Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตรวจราชการ64ครบเล่ม

ตรวจราชการ64ครบเล่ม

Published by ataya.eve, 2021-07-02 06:56:12

Description: ตรวจราชการ64ครบเล่ม

Search

Read the Text Version

80 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง ตัวช้วี ดั Monitor ผลการดำเนนิ งาน(ต.ค.63 – มี.ค.64) บรรลุตามเปา้ หมายท่ีตั้งไว้ ตัวชี้วัด ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตดั เคมบี ำบัด รงั สีรกั ษา ของมะเร็ง 5 อนั ดบั แรก (1) ร้อยละของผ้ปู ว่ ยท่ไี ด้รบั การรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สปั ดาห์ ≥ 70% = 93.48% (2) ร้อยละของผู้ป่วยที่ไดร้ บั การรักษาดว้ ยเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ 70% = 95.24% (3) ร้อยละของผปู้ ว่ ยท่ีไดร้ ับการรักษาด้วยรงั สีรกั ษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ 60% = 75.00% 100 85.52 93.48 89.69 95.24 OKRs80Cancer70แ.6ล4ะ Cancer anywhere77จ.8ั0งหวัดลำปาง ปี 2564 80.29 72.34 75.00 กจิ กรร6ม0ที่ได้ดำเนินการในไตรมาส 1 และ 2 40 20 0 2562 ผา่ ตดั 2563 2564 6mo. เคมี รงั สี OKRs Cancer และ Cancer anywhere จงั หวัดลำปาง ปี 2564 กิจกรรมที่ได้ดำเนินการในไตรมาส 1 และ 2 1. ประชุมชี้แจง OKR คณะกรรมการมะเรง็ - ระดับ รพ.ลำปาง วนั ที่ 30 พ.ย.63 2. ประชุมหารือการจัดเครือขา่ ยระบบบรกิ าร Cancer anywhere - ระดบั จังหวดั วนั ท่ี 14 ธ.ค.63 - ระดับ เขตสุขภาพท่ี 1 วันที่ 28 ธ.ค.63 - ประชุมแนวทางการบรกิ าร Cancer anywhere ภายใน รพ.ลำปาง วันท่ี 22 มกราคม 2564 3. สง่ อบรม Hospital Coordinator วันท่ี 21-22 ธ.ค.63 4. จดั ทำตรายาง \"OKR 7 วนั ” และ \"OKR 3 สัปดาห์\" 5. ประสานงาน IT เพมิ่ lab code ส่งตรวจพยาธิวทิ ยา และเพมิ่ check box \"OKR 3 สัปดาห์\" ขอ คิว US CT 6. ประสานงานศูนย์คอมเพื่อเช่ือมโปรแกรม TCB plus, E-claim กบั ระบบ HIS และลงโปรแกรม The 1 ซง่ึ อยรู่ ะหว่างการดำเนนิ การเชอ่ื มโปรแกรมTCB plus กับ HIS กิจกรรมทด่ี ำเนนิ การในไตรมาส 3 1. ติดตามผลการดำเนินการต่อเนื่อง ปญั หา 2. ประเมินผลการดำเนินงาน และ ตัวชว้ี ดั สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

81 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง ผลการดำเนินงานตามตวั ชี้วดั OKR 1. การวินจิ ฉยั ทางพยาธวิ ทิ ยาเบื้องต้น ภายใน 1 สัปดาห์ ≥ 90% CA breast = 96.55% CA colorectal = 80.00% 2. การตรวจ ultrasound หรือ CT scan for staging ภายใน 3 สัปดาห์ > 90% CA breast = 92.86% CA colorectal = 100% 3. ระยะเวลารอคอยการผ่าตดั < 4 สัปดาห์ > 80% CA breast = 69.23% CA colorectal = 66.67% 4. ระยะเวลารอคอยการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด < 6 สปั ดาห์ > 80% CA breast = 100% CA colorectal = 100% 3. ปัญหาอปุ สรรคและแนวทางแกไ้ ข 1. การรายงานข้อมูลอาจลา่ ช้า เน่ืองจากข้อมูลตามตัวช้ีวดั สาขามะเรง็ ต้องใช้ระยะเวลาในการติดตาม ข้อมลู เป็นราย (case) ไมส่ ามารถใชข้ ้อมูลจาก HDC ไดท้ ้งั หมด 2. เนื่องจากสถานการณ์การเฝ้าระวังป้องกันการแพร่กระจายเช้ือไวรัสCOVID-19 ทำให้กิจกรรม โครงการไมส่ ามารถดำเนนิ การไดต้ ามแผน 3. ระยะเวลารอคอยการรักษาด้วยการผ่าตัด ตามตัวชี้วัด OKR ไม่ได้ตามเป้าหมาย ดำเนินการแจ้ง เเพทยเ์ จา้ ของไข้ เปน็ รายบุคคลเพอื่ หาสาเหตุและหาแนวทางพัฒนา ปญั หาและอุปสรรค ระบบขอ้ มูล ของ Cancer anywhere ระบบขอ้ มลู - ระบบ รพ.หลายแห่งยงั ไม่ยอมให้เช่ือมโปรแกรม TCB plus กบั โปรแกรมของ รพ. - อุปกรณ์ยงั ไม่พร้อม support การทำงาน - การบันทึกข้อมูลทต่ี ้องแนบไฟล์ต่างๆยงุ่ ยาก อีกทั้งพบปัญหาเปิดไฟล์ไม่ได้ - บาง รพ.ใช้ระบบ refer เดิม ไมย่ อมใชร้ ะบบ cancer anywhere - การผลักภาระให้รพ.ปลายทางลงทะเบียนเอง ผปู้ ่วย - ขาดความรูท้ ถี่ ูกต้องเกีย่ วกับโครงการ - ขาด smart phone ทีร่ องรบั application และ internet - QR code มีอายุเพียง 24 ชม บคุ ลากร - เจ้าหน้าท่ีส่วนใหญ่ยังไม่ได้เข้าถึงเครื่องมือต่างๆ มองว่าเป็นภาระเพิ่ม และยังไม่มีการระบุผู้รับผิดชอบที่ ชัดเจน - Nurse coordinator ตอ้ งรบั ผิดชอบงานเองท้ังหมด โดยท่ภี าระงานประจำ ท่มี มี ากอยู่ สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

82 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง 4. แผนการดำเนนิ การต่อไป 1. ดำเนนิ การตามแผนพฒั นาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็งจังหวดั ลำปาง 2. ดำเนนิ การโครงการตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสขุ ในการให้บรกิ ารดูแลรักษาผปู้ ว่ ย โรคมะเร็ง ต่างๆ 3. กำกับติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ปัญหา และ ตัวช้ีวดั อย่างต่อเน่ือง เพื่อแกป้ ัญหาทันที 4. ติดตามคา่ ใช้จา่ ยและการเรยี กเกบ็ ค่าบริการการรกั ษาผู้ป่วยในกจิ กรรม Cancer anywhere ผูร้ ายงาน 1.นางขวญั ฤทยั ขยันตรวจ เลขานกุ ารคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ สาขาโรคมะเร็งจงั หวัดลำปาง 2.นายวิวฒั น์ ลวี ริ ยิ ะพนั ธ์ุ ประธานคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็งจังหวัดลำปาง สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

83 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง Functional based ประเด็นการตรวจราชการ ประเดน็ ที่ 5 ลดแออดั ลดรอคอย ลดปว่ ย ลดตาย ประเด็นการพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ (Service Plan) สาขาโรคปอดอดุ กัน้ เร้ือรัง อัตราการกำเริบเฉียบพลันในผปู้ ่วย COPD ตอ่ 100 ผปู้ ่วย COPD ท่ีมีอายุ 40 ปีขน้ึ ไป ตวั ชวี้ ดั (KPI) /คา่ เป้าหมาย เป้าหมาย : ไมเ่ กนิ 110 คร้งั /100 ผปู้ ่วย COPD ทมี่ อี ายุ 40 ปขี นึ้ ไป 1. สถานการณ์/วเิ คราะหบ์ รบิ ท/ปญั หา โรคปอดอุดกั้นเร้ือรังยังคงเป็นปัญหาใหญ่ของจังหวัดลำปาง โดยในปี 2561, 2562 และ 2563 มี อตั ราการกำเรบิ เฉียบพลันท่ีต้องเข้ารับการรักษาท่ีห้องฉุกเฉินและหรือต้องเข้ารบั การรกั ษาในโรงพยาบาลด้วย โรคปอดอุดกน้ั เรื้อรัง 151, 147 และ 134 ครง้ั ต่อร้อยผู้ป่วย COPD อันสืบเน่อื งมาจากมปี ระชากรสบู บุหรี่มาก ใบยาสูบหาง่าย และปัญหาหมอกควันทางภาคเหนือ ซึ่งเป้าหมายการรักษาโรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง คือ ให้ผู้ป่วย มอี าการกำเรบิ น้อยลง มคี ณุ ภาพชีวิตทด่ี ีขึ้น เปน็ ภาระของครอบครวั ลดลง ในปี 2561 จังหวัดลำปางได้มีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคปอดอุดกั้นเร้ือรังโดยมีการ จัดบริการ COPD clinic คุณภาพ ขยายบริการให้ครอบคลุมผู้รับบริการให้มากท่ีสุด ผู้ป่วย COPD เข้าถึง COPD clinic คุณภาพแบบครบวงจร ได้รับการตรวจ PFT เพื่อการวินิจฉัยท่ีถูกต้อง ได้รับการสอน pulmonary rehabilitation มากข้ึนถึงร้อยละ 89 ในผู้ป่วยท่ีมีอาการกำเริบ ได้รับยา Long-acting bronchodilator เพ่ิมขึน้ ถึงรอ้ ยละ 98 แตย่ ังพบว่ายังมีผู้ป่วยส่วนหนงึ่ ทย่ี ังเข้าไม่ถงึ บริการ และมีผ้ปู ่วยจำนวน ไมน่ อ้ ยทไ่ี มไ่ ดร้ ับ Influenza vaccine ท่จี ำเป็น ทำใหโ้ รคกำเริบบ่อย สง่ ผลใหค้ ณุ ภาพชีวิตของผ้ปู ่วยแย่ลง ขอ้ มลู ประกอบการวิเคราะห์ จำนวนผู้ปว่ ย COPD สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการรอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

84 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง 2.แนวทาง/กจิ กรรมและผลการดำเนินงาน 2.1 การพัฒนาระบบบรกิ ารและบริหารจดั การที่มีประสทิ ธิภาพ 2.1.1 ทกุ โรงพยาบาลมีเคร่ืองตรวจ Spirometry และมคี ัดกรองผู้ปว่ ยท่ีสงสัย COPD ทงั้ หมด มาทำ PFT เพ่ือการวินจิ ฉยั ทถ่ี กู ตอ้ ง 2.1.2 คัดแยกผู้ป่วยที่มีอาการกำเริบบ่อย เข้าตรวจใน COPD clinic กับแพทย์เฉพาะทาง ส่วนผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรงมาก เข้ารับการตรวจท่ีอายุรกรรมทั่วไปซ่ึงจัดบริการเท่าเทียมกับผู้ป่วย ใน COPD clinic ส่วนโรงพยาบาลชุมชนจดั แยกวันใหบ้ รกิ าร COPD clinic ออกจาก NCD clinic 2.1.3 ให้การรักษาผู้ป่วยตาม Lampang COPD guideline ติดตามการจ่ายยาในการ จา่ ยยาป้องกนั โดยนายแพทยส์ าธารณสขุ จงั หวัด 2.1.4 ทบทวน Lampang COPD guideline ในส่วนของการวินิจฉัยและรักษา เพื่อให้ทันกับ การเปลี่ยนแปลงแนวทางของ GOLD guideline และ เร่ิมใช้ Initial treatment of stable COPD ในวันท่ี 1 มนี าคม 2564 ท้ังจงั หวัด 2.1.5 จัดระบบบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ ท้ังเภสัชกร พยาบาล นักกายภาพบำบัด โภชนากรใหส้ ามารถดแู ลครอบคลมุ ผูป้ ่วย COPD ทง้ั หมดได้ 2.1.6 จัดระบบบรกิ ารวัคซนี โดย เปลี่ยน Priority การรับวัคซนี , ประสาน รพ.สต. เรอ่ื งการ จัดสรรการรับ Influenza Vaccine และมีการปรับแผนการฉีด Influenza vaccine ในกลุ่มเส่ียงทั้งจังหวัด ภายหลงั ไดร้ ับวคั ซนี COVID-19 2.1.7 ใช้ระบบให้เจ้าหน้าที่เวชกรรมสังคมและทีมเย่ียมบ้าน ออกติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่ เพง่ิ ผ่าน Exacerbation จนต้องนอนโรงพยาบาลทุกราย และแจ้งข้อแนะนำและผลการปรับเปลยี่ นส่ิงแวดลอ้ ม รอบตวั ผปู้ ว่ ยกลับมาทีท่ ีมดแู ลผปู้ ่วย COPD ผา่ นระบบ COC 2.1.8 ทีม COPD รพศ. นเิ ทศงาน COPD รพช. ผ่าน application Line : Lampag COPD 2.2 การพฒั นาระบบข้อมลู 2.2.1 ลงข้อมูลผู้ป่วยโรคปอดอดุ กัน้ เรื้อรงั โดยใชโ้ ปรแกรมของกรมการแพทย์ 2.2.2 ประสาน รพ.สต. เร่ืองการบันทึกข้อมูลการรับ Influenza Vaccine ให้บันทึก COPD เปน็ โรคแรก เพอื่ สามารถดึงขอ้ มูลจากระบบ HDC 2.3 การพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร 2.3.1 จดั อบรมเรื่องการการวนิ ิจฉยั การรกั ษาและการใช้โปรแกรมของกรมการแพทย์ให้กับทีม 2.3.2 มกี ารปฐมนิเทศแพทย์เพมิ่ พนู ทักษะและแพทย์ใหม่เรือ่ งการลง code ICD 10 ทถี่ ูกตอ้ ง 2.3.3 ชแี้ จงเกณฑ์การวนิ ิจฉัยทถี่ ูกต้องในองคก์ รแพทย์ 2.1.4 เจา้ หน้าที่ผ่านการอบรม spirometry ของสมาคมอุรเุ วชช์ครบ 100 % สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

85 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง ผลการดำเนนิ งาน 1. อตั รากำเริบเฉียบพลนั ต่อร้อยผูป้ ว่ ย COPD ทม่ี ีอายุ 40 ปีข้ึนไป 2. อัตราการใช้ Long-acting bronchodilator ผู้ป่วยทม่ี ปี ระวัตมิ อี าการกำเริบ 3. อัตราการทำ pulmorary function test สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

86 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง 4. อัตราการไดร้ บั วัคซีนไขห้ วัดใหญ่ 2564 = 100 % 100 70 71 3 90 2562 2563 2564 80 71 70 60 50 40 30 20 10 0 2561 5. การลงโปรแกรมของกรมการแพทย์ 100 90 16 2564 87 90 83 85 80 70 2562 2563 60 50 40 30 20 10 0 2561 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการรอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี ก สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจ

87 กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง จราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปก แผนการดำเนนิ งาน O1 ลดอัตรา Moderate to severe exacerbation (ท KR1.1 Moderate to severe exacerbation rate < 110 ค KR1.2 ผู้ปว่ ย COPD ไดร้ บั Influenza vaccine 100% KR1.3 ผู้ปว่ ย COPD ได้รับยาขยายหลอดลมออกฤทธ์ยิ าว LA O2 ผูป้ ว่ ย COPD มคี ณุ ภาพชีวิต (Quality of Life) แล KR2.1 ผ้ปู ว่ ย COPD มีค่า CAT score <10 อย่างน้อย 70% สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจ

88 กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง ท่ีได้ systemic steroid, antibiotics, admit) ครัง้ /100 ผูป้ ว่ ย COPD (กรมการแพทย)์ AMA, LABA/ICS, LABA/LAMA/ICS 100% (เขต1 >80%) ละภาวะสขุ ภาพ (Health Status) ดีข้ึน ขน้ึ ไป จราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

89 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง KPI monitor งาน COPD - ผู้ปว่ ยได้รบั ยาขยายหลอดลมออกฤทธ์ยิ าว LAMA, LABA/ICS, LABA/LAMA/ICS 100% (เขต1 >80%) - อัตราการได้รบั ยา Triple therapy (LABA/LAMA/ICS) ในผปู้ ่วย COPD ระดับ D > 20% - ผูป้ ว่ ย COPD ได้รบั Influenza vaccine 100% (เขต1 >90%) - ผู้ป่วย COPD ได้รบั การตรวจสมรรถภาพปอด เพ่ือยืนยันการวนิ จิ ฉยั > 90% เพื่อติดตามโรคอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ > 90% - ผปู้ ่วย COPD มี COPD Assessment Test (CAT) < 10 คะแนน > 90% งานเดือน ต.ค. 63- พ.ค. 64 - ประชุมทมี COPD จังหวัด ผ่าน Application Line - จดั ประชมุ วชิ าการเครอื ข่าย COPD จงั หวดั ลำปาง 8 เม.ย. 64 - เปล่ียน Priority รับ Vaccine เป็น Priority 1.4 และบันทึกข้อมูลการรับ Influenza Vaccine ให้บันทึก COPD เปน็ โรคแรก - ทบทวนแนวทางการรักษาผู้ป่วย COPD : Initial treatment of stable COPD และเริ่มใช้ 1 มีนาคม 2564 ทัง้ จงั หวดั - เริ่มดำเนินโครงการคัดกรองประเมินความเสี่ยงโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังในประชาชนสูบบุหร่ี ด้วยการตรวจ Spirometry ในวันท่ี 1 มีนาคม 2564 ท้ังจังหวัด แต่ยังดำเนินการ PFT ไม่แล้วเสร็จ เน่ืองจากสถานการณ์ การระบาดของ COVID-19 งานไตรมาสที่ 3 ปี 2564 - ทบทวนความรนุ แรง A, B, C, D ทัง้ จังหวัด และให้การรักษาตามแนวปฏิบตั ิของสมาคมอุรเวชช์ ปี 2560 - ปรับแผนการฉีด Influenza vaccine ในกลุ่มเสี่ยงทั้งจังหวัด โดยได้รับความเห็นชอบจาก สสจ. ภายหลัง ไดร้ บั วัคซนี COVID-19 - ประสาน รพ.สต. เรื่องการจัดสรรและบันทึกข้อมูลการรับ Influenza Vaccine ให้บันทึก COPD เป็น โรคแรก เพอื่ สามารถดึงข้อมูลจากระบบ HDC - วางระบบเกบ็ ขอ้ มูล CAT score, Exacerbation, การได้รับยา Long-acting bronchodilator - ปรับแผนการทำ Spirometry ทั้งในกลุ่มป่วย และโครงการคัดกรองกลุ่มเส่ียง (งบPPA) ตามสถานการณ์ การระบาดของ COVID-19 (หยดุ 2 ครง้ั ประมาณ 5 เดือนในปีงบประมาณ 2564) วเิ คราะหผ์ ลการดำเนินงาน 1. อัตรา Exacerbation สูง สว่ นหนง่ึ จากการวินิจฉยั และ การลง code 2. การรักษาด้วยยาตาม COPD guideline ภายหลังมกี ารทบทวนแนวทางการรักษาผู้ปว่ ย COPD : Initial treatment of stable COPD แ ล ะ เร่ิ ม ใช้ 1 มี น า ค ม 2564 ท้ั งจั ง ห วั ด มี ก า ร ใช้ Long-acting bronchodilator ครบ 100 % ในเดอื นพฤษภาคม 2564 3. Influenza vaccine ผู้ป่วย COPD ได้รับไม่ครบ 100 % ทำให้มีอาการกำเริบบ่อย มีจัดระบบบริการ วัคซีน โดยเปล่ียน Priority การรับวคั ซีน , ประสาน รพ.สต. เร่ืองการจดั สรร การรบั Influenza Vaccine ในกลุ่มเส่ยี งท้ังจงั หวดั และปรับการบันทกึ ข้อมลู การรบั Influenza Vaccine ให้บันทึก COPD เป็นโรคแรก เพ่ือให้ดึงข้อมูลท้ังหมดจากระบบ HDC แต่เน่ืองจากสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 มีการปรับ สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

90 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง แผนการฉีด Influenza vaccine ในกลุ่มเสี่ยงท้ังจังหวัด ภายหลังได้รับวัคซีน COVID-19 โดยได้รับความ เหน็ ชอบจาก สสจ. 4. ผู้ป่วย COPD ได้รับการตรวจ Spirometry ไม่ครบ 100 % ท้ังในกลุ่มป่วย และโครงการคัดกรอง กลุ่มเส่ียง (งบPPA) เนื่องจากการงดตรวจ spirometry ช่วงมีการระบาดของ COVID-19 (หยุด 2 คร้ัง ประมาณ 5 เดือนในปีงบประมาณ 2564) และเคร่ืองตรวจ Spirometry ของรพ.แจ้ห่มชำรุด เมื่อ 16 มิถนุ ายน 2564 5. เน่ืองจากสถานการณ์ COVID-19 อัตราการเข้ารับบริการ COPD clinic คุณภาพลดลง เนื่องจากมีการ ปรับรูปแบบบริการ สง่ ยาทางไปรษณีย์ เพอื่ ลดการแพร่กระจายเชอื้ 6. การรักษาแบบผู้ป่วยในยังไม่สามารถรักษาจนดีขึ้นเท่าท่ีควร ต้องจำหน่ายผู้ป่วยออกเร็วเกินไป เพราะ ปญั หาเตยี งเตม็ ทำให้ Unplanned readmission ยงั สูง 7. แพทย์มีการวนิ จิ ฉัย COPD exacerbation เกนิ จริง และมกี ารลง code J 44.1 เกนิ จริง 8. ผู้ป่วย COPD บางส่วน ยังไม่ยอมเลิกบหุ รถี่ ึงแม้เข้าคลนิ ิกอดบุหร่ีแลว้ 9. การเชือ่ มโยงข้อมูลการเย่ยี มบ้านกลบั มาที่ case manager ยังไมค่ รอบคลุม 10. การลงข้อมลู โดยใชโ้ ปรแกรมของกรมการแพทย์ เป็นการเพิม่ ภาระงานใหเ้ จ้าหนา้ ทอ่ี ยา่ งมาก 3. ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยท่ีทำใหก้ าร ขอ้ เสนอแนะทีใ่ หต้ ่อหน่วยรบั ตรวจ สิง่ ที่ผู้ทำหนา้ ที่ตรวจราชการรับ ดำเนินงานไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ ไปประสาน หรือ ดำเนนิ การต่อ 1. แพทยม์ ีการวนิ ิจฉัย COPD จัดประชุมเรื่องการลง code ICD 10 ที่ exacerbation เกนิ จริง และมกี ารลง ถกู ต้อง , มกี ารปฐมนเิ ทศแพทย์เพม่ิ พูน code J 44.1 เกินจรงิ ทักษะและแพทย์ใหมเ่ รื่องการลง code ICD 10 ท่ถี ูกตอ้ ง และ ช้แี จงเกณฑ์การ วนิ จิ ฉัยทีถ่ กู ต้องในองคก์ รแพทย์ 2. การตรวจ spirometry ยงั ไมค่ รอบคลมุ - ประสานทีม case manager ในการ เนอ่ื งจากสถานการณ์ COVID-19 ใหบ้ ริการ และเครื่อง Spirometry ของรพ.แจ้ห่ม - ประสานงานร่วมกบั สสจ. ในการ ชำรดุ เมอ่ื 16 มิถนุ ายน 2564 ดำเนนิ การซ่อมเครื่อง Spirometry 3. การให้ Influenza vaccine ยงั ไม่ ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ และติดตาม ครอบคลุม ผลการไดร้ ับ Influenza Vaccine ภายหลงั ไดร้ บั วัคซนี COVID-19 4. การทบทวนความรนุ แรงของโรค ลงขอ้ มลู ในโปรแกรมของกรมการแพทย์ A, B, C, D ท้ังจังหวัด ตาม new update เพม่ิ ขึ้น และเปน็ ปัจจบุ นั Lampang COPD guideline ยังทำได้ ไมค่ รอบคลมุ เนื่องจากมขี ้อมูลจำนวนมาก และระบบการประมวณผลของโปรแกรม กรมการแพทย์ยังไมแ่ ล้วเสรจ็ สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

91 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง 4. แผนการดำเนินการต่อไป 1. ทำ PFT ครบ 100 % ทั้งจังหวัด อย่างน้อย 1 ครั้ง และขยายสู่การทำซ้ำปีละครั้งเพ่ือติดตาม ผลการรักษาและการดำเนินโรค รวมท้ังดำเนินโครงการคัดกรองประเมินความเส่ียงโรคปอดอุดกั้นเร้ือรังใน ประชาชนสบู บุหรี่ ด้วยการตรวจ Spirometry จนแล้วเสรจ็ หรือหมดระยะเวลาดำเนินโครงการ 2. ให้ถือเป็นนโยบายของจังหวัด ในการจ่ายยา Long-acting bronchodilator อย่างสม่ำเสมอ ตาม new update Lampang COPD guideline และติดตามกำกบั โดย นพ.สสจ. 3. ให้การดูแลผู้ปว่ ย COPD แบบบรู ณาการใหก้ ับทีมสหสาขาวิชาชีพทงั้ จงั หวัด โดยโรงพยาบาลลำปาง เปน็ พเี่ ลีย้ ง 4. ดำเนินการฉีด Influenza Vaccine สำหรับผู้ป่วย COPD ทั้งจังหวัด ให้ครบ 100% ตามเป้าหมาย ภายหลังได้รับวัคซีน COVID-19 และการบันทึกข้อมูลการรับ Influenza Vaccine ให้บันทึก COPD เป็นโรค แรก เพอ่ื ให้ดึงข้อมลู ทง้ั หมดจากระบบ HDC 5. ลงข้อมูลในโปรแกรมของกรมการแพทย์เพ่ิมข้ึน เพ่ือให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันและมีความใกล้เคียงกับ ข้อมูล HDC มากท่สี ดุ ผู้รายงาน นางรตั ตนิ ันท์ เหมวิชยั วฒั น์ พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ โรงพยาบาลลำปาง 21 มิถนุ ายน 2564 โทร. 062-946-4914 e-mail [email protected] สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

92 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง Functional based ประเดน็ การตรวจราชการ ประเด็นท่ี 5 ลดแออดั ลดรอคอย ลดปว่ ย ลดตาย ประเดน็ การพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Service Plan) สาขา Sepsis 1. อัตราตายผู้ป่วยติดเชอื้ ในกระแสเลอื ดแบบรุนแรงชนดิ community-acquired 2. รอ้ ยละของผู้ปว่ ย Septic shock ไดเ้ ข้า ICU ภายใน 3 ช่ัวโมง ตวั ชี้วดั /KPI ค่าเปา้ หมาย 1. อัตราตายผู้ป่วยตดิ เชือ้ ในกระแสเลอื ดแบบรนุ แรงชนดิ community-acquired ≤ 40% (HDC) 2. ร้อยละของผปู้ ่วย Septic shock ไดเ้ ข้า ICU ภายใน 3 ชว่ั โมง ≥ 40% (HDC) 1. สถานการณ์/วิเคราะหบ์ ริบท/ปัญหา ภาวะติดเช้ือในกระแสเลือด (sepsis) เป็นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับต้นๆของสาขาอายุรกรรม จังหวัดลำปางจากปี 2564 ข้อมูล HDC (16 ก.พ.64 ) อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired 43.43 % และข้อมูลจาก SEPNET ปี 2564 ไตรมาสท่ี1 อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อใน กระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired 14.32 % จากการพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการดูแล ผู้ป่วย Sepsis พบว่าศักยภาพในการดูแลผู้ป่วย Septic shock และผู้ป่วย Respiratory Failure ของ โรงพยาบาล M2 และโรงพยาบาล ระดับ F ควรได้รับการพัฒนาศักยภาพทั้งในด้านบุคลากรและ เคร่ืองช่วย หายใจ นอกจากนี้ผู้ป่วย Septic shock ยังไมส่ ามารถเข้า ICU ได้ทุกราย ทำให้ ระบบ Sepsis Fast Track ยัง ทำได้น้อย การวนิ ิจฉัย Sepsis ทถี่ ูกต้องก็มีความสำคัญทำให้การรกั ษาทำได้ถูกตอ้ งและรวดเร็ว และเป็นขอ้ มูล ผู้ป่วย Sepsis ที่สามารถนำมาวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้องเพ่ือนำมาพัฒนาได้ต่อไป ดังน้ันหากได้รับการ พัฒนาปัญหาและอุปสรรคเหล่านี้ อาจมีผลทำให้ ผู้ป่วย community- acquired Sepsis มีอัตราการเสียชีวิต ลดลง 2.แนวทาง/กิจกรรมและผลการดำเนนิ งาน การพัฒนาการดูแล SEPSIS โดยใช้รปู แบบ OKRs ดังนี้ OKRs ทมี Sepsis รพ.ลำปาง O1 ลดอัตราตายจาก Medical community acquired sepsis ใหต้ ำ่ ที่สุด KR1.1 ลดอัตราตายจาก community acquired sepsis จังหวดั ลำปางตำ่ กว่า 15% จาก SEPNET KR1.2 ผู้ปว่ ยได้รับ Antibiotics หลัง Triage time ‹ 1 ช่ัวโมง อยา่ งนอ้ ย 95% KR1.3 ผู้ป่วย Septic shock ได้รับ resuscitation ด้วย balance salt solution อย่างน้อย 1000 ml ใน 1 ชวั่ โมงมากกวา่ 80% O2 การวนิ ัจฉยั Septic shock ถูกตอ้ ง ส่งตอ่ Fast track ไป ICU รพ.M2,A มีประสิทธภิ าพ KR2.1 ผู้ปว่ ย Septic shock ทั้งจังหวัดไดร้ ับการดแู ลใน ICU ภายใน 3 ชว่ั โมงนับจาก Triage time อย่างน้อย 50% KR2.2 การวินจั ฉยั Septic shock ในผู้ป่วย Fast track to ICU มีความถูกต้องตามเกณฑ์ Sepsis-3 อยา่ งน้อย 80% สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

93 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง กิจกรรม 1. ตดิ ตามแนวทางการส่งต่อผปู้ ่วย sepsis 2. ดำเนนิ ตาม New Lampang sepsis guideline 3. ติดตามการลง SOFA score และ/หรอื ผล Hemoculture ใน progress note อัตราตายในผปู้ ว่ ยตดิ เช้ือในกระแสเลอื ดแบบรนุ แรงชนิด Community-Acqired ปี 2563 เขตสขุ ภาพที่ 1 ปี 2563 และปี 2564 (ขอ้ มลู จาก HDC วนั ท่ี 16 มิ.ย..64) ปี 2564 ไตรมาส 2 50 33.5 34.74 45 43.86 45.29 40 41.97 35 36.01 37.75 36.58 38.37 36.69 35.07 30 33.58 31.93 32.38 25 20 15 18.95 18.21 17.22 16.6 10 5 0 ลาพนู ลาปาง แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แมฮ่ อ่ งสอน รวม เชยี งใหม่ อตั ราตายผูป้ ่วย Community acquie sepsis เดอื น ต.ค.63 - พ.ค. 64 (ข้อมูลจาก SEPNET) เปา้ หมาย ‹15% 20 18 14.76 14.44 16.67 15.93 12.22 13.67 13.48 16 14.32 14 12 10.39 9.95 10 8 6 4 2 0 ต.ค.-63 พ.ย.-63 ธ.ค.-63 ม.ค.-64 ก.พ.-64 มี.ค.-64 เม.ย.-64 พ.ค.-64 ไตรมาสท่ี2 ปี 2563 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

94 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง รอ้ ยละของผู้ป่วย sepsis/septic shock ทีไ่ ด้รบั ABO ใน 1 ชม.นับจาก Triage time Target KPI > เดือน ต.ค.63 -พ.ค. 64 (ขอ้ มลู จาก SEPNET) 95% 100 90 98.89 97.29 95.05 93.43 96.15 94.36 91.41 93.06 92.78 92.38 80 70 60 50 40 30 20 10 0 ต.ค.-63 พ.ย.-63 ธ.ค.-63 ม.ค.-64 ก.พ.-64 มี.ค.-64 เม.ย.-64 พ.ค.-64 ไตรมาสท่ี2 ปี 2563 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ย Septic shock ได้เขา้ ICU ภายใน 3 ชว่ั โมงนับจาก Triage time ต.ค.63 -พ.ค. 64 (ข้อมูลจาก SEPNET) 100 90 Target KPI >40% 80 70 60 62.75 50 53.7 50.98 47.5 45.85 40 45.33 36.99 36.73 30 45.58 35.42 20 10 0 ต.ค.-63 พ.ย.-63 ธ.ค.-63 ม.ค.-64 ก.พ.-64 มี.ค.-64 เม.ย.-64 พ.ค.-64 ไตรมาสที่2 ปี 2563 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

95 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง ร้อยละของผปู้ ว่ ย Septic shock ไดร้ ับการ resuscitation ด้วย balance salt solution อยา่ ง น้อย 1500 ml ใน 1 ชั่วโมง ต.ค.63 -พ.ค. 64 (ขอ้ มลู จาก SEPNET) Target KPI >90% 100 91.17 93.75 98.15 94.12 100 84.93 97.5 100 90 ต.ค.-63 พ.ย.-63 ธ.ค.-63 ม.ค.-64 ก.พ.-64 มี.ค.-64 เม.ย.-64 93.78 90.03 พ.ค.-64 ไตรมาสท่ี2 80 70 60 50 40 30 20 10 0 ปี 2563 ร้อยละของการสง่ ต่อจาก รพ M2 มา รพ.ลาปาง Target <10% ต.ค.63 - พ.ค. 64 (SEPNET) 12 10 10 10 8 8.24 6 6.67 5.47 6.25 4 5.71 3.22 2 0 ต.ค.-63 พ.ย.-63 ธ.ค.-63 0 ก.พ.-64 ม.ี ค.-64 เม.ย.-64 0 ไตรมาสท่ี2 ปี 2563 ม.ค.-64 พ.ค.-64 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

96 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน จากผลการดำเนินงานการพัฒนาแนวทางในการดูแลผู้ป่วย Sepsis สาขาอายุรกรรมจังหวัดลำปาง ข้อมูลจาก SEPNET พบว่าอัตราตายผู้ป่วยติดเช้ือในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired ใน ไตรมาสท่ี 2 มีแนวโน้มไม่ต่างจากไตรมาสท่ี 1 ส่วนการพัฒนาการส่งต่อผู้ป่วยและช่องทางปรึกษาการส่งต่อ การพัฒนาการย้ายผู้ป่วยเข้า ICU อย่างมีประสิทธิภาพมีผลให้อัตราการได้เข้า ICU ใน 3 ชม.ในผู้ป่วย Septic shock มีแนวโน้มไม่ต่างจากไตรมาสท่ี 1 อัตราการได้ ABO ใน 1 ชม.นับจาก Triage time เพมิ่ ข้ึนและร้อยละ การส่งต่อจาก โรงพยาบาล M2 มา โรงพยาบาลลำปางมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน และจากข้อมูล HDC อัตราตายผ้ปู ่วย ติดเช้ือในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired (ข้อมูล ณ วันท่ี 16 มิ.ย. 2564 ) มีแนวโน้ม สงู ขึ้นมากกว่าไตรมาส 1 เมื่อพิจารณาพบวา่ จากการพัฒนาการดูแลผู้ป่วย SEPSIS เริ่มที่อายุรกรรมเป็นอันดับ แรกแตข่ อ้ มูล HDC เปน็ ข้อมูลท้ังโรงพยาบาล มีหลายสาขา เช่นสูติกรรม ศัลยกรรม กมุ ารเวชกรรม ตอ้ งพัฒนา ความรู้ในการลงรหัสโรคยังเพ่ิมเติม นอกจากนี้การพัฒนาการดูแลผู้ป่วยหนักท่ีมีภาวะ Shock และ Respiratory Failure ในด้านบุคลากร และเคร่ืองช่วยหายใจของรพ.M2 และผู้ป่วย Sepsis/Septic shock ท่ีไม่รุนแรงในรพ.ระดับ F ควรได้รับการพัฒนาและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง แต่ด้วยข้อจำกัดบางอย่าง เช่น ช่วงสถานการณ์โควิดแพรร่ ะบาดทำให้การดำเนินการได้บางสว่ นยงั ทำได้ไม่เต็มที่ จึงต้องพัฒนาและหาแนวทาง ในการดำเนินการต่อไป เพื่อให้ผู้ป่วย community- acquired Sepsis มีอัตราการเสียชีวิตลดลงและไม่ แตกต่างจากข้อมูลใน SEPNET 3. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรค 1. ข้อจำกดั ในการประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารในชว่ งสถานการณโ์ ควิดแพรร่ ะบาด 2. ศกั ยภาพในการดูแลผู้ป่วยหนักทมี่ ีภาวะ Shock และ Respiratory Failure ของรพ.M2 3. ผู้ป่วย Sepsis fast track ไมส่ ามารถเข้า ICU ได้ทุก Case 4. Rapid Response Team ตอ้ งได้รบั การพฒั นา 5. วินจิ ฉัยและการลงรหสั โรคควรไดร้ ับการพัฒนา แนวทางแก้ไข 1. เพิม่ ชอ่ งทางการประชุมปรึกษา เช่นทางไลน์ VDO call 2. เพม่ิ ศักยภาพและติดตามการดูแลผปู้ ว่ ยหนักทีม่ ีภาวะ Shock และ Respiratory Failure ใน รพ. M2 อยา่ งต่อเนือ่ ง 3. พัฒนาและติดตามการใช้เตยี ง ICU อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4. ติดตามผลการพฒั นาการสง่ ต่อผูป้ ว่ ยและชอ่ งทางปรกึ ษาการส่งตอ่ 5. การพฒั นา Rapid Response Team อย่างต่อเนื่อง 4. แผนการดำเนินการตอ่ ไป แผนการดาเนินงาน ไตรมาส 3 1. ตดิ ตาม priority การย้ายผปู้ ว่ ยออกจาก ICU รพ.เกาะคา เถนิ ลาปาง ทกุ วัน เพื่อรองรับผูป้ ว่ ย sepsis fast track 2. จัดอบรมวิชาการเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้เครื่อง U/S ในการประเมิน IVC และการสรุปชาร์ทของ แพทย์ สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

97 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง ผรู้ ายงาน นางสาวนงนุช จำฟู พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ e-mail [email protected] โทร 083-9483015 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

98 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง Functional based ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 5 ลดแออดั ลดรอคอย ลดปว่ ย ลดตาย ประเด็นการพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ (Service Plan) สาขาโรคหลอดเลือดสมอง 1 ร้อยละอัตราตายของผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง (Stroke : I60-I69) 2 รอ้ ยละอตั ราตายของผูป้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก (Hemorrhagic : I60-I62) 3 รอ้ ยละอตั ราตายของผู้ปว่ ยโรคหลอดเลือดสมองตบี / อดุ ตนั (Ischemic : I63) 6 ร้อยละผู้ปว่ ยโรคหลอดเลือดสมองแตก (I60-I62) ได้รบั การผา่ ตัดสมอง ภายใน 90 นาที (door to operation room time) ประเดน็ /งาน ลดอตั ราตายของผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง ตัวชี้วดั (KPI) /คา่ เป้าหมาย เป้าหมาย ตวั ชีว้ ดั < ร้อยละ 7 < ร้อยละ 25 1 ร้อยละอตั ราตายของผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง (Stroke : I60-I69) < รอ้ ยละ 5 2 ร้อยละอตั ราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก (Hemorrhagic : I60-I62) 3 รอ้ ยละอัตราตายของผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองตบี / อุดตัน (Ischemic : I63) ≥ รอ้ ยละ 50 4 รอ้ ยละผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมองตีบ/ อุดตันระยะเฉยี บพลนั (I63) ทีม่ ีอาการ ≥ ร้อยละ 40 ไมเ่ กนิ 4.5 ชว่ั โมง ได้รบั การรกั ษาดว้ ยยาละลายล่ิมเลือดทางหลอดเลอื ดดำ ภายใน 60 นาที (door to needle time) ≥ ร้อยละ 60 5 ร้อยละผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ที่มีอาการไมเ่ กิน 72 ชว่ั โมง ไดร้ ับการรักษา ใน Stroke Unit 6 รอ้ ยละผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองแตก (I60-I62) ไดร้ ับการผา่ ตดั สมอง ภายใน 90 นาที (door to operation room time) สถานการณ์ภาพรวม โรงพยาบาลลำปาง เป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิท่ีให้บริการสุขภาพโรคหลอดเลือดสมอง และเริ่มการ ดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันด้วย Mechanical Thrombectomy ตั้งแต่ เดอื น สงิ หาคม 2563 จากสถิติทรี่ บั รกั ษาผู้ปว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองไว้ในโรงพยาบาลลำปาง ปี พ.ศ. 2561, 2562, 2563 มีจำนวน 1801, 1903, 2002 ราย ตามลำดับ และผู้ป่วยเสียชีวิตในปี พ.ศ.2561, 2562, 2563 มีจำนวน 218, 165, 206 ราย คิดเป็นผู้ป่วยที่เสียชีวิตร้อยละ 12.04, 8.67, 10.29 ตามลำดับ จากอัตราตายสูงจึงเริ่มมี การรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันด้วย Mechanical Thrombectomy ทางทีม โรคหลอดเลอื ดสมองไดม้ ีการพฒั นาระบบการดแู ลรักษาพยาบาลไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและปลอดภัยเพ่อื ลดอตั ราการเกิด โรคและลดอตั ราการตายของผ้ปู ่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง 99 กิจกรรม /ผลการดำเนนิ งาน 2561 2562 2563 2564 ตัวชี้วดั (ต.ค.63-เม.ย.64) จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองทั้งหมด 1810 1903 2002 1210 571 จำนวนผูป้ ่วย Ischemic stroke (I63) NA NA 1043 444 11.65 จำนวนผปู้ ว่ ย Hemorrhagic stroke (I60-I62) 723 656 704 (141/1210) 6.47 อัตราการตายผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง 12.04 8.67 10.29 (37/571) 22.07 (218/1810) (165/1903) (206/2002) (98/444) 89.74 อตั ราตายผู้ปว่ ย Ischemic stroke (I63) NA NA 5.37 (35/39) (56/1043) 75.19 (576/766) อตั ราตาย Hemorrhagic stroke 20.74 18.59 20.59 2.82 (150/723) (122/656) (145/704) (4/142) ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตนั ระยะ 82.82 96.5 82.92 39 เฉยี บพลนั (I63)ทมี่ ีอาการไม่เกิน 4.5 ชัว่ โมงไดร้ บั การรักษา (68/82) 10.25 (4/39) ด้วยยาละลายลม่ิ เลือดทางหลอดเลอื ดดำภายใน 60 2.56 (1/39) นาที(Door to needle time) ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ท่ีมีอาการไม่ 31.89 67.1 74.49 เกิน 72 ชวั่ โมง ไดร้ ับการรักษาใน Stroke Unit (967/1298) รอ้ ยละผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมองแตก (I60-I62) ได้รบั NA 2 คน 7.44 การผ่าตัดสมอง ภายใน 90 นาที (door to operation (7/94) room time) จำนวนผ้ปู ่วย Ischemic stroke ที่ไดร้ บั ยา 82 88 82 Thrombolytic Agents อัตราการเกิดภาวะเลือดออกในสมองหลงั ได้รับยาละลาย 21.95 12.5 18.29 ล่ิมเลอื ด (rt-PA) (18/82) (11/88) (15/82) อัตราป่วยตายของผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดสมองตบี หรืออุด 9.76 4.54 7.32 ตันหลังรักษาด้วยยาละลายล่ิมเลอื ด (rt-PA) (8/82) (4/88) (6/82) การวิเคราะห์ผลการดำเนนิ งาน จากผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63-เม.ย.64) พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตท้ังหมด 141 คน มีโรคประจำตัวเป็น HT 10 %, HT ร่วมกับโรคอ่ืน 30 %, โรคหัวใจ 10 %, โรคอื่นๆ 10 %, ปฏิเสธโรค ประจำตัว 25 % ผู้ป่วยเป็น Hemorrhagic stroke 70 % Hemorrhagic stroke ซ่ึงเป็น Lobar hemorrhage 14.89 %, Non lobar 44.68 %, SAH 9.92 % ส่วนใหญ่เกิดจากความรุนแรงของโรค ( ขนาด, ปริมาณของ เลือดออก ) และมี Ischemic stroke 30 % ซึ่งเป็น MCA 26.24 %, ICA occlusion 4.25 % ส่วนใหญ่เกิดจาก พยาธสิ ภาพทร่ี ุนแรงของโรค และมีโรคร่วม การเข้าถึงระบบ Fast Track ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63-เม.ย.64) มี จำนวน 205 คน และได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดทั้งหมด 39 ราย ได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายใน 60 นาที 35 ราย ซ่ึงจากวิเคราะห์สาเหตุการให้ยาล่าช้า เกิดจากการใช้เวลาการส่งตรวจ CT non contrast และ CTA นาน ทำให้ได้รับยาล่าช้า 1 ราย, รอญาติสายตรงตัดสินใจการใช้ยาละลายลิ่มเลือด (rt-PA) 2 รายและผล ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารลา่ ชา้ 1 ราย สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

100 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง ปัญหาอปุ สรรคและแนวทางการพัฒนา แนวทางการพัฒนา ปญั หาและอุปสรรค - พฒั นาระบบการดูแลรักษาด้วย Mechanical อตั ราตายสูง Thrombectomy - พฒั นาระบบการผ่าตัดภายใน 90 นาทขี อง Hemorrhagic stroke ท่ีเข้าเกณฑ์ผ่าตัด - พฒั นาแนวทางการรักษาผปู้ ว่ ยโรคหลอด เลอื ดสมองท่ีโรงพยาบาลเกาะคา สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

101 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง Functional based ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 5 ลดแออัด ลดรอคอย ลดปว่ ย ลดตาย ประเดน็ การพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ (Service Plan) สาขาศัลยกรรม ประเดน็ /งาน - Acute Abdomen - การผา่ ตดั แบบ One Day Surgery และ MIS - Chronic wound ตวั ชี้วัด (KPI) /คา่ เป้าหมาย ตัวชี้วัด เปา้ หมาย ปีงบ 2564 เฉล่ีย 49.55 1.รพ.ระดับ M2 สามารถทำ >25% ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย พ.ค. 14.3 ผา่ ตัดเพม่ิ ขึน้ 3.3 55 58.5 49 56.56 60.36 15.09 49.09 52.83 2.อตั ราไสต้ ิง่ แตก 18% 0 14.6 13.8 17.6 17 65 11 11 19 0.96 3.อตั ราตายในโรค Acute <4% abdomen โรคหลกั 5 โรค <20% (17/116) (13/94) (18/102) (17/99) (65/111) (11/118) (11/110) (19/106) 8.03 <10% 4.อตั ราตายในผปู้ ว่ ย Acute 0 0 8.06 2.1 6 0 6.8 3.4 92.27 Limb Ischemia (0/56) (0/53) (5/62) (1/46) (3/50) (0/51) (4/59) (2/59) 0 5.อตั ราการตัดเท้าในผูป้ ่วย 25 0 0 0 0 0 0 0 Acute limb Ischemia (2/8) (0/10) (0/5) (0/10) (0/11) (0/8) (0/8) (0/3) 0 0 0 0 0 7.69 0 0 6.อัตราการนอน <25% (0/8) (0/10 (0/5) (0/10) (0/11) (1/13) (0/8) (0/3) โรงพยาบาลซำ้ ภายใน 28 >25% วนั ผ้ปู ่วยแผลเร้ือรงั และ <1% ) แผลกดทับ 0 11 6.3 18 0 0 11 18 (0/12) (1/9) (1/16) (2/11) (0/10) (0/11) (1/9) (2/11) 7.ร้อยละของผู้ปว่ ยทีเ่ ข้ารับ การผ่าตดั แบบ One Day 93.6 93.3 89 90.6 95.3 97.6 86.5 NA* Surgery (74/79) (56/60) (49/55) (58/64) (82/86) (124/127) (32/37) 8.ร้อยละของการเกดิ ภาวะแทรกซ้อนจากการ 00000000 ผ่าตดั MIS (0/9) (0/9) (0/17) (0/5) (0/15) (0/30) (0/13) (0/30) หมายเหตุ * สถานการณ์ COVID19 รนุ แรง จงึ งดทำ ODS ชว่ งเดอื นนี้ สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

102 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง สถานการณ์ภาพรวม Acute Abdomen และ Appendicitis : จงั หวัดลำปางได้ปรับแผนการบริการผ่าตัด โดยให้ ร.พ. M2 ร.พ.เกาะคา และร.พ.เถิน ทำผ่าตัดที่ไม่ซับซ้อน โดย ร.พ.ลำปางเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ และเป็นแหล่งฝึก ของสหสาขาวิชาชีพ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID ได้มีการขยายบริการส่งยาทางไปรษณีย์ นอกจากน้ยี ังมีบริการ ให้คำปรกึ ษาผ่านระบบ Telemed ทุกรพช. ทำให้ความแออัดของผู้ป่วยศัลยกรรมลดลง ส่วนการรับส่งต่อ ผู้ป่วยท่ีมีอาการรุนแรง ซับซ้อน พบว่าผู้ป่วย Acute Abdomen มีอัตราตายสูงในบางเดือน จากการวิเคราะห์พบว่า มีการประเมินวินิจฉัย ส่งต่อล่าช้า ทำให้มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน และการ เสยี ชวี ติ การทำผ่าตดั ODS : สบื เน่อื งจากการเกดิ โรคระบาด covid -19 โรงพยาบาลลำปางมีความจำเป็นต้อง งดผ่าตัดกลุ่ม case elective เพ่ือลดความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายของโรค จึงไม่สามารถทำการผ่าตัดได้ สง่ ผลใหผ้ ปู้ ว่ ยโครงการ ODS มีจำนวนลดลง • แผนกศัลยกรรม มีcase ไม่มากเท่าท่ีควร เนื่องจากมีแพทย์ที่ทำการผ่าตัดศัลยกรรมท่ัวไปเพียง 1 ท่าน และแพทย์ศลั ยกรรมเด็ก 2 ทา่ น ร่วมกับศัลยแพทย์เด็ก ลาคลอด 1 ท่าน ดังน้ันจึงเหลอื ศัลยแพทย์เด็กทำ หัตถการเพียง 1 ท่าน • สืบเน่ืองจากการดำเนินงานผู้ป่วย ODS ปีงบประมาณ 2563 ของแผนกนรีเวชกรรม มีcase ลดลง ทีมจึงได้ทบทวนทำความเข้าใจเกณฑ์วัตถุประสงค์ของโครงการ ODS และสอบถามหัวหน้าโครงการ มีความ เข้าใจตรงกัน ทำให้ Case เพิ่มขนึ้ การผ่าตัด MIS : โรงพยาบาลลำปางเร่ิมโครงการ Minimal Invasive Surgery วันท่ี 21 มกราคม 2563 และการเกิดโรคระบาด covid -19 บางสถานการณ์จำเป็นต้องงดผ่าตัดกลุ่ม case elective เพ่ือลด ความเส่ียงต่อการแพร่กระจายของโรค จึงไม่สามารถทำการผ่าตัดได้ ส่งผลให้การดำเนินงานของโครงการมี จำนวนนอ้ ย • ผู้ป่วยหัตถการ VATS มีcase ไม่มากเท่าท่ีควร เนื่องจากมีศัลยแพทย์ระบบหัวใจและหลอดเลือด เพยี ง 1 ทา่ น • จากการผ้ปู ว่ ยหตั ถการ Lap colectomy ไม่มีเลย เนอ่ื งจากแพทย์เฉพาะทาง มีเพยี ง 1 ทา่ น และใน สถานการณร์ ะบาด covid -19 จงึ ใหไ้ ม่มี case ทเี่ ขา้ เกณฑโ์ ครงการ MIS Chronic wound : เป็นผปู้ ่วย Chronic wound ทมี่ ีปญั หาซับซ้อนที่ต้องดแู ล โดยสหสาขา ยังพบว่ามีการ Readmit ในผู้ป่วยท่ีจำหน่ายกลับไปดูแลแผลต่อที่บ้าน เน่ืองจากแผลแย่ลง อย่างไรก็ตามได้ เพิ่มช่องทางการส่ือสารหลายช่องทาง ระหว่างเครือข่าย และผู้ป่วย/ญาติ เพ่ือสามารถสอน และให้คำแนะนำ ในการดูแลแผล สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการรอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี ก สถานการณ์ (GAP) มาตรการปี 63 KPI 1) ปี 2563 การทำผา่ ตดั Appendectomy ได้ ตวั ชีว้ ดั คา่ สง่ ไปทำที่ M2 ร.พ.เกาะคา และร.พ.เถินทำ เปา้ หมา ผา่ ตดั ทำให้ความแออดั ของผปู้ ว่ ยกลุ่มนี้ท่ี โรงพยาบาลลำปางลดลง 1.พัฒนาแนวทาง - อตั ราการผา่ ตดั ไส้ตง่ิ >25% การรบั – ส่งต่อ ใน รพ.M2 2) การดูแลผู้ป่วย Acute Abdomen 5 โรค ท้งั กลุม่ ผู้ปว่ ยใน - อัตราไสต้ ่ิงแตก <18% หลักนน้ั ยงั มอี ตั ราตายสงู ในบางเดอื น ตอ้ งการ จังหวดั และ <4% ให้ รพช.ประเมนิ วนิ จิ ฉยั ดูแล และส่งต่อ เครอื ข่ายตา่ งจังหวดั - อตั ราตายในผูป้ ว่ ยAc. รวดเร็ว ถกู ต้อง Abdomen 5 โรคหลกั <20% - อัตราตายใน AC. Limb Ischemia - อัตราการตัดเท้าใน <10% ผู้ ป่ ว ย Acute limb Ischemia * 5 โรคหลกั ไดแ้ ก่ - Acute Cholecystitis - Acute Cholangitis - Acute Pancreatitis - Acute Gut obstruction - Peptic Ulcer perforation และ - Acute Limb Ischemia สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจ

103 กติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง Essential task ผรู้ ับผดิ ชอบ ผลลัพธ์ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดอื น 12 เดอื น นพ.สหธรรม าย (8เดอื น) สมินทรปัญญา % 49.55 1.ประชมุ ชแ้ี จง รพ.M2 ติดตามการ นิเทศติดตาม ประเมินและ และ และรพช.เครือข่าย ถึง ใช้Flow การดำเนนิ งาน สรปุ ผลการ คณะกรรมการ % 14.3 แนวทางการสง่ ตอ่ ผู้ปว่ ย แนวทาง Service Plan % 3.3 จากรพ. F ไปA/S Plan case ดำเนนิ งาน สาขาศลั ยกรรม % 0 % 0.96 2.จดั ทำส่อื เผยแพร่ การรบั -ส่งต่อ conference กับ รพ.ลำปาง รพช. เพ่อื - แนวทางการรบั ผู้ปว่ ย แลกเปลยี่ น ศลั ยกรรม เรยี นรู้ และ 3.ประสานแนวทาง ติดตามปัญหา สง่ ต่อ CT และ U/S อุปสรรคในการ 4.เพม่ิ ชอ่ งทาง ปฏิบัติ สื่อสาร กบั เครือขา่ ย ทาง Telemed จราชการรอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี ก สถานการณ์ (GAP) มาตรการปี 63 KPI 3) การผ่าตัด ODS สามารถทำได้ตามเกณฑเ์ ป้าหมาย ขยายบริการการ ตวั ช้ีวดั ค่า นโยบายให้ขยายบรกิ ารเพ่มิ จาก 24 โรค เป็น 31 โรค ผา่ ตดั ODS เพิ่ม เป้าหมา มแี พทย์ศัลยกรรมทำ ODS เพมิ่ อีก คน จาก 24 โรค เป็น 31 โรค เน้นความ ร้อยละของผู้ป่วยท่ี >30% ปลอดภยั ของการ บรกิ าร เข้ ารับ ก ารผ่ าตั ด One Day Surgery 4) ยงั พบวา่ ผปู้ ่วย Chronic wound ที่ เพิ่มชอ่ งทางการ อัตราการนอน <25% จำหนา่ ยกลบั Re admit เนื่องจากแผลแยล่ ง สอ่ื สารกบั เครือข่าย โรงพยาบาลซำ้ ทาง Line และ ภายใน 28 วัน ใน Telemed ผปู้ ว่ ยแผลเรื้อรังและ แผลกดทบั สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจ

กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง 104 Essential Task ผรู้ บั ผิดชอบ ผลลพั ธ์ 3 เดือน 6 เดอื น 9 เดอื น 12 เดอื น นพ.สหธรรม สมนิ ทรปญั ญา าย (8เดอื น) และ % 92.27 ประชมุ ชแี้ จง ตดิ ตามปญั หา นเิ ทศติดตามการ ประเมนิ และ คณะกรรมการ และแนวทาง ดำเนินงาน สรปุ ผลการ Service Plan นโยบาย พัฒนา ดำเนนิ งาน สาขาศลั ยกรรม รพ.ลำปาง % 8.03 ประสาน แนว - - ตดิ ตาม นเิ ทศติดตามการ ประเมินและ ทางการส่อื สารโดย ปัญหาและแนว ดำเนนิ งาน clinic สรุปผลการ ทางการพฒั นา wound care และ การใช้ Telemed เครอื ขา่ ย ดำเนนิ งาน จราชการรอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี ก การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน 1 ปัญหา/อุปสรรค 1) Delay การสง่ ต่อ 2) การวนิ ิจฉยั และการรักษา ไม่มคี ณุ ภาพ 2 3) ผ้ปู ่วยและญาตไิ มม่ ีความรู้ ปฏบิ ตั ิตวั ไม่ถูกต้อง มารับการรักษาลา่ ชา้ 3 G 4 5 6 4) เพม่ิ จำนวนผรู้ ับบริการผา่ ตดั แบบ ODS และ MIS 7 5) ระยะเวลารอคอยบริการท่ี OPD ยงั เกินเกณฑ์ (เกณฑ์<120 นาที) - 6) การแพร่ระบาดของไวรัส Virus covid-19 - - - เพ 8 1 2 3 4 5 6 9 สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจ

105 กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง การพฒั นา 1) การประชมุ หารือ ร่วมกับสสจ. และ plan case conference รว่ มกบั รพช . 2) จัดทำ Flow แนวทางการรับ – ส่งตอ่ การดูแลผู้ปว่ ย ศลั ยกรรม 3) ทบทวนและวเิ คราะห์ ทำ MM.conference ทั้งใน และนอกแผนก ในสาเหตกุ ารตาย ความเสย่ี งระดับ G – I และ การ Delay Treatment 4) ประสานแนวทางการส่งต่อ CT และ U/S 5) พฒั นาแนวทางการรบั -สง่ ต่อ อย่างตอ่ เนอ่ื ง 6) แนะนำ ส่อื สาร 6.1 การรับผูป้ ่วยไว้ในโรงพยาบาล 6.2 คำแนะนำสำหรับผ้ปู ว่ ยทีใ่ ห้กลบั บ้านและต้องใหก้ ลบั มาตรวจซำ้ 7) Motivate ดา้ นประชาชน และ Staff ทำผา่ ตัด ควบคมุ กำกบั ระบบความปลอดภัยในแตล่ ะระบบ กำหนดเปน็ ตวั ชว้ี ดั ในหนว่ ยงานเพอ่ื กระตุ้นการทำหตั ถการและเกดิ ความเช่อื มน่ั ในทมี มากขึน้ กระตุน้ แผนกอื่นให้เขา้ ร่วมโครงการ ODS เพม่ิ ข้ึนตามจำนวนโรคทเ่ี ข้าร่วมโครงการ เช่น แผนกตา เปน็ ต้น แนวทางการคดั กรองความเสย่ี งcovid-19 ในผ้ปู ว่ ยโครงการ Minimal Invasive Surgery และ ODS เพ่ือ พ่ิมความมั่นใจในความปลอดภยั และลดความเสย่ี ง 8) จดั ทำแผน OKR โดย 1.ทบทวนการดำเนินงาน อตั ราการรอคอย การ Delay ในการรบั การรกั ษา และการทำหตั ถการ 2. ดำเนินการเพม่ิ ชอ่ งทางส่ือสารทาง Line, โทรศัพท์ หรือ Telemed 3.ปรบั ระบบการสง่ ยาทางไปรษณยี ์ 4.เพ่ิมการ Investigate ในรพช.เกาะคา (ได้แก่ การทำ CT,U/S) 5.การ Motivate ศลั ยแพทยใ์ นการทำ ODS 6.จัดระบบการเก็บขอ้ มลู ระยะเวลารอคอยในการรบั บรกิ ารแผนกศลั ยกรรม 9) ปรบั รูปแบบริการแบบ New Normal จราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

106 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง Functional based ประเดน็ การตรวจราชการ ประเดน็ ที่ 5 ลดแออัด ลดรอคอย ลดปว่ ย ลดตาย ประเด็น อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิต ในโรงพยาบาลA,Sตราสว่ น ตัวช้ีวัด/KPI ค่าเป้าหมาย อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย / จำนวนผู้ป่วย เสียชีวิตในโรงพยาบาลเพิ่มขึน้ รอ้ ยละ 20 จากฐานเดมิ ปี 62 1. สถานการณ์/วเิ คราะห์บรบิ ท/ปญั หา โรงพยาบาลลำปางเป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ได้รับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุขให้ รับผิดชอบในการรณรงค์การขอรับบริจาคอวัยวะตั้งแต่ปี 2552 และในปี 2554ได้รับบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วย หญิงอายุ 16 ปี ไดร้ ับอวัยวะสำคญั ได้แก่ ตับ หัวใจ ไต และ ดวงตาซึ่งนำไปปลูกถ่ายใหแ้ ก่ผู้รออวัยวะถีง 6 ราย ในปี 2557 โรงพยาบาลลำปางไดร้ บั เงินทุนสนบั สนนุ ให้จัดต้ังศูนย์รับบริจาคอวัยวะ ดวงตาจากสมาคมปลูกถา่ ย อวัยวะแห่งประเทศไทย ศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย โรงพยาบาลราชวิถี และกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559กระทรวงสาธารณสุขกำหนดแผนพัฒนาระบบสุขภาพ (Service Plan) ด้านการรับบริจาคและปลูก ถ่ายอวัยวะ เป็นระบบบริการสุขภาพสาขาท่ี13 และให้การปลูกถ่ายอวัยวะเป็นศูนย์ความเชี่ยวชาญ (Excellence Center) สาขาท่ี 5 ศูนย์บริจาคอวัยวะโรงพยาบาลลำปางมีการดำเนินการต่อเน่ืองด้านการรับ แสดงความจำนง บริจาคอวยั วะ ดวงตาขณะมชี ีวิต ที่หอ้ งศูนยบ์ ริจาคอวัยวะ และการรณรงค์ประชาสมั พันธใ์ ห้ ความรู้แก่ผู้สนใจ บุคลากรและญาติผู้ป่วย ทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาล รวมทั้งการรับบริจาคอวัยวะ จากผ้ปู ่วยสมองตาย แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ทำให้จำนวนผู้ มาแสดงความจำนงบรจิ าคอวยั วะ ดวงตา ลดลง จำนวนผ้บู รจิ าคอวยั วะสมองตายลดลง ในปีงบประมาณ 2564 ( ต.ค.63 – มิ.ย. 64) ได้รับบริจาค 4 ไต , 6 ดวงตา ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ตัวช้ีวัด 64 : (อัตราส่วนของจำนวนผู้ ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย / จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาลเพ่ิมข้ึนร้อยละ 20 จากฐาน เดิมปี 62 ) ส่วนการพัฒนาบุคลากรเช่นโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ TCN ในโรงพยาบาลลำปาง (เดิม วางแผนจัด ในวันที่ 9 เมษายน 2564 ) การประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการเรื่องการผ่าตัดรับบริจาคอวัยวะ ที่ คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเครือข่ายการรับบริจาคอวัยวะใน ส่วนภูมิภาค ที่โรงพยาบาลน่าน ได้เลื่อนออกไปจนกว่าสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จะมีแนวโนม้ ทีด่ ีขึน้ 2.แนวทาง/กิจกรรมและผลการดำเนินงาน 1ให้ความรู้แกผ่ ู้สนใจ บุคลากรและญาติผู้ป่วยและรับแสดงความจำนง บริจาคอวัยวะ ดวงตาขณะมีชีวิตที่ห้อง ศูนยบ์ รจิ าคอวยั วะ 2.รณรงค์ประชาสัมพันธ์ร่วมกับภาคีเครือข่าย เหล่ากาชาดจังหวัด ในวันสำคัญต่างๆ เช่น วันพระราชสมภพ ของพระราชวงศ์ วันไตโลก วนั บริจาคโลหติ โลก 3.ประสานผู้นำทางศาสนา (เจ้าคณะจังหวัดลำปาง) เพ่ือขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์การบริจาคอวัยวะ ดวงตาโดยการสรา้ งทัศนคตทิ ่ีดีตอ่ การบรจิ าคอวยั วะ ดวงตา 6.รวบรวมข้อมลู การปฏิบัตงิ าน วิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขปัญหาทีเ่ กดิ สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

107 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง ผลการดำเนินงาน จำนวนผ้แู สดงความจำนงบริจาคอวยั วะ ดวงตา 3500 2092 2146 1206 1187 อวยั วะ 3055 1352 850 ดวงตา ร่างกาย 3000 ปงี บ62 ปงี บ63 2712 466 235 251 2500 ตค.63 - มิย.64 2000 1500 1232 1000 500 0 ปีงบ61 14 Actual organ - eye donor 12 12 10 8 6 ไต 6 4 ตับ 8 ตา ปีงบ64 6 22 2 2 2 ปงี บ62 1 4 ปีงบ60 ปงี บ61 22 ปงี บ63 2 0 ปงี บ59 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

108 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง ผลการดำเนินงานตามตวั ช้ีวดั กระทรวง เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน ปี64 0.136 Service Delivery ตัวช้ีวัดกระทรวง 0.8รายตอ่ 100 Hospital death 0.204 สาขาบรจิ าคอวยั วะ 1.จำนวนผบู้ ริจาคอวยั วะท่ี สามารถนำไปปลกู ถา่ ยได้ 1.3รายต่อ100 Hospital death 2.จำนวนผบู้ ริจาคดวงตาท่ี สามารถนำไปปลูกถ่ายได้ อัตราสว่ นของจำนวนผู้ยนิ ยอมบรจิ าคอวัยวะจากผูป้ ่วยสมองตาย/จำนวนผูป้ ่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล ปงี บประมาณ จำนวนผูป้ ่วยเสียชีวติ ใน จำนวนผ้ยู นิ ยอมบรจิ าค อัตราส่วนร้อยละ โรงพยาบาล อวัยวะ 2563 1,987 6 0.30 ต.ค.63 – ม.ิ ย.64 1,465 4 0.27 3. ปัญหาอปุ สรรคและแนวทางแกไ้ ข แนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรค - สรา้ งทศั นคติท่ดี ีตอ่ การบริจาคอวยั วะ ดวงตาโดย วัฒนธรรมความเชอื่ ต่อการบริจาคอวยั วะและการ การประสานผู้นำทางศาสนา และผ้นู ำชมุ ชน ปลูกถ่าย - ประชาสัมพนั ธ์ รณรงค์เรื่องการบรจิ าคอวยั วะอย่าง ต่อเน่อื ง ผูด้ แู ลในหนว่ ยงานอ่นื ไม่ทราบแนวทางปฏบิ ตั ิ - ขยายเครอื ข่ายประชาสัมพันธแ์ ละสร้างแกนนำใน ชมุ ชน - พฒั นาศกั ยภาพ TCN ในโรงพยาบาลลำปาง - จดั ทำแนวทางปฏิบตั ิเม่ือมcี ase บริจาคอวยั วะ 4. แผนการดำเนินการตอ่ ไป 1. การประสานผูน้ ำทางศาสนาทุกศาสนา และผู้นำชุมชนเพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเข้าใจและทศั นคตทิ ี่ดีต่อการ บริจาคอวยั วะ 2. เพม่ิ ชอ่ งทางการประชาสมั พนั ธก์ ารบรจิ าคอวยั วะ ดวงตาผ่านส่ือออนไลน์ ในเพจของโรงพยาบาล 3. จดั ทำเสอ่ื เพ่ิมเน้ือหาในการประชาสมั พันธเ์ ช่นการสัมภาษณญ์ าตผิ ูบ้ ริจาคเพื่อสรา้ งแรงจูงใจ 4. ขยายเครือขา่ ยและสรา้ งแกนนำในชมุ ชน 5. จัดทำโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ TCN ในโรงพยาบาลลำปาง 6. ส่งเจ้าหนา้ ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการฝกึ อบรมตา่ งๆทจี่ ะจดั ใหม้ ีข้นึ หลงั สถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 มีแนวโน้มทดี่ ีขึ้น 7. จัดทำแนวทางปฏบิ ัติและหน้าท่รี บั ผิดชอบในทีมให้ชดั เจน ผรู้ ายงาน จุฑาทิพย์ คมุ้ วัง ตำแหนง่ พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ กลุ่มงานการพยาบาลตรวจรกั ษาพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

109 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง . Functional based ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นท่ี 5 ลดแออดั ลดรอคอย ลดปว่ ย ลดตาย ประเด็น : ER ECS คุณภาพ และ Fast Track ตัวชี้วัด/ KPI ค่าเปา้ หมาย ผลการ ผลการ ผลการดำเนนิ งาน ตวั ชวี้ ดั คา่ เป้าหมาย ดำเนนิ งาน ดำเนินงาน ปีงบ 64 ปงี บ 63 (ต.ค.63-มี.ค.64) ปีงบ 62 ตัวชว้ี ัดหลัก อัตราการเสียชีวิตของผูเ้ จ็บป่วยวิกฤต <12% 12.5% 9.1% 7.8% ฉุกเฉนิ ภายใน 24 ช่วั โมง ในโรงพยาบาลระดบั A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) (537/4,294) (342/3,766) (214/2,728) -อัตราการเสียชีวติ ของผูเ้ จบ็ ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน Trauma <12% 0.8% 1% 1% ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดบั A, S, M1 (75/4,294) (37/3,766) (27/2,728 (ท้งั ที่ ER และ Admit) -อตั ราการเสยี ชีวิตของผูเ้ จบ็ ป่วยวกิ ฤตฉุกเฉิน Non- <12% 10.9% 9.1% 6.8% Traumaภายใน 24 ช่วั โมง ในโรงพยาบาลระดบั A, S, M1 (ท้ังท่ี ER และ Admit) (468/4,294) (305/3,766) (187/2,728) ตวั ช้ีวัดรอง ตัวที่ 1 เพื่อเพ่มิ ประสิทธภิ าพและลด ระยะเวลาการเขา้ ถึงบรกิ าร Definite care 1.อัตราของผ้ปู ว่ ย Trauma triage level 1 และมขี อ้ > 80% 64.3% 60% 50% บง่ ชใ้ี นการผา่ ตดั ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (9/14) (3/5) (2/4) สามารถเข้าห้องผ่าตัดได้ภายใน 60 นาที 2.อตั ราของผูป้ ว่ ย Triage level 1,2 อยู่ในหอ้ งฉุกเฉนิ 68.1% 91.4% 69.7% <2 ชม. ในโรงพยาบาลระดบั A, S, M1 ไม่ตำ่ กวา่ รอ้ ย > 60% (17,200/ (12,537/ (6,739/ ละ 60 25,244) 13,710) 9,667) ตัวชีว้ ัดรอง ตัวที่ 2 ลดอตั ราการเสียชีวติ ของโรคท่ี เกดิ จากอุบัติเหตทุ สี่ ำคัญและมคี วามรนุ แรง 1.อัตราการเสียชวี ติ ของผูป้ ว่ ยจากการบาดเจ็บที่มีคา่ <4% N/A N/A 0.9% PS score > 0.5 ในโรงพยาบาลทกุ ระดับ A, S, M1 (33/3,566) 2.อัตราของผู้ปว่ ย Severe traumatic brain injury ท่ี < 45% 31.9% 13.70% 9.4% เสียชีวติ ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (92/288) (10/73) (27/286) ตัวขว้ี ัดรองตัวท่ี 3 เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและมาตรฐาน ของระบบการแพทยฉ์ กุ เฉนิ 3.1 อตั ราของ TEA unit ในโรงพยาบาลระดบั A, S, > 80% 100% 100% 100% M1 ทผี่ ่านเกณฑป์ ระเมินคุณภาพ (1/1) (1/1) (1/1) 3.2 อัตราของโรงพยาบาลระดับ F2 ขน้ึ ไปทผ่ี า่ นเกณฑ์ > 80% 92.8% 92.8% 100% ประเมนิ ECS คุณภาพ (ไมต่ ำ่ กว่ารอ้ ยละ50) (12/13) (12/13) (13/13) ตัวชว้ี ดั รองตัวที่ 4 รอ้ ยละของประชากรเข้าถึงบรกิ าร > 24% 22.9% 78.6% 75% การแพทย์ฉุกเฉิน (จงั หวัดลำปาง) (5511/24,087) (4,532/13,710) (4,705/6,272) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

110 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง 1. สถานการณ์/วิเคราะห์บรบิ ท/ปัญหา จังหวัดลำปางมีประชากร 737,493 คน ประชากรในเขตอำเภอเมือง 226,731 คน มีโรงพยาบาล ลำปางเป็นโรงพยาบาลระดับ A โรงพยาบาลระดับ M2 มี 2 แห่ง (เกาะคา และ เถิน) มีโรงพยาบาลระดับ F2 จำนวน 10 แห่ง ซง่ึ ได้มกี ารพัฒนาแนวทางการดูแลผ้ปู ่วยอยา่ งต่อเนอ่ื งร่วมกันท้ังจังหวัดผา่ นระบบ Thai-refer โดยเฉพาะในผู้ป่วยกลุ่มโรคสำคัญต่างๆ และผปู้ ว่ ยกลุ่ม Fast track มาตรการ 2P Safety ได้มีการปรับโครงสร้างเพิ่มการใช้ระบบ Double door มีพนักงานรักษาความ ปลอดภัยประจำด้านหน้าประตู 1 คนตลอด 24 ช่ัวโมง มีห้อง Negative presser พร้อมใช้งาน 1 ห้อง และมี การจัดบริเวณที่นง่ั รอตรวจสำหรับผปู้ ว่ ยทไี่ ด้รบั การคัดแยกเป็นTriage level 4,5 มีทนี่ ง่ั พักของญาติด้านหน้า หอ้ งฉุกเฉนิ รกั ษาระยะหา่ ง 1-2 เมตร ตรวจวัดอณุ หภูมแิ ละคัดกรองประวตั ิโควดิ 19 กอ่ นเข้าห้องฉุกเฉนิ ทุกราย ระบบ Fast PASS เริ่มดำเนินการเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ในกลุ่มผู้ป่วยกุมารเวชกรรม ผลการ ปฏิบัติงานปีงบประมาณ 64 ผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 97 ราย, Case LP 30 ราย, Case PUI 6 ราย และได้เริ่ม ทดลองปฏบิ ตั ิในกลมุ่ ผู้ป่วย STEMI ในเดือน มี.ค.-พ.ค.64 มจี ำนวน 5 ราย ซึง่ พบว่าแนวทางยงั มีความซับซ้อน หลายจุด จึงยตุ กิ ารทำ Fast PASS ในกลุ่ม STEMI ไปกอ่ น ระบบ Fast track กลุ่ม Stroke ปฏิบัติได้ 87.1%, Sepsis ปฏิบัติได้ 86.1%, STEMI ปฏิบัติได้ 100%, Trauma ปฏิบัติได้ 50% ซึ่งไม่ผ่านตามเกณฑ์เป้าหมาย ได้วิเคราะห์ปัญหาแล้วพบว่าเน่ืองจากอาการ ของผปู้ ว่ ยแยล่ ง ทำให้ต้องใช้เวลาในการ Resuscitation นานข้ึนทีห่ อ้ งฉกุ เฉนิ จังหวัดลำปางมีศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการตั้งอยู่ที่โรงพยาบาลศูนย์ลำปางมีเครือข่ายครอบคลุมทุก อำเภอ สถิติการเขา้ ถงึ บริการ EMS ของผู้ป่วยวกิ ฤตฉุกเฉินในปี2562-2564 (ตุลาคม-พฤษภาคม64) มีแนวโน้ม เพม่ิ ขนึ้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ37.29,14.56,74.50 ดังตารางท่ี 1 ตารางที่1 : สัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (แดง) ท่ีมาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน/ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตท่ีมาห้อง ฉุกเฉิน ปงี บประมาณ 2562 ปงี บประมาณ 2563 2564 (ตค.63-พค.64) มาด้วย EMS 2,561 2,821 1,765 ER - Visit 6,867 19,380 2,369 รอ้ ยละ 37.29 14.56 74.50 ทีม่ า:niems.go.th/pentaho/api/repos//3Apublic/3Akpi_ervisit.wcdf/generatedContent 31/5/64 2.แนวทาง/กิจกรรมและผลการดำเนินงาน ด้านการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน มีร้อยละการเรียกใช้บริการผ่านหมายเลข 1669 ตั้งแต่ ปีงบประมาณ2563-2564(ต.ค.-พ.ค.64)มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนร้อยละ 76.67 ,76.48 และ76.85 ตามลำดับ ดังตารางท่ี 2 ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตท่ีได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉินภายใน 8 นาที ในรัศมี 10 กิโลเมตร ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2563-2564 (ต.ค.-พ.ค.64 ) มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น คิดเป็นร้อยละ 41.50,42.87 และ50.12 ตามลำดับดังตารางที่ 3 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

111 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง ตารางที่ 2 ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ จงั หวดั ลำปางปีงบประมาณ 2562-2564 (ต.ค.-พ.ค.64) หวั ข้อ/ปีงบประมาณ 2562 2563 2564 (ตค.-พค.64) จำนวนการรบั แจง้ เหตุ(คร้ัง) 17,657 17,418 11,953 จำนวนปฏิบตั ิการ(ครงั้ ) 18,403 18,234 12,483 จำนวนผ้ปู ว่ ย(ราย) 18,327 17,929 12,335 บริการระดับALS (รอ้ ยละ) 23.13 23.72 25.28 บรกิ ารระดบั BLS (รอ้ ยละ) 49.46 53.22 49.87 บรกิ ารระดบั FR (ร้อยละ) 27.38 23.02 24.85 ไม่ระบรุ ะดับบรกิ าร (รอ้ ยละ) 0.04 0.04 0 แจง้ เหตุทาง1669 (รอ้ ยละ) 76.67 76.48 76.85 1669 second call (รอ้ ยละ) 20.95 20.73 4.21 หมายเลขอนื่ (รอ้ ยละ) 1.66 2.33 0.06 วิทยสุ ือ่ สาร (ร้อยละ) 0.24 0.11 18.23 ไมร่ ะบุ (ร้อยละ) 0 0 0.51 ท่ีมา :https://ws.niems.go.th/items_rpt_bf/report/report3.aspx?id=52-1- 31/5/64 ตารางท่ี3 ผู้ป่วยฉกุ เฉินวิกฤตที่ได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉินภายใน8นาทีในรัศมี10กิโลเมตร ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2563 – 2564 (ต.ค.-พ.ค.64 ) ปีงบประมาณ 2562 2563 2564 (ตค.63–พค 64) ภายใน 8 นาที 41.50 42.87 50.12 เกนิ 8 นาที 58.50 57.13 49.88 ท่ีมา :niems.go.th/pentaho/api/repos//3Apublic/3Akpi_responsetime.wcdf/generatedContent 31/5/64 ส่วนจำนวนผู้ป่วยที่มาในระบบบริการระดับ ALS ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2563-2564(ต.ค.-พ.ค.64) จำแนกผู้รับบริการเป็นกลุ่มประเภท Trauma และ Non-trauma พบว่าผู้รับบริการส่วนใหญ่เป็นประเภท Non-trauma มากกว่าประเภท Trauma โดยมีจำนวน 2,810 ราย , 3,072 ราย และ 2,168 ราย ตามลำดับ รายละเอียดดังตาราง 4 ตารางท่ี 4 : ผปู้ ว่ ยกลมุ่ อาการ Trauma และ Non-trauma ทมี่ าในบริการระดับ ALS ตงั้ แต่ปงี บประมาณ 2563-2564 (ต.ค.-พ.ค.64 ) ปีงบประมาณ/กลมุ่ อาการ 2562 2563 2564 (ตค.63-พค.64) Trauma 1,392 ราย 1,282 ราย 787 ราย Non-trauma 2,810 ราย 3,072 ราย 2,168 ราย ท่ีมา : https://ws.niems.go.th/ITEMS_DWH/ 31/5/64 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

112 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง การดำเนินงานตาม OKR ของงาน ECS คณุ ภาพ O - One Province One ER KR1 - เขา้ ใหน้ อ้ ย KR2 - ออกให้เร็ว KR3 - เพมิ่ ความเข้มแข็ง ER ER ระบบ Objective Key Result 1 Key Result 2 ERKey Result เขา้ ใหน้ ้อย ลดจำนวนผปู้ ่วย Non-trauma triage 3 ออกใหเ้ ร็ว level 4,5 เขา้ มารบั บรกิ ารในห้อง ER ไม่ เกนิ รอ้ ยละ 5 ของผปู้ ่วย non-trauma ท่ี เพม่ิ ทางเลือกใหผ้ รู้ บั บริการท่ีไมฉ่ ุกเฉนิ เพ่ิมความ รบั บรกิ ารในหอ้ ง ER ทง้ั หมด เข้มแขง็ -ผูป้ ่วยกล่มุ โรค Fast track ได้รับการตรวจ ทำระบบ Fast Pass ผปู้ ่วย NICU และ ระบบ ตามเวลา 100 % ผู้ป่วยคลอด ร้อยละ 100 -ผู้ปว่ ย Triage level 1-2 Admit ได้ ภายใน 2 ชม. ไมต่ ่ำกวา่ รอ้ ยละ 60 ขอ้ มูลผู้รบั บริการหอ้ ง ER ท่ีบันทึกในระบบ ระบบ Refer และ EMS ระดับสูง(ALS) ใช้ HIS OPD และ IS Online ส่งออกแฟ้ม ระบบ Telemedicine ในการ Monitor Accident เชือ่ มต่อเข้าฐานข้อมลู HDC มี ผ้ปู ่วยในระหวา่ งนำสง่ รอ้ ยละ100 ความถกู ตอ้ งครบถว้ นของข้อมลู ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 90 ผลการดำเนนิ งาน 1) ลดระยะเวลาการเขา้ ถึง definite care โดยจดั ใหม้ ีระบบ Fast trackในกลุ่มโรคสำคัญ เชน่ Stroke,STEMI,Sepsis,multiple trauma โดยมกี ารจดั ทำแนวทางรว่ มกันท้ังจังหวดั ในเร่ืองการ สง่ ต่อการปรึกษาผา่ นระบบTelemedicine 2) มกี ารทบทวนผ้ปู ว่ ยที่เสียชวี ติ ภายใน 24 ช่วั โมงในทกุ โรงพยาบาล 3) มกี ารกำกับ ตดิ ตามตัวชวี้ ัดผา่ นคณะกรรมการพฒั นาERคณุ ภาพระดบั โรงพยาบาลในไตรมาส 2 และ 4 4) จัดให้มีการฝกึ อบรมบุคลากรหอ้ งฉกุ เฉนิ ในเร่ืองACLS ในวันท่ี 13-14 มนี าคม 2564 5) จดั ฝกึ อบรม EMR หลักสตู ร 40 ชัว่ โมง จำนวน 2 รุ่น ในวนั ที่ 2-6 พ.ย. 2563 และ 9 -13 พ.ย. 2563 6) สนบั สนุนการอบรมหลกั สูตร EMT- B 120 ช่วั โมง ในวันที่ 30 พ.ย.- 28 ธ.ค.2563 7) มกี ารติดตาม ตรวจสอบการลงข้อมลู โปรแกรม IS และ Pher accident 8) มกี ารเช่ือมโยงข้อมูลและพัฒนาระบบส่งต่อ ผา่ นระบบ Thai refer สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

113 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง 3.ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข แนวทางแกไ้ ข ข้อเสนอแนะจากทีมนเิ ทศ คร้งั ที1่ /63 1.Waiting area แออัดหนา้ ER 1.จัดทน่ี ่ังใหผ้ ปู้ ว่ ยเฉพาะ URI แยกจากผปู้ ่วยและญาติ 2.พน้ื ที่สำหรบั ให้ผ้ปู ว่ ยทั่วไปและญาติไมส่ ามารถแยกพน้ื ที่จากกันได้ 2.ขยายระบบ FAST PASS เพื่อ เน่อื งจากมพี นื้ ท่จี ำกดั และงานบริการอย่ใู นพน้ื ท่เี ดียวกัน การเขา้ ถงึ Definite care 1.เรม่ิ ดำเนินการในกลุ่มโรคกุมารเวชกรรม สูตกิ รรม และอายุรกรรม กล่มุ ผู้ปว่ ย PUI และกลุม่ Covid-19 ยงั ทำไดไ้ ม่ครบในกลมุ่ โรค Fast Track ซงึ่ เร่ิมดำเนินการในกลุ่ม STEMI กอ่ นตงั้ แต่เดือนมกราคม ถงึ พฤษภาคม 64 มีสถิติ 5 ราย ระหว่างการพจิ ารณาวางแผนร่วมกนั กบั ผู้เกย่ี วข้อง 3.การพัฒนาระบบสารสนเทศของ 1.รว่ มกบี ทีม ITของรพ. พฒั นาระบบจดั เกบ็ วเิ คราะห์ และเผยแพร่ข้อมลู ศูนย์ TEA Unit. นวัตกรรมทส่ี ามารถเป็นแบบอย่าง 1. ระบบ Active refer back 2. ระบบ FAST PASS 3. ระบบ Double door & security 4. ระบบ Consult กอ่ น Refer 4. แผนการดำเนินการต่อไป แผนการพัฒนาการดำเนินงานสอดคล้องกับนโยบายและมาตรการ ของกระทรวงสาธารณสุข คือ 1. เพ่ิมประสิทธิภาพ และมาตรฐานของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน รวมถึงการพัฒนาข้อมูลและระบบ สารสนเทศห้องฉุกเฉิน 2. พัฒนาศักยภาพผ้ปู ฏบิ ัติการการแพทย์ฉุกเฉนิ ทุกระดับอย่างตอ่ เน่ือง 2.1. จัดใหม้ กี ารอบรมหลักสูตรการช่วยชวี ติ การบาดเจ็บขน้ั สูง ( Advance Trauma Life Support) ให้กับผ้ปู ฏบิ ตั ิงานการแพทย์ฉกุ เฉินระดับ รพช. 2.2 สนับสนนุ การฝกึ อบรม Emergency Nurse Practitioner ให้กบั พยาบาลทีป่ ฏิบตั ิงาน หน่วยงานอบุ ตั เิ หตฉุ กุ เฉนิ รพช. ผรู้ ายงาน 1.นพ.นพดล สส่ี ุวรรณ หัวหนา้ กล่มุ งานเวชศาสตรฉ์ ุกเฉนิ รพ.ลำปาง 2.นางอารยี ์วรรณ สวุ รรณเมอื ง ตำแหน่ง พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ กลุ่มงานควบคุมโรคไมต่ ิดต่อ สขุ ภาพจติ และยาเสพตดิ สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

114 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง Functional based ประเดน็ การตรวจราชการ ประเด็นที่ 5 ลดแออดั ลดรอคอย ลดปว่ ย ลดตาย ประเด็นการพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ (Service Plan) สาขาทารกแรกเกดิ ตวั ชี้วดั (KPI) /คา่ เป้าหมาย ตัวชว้ี ัด เปา้ หมาย อตั ราการเสียชีวิตของทารกแรกเกดิ อายนุ อ้ ยกวา่ 28 วนั < 3.6 : 1,000การเกิดมชี ีพ ตัวช้ีวดั ยอ่ ย จำนวนเตียงNICUในจังหวดั ลำปาง จำนวนเตียงNICU เป้าหมาย ปี 62 ปี 63 ปี 64 (ต.ค.63-พ.ค.64) 12 1:500 1:309 1:294 1:187 สถานการณ์ภาพรวม โรงพยาบาลลำปางเป็นแมข่ ่ายท่ีรับการส่งตอ่ รับผปู้ ่วยที่มีอาการรุนแรงหรือมีความซบั ซ้อนของปญั หา มากยิ่งข้ึนเช่น โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียว โรคความผิดปกติทางเมทาบอลิซึม (Inborn error of metabolism )ศัลยกรรมทารก ซึ่งบางโรคมีข้อจำกัดเช่นการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือข้อจำกัดทางการ รักษาเช่น การผ่าตัดหัวใจท่ีมีความซับซ้อน จึงมีความจำเป็นส่งต่อไปยังโรงพยาบาลที่ศักยภาพสูงกว่า การ รักษาต่อเน่ืองและบางโรคเมื่อประเมินวินิจฉัยท่ีได้ผลวินิจฉัยโรคแล้ว ต้องใช้ทีมสหสาขามาให้การรักษา เช่น ทารกที่มีความพิการและมีโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ทารกแรกเกิดท่ีมีภาวะความดันเลือดในปอดสูง ซึ่งไม่ สามารถรักษาต่อได้ในโรงพยาบาลลูกข่าย ต้องมีการส่งต่อมายังแม่ข่าย ซึ่งยังพบปัญหาของระบบการส่งต่อที่ ต้องพฒั นาศกั ยภาพของทมี ในการดแู ลและการประสานงานที่ถูกต้อง ในการส่งต่อ กจิ กรรม/ผลการดำเนินงานของจังหวดั ลำปาง เดือน ตลุ าคม 2563 –พฤษภาคม 2564 ตวั ชว้ี ดั เป้าหมายปี64 ปี 62 ป6ี 3 ปี64 (ต.ค.63-พ.ค. อัตราการเสียชวี ติ ของทารก < 3.6 : 1,000การเกดิ มชี พี 1.88 64) แรกเกดิ อายุน้อยกว่า 28 (7/3714) 3.39 4.46 วัน (12/3531) (10 /2244) สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

115 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง ข้อมูลทารกแรกเกิดของโรงพยาบาลในจังหวัดลำปางเดือน ตลุ าคม 2563 –พฤษภาคม 2564 ตวั ชวี้ ัด เป้าหมาย ต.ค.63 –พ.ค.64 จำนวนทารกทีเ่ สียชวี ิต - 10 จำนวนทารกทีเ่ กิดมชี ีพในโรงพยาบาลในจงั หวดั - 2244 ลำปาง อัตราการเสยี ชวี ิตของทารกแรกเกดิ อายนุ อ้ ยกวา่ < 3.6 : 1,000การเกดิ มีชพี 4.46 28 วนั สรปุ วเิ คราะห์การเสยี ชีวิตทารกแรเกดิ อายนุ อ้ ยกวา่ 28วนั ในจงั หวดั ลำปาง ตุลาคม 2563 – พฤษภาคม 2564 สาเหตุ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 Congenital anomalies • Inborn error of metabolism – urea • Hydrops fetalis (1) cycle defect (1) Associated Preterm 29 weeks with maternal with preterm • Gastroschisis (1) induced abortion with severe birth birth • Congenital diaphragmatic hernia asphyxia with hypoxic ischemic insult PPHN (1) with lung hypoplasia with CHD (1) Term newborn with maternal no ANC • - Heterotaxy syndrome with TGA, with moderate to severe birth asphyxia with severe PPHN with MAS (1) PA, TAPVR(1) Preterm with PDA with pulmonary hemorrhage with IVH grade IV (1) PPHN (2) สรุปจำนวนการเสียชีวติ ทารกแรกเกิดภายใน28วนั (เดอื น ตุลาคม 2563- พฤษภาคม 64) คลอดทีโ่ รงพยาบาลลำปาง จำนวนการเสียชีวติ ทารกแรกเกิด รบั สง่ ตอ่ โรงพยาบาลแพร่ 6 รับสง่ ตอ่ โรงพยาบาลชุมชนในจังหวัด 2 2 รวมจำนวนทารกแรกเกิดเสยี ชวี ติ ทั้งหมด 10 ราย สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง 116 ข้อมูลรับการส่งต่อของโรงพยาบาลลำปาง CHD ปี 2564 (ต.ค.2563 – พ.ค.2564) 1 0 ทัว่ ไป ศลั ยกรรม 2 แพร่ 3 0 น่าน 0 1 รพช. ภายใน จ.ลำปาง 10 0 จำนวน refer in ในเขตสขุ ภาพ 17 จำนวน refer out ในเขตสุขภาพ 6 โอกาสพฒั นา 1.จัดทำ continuous quality improvement (CQI) โดยจัดประชุม ER-Ped-OB conference เพ่ือวาง แนวทางรว่ มกนั ในการดแู ลหญงิ ตงั้ ครรภ์เจ็บครรภ์คลอด ที่มากรณฉี ุกเฉนิ โดยไม่ผา่ นหอ้ งคลอด 2.จัดประชุมร่วมกับ สสจ. ในการวางระบบติดตามหญิงต้ังครรภ์ในเขตพ้ืนที่ โดยให้ รพ.สต. เป็นผู้ติดตาม เฝ้า ระวงั และประสานงานกับโรงพยาบาลในเขตที่รับผิดชอบ 3.จัดฝึกอบรมให้ความรู้กับบุคลากร เร่ืองเคร่ืองช่วยหายใจ การดูแลผู้ป่วย PPHN และจัดทำ flow chart ใน การดแู ลผู้ปว่ ยโดยกลุ่มการพยาบาล 4.พัฒนาศักยภาพของบรกิ ารสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิดโดยการเสริมความรู้และทักษะเรอ่ื งการดูแลทารกแรก เกิดและการสง่ ตอ่ ทารกแรกเกดิ ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ ให้กับบุคลากรท่ดี แู ลทารกแรกเกดิ ของโรงพยาบาลในจงั หวัด 1 สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

117 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง Functional based ประเดน็ การตรวจราชการ ประเดน็ ที่ 6 ระบบธรรมาภิบาล การบรหิ ารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ตัวชีว้ ัด/KPI คา่ เป้าหมาย การดำเนนิ งานด้านการประเมินประสิทธภิ าพ การควบคมุ ภายในดว้ ยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (Electronics internal Audit : EIA) 5 มิติ ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ หน่วยงานในสงั กดั สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมรี ะบบการตรวจสอบในหน่วยงานอย่างน้อย ปีละ 1 ครัง้ 1. สถานการณ์/วิเคราะหบ์ รบิ ท/ปัญหา รพ มิติด้านการเงิน มิติด้านจดั เก็บรายได้ มิติด้านงบการเงิน มิติด้านพสั ดุ มิติด้านบริหารความเสี่ยง ค่าเฉลี่ย ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ลาปาง 72.46 97.26 89.58 82.61 56.52 61.11 91.12 97.67 94.12 90.32 94.00 80.00 91.10 100.00 77.78 85.47 92.63 83.66 แม่เมาะ 47.83 94.00 รอผล 73.91 91.30 88.89 100.00 97.22 92.59 52.94 76.32 70.83 63.16 100.00 88.89 66.17 91.43 58.27 เกาะคา 86.54 90.20 รอผล 65.22 91.30 72.22 86.96 91.89 88.89 60.78 89.66 75.00 76.32 100.00 94.44 76.19 92.26 56.69 เสริมงาม 75.00 94.23 97.30 52.17 86.96 77.78 91.30 89.47 100.00 49.02 87.88 54.17 86.84 100.00 100.00 71.90 91.95 86.89 งาว 75.00 90.00 90.00 73.91 95.65 83.33 91.30 91.67 100.00 86.27 93.75 58.33 68.42 100.00 100.00 80.00 93.49 86.61 แจห้ ม่ 76.92 84.91 รอผล 66.67 82.61 72.22 76.74 79.49 84.62 66.67 84.85 66.67 100.00 100.00 55.17 78.80 85.80 48.41 วังเหนือ 80.77 98.04 รอผล 82.61 86.96 83.33 95.24 97.22 96.30 92.16 86.67 70.83 94.74 75.00 72.22 89.32 90.48 55.12 เถิน 89.58 92.73 97.37 82.61 65.22 72.22 100.00 94.87 100.00 86.84 91.43 88.00 100.00 100.00 100.00 92.63 90.56 92.86 แม่พริก 81.25 90.57 รอผล 60.87 100.00 61.11 66.67 100.00 100.00 60.78 94.29 79.17 76.32 100.00 27.78 69.76 95.95 48.00 แม่ทะ 61.54 89.80 97.14 60.87 82.61 94.44 95.65 91.43 92.31 19.61 84.38 83.33 76.32 92.86 77.78 61.43 88.62 90.08 สบปราบ 84.31 88.24 รอผล 91.30 91.30 77.78 84.78 97.14 96.30 42.00 93.55 70.83 92.11 100.00 72.22 76.44 93.45 55.12 ห้างฉัตร 91.84 86.79 97.37 65.22 82.61 83.33 100.00 100.00 100.00 65.96 87.88 62.50 94.74 92.86 94.44 85.00 90.17 88.80 เมืองปาน 75.00 86.79 95.00 78.26 73.91 83.33 97.62 94.74 100.00 72.73 91.18 83.33 97.37 100.00 88.89 84.57 89.77 91.34 ค่าเฉล่ีย 76.77 91.04 50.69 72.02 83.61 77.78 90.80 94.06 95.74 65.08 88.91 74.07 86.11 96.98 82.48 78.28 91.27 73.07 1.การประเมินประสิทธิภาพ การควบคุมภายในด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics internal Audit : EIA) 5 มติ ิ ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 90 ปีงบประมาณ 2562 โรงพยาบาลจำนวน 13 แห่งของจังหวัดลำปางดำเนินงานภาพรวมคะแนน ร้อยละ 78.28 ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ผ่านเกณฑ์จำนวน 1 แห่ง ไม่ผ่านจำนวน 12 แห่ง ปีงบประมาณ 2563 โรงพยาบาลจำนวน 13 แห่งของจังหวัดลำปางดำเนินงานภาพรวมคะแนนร้อย ละ 91.27 ผ่านเกณฑก์ ารประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ผา่ นเกณฑจ์ ำนวน 10 แหง่ ไมผ่ า่ นจำนวน 3 แห่ง ปงี บประมาณ 2564 การตรวจประเมินของกลุม่ ตรวจสอบภายใน สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2564 ด้านงบการเงินยังไม่แล้วเสร็จรอผลการตรวจสอบ 6 หน่วยงาน ส่งผลให้ โรงพยาบาลจำนวน 13 แห่งของจังหวัดลำปางดำเนินงานภาพรวมคะแนน ร้อยละ 73.07 ไม่ผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ ระบบควบคมุ ภายใน 5 มิตผิ า่ นเกณฑ์จำนวน 3 แหง่ ไมผ่ ่านจำนวน 10 แห่ง ผลการดำเนินงานดงั น้ี 1) หนว่ ยงานทีค่ ะแนนมากกว่าร้อยละ90 จำนวน 3 แหง่ ได้แก่ รพ. เถิน แม่ทะ และเมืองปาน 2.)หน่วยงานที่คะแนนต่ำกว่าร้อยละ90 จำนวน 11 แห่งได้แก่ รพ.ลำปาง แม่เมาะเกาะคา เสริมงาม งาว แจ้ห่ม วงั เหนือ แมพ่ ริก สบปราบ และห้างฉตั ร รายละเอียดในแต่ละมิติมีคะแนนต่ำกว่าร้อยละ 90 ที่หน่วยบริการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรตามมิติที่ พบจดุ อ่อน 5 มติ ิ ประกอบด้วย มิติด้านการเงิน ภาพรวมผ่านเกณฑ์ (เฉลี่ยร้อยละ 50.69) โรงพยาบาลคะแนนต่ำกว่าร้อยละ90 ได้แก่ รพ.ลำปาง รอผลการตรวจสอบได้แก่ รพ. แมเ่ มาะ เกาะคา แจ้หม่ วงั เหนอื แมพ่ รกิ และ สบปราบ สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

118 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง มิติด้านการจัดเก็บรายได้ ภาพรวมไม่ผ่านเกณฑ์(เฉลี่ยร้อยละ 77.78) โรงพยาบาลคะแนน ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 90 ได้แก่ รพ.แม่ทะ นอกนัน้ ทเี่ หลือ 12 แห่งไม่ผา่ นเกณฑ์ มิตดิ า้ นงบการเงิน ภาพรวมผ่านเกณฑ์ (เฉลีย่ ร้อยละ 97.74) โรงพยาบาลคะแนนผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 90 ไดแ้ ก่ รพ.ลำปาง แม่เมาะ เสรมิ งาม งาว วังเหนือ เถนิ แม่พรกิ แม่ทะ สบปราบ ห้างฉัตร เมอื งปาน หนว่ ยงานทีไ่ มผ่ า่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 90 ได้แก่ รพ.เกาะคา แจ้ห่ม มิติด้านพัสดุ ภาพรวมไม่ผ่านเกณฑ์ (เฉล่ียร้อยละ 75.74) โรงพยาบาลคะแนนต่ำกว่า ร้อยละ 90 รวมทั้งหมด 13 แหง่ มิติด้านระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ภาพรวมไม่ผ่านเกณฑ์(เฉล่ียร้อยละ 82.48) โรงพยาบาลคะแนนผ่านร้อยละ 90 รวม 5 แห่งได้แก่ รพ. เกาะคา เสริมงาม งาว เถิน และห้างฉัตร โรงพยาบาลไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 90 รวม 8 แห่ง ไดแ้ ก่ รพ.ลำปาง แม่เมาะ แจห้ ่ม วงั เหนือ แม่พรกิ แม่ทะ สบ ปราบ และเมอื งปาน ปีงบประมาณ 2564 1.โรงพยาบาลดำเนินการจัดทำแผนปฏบิ ัติงานระบบควบคุมภายใน 5 มติ ิ กำหนดกจิ กรรม ผรู้ บั ผิดชอบระยะเวลาการพฒั นาที่ชดั เจน 2.ใหแ้ ต่งต้ังผรู้ บั ผิดชอบการจัดทำขอ้ มลู และผู้ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของโรงพยาบาล 3.ประชุมทำความเขา้ ใจเกณฑ์การประเมนิ เพอ่ื การพฒั นาศักยภาพผ้รู ับผดิ ชอบงาน/ผู้ตรวจ ความถกู ต้องของโรงพยาบาล 4. จังหวัดแต่งตัง้ คณะกรรมการประเมินความครบถว้ นถกู ต้องของเอกสารการประเมนิ ประสิทธิภาพระบบควบคุมภายในด้วยอิเล็กทรอนิกส์(Electronics InternalAudit: EIA) 5 มิติทำหน้าที่กำกับ ติดตาม ตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องของการส่งเอกสารในระบบอิเล็กทรอนิกส์แจ้งให้โรงพยาบาลแก้ไขก่อน ปิดระบบการสง่ เอกสารประเมิน 5.กำกบั ติดตามประเมิน รายงานความกา้ วหน้าให้ผบู้ ริหารทราบ ผลการดำเนนิ งาน ผลการประเมินอยรู่ ะหว่างการรอผลการประเมินจากกลมุ่ ตรวจสอบภายใน สำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข มิติด้านการเงิน 6 แห่ง สำหรับด้านที่ตรวจประเมินแล้วพบว่า ค่าเฉลี่ยผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 90 ได้แก่มิติด้านงบการเงนิ และมิติที่ค่าเฉลี่ยไม่ผ่านเกณฑ์ได้แก่ ด้านจัดเก็บรายได้ ด้านพัสดุ และ ด้านควบคุมภายในและบริหารความเส่ียง แนวทางการแก้ไข 1 หน่วยบริการที่ผลการประเมินแต่ละมิติ มีคะแนนต่ำกว่าร้อยละ 90 ดำเนินการจัดทำ แผนการพัฒนาองค์กร ส่งกลุ่มตรวจสอบภายในสป.ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2564 2.กำกับติดตาม ความก้าวหน้าการแก้ไขแต่ละหน่วยบริการ 2. การควบคุมภายในและบริหารความเส่ียง สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง และหนว่ ยงานในสงั กัด ดำเนินการตามระเบียบกระทรวง การคลังว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2561 เพื่อสนับสนุน ส่งเสริม และปรับปรุง ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของส่วนราชการให้ดีขึ้นด้วยระบบการบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน ดำเนินการ ดงั นี้ 1. ทบทวนคณะทำงานจัดวางระบบควบคุมภายในและติดตามประเมนิ ผลระบบควบคุมภายใน 2. ดำเนินการจดั ทำรายงานระบบควบคุมภายในของหนว่ ยงาน รพ สสอ และรพ.สตในสงั กัด สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

119 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง 3. จัดทำรายงานระบบควบคุมภายในภาพรวมของหน่วยงานส่งผู้ว่าราชการจังหวัดภายในเดือน ธันวาคม 2563 4. ประชมุ ช้แี จงแนวทางการจัดทำรายงานระบบควบคุมภายในและบริหารความเสยี่ งและการ ตรวจสอบภายใน ในวนั ท่ี 23 พฤศจิกายน 2563 ณ.ห้องประชุมสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ผเู้ ขา้ รว่ ม ประชมุ ประกอบดว้ ย เจา้ หน้าทีส่ สจ/สสอ/รพ 5. ทบทวน Flow มาตรฐานการทำงาน 6. ประชุมชี้แจงการบริหารความเสี่ยงผู้รับผิดชอบงานของโรงพยาบาลและสำนักงาน สาธารณสุขอำเภอ 7. ประเมินผลการจัดทำระบบควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง 8. กำกับ ติดตามประเมิน รายงานระบบควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยงตามระเบียบ กระทรวงการคลัง 3.การตรวจสอบภายใน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ได้ดำเนินงานกำหนดให้มีการตรวจสอบภายในหน่วยงานใน สังกัดโรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมระดับตำบล 5 ด้านได้แก่ด้าน การเงิน ด้านงบการเงิน ด้านบริหารพัสดุ ด้านการจัดเก็บรายได้ และด้านระบบควบคุมภายใน โดยทีม ตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายจังหวัดและอำเภอ ดำเนินการดังน้ี 1.ทบทวนแตง่ ตงั้ คณะทำงาน/คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่าย 2.ประชุมเตรียมความพร้อมการตรวจสอบภายใน/สอบทานระบบ 3. .ดำเนินการสอบทานด้านการเงิน ด้านบญั ชี ดา้ นพัสดุ การบรหิ ารยาและเวชภัณฑ์ ด้านการจดั เก็บ รายได้ การบริหารความเสี่ยง โรงพยาบาล ภายใต้โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสอบทานการจัดเก็บรายได้ และการบริหารด้านการเงินการคลังโดยคณะทำงานจังหวัดและอำเภอในลักษณะการไขว้สอบทานระ บบ ดำเนนิ การแล้วจำนวน 8 แหง่ โดยแผนการสอบทานครบ 12 แหง่ ในเดือนมีนาคม 2564 4. ตรวจสอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโดยทีมอำเภอ (สำนักงานสาธารณสุขอำเภอและ โรงพยาบาลแม่ขา่ ย) 13 อำเภอ 141 แห่ง 1 คร้งั (รอบ 6 เดือนแรก) 5. ตรวจสอบโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลโดยทมี ตรวจสอบภายในจังหวดั (สำนักงานสาธารณสุข จงั หวดั ) 13 อำเภอ 141 แห่ง 1 ครง้ั (รอบ 6 เดอื นหลัง)ได้ปรบั เปลีย่ นวิธีการโดยให้สสอ/รพ.สต.สง่ เอกสาร ในคณะทำงานตรวจสอบภายในด้านการเงินและบญั ชี และด้านพัสดุ สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดตรวจสอบ 7. ขณะนอี้ ยูร่ ะหวา่ งการจดั ทำรายงานสรุปผลการตรวจสอบภายในแจง้ หน่วยรบั ตรวจ (สสอ/รพ.สต) ผลการดำเนินการสอบทานตรวจสอบภายในโรงพยาบาลชมุ ชน (รอบ6 เดือนแรก) 1.ด้านพัสดุ 1.การควบคมุ การเบกิ จ่ายการบรหิ ารคลังเปน็ ศนู ย์ ในคลังใหญ่ไมม่ วี สั ดุคงค้างแต่คลังย่อยส่ง รายงานวสั ดุคงเหลอื ไมค่ รบทุกหน่วยงาน 2.การรบั บรจิ าคดำเนนิ การไม่เปน็ ไปตามขน้ั ตอนทีถ่ ูกตอ้ ง ไม่มกี ารนำวสั ดเุ ข้าคลัง และ บนั ทกึ รบั วัสดุ และบันทึกจา่ ยวัสดุ และการรับบรจิ าคสว่ นใหญ่ไม่ได้ผา่ นคณะกรรมการรับบริจาครวมทั้งการ 3. การใช้รถราชการ การในรถส่งตอ่ ผูป้ ว่ ยส่วนใหญไ่ ม่มใี บขอใช้รถประกอบ 2.ดา้ นยาและเวชภัณฑ์ 1.การบรหิ ารยา เวชภัณฑ์ แผนจดั ซอ้ื ไมไ่ ด้เปรียบเทียบยอดจัดซ้อื จรงิ กบั แผนจดั ซ้ือ 2.สถานท่จี ัดเก็บเวชภณั ฑ์ไมเ่ หมาะสม ไม่เพียงพอ สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

120 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง 2.ด้านการเงินและบญั ชี 1.โรงพยาบาลไม่ไดจ้ ดั ระบบตรวจสอบครบถว้ น และถูกต้องของเอกสารกอ่ นมาตรวจสอบ บัญชีเกณฑ์คงค้างรว่ มกับทมี จังหวดั 2. ทะเบยี นคมุ เจ้าหน้ี ไมต่ รงกับข้อมูลเจ้านไี้ ม่ตรงกัน คุมไมเ่ ป็นปัจจบุ นั 3.ดา้ นการจัดเก็บรายได้ 1.ขาดการสอบทานยันยอดลูกหน้ีรายตัว รายสิทธิ และเปรียบเทียบรายได้ระหว่างงานบัญชี และงานประกนั สุขภาพและศนู ยข์ อ้ มลู 4.ดา้ นการควบคมุ ภายในและบรหิ ารความเสี่ยง 1.การบริหารความเสี่ยงตามคู่มอื การบรหิ ารความเสยี่ งของสำนกั งานปลดั กระทรวง สาธารณสุขอยู่ระหวา่ งดำเนินการ 2.การดำเนนิ การระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ยังไม่มีการนำผลการดำเนนิ งานส่งทางเวปไซด์ ผลการดำเนินการสอบทานตรวจสอบภายในสำนักงานสาธารณสุขอำเภอและโรงพยาบาลส่งเสริม สขุ ภาพตำบล (รอบ6 เดอื นหลงั ) ดา้ นการเงิน 1. รายงาน สปภ 02/1 จำนวนเงนิ ท่ีได้รับไมต่ รงกับรายงานรับจ่ายเงนิ บำรุง ขาดการปรบั ปรงุ ขอ้ มลู อัตราค่าบรกิ ารใหเ้ ปน็ ปัจจบุ นั 2.งบเทยี บยอดเงนิ ฝากธนาคารจดั ทำไม่ถูกต้อง ไม่ครบถว้ น จัดทำไม่ครบทุกบญั ชี 3.รายงานเงินคงเหลือประจำวัน แบบฟอรม์ ไม่เปน็ ไปตามตามระเบียบกรมบญั ชกี ลาง ด้านพัสดุ 1.ทะเบียนสินทรัพย์กับทะเบียนท่ีราชพสั ดุ วงเงนิ รายการไมต่ รงกนั ทะเบียนครภุ ัณฑไ์ มเ่ ปน็ ปจั จบุ ัน บญั ชีพสั ดบุ ันทกึ ไม่ครบถว้ น 2.การต่อทะเบยี นรถราชการล่าชา้ ไม่ดำเนนิ การในกำหนด 3.การจดั ซ้อื ครุภณั ฑ์ดว้ ยเงินบำรุงไม่กำหนดคุณลักษณะ สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

121 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง ประเด็นการตรวจราชการ การตรวจสอบภายใน (แผนเงินบำรุงในโรงพยาบาล) ตัวช้วี ัด/KPI ค่าเป้าหมาย การตรวจสอบภายในเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพแผนเงินบำรุงของหน่วยบริการในสังกัดสำนักงาน ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 1. สถานการณ์/วิเคราะห์บริบท/ปัญหา การจัดทำแผนเงินบำรุง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง มีนโยบายให้หน่วยงานโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลชุมชน สำนกั งานสาธารณสขุ อำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดทำแผนเงนิ บำรงุ ของ หน่วยงานอย่างสม่ำเสมอเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการควบคุมกำกับการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ ผลการดำเนนิ งาน ณ.วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2564 ทุกหน่วยงานได้รบั อนุมัติแผนเงินบำรุง รายละเอียดดังข้อมูล แผน/ผลเงินบารุงโรงพยาบาลของจังหวดั ลาปาง ณ.วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2564 รวมรายรับ ค่าช้จ่าย เงนิ บารุงคงเหลือ ยกไป โรงพยาบาล ร้อยละ ร้อยละ 1,598,617,465 ลาปาง แผนท้ังปี แผน8 เดือน ผล ส่วนต่าง แผนท้ังปี แผน8 เดอื น ผล ส่วนต่าง 30,760,374 แม่ เม าะ 2,099,500,000 64,689,317 เกาะคา 1,399,666,667 1,458,945,944 4.24 2,121,470,000 1,414,313,333 1,327,306,730.82 - 6.15 22,948,899 เสรมิ งาม 61,440,540 55,476,140 225,141,490 40,960,360 46,937,012 14.59 74,805,025 49,870,017 41,937,002 - 15.91 25,335,337 งาว 52,315,990 32,925,057 แจ้ห่ม 80,178,260 150,094,327 170,985,723 13.92 224,616,350 149,744,233 157,811,874 5.39 58,900,467 วงั เหนือ 59,334,240 20,444,068 เถนิ 72,349,240 34,877,327 43,147,938 23.71 50,914,810 33,943,207 34,615,095 1.98 20,948,044 แม่ พริก 151,302,240 23,003,555 แม่ ทะ 32,657,580 53,452,173 64,454,083 20.58 79,997,830 53,331,887 51,274,480 - 3.86 21,193,015 สบปราบ 67,342,190 32,650,569 ห้างฉตั ร 51,385,700 39,556,160 46,167,022 16.71 57,152,440 38,101,627 39,584,582 3.89 เมืองปาน 88,588,860 2,007,892,307 รวม 55,045,220 48,232,827 54,829,679 13.68 68,096,700 45,397,800 46,047,040 1.43 3,096,581,550 100,868,160 108,691,772 7.76 147,691,470 98,460,980 82,293,974 - 16.42 21,771,720 26,245,639 20.55 32,151,780 21,434,520 22,997,235 7.29 44,894,793 58,030,769 29.26 67,321,940 44,881,293 49,815,338 10.99 34,257,133 41,477,292 21.08 51,262,160 34,174,773 34,767,665 1.73 59,059,240 54,305,597 -8.05 80,528,510 53,685,673 47,161,056 - 12.15 36,696,813 47,371,252 29.09 55,637,260 37,091,507 34,990,340 - 5.66 2,064,387,700 2,221,589,722 7.61 3,111,646,275 2,074,430,850 1,970,602,411 - 5.01 แผนบำรุงโรงพยาบาล ส่วนใหญจ่ ดั ทำแผนเกินดลุ ยกเว้นรพ.ลำปางและรพ.แม่เมาะจัดทำแผนขาดดลุ ผลการดำเนินงาน ณ.เดือนพฤษภาคม 2564 พบว่า โรงพยาบาลท้ัง 13 แห่ง รายรับมากกว่า รายจา่ ย สำหรับด้านรายรับ มีรายรับมากกว่าแผน รวม 12 แห่ง ค่าเฉล่ียร้อยละ 7.61 สูงสุดที่รพ. แม่ทะ เมือง ปาน เสริมงาม (ร้อยละ 29.26 ร้อยละ29.09 และร้อยละ 23.71)ยกเว้นรพ.ห้างฉัตร (ร้อยละ-8.05) ด้าน รายจ่าย โรงพยาบาลส่วนใหญ่ 7 แห่งการใช้จ่ายเงินไม่เป็นไปตามแผน±เกินร้อยละ 5 การจ่ายเงินต่ำกว่าแผน คา่ เฉลีย่ ลดลงร้อยละ- 5.01 ยกเวน้ โรงพยาบาลแม่ทะ ทีใ่ ชเ้ งินเกนิ แผนมากกว่าร้อยละ 5 (รอ้ ยละ 10.99) การปรับแผนเงินบำรุงของโรงพยาบาล ได้ดำเนินงานอนุมัติปรับแผนเงินบำรุงแล้ว 3 แห่งคือ รพ.เถิน สบปราบ และเสรมิ งาม สำหรับโรงพยาบาลท่เี หลอื อยู่ระหวา่ งการกำกบั ตดิ ตามและดำเนินการปรับแผน สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

122 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง แผน/ผลเงินบารุงโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตาบลของจงั หวดั ลาปาง ณ.วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2564 โรงพยาบาลส่งเสริม รวมรายรบั ค่าชจ้ า่ ย เงินบารุงคงเหลือ สุขภาพตาบล แผนท้ังปี แผน8 เดือน ผล ร้อยละ แผนท้ังปี แผน8 เดือน ผล ร้อยละ ยกไป ลาปาง 20,732,750 13,821,833 28,275,844 104.57 26,972,160 17,981,440 20,761,419.56 15.46 33,433,861.70 แม่เมาะ 10,020,890 6,680,593 3,454,496 - 48.29 11,022,060 7,348,040 3,603,429 - 50.96 3,959,069 เกาะคา 10,513,075 7,008,717 5,205,423 - 25.73 11,124,972 7,416,648 6,198,424 - 16.43 5,377,063 เสริมงาม 5,384,980 3,589,987 4,799,596 33.69 5,125,870 3,417,247 3,596,520 5.25 2,583,235 งาว 9,527,620 6,351,747 4,762,670 - 25.02 9,360,780 6,240,520 4,936,662 - 20.89 2,974,177 แจ้ห่ม 13,522,890 9,015,260 3,996,249 - 55.67 17,329,950 11,553,300 3,956,451 - 65.75 6,307,097 วงั เหนือ 7,424,410 4,949,607 6,872,169 38.84 7,373,310 4,915,540 4,211,374 - 14.33 5,037,809 เถิน 13,970,310 9,313,540 8,561,220 - 8.08 13,255,760 8,837,173 7,078,523 - 19.90 1,482,697 แม่ พรกิ 5,195,628 3,463,752 4,865,720 40.48 5,169,038 3,446,025 2,432,571 - 29.41 3,595,924.09 แม่ทะ 11,339,453 7,559,635 9,649,068 27.64 8,975,860 5,983,907 7,569,064 26.49 5,766,637 สบปราบ 4,366,410 2,910,940 2,238,747 - 23.09 4,585,550 3,057,033 2,300,313 - 24.75 1,226,408 ห้างฉตั ร 8,413,610 5,609,073 5,264,378 - 6.15 7,760,940 5,173,960 5,839,275 12.86 2,225,843 เมืองปาน 7,864,370 5,242,913 6,288,885 19.95 7,745,750 5,163,833 3,826,036 - 25.91 3,538,312 รวม 128,276,396 85,517,597 94,234,465 10.19 135,802,000 90,534,666 76,310,061 - 15.71 77,508,132 แผนบำรุงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส่วนใหญ่ทำแผนเกินดุลยกเว้นรพ .สตของ อ.เมือง แมเ่ มาะ เกาะคา แจห้ ่ม ทำแผนขาดดลุ ผลการดำเนินงาน ณ.เดือนพฤษภาคม 2564 รพ.สต ส่วนใหญ่8 แห่ง รายได้รับมากกว่ารายจ่าย ค่าเฉลี่ยร้อยละ20.96 ได้แก่ อำเภอเมืองลำปาง เสริมงาม แจ้ห่ม วังเหนือ เถิน แม่พริก แม่ทะและเมืองปาน สำหรับอำเภอที่มรี ายจ่ายมากกวา่ รายได้ ได้แก่ อำเภอแม่เมาะเกาะคา งาว สบปราบและหา้ งฉัตร สำหรับการ ด้านแผนรายรับ มีรายได้ไม่เป็นไปตามแผน± ร้อยละ 5 ส่วนใหญ่ 7 อำเภอสนับสนุนเงินให้รพ.สต มากกว่า แผน ได้แก่อำเภอเมือง เสริมงาม วังเหนือ แม่พริก แม่ทะ เมืองปาน สาเหตุจาก ความคลาดเคล่ือนของการ ประมาณการงบค่าเส่ือม และการเหลื่อมช่วงเวลาการสนับสนุนเงินจากโรงพยาบาลแม่ข่าย ด้านรายจ่ายส่วน ใหญ่ 9 อำเภอ การใช้จ่ายเงินต่ำกว่าแผน เฉลี่ยร้อยละ 17.71 ได้แก่ อำเภอแม่เมาะ เกาะคา งาว แจ้ห่ม วัง เหนือ เถิน แมพ่ ริก สบปราบ และเมืองปาน ซ่ึงอาจเกิดกบั อำเภอทีโ่ รงพยาบาลแม่ขา่ ยสนับสนุนเงินให้น้อยกว่า แผนจึงสง่ ผลให้รายจ่ายตำ่ กวา่ แผน การปรับแผนเงินบำรุงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ได้รับการอนุมัติปรับแผนแล้ว ได้แก่อำเภอ แม่เมาะและเมอื งปาน สว่ นอำเภอท่ีเหลืออยู่ระหวา่ งการตรวจสอบความถูกตอ้ งการปรบั แผนเงนิ บำรุง 2.แนวทาง/กิจกรรมและผลการดำเนินงาน 1.กำหนดแนวทางการจัดทำแผนเงินบำรุงโดยใชข้ ้อมลู 3 ปีย้อนหลัง และแผนงาน/โครงการ ปี2564 แผนการสนับสนนุ เงิน Fixed cost จากโรงพยาบาลให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 2.จดั ประชมุ จดั ทำแผนเงินบำรงุ เพอื่ ทำความเขา้ ใจการจดั ทำแผน และมรี ะบบตรวจสอบแผนเงนิ บำรงุ 3.กำหนดใหม้ ีระบบการปรบั แผนกลางปี 4.การอนมุ ตั ิแผน เสนอนายแพทยส์ าธารณสุขจงั หวดั เปน็ ผอู้ นมุ ตั ิแผน 5.การกำกับติดตามให้มีระบบรายงานทุกเดือน สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

123 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง 3. ปญั หาอปุ สรรคและแนวทางแก้ไข 1.การจัดทำแผนเงินบำรุงโรงพยาบาลได้ประมาณการเงินสนับสนุนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล มีความคลาดเคล่ือนในส่วนของงบการปรับเปล่ียนสถานการณ์จ้างงานของเจ้าหน้าที่และการสนับสนุน งบคา่ เสือ่ ม การปรบั แผนเงินบำรุงมคี วามลา่ ช้ากวา่ กำหนด 2. การรายงานแผน/ผลการรบั -จา่ ยเงนิ บำรงุ รายเดอื น พบการสง่ รายงานล่าช้า แนวทางการดำเนนิ การแก้ไข 1.เร่งรัดการปรบั แผนเงนิ บำรุง 2.กำกบั ติดตามระบบรายงานแผนผลเงินบำรุง 4. แผนการดำเนนิ การต่อไป ปรับระบบการรายงานแผนผลเงินบำรุงในปีงบประมาณ 2564 ไตรมาส 4 ในรูป Google Form ผรู้ ายงาน นางอไุ ร พงษ์นกิ ร ตำแหน่ง นกั จดั การงานท่วั ไปชำนาญการพเิ ศษ กลมุ่ งานบรหิ ารทวั่ ไป สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง โทร 054 227527-106 E-mail: [email protected] สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

ปญั หาสำคญั ของพืน้ ที่ (Area based)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook