Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือทั่วไป-คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย

หนังสือทั่วไป-คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย

Description: หนังสือทั่วไป-คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย

Search

Read the Text Version

คู่มอื พัฒนาทักษะสมอง EF Eสxำ�eหcuรtiบั veคFรuูปnฐctมioวnัยs ยับยง้ั ชั่งใจ ยดื หยนุ่ Copyright©2015 RLG Institute ปรบั ตัว สมาธิดี 1

2





ค่มู อื Exพeฒั cuนtาiทvักeษFะสuมnอcงtiEoFns สำ� หรบั ครูปฐมวยั สนบั สนุนโดย สรา้ งสรรค์โดย

หนังสอื คมู่ อื พฒั นาทกั ษะสมอง EF Executive Functions สำ� หรบั ครูปฐมวยั ISBN 978-616-8045-12-1 ลขิ สทิ ธร์ิ ว่ ม สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) และ สถาบัน RLG (รกั ลูก เลิร์นนิง่ กรปุ๊ ) บรษิ ัท รกั ลูกกรปุ๊ จำ� กัด สงวนลขิ สทิ ธิต์ ามพระราชบญั ญตั ิลขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537 พมิ พค์ รั้งที่ 1 มกราคม 2561 จำ� นวนพมิ พ์ 2,000 เลม่ บรรณาธิการ สุภาวดี หาญเมธี ธดิ า พิทักษ์สินสขุ ภาวนา อรา่ มฤทธิ์ ประสานงานเล่ม ธิดา มหาเปารยะ บรมานนั ท์ การตลาด ธนรร หาญวรโยธิน ออกแบบรูปเลม่ และภาพประกอบ ฉตั รทิพย์ โลหจ์ รสั ศริ ิ และ สุธินนั ท์ เชยโต จัดท�ำโดย บริษทั รักลกู กรุ๊ป จำ� กดั 932 ถนนประชาช่นื แขวงวงศส์ วา่ ง เขตบางชือ่ กรงุ เทพมหานคร 10800 โทรศพั ท์ 0 2913 7555 โทรสาร 0 2428 7499 แยกส/ี พมิ พ์ที่ บรษิ ทั มติชน จำ� กดั (มหาชน) 12 ถ.เทศบาลนฤมาล หมบู่ า้ นประชานเิ วศน์ 1 ลาดยาว จตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 เพอ่ื การคน้ คว้า Executive Functions เวบ็ ไซต์: www.rlg-ef.com เฟซบคุ๊ : www.facebook.com/พัฒนาทกั ษะสมอง EF ค�ำส�ำคัญเพอ่ื การคน้ คว้า ความรู้เรื่องสมอง / ทกั ษะสมอง EF-Executive Functions / พัฒนาการเดก็ / การให้โอกาส / ทักษะศตวรรษที่ 21 / วนิ ยั เชงิ บวก / การจดั ประสบการณ์ / สภาพแวดล้อมทเี่ อ้อื ต่อการเรยี นรู้ของเดก็ / Active Learning / สมั พนั ธภาพ-Attachment /กิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะสมอง EF สงวนลขิ สิทธ์ิ Copyright©2018 RLG Institute : กรณนี ำ� ไปใชเ้ พือ่ ประโยชนท์ างการศกึ ษา ต้องได้รับอนุญาตอย่างเป็นทางการจากเจา้ ของลิขสทิ ธิ์ ไม่อนญุ าตใหล้ อกเลียนแบบ สว่ นใดส่วนหนึง่ ของหนังสือเลม่ น้ี รวมทง้ั การจัดเก็บ ถ่ายทอด ไมว่ า่ รปู แบบหรือวธิ กี ารใดๆ ในกระบวนการทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ การถ่ายภาพ การบนั ทึก หรอื วธิ กี ารใดๆ โดยไมไ่ ด้ รบั อนญุ าตจากเจ้าของลิขสิทธิ์

คำ� น�ำ EF – Executive Functions ทักษะสมองเพื่อบริหารจัดการชีวิตให้ส�ำเร็จ เป็นองค์ความรู้ สมยั ใหม่ ทผี่ เู้ กย่ี วขอ้ งในวงการพฒั นาเดก็ และเยาวชนกำ� ลงั ใหค้ วามสนใจมากขนึ้ เรอื่ ยๆ ดว้ ยตระหนกั ว่าเปน็ ธรรมชาติของสมองที่ตดิ ตวั มนษุ ยม์ าแต่ไหนแต่ไร ซง่ึ เทคโนโลยีสมยั ใหม่เพิ่งจะเปดิ เผยให้เรา ได้เข้าใจชัดเจนขึ้น เม่ือเราเข้าใจธรรมชาติของพัฒนาการ 4 ด้านชัดเจน เราสามารถส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน ของเดก็ ไดด้ ขี นึ้ หากเราเขา้ ใจธรรมชาตแิ ละการเรยี นรขู้ องสมองชดั เจน เรากย็ อ่ มจะสามารถสง่ เสรมิ การท�ำงานของสมองได้ดีขึน้ เช่นกนั สมองทที่ �ำงานได้ดี มใิ ช่เพียงนำ� พาเดก็ ไปสู่คะแนนสอบด ี แตท่ ี่สำ� คญั และมีความหมายต่อชวี ิต มากกวา่ นน้ั คอื นำ� พาเดก็ ไปสกู่ ารมคี วามคดิ ความรสู้ กึ และการกระทำ� ทมี่ เี หตมุ ผี ลตามวยั และคอ่ ยๆ ฝังรากลึกจนเป็นสมรรถนะและคุณลักษณะอันเป็นประโยชน์ต่อการจัดการชีวิตของตนเองให้ส�ำเร็จ มีความสุข และสามารถใช้ชีวิตอยู่กบั คนอื่น อยกู่ บั สังคมไดด้ ใี นอนาคตดว้ ย เป็นเวลากว่า 1 ปีที่สถาบัน RLG (รักลูก เลิร์นน่ิง กรุ๊ป) ได้จัดการความรู้ร่วมกับคณาจารย์ สหสาขาวิทยาการ; นักประสาทวิทยาศาสตร์ นักจิตวิทยา จิตแพทย์ นักการศึกษา รวมถึงพ่อแม่ และคณุ ครู ทคี่ ร่ำ� หวอดในประสบการณก์ ารดแู ลพฒั นาเดก็ ปฐมวัย เพ่อื ถอดรหสั ขององค์ความรู้ EF จากการรวบรวมงานวิจัยหลากหลายมิติที่มีอยู่ในวงวิชาการระดับโลก ประสานกับงานวิจัยของ นักวิชาการไทย รวมทั้งผสมผสานวิชาการเข้ากับประสบการณ์ภาคปฏิบัติของคุณครู จนแปลงเป็น สารที่เข้าใจงา่ ย สอดคลอ้ งกับบรบิ ทสงั คมไทย และสามารถนำ� ไปปฏิบัตไิ ดโ้ ดยง่ายดว้ ย นีจ่ งึ เป็นทีม่ าของ “คมู่ ือพัฒนาทกั ษะสมอง EF-Executive Functions ส�ำหรบั ครปู ฐมวยั ” เลม่ นี้ โดยเน้ือหาแบ่งออกเป็น 3 ภาค ภาคท่ี 1 ว่าด้วย Why and What เกีย่ วกบั EF อันเป็นความรพู้ ้นื ฐานที่ต้องเข้าใจใหก้ ระจ่าง; ทกั ษะสมอง EF คอื อะไร เกิดขึ้นเม่อื ไร เกดิ ขึน้ อยา่ งไร ทำ� งานอยา่ งไร ทำ� ไมเราตอ้ งสนใจ EF และ EF สมั พันธ์กับพัฒนาการของเด็กปฐมวยั ท่ีเราคุ้นเคยกันมานานแล้วอย่างไร

ภาคที่ 2 ว่าด้วยปัจจัยและกระบวนการ (How) ที่ผู้ใหญ่เราสามารถจะสร้างเสริมได้ด้วย ตนเอง เพ่ือให้เกิดการพัฒนาทักษะสมอง EF ในเด็กมากขึ้น ว่าต้ังแต่การดูแลกายภาพของสมอง ให้แขง็ แรงมีสุขภาพดี การ “ให้โอกาส” ต่างๆ แกเ่ ด็กในชวี ติ ประจ�ำวนั ทีจ่ ะบ่มเพาะทกั ษะสมอง EF ให้เกิดขึ้น ไม่ว่าจากประสบการณ์ในแบบ active learning หรือการพัฒนา EF ท่ามกลางการ เรียนรู้อยู่กับผู้อ่ืน โดยปัจจัยส�ำคัญพื้นฐานของการสร้างเสริม EF ที่จะขาดไม่ได้เลย คือการมี สมั พนั ธภาพเชงิ บวกทอ่ี บอนุ่ ไวใ้ จไดน้ นั่ เองทจี่ ะเปดิ โอกาสกวา้ งใหญใ่ หแ้ กก่ ารเรยี นรพู้ ฒั นาไดผ้ ลดิ อก งอกงาม ซึ่งคณาจารย์ EF ไดเ้ ห็นพอ้ งตอ้ งกันวา่ การสรา้ งวนิ ัยเชิงบวกเปน็ แนวทางทีไ่ ดผ้ ลย่งิ และในภาคท่ี 3 คณาจารย์ EF ได้ร่วมกันคัดสรร และน�ำเสนอตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาทกั ษะสมอง EF ทง้ั แบบชดุ กจิ กรรม เชน่ กจิ กรรมโครงงาน (Project Approach) กจิ กรรม ศิลปะทเ่ี นน้ กระบวนการ (Process Art) การเล่นอสิ ระ (Free Play) และการเล่นบทบาทสมมติ และ เล่นละคร รวมถึงกิจกรรมเด่ียวอ่ืนๆ โดยแสดงให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรมว่า ข้ันตอนกระบวนการใด บา้ งของกิจกรรมเหลา่ น้ที ท่ี กั ษะสมอง EF บงั เกดิ ข้นึ ได้ เม่ือคุณครูปฐมวัยได้ศึกษาเรียนรู้จากเน้ือหาในหนังสือคู่มือฯ เล่มน้ีแล้วก็จะเห็นว่า ในการ ส่งเสริม EF นน้ั คณุ ครไู มจ่ �ำตอ้ งแสวงหาอปุ กรณแ์ พงๆ หรอื หายากใดๆ ไม่จำ� ต้องมีสตู รพิเศษตายตวั ใดๆ หากแต่เมอ่ื เขา้ ใจหลกั การจนเสมือน “ใส่แวน่ สายตา EF” ทช่ี ว่ ยให้มองส่ิงต่างๆ กระจ่างข้นึ แล้ว คณุ ครูกจ็ ะสามารถพฒั นาพลิกแพลงปรับปรุงแผนการจดั ประสบการณ์ หรอื การสรา้ งกจิ กรรมหรือ กิจวตั รคุณภาพ EF ให้แก่เด็กๆ ของคุณครไู ดอ้ ยา่ งช�่ำชองช�ำนาญ จากประสบการณ์ท่ีสถาบัน RLG กับคณาจารย์ EF ได้สร้างการเรียนรู้แก่คุณครูปฐมวัยตาม แนวทางในคู่มือฯ เล่มน้ี ไปจ�ำนวนกว่า 2,000 คนในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา เราได้รับเสียงสะท้อนกลับ จากคุณครูส่วนใหญ่ว่า เมื่อ “ใส่แว่นสายตา EF” และลงมือปฏิบัติตามแนวทางนี้แล้ว คุณครู มีความสุขในการสอนมากข้ึน ม่ันใจท่ีจะสร้างสรรค์แผนกิจกรรมด้วยตนเองมากขึ้น ไม่จ�ำเป็นต้อง ร้ือถอนของเดิมใดๆ หากแต่เสรมิ สร้างต่อยอดได้อย่างสวยงาม ที่ส�ำคัญ พบว่าเด็กปฐมวัยของคุณครูก็มีความสุขข้ึน สนุกกับการเรียนรู้มากขึ้น และเห็น พฤตกิ รรมเชิงบวกของเด็กมากข้ึน

คณะผู้จัดท�ำจึงเช่ือม่ันว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อคุณครู ในการปลูกฝังคุณลักษณะ “คิดเป็น ท�ำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับคนอื่นเป็น และมีความสุขเป็น” แก่เด็กปฐมวัย ของเราอย่างแทจ้ ริง ขอขอบคณุ คณาจารย ์ EF ผมู้ รี ายชอื่ แนบทา้ ยนี้ โดยขอขอบคณุ เปน็ พเิ ศษตอ่ รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจนั ทร์ จฑุ าภกั ดกี ลุ ดร.ปยิ วลี ธนเศรษฐกร และผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปนดั ดา ธนเศรษฐกร ผนู้ ำ� องคค์ วามร ู้ EF มาสวู่ งการพฒั นาเดก็ และเยาวชนไทยและขอขอบคณุ สำ� นกั สนบั สนนุ สขุ ภาวะ เด็ก เยาวชน และครอบครัว ส�ำนัก 4 สสส. ท่ีได้ให้การสนับสนุนการท�ำงานครั้งน้ีอย่างต่อเนื่อง จนส�ำเรจ็ ลลุ ว่ งอยา่ งสวยงาม สุภาวดี หาญเมธี สถาบนั RLG (รกั ลูก เลริ ์นนงิ่ กรุ๊ป)

บทน�ำ “คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF – Executive Functions ส�ำหรับครูปฐมวัย” เล่มน้ี แบง่ เนือ้ หาออกเปน็ 3 ภาค 10 บท ดว้ ยกนั ดงั นี้ ภาคท่ี 1 ความรู้เร่อื งทกั ษะสมอง EF บทท่ี 1 พฒั นาการสมองด้านการคดิ ในเด็กปฐมวัย : พฒั นาการของสมองทเี่ กดิ ขน้ึ ในช่วง วัยต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างวัยกับพัฒนาการของสมอง และพฤติกรรมท่ีเด็ก แสดงออก บทท่ี 2 รู้จกั ทกั ษะสมอง EF - Executive Functions : ความหมายและองค์ประกอบ ของทักษะสมอง EF ความสำ� คญั และความจำ� เปน็ ของการพฒั นาทกั ษะสมอง EF ให้เกดิ ขน้ึ กับเดก็ ตง้ั แตช่ ่วงปฐมวัย บทท่ี 3 ทักษะสมอง EF กับพัฒนาการเด็กปฐมวัย : ล�ำดับขั้น ระยะพัฒนาการของ ทักษะสมอง EF และความสัมพันธ์กับพัฒนาการด้านอื่นๆ เพื่อให้การส่งเสริม พัฒนาทักษะสมอง EF ท�ำได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมตามล�ำดับข้ันและระยะเวลา ของพฒั นาการ ภาคท่ี 2 ปัจจัยท่พี ัฒนาทักษะสมอง EF บทที่ 4 การพฒั นาทกั ษะสมอง EF ดว้ ยการดแู ลสภาพสมองของเดก็ : ปจั จยั ในชวี ติ ประจำ� วนั ท่ีส่งผลต่อสภาพสมองของเดก็ ปฐมวยั ท้งั ปจั จยั ทางบวกท่ีท�ำให้สมองเตบิ โตและ ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และปัจจัยทางลบท่ีต้องระมัดระวังหรือหลีกเลี่ยง เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสภาพสมองและลดทอนการท�ำงานของสมอง บทท่ี 5 การพฒั นาทกั ษะสมอง EF ดว้ ยการ “ใหโ้ อกาส” : ความสำ� คญั ของการเปดิ โอกาส การสร้างโอกาส และไมส่ กดั กนั้ โอกาสทเ่ี ด็กจะได้พฒั นาทักษะสมอง EF บทบาท ของคร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ในการสรา้ งโอกาสใหก้ บั เดก็ ผา่ นกจิ กรรมและกจิ วตั รประจำ� วนั

บทท่ี 6 สภาพแวดลอ้ มทเี่ ออื้ ตอ่ การพฒั นาทกั ษะสมอง EF : ความสำ� คญั ของสภาพแวดลอ้ ม แนวทางการจัดสภาพแวดล้อมท่ีส่งผลต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF ทั้งทาง กาย ทางอารมณ์ - สังคม และทางความคิด บทที่ 7 การพัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยการสร้างเสริมวินัยเชิงบวก : ความหมายและ ความส�ำคัญของการสร้างวินัยเชิงบวก หลักการ เทคนิค และแนวปฏิบัติในการ สรา้ งวนิ ัยเชงิ บวกเพื่อสง่ เสรมิ การพัฒนาทักษะสมอง EF บทท่ี 8 คุณลักษณะครูและบทบาทของครูปฐมวัยที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะสมอง EF : คุณลักษณะ บทบาท และทักษะส�ำคัญของครู/ผู้ดูแลเด็กปฐมวัยท่ีส่งผลต่อการ ส่งเสรมิ การพฒั นาทักษะสมอง EF เพื่อใหค้ รูนำ� ไปพัฒนาตนเอง และสร้างความรู้ ความเข้าใจกับพ่อแม่ถงึ บทบาททสี่ ำ� คัญตอ่ การพัฒนาทกั ษะสมอง EF ให้กับลูก ภาคท่ี 3 การจดั ประสบการณ์การเรียนรูท้ ่ีพฒั นาทกั ษะสมอง EF บทที่ 9 ตัวอย่างกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทกั ษะสมอง EF : นำ� เสนอตัวอย่างกิจกรรม ที่สร้างโอกาสให้เด็กได้พัฒนาทักษะสมอง EF ด้านต่างๆ ท้ังกิจกรรมที่มีลักษณะ เป็นกจิ กรรมระยะยาว กิจกรรมหลายๆ กิจกรรมทต่ี อ่ เนื่องกัน และกิจกรรมที่เปน็ กิจกรรมเดี่ยว บทท่ี 10 การส�ำรวจ ตรวจสอบและทบทวนตนเอง ในบทบาทและกระบวนการเรียน การสอนเพ่ือพัฒนาการส่งเสริมทักษะสมอง EF ให้กับเด็ก : วัตถุประสงค์ของ การประเมิน การสำ� รวจ ตรวจสอบ เพอื่ วิเคราะห์ความสมดุลระหวา่ งการจัดการ เรียนการสอนของครู และพัฒนาการ ประสบการณ์ ความต้องการพื้นฐานทาง รา่ งกายและจติ ใจของเดก็ ปฐมวยั เพอ่ื ลดขอ้ จำ� กดั ทไี่ ปยบั ยงั้ การสง่ เสรมิ พฒั นาการ ทักษะสมอง EF และเพม่ิ โอกาสในการสง่ เสรมิ พัฒนาการทกั ษะสมอง EF อาจารย์ธดิ า พิทักษส์ นิ สขุ บรรณาธิการ



สารบญั ภาคท่ี 1 ความรู้เร่อื งทักษะสมอง EF 14 บทท่ี 1 พฒั นาการสมองดา้ นการคดิ ในเด็กปฐมวยั 16 บทที่ 2 ร้จู กั ทักษะสมอง EF - Executive Function Skills 28 บทท่ี 3 ทักษะสมอง EF กบั พัฒนาการเด็กปฐมวัย 60 ภาคท่ี 2 ปัจจยั ท่ีพัฒนาทักษะสมอง EF 86 บทท่ี 4 การพัฒนาทกั ษะสมอง EF ด้วยการดูแลสภาพสมองของเด็ก 88 96 บทที่ 5 การพัฒนาทักษะสมอง EF ดว้ ยการ “ใหโ้ อกาส” 114 บทที่ 6 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF 128 บทที่ 7 การพัฒนาทักษะสมอง EF ด้วยการเสรมิ สรา้ งวินยั เชงิ บวก 160 (Positive Discipline) บทที่ 8 คณุ ลักษณะและบทบาทของครปู ฐมวัย ทส่ี ง่ เสรมิ การพฒั นาทักษะสมอง EF ภาคท่ี 3 การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรูท้ ่ีพัฒนาทกั ษะสมอง EF 172 บทที่ 9 ตวั อยา่ งกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทักษะสมอง EF 174 บทท่ี 10 การส�ำรวจ ตรวจสอบและทบทวนตนเอง ในบทบาทและกระบวน การเรยี นการสอน เพอื่ พฒั นาการสง่ เสรมิ ทกั ษะสมอง EF ใหก้ บั เดก็ 256

ภาคท่ี 1

ทกั คษวะาสมมรอู้เรงื่อEงF

synapses พัฒนาการสมอง ด้านการคิดในเดก็ ปฐมวัย รองศาสตราจารย์ ดร. นวลจันทร์ จุฑาภกั ดกี ุล 16

เม่ือกลา่ วถงึ “พัฒนาการของสมอง” แม้จะฟังดวู า่ เป็นเร่ืองยาก แตแ่ ท้จริงแล้วเปน็ เรอ่ื งที่ชวนค้นคว้า จากข้อค้นพบของ นักวิทยาศาสตรแ์ ละแพทย์ทม่ี าเปิดเผยความนา่ อัศจรรยข์ อง สมองมนษุ ย์...ในศีรษะของเรานั่นเอง!!! เมื่อดูจากภายนอกสมองของเด็กทารกจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับสมองของผู้ใหญ่ เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ได้ถูกจัดเรียงไว้ในต�ำแหน่งที่ถูกต้องในสมองแต่ละบริเวณแล้ว และจ�ำนวนเซลล์ประสาทในสมองจะไม่มีการสร้างเพิ่มขึ้นใหม่อีก ยกเว้นสมอง บางบรเิ วณจะมกี ารสรา้ งเซลลป์ ระสาทขน้ึ ใหมท่ ดแทนไดต้ ลอดชวี ติ แตก่ ส็ รา้ งในจำ� นวน ท่ีน้อยมาก เชน่ สมองส่วน Hippocampus, Striatum, Olfactory Bulb ฯลฯ พวกเรามีการสร้าง แต่ก็เพียงเล็กน้อย ทดแทนใหม่ได้นะจ๊ะ สมองผู้ใหญจ่ ะมี ขนาดโตขึ้นถงึ เกอื บ 3.5 เท่าเม่อื เทียบ กับสมองเม่อื แรกเกดิ อย่างไรก็ตามเมื่อมองลึกลงไปในระดับตัวเซลล์ประสาทและวงจรประสาทแล้ว สมองของเดก็ เลก็ ยงั มกี ระบวนการสำ� คญั ทจ่ี ะคอ่ ยๆ ทยอยเกดิ ตามมาอกี หลายขนั้ ตอน กว่าจะเสร็จสมบูรณ์ จนในท่ีสุดเม่ือเป็นผู้ใหญ่สมองจะมีขนาดโตขึ้นถึงเกือบ 3.5 เท่า เม่ือเทียบกับสมองของเด็กแรกเกิด 17

เซลล์ประสาทมขี นาดโตขึน้ และแตกแขนงอยา่ งมากในทารกหลงั คลอด ขนาดสมองท่ีใหญ่ขึ้นนี้ไม่ได้เป็นเพราะมีการเพ่ิมจ�ำนวนเซลล์ประสาทมากข้ึน เนื่องจาก กระบวนการสร้างเซลล์ประสาทเสร็จเรียบร้อยแล้วตั้งแต่ไตรมาสที่ 3 ของการต้ังครรภ์ รวมทั้ง การอพยพของเซลล์ประสาทก็เกือบเสร็จสมบูรณ์แล้วต้ังแต่ช่วงก่อนคลอด แต่สิ่งท่ีเกิดข้ึนอย่าง มากในสมองของทารกหลงั คลอด คอื การทเี่ ซลลป์ ระสาทมขี นาดโตขนึ้ และมกี ารแตกแขนงประสาท อยา่ งมากมาย โดยเฉพาะแขนง Dendrite จะแตกกง่ิ แขนงประสาทจนทำ� ใหเ้ ซลลป์ ระสาทแตล่ ะชนดิ มรี ปู รา่ งลกั ษณะเฉพาะทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไปตามหนา้ ทแี่ ละบรเิ วณของสมองทเี่ ซลลน์ น้ั ปรากฏอยู่ เดนไดรท์ (Dendrite) แขนงประสาทเลก็ ๆ เหลา่ นต้ี อ่ ไปจะมกี ระบวน การเปลี่ยนแปลงส�ำคัญเกิดตามมา คือการสร้าง ไซเนปส์ จุดเชื่อมต่อสัญญาณประสาท หรือการที่เซลล์ (Synapses) ประสาทแตล่ ะเซลลย์ นื่ แขนงประสาทเลก็ ๆ ออกมา เยื่อไขมัน แตะกนั เพอื่ สรา้ งโครงสรา้ งพเิ ศษทเ่ี ลก็ มาก เรยี กวา่ (Myelin) Synapses ท�ำให้เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์เริ่ม ตดิ ต่อสื่อสารกนั เรมิ่ รับส่งข้อมลู ระหวา่ งกัน www.4mylearn.org ปฐมวัย ชว่ งเวลาสำ� คญั ของการสรา้ ง Synapses ช่วงปฐมวัยเป็นช่วงเวลาส�ำคัญของการสร้าง Synapses จ�ำนวนมากมาย ในสมอง เซลลป์ ระสาทหนงึ่ เซลลจ์ ะมจี ำ� นวน Synapses ไดม้ ากถงึ 15,000-25,000 Synapses ความหนาแน่นของจ�ำนวน Synapses ในเปลือกสมองจะมีมากท่ีสุด ในช่วงเดก็ ปฐมวัย สงิ่ สำ� คญั คอื ชว่ งเวลาของการสรา้ ง Synapses มากทส่ี ดุ นนั้ ไมไ่ ดเ้ กดิ พรอ้ มกนั ท่ัวทุกส่วนทุกบริเวณของสมอง บางบริเวณเกิดก่อน บางบริเวณเกิดหลัง เช่น เปลอื กสมองสว่ นการมองเหน็ (Visual Cortex) จะเรม่ิ สรา้ ง Synapses อยา่ งรวดเรว็ ในชว่ งอายุ 3-4 เดอื นและสรา้ งเพม่ิ ไปอกี เรอื่ ยๆ พออายุ 1 ปี จำ� นวน Synapses ในเปลือกสมองส่วนการมองจะมีมากถึง 1.5 เท่าของผู้ใหญ่ จากน้ันการสร้าง Synapses ในเปลอื กสมองบรเิ วณนีจ้ ะคอ่ ยๆ ลดลงจน Synapses มจี �ำนวนเทา่ กับ ผใู้ หญเ่ ม่ือเด็กอายุ 4-5 ปี 18

สว่ นเปลอื กสมองบรเิ วณทเ่ี กย่ี วกบั ภาษาจะเรม่ิ สรา้ ง Synapses จำ� นวนมากมาย ในชว่ งอายุ 1-2 ปี ซ่ึงจะสร้างอย่างต่อเน่ืองไปเรื่อยๆ ตลอดช่วงปฐมวัย และค่อยๆ ลดลงจนมีจ�ำนวน Synapses เท่ากับผู้ใหญ่เม่ืออายุประมาณ 5-6 ปี ในขณะที่สมองส่วนหน้าสุดท่ีเก่ียวข้องกับ การคดิ ทซ่ี บั ซอ้ นจะเรมิ่ มกี ารสรา้ ง Synapses อยา่ งมากในชว่ งปลายขวบปแี รกและสรา้ งเพม่ิ ขนึ้ ต่อไปอีกเร่ือยๆ โดยอัตราการสร้าง Synapses ในเปลือกสมองส่วนหน้าสุดจะมากท่ีสุดในช่วง ปฐมวัยจนถึงวัยเรียน ดังนั้นเมื่อเด็กเร่ิมเข้าสู่วัยรุ่น จ�ำนวน Synapses ในสมองส่วนนี้จะมีมาก เกินพอ “การสร้าง Synapse ในช่วงปฐมวยั ” ( วนิ าทลี ะ 700 จุดในช่วงต้นของชีวิต) ภาษา การคิดระดบั สงู การมองเหน็ และการได้ยนิ ขวบปแี รก แรกเกิด เดือน ปี เครดติ ภาพ : สกมเปาอรลงมือสอก่วงน >> จะเรม่ิ สรา้ ง Synapses อยา่ ง สมเกเภอปี่ยางลสวษือก่วากนับที่ >> จะสร้าง Synapses อยา่ งมากและ รวดเรว็ ช่วงอายุ 3-4 เดอื น ตอ่ เนอื่ งไปเรื่อยๆ ตลอดช่วงปฐมวยั และค่อยๆ ลดลงจนมีจำ� นวน Synapses เท่ากับผู้ใหญ่เม่อื อายปุ ระมาณ 5-6 ปี สมเกกเอปา่ียงลรสวือคก่วกิดนับที่ >> จะเรม่ิ มีการสร้าง Synapses อย่างมากในชว่ งปลาย ขวบปแี รกและสร้างเพิ่มข้นึ ตอ่ ไปอกี เรือ่ ยๆ 19

ส่ิงแวดล้อม พันธุกรรม การสร้างเครือข่ายเซลล์ประสาท (e) Network formation (d) Growกthารสoรrา้ sงySnyanpaspeseformation (Cก)ารGงuอiกdขaอnงcปeลายประสาทไปหาเซลล์เปา้ หมาย ขั้นตอน การเปลยี่ นรูปรา่ งและการอพยพของเซลลป์ ระสาท การพัฒนาสมอง (b) Differentiation migration การเพมิ่ จ�ำนวนเซลล์ประสาท (a) Proliferation ขัน้ ตอนการพัฒนาสมอง (a) การเพม่ิ จ�ำนวนเซลลป์ ระสาท (b) การเปลี่ยนรปู ร่างและการอพยพ ของเซลล์ประสาท (c) การงอกของปลายประสาทไปหาเซลล์เป้าหมาย (d) การสร้าง Synapses และ (e) การสร้างเครอื ข่ายเซลลป์ ระสาทที่ท�ำงานร่วมกนั ในการคิด กระบวนการเหล่านี้สว่ นหนึ่ง ถกู กำ� หนดโดยพันธุกรรม (a-c) แต่หลงั จากนน้ั (c-e) สิง่ แวดล้อม การเลีย้ งดแู ละการอบรมส่งั สอน จะเปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทจ่ี ะชว่ ยใหส้ มองพฒั นาไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ ครแู ละพอ่ แมจ่ งึ มบี ทบาทสำ� คญั ตอ่ การ สรา้ งสมองของเด็ก (Yehezkel Ben-Ari, 2008) 20

Pruning กระบวนการทำ� ลายส่วนท่ีไม่ได้ใช้งาน เม่ือย่างเข้าสู่ วัยผู้ใหญ่ สมองส่วน จากน้ันจะมีกระบวนการสำ� คญั ตามมาอกี หนง่ึ กระบวนการ คือ การทำ� ลายแขนง Prefrontal Certex ประสาท และ Synapses บางส่วนที่มากเกินท้ิงไป กระบวนการท�ำลายนี้เรียกว่า “Pruning” เพ่ือท�ำใหจ้ �ำนวน Synapses มีพอดกี บั การใชง้ าน ไม่มากหรือน้อยเกนิ ไป จึงจะท�ำหนา้ ที่ ท�ำให้สมองทำ� งานมีประสิทธภิ าพมากข้ึน ควบคมุ ความคดิ ในท�ำนองเดียวกันกับการสร้าง Synapses กระบวนการ Pruning ก็มีลักษณะ เดยี วกนั คอื จะเกดิ ไมพ่ รอ้ มกนั ในสมองแตล่ ะบรเิ วณ เชน่ เมอ่ื เดก็ อายุ 2 ขวบ สมอง ไดอ้ ย่างมี สว่ นการมองเห็น (Visual Cortex) จะเริ่มมีการ Pruning ท�ำให้จ�ำนวน Synapses ประสิทธิภาพทสี่ ุด ค่อยๆ ลดลงจนเท่ากับผู้ใหญ่เมื่ออายุประมาณ 5 ขวบ ในขณะที่สมองส่วนหน้าสุด (Prefrontal Cortex) กระบวนการ Pruning จะเสร็จสมบรู ณก์ ็เม่ือยา่ งเข้าสู่วยั ผ้ใู หญ่ สมองส่วนน้ีจึงจะท�ำหนา้ ท่ใี นการควบคุมความคิดไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพทีส่ ดุ แรกเกดิ 6 ปี 14 ปี เครดิตภาพ : Center on the Developing Child-Harvard University 21

กระบวนการสรา้ งเยื่อไขมัน (Myelin) หมุ้ เส้นใยประสาท กระบวนการสุดท้ายทีจ่ ะเกดิ ตามมาคอื การสรา้ งเย่ือไขมัน (Myelin) หุ้มเส้นใยประสาท เยื่อ ไขมนั ทห่ี มุ้ รอบเสน้ ใยประสาทหลายๆ ชนั้ นมี้ คี วามสำ� คญั เพราะจะทำ� ใหส้ ญั ญาณประสาทเดนิ ทาง ได้เรว็ ข้ึน 10-100 เทา่ เสน้ ใยประสาทท่ีมเี ยื่อ Myelin หมุ้ อย่จู ะเปน็ สีขาว ดังน้ันจงึ เรยี กบรเิ วณ กลมุ่ เสน้ ประสาททม่ี เี ยอ่ื Myelin หมุ้ และมารวมกนั อยวู่ า่ “เนอ้ื สมองสว่ นสขี าว” (White Matter) การสร้างเย่ือ Myelin หุ้มเส้นใยประสาทมีความส�ำคัญมาก เนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ว่าสมอง บริเวณท่อี ยไู่ กลกันเร่มิ มกี ารติดตอ่ สื่อสารระหว่างกนั มากขน้ึ กระบวนการน้เี กดิ ข้ึนตลอดเวลาใน ระหว่างการพฒั นาของสมอง โดยสมองแตล่ ะบรเิ วณจะมชี ว่ งเวลาของการสรา้ งเยอ่ื Myelin เกดิ ขนึ้ ไม่ พรอ้ มกนั บางสว่ นเกดิ กอ่ น บางสว่ นเกดิ ทหี ลงั เชน่ ในเดก็ แรกเกดิ มกี ารสรา้ งเยอ่ื Myelin ในสมอง สว่ นกา้ นสมอง เชน่ Pons, Cerebellar Peduncle ซึง่ เปน็ บริเวณทีค่ วบคมุ การท�ำงานของอวยั วะ ที่สำ� คัญตอ่ การมชี วี ติ รอด เม่ือทารกอายุ 3 เดือนจะเริ่มมีการสร้างเย่ือ Myelin หุ้มเส้นใยประสาทใน สมองสว่ นการมอง (Optic Radiation) และ Corpus Callosum ซงึ่ เปน็ กลมุ่ เสน้ ใย ประสาทเชื่อมสมองทั้งสองซีก เม่ือเด็กอายุ 8-12 เดือนจะเริ่มมีการสร้างเยื่อ Myelin หมุ้ เสน้ ใยประสาทในเปลอื กสมองสว่ นหนา้ (Frontal Lobe), สว่ นทา้ ยทอย (Occipital Lobe) และส่วนด้านข้าง (Parietal Lobe) โดยเฉพาะสมองส่วนหนา้ สดุ กระบวนการสรา้ งเยื่อ Myelin จะเรมิ่ เกดิ ตง้ั แตช่ ว่ งวยั เดก็ เลก็ แตจ่ ะดำ� เนนิ ไป อยา่ งชา้ ๆ กวา่ จะเสรจ็ สมบรู ณ์ คอื ในชว่ งวยั รนุ่ ตอนปลายยา่ งเขา้ สวู่ ยั ผใู้ หญ่ สมองส่วนหน้าสุดมีหน้าที่เกี่ยวกับการคิด การตัดสินใจ การควบคุมอารมณ์ ความคิด และ การกระทำ� เพ่ือก�ำกับตนเองให้ไปสูค่ วามส�ำเร็จ จึงไมน่ า่ แปลกใจทเ่ี ดก็ และวัยรนุ่ อาจมกี ารตัดสิน ใจทผ่ี ดิ พลาดได้ เพราะตดั สนิ ใจโดยใชอ้ ารมณม์ ากกวา่ เหตผุ ล และอาจตดั สนิ ใจผดิ ไดเ้ พราะทำ� โดย ไมท่ ันหยุดคิดถงึ ผลทีจ่ ะตามมา ขอ้ มูลเหลา่ นี้ชี้ใหเ้ ห็นวา่ การพัฒนาดา้ นการคดิ ของมนุษย์มีความ สัมพันธ์กับพฒั นาการสมองสว่ นหน้าสดุ ซ่ึงเปน็ สมองสว่ นทใี่ ช้เวลาในการพฒั นายาวนานนนั่ เอง 22

Motor Cortices เปลือกสมองสว่ นควบคมุ การเคลื่อนไหว Top-Down Attention Parietal Cortices การมคี วามสนใจจดจอ่ เปลือกสมอง Behavioral ส่วน Parietal Regulation การกำ� กตบันพเอฤงตกิ รรม Basal Ganglia Occipital Cortices สมองสว่ นหนา้ สดุ ทำ� งานรว่ มกบั เบซลั แกงเกลีย เปลือกสมอง สมองหลายส่วนทางด้านหลัง ส่วน Occipital ช่วยให้เรามีสมาธิจดจ่อกับงาน Temporal Cortices ท่ีท�ำ ไม่วอกแวก (ลูกศรสีฟ้า) เปลอื กสมอง Cerebellum ควบคมุ พฤตกิ รรมตนเองได้ ยงั้ คดิ ส่วน Temporal สมองน้อย ก่อนท�ำ ไม่หุนหันพลันแล่น (ลูก ศรสีเขียว) (Amy F.T. Arnsten et al, 2009) สมองส่วนสัญชาตญาณ สมองส่วนเหตุผลแม้จะ วัยผู้ใหญ่สมองทุกส่วน และส่วนอารมณ์ พัฒนาดีข้ึนในวัยรุ่น แต่ก็ยัง จะมีการพัฒนาสมดุลกัน พัฒนาการเต็มท่ี ไม่ทันกับการพัฒนาของ ในวัยเด็กแต่ส่วนการคิด สัญชาตญาณและอารมณ์ เหตุผลยังพัฒนา ไม่เต็มที่ 23

ขอ้ ดแี ละขอ้ ด้อยของการพฒั นาทย่ี าวนานของสมองส่วนหนา้ เม่ือเทียบกับสัตว์ สมองส่วนหน้าสุดของมนุษย์ใช้เวลาพัฒนายาวนานกว่า 2-4 เท่า แต่อย่างไรก็ตาม สมองจะพัฒนาไปอย่างไร ก็ข้ึนอยู่กับส่ิงแวดล้อมและ การเลี้ยงดูดว้ ย >> สมองของเด็กจะได้มีเวลายาวนานเพื่อรับการ ส่งเสริมพัฒนาให้เต็มศักยภาพของความเป็นมนุษย์ พัฒนาการสมอง ข้อดีคือ ทา่ มกลางสงิ่ แวดลอ้ มของการเลยี้ งดแู บบอบอนุ่ ปลอดภยั ของมนุษย์ท่ียาวนาน และการมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ทดี่ กี บั คนรอบข้าง มีท้ังข้อดี และข้อด้อย >> แต่ขณะเดียวกันก็อาจเป็นข้อด้อยได้ด้วย หากช่วงเวลาที่ส�ำคัญที่ยาวนานน้ี เด็กไม่ได้รับการดูแล แต่กลับต้องเติบโตขึ้นมาท่ามกลางปัจจัยด้านลบต่างๆ ข้อด้อยคือ ท้ังจากความเครียดและการเล้ียงดูแบบทิ้งขว้างไม่ใส่ใจ ถูกท�ำร้ายทารุณกรรมทั้ง ทางกาย ทางใจหรือค�ำพูด ขาดการส่งเสริมพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย ขาดการ อบรมสั่งสอนในเร่อื งสำ� คัญที่สอดคลอ้ งกับการพัฒนาของสมอง ทั้งหมดนี้นอกจากจะขัดขวางพัฒนาการแล้วยังส่งผลเสียระยะยาวต่อพัฒนา การทุกๆ ด้านทั้งอารมณ์ สังคม เชาวน์ปัญญา การคิด การตัดสินใจ การเรียนรู้ ความจ�ำ และน�ำมาซง่ึ ปัญหาพฤตกิ รรมต่างๆ เมือ่ เด็กโตขึน้ หนูโตไปต้องเป็นเด็กดีแน่ๆ เซลล์สมองส่วนแย่ๆ ดูสิๆ เซลล์สมองส่วนดี ต้องชนะ เด็กไม่ดีจงเจริญ เยอะเชียว เดี๋ยวจะตัด จะตัดส่วนดีท้ิงให้หมด ส่วนไม่ดีทิ้งนะ มาแข่งกัน 24

ทกั ษะสมองกบั การฝึกฝนต่อเนื่อง ช่วงปฐมวัย สมองสว่ นหนา้ สดุ ปฐมวัยเป็นช่วงเวลาที่สมองส่วนหน้าสุดมีการพัฒนาอย่างมาก ส่ิงแวดล้อม จะมกี ารพัฒนาอย่างมาก การเล้ียงดูและการอบรมสั่งสอนเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะช่วยให้กิ่งประสาท สง่ิ แวดลอ้ ม การเลี้ยงดู แตกแขนงและเกดิ การสรา้ ง Synapses ในสมองสว่ นหนา้ สดุ (Prefrontal Cortex) และการอบรมส่งั สอน ซึ่งเป็นกลไกส�ำคัญที่จะช่วยให้เด็กได้น�ำข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมมาประมวลผล เปน็ ปจั จัยสำ� คัญทจ่ี ะชว่ ย และคดั กรองกอ่ นทจ่ี ะนำ� มาใชใ้ นการคดิ ตดั สนิ ใจเพอื่ กำ� กบั ตนเองไปสคู่ วามสำ� เรจ็ ให้ก่ิงประสาทแตกแขนง การฝึกฝนอย่างต่อเน่ืองจะเป็นการสร้างเครือข่ายเส้นใยประสาทเช่ือมโยง สมองหลายๆ บริเวณทางด้านหลังกับสมองส่วนหน้าสุด ซ่ึงจะช่วยให้เด็ก มที กั ษะการคดิ ทช่ี ว่ ยให้สามารถก�ำกบั ตนเองไปสเู่ ป้าหมายได้ การที่สมองส่วนหน้าสุดเร่ิมพัฒนาต้ังแต่วัยเด็กเล็กและพัฒนาต่อเนื่อง จนถึงวัยผู้ใหญ่ท�ำให้เกิดค�ำถามอยู่เสมอว่า การเปลี่ยนแปลงที่ยาวนานของ สมองส่วนหน้าสุดเช่นนี้สะท้อนถึงพัฒนาการด้านการคิดของเด็กอย่างไร และส่ิงแวดล้อมกับพันธุกรรมมีบทบาทอย่างไรต่อการพัฒนาด้านการคิดและ เชาวนป์ ัญญาของมนษุ ย์ ค�ำตอบคือแม้ว่าสมองส่วนหน้าสุดน้ีจะเริ่มท�ำหน้าที่ต้ังแต่วัยเด็กแต่ ก็มีความจ�ำกัดด้านโครงสร้างและการท�ำงานอยู่มาก จึงท�ำให้เด็กเล็กยังไม่ สามารถคิดได้ซับซ้อนมากนัก แต่เมื่อเด็กโตข้ึน การคิดจะซับซ้อนมากข้ึน เร่ือยๆ จนสามารถคิดแบบนามธรรมได้ เช่น เด็กวัย 1 ขวบสามารถคิด แก้ปัญหาง่ายๆ เช่น การค้นหาสิ่งของท่ีหายไปจากต�ำแหน่งเดิมได้ เมื่ออายุ 1.5-2.5 ปี เด็กเร่ิมตระหนักรู้ในตนเองแต่ยังเอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง พออายุ 4.5 ปขี ึ้นไปจงึ จะเร่ิมเข้าใจผู้อน่ื 25

Executive Functions (EF) พ้นื ฐานสำ� คัญของความสามารถทางการคดิ ที่ซบั ซอ้ นขึ้น การเข้าใจตนเองและเข้าใจผู้อ่ืนเป็นทักษะส�ำคัญที่จะท�ำให้เด็กมีพัฒนาการ ด้านสังคมต่อไป ซ่ึงพัฒนาการด้านการคิดเหล่านี้ต้องอาศัยทักษะส�ำคัญที่เรียกว่า Executive Functions (EF) เป็นพื้นฐานท้ังส้ิน เด็กท่ีมีการพัฒนาทักษะด้าน EF ดีตามวัย จะควบคุมอารมณ์ ความต้องการ ความอยากได้ สามารถยั้งใจได้ ก�ำกับตนเองให้มุ่งม่ันจดจ่อจนน�ำไปสู่ความส�ำเร็จได้ เมื่อเด็กโตขึ้นจนย่างเข้าสู่ วัยเรียนและวัยรุ่น ทักษะด้าน EF จะยิ่งมีความส�ำคัญต่อความส�ำเร็จทาง การเรยี นมากขน้ึ เพราะเดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ เปน็ วยั ทตี่ อ้ งรบั ผดิ ชอบตวั เองมากขน้ึ เร่ือยๆ ในขณะท่ีมีสิ่งมาล่อใจมากมาย เด็กจึงต้องรู้จักบริหารจัดการตนเอง ในเกอื บทุกเร่อื งจึงจะประสบความสำ� เรจ็ ได้ การฝึกทกั ษะดา้ น EF ต้ังแตว่ ัยเดก็ เล็ก จึงมีความส�ำคัญเพราะจะเป็นพื้นฐานในการคิดที่ซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ เช่น การ ตัดสินใจ (Decision Making) ความอดทน มานะพยายาม ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค (Grit) และความสามารถในการฟน้ื ตวั ได้ เปลี่ยนวิกฤตเิ ป็นโอกาสได้ (Resillience) เพอื่ กำ� กบั ตนเองไปสู่ความส�ำเรจ็ ต่อไป ตัดสินใจ ความสามารถ (Decision ในการฟื้นตัวได้ Making) เปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกาสได้ (Resillience) การฝึกทกั ษะด้าน EF ความอดทน มานะพยายาม ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค (Grit) 26

สรุป • การพฒั นาของสมองมี 3 กระบวนการ 1. Synapses คอื การทเี่ ซลลป์ ระสาทยนื่ แขนงประสาทออกมาแตะกนั เกดิ การสอ่ื สาร รับสง่ ข้อมูลกนั 2. Pruning คือ การทำ� ลายแขนงประสาทและการสอื่ สารข้อมลู บางสว่ นทมี่ ากเกนิ ไป 3. การสร้างเย่ือไขมนั (Myelin) หุ้มเส้นใยประสาทท�ำให้สัญญาณประสาทเร็วข้นึ มาก • ช่วงปฐมวัยเป็นช่วงเวลาส�ำคัญของการสร้าง Synapes จ�ำนวนมาก ในสมอง และเปน็ ชว่ งเวลาทส่ี มองสว่ นหนา้ สดุ ซง่ึ มหี นา้ ทเี่ กยี่ วกบั การคดิ การตดั สนิ ใจ การควบคุมอารมณ์และความคดิ มกี ารพฒั นาอยา่ งมากเช่นกนั • สมองของมนุษย์แต่ละคนจะมีพัฒนาการที่ยาวนาน จึงต้องการปัจจัยท่ีดี ทง้ั การดแู ล อบรมสง่ั สอน การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ และสภาพแวดลอ้ ม ตงั้ แตอ่ ยใู่ นครรภม์ ารดา ส่ปู ฐมวัย และเตบิ โตจนก้าวผา่ นช่วงวยั รุน่ 27

ทกั ษะพน้ื ฐาน ทกั ษะก�ำกับตนเอง ทักษะปฏิบตั ิ รูจ้ กั ทกั ษะสมอง EF Executive Function Skills สุภาวดี หาญเมธ ี เรยี บเรียง 28

ค�ำถามท่ีไดย้ นิ บอ่ ยครั้ง คือ เราจะเรยี นรู้เรือ่ ง Executive Functions ไปทำ� ไม จำ� เปน็ แค่ไหน มีเหตผุ ลอย่างนอ้ ย 3 ข้อทจ่ี ะตอบค�ำถามว่า ทำ� ไมเราตอ้ งเรยี นรเู้ รื่อง EF เหตผุ ลประการแรกทีต่ ้องมาสนใจ EF เพราะโลกเปลี่ยนแปลงไป เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มาพร้อมกับโลกาภิวัตน์ ได้ท�ำให้โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว สลับซับซ้อน พลิกผันและ คาดการณ์ได้ยาก เกือบทุกอย่างรอบตัวเปลี่ยนไปหมด เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทเกือบทุกด้าน คนส่วนใหญ่ อยู่กับสมาร์ทโฟน วิถีการใช้ชีวิตของผู้คนเปลี่ยน อาชีพหลายอย่างหายไป อาชีพแปลกๆ ใหม่ๆ เข้ามาแทนท่ี ขา่ วสารทว่ มทน้ ความรหู้ างา่ ยแคป่ ลายนวิ้ เศรษฐกจิ ผนั ผวนงา่ ย วฒั นธรรมหลากหลายและหลง่ั ไหล ผคู้ นอพยพ ข้ามถิ่น ทรพั ยากรน้อยลงและเสือ่ มลง ความขดั แย้งในมติ ติ า่ งๆ สูงขนึ้ ฯลฯ 29

ดังนั้น เด็กไทยของเราจะเติบโตไปใช้ชีวิตในโลกยุคใหม่แบบนี้ได้ ย่อมต้องมีคุณลักษณะ แบบใหม่ไปด้วย เราจะสร้างแบบคนรุ่นเก่า ที่ท�ำงานเก่งตามค�ำสั่ง คิดในกรอบเดิมๆ แก้ปัญหา แบบเดิมๆ อยู่สบายตามใจฉัน ถึงก็ช่างไม่ถึงก็ช่าง ฯลฯ ไม่ได้อีกต่อไป นักคิดและนักการศึกษา ท่ัวโลกได้ช้ีไว้ว่า คนรุ่นใหม่จะอยู่รอดปลอดภัย มั่นคง และท�ำให้โลกน่าอยู่ต่อไปได้ จะต้องมีทักษะ ท่เี รยี กกนั วา่ “ทักษะศตวรรษที่ 21” (ดงั แผนภาพ) 30

ทกั ษะศตวรรษที่ 21 ไดแ้ ก่ เปน็ พืน้ ฐานขัน้ ตำ่� สุดทม่ี นษุ ย์ทุกคนในโลกต้องทำ� ได้ ทกั ษะ ไมเ่ ช่นนน้ั จะใช้ชวี ติ กบั โลกยคุ นย้ี ากแนๆ่ การอา่ นออก ต่อมาจะต้องมีทักษะที่เรียกว่า 4Cs เพื่อจะเรียนรู้สิ่งต่างๆ เขยี นได้ ในโลกใหม่และนำ� ไปส่กู ารคดิ ค้นสรา้ งนวัตกรรมใหม่ๆ ค�ำนวณเป็น ทักษะคิดวเิ คราะห์ ทักษะคดิ ริเรม่ิ คอื การคิดรเิ ริม่ ส่ิงใหมๆ่ (Critical สรา้ งสรรค์ คดิ นอกกรอบ สร้างทางเลอื ก Thinking) (Creative ในการแก้ปัญหาแบบใหม่ๆ Thinking) หรอื สร้างนวัตกรรมใหม่ คือ คดิ เปน็ เหตเุ ป็นผล แยกแยะข้อมลู ย้อนเห็น 4Cs อดตี ที่ไปทมี่ า ประเมิน สถานการณป์ จั จบุ ัน และคาดการณไ์ ปใน อนาคตข้างหนา้ ได้ ทกั ษะท�ำงาน สามารถเข้าใจ ร่วมกันคนอื่น รว่ มมอื ท�ำงานกันเปน็ (Collaboration) ทมี ได้ ผลดั กนั เป็นผู้นำ� ทกั ษะ ผู้ตาม รับฟังและ ในการส่ือสาร ยอมรบั ความแตกตา่ ง (Communication) มีความสามารถในการส่ือสาร ของกนั และกันได้ ความคดิ ความรูส้ กึ และสถานการณ์ หรอื การงานของตนเองให้ผ้อู ่นื เขา้ ใจ ดว้ ยรูปแบบตา่ งๆ ได้ 31

>> นอกจากน้ี เม่ืออยู่กับเทคโนโลยีก็ยังจะต้องมีทักษะท่ีเกี่ยวกับเทคโนโลยียุคใหม่ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ • ทกั ษะและความรใู้ นการใช้ส่อื • ทกั ษะและความรูใ้ นการใชเ้ ทคโนโลยี • ทกั ษะ และความรใู้ นดา้ นสารสนเทศ ทักษะและความรู้ ทักษะและความรู้ ใช้เครอ่ื งมือและเทคโนโลยี ในการใชส้ ่ือ ในการใช้เทคโนโลยี สมัยใหมต่ า่ งๆ ทจี่ ะคิดค้น (ICT Literacy) กนั ขึน้ มาใหมๆ่ ไดอ้ ยา่ ง (Media Literacy) คลอ่ งแคล่ว มีความเขา้ ใจ ติดตามและรู้ เมื่ออยู่กับ เท่าทันสื่อต่างๆ ท่เี ปล่ียนแปลง เทคโนโลยี ความนยิ มอยตู่ ลอดเวลา ทักษะและความรู้ สามารถวิเคราะห์แยกแยะและน�ำข้อมูล ในดา้ นสารสนเทศ ขา่ วสารตา่ งๆ มาใชเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ (Information ได้อย่างฉลาดเท่าทัน Literacy) ทกั ษะชวี ิต • ยืดหยุ่นปรับตัวได้กับทุกสภาวการณ์ กล้าคิดกล้าท�ำ และ สามารถกำ� หนดชีวติ ตนเองได้ เพ่ือการดำ� รงชีวิต • มภี าวะผ้นู ำ� พร้อมตัดสินใจ และมีความรับผิดชอบในสง่ิ ที่ตนทำ� อยา่ งมคี ุณภาพ • อยู่กับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคมได้ ยอมรับผู้อื่นและอยู่รว่ มกบั คนทแี่ ตกตา่ งได้อยา่ งสันตสิ ุข ได้แก่ • ท�ำงานเป็น ท�ำงานมีประสทิ ธิภาพ “ทักษะศตวรรษที่ 21” ทุกด้านนี้ เป็นส่ิงท่ีเด็กทุกคนต้องได้รับโอกาสฝึกฝนอย่างต่อเน่ือง ฝึกแล้วฝึกอีกอย่างจริงจังตลอดช่วงวัยตั้งแต่เด็กไปจนโต จึงจะปลูกฝังจนเกิดเป็นทักษะ และคณุ ลกั ษณะที่ตดิ ตวั ไปจนถงึ วัยผ้ใู หญ่ เพอ่ื เป็น “พลเมืองคุณภาพ”ของสงั คม 32

เราไม่ได้สอนเด็กเพอื่ ชวี ิตในวนั นี้ แตเ่ ราตอ้ งเตรยี มเดก็ ๆ ในวันน้สี ูโ่ ลกอนาคต ครแู ละพ่อแมจ่ ะพัฒนาคณุ ภาพในเรื่องใด ทส่ี ำ� คญั และเร่งด่วนทส่ี ุด ท่สี ่งผลต่อ อนาคตของเดก็ และเยาวชนทีอ่ ยู่ในความรับผดิ ชอบของเรา พลเมอื งคุณภาพคอื คนแบบไหนกัน “พลเมอื งคุณภาพ” เปน็ ผลผลิตท่เี กิดจากการอบรมเลย้ี งดูและให้การศึกษาอยา่ งเหมาะสม กับความต้องการของประเทศ เราต้องพิจารณาว่าเราจะก�ำหนดคุณลักษณะของพลเมืองที่เรา ตอ้ งการอยา่ งไร เพอ่ื วางแผนในการพฒั นาเดก็ แตล่ ะชว่ งวยั ใหส้ อดคลอ้ งกบั เปา้ หมาย เพอ่ื กำ� หนด ยุทธศาสตร์ กระบวนการพฒั นา และการประเมนิ ผลใหไ้ ด้ตามเปา้ หมาย คณุ ลักษณะ คนทมี่ สี ขุ ภาพกายแข็งแรง ของพลเมอื ง ดูแลร่างกายและความปลอดภัย ที่มีคุณภาพ ในชวี ติ ตนเองได้ คนที่มจี ิตใจเขม้ แขง็ เบิกบาน หนักแนน่ อารมณ์ดี เป็นสขุ ง่าย มองโลกในแง่ดี คนทม่ี สี มั พนั ธภาพกบั คนอนื่ ดี สอื่ สารเปน็ ควบคมุ พฤติกรรมและ อารมณ์ตนเอง ให้เป็นที่ยอมรับรักใคร่ของผู้คนที่เก่ียวข้อง เพื่อน รว่ มงานหรอื คนในครอบครัว ท�ำงานกับคนอ่นื ได้ ทำ� งานเป็นทมี ได ้ คนท่ีมีสติ รู้ควร-ไม่ควร ชะลอ คนท่คี ิดเป็นเหตเุ ป็นผล คดิ วิเคราะหเ์ รือ่ งราวต่างๆ ได้ดี เมื่อมเี รอ่ื งต้อง ความอยากได้ อดทนอดกล้ัน ตดั สนิ ใจ กม็ ีหลักคดิ มกี ารพนิ จิ พจิ ารณาไตร่ตรองดี สามารถตดั สินใจได้ มีเมตตา เหน็ อกเห็นใจผู้อนื่ และ เหมาะสม รจู้ กั วางแผนกอ่ นลงมอื ทำ� ทำ� งานเปน็ ระบบ พอทำ� ไปแลว้ เกดิ ตง้ั มน่ั ในศีลธรรม อุปสรรค กร็ ูจ้ ักแกไ้ ข หรือคิดค้นหาทางออกใหมๆ่ มคี วามพากเพยี รทจี่ ะ ทำ� งานใหส้ �ำเร็จตามเป้าหมาย น่นั คอื พลเมืองคณุ ภาพนัน้ จะต้องมพี ฒั นาการที่ดอี ย่างรอบด้านและสมดลุ ท้งั ด้าน รา่ งกาย อารมณ์จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา 33

สง่ิ สำ� คญั ทสี่ ุดทพี่ ่อแม่และครคู วรตระหนักกค็ ือ “พลเมืองคณุ ภาพ” ต้องมีทักษะ ศตวรรษที่ 21 และทกั ษะศตวรรษที่ 21 เหล่าน้เี กดิ ขึน้ ได้ด้วยการฝกึ ฝนทกั ษะสมองสว่ นหน้า หรือ Executive Functions (EF) มาอยา่ งต่อเนือ่ งตั้งแต่ปฐมวัย จน “ฝงั ชปิ ” เกิดเป็นรากฐาน ของทักษะเหลา่ น้นี ัน่ เอง เหตผุ ลประการทส่ี องทต่ี อ้ งมาสนใจEFเพราะเดก็ ไทยวนั นตี้ กอยใู่ นวกิ ฤตปญั หาหนกั หนว่ ง มาดกู นั วา่ สถานการณเ์ ดก็ ไทยในรอบ 10 ปี ตง้ั แต่ พ.ศ. 2550-2560 เปน็ อยา่ งไรบ้าง สถานการณ์ เด็กวัย 1-3 ปี มีพฒั นาการ เด็กปฐมวยั 2โด5ยรวแมลไมะ่สชม่ ววงัย ร้อยละ 44-25 ป ี ไม่สมวยั ถงึ ร้อยละ 1 รพถท้ึงอพ่ีัฒยัฒ1นลน5าะาก2แ2าลร0ว้ทซาง่ึเงมจด่ือะ้าเมนทเี ภพียบายี ษงกรับา้อลปย่ารลชะะ้เาทถ5ศึง มีความพิการซ้�ำซ้อนเพ่ิมข้ึน จากโรคลมชัก โรคธาลัสซีเมีย โรคขาดสารไอโอดีน และเด็ก มภี าวะทางจิต5 แรรอ้้อลยยะลลรอ้ะะย64ละ..382มเ.ต7ีนี้ย้ำ� ผหอนมักนภอ้ายวะทพุ โภชนาการรุนแรง โรคอ้วนในเด็กปฐมวัยเพ่ิมสูง อยา่ งรวดเรว็ เมอ่ื เทยี บกบั จนเตี้ยแคระแกร็นในช่วง 2 ปแี รก จะสง่ ผลตอ่ ระดบั ไอคิวเม่ือโตขน้ึ 4 ค่าเฉลยี่ ท่วั โลก 3 1 สถาบันแห่งชาติเพอ่ื การพัฒนาเด็กและครอบครวั มหาวิทยาลัยมหิดล 2 การส�ำรวจของกรมอนามยั พ.ศ. 2542-2552 3 ส�ำนกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ (2556) 4 “พฒั นาการเดก็ ปฐมวัย รากแก้วแห่งชวี ติ ”, ส�ำนกั งานสง่ เสรมิ สังคมแห่งการเรยี นร้แู ละคุณภาพเยาวชน (สสค.) (2557) 34 5 กรมสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพกิ าร (บา้ นเฟือ่ งฟ้า)

ผลกระทบจาก ความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก วรตัะย่ำ� ดกวับ6่าสคถตา่ึงิปเฉัญ1ล2ย่ีญทาป่ี ข9ี อร0ง้อเ7ดย็กลปะร2ะถ8ม พฒั นาการทล่ี ่าช้า ประถม วยั 6 ถงึ 11 ปี ตำ่� กวา่ เกณฑ์ ตรใมนอ้�่าำปตยกรลีว5ฐ่าะ9 า7น3IQ0ส2าถกเดึงIลQรก็ท้อปกี่ ย�ำ.อล1หยะตนใู่ นำ่�5ดกเไก.วว8ณร้า่ อ้เฑกยซบ์ณลึ่งกตะฑพ่�ำป์2กรกอ่วต8่างิ ของเด็กปฐมวัย สง่ ผลตอ่ เน่อื งไปถึงเด็ก กปถึงากรตรพ้อิ โัฒยดยลนมะาเี2อดีกก็6รท้อต่ีแยอ้ลลงะไะเดดร้4็กบั ท6กคี่ าวรซรพึ่งไฒัมดร้ีทนบั า้ัง เด็กไทย ร้อยละ48 มีระดับสติปัญญา และเยาวชนในชว่ งวยั ปญั หาการปรบั ตวั การควบคมุ อารมณ์ อยู่ในเกณฑต์ ำ�่ 11 ตอ่ ไป การยอมรับถูกผิดและความมุ่งมั่น พยายาม 6 รเด้อ็กยมลัธะย1มศ6ึกษเลา่นตพอนนัตน้รน้อทยี่ดล่ืมะเห1ล4้า รเด้อ็กยชล้ันะปร1ะถ5มศเึกปษ็นาเปดีท็กี่ ท1ี่ โ22พรบ0ง0เเรหสียน็แูบนกลบราะอ้หุรยพเรลสี่บระพอ้เยห3ยา็ลน5ใะกน2โาเรดร5ง็กพเวรดกียัย่ืมนรอสุ่นาุรรรวาอ้อ้ ุธยย15ใลลนะะ เด็กไทยโดยรวมมีความฉลาดทาง สมาธิสั้น ออทิสติก และ เดก็ ตำ่� กวา่ 15 ปี ตปดิ ี ยตาิด7ยา.43ใ2น .18,00ใ0น มีปญั หาดา้ นอารมณ์ 9 1อา0รมปณี ค์ เวฉาลมี่ยมตงุ่ �่ำมกัน่ วค่าวปามกตพิใยนารยอาบม คน วัย 16-20 อถเเดฉงึันก็ลขดไ่ีน้ัยทับคย3ลต1งั่ดิ.ไ1เคกขลมชร้รอออ่ั้้วงยยโเมลลอะงะเช/11ียว35ั1น2 ลดน้อยลง คุณธรรม จริยธรรม 1,000 คน 16 บเสาียทเง/ินเดเฉือลน่ียคคนิดเลปะ็น1ค,1ว6าม0 ลดนอ้ ยลง 10 เสียหายทางเศรษฐกิจปีละ เดก็ ไทยเฉลย่ี 1 ใน 5 มเี พศสมั พนั ธ์ 30,000 ลา้ นบาท 13 รรเรปอ้้อ้ อ็นยยยนลลลักะะะเ1ร2ีย41น0มว7ยััธมรยแนุ่ ัธมลหยศะญมึกปศงิ ษรทึกาะกุ ษตถ1าอม,ตน0ศอ0ปึน0กลตษคา้นนยา จะกลายเปน็ แมว่ ยั ใส 54 คน เฉพาะ PISA ได้เป็นอนั ดบั ท่ี 50 ของกลมุ่ ปี 2554 มีแม่วัยใสให้ก�ำเนิดลูก 129,000 คน 14 OECD ทเ่ี ขา้ รว่ มวดั ผล 18 ผเฉลลสี่ยัมไมฤ่ถทงึ ธ5ิ์กา0รเคระียแนนคน่า17O-NET 6 กรมสุขภาพจติ (2558) 13 โครงการประเมนิ เทคโนโลยแี ละนโยบายดา้ นสขุ ภาพ (2556) 35 7 กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2554) มหาวทิ ยาลยั มหิดล 8 ขา่ วกระทรวงสาธารณสขุ (www.thaigov.go.th) 14 Child Watch (2554) 9 ข่าวกระทรวงสาธารณสขุ (www.thaigov.go.th) 15 Child Watch (2554) 10 ส�ำนักงานส่งเสรมิ สวัสดิภาพเด็กเยาวชนผู้ดอ้ ยโอกาส 16 สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (2558) และผสู้ ูงอายปุ ี (2556) 17 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (2558) 11 สถาบนั สุขภาพจติ เดก็ และวยั รนุ่ ราชนครินทร์ (2556) 18 โครงการพฒั นาสติปัญญาเด็กไทย กรมสุขภาพจติ กระทรวง 12 โครงการพัฒนาสตปิ ญั ญาเดก็ ไทย กรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุข (2554) สาธารณสุข (2554)

ในฐานะที่เป็นพ่อแม่ ครู ผบู้ ริหาร และนกั การศกึ ษา ทา่ นรสู้ กึ อย่างไร เกี่ยวกับปัญหาเหลา่ นี้ จะปล่อยให้มนั เปน็ อยู่อย่างนตี้ ่อไปอกี หรือ จากปัญหาทั้งปวงข้างต้น สะท้อนให้เห็นว่า ในการดูแลและการจัดการศึกษา เพ่ือพัฒนาเด็กไทยท่ีผ่านมานั้น ย่อมมีความผิดพลาดคลาดเคล่ือนบางประการอยู่ แน่ๆ ผลลัพธ์ของการพฒั นาจึง “ติดลบ” เชน่ นี้ หนงึ่ ในสาเหตสุ ำ� คญั ของปญั หาน้ี ซงึ่ เปน็ ทว่ี พิ ากษว์ จิ ารณก์ นั มาตอ่ เนอื่ งยาวนาน กค็ ือ การศกึ ษาที่มุ่งเนน้ พฒั นาเดก็ ดา้ น IQ เป็นส�ำคญั เนน้ การทอ่ งจำ� เนื้อหา สอน ด้วยต�ำรา แข่งขันด้วยการสอบทุกระดับต้ังแต่อนุบาลถึงอุดมศึกษาและไม่ได้เอา ความรดู้ า้ นพฒั นาการตามธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ รวมทงั้ พฒั นาการของสมองเปน็ ตวั ตงั้ กลา่ วไดว้ า่ การพฒั นาเดก็ ไทยทผ่ี า่ นมาใหค้ วามใสใ่ จตอ่ พฒั นาการรอบดา้ นของ เด็กน้อยกว่าด้านท่องจ�ำ และให้ความส�ำคัญต่อกระบวนการคิด การก�ำกับตนเอง การพัฒนาทักษะชีวิต และการฝึกฝนจากประสบการณ์จริงน้อยมาก ปัญหาจึงได้ ปรากฏดงั กล่าวมาขา้ งต้น สาเหตุประการท่ีสามท่ีต้องมาสนใจ EF เพราะเด็กไทยต้องแบกรับสังคมสูงอายุที่ หนักหน่วงในเวลาอนั ใกล้ ธนาคารโลกรายงานวา่ 19 ในชว่ งปี 2558 ผสู้ งู วยั อายุ 65 ปขี น้ึ ไปมมี ากกวา่ 7 ลา้ นคนหรอื ประมาณ ร้อยละ 10 ของประชากรไทยทงั้ หมด และคาดวา่ จะเพมิ่ ขนึ้ ถึง 17 ล้านคน ภายในปี 2583 หรอื กวา่ รอ้ ยละ 25 ซง่ึ เปน็ สดั สว่ นสงู ทสี่ ดุ ของภมู ภิ าค ดว้ ยเหตนุ ้ี คำ� ถามใหญท่ เี่ กดิ ขนึ้ กค็ อื สงั คมไทยจะดแู ล ผสู้ ูงอายจุ �ำนวนมากขนาดนัน้ ไดอ้ ย่างไร ถ้าเดก็ วันน้ีที่จะเตบิ โตไปเปน็ วัยแรงงานในวันนั้น ไมม่ ีความ สามารถเพยี งพอในการดูแลเศรษฐกจิ สังคมของประเทศ นี่คือโจทย์ระยะยาวท่ีเราจ�ำเป็นต้องพัฒนาเด็กปฐมวัยวันนี้ ให้เติบโตเป็นคนในวัยท�ำงานท่ีมี ประสิทธิภาพ พร้อมท่ีจะแบกรับภารกิจดูแลสังคมผู้สูงอายุสมบูรณ์แบบได้ ซ่ึงศูนย์วิจัยธนาคาร ไทยพาณชิ ยช์ ว้ี า่ หากจะแบกรบั สภาพสงั คมสงู อายสุ มบรู ณแ์ บบไดอ้ ยา่ งดี เดก็ ในวนั นจ้ี ะตอ้ งมคี วาม สามารถในการสร้างผลิตผล (Productivity) ให้มากกวา่ คนรุ่นพ่อแมอ่ ยา่ งน้อย 1 เท่า 19 http://www.worldbank.org/th/news/press-release/2016/04/08/aging-in-thailand 36

ปี 2558 ปี 2583 อายุ 65 ปีขึน้ ไป คาดว่าจะเพม่ิ ข้นึ มมี ากกว่า ถงึ 17 ล้านคน 7 ล้านคน 25% 10% แต่ถ้าเด็กไทยตกอยู่ในปัญหาดังกล่าวไว้ในเหตุผลประการที่สอง พวกเขาจะ การพัฒนา เป็นผใู้ หญท่ ่มี ีคณุ ภาพและมีความสามารถพอทจ่ี ะแบกรบั ภาระนไี้ ดห้ รือ ทกั ษะสมอง ดว้ ยเหตผุ ล 3 ประการดงั กลา่ ว เราจงึ ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ กบั การพฒั นา ส่วนหน้า เดก็ โดยเฉพาะในการพฒั นาสมอง ในสว่ นทที่ ำ� หนา้ ทใ่ี นการ “บรหิ ารจดั การชวี ติ ” หรือ Executive ซึ่งจะชว่ ยให้ตอบโจทยท์ ั้ง 3 ขอ้ ไดค้ ือ ทัง้ ให้เด็กส่วนใหญ่ท่สี ุดก้าวพ้นจากหล่มลกึ Functions ของปัญหาปัจจุบัน ทั้งเพื่อปลูกฝังให้มีทักษะศตวรรษที่ 21 และเพ่ือให้มีความ จึงเปน็ ทางออก สามารถในการแบกรบั ภารกิจสงั คมสูงอายใุ นอนาคตอนั ใกล้ได้ ทสี่ �ำคัญที่สดุ 37

Executive Functions (EF) คืออะไร ทักษะสมองเพื่อจัดการชีวิต หรือ Executive Functions (เรียกย่อๆ ว่า EF หรือทักษะสมอง EF) นั้น เน่ืองจากมีนักวิชาการหลากหลายสาขาวิทยาการ ในระดับโลกท่ีเข้ามาศึกษาในเรื่องนี้ ดังนั้น การให้ค�ำนิยามจึงมีความแตกต่างกัน ในการใช้ค�ำ แต่หากพิจารณาอย่างจริงจังแล้วก็จะเห็นว่า สอดคล้องไปในทิศทาง เดียวกัน Nadine Gaab Executive Functions ท�ำหน้าท่ีก�ำกับพฤติกรรมท่ีมุ่งสู่เป้าหมายของบุคคล ชี้ให้เห็นถึงสิ่งท่ีบุคคลพึงกระท�ำให้เหมาะสมกับบริบท โดยค�ำนึงถึงความรู้และ ประสบการณ์ที่ผ่านมา สถานการณ์ที่ก�ำลังเกิดข้ึนตามมา ความคาดหวัง ในอนาคต คุณค่าและจุดมุ่งหมายในชีวิต EF จะช่วยให้บุคคลมีส�ำนึกของการ เตรียมพรอ้ ม ส�ำนึกของภาระหน้าท่ี มีการยดื หยุ่น และมีการร่วมมอื 20 Seana Moran & Executive Functions ท�ำหน้าท่ีก�ำกับพฤติกรรมท่ีมุ่งสู่ Howard Gardner เป้าหมายของบุคคล ชี้ให้เห็นถึงส่ิงที่พึงกระท�ำให้เหมาะสมกับ บรบิ ท โดยคำ� นงึ ถงึ ความรแู้ ละประสบการณท์ ผี่ า่ นมา สถานการณ์ ท่ีก�ำลังเกิดขึ้นตามมา ความคาดหวังในอนาคต คุณค่าและจุด มุ่งหมายในชีวิต EF จะช่วยให้บุคคลมีส�ำนึกของการเตรียม พร้อม ส�ำนึกของภาระหนา้ ท่ี มกี ารยดื หยุ่น และมกี ารรว่ มมอื 21 20 Nadine Gaab, PhD, of the Laboratories of Cognitive Neuroscienceat Boston Children's Hospital 21 Seana Moran & Howard Gardner, Hill, Skill, and Will: Executive Function from Multiple-Intelligences Perspective, Executive Function in Education :From Theoryto Practice , edited by Lynn Meltzer, The Guilford Press,N.Y. p.19 38

Barkley, R. Executive Functions คือการกระท�ำที่บุคคลเป็นผู้ก�ำหนดทิศทางเอง โดยกำ� หนดเปา้ หมาย (Goal) เลอื กกระทำ� (Select) ลงมือกระท�ำ (Enact) (2011) และด�ำรง (Sustain) การกระท�ำน้ัน ข้ามช่วงเวลาหนึ่งๆ เพ่ือไปให้บรรลุถึง เป้าหมาย โดยค�ำนึงถึงความเก่ียวข้องกับคนอื่นๆ รวมทั้งค�ำนึงถึงกระบวน วธิ กี ารของสงั คมและวฒั นธรรมเพอ่ื นำ� ไปสปู่ ระโยชนส์ งู สดุ ในระยะยาวทบี่ คุ คล นน้ั วางไว้ การท�ำงานเชื่อมโยงสัมพันธ์กันของ EF พ้ืนฐาน 3 ด้าน (Working Memory, Inhibitory Control และ Shift /Cognitive Flexibility) ท�ำให้ เกิดการควบคุมพฤติกรรม น�ำไปสู่การจัดการเพ่ือบรรลุเป้าหมาย มีความ มุ่งมั่นท่ีจะท�ำให้ถึงเป้าหมายให้ได้ มีการจัดวางการงาน แก้ไขส่ิงท่ีผิดพลาด เสียหาย ใส่ใจต่อเสียงสะท้อน และมีความยืดหยุ่นทั้งทางความคิดและ พฤตกิ รรม 22 ผธศน.ดเศรร.ปษนฐดั กดรา EF คอื กระบวนการทำ� งานของสมองระดบั สงู ทป่ี ระมวลประสบการณ์ ในอดีตและสถานการณ์ในปัจจุบัน มาประเมิน วิเคราะห์ ตัดสินใจ (2012) วางแผน เริ่มลงมือท�ำ ตรวจสอบตนเอง และแก้ไขปัญหา ตลอดจน ควบคมุ อารมณ์ บรหิ ารเวลา จดั ความสำ� คญั กำ� กบั ตนเอง และมงุ่ มน่ั ทำ� จนบรรลเุ ปา้ หมายท่ตี ั้งใจไว้ (Goal Directed Behavior) 22 Barkley,R. (2011)“Executive Functions : What They Are, How They Work and Why They Evolved” 39

การท�ำหน้าท่ีของสว่ นต่างๆ ของสมอง สมองส่วนหน้า Motor Cortex Sensory Cortex Parietal Lobe Executive Functions การเคลื่อนไหว ความรู้สึกต่างๆ การรับรู้ การร้จู กั โลก การคิด การวางแผน การคิดคำ� นวณ การจดั การ การแกป้ ญั หา การสะกดค�ำ การควบคุมอารมณ์และ พฤตกิ รรม การสร้าง บุคลกิ ภาพ Temporal Lobe Occipital Lobe ความจำ� การเขา้ ใจ การมองเห็น และภาษา อธิบายภาพ : รศ.ดร.นวลจันทร์ จฑุ าภักดีกลุ ศนู ยป์ ระสาทวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล 1ก�ำคกอวับาารคมมวรณ้สูบกึค์ ุม สมองสว่ นหน้าสุด 2 ไวตารงคปต่แิดรรผวะอนมเิงคแวรตกลาัดป้ ผะสญัลหนิ ์หใจา ทอี่ ยูบ่ รเิ วณหนา้ ผาก 3 คกแวาลบระคกสมุร่ังะพกทฤาำ� ตรตใกิ า่หรง้มรๆมี ของเรานนั้ มศี ักยภาพ และท�ำหน้าทดี่ ังนี้ 40

หน้าท่ีในการบริหารจัดการของสมองส่วนหนา้ สดุ Lateral Prefrontal Cortex Colrtohnal Mediral Prefrontal Cortex • การตดั สินใจถกู ผดิ • ความรู้สึกพงึ พอใจ • การคิดไตร่ตรองกอ่ นทำ� • การตดั สนิ ใจเมือ่ ขอ้ มลู ขดั แยง้ ไม่หุนหนั พลนั แล่น ไม่คนุ้ เคย • การควบคมุ อารมณ์ • มีสมาธิจดจ่อกับสง่ิ ท่ที ำ� จนเสรจ็ • ความจ�ำขณะท�ำงาน Orbitofrontal Cortex Interior Cingulate Cortex • การยบั ยง้ั ความคดิ และพฤตกิ รรม • การมีสมาธจิ ดจ่อ • ความรู้สึกพึงพอใจ • การควบคมุ อารมณ์ • การตดั สนิ ใจแบบท่เี กี่ยวกับ • การประเมนิ ตนเอง อารมณ์ความรูส้ กึ • ทักษะทางสังคม อธิบายภาพ : รศ.ดร.นวลจนั ทร์ จฑุ าภกั ดีกลุ 41

EF ทักษะสมองเพ่อื จดั การชีวติ ให้สำ� เรจ็ directed EF 3x3 : องค์ประกอบของ Executive Functions อย่างไรก็ดี เพ่ือให้เข้าใจและสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ง่ายสถาบัน RLG (Rakluke Learning Group) ได้จัดการความรรู้ ่วมกับคณะนกั วิชาการหลากหลาย สาขาวทิ ยาการ รวมทง้ั จากการรวบรวมและค้นควา้ งานวิจยั จากต่างประเทศอย่าง ต่อเน่ืองแลว้ ไดส้ รุปองคป์ ระกอบของ EF เปน็ แผนภาพ EF 3 x 3 ดังนี้ 42

ถอดรหัส-คำ� สำ� คัญของ EF การวางแผน จดั ระบบดำ� เนินการ 43

องค์ประกอบ EF 3x3 ดา้ น กลมุ่ ทกั ษะพ้นื ฐาน Working Memory • ความจำ� เพ่อื ใชง้ าน : Working Memory คือความสามารถของสมองท่ีใช้ในการจ�ำข้อมูล จัดระบบและหยิบใช้ข้อมูล ขอ้ มลู ตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ จากการไดร้ บั ประสบการณต์ า่ งๆ ทหี่ ลากหลาย จะถกู เกบ็ รกั ษา อยู่ในสมอง Working Memory จะปลกุ ใหข้ อ้ มลู เคลือ่ นไหว แล้วเลอื กข้อมูลชน้ิ ท่ี เหมาะสมน�ำออกมาใช้ ช่วยให้เราจ�ำข้อมูลได้หลายต่อหลายเร่ืองในเวลา เดียวกัน Working Memory เป็นความจ�ำท่ีเรียกมาใช้งานได้ จึงมีบทบาทส�ำคัญ มากในชีวิต ต้ังแต่การคิดเลขในใจ การจดจ�ำส่ิงที่อ่านเพื่อน�ำมาประมวลให้เกิด ความเข้าใจ การจดจ�ำกติกาข้อตกลงเพ่ือน�ำมาปฏิบัติ ความสามารถนี้ช่วยให้เด็ก จดจ�ำกติกาในการเล่น การล�ำดับข้นั ตอนในการเกบ็ ของใหเ้ ขา้ ท่ี ฯลฯ Inhibitory Control • การยงั้ คิดไตร่ตรอง : Inhibitory Control คือความสามารถที่เราใช้ในการควบคุมกล่ันกรองความคิดและแรงอยากต่างๆ จนเราสามารถต้านหรือยับย้ังส่ิงยั่วยุ ความว้าวุ่น หรือนิสัยความเคยชินต่างๆ แล้ว หยุดคดิ ก่อนทจ่ี ะท�ำ Inhibitory Control ทำ� ใหเ้ ราสามารถคดั เลือก มีความจดจอ่ รักษาระดับความใส่ใจ จัดล�ำดับความส�ำคัญ และก�ำกับการกระท�ำ ความสามารถ ด้านน้ีจะช่วยป้องกันเราจากการเป็นสัตว์โลกท่ีมีแต่สัญชาตญาณและท�ำทุกอย่าง ตามทอ่ี ยาก โดยไมไ่ ดใ้ ชค้ วามคดิ เปน็ ความสามารถทช่ี ว่ ยใหเ้ รามงุ่ จดจอ่ ไปทเี่ รอ่ื งท่ี ส�ำคัญกว่า ช่วยให้เราระวังวาจา พูดในส่ิงควรพูด และเม่ือโกรธเกรี้ยว เร่งร้อน หงุดหงิด ก็สามารถควบคุมตนเองได้ ไม่ตะโกน ตบตีเตะต่อยคนอื่น และแม้มี ความวุ่นวายใจกล็ ะวางได้ จนท�ำงานต่างๆท่ีควรต้องทำ� ได้ลลุ ว่ ง ความสามารถน้ีจะ ช่วยให้เด็กรู้จักอดทน รอได้ รอเป็น ไม่แซงคิว ไม่หยิบฉวยของผู้อ่ืนมาเป็นของตน เพราะความอยากได้ 44

• การยืดหยุ่นความคดิ : Shifting / Cognitive Flexibility Shifting / Cognitive Flexibility คอื ความสามารถทจ่ี ะ “เปลยี่ นเกยี ร”์ ใหอ้ ยใู่ นจงั หวะทเ่ี หมาะสม ปรบั ตวั เขา้ กบั ข้อเรียกร้องของสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนไป ไม่ว่าจะเป็นเวลาเปล่ียน ล�ำดับ ความส�ำคัญเปลี่ยน หรือเป้าหมายเปล่ียน ช่วยให้เราปรับประยุกต์กติกาเดิม หรอื ทคี่ นุ้ เคยไปใชใ้ นสถานการณท์ แี่ ตกตา่ งได้ เปน็ ความสามารถทชี่ ว่ ยใหเ้ ราเรยี นรู้ การไม่ยึดติดตายตัว ช่วยให้เรามองเห็นจุดผิดแล้วแก้ไข และปรับเปลี่ยนวิธีท�ำงาน ด้วยข้อมูลใหม่ๆ ช่วยให้เราพิจารณาสิ่งต่างๆ จากมุมมองที่สด ให้คิดนอกกรอบ นอกกล่อง ความสามารถนี้จะช่วยให้เด็กสนุกกับการปรับเปลี่ยนวิธีเล่นให้มีความ หลากหลาย แปลกใหม่ ช่วยปรับตัวปรับใจยอมรับได้ดี ในสถานการณ์ท่ีไม่เป็นไป ตามท่คี าดหวัง เชน่ การผสมสที ไี่ มไ่ ด้ตง้ั ใจ กลมุ่ ทักษะกำ� กบั ตนเอง • การจดจ่อใสใ่ จ : Focus / Attention คือความสามารถในการรักษาความต่ืนตัว รักษาความสนใจให้อยู่ในทิศทาง ท่ีควร เพื่อให้ตนเองบรรลุส่ิงท่ีต้องการจะท�ำให้ส�ำเร็จด้วยความจดจ่อ มีสติรู้ตัว ต่อเนื่องในระยะเวลาที่เหมาะสม ตามสมควรของวัยและความยากง่ายต่อภารกิจ น้ันๆ การใส่ใจจดจ่อเป็นอีกคุณสมบัติพื้นฐานท่ีจ�ำเป็นในการเรียนรู้หรือท�ำงาน เด็กบางคนแม้จะมีระดับสติปัญญาฉลาดรอบรู้ แต่เม่ือขาดทักษะความสามารถ ในการจดจอ่ เมอ่ื มสี ง่ิ ใดไมว่ า่ สงิ่ เรา้ ภายนอก หรอื จากสงิ่ เรา้ ภายในตนเองกว็ อกแวก ไมส่ ามารถจดจอ่ ทำ� งานตอ่ ไปได้ เชน่ นก้ี ย็ ากทจ่ี ะทำ� งานใดๆ ใหส้ ำ� เรจ็ ความสามารถ นี้จะช่วยให้เด็กๆ มีสมาธิจดจ่อกับการร้อยลูกปัด ต่อบล็อก ฟังนิทานจนจบเร่ือง และท�ำกจิ กรรมตา่ งๆ อยา่ งใส่ใจ ไม่วอกแวก Focus / Attention 45

Emotional Control • การควบคุมอารมณ์ : Emotional Control คือความสามารถในการจัดการกับอารมณข์ องตนเอง ตระหนักรู้วา่ ตนเองกำ� ลงั อยู่ในภาวะอารมณ์ความรู้สึกอย่างไร สามารถปรับสภาพอารมณ์ให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ และควบคุมการแสดงออกท้ังทางอารมณ์และพฤติกรรมได้เหมาะสม เด็กท่ีควบคุมอารมณ์ไม่ได้อาจกลายเป็นคนที่โกรธเกรี้ยวฉุนเฉียวง่าย ข้ีหงุดหงิด ข้รี �ำคาญเกนิ เหตุ ระเบิดอารมณ์งา่ ย เรื่องเล็กกลายเปน็ เรื่องใหญ่ และอาจจะกลาย เป็นคนข้ีกังวล อารมณ์แปรปรวน และซึมเศร้าได้ง่าย ความสามารถนี้จะช่วยให้ เด็กๆ อดทนและให้อภัยต่อการกระทบกระทั่งกันเล็กๆ น้อยๆ ได้ในระหว่างเล่น ด้วยกนั เมือ่ ไม่พอใจจะหาวธิ ีแก้ปัญหา ไมใ่ ช่การโวยวาย อาละวาด • การติดตามประเมนิ ตนเอง : Self-Monitoring คือความสามารถในการตรวจสอบความรู้สึก ความคิด หรือการกระท�ำของ ตนเองทง้ั ในระหวา่ งการทำ� งาน หรอื หลงั จากทำ� งานแลว้ เสรจ็ เพอ่ื ใหม้ น่ั ใจวา่ จะนำ� ไปสผู่ ลดตี อ่ เปา้ หมายทวี่ างไว้ หากเกดิ ความบกพรอ่ งผดิ พลาดกจ็ ะนำ� ไปสกู่ ารแกไ้ ข ได้ทันการและเป็นการท�ำให้รู้จักตนเองท้ังในด้านความต้องการ จุดแข็งและ จุดอ่อนได้ชัดเจนข้ึน รวมไปถึงการตรวจสอบความคิด ความรู้สึกหรือตัวตน ของตนเอง ก�ำกับติดตามปฏิกิริยาของตนเอง และดูผลจากพฤติกรรมของตน ที่กระทบต่อผู้อื่น ความสามารถน้ีจะช่วยให้เด็กได้ทบทวนสิ่งท่ีท�ำไป รู้สึก ส�ำนึกผิดแล้วปรับปรุงตนเองใหม่ เช่น การพูดที่ท�ำให้เพื่อนเสียใจ หรือเมื่อ ทำ� ผลงานเสรจ็ ได้ทบทวนเพ่ือพัฒนางานให้ดขี ้นึ Self-Monitoring 46

กล่มุ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ Initiating • การริเรมิ่ และลงมอื ทำ� : Initiating คือความสามารถในการคิดค้นไตร่ตรองแล้วตัดสินใจว่าจะต้องท�ำส่ิงน้ันๆ และ นำ� สงิ่ ทค่ี ดิ มาสกู่ ารลงมอื ปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผล คนทก่ี ลา้ รเิ รม่ิ นนั้ จำ� เปน็ ตอ้ งมคี วามกลา้ หาญ กล้าตดั สินใจ ไมผ่ ดั วนั ประกันพรงุ่ ตอ้ งกลา้ ลองผิดลองถูก ทกั ษะนีเ้ ปน็ พืน้ ฐานของ ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ และจะนำ� ไปสกู่ ารพฒั นาสง่ิ ใหมๆ่ ใหเ้ กดิ ขนึ้ ความสามารถ น้ีจะช่วยใหเ้ ด็กๆ กลา้ คดิ กลา้ ตัดสนิ ใจ และลงมือเลน่ หรอื ทำ� กจิ กรรม • การวางแผนจดั ระบบ ดำ� เนินการ : Planning & Organizing คอื ความสามารถในการปฏบิ ตั ทิ เี่ รมิ่ ตง้ั แต่ การวางแผนทจี่ ะตอ้ งนำ� สว่ นประกอบ ส�ำคัญต่างๆ มาเชื่อมต่อกัน เช่น การตั้งเป้าหมาย การเห็นภาพรวมทั้งหมด ของงาน การก�ำหนดกิจกรรม ฯลฯ เป็นการน�ำความคาดหวังที่มีต่อเหตุการณ์ ในอนาคตมาท�ำให้เป็นรูปธรรม วางเป้าหมายแล้วก็จัดวางขั้นตอนไว้ล่วงหน้า มีการจินตนาการหรือคาดการณ์ในสถานการณ์ต่างๆเอาไว้ล่วงหน้า แล้วจัดท�ำ เป็นแนวทางเพ่ือน�ำไปสคู่ วามสำ� เร็จตามเปา้ หมายตอ่ ไป จากนั้นจึงเข้าไปสู่กระบวนการด�ำเนินการ จัดการจนลุล่วง ได้แก่การแตก เป้าหมายให้เป็นขั้นตอน มีการจัดกระบวน ระบบกลไกและการด�ำเนินการ ตามแผน ต้ังแต่จุดเร่ิมต้นไปจนถึงจุดหมายปลายทาง รวมถึงการบริหารพ้ืนที่ วัสดุ และการบริหารจัดการเวลาอย่างมีประสิทธิภาพและยืดหยุ่นเพื่อให้ งานส�ำเร็จ ด้วยความสามารถนี้จะท�ำให้เด็กรู้จักจัดการกับกิจวัตรประจ�ำวัน การวางแผนการเล่นทีไ่ มซ่ ับซอ้ นได้ดว้ ยตนเอง Planning & Organizing 47

Goal-Directed • การมุง่ เป้าหมาย : Goal-Directed Persistence Persistence คือความพากเพียรเพื่อบรรลุเป้าหมาย และจดจ�ำข้อมูลน้ีไว้ในใจตลอดเวลา ท่ีท�ำงานตามแผนนั้นจนกว่าจะบรรลุ ซึ่งรวมถึงความใส่ใจในเรื่องเวลา (Sense of Time) กบั ความสามารถในการสรา้ งแรงจงู ใจใหต้ นเอง และตดิ ตามความกา้ วหนา้ ของเป้าหมายอย่างต่อเน่ือง นั่นคือเม่ือตั้งใจและลงมือท�ำส่ิงใดแล้วจะมุ่งมั่น อดทนเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ไม่ว่าจะมีอุปสรรคใดๆ ก็พร้อมฝ่าฟันจนส�ำเร็จ ความสามารถนี้จะท�ำให้เด็กๆ เม่ือท�ำสิ่งใดก็จะมุ่งม่ันท�ำโดยไม่ย่อท้อ เช่น ความพยายามที่จะข้ึนบาร์โค้งให้ได้ ความพยายามท่ีจะผูกเชือกรองเท้าจนส�ำเร็จ ความตงั้ ใจท่จี ะกินขา้ วจนหมดจาน 48

ทกั ษะสมอง EF สำ� คัญอย่างไรตอ่ ชวี ิตของเด็ก EF การพฒั นา เมื่อเด็กได้รับโอกาสพัฒนาทักษะสมอง EF ทั้งตัวเด็กเองและสังคมได้รับ ทักษะสมอง EF จะส่งผล ประโยชน์ จะช่วยสรา้ งพฤติกรรมเชงิ บวกและเลอื กตัดสินใจในทางที่สร้างสรรคต์ อ่ ตอ่ การพัฒนาอยา่ ง ตัวเองและครอบครัว รอบด้านเป็นผลทางบวก • น�ำสง่ิ ที่เคยเรยี นรูม้ าก่อนในประสบการณ์มาใช้ในการทำ� งานหรือกิจกรรมใหม่ หากไมพ่ ัฒนาก็จะส่งผล • รจู้ กั ยบั ยง้ั ควบคมุ ตนเองไมใ่ หท้ ำ� ในสงิ่ ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง ไมเ่ หมาะสมแมจ้ ะมสี งิ่ ยว่ั ยวน ทางลบ ไมม่ กี ลางๆ • สามารถปรบั เปลยี่ นความคดิ ได้ เมอ่ื เงอ่ื นไขหรอื สถานการณเ์ ปลย่ี นไป ไมย่ ดึ ตดิ ไมม่ ีคำ� วา่ ไม่พัฒนา ตายตัว จนถึงข้นั มีความคิดสรา้ งสรรค ์ คดิ นอกกรอบได้ ก็ไม่เปน็ ไร • มคี วามจำ� ด ี มสี มาธจิ ดจ่อ สามารถท�ำงานตอ่ เนื่องไดจ้ นเสรจ็ • รู้จกั แสดงออกในครอบครวั ในหอ้ งเรียน กับเพอื่ น หรือในสังคมอยา่ งเหมาะสม ซึง่ จะนำ� ไปสกู่ ารร้จู กั เคารพผูอ้ น่ื อยกู่ บั คนอ่นื ได้ด ี ไมม่ ีปญั หา • ร้จู กั ประเมนิ ตนเอง น�ำจดุ บกพรอ่ งมาปรบั ปรงุ การทำ� งานใหด้ ขี ึ้นได้  • รจู้ กั การวเิ คราะห ์ มกี ารวางแผนงานอยา่ งเปน็ ระบบ ลงมอื ทำ� งานได้ และจดั การ กับกระบวนการท�ำงานจนเสร็จทนั ตามกำ� หนด • เป็นคนที่อดทนได้ รอคอยเป็น มีความมุ่งมั่นพร้อมความรับผิดชอบที่จะไปสู่ ความส�ำเรจ็ เดก็ อย่างนีม้ ใิ ช่หรอื ท่ีพอ่ แม ่ คร ู และสงั คมตอ้ งการ เด็กอย่างน้มี ใิ ช่หรอื ท่จี ะน�ำพาสงั คมและประเทศชาตใิ ห้อยรู่ อดได้ในโลก ทซ่ี ับซ้อนยิ่งข้นึ เดก็ อยา่ งนม้ี ใิ ชห่ รือ ท่ีจะไม่สรา้ งปัญหาสังคม ปญั หายาเสพตดิ ให้พอ่ แม ่ ครอบครัว และสังคมให้ยงุ่ ยากเดือดรอ้ นตอ่ ไป 49

EF กับมิตดิ ้านต่างๆ ของชวี ิต รศ.ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ผู้เชี่ยวชาญ EF จากศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบัน ชวี วทิ ยาศาสตรโ์ มเลกลุ มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะท�ำงานวิชาการ สถาบนั RLG ไดร้ วบรวมข้อมูล วิจัยจากต่างประเทศ เพ่ือสรุปให้เห็นความเก่ียวข้องของทักษะสมอง EF ที่มีต่อพัฒนาการมิติต่างๆ ของชีวติ ไมว่ ่าดา้ นร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมสติปญั ญา ไวด้ ังนี้ ด้านสติ ปัญญา ดา้ นรา่ งกาย ด้านสงั คม EF ท่ีไมแ่ ขง็ แรงจะเกยี่ วขอ้ งกับโรคอว้ น ดา้ นอารมณ์ การกินอาหารมากไป การเสพติดสารต่างๆ จติ ใจ และเม่อื เจ็บปว่ ยกไ็ มร่ ักษาตวั ตอ่ เน่ือง อัตราการบกพร่องใน EF สัมพันธ์กับ Crescioni et al.2011, Miller et al.2011, การมีงานท�ำและอาชีพการงาน การเรียน Riggs et al.2010 ต่อเนื่อง ความส�ำเร็จในการเรียน รายได้ ครอบครวั ความพงึ พอใจในชวี ติ คู่ การเปน็ คนท่ีมีความยับย้งั ชง่ั ใจตำ�่ พอ่ แม่ สุขภาวะทางจิตของลกู ความเสย่ี ง ขาดส�ำนกึ รู้ตัวในวยั เด็ก ในการขบั รถ ปญั หาการเงนิ และการไดร้ บั จะมีอายสุ นั้ กว่า ดว้ ยโรคเลือด ความเชื่อถือทางการเงิน พฤติกรรมผิด ในหวั ใจหรือมะเรง็ เพราะใช้ชีวติ กฎหมาย อัตราการถูกจับ ความใส่ใจต่อ ไปตามความอยากหรอื แรงเรา้ มกั มี สุขภาพและภาวะจิตเภท (รวมเป็นการ พฤตกิ รรมตดิ เหลา้ สบู บุหร่ี ไมค่ ุมนำ้� หนัก ศกึ ษาความบกพร่องในชีวิต 15 ดา้ น) ไม่ออกกำ� ลงั กาย ไมจ่ ัดการกับ คลอเรสโตรอล เป็นตน้ Barkley, 2011a; Barkley & Fischer, 2011; Barkley & Murphy,2010,2011) งานวจิ ัยระยะยาว ของ Friedman et al.,1995 สขุ ภาวะ องค์รวมตลอด ชว่ งชีวิต 50