฎหมาย ท่ีเปิดกว้าง ใหใ้ ชก้ ัญชาทางการแพทย์ได้ ผเู้ รียนทีศ่ กึ ษาหลกั สูตรนจ้ี ะมีความเข้าใจว่า เหตุใดต้องเรยี นรูก้ ญั ชาและ กัญชง กัญชาและกัญชงเป็นพืชยาท่ีมีทั้งประโยชน์และโทษ กฎหมายยังไม่อนุญาตให้ปลูกและใช้ กัญชาและกัญชงในชีวิตประจาวัน แต่กัญชาและกัญชงได้รับอนุญาตให้ใช้กับผู้ป่วย ในคลินิกกัญชา ของโรงพยาบาลท่ีได้รับอนุญาตให้รักษาโรคแผนปัจจุบัน และการแพทย์ทางเลือกเท่านั้น ผู้เรียนจึง ควรรู้เท่าทันและไม่ฝ่าฝืนกฎหมาย เน่ืองจากกัญชาและกัญชงยังเป็นยาเสพติดตามกฎหมาย การฝ่าฝืน กฎหมายโดยเฉพาะการปลูก การเสพ การครอบครอง หรือการจาหน่าย จะมีบทลงโทษผู้ท่ีกระทาผดิ นอกจากน้ีเม่ือเสพเป็นเวลาติดต่อกัน จะทาให้เสพติดกัญชาได้ ซ่ึงจะส่งผลเสียหายร้ายแรงท้ังต่อ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ตลอดจนประเทศชาติได้ หลักสูตรนี้จึงเป็นหลักสูตรที่สร้างภูมิคุ้มกัน และปัญญาให้กับผู้เรียน ท่ีสามารถนาความรู้ ทักษะ และเจตคติท่ีถูกต้อง ไปแนะนาให้กับบุคคล ในครอบครัว ชมุ ชน และสงั คมในวงกว้างได้เป็นอย่างดี กกกกกกกขอช่ืนชมคณะผู้จัดทาหลักสูตรน้ี ประกอบด้วยผู้บริหารและครู ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเขตคลองสามวา เขตจอมทอง เขตบางกอกใหญ่ เขตบางบอน เขตบางรัก เขตประเวศ และเขตราษฎร์บูรณะ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ท่ีมีความมุ่งมั่นต้ังใจจัดทาหลักสูตรด้วยความเพียรพยายามแสวงหา ข้อมูลสารสนเทศท่ีถูกต้อง นามาจัดทาหลักสูตรให้มีความสมบูรณ์ อันจะก่อประโยชน์ต่อการจัด การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ตลอดจนผสู้ นใจท่วั ไปไดเ้ ปน็ อย่างดี (รองศาสตราจารย์ ดร.พชั รี ศรสี งั ข์) (นายสงั คม โทปุรนิ ทร์) คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ผู้อานวยการสถานศกึ ษาเช่ียวชาญ ข้าราชการบานาญ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นการวจิ ยั และพัฒนาหลักสตู ร ขา้ ราชการบานาญ วิทยากรพัฒนาหลกั สูตร วทิ ยากรพัฒนาหลักสตู ร

คำนยิ ม กกกกกกกกัญชาและกัญชง เป็นพืชชนิดเดียวกัน แต่ต่างสายพันธุ์ท้ังสองชนิดให้สารออกฤทธ์ิทางยาใน กลุ่มเดียวกัน แต่มีสัดส่วนชนิดท่ีมีผลและไม่มีผลต่อจิตประสาทหรือที่ทาให้เมาต่างกัน กัญชาจะให้สารท่ี ทาให้เมาสูงกว่ากัญชง แต่อย่างไรก็ตาม ทั้งกัญชาและกัญชงสามารถผสมข้ามสายพันธุ์กันได้ ทาให้กัญชา และกัญชงแยกออกจากกันได้ยาก หลักสูตรน้ีจึงรวมเอากัญชากับกัญชงมาไว้ด้วยกัน นอกจากสาย พนั ธุ์แลว้ ทัง้ กญั ชาและกัญชงปรมิ าณและคณุ ภาพสารท่ีได้ขึ้นอยู่กบั สภาพแวดลอ้ ม กกกกกกกสังคมไทยมีการใช้กัญชามาอย่างยาวนานโดยใช้เป็นยา อาหาร สันทนาการ และใช้ในสัตว์ เลี้ยง จากกระแสโลกาภิวัตน์ท่ีปัจจุบันคนในสังคมโลกมีความนิยมใช้กัญชาประเทศไทยได้มีการ ศกึ ษาวจิ ัย และพัฒนากัญชา กัญชงเพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชนท์ างการแพทย์ ดังนั้นมีความจาเป็นท่ี คนไทยจะต้องมคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับโทษ และประโยชน์ รวมทั้งวิธีใช้กัญชาอยา่ งถูกต้อง จึงจะ เป็นประโยชน์อย่างแท้จริง จึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องเตรียมคนไทยให้มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับ กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้องเหมาะสมจึงจะสามารถสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสังคมไทยได้ เอกสาร หลักสูตรนี้ มีเนื้อหาที่ถูกต้องเกี่ยวกับกัญชาและกัญชงท่ีผู้เรียนและประขาขนที่สนใจท่ัวไป สามารถ ศึกษาเรียนรู้และนาไปใช้เป็นประโยชน์ในการดาเนินชีวิตได้ นับเป็นหลักสูตรท่ีมีคุณค่าต่อสังคมไทย เป็นอันมาก กกกกกกกขอช่ืนชมคณะผู้จัดทาหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด ท่ีมีความมุ่งม่ันตั้งใจจัดทาหลักสูตร ด้วยความวิริยะ อุตสาหะ จนได้เน้ือหาท่ีถูกต้อง อันจะก่อประโยชนต์ ่อสงั คม และประเทศชาติต่อไป (เภสัชกรหญิง ดร. สภุ าภรณ์ ปติ ิพร) เภสัชกรเชยี่ วชาญ หวั หน้ากลุ่มงานเภสัชกรรม ผู้ช่วยผอู้ านวยการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร (ดร.จรุ ัญญา อ่อนล้อม) ทป่ี รกึ ษามูลนิธิโรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภเู บศร ในพระอุปถัมภ์สมเดจ็ พระเจา้ ภคินีเธอเจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิรโิ สภาพัณณวดี

คำนำ กกกกกกกหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด จัดทาขึ้น เพื่อให้ความรู้ และทักษะท่ีถูกต้องในการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาตามท่ีกฎหมายได้กาหนดไว้ เป็น การสร้างภูมิคุ้มกัน และติดอาวุธทางปัญญาให้กับผูเ้ รียน กศน. ส่งผลให้ผู้เรียนได้ตระหนกั ถึงโทษของ กัญชาและกัญชงในฐานะสารเสพติด และสามารถใช้เป็นยาในการควบคุมอาการของโรคหรือบรรเทา อาการของโรคที่มีผลการศึกษาวจิ ัยรองรบั แล้วว่าสามารถใช้ได้ และเปน็ ไปตามทีก่ ระทรวงสาธารณสุข ประกาศไว้ กกกกกกกหลักสูตรรายวิชานี้สาเร็จลงได้ด้วยดีเน่ืองจากได้รับความร่วมมือในการจัดทาหลักสูตร จาก 3 หน่วยงานหลัก ได้แก่ (1) สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กรุงเทพมหานคร (2) โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร และ (3) มูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยา อภัยภูเบศร ในพระอุปถมั ภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินเี ธอเจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี กกกกกกกขอขอบคุณรองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ อาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยา คณะ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ข้าราชการบานาญ ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัยและพัฒนา หลักสูตร และนายสังคม โทปุรินทร์ ผู้อานวยการสถานศึกษาเช่ียวชาญ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 36 ข้าราชการบานาญ ผู้เช่ียวชาญดา้ นการบริหารสถานศึกษา ท่ีกรุณาเป็นวิทยากร ให้ความรู้ด้านการพัฒนาหลักสูตรและการบริหารหลักสูตร เภสัชกรหญิง ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร ประธานยุทธศาสตร์การแพทย์แผนไทยและสมุนไพร เภสัชกรเชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภเู บศร และ ดร.จุรัญญา อ่อนล้อม ที่ปรึกษามูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยา อภัยภูเบศรในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ท่ีกรุณา เป็นที่ปรึกษา และผู้บริหารและคณะครู ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต คลองสามวา เขตจอมทอง เขตบางกอกใหญ่ เขตบางบอน เขตบางรัก เขตประเวศ และเขตราษฎร์ บูรณะ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร เป็น คณะทางานจัดทาหลักสตู รด้วยความมุ่งม่ัน มานะ พยายาม และเสียสละ ทาให้หลักสตู รนีส้ าเร็จลงได้ โดยสมบูรณ์ (ดร.ปรเมศวร์ ศิรริ ตั น์) ผู้อานวยการสานกั งาน กศน.กทม.

ประกาศสานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกรงุ เทพมหานคร เรอื่ ง การใช้หลักสตู รรายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย __________________________________________ ตามที่ ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดให้ มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษารายวิชาเลือกเกี่ยวกับกัญชาและกัญชงขึ้น เพ่ือให้เป็นไปตามนโยบาย เร่งด่วน 12 เรื่องของรัฐบาลตามที่ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ข้อท่ี 4 มีใจความสาคัญกล่าวไว้ว่า “ให้มีการให้ความช่วยเหลือ เกษตรกร และพัฒนานวัตกรรม เร่งศึกษาวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีการใช้กัญชา กัญชง และพืช สมุนไพรในทางการแพทย์ อุตสาหกรรมทางการแพทย์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เพื่อสร้างโอกาสทาง เศรษฐกิจและการสร้างรายได้ของประชาชน โดยกาหนดกลไกการดาเนินงานที่รัดกุม เพ่ือมิให้เกิดผล กระทบทางสังคมตามท่ีกฎหมายบัญญัติไว้อย่างเคร่งครัด” ซึ่ง ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์ รัฐมนตรีช่วยวา่ การ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้มอบหมายใหส้ านกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กรุงเทพมหานคร ดาเนินการพัฒนาหลักสูตร โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ อาจารย์คณะ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าราชการบานาญ ผู้เช่ียวชาญด้านการวิจัยและพัฒนา หลักสูตร และนายสังคม โทปุรินทร์ ผู้อานวยการสถานศึกษาเช่ียวชาญ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 36 ข้าราชการบานาญ ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารสถานศึกษา เป็นวิทยากร และ เภสัชกรหญิง ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร ประธานยุทธศาสตร์การแพทย์แผนไทยและสมุนไพร เภสัชกร เช่ียวชาญ หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร และ ดร.จุรัญญา อ่อนล้อม ท่ีปรึกษามูลนิธิ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้า เพชรรัตนราชสุดา สริ โิ สภาพณั ณวดี เป็นทป่ี รกึ ษา โดยมีผูบ้ รหิ ารและคณะครูศนู ย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเขตคลองสามวา เขตจอมทอง เขตบางกอกใหญ่ เขตบางบอน เขตบางรัก เขตประเวศ และเขตราษฎรบ์ รู ณะ สังกดั สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กรุงเทพมหานคร เปน็ คณะทางานร่วมกนั ดาเนินการพฒั นาหลักสูตร บัดน้ี การพฒั นาหลักสูตรดงั กล่าว ไดเ้ สร็จส้นิ สมบูรณ์ ตลอดจนได้ผา่ นการตรวจสอบคุณภาพของหลักสตู รจากผทู้ รงคุณวฒุ แิ ลว้

ดังน้ัน เพ่ือให้การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นไปตามหลักสูตร ที่ได้พัฒนาข้ึนนี้ จึงให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยม ศึกษาตอนปลาย จัดการศึกษาให้กับผู้เรียนในสถานศึกษาสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ที่ลงทะเบียนเรียนตั้งแต่ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี 21 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562 (ดร.ปรเมศวร์ ศริ ิรตั น)์ ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน.กทม.

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา กกกกกกกตามท่ีศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตคลองสามวา สังกัด สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กรุงเทพมหานคร ไดพ้ ฒั นาหลกั สูตร รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายข้ึน เพอ่ื ใชจ้ ดั การศึกษาให้สอดคล้อง และทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท้ังในประเทศและต่างประเทศ และได้นาเสนอหลักสูตรดังกล่าวต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตคลองสามวา สังกัด สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร เพ่ือพิจารณาให้ ความเห็นชอบ กกกกกกกคณะกรรมการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตคลองสามวา สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้พิจารณา แล้วเห็นว่า หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ท่ีได้ มีการพัฒนาข้ึนนี้ มีเนื้อหาที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย ท้ังจะช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้เรียน ได้ใช้กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้อง จึงให้ความเห็นชอบ ให้นาไปใช้จัดการศึกษาได้ และขอให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชา และกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตคลองสามวา สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้ร่วมมือร่วมใจกันจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และ เกดิ ประสิทธิผล เพ่อื พฒั นาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพ บรรลุจุดมุง่ หมายของหลกั สูตรต่อไป ทงั้ นี้ ตั้งแตว่ นั ท่ี 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เปน็ ต้นไป (นายสวุ ทิ ย์ บญุ มา) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเขตคลองสามวา

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา กกกกกกกตามท่ีศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตจอมทอง สังกัดสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้พัฒนาหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพอ่ื ใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายข้ึน เพ่ือ ใช้จัดการศึกษาให้สอดคล้อง และทันต่อการเปลยี่ นแปลงของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทั้งในประเทศและต่างประเทศ และได้นาเสนอหลักสูตรดังกล่าวต่อคณะกรรมการ สถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตจอมทอง สังกัดสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กรงุ เทพมหานคร เพอื่ พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ กกกกกกกคณะกรรมการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตจอมทอง สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้พิจารณา แล้วเห็นว่า หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ท่ีได้ มีการพัฒนาขึ้นน้ี มีเน้ือหาท่ีสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย ท้ังจะช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้เรียน ได้ใช้กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้อง จึงให้ความเห็นชอบ ให้นาไปใช้จัดการศึกษาได้ และขอให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการใช้หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชา และกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตจอมทอง สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้ร่วมมือร่วมใจกันจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และ เกิดประสิทธผิ ล เพอื่ พฒั นาผู้เรยี นให้มคี ุณภาพ บรรลุจดุ มุ่งหมายของหลกั สตู รตอ่ ไป ท้ังนี้ ตงั้ แตว่ นั ท่ี 30 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป (นายมนตรี ตนั สงวน) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตเขตจอมทอง

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา กกกกกกกตามที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางกอกใหญ่ สังกัด สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กรุงเทพมหานคร ไดพ้ ฒั นาหลกั สูตร รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายขึน้ เพ่ือใช้จดั การศึกษาใหส้ อดคล้อง และทันต่อการเปลยี่ นแปลงของสังคม เศรษฐกจิ การเมือง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท้ังในประเทศและต่างประเทศ และได้นาเสนอหลักสูตรดังกล่าวต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางกอกใหญ่ สังกัด สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร เพื่อพิจารณาให้ ความเหน็ ชอบ กกกกกกกคณะกรรมการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตบางกอกใหญ่ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้พิจารณา แล้วเห็นว่า หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ที่ได้ มีการพัฒนาขึ้นนี้ มีเนื้อหาที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย ทั้งจะช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้เรียน ได้ใช้กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้อง จึงให้ความเห็นชอบ ให้นาไปใช้จัดการศึกษาได้ และขอให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการใช้หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชา และกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางกอกใหญ่ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้ร่วมมือร่วมใจกันจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และ เกิดประสิทธิผล เพื่อพฒั นาผเู้ รียนให้มีคุณภาพ บรรลุจดุ มุ่งหมายของหลักสูตรตอ่ ไป ทัง้ นี้ ตงั้ แตว่ นั ท่ี 30 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 เปน็ ตน้ ไป (นายพงษศ์ ักด์ิ เกิดเจรญิ ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเขตบางกอกใหญ่

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา กกกกกกกตามท่ีศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน สังกัดสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้พัฒนาหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่อื ใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายขึน้ เพ่ือ ใช้จัดการศึกษาให้สอดคล้อง และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทั้งในประเทศและต่างประเทศ และได้นาเสนอหลักสูตรดังกล่าวต่อคณะกรรมการ สถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน สังกัดสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรงุ เทพมหานคร เพ่ือพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ กกกกกกกคณะกรรมการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้พิจารณา แล้วเห็นว่า หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ที่ได้ มีการพัฒนาขึ้นน้ี มีเน้ือหาที่สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของยุคสมัย ทั้งจะช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้เรียน ได้ใช้กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้อง จึงให้ความเห็นชอบ ให้นาไปใช้จัดการศึกษาได้ และขอให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชา และกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้ร่วมมือร่วมใจกันจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และ เกิดประสิทธผิ ล เพอื่ พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีคุณภาพ บรรลุจุดมงุ่ หมายของหลกั สตู รตอ่ ไป ท้ังนี้ ตงั้ แตว่ นั ท่ี 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เปน็ ต้นไป (พระครูถาวรวหิ ารคุณ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เขตบางบอน

ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา กกกกกกกตามท่ีศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางรัก สังกัดสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้พัฒนาหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายขึน้ เพ่ือ ใช้จัดการศึกษาให้สอดคล้อง และทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทั้งในประเทศและต่างประเทศ และได้นาเสนอหลักสูตรดังกล่าวต่อคณะกรรมการ สถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางรัก สังกัดสานักงานส่งเสริม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กรุงเทพมหานคร เพื่อพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ กกกกกกกคณะกรรมการสถานศึกษาศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางรกั สังกัด สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้พิจารณาแล้ว เห็นว่า หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ที่ได้ มีการพัฒนาข้ึนน้ี มีเน้ือหาที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย ท้ังจะช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้เรียน ได้ใช้กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้อง จึงให้ความเห็นชอบ ให้นาไปใช้จัดการศึกษาได้ และขอให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชา และกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางรัก สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้ร่วมมือร่วมใจกันจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และ เกดิ ประสิทธผิ ล เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ บรรลุจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตรต่อไป ท้ังน้ี ตง้ั แต่วันท่ี 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เป็นตน้ ไป (พระมหา ดร.นพดล ปุญญสุวฑฒโก) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เขตบางรัก

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา กกกกกกกตามที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตประเวศ สังกัดสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้พัฒนาหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอ่ื ใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายขึ้น เพื่อ ใช้จัดการศึกษาให้สอดคลอ้ ง และทันต่อการเปลีย่ นแปลงของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท้ังในประเทศและต่างประเทศ และได้นาเสนอหลักสูตรดังกล่าวต่อคณะกรรมการ สถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตประเวศ สังกัดสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กรุงเทพมหานคร เพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบ กกกกกกกคณะกรรมการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตประเวศ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้พิจารณา แล้วเห็นว่า หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ท่ีได้ มีการพัฒนาขึ้นน้ี มีเนื้อหาที่สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของยุคสมัย ท้ังจะช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้เรียน ได้ใช้กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้อง จึงให้ความเห็นชอบ ให้นาไปใช้จัดการศึกษาได้ และขอให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชา และกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตประเวศ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้ร่วมมือร่วมใจกันจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และ เกิดประสิทธิผล เพ่อื พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีคุณภาพ บรรลุจุดมุ่งหมายของหลกั สูตรต่อไป ท้งั น้ี ตั้งแตว่ ันที่ 30 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป (นายเชดิ พงษ์ ลีลาอุดมลปิ ิ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เขตประเวศ

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา กกกกกกกตามที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตราษฎร์บูรณะ สังกัด สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กรงุ เทพมหานคร ได้พฒั นาหลักสตู ร รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายข้นึ เพือ่ ใชจ้ ัดการศึกษาใหส้ อดคล้อง และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท้ังในประเทศและต่างประเทศ และได้นาเสนอหลักสูตรดังกล่าวต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตราษฎร์บูรณะ สังกัด สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร เพื่อพิจารณาให้ ความเห็นชอบ กกกกกกกคณะกรรมการสถานศกึ ษาศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขตราษฎรบ์ รู ณะ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้พิจารณา แล้วเห็นว่า หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ท่ีได้ มีการพัฒนาขึ้นน้ี มีเน้ือหาที่สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของยุคสมัย ทั้งจะช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้เรียน ได้ใช้กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้อง จึงให้ความเห็นชอบ ให้นาไปใช้จัดการศึกษาได้ และขอให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชา และกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตราษฎร์บูรณะ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้ร่วมมือร่วมใจกันจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และ เกดิ ประสิทธผิ ล เพือ่ พัฒนาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพ บรรลุจดุ มุ่งหมายของหลักสตู รต่อไป ท้งั นี้ ต้ังแตว่ ันท่ี 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เป็นตน้ ไป (นายชาครี ผกู กระแส) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเขตราษฎร์บูรณะ

สารบญั หน้า ผงั มโนทัศน.์ ............................................................................................................................ ............... 1 คาอธิบายรายวชิ า.................................................................................................................................. 2 รายละเอียดคาอธิบายรายวชิ า............................................................................................................... 4 โครงสรา้ งหลักสูตร............................................................................................................................. ... 16 สรปุ สาระสาคัญ............................................................................................................................. . 16 ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวัง.................................................................................................................. 36 ขอบข่ายเน้ือหา.............................................................................................................................. 36 การจดั ประสบการณ์การเรียนร.ู้ ..................................................................................................... 37 สือ่ และแหล่งเรยี นรู้........................................................................................................................ 38 การวดั และประเมนิ ผล.................................................................................................................... 38 หวั เรอ่ื งท1่ี เหตใุ ดตอ้ งเรียนร้กู ัญชาและกัญชง................................................................................... 40 สาระสาคัญ............................................................................................................................. ........ 40 ตวั ชวี้ ดั ............................................................................................................................. ............... 42 ขอบข่ายเน้ือหา............................................................................................................................. . 43 รายละเอยี ดเน้ือหา......................................................................................................................... 43 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้...................................................................................................... 75 สื่อและแหลง่ เรยี นรู้........................................................................................................................ 76 การวัดและประเมนิ ผล.................................................................................................................... 80 หัวเร่ืองที่ 2 กัญชาและกญั ชงพชื ยาที่ควรรู้.......................................................................................... 81 สาระสาคญั ............................................................................................................................. ........ 81 ตัวชีว้ ัด............................................................................................................................. ............... 83 ขอบข่ายเน้ือหา.............................................................................................................................. 84 รายละเอียดเนื้อหา......................................................................................................................... 84 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้...................................................................................................... 111 สื่อและแหลง่ เรยี นรู้........................................................................................................................ 112 การวดั และประเมินผล.................................................................................................................... 113

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ หวั เรอ่ื งที่ 3 รู้จักโทษและประโยชนข์ องกัญชาและกญั ชง............................................................... 114 สาระสาคญั ............................................................................................................................. ... 114 ตัวชว้ี ดั ............................................................................................................................. .......... 115 ขอบข่ายเนือ้ หา.......................................................................................................................... 115 รายละเอยี ดเน้ือหา.................................................................................................................... 115 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้................................................................................................. 124 สอื่ และแหลง่ เรียนรู้................................................................................................................... 125 การวดั และประเมินผล............................................................................................................... 126 หวั เรอ่ื งที่ 4 กฎหมายทเ่ี ก่ียวข้องกบั กัญชาและกญั ชง..................................................................... 128 สาระสาคัญ................................................................................................................................ 128 ตวั ชีว้ ัด............................................................................................................................. .......... 135 ขอบข่ายเน้อื หา.......................................................................................................................... 135 รายละเอยี ดเนื้อหา.................................................................................................................... 135 การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้................................................................................................. 170 สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้................................................................................................................... 170 การวัดและประเมนิ ผล............................................................................................................... 172 หัวเรื่องท่ี 5 กัญชาและกญั ชงกบั การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก................................ 174 สาระสาคัญ................................................................................................................................ 174 ตวั ชว้ี ดั ............................................................................................................................. .......... 175 ขอบข่ายเนือ้ หา.......................................................................................................................... 175 รายละเอยี ดเนื้อหา.................................................................................................................... 176 การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้................................................................................................. 232 สื่อและแหล่งเรยี นรู้................................................................................................................... 232 การวัดและประเมินผล............................................................................................................... 234 หัวเรือ่ งท่ี 6 กญั ชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนปัจจุบนั ................................................................. 235 สาระสาคัญ............................................................................................................................. ... 235 ตวั ชว้ี ัด....................................................................................................................................... 238

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ ขอบข่ายเน้อื หา............................................................................................................................ 239 รายละเอียดเน้ือหา....................................................................................................................... 240 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้.................................................................................................... 260 สอื่ และแหล่งเรยี นรู้...................................................................................................................... 261 การวดั และประเมนิ ผล................................................................................................................. 262 หัวเร่ืองท่ี 7 ใชก้ ญั ชาและกัญชงเปน็ ยาอย่างรู้คณุ ค่าและชาญฉลาด................................................. 263 สาระสาคญั ............................................................................................................................. ..... 263 ตัวชว้ี ัด......................................................................................................................................... 266 ขอบข่ายเน้ือหา............................................................................................................................ 266 รายละเอียดเน้ือหา....................................................................................................................... 267 การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้.................................................................................................... 290 สือ่ และแหลง่ เรียนรู้...................................................................................................................... 290 การวัดและประเมนิ ผล................................................................................................................. 292 บรรณานกุ รม............................................................................................................................. ......... 293 ภาคผนวก........................................................................................................................................... 308 ก. ใบความรู้............................................................................................................................. .. 309 ข. ใบงาน............................................................................................................................. ....... 358 ค. เคร่ืองมือวัดความกา้ วหน้า..................................................................................................... 381 ง. เครื่องมือวดั ผลรวม................................................................................................................. 398 จ. คาส่งั แต่งตงั้ คณะกรรมการพฒั นาหลกั สตู ร........................................................................... 416 ฉ. ประกาศแต่งตงั้ วิทยากรการพัฒนาหลักสูตร.......................................................................... 421 ช. ประกาศแตง่ ต้ังทป่ี รกึ ษาการพฒั นาหลกั สูตร......................................................................... 423 ซ. นยิ ามศัพท.์ ............................................................................................................................ 425

สารบัญภาพ ภาพท่ี หน้า ภาพ 1 ผงั มโนทัศน์หลักสตู รรายวิชากัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ภาพ 1 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย................................................................................................... 1 ภาพ 2 ข่าวใช้นา้ มันกัญชา “หยอดแลว้ ตาย” ทางอินเทอร์เน็ต......................................................... 54 ภาพ 3 ข่าวหมอพนื บ้านกับราชกิจจานเุ บกษา ทรี่ บั รองหมอพืนบา้ น จาก Facebook………………… 55 ภาพ 4 ข่าวการระดมความคิดเตรียมปลูกกญั ชา จาก Line………………………………………………………. 56 ภาพ 5 ขา่ วที่เก่ียวข้องกับกัญชาทาง Youtube………………………………………………………………………. 57 ภาพ 6 โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร......................................................................................... 68 ภาพ 7 ป้ายช่ือโรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภเู บศร............................................................................. 68 ภาพ 8 ป้ายช่ือคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย.์ ........................................................................................ 68 ภาพ 9 แพทยผ์ ้เู ชย่ี วชาญ................................................................................................................... 69 ภา 10 แพทย์ใหค้ ้าปรกึ ษาคนไข้......................................................................................................... 69 ภา 11 คณะแพทย์และเภสัชกรผูใ้ ห้การรักษา.................................................................................... 69 ภา 12 ผปู้ ่วยทเี่ ข้ารับการรกั ษา.......................................................................................................... 69 ภา 13 ตัวอยา่ งหนังสือสา้ คัญ ผลติ ซึง่ ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5................................................ 70 ภา 14 ตัวอย่างหนงั สอื สา้ คัญ จา้ หนา่ ยซ่ึงยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5........................................... 71 ภา 15 ตา้ รับยากัญชาแผนปจั จุบัน ยาน้ามันหยดใตล้ ิน...................................................................... 72 ภา 16 ผลติ ภัณฑ์น้ามันกัญชา โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศร..................................................... 72 ภา 17 ขนั ตอนการใหบ้ ริการคลินกิ กญั ชา.......................................................................................... 74 ภา 18 พืชกญั ชา (Cannabis sativa L.)..... ……………………….........…………………………………............ 88 ภา 19 การจ้าแนกกัญชาออกเป็น 3 ชนิดยอ่ ย ตามถนิ่ กา้ เนิดและลกั ษณะทางกายภาพ.……………… 90 ภา 20 ภาพแสดงถนิ่ ก้าเนิด................................................................................................................ 93 ภา 21 ต้นตัวผู้.................................................................................................................................... 93 ภา 22 ตน้ ตัวเมยี ................................................................................................................................ 94 ภา 23 ตน้ กะเทย................................................................................................................................ 94 ภา 24 ช่อดอกของกญั ชาเพศเมยี เม่ือส่องด้วยกล้องขยายจะเห็นไทรโครมอยูบ่ นช่อดอก.................. 97 ภา 25 ภาพแสดงชีวะสังเคราะหข์ องสารคานาบินอยด์...................................................................... 98 ภา 26 ดอกกัญชาแห้ง........................................................................................................................ 103

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ภาพที่ หนา้ ภา 27 Crystalline……………………………………................................................................................ 104 ภา 28 Distillate……………………………………………………………….……………..………………………………. 104 ภา 29 Live Resin............……………………………………………………………..………………………………….. 104 ภา 30 Shatter……………………………...................………………………………………………………………….. 105 ภา 31 Budder……………………………...………………………………………………..……………………………….. 105 ภา 32 Snap……………………………….…………………………………………………..……………………………….. 105 ภา 33 Honeycomb……………….…………………………………………………………………..…………………… 106 ภา 34 Crumble……………….……………………………………………………………………..………………………. 106 ภา 35 Sap………………………………………………………………………………………………..…………………….. 106 ภา 36 PHO…………………………………………..……………………………………………………..………………….. 107 ภา 37 Hash oil…………………..…………………………………………………………………………………………… 107 ภา 38 Charas………………………………………………………………………………………………..………………… 107 ภา 39 อาหารท่ีมีส่วนผสมสารกัญชา.…………………………………………………………………..……………… 108 ภา 40 Hemp seed oil.................................................................................................................. 109 ภา 41 ความหมายของยาเสพติด………..………………………………………………………………………………. 136 ภา 42 พระราชบัญญัตวิ ตั ถุออกฤทธต์ิ ่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559.............................................. 138 ภา 43 ประเภทของวตั ถอุ อกฤทธ์ติ ่อจิตประสาท............................................................................. 139 ภา 44 กัญชายังคงเปน็ ยาเสพติด..................................................................................................... 140 ภา 45 ใครปลูกกัญชาไดบ้ า้ ง........................................................................................................... 142 ภา 46 ก้าหนดต้ารับกญั ชาท่ใี ห้เสพเพอ่ื รักษาโรคได้........................................................................ 144 ภา 47 ผู้ประกอบวิชาชีพแผนไทยท่ีสามารถปรุงหรือส่งั จ่ายต้ารบั ยาทม่ี กี ญั ชาผสมอยู่ได้............... 145 ภา 48 เงอื่ นไขการยกเลิก กัญชา และกญั ชง ออกจากยาเสพติดให้โทษในประเภท 5.................... 148 ภา 49 ลักษณะกญั ชง...................................................................................................................... 151 ภา 50 ความหมายของสทิ ธบิ ัตร...................................................................................................... 154 ภา 51 ความหมายของสทิ ธบิ ตั รการประดิษฐ์.................................................................................. 155 ภา 52 ขนั ตอนการด้าเนินการขอรบั สิทธิบัตร.................................................................................. 156 ภา 53 ตวั อย่างสทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐ์.............................................................................................. 157

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ภาพท่ี หน้า ภา 54 คา้ ขอสทิ ธิบัตรกัญชา ทกี่ รมทรัพยส์ นิ ทางปัญญายังไม่ยกเลกิ .............................................. 158 ภา 55 โทษของการโพสตภ์ าพ หรอื ข้อความ เพือ่ โฆษณายาเสพติด............................................... 159 ภา 56 นโยบายการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ แนวใหม่.......................................................................... 161 ภา 57 บทลงโทษการฝา่ ฝืนกฎหมายท่ีเก่ยี วข้องกบั กัญชา............................................................... 163 ภา 58 บิดเบอื นฉลากอาหาร ฉลากยา มีความผิด........................................................................... 164 ภา 59 ชุดตา้ ราภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยฉบบั อนรุ ักษไ์ ทยคมั ภีรธ์ าตพุ ระนารายณ์ ฉบับใบลาน (ตา้ ราพระโอสถพระนารายณ์).......................................................................... 178 ภา 60 ตา้ รับยาทอ่ี ยใู่ นแผน่ ศิลาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม....................................................... 183 ภา 61 จารึกตา้ รายา วัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร........................................................................ 188 ภา 62 จารกึ แผน่ สญู หาย แผ่นท่ี 4.................................................................................................. 189 ภา 63 ต้าราเวชศาสตรฉ์ บับหลวง รชั กาลที่ 5................................................................................. 190 ภา 64 คมั ภรี ป์ ฐมจนิ ดา................................................................................................................... 191 ภา 65 คัมภรี ม์ หาโชตรตั .................................................................................................................. 191 ภา 66 คัมภีรช์ วดาร......................................................................................................................... 192 ภา 67 คมั ภีร์กระษยั ........................................................................................................................ 192 ภา 68 กระทรวงสาธารณสุข............................................................................................................ 193 ภา 69 ตวั อย่างบรรจุภณั ฑ์ต้ารับยาศขุ ไสยาศน์............................................................................... 220 ภา 70 ต้ารบั ยาแผนไทยท่ีมีกัญชาเป็นส่วนผสม จา้ นวน 16 ตา้ รบั (ภาพที่ 1)................................ 221 ภา 71 ต้ารับยาแผนไทยท่ีมีกญั ชาเป็นสว่ นผสม จ้านวน 16 ตา้ รบั (ภาพที่ 2)................................ 221 ภา 72 ภมู ภิ เู บศร............................................................................................................................. 223 ภา 73 เรอื นหมอพลอย ภมู ิภูเบศร.................................................................................................. 223 ภา 74 สวนสมุนไพรและภมู ิปญั ญาสุขภาพ สรา้ งความรอบร้สู ุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย............... 224 ภา 75 สมุนไพรและภูมิปัญญาสุขภาพ สรา้ งความรอบรู้สุขภาพดว้ ยแพทยแ์ ผนไทย....................... 225 ภา 76 โครงการปลูกกญั ชาเพอ่ื ใช้ประโยชนท์ างการแพทย์โดยระบบปดิ ......................................... 229 ภา 77 ภูมิปญั ญานายเดชา ศริ ภิ ัทร................................................................................................. 230 ภา 78 ตัวอย่างกลอ่ งน้ามนั กัญชา โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร............................................ 250 ภา 79 นา้ มันกัญชาทัง 3 สตู รขององค์การเภสชั กรรม..................................................................... 250

สารบัญภาพ (ตอ่ ) ภาพที่ หนา้ ภา 80 โดรนาบินอล (Dronabonol)............................................................................................... 253 ภา 81 นาบโิ ลน (Nabilone)……………………............................................………………………............. 253 ภา 82 ซาตเิ วกซ์ (Satavex)……………………………………..........…………………………………………………. 254 ภา 83 เอพิดิโอเล็กซ์ (epidiolex)………………………......………………………………………………………..… 254 ภา 84 น้ามนั กญั ชาในรูปแบบคุกกีสา้ หรบั สุนขั …………………………………………………………………..… 256 ภา 85 น้ามันกญั ชาส้าหรับรักษาสตั ว์.............................................................................................. 256 ภา 86 เลน่ โซเซียลเนต็ เวิรกใ์ หป้ ลอดภัย “รู้” ไวเ้ ลยี่ งอนั ตราย........................................................ 312 ภา 87 สาเหตทุ ีไ่ ม่ควรใหล้ กู ตดิ สื่อออนไลน์…………………………........................................................ 312 ภา 88 ใบพืชกญั ชา……………………………………………….…………........................................................ 318 ภา 89 ใบพืชกัญชง……………………………………………….…………........................................................ 318 ภา 90 แหลง่ กา้ เนิดพชื กัญชาและพืชกญั ชง…………………………………………….................................. 319 ภา 91 ตน้ กญั ชา……………………………………………............................................................................ 319 ภา 92 ต้นกญั ชง……………………………………………............................................................................ 319 ภา 93 รายละเอียดพชื กัญชาและพชื กัญชง……………………………….................................................. 321 ภา 94 เพศของกัญชา………………………………................................................................................... 323 ภา 95 ภาพแสดงชวี ะสงั เคราะหส์ าร THC สาร CBD และภาพครง่ึ ใบของพืชกญั ชาและกัญชง…… 323

1. เหตใุ ดต้องเรียนรู้กัญชาและ กัญชง (10 ชวั่ โมง) 7. ใชก้ ัญชาและกัญชงเปน็ ยา วชิ ากญั ชาและก อย่างรคู้ ุณค่า และชาญฉลาด เพื่อใช้เปน็ ยาอยา่ (20 ช่ัวโมง) จานวน 120 6. กัญชาและกัญชง 5. กญั ชากับการแ กับการแพทย์แผนปจั จุบนั (25 ช่ัวโ (20 ชัว่ โมง) ภาพที่ 1 ผังมโนทัศน์ หลกั สตู รรายวิชากัญชาและกัญชงศึกษา เพ

2. กัญชาและกญั ชงพืชยา ท่ีควรรู้ (15 ช่วั โมง) กัญชงศกึ ษา 3. รู้จักโทษและประโยชน์ างชาญฉลาด ของกญั ชาและกญั ชง 0 ชวั่ โมง (15 ชว่ั โมง) แพทย์ทางเลือก 4. กฎหมายท่ีเก่ยี วข้องกับกัญชา โมง) และกัญชง (15 ช่ัวโมง) พื่อใชเ้ ปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1

2 คำอธิบำยรำยวิชำ ทช33098 กญั ชำและกญั ชงศึกษำ เพือ่ ใช้เปน็ ยำอยำ่ งชำญฉลำด จำนวน 3 หน่วยกติ ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดับ กกกกกกกรู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติท่ีดี มีทักษะในการดูแล และสร้างเสริมการมี พฤติกรรมสุขภาพท่ีดี ปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดารงสุขภาพของตนเอง และ ครอบครัว ตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมด้านสุขภาพพลานามัย และพัฒนา สภาพแวดล้อมท่ดี ี ศกึ ษำและฝกึ ทกั ษะ กกกกกกกเหตุใดต้องเรียนรู้กัญชาและกัญชง กัญชาและกัญชงพืชยาท่ีควรรู้ รู้จักโทษและประโยชน์ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง กัญชากับการแพทย์ทางเลือก และแพทย์แผนปัจจุบัน และ ใช้กญั ชาและกญั ชงเป็นยาอยา่ งร้คู ณุ ค่าและชาญฉลาด กกกกกกกเพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะชีวิตในการเรยี นรู้กัญชาและกัญชง ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด ตระหนกั ถึงโทษและประโยชน์ของกญั ชาและกญั ชง ตลอดจนสามารถนาความรู้ และ ทักษะชีวิตท่ีได้ไปแนะนาบุคคลในครอบครัว หรือเพ่ือน หรือชุมชน ในการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยา ในการรกั ษาหรอื ควบคมุ อาการได้อย่างเหมาะสม กำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้ กกกกกกกบรรยายสรุป กาหนดประเด็นศึกษาค้นคว้าร่วมกัน ศึกษาค้นคว้าจากสื่อที่หลากหลาย บันทึกผลการศกึ ษาคน้ คว้าที่ได้ลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) และนามาพบกลมุ่ อภปิ ราย คิดแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ข้อมูลท่ีได้ กับเพอ่ื นผูเ้ รยี นและครูผูส้ อนคดิ สรุปการเรียนรู้ท่ีได้ใหม่ร่วมกัน บันทึก ลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) นาข้อสรุปการเรียนรู้ท่ีได้ใหม่มาฝึกปฏิบัติด้วยการทา แบบฝึกหัด และกิจกรรมตามท่ีมอบหมาย จัดทารายงานการศึกษาการนากัญชาไปใช้ทางการแพทย์ ทางเลือก และรายงานการศึกษาการนากัญชาและกัญชงไปใช้ทางการแพทย์แผนปัจจุบันตามที่สนใจ นาเสนอผลการศกึ ษาต่อเพ่ือนผเู้ รียนและครผู ู้สอน ตลอดจนบนั ทกึ ผลการเรียนรู้ที่ได้จากการฝึกปฏิบัติ ลงในเอกสารการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.)

3 กำรวดั และประเมนิ ผล กกกกกกกประเมินความก้าวหน้า ด้วยวิธีการสังเกต การซักถาม ตอบคาถาม การตรวจเอกสาร การเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) การตรวจรายงานการศึกษาการนากัญชาไปใช้ทางการแพทย์ทางเลือก และรายงานการศึกษาการนากญั ชาและกญั ชงไปใชท้ างการแพทย์แผนปัจจบุ ัน นาเสนอ และประเมนิ ผลรวม ด้วยวธิ กี าร ใหต้ อบแบบทดสอบวัดความรู้ ตอบแบบสอบถามวัดทักษะ และตอบแบบสอบถามวดั เจตคติ

4 รายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพอ่ื ใช้เป็นยาอยา่ งชาญฉลาด จานวน 3 หนว่ ยกติ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ กกกกกกกรู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติท่ีดี มีทักษะในการดูแล และสร้างเสริมการมี พฤติกรรมสุขภาพท่ีดี ปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดารงสุขภาพของตนเอง และ ครอบครัว ตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมด้านสุขภาพพลานามัย และพัฒนา สภาพแวดล้อมทดี่ ี ที่ หัวเรือ่ ง ตัวชวี้ ดั เน้ือหา จานวน (ชั่วโมง) 1 เหตใุ ดต้องเรียนรู้ 1. บอกมมุ มองกฎหมาย 1. มุมมองกฎหมายการใช้ 10 กญั ชาและกัญชง การใชก้ ญั ชาและกญั ชง กญั ชาและกญั ชงในประเทศไทย ในประเทศ และ และตา่ งประเทศ ต่างประเทศได้ 2. บอกมมุ มองการใช้ 2. มมุ มองการใช้กญั ชาและ กัญชาและกญั ชง กญั ชงของประชาชนท่ัวไป ของประชาชนทัว่ ไปได้ 3. วเิ คราะห์หลกั การของ 3. สภาพการณ์ข้อมลู ที่ ขอ้ มูลที่เก่ียวข้อง เก่ยี วข้องกับกัญชาและกัญชง กบั กญั ชาและกญั ชง ผ่านสื่อออนไลน์ ผา่ นสอ่ื ออนไลน์แตล่ ะ 3.1 Internet ประเภทได้ 3.2 Facebook 3.3 Line 3.4 YouTube 4. อธิบายสภาพการณ์ 4. สภาพการณ์การใช้กัญชา การใช้กัญชาและกญั ชง และกญั ชงในตา่ งประเทศ ในต่างประเทศได้

5 ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ช้ีวดั เนอื้ หา จานวน (ชั่วโมง) 5. อธิบายสภาพการณ์ 5. สภาพการณก์ ารใช้กญั ชา 15 การใชก้ ญั ชาและกญั ชง และกัญชงในประเทศไทย ในประเทศไทยได้ 6. บอกมุมมองการใช้ 6. มุมมองการใชก้ ญั ชาและ กัญชาและกัญชงของ กญั ชงของบคุ ลากร บุคลากรทางการแพทย์ได้ ทางการแพทย์ 7. บอกมมุ มองการใช้ 7. มุมมองการใชก้ ญั ชาและ กัญชาและกัญชง กญั ชงของผปู้ ว่ ย ของผู้ปว่ ยได้ 8. อธบิ ายสภาพการณ์ 8. สภาพการณ์และขัน้ ตอน และขน้ั ตอนการให้บริการ การใหบ้ ริการคลนิ กิ กัญชา คลนิ กิ กัญชา ในประเทศไทย ในประเทศไทยได้ 9. ตระหนักถงึ มุมมอง ทกุ มิติทเี่ ก่ยี วข้องกับ กญั ชาและกัญชง รวมทั้ง สภาพการณ์การใช้กญั ชา และกัญชง ในต่างประเทศ และประเทศไทย 2 กัญชาและกญั ชง 1. บอกประวัติ 1. ประวตั ิความเป็นมา พืชยาที่ควรรู้ ความเปน็ มาของพชื กญั ชา ของพชื กัญชาและกญั ชง และกญั ชงได้ 2. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ 2. ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ยี วกบั เก่ยี วกับพืชกัญชาและ พชื กญั ชาและกญั ชง กัญชงได้ 2.1 พฤกษศาสตรข์ อง พชื กัญชาและกญั ชง 2.2 ชนิด (species) ของกัญชาและกัญชง

6 ที่ หวั เรอื่ ง ตวั ชวี้ ัด เน้ือหา จานวน (ช่ัวโมง) 2.3 องค์ประกอบทางเคมี และสารสาคญั ท่ีพบในพชื กัญชา และกัญชง 2.3.1 องคป์ ระกอบ ทางเคมีท่ีพบในพชื กัญชาและ กัญชง 2.3.2 สารสาคัญที่พบ ในพชื กญั ชาและกัญชง 1) สาร CBG 2) สาร THC 3) สาร CBD 4) สาร ออกฤทธิท์ ี่รว่ มกบั แคนนาบนิ อยด์ 3. วเิ คราะหค์ วามแตกต่าง 3. พชื กญั ชาและกัญชง และความสัมพันธ์ระหว่าง คืออะไร แตกต่างกันอย่างไร พชื กัญชาและกัญชงได้ 4. บอกการใช้พชื กัญชา 4. การใช้พชื กัญชาและกัญชง และกัญชงใน ในชวี ติ ประจาวนั ของคนในโลก ชวี ติ ประจาวนั ของคนใน 4.1 ผลติ ภัณฑพ์ ชื กญั ชา โลกได้ และกัญชงไมแ่ ปรรูป 5. ตระหนกั ถึงคณุ ค่า 4.2 ผลิตภณั ฑพ์ ชื กญั ชา กัญชาและกัญชงพืชยาที่ และกัญชงแปรรูป ควรรู้ 4.3 การบริโภค และอุปโภค 4.3.1 ผลติ ภัณฑ์ เพื่อการบรโิ ภค 4.3.2 ผลิตภณั ฑ์ เพอ่ื ความงาม และสุขภาพ

7 ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ช้วี ดั เนือ้ หา จานวน (ชั่วโมง) 3 รู้จักโทษและ ประโยชน์ 4.3.3 ผลติ ภณั ฑ์ ของกัญชา และกญั ชง เพื่อการอปุ โภค 4 กฎหมาย 4.4 การนันทนาการ ท่ีเกีย่ วข้อง กับกญั ชาและ 1. อธบิ ายโทษ 1. โทษของกัญชาและกัญชง 15 กญั ชง ของกญั ชาและกญั ชง 1.1 ผลกระทบต่อร่างกาย ต่อร่างกาย จิตใจ และผลขา้ งเคียง ครอบครัว ชุมชน สงั คม 1.2 ผลกระทบต่อจิตใจ และประเทศชาติได้ 1.3 ผลกระทบต่อ 2. บอกผลข้างเคยี งจาก ครอบครัว ชุมชน และสงั คม การใช้กัญชาและกญั ชงได้ 1.4 ผลกระทบต่อ ประเทศชาติ 3. อธบิ ายประโยชน์ของ 2. ประโยชนข์ องกญั ชา กัญชาและกญั ชงทาง และกัญชง ทางการแพทย์ การแพทย์ได้ 4. วเิ คราะห์ความสาคัญ และหลกั การของโทษ และประโยชนข์ องกัญชา และกัญชงตาม กรณีศึกษาทีก่ าหนดได้ 5. ตระหนักถึงโทษและ ประโยชนข์ องกญั ชา และกญั ชง 1. บอกกฎหมาย 1. พระราชบัญญตั ิยาเสพติด 15 ทเี่ ก่ยี วข้องกบั กญั ชาและ ให้โทษ พ.ศ. 2522 กญั ชงได้ 2. พระราชบัญญตั ิวัตถุออกฤทธิ์ 2. อธบิ ายสาระทส่ี าคญั ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 ของกฎหมายทเี่ ก่ยี วข้อง 3. พระราชบญั ญตั ิยาเสพติด กับกญั ชาและกญั ชงได้ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562

8 ที่ หวั เรอื่ ง ตัวชี้วดั เน้อื หา จานวน (ช่ัวโมง) 4. ประกาศกระทรวง สาธารณสุขท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชา และกัญชง 5. ประกาศคณะกรรมการ ควบคมุ ยาเสพตดิ ให้โทษ 6. พระราชบญั ญตั สิ ิทธิบัตร กับกัญชาและกญั ชง 3. สามารถบอก 7. ข้อปฏบิ ัตทิ ตี่ ้องทาตาม ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ี่ต้องทาตาม กฎหมายทเี่ กี่ยวข้องกบั กัญชา กฎหมายที่เกี่ยวข้องกบั และกัญชง กัญชาและกญั ชงได้ 4. วเิ คราะห์หลกั การ 8. โทษของการฝา่ ฝืนกฎหมาย เก่ยี วกับโทษของการ ที่เกีย่ วข้องกบั กญั ชาและกญั ชง ฝ่าฝืนกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง กับกัญชาและกัญชง ตามกรณีศึกษาที่กาหนด ได้ 9. กฎหมายระหว่างประเทศ 5. บอกกฎหมาย เก่ียวกับกัญชาและกัญชง ระหว่างประเทศ ทเี่ กี่ยวกบั กญั ชา และกัญชงได้ 6. ตระหนกั ถงึ โทษ ของการฝ่าฝืนกฎหมาย ทเ่ี กีย่ วข้องกับกัญชา และกญั ชง

9 ท่ี หวั เรอ่ื ง ตวั ช้วี ัด เน้ือหา จานวน (ช่ัวโมง) 5 กญั ชากบั 1. บอกประวัติ 1. ประวัติความเป็นมาการใช้ การแพทย์ กัญชาเป็นยาทางการแพทย์ 25 ทางเลือก ความเปน็ มาการใช้ ในต่างประเทศ กัญชาเปน็ ยาทาง การแพทย์ใน 2. ประวตั ิความเป็นมาการใช้ ต่างประเทศได้ กัญชาในการแพทย์ทางเลือก 2. บอกประวตั ิ ของไทย ความเป็นมาการใช้ กัญชาในการแพทย์ 3. ตารบั ยาที่มีกัญชา ทางเลือกของไทยได้ เปน็ สว่ นประกอบทไ่ี ด้มีการ 3. วเิ คราะห์ คัดเลอื กและมีการรบั รองโดย ความสมั พนั ธ์ และ กระทรวงสาธารณสุข หลักการในตารบั ยาท่ีมี กัญชาเปน็ ส่วนประกอบ 3.1 ยาอัคคนิ วี คณะ ทีไ่ ด้มีการคัดเลือกและ 3.2 ยาศุขไสยาศน์ รับรองโดยกระทรวง 3.3 ยาแกล้ มเนาวนารีวาโย สาธารณสขุ 3.4 ยาน้ามนั สนั่นไตรภพ ตามกรณีศกึ ษา ทกี่ าหนด 3.5 ยาแกล้ มข้นึ เบ้อื งสูง ให้ได้ 3.6 ยาไฟอาวธุ 4. อธิบายการนาตารับ 3.7 ยาแกน้ อนไม่หลับ ยาท่มี กี ัญชาเป็น หรอื ยาแกไ้ ขผ้ อมเหลือง ส่วนประกอบทไี่ ด้มกี าร 3.8 ยาแกส้ ณั ฑฆาต คดั เลอื กและรบั รองโดย กล่อนแห้ง กระทรวงสาธารณสุขไป 3.9 ยาอมั ฤตย์โอสถ ใช้ในโรคทสี่ นใจศกึ ษาได้ 3.10 ยาอไภยสาลี 5. ตระหนักถงึ คณุ ค่า 3.11 ยาแก้ลมแกเ้ สน้ ของตารบั ยาท่ีมีกัญชา 3.12 ยาแก้โรคจิต เป็นสว่ นประกอบ 3.13 ยาไพสาลี

10 ที่ หวั เร่ือง ตัวชี้วัด เน้อื หา จานวน (ชั่วโมง) 3.14 ยาทารดิ สดี วง ทวารหนัก และโรคผวิ หนงั 3.15 ยาทาลายพระสุเมรุ 3.16 ยาทัพยาธิคณุ 6. อธิบายข้อมูล 4. ภมู ภิ เู บศรรวบรวมและ ทีเ่ กยี่ วข้องกับภมู ภิ ูเบศร เผยแพรภ่ มู ิปัญญาไทย รวบรวมและเผยแพร่ ภูมิปัญญาไทยได้ 7. บอกข้อมลู 5. ภมู ิปัญญาหมอพน้ื บา้ น ท่เี ก่ยี วข้องกบั ภมู ปิ ัญญา นายเดชา ศิรภิ ทั ร หมอพน้ื บา้ น นายเดชา ศริ ิภัทร ได้ 8. ตระหนักถึงคุณค่า ความสาคัญ ของ ภมู ิปญั ญาภมู ภิ เู บศร รวบรวมและเผยแพร่ ภมู ปิ ัญญาไทย และ ตระหนักถึงภูมิปญั ญา หมอพ้นื บ้าน นายเดชา ศิริภทั ร กบั การใชก้ ญั ชาเปน็ ยา 6 กญั ชาและกัญชง 1. บอกประวัติการใช้ 1. ประวัติการใชก้ ัญชา และ 20 กับการแพทย์ กญั ชาและกัญชง กัญชง ทางการแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั แผนปัจจุบัน ทางการแพทย์แผน 1.1 ตา่ งประเทศ ปจั จุบนั ทั้งในต่างประเทศ 1.2 ประเทศไทย และประเทศไทยได้

11 ท่ี หัวเร่ือง ตัวชวี้ ดั เนอ้ื หา จานวน (ช่ัวโมง) 2. บอกการใช้กญั ชา 2. กัญชาและกัญชงท่ชี ่วย และกญั ชงทช่ี ว่ ยบรรเทา บรรเทาโรคแผนปจั จบุ นั โรคพารก์ ินสัน มะเรง็ 2.1 กญั ชาและกัญชง ลดอาการปวด ลมชกั กับโรคพาร์กนิ สนั ผิวหนงั และโรคตอ้ หินได้ 2.2 กัญชาและกญั ชง 3. ประยุกต์ใชค้ วามรู้ กบั โรคมะเร็ง กัญชาและกญั ชงท่ชี ว่ ย 2.3 กัญชาและกัญชง บรรเทาโรคแผนปจั จุบนั กับการลดอาการปวด ศกึ ษาโรคที่สนใจได้ 2.4 กญั ชาและกัญชง กบั โรคลมชัก 2.5 กัญชาและกญั ชง กับโรคผวิ หนงั 2.6 กญั ชาและกญั ชง กับโรคต้อหิน 4. วิเคราะห์หลกั การใช้ 3. การใชน้ ้ามันกัญชาและกัญชง นา้ มนั กัญชาและกัญชง กับการแพทย์แผนปจั จุบนั กับการแพทย์แผน 3.1 น้ามันกัญชาคืออะไร ปัจจบุ นั ตามกรณีศึกษา 3.2 ลกั ษณะของ ทีก่ าหนดให้ได้ น้ามนั กญั ชา 3.3 สูตรของนา้ มันกญั ชา 3.4 วธิ ีการสกัดน้ามนั กญั ชา 3.5 วธิ กี ารใชน้ า้ มนั กญั ชา 5. อธิบายผลิตภัณฑ์ 4. ผลติ ภัณฑก์ ญั ชาและกัญชง กญั ชาและกญั ชง ทางการแพทย์ ทางการแพทย์ได้ 4.1 ผลติ ภัณฑ์ THC สงั เคราะห์ (Synthetic THC) 4.1.1 ยาโดรนาบินอล (Dronabinol)

12 ท่ี หัวเร่ือง ตวั ช้ีวัด เน้ือหา จานวน (ช่ัวโมง) 4.1.2 นาบโิ ลน (Nabilone) 4.2 ผลติ ภณั ฑ์สารสกัด แคนนาบินอยด์จากธรรมชาติ (Natural Purified Cannabinoid) 4.3 ผลติ ภัณฑ์สารสกัด CBD 4.4 ผลติ ภัณฑส์ าหรบั สตั ว์ 6. บอกวิธีการใช้ 5. การใชผ้ ลติ ภณั ฑ์กญั ชาและ ผลิตภัณฑ์กัญชาและ กัญชง ใหไ้ ด้ประโยชน์ กัญชง ให้ได้ประโยชน์ ทางการแพทย์ในปัจจบุ ัน ทางการแพทย์ในปัจจุบัน 5.1 ภาวะคลนื่ ไสอ้ าเจยี น ได้ จากเคมบี าบดั 5.2 โรคลมชักที่รกั ษายาก และโรคลมชกั ที่ด้ือต่อยารักษา 5.3 ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผ้ปู ว่ ยโรคปลอกประสาท เส่ือมแข็ง 5.4 ภาวะปวดประสาท 7. บอกวธิ ีการใช้ 6. การใชผ้ ลติ ภณั ฑ์กญั ชาและ ผลิตภณั ฑก์ ัญชาและ กัญชงทางการแพทยน์ ่าจะได้ กญั ชงทางการแพทย์ ประโยชน์ในการควบคุมอาการ นา่ จะได้ประโยชน์ในการ ควบคุมอาการได้

13 ที่ หัวเรือ่ ง ตัวชวี้ ดั เนอ้ื หา จานวน (ช่ัวโมง) 8. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการ นากัญชาและกัญชง ไปใช้รักษาโรค และ ลดอาการปวด ในการแพทย์แผนปัจจุบนั 7 ใช้กญั ชาและ 1. บอกความเชื่อและ 1. ความเช่ือและความจริง กัญชงเป็นยา ความจรงิ เกี่ยวกบั กญั ชา เกีย่ วกบั กญั ชาและกัญชง อย่างรู้คุณค่าและ และกัญชงทางการแพทย์ ทางการแพทย์ ชาญฉลาด ได้ 1.1 ความเช่อื เกย่ี วกบั กัญชาและกญั ชงทางการแพทย์ 1.2 ความจริงเกี่ยวกบั กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ 2. บอกวธิ ีการใช้ 2. การใชผ้ ลติ ภณั ฑ์กญั ชาและ ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและ กัญชงทางการแพทยใ์ นอนาคต กญั ชงทางการแพทย์ ใน ให้ไดป้ ระโยชน์ อนาคตให้ไดป้ ระโยชน์ได้ 3. บอกข้อแนะนาก่อน 3. ขอ้ แนะนาก่อนตดั สนิ ใจ ตดั สินใจใชผ้ ลิตภัณฑ์ ใช้ผลิตภัณฑก์ ญั ชาและกญั ชง กญั ชาและกญั ชง ทางการแพทย์ ทางการแพทย์ได้ 4. บอกวิธกี าร 4. การวางแผนการรักษาด้วย วางแผนการรักษาดว้ ย ผลิตภณั ฑก์ ญั ชาและกัญชง ผลติ ภณั ฑก์ ัญชาและ กญั ชงได้ 5. การเรม่ิ ใชผ้ ลติ ภัณฑ์กัญชา 5. อธบิ ายวิธกี ารเรม่ิ ใช้ และกัญชงในทางการแพทย์ ผลติ ภณั ฑก์ ญั ชาและ กญั ชงในทางการแพทยไ์ ด้

14 ท่ี หัวเร่ือง ตัวช้วี ดั เน้อื หา จานวน (ชั่วโมง) 6. บอกข้อหา้ มใช้ 6. ขอ้ ห้ามใช้ผลิตภณั ฑ์ ผลติ ภัณฑ์ท่มี สี าร THC ทีม่ ีสาร THC และ CBD และ CBD เป็น เปน็ ส่วนประกอบ ส่วนประกอบได้ 7. วเิ คราะห์ 7. ข้อควรระวังเก่ยี วกบั การใช้ ความสมั พันธ์ และ ผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกญั ชง หลักการใชก้ ัญชาและ 7.1 ขอ้ ควรระวัง กัญชงเปน็ ยาอย่างรู้ ทางการแพทย์ คณุ ค่าและชาญฉลาดได้ 7.2 ขนาดของกัญชาและ 8. ให้คณุ คา่ หลักธรรม กญั ชงท่ใี ชใ้ นทางการแพทย์ นาชวี ิต พน้ พิษภัยจาก 7.2.1 ขนาดยากัญชา กญั ชาและกญั ชงได้ และกัญชงท่ีเหมาะสม 7.2.2 ปัจจยั ทมี่ ีผลต่อ ขนาดกัญชาและกัญชง ทีเ่ หมาะสม 7.2.3 คาแนะนา การใช้ขนาดของน้ามันกัญชา และกัญชง 7.3 หา้ มใชน้ า้ มนั กัญชา และกัญชงทาบหุ รี่ 7.4 สารตกค้างจาก การสกัดน้ามันกญั ชาและกัญชง 7.5 ความปลอดภัย ของน้ามนั กญั ชาและกัญชง 7.6 สายพันธุ์กญั ชาและ กัญชงเหมาะกับบางโรค 7.7 หลกั ธรรมนาชวี ติ พ้นพิษภัยจากกัญชาและกัญชง

15 ท่ี หัวเร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนอื้ หา จานวน (ชั่วโมง) 9. บอกข้อห้ามในการ 8. ขอ้ ห้ามในการใช้กัญชาและ ใช้กัญชาและกัญชงได้ กัญชง 10. บอกวธิ กี ารถอนพิษ 9. การถอนพิษเบ้ืองต้น เบอื้ งตน้ จากการเมา จากการเมากญั ชาและกญั ชง กัญชาและกญั ชงได้ 11. สามารถนาความรู้ ทไี่ ด้จากการศึกษา การใช้กัญชาและกัญชง เป็นยาไปแนะนาบุคคล ในครอบครวั หรือเพื่อน หรือชมุ ชนได้ 12. ตระหนักถงึ คุณคา่ ของการนากัญชาและ กัญชงไปใช้เปน็ ยา

16 โครงสร้างหลักสตู ร รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด กกกกกกกโครงสร้างหลักสูตรรายวิชา ทช 33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่าง ชาญฉลาด ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 120 ช่ัวโมง จานวน 3 หน่วยกิต มโี ครงสรา้ งหลักสูตร ดงั นี้กัญ ชาและกญั ชงกกกกกกกก สรุปสาระสาคัญ กกกกกกก1. หัวเรื่องที่ 1 เหตใุ ดต้องเรยี นรู้กัญชาและกัญชง กกกกกกก1. 1.1 มุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ กฎหมายที่เก่ียวข้องกับการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ เพ่ือเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ และ สามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ ในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอุรุกวัย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย อิสราเอล และมาเลเซีย แต่ในบางประเทศ เช่น ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศ ทางยุโรป เปน็ ตน้ มกี ารอนุญาตใหใ้ ช้กัญชาเพอื่ การนันทนาการได้อกี ดว้ ย กกกกกกก1. 1.2 มุมมองการใชก้ ญั ชาและกญั ชงของประชาชนทัว่ ไป 1.2.1 มติ ิการระบาดของกัญชาและกญั ชง กกกกกกก ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการนาน้ามันกัญชา มาใช้ในการ รักษาโรคต่าง ๆ ตามความเช่ือของประชาชน ซึ่งการใช้น้ามันกัญชาในปัจจุบันโดยส่วนมากเป็นการ แอบซ้ือมาใช้โดยไม่ทราบแหล่งที่มา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการ ควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย หลังจากท่ีประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ น้ามันกัญชา และในต่างประเทศทั่วโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นส่ิงถูกกฎหมาย ในรูปแบบใด รูปแบบหนึ่ง ในหลายประเทศพยายามจะก้าวตามให้ทัน ซึ่งจะเห็นได้หลายแห่งในภูมิภาคลาตินอเม ริกา รัฐบาลอยากให้ชาวไร่ สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชาเพ่ือการแพทย์มากข้ึน เพราะได้ผลกาไรดี และเป็นตลาดท่กี าลังเจรญิ เติบโต

17 1.2.2 ความเชอ่ื ทีเ่ กีย่ วข้องกับกัญชาและกัญชงในวถิ ชี วี ิต ความเชื่อในประเทศไทยและต่างประเทศ มีลักษณะคล้ายคลึงกันในการ นากัญชามาใช้ในการปรุงอาหารเพ่ือเพิ่มรสชาติ ในขณะที่ประเทศไทยมีความเชื่อว่ากัญชาเป็น สว่ นผสมของยาพืน้ บ้านใช้ประโยชน์ทางยาได้ ส่วนในต่างประเทศจะใช้น้ามนั กญั ชาเพื่อรักษาโรคและ บรรเทาอาการป่วย ผู้ที่คิดจะนานามันกัญชาไปใช้จึงควรตระหนักถึงโทษอันตรายท่ีอาจจะเกิด ขนึ กบั ตนเอง หรือผูม้ ีสว่ นเกย่ี วข้องได้ 1.2.3 การสารวจความคิดเห็นของประชาชน จากผลการสารวจเรอ่ื ง “คนไทยคดิ เหน็ อย่างไร กับการนากัญชามาใช้เป็น ยารักษาโรค” พบว่าประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการผลักดันให้มีการนากัญชามาใช้เป็นยารักษา โรคในประเทศไทย เรอื่ ง “กัญชาประโยชนห์ รอื โทษ” พบว่าประชาชนสว่ นใหญ่เหน็ ด้วย เพราะกัญชา มีประโยชน์หลายอย่าง สามารถใช้ในการรักษาโรคได้ ถ้านามาใช้ทางการแพทย์คาดว่าจะเกิด ประโยชน์อย่างมาก และเร่ือง “การอนุญาตให้ใช้กัญชาและกระท่อมในทางการแพทย์” พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์จากกัญชาและกระท่อม ทางการแพทย์ในพระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562 กกกกกกก1. 1.3 สภาพการณ์ข้อมลู ท่ีเกี่ยวข้องกับกญั ชาผ่านสอื่ ออนไลน์ ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์ มีท้ังข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (Internet) เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) และยูทูบ (YouTube) ข้อมูลเหล่านี้ ทาให้ประชาชน เข้าถึงได้ง่าย แต่ยังขาดการคิดวิเคราะห์ว่าข้อมูลใดมีความน่าเชื่อถือ จึงควรมีความรู้ในการ คิด วิเคราะห์แยกแยะข้อมูลท่ีสืบค้นได้ผ่านส่ือออนไลน์ และตระหนักถึงความสาคัญของการคิดวิเคราะห์ แยกแยะขอ้ มลู ทถี่ ูกต้อง กกกกกกก1. 1.4 สภาพการณ์การใช้กัญชาและกญั ชงในต่างประเทศ การใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ ใช้เสรีได้เพื่อนันทนาการ มีอยู่ในประเทศ อุรุกวัย แคนาดา สหรัฐอเมริกาเป็นบางรัฐ สเปนใช้ในพ้ืนที่ส่วนตัว เนเธอร์แลนด์ใช้ในร้านกาแฟ ในขณะที่ประเทศอ่ืน ๆ มากกว่า 30 ประเทศ ให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์รวมถึงประเทศไทยด้วย ส่วนการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและกัญชง มีในต่างประเทศมานานแล้ว สาหรับประเทศไทย ไม่มีการศกึ ษาวิจัยเนอ่ื งจากกัญชาและกัญชงเปน็ ยาเสพตดิ จึงไม่มีผลการวิจยั มารองรับ กกกกกกก1. 1.5. สภาพการณ์การใชก้ ญั ชาและกัญชงในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข อนุญาตให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ในการรักษาโรคภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบาบัด โรคลมชักที่รักษายากและท่ีด้ือ ต่อยารักษา ภาวะกล้ามเน้ือหดเกรง็ ในผูป้ ่วยปลอกประสาทเส่ือมแข็ง ภาวะปวดประสาททร่ี ักษาวิธีอื่น ไมไ่ ดผ้ ล และให้ควบคมุ อาการของโรคพาร์กินสัน อลั ไซเมอร์ โรควติ กกังวล โรคปลอกประสาทอักเสบ

18 และผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ส่วนการแพทย์ทางเลือกได้คัดเลือก และรับรองตารับยาที่มีกัญชาเป็น สว่ นประกอบ ใหผ้ ปู้ ่วยใชไ้ ดโ้ ดยอยูภ่ ายใตก้ ารควบคุมดแู ลของแพทยท์ ี่ได้รบั อนุญาต กกกกกกก1. 1.6. มมุ มองการใช้กัญชาและกัญชงของบคุ ลากรทางการแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ มีความคิดเห็นว่าหากจะใช้กัญชาและกัญชงในทาง การแพทย์ต้องแจ้งให้ชัดเจน ว่าใช้ได้กับโรคใดได้ผล มีความปลอดภัยทางวิชาการ คุณภาพของสาร สกัดจากกัญชาและกัญชง ต้องระบุวิธีการสกัด มีสารปนเปื้อนหรือไม่ การเข้าถึงอย่างเป็นระบบทั้ง ระยะส้ันและระยะยาว รวมถึงมีการศึกษาเร่ืองความปลอดภัยการใช้ในคน และในมิติต่าง ๆ เพื่อให้ แนใ่ จว่าใช้แล้วไม่เกดิ การเสพติด หรือมีการนาไปใช้ในทางที่ผดิ ซึ่งการผลิตยานน้ั ไม่ต้องการเพียงยาท่ี รักษาโรคเท่านั้น แต่ยังต้องการยาท่ีมีความปลอดภัย มีมาตรฐาน และมีคุณภาพ แม้กัญชาและกัญชง จะมีสรรพคุณเป็นยาที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในบางโรค แต่ถ้าใช้กัญชาอย่างไม่ถูกต้อง และไม่มี การควบคมุ ก็จะเปน็ อนั ตรายท้ังตอ่ ผใู้ ชแ้ ละสงั คม กกกกกกก1. 1.7 มมุ มองการใช้กัญชาและกญั ชงของผปู้ ว่ ย ผู้ป่วยมีความคิดเห็นว่าการใช้กัญชาและกัญชงต้องคานึงถึงความจาเป็นและความ ต้องการของผู้ป่วย โดยเฉพาะความพึงพอใจท่ีมีต่อการใช้ยา ในการจัดการอาการ เพื่อบรรเทาอาการ ต่าง ๆ ของโรค ถึงแม้ว่าจะเกิดอาการข้างเคียงที่เป็นผลลบบ้าง แต่อาการข้างเคียงดังกล่าวข้ึนอยู่กับ ปริมาณการใช้ยาท่ีมีกญั ชาและกัญชง และความแตกต่างของแตล่ ะบุคคล กกกกกกก1. 1.8 สภาพการณแ์ ละขัน้ ตอนการให้บริการคลินิกกญั ชาในประเทศไทย ประเทศไทยเริ่มให้บริการคลินกิ กัญชาครงั้ แรก เม่ือวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ที่โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี ต่อมาวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เปิดที่ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา และวนั ท่ี 2 กนั ยายน พ.ศ. 2562 ไดเ้ ปิดคลินิก กญั ชาทางการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลศนู ย์ จานวน 14 แหง่ ตลอดจนภายในปี พ.ศ. 2562 ได้มี การเปิดคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทย์แผนไทยเพิ่มเติมในโรงพยาบาลชุมชน จานวน 12 แห่ง รวมทัง้ เปิด คลินิกวิจัยน้ามันกัญชาตารับหมอเดชา จานวน 22 แห่งอีกด้วย นอกจากน้ีวันท่ี 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กระทรวงสาธารณสุขเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน 110 แห่ง และคลินิก กัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทย 24 แห่ง เพอ่ื เพิ่มการเข้าถงึ ยากัญชาอยา่ งปลอดภยั ของผูป้ ว่ ย กกกกกกก2. หัวเร่ืองท่ี 2 กัญชาและกญั ชง พชื ยาท่ีควรรู้ กกกกกกก1. 2.1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของพชื กญั ชาและพชื กัญชง ประวัติพืชกัญชาในต่างประเทศมีการนามาใช้ต้ังแต่ 10,000 ปี มาแล้ว นามาใช้ ในการสูดดมควัน ใช้เส้นใยทาเสื้อผ้า ทาใบเรือและเชือกในการสร้างเรือ ใช้เป็นส่วนผสมในอาหาร ใช้ใน พิธีกรรมเกี่ยวกับศาสนา และการใช้เสพเพื่อนันทนาการ รวมท้ังการจดสิทธิบัตรรักษาโรคทางระบบ ประสาท สว่ นประเทศไทยใชเ้ ป็นตารับยาในการรักษาโรค

19 กกกกกกก1. 2.2 ความรู้เบ้อื งต้นเกยี่ วกับพืชกัญชาและพืชกญั ชง กกกกกกก 2.2.1 พฤกษศาสตร์ของพืชกัญชาและพชื กัญชง พืชกัญชา มีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Cannabis sativa L. เป็นพืชในวงศ์ Cannabaceae มีช่อื สามัญหลากหลายตามแต่ละท้องถิน่ เปน็ ไม้ล้มลุกปีเดยี ว ลาต้นต้งั ตรง สูงประมาณ 1 - 5 เมตร ใบเดย่ี ว มี 3 - 9 แฉก รปู ฝ่ามอื เรียงสลบั ดอกแยกเพศผูแ้ ละเพศเมียอยตู่ า่ งต้นกนั (dioecious species) และมีแบบต้นกะเทย คือ เพศผู้ และเพศเมียในต้นเดียวกัน (monoecious species) ออกดอก เปน็ ช่อตามง่ามใบและปลายยอด ชอ่ ดอกเพศเมยี เรยี กวา่ “กะหลี่กัญชา” ผลแห้ง เมลด็ ล่อน เล็ก เรยี บ สนี ้าตาล กกกกกกก 2.2.2 ชนิด (species) ของพืชกัญชาและพชื กัญชง กัญชาและกัญชง นักพฤกษศาสตร์จัดว่าเป็นพืชในสปีชีส์ (species) เดียวกัน คือ Cannabis sativa L. ซ่ึงจัดอยู่ในสกุล (genus) Cannabis และเป็นพืชในวงศ์ (family) Cannabaceae แต่ในส่วนขององค์การอนามัยโลก ( WHO) ได้แบ่งย่อยเป็น 2 ซับสปีชีส์ (subspecies) ได้แก่ Cannabis sativa L. subsp. sativa (กญั ชง, Hemp) ซึง่ มักจะมปี รมิ าณ THC น้อย กว่าร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง (แต่ในบางคร้ังอาจจะสูงถึงร้อยละ 1) และ Cannabis sativa L. subsp. indica (กัญชา, Cannabis) ซ่ึงมักจะพบปริมาณ THC มากกว่าร้อยละ 1 ในใบและช่อดอกแห้ง การจาแนกพืชกัญชาและกัญชง โดยสังเกตจากลักษณะทางสัณฐานวิทยาทาได้ยาก เนื่องจากสาร THC ในกัญชาเปล่ียนแปลงได้ง่ายจากปัจจัยด้านส่ิงแวดล้อม นักวิชาการเกษตรด้านการปรับปรุงสายพันธุ์มัก จะจาแนกพชื กญั ชา และกญั ชงออกเป็น 3 สายพันธ์ุ ได้แก่ ซาติว่า (Cannabis sativa L.) อินดิก้า (Cannabis indica Lam.) และรเู ดอลาลสิ (Cannabis ruderalis Janishch.) ซง่ึ จาแนกตามลกั ษณะ ทางกายภาพของพืช เช่น ลักษณะใบ ความสงู ถนิ่ กาเนดิ ที่พบ เป็นตน้ กกกกกกก 2.2.3 องคป์ ระกอบทางเคมี และสารสาคัญทพี่ บในพชื กัญชาและพชื กญั ชง องคป์ ระกอบทางเคมที ี่พบในพืชกญั ชาและกญั ชงมีมากกวา่ 500 ชนิด และ มี อ ยู่ ห ล า ย ก ลุ่ ม แ ต่ ส า ร ท่ี มี ค ว า ม ส า คั ญ ท า ง ย า คื อ ส า ร ใ น ก ลุ่ ม แ ค น น า บิ น อ ย ด์ (cannabinoids/Phytocannabinoids) พบมากบริเวณยางในไทรโครมของดอกเพศเมียท่ียังไม่ได้รับ การผสมพันธ์ุ (resin glandular trichomes) 2) สารสาคญั ท่ีพบในพชื กัญชาและพืชกัญชง 2.3.1 ก(1) สารแคนนาบิเจอรอล (Cannabigerol, CBG) เป็นอนุพันธ์ของสาร CBGA เม่ือสาร CBGA ถูกความร้อนจะเปลี่ยนสภาพเป็นสาร CBG ดังนั้น สาร CBG จึงสามารถตรวจ พบได้ในพืชกัญชาและกัญชง สาร CBGA เป็นสารต้นกาเนิดของสารทั้งหมดที่พบในพืชกัญชาและกญั ชง เม่ือพืชโตขึ้น สาร CBGA นี้ จะถูกเปล่ียนเป็น THCA CBDA และสาร อื่น ๆ เม่ือสารถูกความร้อน หรือ ออกซไิ ดซ์ สาร CBGA THCA และสาร CBDA จะเปลยี่ นสภาพเปน็ สาร CBG สาร THC และสาร CBD

20 2.3.1 ก(2) สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) เป็นสารที่มีฤทธิ์ทาให้มึนเมาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง (psychoactive effect) ปริมาณ ของ THC ในแต่ละส่วนของพืชมีปริมาณไม่เท่ากัน จะออกฤทธ์ิกระตุ้นประสาททาให้ผู้เสพตื่นเต้น ช่างพูด หัวเราะอารมณ์ดี ต่อมาจะกดประสาทมีอาการคล้ายเมาเหล้าอย่างอ่อน ๆ เซื่องซึม ง่วงนอน และหลอนประสาท โดยขึ้นอยู่กับปริมาณที่ได้รับ 2.3.1 (3) สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) สารนี้ไม่มีผลต่อจิตและ ประสาท (non-psychoactive) และช่วยลดผลข้างเคียงจาก THC ซึ่งเป็นสารท่ีมีคุณสมบัติมีข้ัวต่า ละลาย ได้ดีในน้ามัน ดังนั้นการสกัดสารสาคัญจากกัญชา จึงมักนิยมใช้ตัวทาละลายที่มีขั้วต่า หรือน้ามันในการ สกัด เพราะจะสามารถละลายเอาสารแคนนาบินอยด์ออกมาไดด้ ี 2.3.1 ก(4) สารออกฤทธ์ิที่ร่วมกับแคนนาบินอยด์ เช่น สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ และเทอร์ปนี เป็นสารที่ช่วยเสรมิ การออกฤทธ์ทิ างยาแก่สารกลมุ่ แคนนาบนิ อยด์ กกกกกกก1. 2.3 พชื กญั ชาและพืชกัญชงคืออะไร แตกต่างกันอย่างไร กกกกกกก1. 2.3dพืชกญั ชาและกัญชงมีชื่อวทิ ยาศาสตร์เดยี วกันคือ Canabis sativa L. มถี ิน่ กาเนิด มาจากพชื เดิมชนดิ เดียวกนั ลกั ษณะภายนอก หรือสัณฐานวิทยาของพืชทง้ั สองชนดิ จึงมีความแตกตาง กันนอย การแยกโดยสัณฐานวิทยาทาได้คอ่ นข้างยาก ปัจจุบันพืชกัญชาและกัญชงแยกจากกัน โดยตัดสินจากปริมาณสาร THC ซึ่งข้อกาหนดขององค์การอนามัยโลก (WHO) กาหนดกัญชงให้มี ปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง ส่วนกฎหมายของประเทศไทยกาหนดให้ กัญชงให้มีปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 1.0 ในใบและช่อดอกแห้ง กกกกกกก1. 2.4 การใชพ้ ชื กัญชาและพชื กัญชงในชีวติ ประจาวนั ของคนในโลก กกกกกกกกกกกก2.4.1 ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงไม่แปรรูป เช่น ดอกกัญชาแห้ง (Cannabis dries flower) ในประเทศท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ ผู้ป่วยจะสามารถนาใบส่ังซื้อจากแพทย์ไปซื้อ กัญชาแหง้ มาเพื่อใชส้ ูบหรือใชเ้ พอ่ื การรกั ษาได้ กกกกกกกกกกกกก2.4.2 ผผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงแปรรูป คือ ผลิตภัณฑ์จากพืชกัญชาและ กัญชง ทแ่ี ปรรูปเปน็ สารสกัดเข้มขน้ (Concentrates) ซง่ึ มหี ลายรปู แบบ และมชี ือ่ เรียกแตกตา่ งกันไป ผลิตภัณฑ์สารสกัดกัญชาจะให้สารแคนนาบินอยด์ที่เข้มข้นกว่าในรูปพืชแห้ง แต่ทั้งสองรูปแบบ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ท้ังทางการแพทย์ และเพื่อการนันทนาการได้ตามกฎหมายของแต่ละ ประเทศทมี่ กี ารอนุญาตใหใ้ ช้ กกกกกกกกกกกกก2.4.3 การบริโภคและอปุ โภค กกกกกกกกกกกกกกกกกมีการใช้พืชกัญชาหรือกัญชงเป็นส่วนประกอบในอุตสาหกรรมอาหาร บาง ประเทศ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในอาหารซ่ึงจะต้องระบุปริมาณสาร THC และ CBD ให้ชัดเจน โดย ปกติต้องไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อหน่วยบริโภค แต่ในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมความงามและ

21 สุขภาพ รวมไปถึงอุตสาหกรรมส่ิงทอ และมีการใช้ประโยชน์อย่างมากมายของกัญชง เช่น การผลิต เครื่องสาอาง น้ามันจากเมล็ด ซึ่งมีคุณค่าทางโภชนาการสูง การทาเคร่ืองแต่งกาย เสื้อกันกระสุน เป็นต้น กกกกกกกกกกกกก2.4.4 การนันทนาการ กกกกกกกกกกกกกกกกกกัญชาเป็นพืชท่ีมีสารออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท ทาให้เกิดความผ่อนคลาย และความรู้สึกเป็นสุข ในบางประเทศอนุญาตให้ใช้พืชกัญชาเพื่อการนันทนาการได้ เช่น ประเทศ อุรุกวัย ประเทศแคนาดา และในบางรัฐของสหรัฐอเมริกา เป็นต้น เนื่องจากผู้ใช้กัญชารู้สึกเกิดการผ่อน คลาย และเป็นสุขขณะที่ใช้ แต่เน่อื งจากกัญชายังมสี ารที่ทาให้ติดได้ จงึ ไมค่ วรใช้กัญชาต่อเน่ืองและใช้ ในปริมาณสงู กกกกกกก3. หวั เร่อื งที่ 3 รูจ้ ักโทษและประโยชน์ของกัญชาและกัญชง กกกกกกก1. 3.1 โทษของกัญชาและกัญชง กกกกกกกกกกกกก3.1.1 ผลกระทบต่อร่างกายและผลข้างเคียง ผู้เช่ียวชาญเกี่ยวกับสารเสพติดจาก สาขาต่าง ๆ และรายงานทางวิชาการ พบว่า กัญชามีผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับระบบหัวใจและ หลอดเลือด ผลต่ออาการติดยา นอกจากกระทบต่อการใช้ชีวิตตามปกติแล้ว กัญชายังมีโทษต่อ ทุกส่วนของร่างกาย ผู้เสพกัญชา ร่างกายจะเสื่อมโทรม ทาลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย และ ทาลายสมอง กอ่ ใหเ้ กิดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปอด ทารา้ ยทารกในครรภ์ มผี ลกระทบต่อทางเดินหายใจ หัวใจ และหลอดเลือด กัญชาจะเพ่ิมอัตราการเต้นของหัวใจเร็ว เมื่อใช้กัญชาในปริมาณมาก และยาวนาน ตอ่ เนอื่ งไมส่ ามารถควบคุมอาการติดยาได้ กกกกกกกกกกกกก3.1.2 ผลกระทบต่อจิตใจ ฤทธิ์ของกัญชาและกัญชงทาให้ผู้เสพมีความผิดปกติทาง ความรสู้ ึก ความคดิ อาการ หรอื พฤติกรรมตา่ ง ๆ จิตฟัน่ เฟือน มอี าการประสาทหลอน ความคดิ สบั สน นาไปสโู่ รคจติ เวช หรือภาวะซมึ เศรา้ ได้ 3.1.3 ผลกระทบตอ่ ครอบครัว ชุมชน และสงั คม การเสพกญั ชาและกญั ชงทาให้มี ผลกระทบตอ่ ครอบครัวทาลายความสุขในบ้าน เป็นทรี่ ังเกียจของชุมชน ทาลายชือ่ เสียงวงศ์ตระกูล อาจ เพม่ิ ความรุนแรงถึงขั้นเกิดปญั หาอาชญากรรมต่าง ๆ ในชุมชน และสังคมตามมาได้ 3.1.4 ผลกระทบต่อประเทศชาติ เมื่อประชากรเสพติดกัญชามาก ส่งผลทาลาย เศรษฐกิจ สูญเสียงบประมาณในการดูแลรักษาผ้ทู ่ีเสพติดกัญชา ทาลายความม่ันคงของประเทศ ต้อง สูญเสียทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศก็จะ เป็นไปอย่างเช่ืองช้า เกิดข้อขัดแย้งทางการเมือง หรือความไม่สงบระหว่างประเทศ ทาให้เสื่อมเสีย ช่ือเสียง และเกยี รตภิ ูมิในสายตาของชาวต่างชาติได้ กกกกกกก1. 3.2 ประโยชน์ของกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ สารสกัดจากกัญชาที่นามาใช้ ประโยชน์ทางการแพทย์ มีสารกลุ่ม แคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ท่ีมีสารออกฤทธส์ิ าคัญ 2 ชนิด

22 คือ แคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) มีคุณสมบัติลดอาการเจ็บปวด อักเสบ ชักเกร็ง คลื่นไส้ และ สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) มีคุณสมบัติต่อจิตประสาททาให้ผ่อน คลาย ลดอาการตงึ เครียด สารสกดั จากกัญชาทางการแพทยแ์ บ่งได้เปน็ 3 กลุ่ม (1) สารสกดั กัญชาท่ีมี ข้อมูลทางวิชาการที่สนับสนุนชัดเจน (2) สารสกัดกัญชาช่วยในการควบคุมอาการ ควรมีข้อมูลทาง วิชาการที่สนับสนุนเพ่ิมเติม และ (3) สารสกัดกัญชาที่ยังขาดข้อมูลจากการวิจัยสนับสนุนที่ชัดเจน เพียงพอ ดังน้ัน การนาสารสกัดกัญชามาใช้ในทางการแพทย์จาเป็นต้องคานึงถึงประสิทธิผล ความ ปลอดภัยเป็นสาคัญ และในทางการแพทย์แผนไทย มีการอนุญาตให้ใช้ตารับยาท่ีมีกัญชาเป็น ส่วนประกอบที่ได้มีการคัดเลือก และรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข 16 ตารับ การใช้ยาจากกัญชา ตอ้ งอยู่ภายใต้การควบคุม ดแู ลของแพทย์ และแพทยแ์ ผนไทย เพือ่ ใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ ับประโยชน์สงู สุด กกกกกกก4. หวั เรื่องที่ 4 กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกบั กญั ชาและกัญชง กกกกกกกกก 4.1 พระราชบัญญัตยิ าเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 กกกกกกกกกกกกกพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ให้ความหมายคาว่า “ยาเสพติดให้ โทษ” หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซ่ึงเม่ือเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรอื ดว้ ยประการใด ๆ แล้วทาให้เกดิ ผลต่อร่างกายและจติ ใจในลักษณะสาคัญ เชน่ ต้องเพิม่ ขนาด การเสพข้ึนเป็นลาดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพ ทั้งร่างกายและจิตใจอย่าง รุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยท่ัวไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืชหรือส่วนของพืชที่เป็น หรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษและสารเคมีท่ี ใช้ในการผลิต ยาเสพติดให้โทษด้วย นอกจากนี้ยังแบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท โดยกัญชาถูกบัญญัติไว้ ในกฎหมายว่าเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามมาตรา 7 โดยกาหนดไว้ว่าห้ามปลูก ห้ามเสพ หา้ มจาหน่ายและมีไว้ครอบครอง กกกกกกกกก 4.2 พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธต์ิ ่อจติ และประสาท พ.ศ. 2559 กกกกกกกกกกกกกพระราชบัญญัติวัตถุเพื่อออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 มีเหตุผลในการ ประกาศใช้เพ่ือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งมีสภาพปัญหาเก่ียวกับวัตถุออกฤทธิ์ท่ีทวีความ รนุ แรงยิ่งขึ้น สมควรปรบั ปรุงบทบัญญตั เิ ก่ียวกับองคป์ ระกอบของคณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิต และประสาท การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธ์ิ หน้าท่ีของผู้รับอนุญาต หน้าที่ของเภสัชกร การโฆษณาและอานาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ รวมท้ังเพิ่มเติมบทบัญญัติ เก่ียวกับด้านตรวจสอบวัตถุออกฤทธ์ิ และการให้โอกาสแก่ผู้เสพ หรือเสพและมีไว้ในครอบครอง หรือ เสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อขาย หรือเสพและขายซ่ึงวัตถุออกฤทธ์ิ ได้สมัครใจเข้ารับการ บาบัดรักษาในสถานพยาบาล ตลอดจนปรับปรุงบทกาหนดโทษ และอัตราค่าธรรมเนียมให้เหมาะสม ย่ิงขึ้น ทั้งน้ีกัญชามีสารวัตถุออกฤทธิ์ช่ือว่า “เตตราไฮโดรแคนนาบินอล” (tetrahydrocannabinol, THC) และถูกบัญญตั ิไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื งระบชุ อ่ื วตั ถุออกฤทธใิ์ นประเภท 1

23 กกกกกกกกก 4.3 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562 กกกกกกกกกกกก พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 เป็นฉบับที่แก้ไขเพ่ิมเติม จากพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 เปิดโอกาสให้สามารถนากัญชาและพืชกระท่อมไป ทาการศึกษาวิจัย เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์และสามารถนาไปใช้ในการรักษาภายใต้การดูแลและ ควบคุมของแพทย์ผู้ได้รับอนุญาตได้ เพ่ือให้ถูกต้องตามหลักวิชาการให้ทาได้โดยชอบด้วยกฎหมาย เพื่อสร้างความมั่นคงทางด้านยาของประเทศ และป้องกันไม่ให้เกิดการผูกขาดทางด้านยา นอกจากนี้ ส่งผลให้อนาคตผู้ป่วยในประเทศ ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพได้อย่างมาก และส่งผลทางด้าน เศรษฐกิจของประเทศ เปิดทางให้ใช้ในอุตสาหกรรมยา สมุนไพร อาหารและเคร่ืองสาอาง เพื่อประโยชนข์ องประเทศชาติ พร้อมสนับสนุนผปู้ ระกอบการภายในประเทศ ใช้ประโยชน์จากกัญชง นอกเหนือจากเส้นใย หวังเพ่มิ มูลคา่ ทางเศรษฐกจิ นารายไดเ้ ขา้ ประเทศ กกกกกกกกกกกก พระราชบัญญัติฉบับนี้ กัญชา ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ห้ามมิให้ ผู้ใดเสพ เว้นแต่เสพเพ่ือรักษาโรคตามคาส่ังของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือเป็นการเสพ เพ่ือศึกษาวิจัย และยังสามารถใชป้ ระโยชน์ได้ ตามวัตถุประสงค์ในกรณีจาเป็น คือ ประโยชน์ของทาง ราชการ ประโยชน์ทางการแพทย์ ประโยชน์ในการรักษาผ้ปู ่วย ประโยชนใ์ นการศึกษาวิจัยและพัฒนา และประโยชน์ในการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม วิทยาศาสตร์ หรืออุตสาหกรรม อีกท้ังในมาตรา 26/5 ยังกาหนดผู้มีสิทธิ์ที่จะขอออกใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ครอบครอง ผู้ขออนุญาตต้องเป็นหน่วยงานของรัฐ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สถาบันอุดมศึกษาตาม กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมท่ีรวมกลมุ่ เป็นวิสาหกจิ ชุมชน ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ ผู้ป่วยเดินทางระหว่างประเทศ และผู้ขอ อนุญาตอ่ืนตามท่ีรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกาหนดในกฎกระทรวง ซ่ึงในวาระ เร่ิมแรกภายในระยะเวลา 5 ปี การขอรับใบอนุญาตสาหรับวัตถุประสงค์ผลิต นาเข้า ส่งออก เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์หรือการรักษาผู้ป่วย ให้อนุญาตได้ คือ ให้อนุญาตได้เฉพาะกรณีที่ผู้ขอ อนุญาตเป็นหน่วยงานของรัฐ หรือเป็นผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 ซ่ึงดาเนินการร่วมกับ ผู้ขออนุญาตท่เี ปน็ หนว่ ยงานของรัฐ กกกกกกก1. 4.4 ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ที่เก่ยี วข้องกบั กัญชาและกัญชง กกกกกกกกกกกก ประกาศ และระเบียบของกระทรวงสาธารณสุขท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงทา ให้เกิดความชัดเจนตามกฎหมายสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยทุกด้าน ทั้งนี้เพื่อใช้ ประโยชนจ์ ากสารสาคัญในกญั ชา และกัญชง มจี านวน 5 ฉบับ ดงั น้ี (1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กาหนดตารับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ ที่ให้เสพเพ่ือรักษาโรคหรือ การศึกษาวิจัยได้ (2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กาหนดผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผน ไทยและหมอพื้นบ้านตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวชิ าชีพการแพทย์แผนไทยท่ีจะสามารถปรุง หรอื สัง่ จา่ ยตารับยา

24 ท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ (3) ประกาศกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เรื่อง กาหนด แบบตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข วา่ ด้วยการรับรองหมอพ้ืนบ้าน พ.ศ. 2562 (4) ประกาศกระทรวง สาธารณสุข เร่ือง ระบุช่ือยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2561 มีสาระสาคัญโดยกาหนดให้ กัญชา (cannabis) เปน็ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ลาดับท่ี 1 ซง่ึ มชี ่ือพฤกษศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. และ Cannabis indica Lam. ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และ วัตถุหรือสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง น้ามัน ยกเว้นเปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และ (5) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ระบุช่ือยาเสพติดให้โทษประเภท 5 (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 มี สาระสาคัญคือ กาหนดยกเลิกและแก้ไขเพ่ิมเติม ลาดับ 1 กัญชา (cannabis) ซึ่งเป็นพืชในสกุล Cannabis ทั้งน้ีให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และวัตถุ หรือสารต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง น้ามัน และ ลาดับท่ี 5 คือ กัญชง (hemp) ซ่ึงมีชื่อทาง วิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชง เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น ท่ีมีปริมาณ สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) และลักษณะเป็นไปตามท่ี คณะกรรมการประกาศกาหนด กกกกกกก1. 4.5 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดใหโ้ ทษ กกกกกกกกกกกก ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง ท่ีสาคัญมีจานวน 6 ฉบับ ได้แก่ (1) ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เร่ือง การแสดง ความจานงและการตรวจสอบผู้แสดงความจานงเป็นผู้รับอนุญาตต้ังแต่วันที่ผู้รับอนุญาตตาย (2) เรื่อง กาหนดแบบการจัดทาบัญชีรับจ่ายและรายงานเก่ียวกับการผลิต การนาเข้า การส่งออก การจาหน่าย การมีไว้ในครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา (3) เรื่อง กาหนดฉลากและเอกสารกากับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 หรอื คาเตือนหรอื ข้อควรระวัง การใช้ท่ีภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ท่ีผลิต นาเข้า หรือส่งออก สาหรับยาแผนปัจจุบันซึ่งมีกัญชาปรุงผสมอยู่ (4) เร่ือง กาหนดเมล็ดพันธุ์เฮมพ์เป็นเมล็ดพันธ์ุรับรอง ตามกฎกระทรวง การขออนุญาตและการอนุญาตผลิต จาหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติด ให้โทษประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2559 (5) เร่ือง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) ประกาศเม่ือวันท่ี 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562 โดยกาหนดลักษณะกัญชง เพ่ือเป็นประโยชน์ในการควบคุมการผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชง ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดร แคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.5 ต่อน้าหนักแห้ง และ เ ม ล็ ด พั น ธุ์ รั บ ร อ ง มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น เ ม ล็ ด พั น ธุ์ กั ญ ช ง ท่ี มี ป ริ ม า ณ ส า ร เ ต ต ร า ไ ฮโ ด ร แ ค น น า บิ น อ ล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.3 ต่อน้าหนักแห้ง และ (6) เรื่อง

25 กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562 โดย กาหนดใหม้ ีการยกเลิกประกาศฉบบั เดมิ ซ่งึ สาระสาคญั ของประกาศฉบับน้ี คอื กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) มีลกั ษณะเป็นพืชซึง่ มีชือ่ ทางวิทยาศาสตร์ วา่ Cannabis sativa L. subsp. sativa อนั เปน็ ชนิดย่อย ของพืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้งโดยตรวจวิเคราะห์ ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่คณะกรรมการประกาศกาหนด และ เมล็ดพันธ์ุรับรองมีลักษณะเป็นเมล็ดพันธ์ุกัญชง (Hemp) ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบ และช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้ง ท้ังน้ี ตามท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด โดยการตรวจวเิ คราะห์ ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด และเป็นพันธ์ุพืชขนึ้ ทะเบียนตามกฎหมาย ว่าด้วยพันธ์ุพืช โดยประกาศฉบับนี้จะไม่มีผลบังคับใช้กับกรณีกัญชงที่ปลูกอยู่ก่อนประกาศดังกล่าว มีผลบังคับใช้ รวมถึงเมล็ดพันธุ์ท่ีรับรองแล้วก่อนประกาศมีผลบังคับใช้ เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาสายพันธุ์ กญั ชง โดยเฉพาะพันธุพ์ ้นื เมอื ง เปดิ กวา้ งให้เกดิ การใชป้ ระโยชนก์ ญั ชงอย่างคมุ้ ค่า กกกกกกก1. 4.6 พระราชบัญญตั ิสทิ ธบิ ัตรกับกัญชาและกัญชง กกกกกกกกกกก ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2535 และ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2542 ให้ความหมาย “สทิ ธบิ ตั ร” หมายถึง หนังสือสาคญั ทรี่ ฐั ออกให้เพื่อ คุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด ทั้งนี้ ข้ันตอนการย่ืนคาขอจดสิทธิบัตรที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง มี 3 ข้ันตอน ได้แก่ ขันตอนที่ 1 กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะพิจารณาว่าขัดต่อพระราชบัญญัติสิทธิบัตรในมาตรา 9 (1) ซึ่งกาหนดว่า สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืชไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติหรือ หากขัดกับ มาตราดังกล่าวจะไม่สามารถยื่นจดสิทธิบัตรได้ เช่น สารสกัดจากกัญชาไม่สามารถจดได้.ขันตอนที่ 2 หากการยื่นคาขอไม่ขัดกับมาตรา 9 (1) เช่น ตารับยาจากกัญชาสาหรับใช้รักษาโรคต่าง ๆ กรม ทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นผู้ตรวจสอบว่าสามารถจดได้หรือไม่ โดยพิจารณาตามหลักการ คือ ต้อง เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ มีข้ันตอนการประดิษฐ์ท่ีสูงขึ้น และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิต อตุ สาหกรรม หตั ถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้ และขันตอนที่ 3 เม่อื ผา่ นการพิจารณาใน ขั้นตอนที่ 2 จะประกาศโฆษณาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถคัดค้านหรือให้ข้อเสนอแนะได้ เมื่อประกาศโฆษณาแล้วผู้ขอต้องยื่นขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์ เจ้าหน้าที่จะนาข้อคัดค้านหรือ ข้อเสนอแนะมาประกอบการพิจารณาร่วมกับการตรวจสอบการประดิษฐ์อีกคร้ัง ก่อนจะพิจารณาว่า สามารถจดสิทธิบัตรได้หรือไม่ ปัจจุบันน้ีมีผู้ขอจดสิทธิบัตรท่ีเก่ียวข้องกับกัญชากับกรมทรัพย์สินทาง ปัญญา มีจานวน 3 บริษัท โดยมีจานวน 10 คาขอ ซ่ึงอยู่ในขั้นตอนการดาเนินการ และการขอจด สทิ ธิบตั ร