Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตรวจราชการ64ครบเล่ม

ตรวจราชการ64ครบเล่ม

Published by ataya.eve, 2021-07-02 06:56:12

Description: ตรวจราชการ64ครบเล่ม

Search

Read the Text Version

205 กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง T เปรียบเทียบพฤตกิ รรมและผลลพั ธ์ เรือนที่ผา่ นเคม็ 30% ผลลัพธ์การปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม ผลลัพธ์ของกลุ่มเสี่ยง ใน 30%ของครัวเรือนที่ผา่ นเค็ม ก่อน หลัง ปกติ เส่ียงHT สงสัย ปว่ ย ละ รวมนน. ร้อยละ รวมนน. ร้อยละ ปว่ ย ราย คา่ BP ค่า BP คา่ BP HT ใหม่ HT เพิม่ ข้นึ ลดลง เท่าเดิม เกิน เกิน ขนึ้ 0 0 0.00 0 0.00 11 0 0 0.00 0 0.00 1 0 0 0.00 0 0.00 0 0 0.00 0 0.00 1 0 0 0.00 0 0.00 0 2 50.00 2 50.00 41 0 1 100.00 1 100.00 12 0 0 0.00 0 0.00 39 42 48.28 108 48.00 4 0 0 0.00 0 0.00 0 0 0.00 0 0.00 225 1 0 0 0.00 0 0.00 3 0 1 100.00 1 100.00 14 142 69 21 46 48.94 112 48.07 1 0 233 0 1 6 15 149 69 รและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

206 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง 2.3 แสดงขอ้ มลู เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพระดับจงั หวัด การควบคมุ ค่าระดบั นำ้ ตาลในเลอื ดและควบคมุ ความดนั โลหิต คุณภาพการรักษาพบว่าผู้ป่วย DM,HT ปี 2561 - 2564 ร้อยละของผู้ป่วย DM ท่ีควบคุมระดับ น้ำตาลในเลือดได้ดีทีร่ ้อยละ 18.77, 20.73 , 21.88 และ 20.68 ตามลำดับ และรอ้ ยละของผู้ป่วย HT สามารถ ควบคมุ ระดบั ความดันโลหิตได้ดตี ามเกณฑ์ คดิ เป็น ร้อยละ 47.54, 48.58 ,44.68 และ 55.73 ดงั ตารางที่ 14 ตารางท่ี 14 เปรียบเทียบการควบคุมค่าระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ 2561- 2564 อำเภอ คุมน้ำตาลได้ดี 2564 คมุ ความดันโลหติ ไดด้ ี 2561 2562 2563 2561 2562 2563 2564 เมอื งลำปาง 24.93 27.93 32.20 27.71 30.81 35.49 28.66 40.11 แม่เมาะ 18.37 19.64 19.00 15.1 45.24 47.09 44.98 54.57 เกาะคา 14.77 18.69 17.44 15.73 51.98 51.83 52.20 64.7 เสริมงาม 13.87 11.59 10.34 18.23 62.83 51.84 47.81 37.69 งาว 16.21 24.09 22.93 27.02 55.63 62.64 62.94 75.98 แจห้ ม่ 17.9 21.75 18.47 12.46 61.29 58.16 56.00 64.49 วังเหนอื 12.05 11.76 11.68 13.38 50.47 52.71 46.85 62.39 เถิน 19.93 20.87 22.05 25.11 51.91 52.79 51.56 64.2 แม่พริก 40.13 28.9 26.73 29.68 56.41 60.3 62.88 70.36 แม่ทะ 12.74 11.57 9.83 7.94 66.69 59.27 56.42 64.74 สบปราบ 14.31 14.07 16.78 15.33 62.22 59.29 49.25 59.36 หา้ งฉตั ร 11.16 16.23 15.54 21.58 46.09 45.79 43.11 60.12 เมืองปาน 17.72 17.42 19.92 13.61 40.83 40.63 40.93 55.82 รวม 18.77 20.73 21.88 20.68 47.54 48.58 44.68 55.73 ทีม่ า : HDC 16 ม.ิ ย.64 1). ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานแยกรายอำเภอท่ีควบคุมค่าระดับน้ำตาลได้ตามเกณฑ์ปีงบประมาณ 2564 เปรียบเทยี บประเทศ เขต เปา้ หมายร้อยละ 40 ผลการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ภาพรวมท้ังจังหวัดดำเนินการได้ ร้อยละ 20.68 สูงกวา่ เป้าหมายของระดบั เขตแต่ต่ำกว่าเปา้ หมายระดับประเทศ เป้าหมายท่ีกำหนด (>ร้อยละ 40) อำเภอทม่ี ีการควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีคือ อำเภอแม่พรกิ เมืองลำปาง เถิน และงาว คิดเป็นรอ้ ยละ 29.68, 27.71 และ 27.02 ตามลำดบั ดังตารางท่ี 15 สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

207 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง ตารางที่ 15 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคมุ ค่าระดับน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์ แยกราย อำเภอ (ต.ค.2563-16 มิ.ย.2564) 2564 (ต.ค.2563-16 มิ.ย. 2564) อำเภอ จำนวนผู้ป่วย จำนวนผูป้ ่วย ร้อยละผู้ป่วย ผู้ป่วย DMที่ รอ้ ยละผ้ปู ว่ ยที่สามารถ ประเทศ DM(คน) DMทไ่ี ด้รบั ได้รับการตรวจ สามารถ ควบคมุ นำ้ ตาลได้ การตรวจ 3,111,808 HbA1C(คน) HbA1C ควบคมุ ระดับ 26.60 นำ้ ตาลใน เลือดได้ (คน) 1,914,395 61.52 827,699 เขต 314,461 145,596 46.30 59,495 18.92 20.68 จังหวัด 49,445 25,488 51.55 10,227 27.71 เมืองลำปาง 15,916 10,540 66.22 4,410 แมเ่ มาะ 2,153 712 33.07 325 15.1 เกาะคา 4,603 1,640 35.63 724 15.73 เสรมิ งาม 1,821 1,332 73.15 332 18.23 งาว 2,568 1,800 70.09 694 27.02 แจห้ ่ม 2,977 711 23.88 371 12.46 วังเหนือ 2,856 1,094 38.31 382 13.38 เถนิ 3,768 2,325 61.7 946 25.11 แมพ่ ริก 994 795 79.98 295 29.68 แม่ทะ 3,854 785 20.37 306 7.94 สบปราบ 1,833 757 41.3 281 15.33 ห้างฉตั ร 4,148 2,357 56.82 895 21.58 เมอื งปาน 1,954 640 32.75 266 13.61 ทม่ี า : HDC 16 ม.ิ ย.64 2). ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงแยกรายอำเภอที่ควบคุมค่าระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ 2564 เปรยี บเทยี บประเทศ เขต รอ้ ยละ 60 ผลการควบคุมระดับความดันโลหิตสูงได้ดีของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ภาพรวมทั้งจังหวัด ดำเนินการได้ ร้อยละ 45.73 สูงกว่าเป้าหมายของระดับเขต และระดับประเทศ เป้าหมายที่กำหนด (>ร้อยละ สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

208 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง 60) อำเภอท่ีมีการควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีคือ อำเภองาว แม่พริก และเถิน คิดเป็นร้อยละ 67.84, 60.82และ 58.71 ตามลำดับ ดงั ตารางท่ี 166 ตารางที่ 16 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสามารถควบคุมค่าระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์แยก รายอำเภอ (ต.ค.2563-16 ม.ิ ย.2564) 2564 (ต.ค.2563-16 ม.ิ ย.2564) อำเภอ จำนวนผู้ป่วย จำนวนผ้ปู ว่ ย HT รอ้ ยละผ้ปู ว่ ย ผู้ป่วย HT ท่ี ร้อยละผปู้ ่วยท่ี HT(คน) ทไ่ี ด้รับการวัด ไดร้ ับการวัด สามารถ สามารถ ความดัน 2 ครง้ั BP 2 ครัง้ ติดกัน(คน) ควบคุมระดบั ควบคมุ ระดบั ตดิ กนั ความดันได้ ความดนั โลหติ ไดต้ ามเกณฑ์ (คน) ประเทศ 6,399,672 3,562,897 55.67 2,862,946 44.74 เขต 812,535 387,357 47.67 298,469 36.73 จงั หวดั 117,085 65,252 55.73 53,541 45.73 34,472 13,825 40.11 10,536 30.56 เมืองลำปาง 5,582 3,046 54.57 2,596 46.51 แมเ่ มาะ 10,955 7,088 64.7 6,260 57.14 เกาะคา 4,394 1,656 37.69 980 22.3 เสริมงาม 7,795 5,923 75.98 5,288 67.84 6,989 4,507 64.49 4,069 58.22 งาว 6,999 4,367 62.39 3,679 52.56 แจ้หม่ 9,438 6,059 64.2 5,541 58.71 วังเหนอื 2,787 1,961 70.36 1,695 60.82 เถิน 9,224 5,972 64.74 4,359 47.26 แม่พริก 4,663 2,768 59.36 2,256 48.38 แม่ทะ 8,920 5,363 60.12 4,617 51.76 สบปราบ 4,867 2,717 55.82 1,665 34.21 ห้างฉัตร เมืองปาน ที่มา : HDC 16 มิ.ย.64 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

209 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง ร้อยละของผู้ป่วย DM/HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเส่ียงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด เลือด (CVD Risk) เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 90 ข้อมูลผู้ป่วย DM/HT ท่ีขึ้นทะเบียนและยังไม่ป่วยด้วยโรคทาง CVD ได้รับการประเมิน CVD Risk ปี 2564 (ตุลาคม 63 – 16 มิถุนายน 64) ของจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมของจังหวัดอยู่ที่ร้อยละ 86.98 ซ่ึงสูง กว่าระดับเขตและประเทศ อำเภอท่ีมีการประเมินมากท่ีสุด ได้แก่ อำเภองาว แจ้ห่ม และแม่ทะ (ร้อยละ 91.37, 90.67 และ 89.25 ตามลำดับ) พบอำเภอท่ีมีการประเมินน้อย ได้แก่ อำเภอแม่พริก เมืองปานและแม่ เมาะ (ร้อยละ 75.39, 82.34 และ 82.95 ตามลำดับ) รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 17 ตารางที่ 17 ผู้ป่วย DM/HT ที่ข้ึนทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด เลอื ด (CVD Risk) ปี 2564 (ตลุ าคม 63 – 16 มิถนุ ายน 64) จำแนกรายอำเภอ ลำดับท่ี ระดบั จำนวนผปู้ ่วย จำนวนผ้ปู ว่ ย DM/HT รอ้ ยละ DM/HT ท่ียงั ไม่ป่วย ทย่ี ังไม่ป่วยดว้ ย CVD ได้รับการประเมิน CVD ด้วย CVD Risk ภาพรวมระดับประเทศ 2,471,296 2,036,577 82.41 ภาพรวมระดบั เขต 303,721 250,471 82.47 ภาพรวมระดับจงั หวดั 44,903 39,057 86.98 1 เมืองลำปาง 12,694 11,240 88.55 2 แมเ่ มาะ 2,510 2,082 82.95 3 เกาะคา 3,845 3,407 88.61 4 เสริมงาม 1,891 1,610 85.14 5 งาว 3,001 2,742 91.37 6 แจห้ ่ม 2,883 2,614 90.67 7 วังเหนือ 2,944 2,484 84.38 8 เถิน 3,310 2,892 87.37 9 แม่พริก 75.39 10 แมท่ ะ 837 631 89.25 11 สบปราบ 3,508 3,131 83.42 12 ห้างฉัตร 1,701 1,419 83.58 13 เมืองปาน 3,746 3,131 82.34 ทีม่ า : HDC 16 มิ.ย.64 2,033 1,674 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

210 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง การเพมิ่ คุณภาพการบรกิ าร โดยมีการดำเนินงาน ดงั น้ี 1 การจัดการระบบการดแู ลผู้ป่วยในสถานการณโ์ ควิด-19 โดยใชร้ ูปแบบ New normal การปรับรูปแบบบริการในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ได้ดำเนินตามรูปแบบ Re-design ที่จังหวัดได้ วางแผนไว้ แต่ยังพบปัญหาในเร่ืองของการบริการผู้ป่วยบางกลุ่มท่ีส่งยาให้ทางไปรษณีย์หรือการแจกยาไปใน ชุมชน จึงทำให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ไม่มีผลหรือค่าระดับน้ำตาลและความดันในระบบ และ การตรวจสุขภาพประจำปี การตรวจเลือดประจำปี การตรวจตาและเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน พบต่ำกว่าค่า เป้าหมายมากกว่าในปีท่ีผา่ นมา รวมถึงบุคลากรที่ขาดแคลนในพ้ืนท่ี ต้องไปช่วยงานในการคัดกรองโควิดเชิงรุก ในชมุ ชน การช่วยคัดกรองใน ARI Clinic ซ่ึงในแต่ละอำเภอไดป้ รบั รูปแบบบริการใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทในพ้ืนท่ี โดยสรุปไดด้ งั นี้ คอื 1. การให้บริการตรวจรกั ษาผูป้ ว่ ยแตล่ ะกลุ่มสี - สีเขียว : ก่อนนัดบริการ 1 อาทิตย์ มอบหมายให้ อสม.และ มอค.วัดความดันโลหิต/เจาะน้ำตาล ปลายน้ิว ส่งผลใหผ้ ู้รับผดิ ชอบ การแจกยาในชุมชน /สง่ ทางไปรษณยี ์ เลอ่ื นนัดออกไป 3-6 เดือน - สเี หลอื ง : กอ่ นนดั บริการ 1 อาทิตย์ มอบหมายให้ อสม.และ มอค.วัดความดันโลหิต/เจาะนำ้ ตาล ปลายนิ้ว ส่งผลใหผ้ ู้รับผดิ ชอบ การแจกยาในชุมชน /สง่ ทางไปรษณยี ์ เลื่อนนัดออกไป 2-3 เดือน - สีส้ม : ก่อนนดั บริการ 1 อาทิตย์ มอบหมายให้ อสม.และ มอค.วัดความดนั โลหติ /เจาะนำ้ ตาล ปลายนิ้ว ส่งผลให้ผู้รับผดิ ชอบ การแจกยาในชุมชน /สง่ ทางไปรษณยี ์ ให้ไปรบั บรกิ ารท่ี PCU นดั รับยา 2-3 เดอื น - สีแดง : นัดรับบริการท่ี PCU /รพ. โดยรับผู้ป่วยวันละไม่เกิน 20 คน ตามมาตรการ Social distancing นัดรับยา 1-2 เดือน สำหรับกลุ่มสีแดง Uncontrolled ปรับเปล่ียนพฤติกรรม ใช้ กระบวน การ Self-management support กระบ วนการ Health literacy และการใช้ Individual care plan - สีดำ : นัดรับบรกิ าร รพ. โดยรับผปู้ ่วยวันละไม่เกิน 20 คน ตามมาตรการ Social distancing นัด รบั ยา 1-2 เดือน 2. การตรวจสุขภาพประจำปี - กรณนี ดั ตรวจสุขภาพประจำปี ในการเจาะเลอื ด ผู้ปว่ ยทบ่ี า้ นอยใู่ กล้เขต รพ.ใหม้ าเจาะเลือดที่ รพ. ในส่วนผู้ป่วยท่ีรับยาที่ PCU และ รพ.สต. นัดมาเจาะเลือดประจำปี ที่ PCU กำหนดจำนวนวันละ 30-40 คน โดยมีรถจาก รพ.ไปรบั specimen มาตรวจ เม่ือได้ค่าผล Lab หากผลปกติ รับยาเดิม ต่อเนื่อง หากผลผดิ ปกติ นดั มาพบแพทย์ ที่ PCU - การตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวาน เน่ืองจากผู้ป่วยสีเขียว เหลืองและส้มท่ีไม่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับ การแจกยาที่บ้านหรือทางไปรษณีย์ รวมถึงไม่มีบุคลากรที่ไปตรวจเท้าให้ท่ีบ้าน จึงทำให้ผู้ป่วย ตรวจเท้าไดจ้ ำนวนน้อย - การตรวจตาและการตรวจฟัน เลอื่ นออกไปกอ่ นจนกวา่ สถานการณ์คล่ีคลาย ผลการดำเนินงาน พบวา่ ผปู้ ว่ ยเบาหวานทุกระดบั สีไปรับการรักษาท่ี รพ.สต. สเี ขียวร้อยละ 86.15 สี เหลอื ง รอ้ ยละ 84.68 สสี ้ม รอ้ ยละ 83.92 สีแดง รอ้ ยละ 82.83 และสีดำ 81.20 รายละเอียดตารางท่ี 18 ผูป้ ่วยความดันโลหิตสูงรบั การรกั ษา ท่ี รพ.สต. สีเขยี ว รับการรักษาท่ี รพ.สต.รอ้ ยละ 85.85 สีเหลอื ง ร้อยละ 84.10 สสี ม้ รอ้ ยละ 88.80 สีแดง รอ้ ยละ 90.72 และสดี ำ 89.40 รายละเอียดตารางท่ี 19 สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี ก ตารางท่ี 18 ร้อยละผปู้ ่วยเบาหวาน แบ่งตามระดับสแี ละแยกการรับบรกิ ารระหว อำเภอ ทั้งหมด ทมี่ ีผล รอ้ ยละ สีเขยี ว สีเหลือง รพ. รพ.สต. ร้อยละ รพ.ส เมอื งลำปาง 15750 12081 76.70 15.79 84.21 18.49 81.5 แมเ่ มาะ 2124 1933 91.01 39.60 60.40 35.62 64.3 เกาะคา 4575 3686 80.57 0.98 99.02 1.23 98.7 เสรมิ งาม 1817 1770 97.41 20.55 79.45 27.19 72.8 งาว 2583 2535 98.14 9.15 90.85 11.25 88.7 แจ้หม่ 2937 2809 95.64 18.72 81.28 18.13 81.8 วงั เหนือ 2830 2765 97.70 13.34 86.66 15.81 84.1 เถนิ 3734 3654 97.86 7.78 92.22 13.45 86.5 แม่พริก 994 919 92.45 32.44 67.56 35.90 64.1 แมท่ ะ 3824 3610 94.40 10.82 89.18 14.74 85.2 สบปราบ 1826 1070 58.60 15.17 84.83 19.73 80.2 ห้างฉตั ร 4115 3108 75.53 0.78 99.22 0.00 100.0 เมืองปาน 1943 1824 93.88 16.45 83.55 18.21 81.7 รวม 49052 41764 85.14 13.85 86.15 15.32 84.6 สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการ

211 กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง ว่างโรงพยาบาลและรพ.สต. ปี 2564 แยกตามระดับสี สีดำ ไมม่ ผี ล สสี ม้ สีแดง รพ. รพ.สต. จำนวน ร้อยละ สต. รพ. รพ.สต. รพ. รพ.สต. 28.45 71.55 3669 23.30 57 18.08 81.92 15.31 84.69 40.63 59.38 191 8.99 38 37.96 62.04 42.50 57.50 2.35 97.65 889 19.43 77 1.43 98.57 2.31 97.69 26.09 73.91 47 2.59 81 33.62 66.38 41.28 58.72 9.26 90.74 48 1.86 75 8.73 91.27 9.39 90.61 18.51 81.49 128 4.36 87 20.42 79.58 23.60 76.40 18.01 81.99 65 2.30 19 19.42 80.58 19.25 80.75 10.23 89.77 80 2.14 55 11.22 88.78 15.12 84.88 36.75 63.25 75 7.55 10 44.07 55.93 22.22 77.78 7.28 92.72 214 5.60 26 12.16 87.84 12.50 87.50 34.48 65.52 756 41.40 27 14.10 85.90 28.77 71.23 16.53 83.47 1007 24.47 00 0.00 100.00 1.62 98.38 14.20 85.80 119 6.12 79 17.27 82.73 17.76 82.24 18.80 81.20 7288 14.86 68 16.08 83.92 17.17 82.83 รและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปก ตารางท่ี 19 ร้อยละผปู้ ่วยความดันโลหิตสงู แบ่งตามระดับสีและแยกการรบั บรกิ อำเภอ ทง้ั หมด ท่ีมีผล ร้อยละ สเี ขยี ว สเี หลอื ง เมืองลำปาง รพ. รพ.สต. รพ. รพ แม่เมาะ เกาะคา 39480 24030 60.87 1.24 98.76 1.21 98 เสริมงาม งาว 6224 4391 70.55 39.20 60.80 41.79 58 แจห้ ่ม วงั เหนอื 12062 9620 79.75 4.01 95.99 5.32 94 เถนิ แม่พริก 4592 3291 71.67 29.15 70.85 6.55 93 แมท่ ะ สบปราบ 8397 7269 86.57 10.81 89.19 8.98 91 ห้างฉตั ร เมืองปาน 7279 6074 83.45 22.00 78.00 15.90 84 รวม 7377 6031 81.75 18.51 81.49 20.55 79 10394 8448 81.28 10.35 89.65 13.10 86 3014 2527 83.84 37.09 62.91 44.97 55 9772 7925 81.10 12.01 87.99 15.24 84 4900 4179 85.29 39.57 60.43 53.14 46 9642 7539 78.19 18.99 81.01 21.43 78 5139 3931 76.49 16.71 83.29 18.17 81 128272 95255 74.26 14.15 85.85 15.90 84 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการ

212 กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง การระหว่างโรงพยาบาลและ รพ.สต. ปี 2564 แยกตามระดบั สี ไม่มผี ล พ.สต. สสี ม้ สแี ดง สีดำ จำนวน ร้อยละ รพ. รพ.สต. รพ. รพ.สต. รพ. รพ.สต. 8.79 1.53 98.47 1.50 98.50 4.04 95.96 15450 39.13 8.21 36.69 63.31 50.00 50.00 39.65 60.35 1833 29.45 4.68 6.99 93.01 7.14 92.86 5.65 94.35 2442 20.25 3.45 12.70 87.30 7.14 92.86 18.83 81.17 1301 28.33 1.02 5.82 94.18 7.55 92.45 8.09 91.91 1128 13.43 4.10 12.90 87.10 6.52 93.48 18.74 81.26 1205 16.55 9.45 19.72 80.28 16.07 83.93 12.64 87.36 1346 18.25 6.90 10.75 89.25 15.79 84.21 9.36 90.64 1946 18.72 5.03 43.18 56.82 40.00 60.00 34.83 65.17 487 16.16 4.76 13.17 86.83 12.12 87.88 3.79 96.21 1847 18.90 6.86 27.54 72.46 21.43 78.57 38.57 61.43 721 14.71 8.57 20.74 79.26 22.00 78.00 16.27 83.73 2103 21.81 1.83 20.43 79.57 9.09 90.91 12.64 87.36 1208 23.51 4.10 11.20 88.80 9.28 90.72 10.60 89.40 33017 25.74 รและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

213 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง 2.การติดตามคณุ ภาพการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหติ สูงโดยประเมินจาก 2.1 การเปลี่ยนแปลงระดับสี พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 49,052 คน มีผลการตรวจน้ำตาลจำนวน 35,828 คน คิดเป็นร้อยละ 73.04 ไม่มีผลค่านำ้ ตาล 13,224 คน คิดเปน็ ร้อยละ 26.96 มีผลลัพธ์ในการเปลี่ยนแปลงระดบั สี คอื มีผลลพั ธ์สีเท่าเดิม จำนวน 22,008 คิดเป็นร้อยละ 61.43 มีผลลัพธ์สีท่ีเพ่ิมขึ้น 7,488 คน คิดเป็นร้อยละ 20.90 และผลลัพธ์ ระดับสีท่ีลดลงจำนวน 6,332 คิดเป็นร้อยละ 17.67 โดยอำเภอที่มีผลลัพธ์ในการบริการให้ระดับสีลดลงมากที่สุด คืออำเภอแม่เมาะ วงั เหนอื และแม่พริก (คดิ เป็นร้อยละ 23.31, 22.39 และ20.95 ตามลำดบั ) ดังตารางที่ 20 สำหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสงู จำนวน 128,272 คน มผี ลการตรวจความดันโลหิตจำนวน 84,228 คน คิดเป็นร้อยละ 65.66 ไม่มีผลตรวจความดันโลหิตสูง 44,044 คน คิดเป็นร้อยละ 34.34 มีผลลัพธ์ในการ เปลี่ยนแปลงระดับสี คือ มีผลลัพธ์สีเท่าเดิมจำนวน 66,334 คิดเป็นร้อยละ 78.76 มีผลลัพธ์สีท่ีเพิ่มขึ้น 9,023 คน คิดเป็นร้อยละ 10.71 และผลลัพธ์ระดับสีที่ลดลงจำนวน 8,871 คน คิดเป็นร้อยละ 10.53 โดยอำเภอที่มี ผลลัพธ์ในการบริการให้ระดับสีลดลงมากที่สุด คืออำเภอแม่พริก แม่เมาะและเถิน (คิดเป็นร้อยละ 13.59, 13.38และ13.37ตามลำดบั ) ตามตารางท่ี21 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปก ตารางที่ 20 จำนวนผู้ป่วย DM ท่ไี ดร้ ับการดแู ลและผลลัพธใ์ นการเปลี่ยนระดบั สถานบรกิ าร จำนวน DM มผี ล ผลการตรวจ ร รอ้ ยละ ไมม่ ผี ล เมืองลำปาง 15750 10046 แม่เมาะ 2124 1773 63.78 5704 เกาะคา 4575 3303 83.47 351 1817 1701 72.20 1272 เสริมงาม 2583 2168 93.62 116 งาว 2937 2528 83.93 415 แจห้ ม่ 2830 2604 86.07 409 วงั เหนอื 3734 2364 92.01 226 เถิน 994 802 63.31 1370 แมพ่ รกิ 3824 3184 80.68 192 แม่ทะ 1826 954 83.26 640 สบปราบ 4115 2739 52.25 872 ห้างฉตั ร 1943 1662 66.56 1376 เมอื งปาน 49052 35828 85.54 281 73.04 13224 รวม สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการ

214 กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง บสี ผลลพั ธก์ ารเปล่ียนแปลงระดับสี รอ้ ยละ เทา่ เดมิ รอ้ ยละ เพิ่มข้นึ ร้อยละ ลดลง ร้อยละ 36.22 7013 69.81 1730 17.22 1303 12.97 16.53 1057 59.62 319 17.99 397 22.39 27.80 2019 61.13 684 20.71 600 18.17 6.38 872 51.26 482 28.34 347 20.40 16.07 1169 53.92 615 28.37 384 17.71 13.93 1419 56.13 633 25.04 476 18.83 7.99 1377 52.88 620 23.81 607 23.31 36.69 1343 56.81 545 23.05 476 20.14 19.32 452 56.36 182 22.69 168 20.95 16.74 1964 61.68 621 19.50 599 18.81 47.75 623 65.30 167 17.51 164 17.19 33.44 1609 58.74 595 21.72 535 19.53 14.46 1091 65.64 295 17.75 276 16.61 26.96 22008 61.43 7488 20.90 6332 17.67 รและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี ก ตารางท่ี 21 จำนวนผู้ปว่ ย HT ทไี่ ดร้ ับการดแู ลและผลลพั ธใ์ นการเปลี่ยนระดบั ส สถานบรกิ าร จำนวนผ้ปู ว่ ย ผลการตรวจ HT ทั้งหมด มีผล BP ร้อยละ ไมม่ ีผล BP รอ้ เมอื งลำปาง 39480 19654 49.78 19826 5 แม่เมาะ 6224 4164 66.90 2060 3 เกาะคา 12062 8841 73.30 3221 2 เสริมงาม 4592 2967 64.61 1625 3 งาว 8397 6762 80.53 1635 1 แจห้ ่ม 7279 5471 75.16 1808 2 วังเหนือ 7377 5667 76.82 1710 2 เถนิ 10394 7187 69.15 3207 3 แมพ่ ริก 3014 2237 74.22 777 2 แมท่ ะ 9772 7661 78.40 2111 2 สบปราบ 4900 3969 81.00 931 1 ห้างฉัตร 9642 5978 62.00 3664 3 เมอื งปาน 5139 3670 71.41 1469 2 รวม 128272 84228 65.66 44044 3 รายงานแยกรายสถานบรกิ าร 16 ม.ิ ย.64 สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการ

กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง 215 สี ร้อยละ ผลลพั ธ์การเปล่ยี นแปลงระดับสี 9.97 13.38 อยละ เท่าเดิม รอ้ ยละ เพมิ่ ขึ้น รอ้ ยละ ลดลง 12.49 50.22 15536 79.05 2158 10.98 1960 2.49 33.10 3074 73.82 533 12.80 557 9.73 26.70 6816 77.10 921 10.42 1104 12.48 35.39 2729 91.98 164 5.53 74 13.01 19.47 5448 80.57 656 9.70 658 13.37 24.84 4051 74.04 737 13.47 683 13.59 23.18 4105 72.44 825 14.56 737 4.87 30.85 5216 72.58 1010 14.05 961 12.55 25.78 1695 75.77 238 10.64 304 11.49 21.60 6973 91.02 315 4.11 373 7.49 19.00 2873 72.39 598 15.07 498 10.53 38.00 4657 77.90 634 10.61 687 28.59 3161 86.13 234 6.38 275 34.34 66334 78.76 9023 10.71 8871 รและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

216 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง 2.2 การปรับเปล่ียนพฤติกรรมในกลุ่ม Uncontrolled สีแดงของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหติ สูง จำนวนผู้ป่วยสแี ดง Uncontrolled สแี ดงจำนวน 1,213 คน ซงึ่ เป็นผูป้ ว่ ย DM+HT จำนวน 1,111 คน คิดเป็นร้อยละ 91.59 และผู้ป่วย HT จำนวน 102 คน คิดเป็นร้อยละ 8.41 และ เข้าร่วมในการ ปรับเปล่ียนพฤติกรรม จำนวน 1,012 คน ซ่ึงเป็นผู้ป่วย DM และ DM+HT จำนวน 927 คน คิดเป็นร้อยละ 91.60และผูป้ ว่ ย HT จำนวน 85 คน คิดเปน็ ร้อยละ 8.41 ตามตารางท่ี 22 การปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมในกลุ่มปว่ ยมีดงั น้ี การดำเนินงานปรับเปล่ียนพฤติกรรม จัดทำทะเบียนผู้ป่วยสีแดง Uncontrolled วิเคราะห์ปัญหา รายบุคคล , การจัดทำ Individual care plan ตามปัญหารายบุคคล ,การใช้เครื่องมือ SMBG และ SMBP ใน การติดตาม , ตดิ ตามประเมินผลค่า FBS และ BP ทุก 1 เดอื น และสรุปผลลัพธ์ประเมินผลทุก 3 เดือน ซึ่งหลัง การดำเนนิ การปรับเปลย่ี นพฤติกรรม 6 เดอื น พบวา่ 1. การประเมินพฤตกิ รรมเสยี่ งก่อนและหลงั ปรบั เปล่ียนพฤติกรรม พบว่า - ด่ืมสรุ ากอ่ นปรับเปลย่ี นรอ้ ยละ 75.11 หลังปรับเปลย่ี น 6 เดือนลดลง รอ้ ยละ 24.29 - สบู บหุ ร่ีกอ่ นปรับเปลย่ี นรอ้ ยละ 71.60 หลังปรับเปลีย่ น 6 เดอื นลดลง ร้อยละ 28.40 - ไม่ออกกำลังกายก่อนปรบั เปลย่ี นรอ้ ยละ 57.35 หลงั ปรบั เปลี่ยน 6 เดือนลดลง ร้อยละ 42.65 2. การประเมินปญั หาอื่นๆ พบว่า - กลุ่มป่วยมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ก่อนปรับเปล่ียนร้อยละ 61.01 หลัง ปรับเปล่ียน6 เดอื นลดลง 38.99 - การทานยาไมถ่ ูกต้อง/ลืมทานยา กอ่ นปรบั เปลีย่ นร้อยละ 71.19 หลังปรับเปลยี่ น 6 เดือนลดลง 28.81 - ความเครียดและอาการวิตกกังวลในเรื่องความเจ็บป่วยและเร่ืองอื่นๆ ก่อนปรับเปลี่ยนร้อยละ 83.02หลังปรับเปลีย่ น 6 เดือนลดลง 16.98 ตามตารางท่ี 23 3. ผลลพั ธ์การปรบั เปล่ียนรายบคุ คลในกล่มุ ปว่ ยสีแดง Uncontrolled 6 เดือน พบว่า - ผู้ป่วย DM,DM+HT เปล่ียนแปลงระดับสีลดลง สีเขียวจำนวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 15.10 สี เหลืองจำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 21.57 สีส้มจำนวน 220 คน คิดเป็นร้อยละ 23.73 และ ยังคงเปน็ สีแดงคงเดิมจำนวน 367 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 39.59 - ผ้ปู ว่ ย HT เปลี่ยนแปลงระดับสีลดลง สีเขียวจำนวน 46 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 54.12 สเี หลืองจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 21.18 สีส้มจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 11.76 และยังคงเป็นกลุ่มสีแดง จำนวน 11 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 12.94 ตามตารางท่ี 24 สรุปการดำเนินงานปรับเปล่ียนกลุ่มป่วยสีแดง Uncontrolled จำเป็นต้องมีกิจกรรมท่ี ตอ่ เนอ่ื ง เน่ืองจากมีกลุม่ ผู้ป่วยท่ีเขา้ สกู่ ระบวนการปรับเปล่ียน มีผลพฤติกรรมเสี่ยงท่ีลดลง รวมถึง มีผลลัพธข์ องทงั้ คา่ นำ้ ตาลและคา่ ความดันโลหติ ทล่ี ดลง สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

217 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง ตารางที่ 22 จำนวนผปู้ ่วย Uncontrolled สแี ดง DM&HT อำเภอ ผู้ป่วย จำนวนผู้ปว่ ย ผู้ปว่ ย จำนวนผ้ปู ว่ ยทเี่ ขา้ ร่วมปรบั พฤตกิ รรม Uncontrolled Uncontrolled DM& ร้อยละ HT ร้อยละ สีแดงทเี่ ข้าร่วม DM&HT รอ้ ยละ HT รอ้ ยละ HT การปรับเปล่ยี น สีแดงทั้งหมด พฤตกิ รรม เมอื ง 217 168 77.42 49 22.58 179 145 81.01 34 18.99 แมเ่ มาะ 74 74 100.00 0 0.00 74 74 100.00 0 0.00 เกาะคา 104 95 91.35 9 8.65 66 57 86.36 9 13.64 เสรมิ งาม 60 60 100.00 0 0.00 45 45 100.00 0 0.00 งาว 190 190 100.00 0 0.00 184 184 100.00 0 0.00 แจห้ ม่ 136 130 95.59 6 4.41 122 118 96.72 4 3.28 วังเหนอื 58 55 94.83 3 5.17 58 55 94.83 3 5.17 เถนิ 85 85 100.00 0 0.00 85 85 100.00 0 0.00 แมพ่ ริก 16 12 75.00 4 25.00 17 13 76.47 4 23.53 แม่ทะ 9 9 100.00 0.00 9 9 100.00 0 0.00 สบปราบ 90 68 75.56 22 24.44 90 68 75.56 22 24.44 ห้างฉตั ร 40 31 77.50 9 22.50 40 31 77.50 9 22.50 เมอื งปาน 134 134 100.00 0 0.00 134 134 100.00 0 0.00 รวม 1,213 1111 91.59 102 8.41 1,012 927 91.60 85 8.40 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี ก ตารางท่ี 23 จำนวนผูป้ ่วย DM, HT และ DM+HT สแี ดง Uncontrolled ท่ีมพี จ้านวน ดื่มสุรา พฤตกิ รรมเส่ียง ไมอ่ อกก้าลังกาย กลุ่ม สูบบหุ รี่ อ้าเภอ ปว่ ยสี รวม กอ่ น ร้อยละ หลงั ร้อยละ รวม กอ่ น ร้อยละ หลงั ร้อยละ รวม กอ่ น ร้อยละ หลงั แดง สุรา บหุ ร่ี ออก เมอื ง ท้ังหมด ก้าลัง แมเ่ มาะ เกาะคา กาย เสริมงาม งาว 217 246 215 87.40 31 12.60 34 20 58.82 14 41.18 249 149 59.84 100 แจห้ ่ม วงั เหนอื 74 10 7 70.00 3 30.00 8 4 50.00 4 50.00 142 73 51.41 69 เถนิ แมพ่ ริก 104 22 15 68.18 7 31.82 31 25 80.65 6 19.35 93 68 73.12 25 แม่ทะ สบปราบ 60 29 18 62.07 11 37.93 29 26 89.66 3 10.34 69 40 57.97 29 ห้างฉตั ร เมืองปาน 190 14 7 50.00 7 50.00 0 0 0.00 0 0.00 265 167 63.02 98 รวม 136 13 8 61.54 5 38.46 4 3 75.00 1 25.00 50 29 58.00 21 58 14 9 64.29 5 35.71 0 0 0.00 0 0.00 94 60 63.83 34 85 25 14 56.00 11 44.00 8 6 75.00 2 25.00 72 18 25.00 54 19 2 1 50.00 1 50.00 1 1 100.00 0 0.00 21 17 80.95 4 35 18 11 61.11 7 38.89 0 0 0.00 0 0.00 24 10 41.67 14 96 51 38 74.51 13 13.68 39 31 0.00 8 20.51 101 53 55.79 48 41 13 3 23.08 10 76.92 8 0 0.00 8 100.00 51 22 43.14 29 153 0 0 2.00 0 0.00 0 0 0.00 0 2.00 0 0 0.00 0 1268 457 346 75.71 111 24.29 162 116 71.60 46 28.40 1231 706 57.35 525 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการ

218 กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง พฤตกิ รรมเสยี่ งและมปี ัญหาด้านอืน่ ปัญหาอ่ืน ความเครียด ทานยาไมถ่ ูกต้อง การรับประทานอาหารไมถ่ ูกตอ้ ง ง ร้อยละ รวม กอ่ น ร้อยละ หลงั ร้อยละ รวมยา กอ่ น ร้อยละ หลงั ร้อยละ รวม กอ่ น ร้อยละ หลงั ร้อยละ อาหาร เครียด 0 40.16 276 151 54.71 125 45.29 96 58 60.42 38 39.58 8 4 50.00 4 50.00 9 48.59 105 69 65.71 36 34.29 41 30 73.17 11 26.83 0 0 0.00 0 0.00 5 26.88 96 80 83.33 16 16.67 16 15 93.75 1 6.25 16 15 93.75 1 6.25 9 42.03 58 34 58.62 24 41.38 11 6 54.55 5 45.45 3 3 100.00 0 0.00 8 36.98 313 176 56.23 137 43.77 8 4 50.00 4 50.00 2 2 100.00 0 0.00 1 42.00 40 25 62.50 15 37.50 9 5 55.56 4 44.44 2 1 50.00 1 50.00 4 36.17 96 60 62.50 36 37.50 3 2 66.67 1 33.33 0 0 0.00 0 0.00 4 75.00 98 63 64.29 35 35.71 7 6 85.71 1 14.29 5 3 60.00 2 40.00 5 100.00 0 0.00 19.05 12 11 91.67 1 8.33 2 2 100.00 0 0.00 5 5 100.00 0 0.00 4 58.33 27 24 88.89 3 11.11 11 10 90.91 1 9.09 5 0 0.00 0 0.00 8 50.53 143 90 62.94 53 37.06 19 19 100.00 0 0.00 0 6 85.71 1 14.29 9 56.86 62 26 41.94 36 58.06 13 11 84.62 2 15.38 7 0 0.00 0 0.00 44 83.02 9 16.98 0.00 0 0 0.00 0 2.00 0 0 0.00 0 0.00 0 5 42.65 1326 809 61.01 517 38.99 236 168 71.19 68 28.81 53 รและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปก ตารางที่ 24 ผลการเปลยี่ นแปลงระดับสหี ลังปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมในผปู้ ่วย DM ผปู้ ่วย DM&HT อำเภอ ผู้ปว่ ย สีเขยี ว ร้อยละ สีเหลอื ง รอ้ ยละ สี รอ้ ยละ สีแดง DM&HT สม้ เมือง แม่เมาะ 145 26 17.93 52 35.86 31 21.38 36 เกาะคา เสริมงาม 74 5 6.76 18 24.32 12 16.22 39 งาว แจ้หม่ 57 17 29.82 23 40.35 17 29.82 0 วงั เหนือ เถิน 45 8 17.78 9 20.00 11 24.44 17 แม่พริก แมท่ ะ 184 24 13.04 40 21.74 30 16.30 90 สบปราบ หา้ งฉตั ร 118 9 7.63 11 9.32 11 9.32 87 เมอื งปาน รวม 55 9 16.36 7 12.73 14 25.45 25 85 20 23.53 16 18.82 21 24.71 28 13 3 23.08 5 38.46 4 30.77 1 9 0 0.00 1 11.11 4 44.44 4 68 22 32.35 22 32.35 16 23.53 8 31 5 16.13 9 29.03 10 32.26 7 134 26 19.40 44 32.84 39 29.10 25 927 140 15.10 200 21.57 220 23.73 367 สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการ

219 กติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง M ,HT และ DM+HT ผ้ปู ่วย HT ง รอ้ ยละ ผู้ปว่ ย สี รอ้ ยละ สี รอ้ ยละ สี รอ้ ยละ สี รอ้ ยละ HT เขียว เหลอื ง สม้ แดง 6 24.83 34 11 32.35 16 47.06 4 11.76 3 8.82 9 52.70 0 0 0 00 00 00 0 0.00 9 7 77.78 2 22.22 0 0.00 0 0.00 7 37.78 0 0 0 00 00 00 0 48.91 0 0 0 00 00 00 7 73.73 4 1 25.00 0 0.00 1 25.00 2 50.00 5 45.45 3 1 33.33 0.00 1 33.33 1 33.33 8 32.94 0 0 0 00 00 00 1 7.69 4 3 75.00 0.00 1 25.00 0.00 4 44.44 0 0 0 00 00 00 8 11.76 22 21 95.45 0 0.00 0 0.00 1 4.55 7 22.58 9 2 22.22 0.00 3 33.33 4 44.44 5 18.66 0 0 0 00 00 00 7 39.59 85 46 54.12 18 21.18 10 11.76 11 12.94 รและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

220 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง 3.แผนพัฒนาศักยภาพผดู้ ูแล การจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะให้แก่ผู้ให้บริการ ท้ังทีมแพทย์ประจำคลินิกแพทย์ประจำ PCU พยาบาลประจำคลนิ กิ และผูส้ นใจ โดยการดำเนนิ งาน ดงั นีค้ อื 1. จั ด ป ระชุ ม ผ่ าน ช่ อ งท าง Online Zoom meeting ก ารท ำ Case conference ผู้ ป่ ว ย DM,HT,CKD ทุก 3 เดือน โดยกำหนดให้แต่ละโรงพยาบาลชุมชนได้แลกเปล่ียนเรียนรู้กรณีศึกษาร่วมกัน วางแผนคร้งั ตอ่ ไปเดอื น ก.ค. 2564 2. ปรับเปล่ียนการอบรมเพ่ิมทักษะ ในด้านการเป็น Coaching ในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมกลุ่ม เสี่ยงและกลมุ่ ปว่ ย ผา่ นชอ่ งทาง Zoom meeting 3. คัดเลือกตวั แทนในโรงพยาบาลชุมชน และผู้รับผิดชอบ สสอ. เข้าร่วมการฝึกอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร System manager ร่วมกับเขตสุขภาพท่ี 1 เพื่อให้มีความรู้และทักษะในการวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาแบบองค์ รวม 4. การทำวิจัยเพ่ือศึกษาประสิทธิภาพในการดำเนินงานลดเค็ม “การพัฒนารูปแบบการลดบริโภค เค็มในกลมุ่ เส่ยี งเบาหวานและความดันโลหติ สูง ปี 2564 จงั หวดั ลำปาง ปัญหาอปุ สรรค 1.ดา้ นบคุ ลากร 1.จากสถานการณ์โควดิ ทำให้เกิดความขาดแคลนบุคลากร ผู้รบั ผิดชอบงาน NCD ไปช่วยในหลายจุด บริการ 2.ขาดผจู้ ัดการในการดแู ล ควบคุมกำกบั วิเคราะห์งานโรคไมต่ ดิ ตอ่ เชงิ ระบบในระดบั อำเภอ 3.ความรู้และทักษะของบุคลากรการ Coaching ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมท้ังกลุ่มเสี่ยงและกลุ่ม ป่วย 4.จำนวนผปู้ ว่ ยโรคไม่ตดิ ตอ่ เรอ้ื รังมจี ำนวนเพิม่ ขน้ึ และมีการจัดระบบบรกิ ารเนน้ การทำงานใน PCU ทำให้ Workload งานเพ่มิ ขึน้ 2.ด้านขอ้ มลู 1. ระบบการจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ภาพรวมของอำเภอ และการตรวจสอบข้อมูลให้มีความ สมบูรณ์ และสะทอ้ นกลับใหก้ ับผรู้ ับผิดชอบ รพ.สต. 2. สถานการณ์ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทำให้การดำเนินงานไม่ต่อเนื่อง และการติดตามผลลัพธ์ท้ัง ในกลุม่ เสย่ี งและกลุ่มป่วยไม่ไดต้ ามระยะเวลาทว่ี างแผนไว้ 3. การดำเนินงานลดเคม็ 3.1 ระบบรายงานข้อมลู ของเวบ็ แอพพลิเคชน่ั บนั ทกึ ความเคม็ มีบางส่วนของระบบทย่ี ังไมส่ มบูรณ์ ได้แก่ - เป้าหมายในระบบไมต่ รงกบั พนื้ ทท่ี ำให้การบันทึกขอ้ มลู คลาดเคลื่อนหรือไม่ครบถว้ น - เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานระดับอำเภอและจังหวัด ไม่สามารถตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง และไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้ เน่ืองจากADMIN ผู้ดูแลระบบจะเป็นผู้จัดการแก้ไขปรับปรุงข้อมูล และดึงข้อมูลส่งให้ ผู้รับผิดชอบ ส่งผลให้เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลหรือจำนวนกลุ่มเป้าหมาย การแก้ไขข้อมูลใหม่จะเกิดความ ลา่ ชา้ และไมเ่ ปน็ ปจั จุบนั การติดตามการบันทึกข้อมูลจึงล่าชา้ 3.2 การดำเนินงานตรวจวัดความเค็มยังทำได้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ในบาง setting เนื่องจาก สถานการณ์การระบาดของโคโรน่าไวรัส 19 ระลอกใหม่ ทำให้เป้าหมายสถานประกอบการร้านอาหาร และ ร้านกว๋ ยเต๋ียว ลดลง เน่ืองจากปดิ กิจการ และในบาง setting ไม่สามารดำเนินการตรวจวดั ได้ เช่น ในครวั เรือน ที่มปี ระชาชนบางสว่ นอยู่ในระหว่างการการเฝ้าระวงั สงั เกตอาการจึงไมส่ ะดวกต่อการเข้าไปตรวจวัด โรงเรียนมี การงดการเรียนการสอนโดยทำการสอนแบบออนไลน์ สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

221 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง 3.3 การปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมการปรุงอาหารรสเค็มต้องใชเ้ วลา 3.4 ผลกระทบการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ผู้รับผิดชอบงานท่ีมีภาระงานมากข้ึน ส่งผล กระทบต่อการดำเนินงานลดเค็ม โอกาสพฒั นาต่อไป 1. ดา้ นบุคลากร • กำหนดให้มผี ูร้ ับผิดชอบการดำเนินงานในระดบั อำเภอและโรงพยาบาล เพ่ือมีหน้าที่ในการประสาน 2.ดา้ นข้อมูล • แนวทางการในการจัดการข้อมูลท่ีไม่สมบูรณ์ โดยคืนข้อมูลให้แต่ละอำเภอ เพ่ือนำไปวิเคราะห์ถึง ปัญหาของแตล่ ะพน้ื ที่ และมีการติดตาม ตาม Zone 3.การดำเนนิ งานลดเค็ม 1.1 ปรบั ปรงุ ระบบรายงานข้อมูลของเว็บแอพพลเิ คช่ันบันทึกความเค็ม โดยรวบรวมปญั หาการใชง้ านจาก พื้นท่ี และแอดมนิ ผู้ดูแลระบบ พร้อมทั้งหาแนวทางในการพัฒนาร่วมกัน เพื่อให้สะดวกต่อการใช้งาน ของพื้นที่ อีกทั้งผู้รับผิดชอบงานลดเค็มทัง้ ระดับอำเภอและระดบั จังหวดั สามารถตรวจสอบข้อมูลได้ งา่ ยและรวดเร็ว 1.2 ปรับแผนลดเค็มให้เหมาะสมและสอดคล้องกับการปฏิบัติงาน กำหนดแนวทางการบนั ทึกและติดตาม ข้อมูลความเค็มผ่านเว็บแอพพลิเคชั่นบันทึกความเค็ม พร้อมท้ังส่ือสารลงพ้ืนที่เกี่ยวกับการตรวจวัด ความเคม็ ใหช้ ดั เจน 1.3 ประสานผู้รับผิดชอบงานลดเคม็ ระดับอำเภอ เพ่อื ติดตาม รวบรวมข้อมูลการตรวจวัดความเค็ม ในแต่ ละ setting ทกุ เดือน เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลงานตามเป้าหมาย 1.4 ผรู้ บั ผดิ ชอบระดับจงั หวดั ในแต่ละ setting มีการตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูล ทีถ่ กู ตอ้ งและมปี ระสทิ ธภิ าพ และกำหนดส่งข้อมูลการตรวจวัดความเคม็ ทุกเดอื น 1.5 เพิ่มการเข้าถึงความรู้เกี่ยวกับการลดเค็มด้วยการ ประชาสัมพันธ์ลดเค็มหลากหลายช่องทาง ใช้ สื่อที่หลากหลายและตรงกับกลุ่มเป้าหมาย พร้อมทั้งเร่งสร้างความเข้าใจเรื่องลดเค็มในทุก setting อย่างต่อเนื่อง เช่น ทีมงานอาหารปลอดภัย และภาคีเครือข่ายบูรณาการทำงานลดเค็ม ร่วมกัน โดยประสานการทำงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ืนท่ี สนับสนุนเกณฑ์ตลาด Healthy Market ให้แก่ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร ร้านก๋วยเตี๋ยวและ ผู้ประกอบการตลาด เพื่อสร้างความตระหนัก ให้ความร่วมมือในการดำเนินงานลดเค็มอย่าง ต่อเนอ่ื ง สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

221 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง Area based ประเด็นการตรวจราชการ ปัญหาสำคัญของพน้ื ทีเ่ ขตสุขภาพ ประเดน็ สขุ ภาพกลุ่มวัยและสุขภาพจิต (ฆ่าตัวตาย) 1.ตวั ชี้วดั /KPI คา่ เปา้ หมาย 1.ผู้ปว่ ยโรคซึมเศรา้ เขา้ ถงึ บรกิ ารสขุ ภาพจติ (มากกวา่ รอ้ ยละ 71) 2.อัตราการฆ่าตวั ตายสำเร็จไม่เกนิ 8.0 ต่อประชากรแสนคน 3.รอ้ ยละของผพู้ ยายามฆ่าตัวตายไมก่ ลับมาทำรา้ ยตวั เองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี (รอ้ ยละ 90) 1.สถานการณ์/วิเคราะห์บรบิ ท/ปญั หา การฆ่าตัวตายสำเร็จของจังหวัดลำปาง ยังคงมีแนวโน้มสูงกว่าตัวชี้วัดท่ีกำหนดของประเทศ (ไม่เกิน 8.0 ต่อแสนประชากร) มีการเปล่ียนแปลงตามสถานการณ์ของเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน จากข้อมูลรายงาน ของโปรแกรมเฝ้าระวังการทำรา้ ยตนเองของจังหวัดลำปาง (รง506S) พบว่าตั้งแต่ปงี บประมาณ 2561 – 2563 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จของเขตสุขภาพท่ี 1 เท่ากับ 11.62 10.81 และ14.15 ต่อแสนประชากรเป็นอันดับ หน่ึงของประเทศ และจังหวัดลำปาง เท่ากับ 14.23 12.49 และ 16.27 ต่อแสนประชากรตามลำดับ ดงั แผนภมู ิที่ 1 แผนภมู ทิ ี่ 1 แสดงอตั ราการฆ่าตัวตายสำเร็จของจังหวดั ลำปางตง้ั แต่ ปีงบประมาณ 2561 –2564 (8ด.) อัตราการฆ่าตัวตายสำเรจ็ ต่อแสนประชากร 18.00 16.00 16.27 14.00 14.23 12.49 14.15 99..9181 ลำปำง 12.00 11.62 10.81 6.3 เขต1 10.00 6.32 6.64 6.3 ประเทศ 8.00 6.00 4.00 2.00 0.00 2561 2562 2563 2564(8ด.) แหลง่ ท่มี า : รายงาน506s ศูนย์ปอ้ งกันการฆ่าตวั ตายระดับชาติ ณ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2564 สถานการณ์การฆ่าตัวเองสำเร็จปี 2564 ( 8ด.) ปีงบประมาณ 2564 (8ด.) มีผู้ทำร้ายตนเองสำเร็จ จำนวน 73 ราย คิดเป็นอัตรา 9.91 ต่อแสนประชากร พบว่าผู้ท่ีฆ่าตัวตายสำเรจ็ เป็นเพศชายมากที่สุด จำนวน 61 ราย คิดเป็น ร้อยละ 83.56 เพศหญงิ จำนวน 12 ราย คิดเป็น ร้อยละ 16.43 สถานภาพ คู่ จำนวน 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 46.57 โสด จำนวน 23 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.50 หม้าย จำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.69 หย่า/แยก จำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.21 ผู้ทำร้ายตนเองสำเร็จประกอบอาชีพ 3 ลำดับแรก คือ อาชีพรับจ้าง จำนวน 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 46.58 รองลงมาเกษตรกรรม จำนวน 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 27.40 และไม่ได้ทำงานใด ๆจำนวน 11 ราย คดิ เป็น รอ้ ยละ 15.06 อายุมากท่ีสุดท่ีพบคือ 87 ปี และอายุน้อย สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

222 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง ท่ีสุด 14 ปี กลุ่มอายุท่ีพบมากอยู่ในกลุ่มวัยทำงานช่วงอายุ 25-59 ปี จำนวน 51 ราย คิดเป็นร้อยละ 69.86 ( พบมากช่วงอายุ 50-59 ปี จำนวน 17 ราย รอ้ ยละ 33.33 ) รองลงมา กลุ่มผู้สงู อายุทมี่ อี ายุ 60 ปขี ้ึนไป จำนวน 16 ราย คิดเป็นร้อยละ 21.91 (พบมากในช่วงอายุ 60-69 ปี จำนวน 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.75) วิธีการทำ ร้ายตนเองจนสำเร็จท่ีใช้มากที่สุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ การผูกคอ จำนวน 51 ราย คิดเป็นร้อยละ 69.86 รองลงมาคือกินสารวัชพชื จำนวน 9 ราย คดิ เป็นร้อยละ 12.32 และใช้อาวุธปืน จำนวน 4 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 5.47 ส่วนวิธีรุนแรงท่ีไม่เคยพบในจังหวัดลำปางคือราดน้ำมันจุดไฟเผาตนเองจนเสียชีวิตในบ้าน (พื้นท่ีอำเภอ งาว) ด้านการส่งสัญญาณเตือนก่อนเสียชีวิต พบจำนวน 8 ราย คิดเป็น ร้อยละ 24.65 สาเหตุหลักให้ท่ีทำร้าย ตนเองหรือฆ่าตัวตายส่วนใหญ่ คือมีปัญหาด้านสัมพันธภาพกับบุคคลใกล้ชิดจำนวน 46 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.01 รองลงมาคือปัญหาโรคเร้ือรังทางกายและทางจิตจำนวน 21ราย คิดเป็นร้อยละ 28.76 และปัญหายา เสพติดและสุราจำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.21 ผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จทั้งหมด ไม่มีโรคประจำตัว 52 ราย คิด เป็นร้อยละ 71.23 มีโรคประจำตัวจำนวน 21 ราย คิดเป็นร้อยละ 28.77 ( โรคเร้ือรังทางกาย จำนวน 13 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 61.90 โรคจิตเวชและซึมเศร้า จำนวน 8 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 38.10 ) อำเภอที่มอี ัตราการฆา่ ตวั ตายสำเรจ็ สูง 3 อำเภอแรก คอื อำเภอแม่เมาะ แจ้ห่ม และเมืองปาน คดิ เป็น อัตรา 17.58 15.46 และ15.23 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ส่วนอำเภอท่ีมีการฆ่าตัวตายสำเร็จต่ำ ได้แก่ อำเภอเถนิ เมืองลำปาง อตั รา 6.79 6.19 และอำเภอแม่พริก ยงั ไม่มคี นฆา่ ตวั ตายสำเร็จ ดังตารางที่ 1 ตารางท่ี1 ตารางแสดงอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จของประชากรจังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2561 – 2564 (8ด.) ปี 61 อตั ราต่อ ปี 62 อัตราต่อ ปี 63 อัตราต่อ ป6ี 4 อัตราต่อ อำเภอ (คน) แสนปชก. (คน) แสนปชก. (คน) แสนปชก. (8ด.) แสนปชก. เมอื งลำปาง 27 11.8 16 7 28 12.35 14 6.19 17.58 แมเ่ มาะ 8 20 7 17.5 13 32.63 8 10.14 9.71 เกาะคา 5 8.3 5 8.33 5 8.41 6 14.66 15.46 เสรมิ งาม 3 9.6 5 16 5 16.11 3 13.65 6.79 งาว 19 34.3 14 25.3 20 36.7 8 0.00 12.17 แจห้ ่ม 2 5.02 13 32.7 6 15.31 6 7.43 7.93 วงั เหนือ 9 20.7 3 6.76 4 9.27 6 15.23 9.91 เถนิ 7 11.7 6 10.1 11 18.62 4 แมพ่ ริก 1 6.14 1 6.18 4 24.9 0 แมท่ ะ 3 5.1 9 15.4 5 8.62 7 สบปราบ 5 18.2 4 14.7 3 11.08 2 หา้ งฉัตร 11 21.7 4 7.92 11 21.88 4 เมอื งปาน 6 18 6 18 5 15.12 5 รวมจงั หวัด 106 14.23 93 12.49 120 16.27 73 แหล่งที่มา : รายงาน506s จากทกุ อำเภอในจังหวดั ลำปาง (ณ วันท่ี 31 พฤษภาคม 2564) สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

223 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง ตารางท่ี 2 แสดงข้อมูลผู้พยายามทำรา้ ยตนเอง ปีงบประมาณ 2562-2564 (8ด.) อตั ราต่อ อัตราต่อ แสน อำเภอ ปีงบ62 แสน ปงี บ63 อตั ราต่อแสน ปีงบ64(8ด.) 9.73 (คน) (คน) (คน) 20.09 15.2 เมอื ง 54 23.64 33 14.55 22 12.94 16.5 แมเ่ มาะ 10 25 6 15.06 8 12.88 22.75 เกาะคา 9 15 9 15.13 9 6.79 12.56 เสริมงาม 10 32.01 3 9.67 4 6.95 7.43 งาว 23 41.58 14 25.69 9 21.79 15.19 แจ้ห่ม 6 15.09 5 12.76 5 12.91 วังเหนือ 9 20.28 10 23.17 10 เถนิ 7 11.74 4 6.77 4 แม่พริก 2 12.37 3 18.67 2 แมท่ ะ 6 10.26 5 8.62 4 สบปราบ 5 18.32 2 7.38 2 หา้ งฉตั ร 10 19.81 13 25.86 11 เมอื งปาน 6 18.02 9 27.21 5 รวม 157 21.09 116 15.73 95 แหลง่ ท่ีมา : รายงาน 506s จากทุกอำเภอในจังหวัดลำปาง (ณ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2564) สถานการณ์การพยายามทำร้ายตนเองปี 2564 ( 8ด.) มีจำนวน 95 ราย คิดเป็นอัตรา 12.91 ต่อ แสนประชากร ผู้พยายามทำร้ายตนเองไม่สำเร็จเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย พบเพศหญิง จำนวน 51 ราย คดิ เป็นร้อยละ 53.68 และเพศชาย จำนวน 44 ราย คดิ เป็นร้อยละ 46.32 กลุ่มอายุที่พบมากท่ีสุด คอื กลุ่มอายุ 20-29 ปี จำนวน 24 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.26 กลุ่มอายุ 10-19 ปี และกลุ่มอายุ 40-49 ปี จำนวน 19 ราย เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 20.00 และกลุ่มอายุ 30-39 ปี จำนวน 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.89 กลุ่มอายุ 60ปี ขึ้นไป จำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.52 และกลุ่มอายุ 50-59 ปี จำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.31 โดยพบอายุมากที่สุด 85 ปี และอายุน้อยท่ีสุด 13 ปี วิธีการที่ใช้ทำร้ายตัวเองมากที่สุด 3 ลำดับแรกคือ การกินยาเกินขนาด (ยานอนหลับ ยาแก้แพ้ ยาแก้ปวดพารา) จำนวน 44 ราย คิดเป็นร้อยละ 46.31 กินสารเคมี (นำ้ ยาล้างห้องน้ำ ยาเบื่อหนู น้ำยาซักฟอก น้ำยาปรบั ผ้านุ่ม น้ำยาเช็ดกระจก น้ำยาถูพ้ืน) จำนวน 20 ราย คดิ เป็นร้อยละ 21.05 การใชข้ องมีคม (กรรไกร มีด คัทเตอร์ กระจก) จำนวน 18 ราย 18.94 ปัจจัย กระตุ้นให้ทำร้ายตนเองคือปัญหาด้านความสัมพันธ์ขัดแย้งกับบุคคลในครอบครัว (ทะเลาะ น้อยใจ ผิดหวัง ความรัก) จำนวน 65 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.42 รองลงมาคือปัญหาสุราและยาเสพติดจำนวน 13 ราย คิดเป็น ร้อยละ 13.68 เจ็บป่วยโรคเร้ือรังทางกายและโรคจิตเวช 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.57 อ่ืนๆ (เศรษฐกิจ หนี้สินตกงาน) จำนวน 6 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.31 ผพู้ ยายามทำร้ายตนเองไม่สำเร็จท้ังหมด ไม่มีโรคประจำตัว 74 ราย คิดเป็นร้อยละ 77.89 มีโรคประจำตัวจำนวน 21 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.10 ( โรคเร้ือรังทางกาย จำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 61.90 โรคจิตเวชและซึมเศรา้ จำนวน 8 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 38.10 ) อำเภอที่ สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

224 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง มีอัตราพยายามทำร้ายตนเองสูง 3 ลำดับแรก คือ อำเภอวังเหนือ ห้างฉัตร และแม่เมาะ อัตรา 22.75 21.79 และ 20.09 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ส่วนอำเภอที่มีคนทำร้ายตนเองต่ำ คือ อำเภอสบปราบ แม่ทะ และ เถิน อัตรา 7.43 6.95 และ 6.75 ตอ่ แสนประชากร ตามลำดับ ดังตารางท่ี 2 ด้านตัวชี้วัดร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี มากกว่า ร้อยละ 90 พบว่าผู้พยายามทำร้ายตนเองไม่สำเร็จท้ังหมดปีงบประมาณ 63 จำนวน 116 ราย กลับมาทำร้าย ตนเองซ้ำจนสำเร็จในปีงบประมาณ 64 เสียชีวิตรวม 2 ราย (ห้างฉัตร และเถิน) คิดเป็นร้อยละ 1.72 จังหวัด ลำปาง ผ่านเกณฑ์คือร้อยละ 98.28 และผู้พยายามทำร้ายตนเองไม่สำเร็จในปีงบประมาณ 64 (8 เดือน) กลบั มาทำร้ายตนเองซ้ำแตไ่ มส่ ำเร็จ 2 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.10 (เมอื งลำปาง และแม่เมาะ) จงั หวดั ลำปาง ผา่ น เกณฑ์ คอื รอ้ ยละ 97.90 ตารางท่ี 3 ตารางแสดงรอ้ ยละของผปู้ ว่ ยโรคซึมเศร้าเขา้ ถึงบริการสขุ ภาพจิตของจังหวัดลำปาง ปงี บประมาณ 2561 –2564 (8ด.) ตัวช้วี ัดหลัก ค่าเปา้ หมาย/ ผลการดำเนนิ งาน 2564 เกณฑ์ 2560 2561 2562 2563 (8ด.) - ร้อยละของผปู้ ว่ ยโรคซึมเศร้าเขา้ ถึง > ร้อยละ 71 70.57 71.49 82.96 91.47 112.23 บรกิ ารสขุ ภาพจิต แหลง่ ข้อมูล : โรงพยาบาลพระศรมี หาโพธ์ิ กรมสขุ ภาพจิต และ HDC (ณ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2564) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิตของจังหวัดลำปาง ผ่านเกณฑ์ ตัวช้ีวัด (มากกว่าร้อยละ 71) โดยมากกวา่ รอ้ ยละ 112.23 ดงั ตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ตารางแสดงข้อมลู ผูป้ ว่ ยโรคซึมเศร้าเข้าถงึ บริการสุขภาพจิต (workload) ปี 2564 จำนวนผปู้ ่วย จำนวนผูป้ ว่ ย สะสมทงั้ หมดที่ จำนวนผู้ปว่ ยที่มารบั จำนวนผู้ป่วยท่มี ารบั สะสมทง้ั หมดที่ ไดร้ บั การ บริการวนิ จิ ฉัยและรกั ษา บริการวนิ ิจฉยั และรกั ษา อำเภอ มที ะเบียนบา้ น วินจิ ฉัยและ ในจังหวดั ใน ในจงั หวัดใน ในจงั หวัด/AHB รักษาใน ปงี บประมาณ 2564 (คน ปงี บประมาณ 2564 จงั หวัด (คนตอ่ ตอ่ หน่วยบรกิ าร) (ครง้ั ) (คน) หนว่ ยบรกิ าร) เมอื งลำปาง 1,424 5,313 1,538 4,598 แมเ่ มาะ 1,577 1,949 291 687 เกาะคา 968 1,163 242 756 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

225 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง อำเภอ จำนวนผู้ป่วย จำนวนผปู้ ว่ ย จำนวนผู้ปว่ ยท่มี ารับ จำนวนผู้ป่วยที่มารบั สะสมทัง้ หมดท่ี สะสมทั้งหมดที่ บริการวนิ ิจฉยั และรกั ษา บริการวนิ ิจฉยั และรกั ษา เสรมิ งาม มีทะเบียนบ้าน งาว ในจังหวดั /AHB ไดร้ บั การ ในจงั หวัดใน ในจงั หวดั ใน แจ้ห่ม วนิ ิจฉัยและ ปีงบประมาณ 2564 (คน ปงี บประมาณ 2564 วังเหนอื (คน) รกั ษาใน เถิน จังหวดั (คนตอ่ ต่อหนว่ ยบริการ) (ครง้ั ) แมพ่ ริก หนว่ ยบริการ) แม่ทะ สบปราบ 732 846 192 624 หา้ งฉตั ร เมืองปาน 845 936 198 599 รวม 943 1,286 233 696 1,010 1,154 285 969 854 935 196 593 188 319 44 150 1,717 2,223 320 920 537 697 83 193 826 1,228 155 472 832 1,117 226 742 12,453 19,166 4,003 11,999 แหล่งข้อมูล : ข้อมลู Service Plan สาขาสุขภาพจิตและจติ เวช >> ผู้ป่วยโรคซึมเศรา้ (F32.x, F33.x, F34.1, F38.x และ F39.x) เข้าถึงบรกิ าร (workload) HDC (1 ต.ค. 63 – 31 พ.ค. 64) สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

226 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง ตารางท่ี 5 ตารางแสดงข้อมลู ผปู้ ว่ ยโรคซึมเศร้าเขา้ ถงึ บรกิ ารสขุ ภาพจิตได้รบั การตดิ ตามรักษาต่อเน่ืองอย่าง น้อย 1 ครงั้ ภายในระยะเวลา 6 เดอื น (workload) ปี 2564 ผปู้ ่วยโรคจติ เภท(F20.x) (หน่วยคน) ร้อยละของ มารับบรกิ าร ได้รับการตดิ ตาม ผปู้ ว่ ยโรคจิต อำเภอ มารบั บรกิ ารท้ังหมดใน ตงั้ แต่ 1 รกั ษาต่อเน่ือง เภทไดร้ บั การ รอ้ ยละ ปงี บประมาณ (C) ต.ค. ถึง สิ้น อย่างนอ้ ย 1 คร้ัง รักษาต่อเนอื่ ง (A/C) x เดือน ก.พ. ภายในระยะเวลา ภายใน 6 100 (B) 6 เดอื น (A) เดอื น (A/B) x 100 เมอื งลำปาง 1,003 945 830 87.83 82.75 แมเ่ มาะ 136 124 114 91.94 83.82 เกาะคา 167 164 162 98.78 97.01 เสรมิ งาม 151 149 145 97.32 96.03 งาว 257 246 225 91.46 87.55 แจ้ห่ม 144 136 135 99.26 93.75 วังเหนอื 146 138 136 98.55 93.15 เถิน 229 212 194 91.51 84.72 แม่พริก 30 28 25 89.29 83.33 แม่ทะ 204 194 184 94.85 90.2 สบปราบ 99 95 88 92.63 88.89 หา้ งฉตั ร 168 157 140 89.17 83.33 เมอื งปาน 120 116 107 92.24 89.17 รวม 2,854 2,704 2,485 91.9 87.07 แหลง่ ข้อมูล : กลุ่มรายงานมาตรฐาน >> การเขา้ ถงึ ระบบบรกิ ารสขุ ภาพจิต >> ร้อยละของผูป้ ว่ ยโรคจติ เภท ได้รับการรักษาต่อเน่ืองภายใน 6 เดือน (workload) HDC (1 ต.ค. 63 – 31 พ.ค. 64) สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

227 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง จากตารางที่ 4 และตารางท่ี 5 ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิตในจังหวัดลำปาง ได้รับการ ตดิ ตามรกั ษาต่อเนื่องอย่างนอ้ ย 1 ครัง้ ภายในระยะเวลา 6 เดอื น ในปีงบประมาณ2564 (workload) ภาพรวม ของจงั หวดั ร้อยละ 87.07 พบนอ้ ยท่ีสดุ อำเภอเมอื งลำปาง รอ้ ยละ 82.75 และมากสดุ ที่อำเภอเกาะคา ร้อยละ 97.01 นอกจากนตี้ ัวชีว้ ดั การเข้าถงึ บรกิ ารสุขภาพจติ อ่นื ๆ ผ่านเป้าหมายทั้งหมด ดังนี้ • ร้อยละของผปู้ ่วยโรคจิตเภทเข้าถึงบริการ เป้าหมายร้อยละ 82 (รอ้ ยละ 96.89) • ร้อยละของผ้ปู ่วยโรคสมาธสิ ้ันเข้าถึงบริการ เปา้ หมายร้อยละ 18 (ร้อยละ 111.65) • รอ้ ยละของผู้ปว่ ยโรคออทสิ ติกเขา้ ถึงบริการ เป้าหมายร้อยละ 55 (รอ้ ยละ 81.98) • ร้อยละของผู้ป่วยโรคตดิ สรุ าในพ้ืนท่ีเข้าถงึ บริการตามมาตรฐานเพ่ิมข้ึน เปา้ หมายรอ้ ยละ10 (รอ้ ยละ 14.99) 2. ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานของทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ (MCATT) จังหวัดลำปางในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) และการใช้ Application Mental Health Check In คัดกรองเชิงรุกแล้วได้รับการช่วยเหลือเยียวยาท้ังหมดลงบันทึกข้อมูล จำนวน 2,623 คน พบเครียดสูงร้อยละ 3.17 เสี่ยงซมึ เศรา้ ร้อยละ 5.34 และเสี่ยงฆ่าตัวตายร้อยละ 3.32 รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 6 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ ตารางที่ 6 ตารางแสดงการประเมินสุขภาพจติ ของคนไทยในจังหวดั ลำปางแยกรายกล กลมุ่ รายงาน เครียด รอ้ ยละ เส่ยี ง ร้อยละ เสย่ี งฆา่ รอ้ สูง ซมึ เศร้า ตวั ตาย 1. ประชาชนทัว่ ไป 51 11.59 79 17.95 51 1 2. กลมุ่ ติดเชือ้ 2 5.71 4 11.43 3 8 3. กลุม่ ถูกกกั ตัวที่บา้ น 2 0.24 6 0.73 2 0 4. ญาติของกล่มุ เสี่ยง/ ญาตกิ ลุ่มติดเช้ือ/ญาติ กลุ่มกักกนั 0 0.00 0 0.00 0 0 5. กลมุ่ บคุ คลากรทาง การแพทย์ 22 4.76 25 5.41 9 1 6. กลมุ่ อสม. 4 1.19 6 1.79 4 1 7.1 ตกงาน/รายได้ นอ้ ย/ธรุ กจิ ประสบ ปัญหา (กลมุ่ เปราะบางทาง สังคม) 6 13.04 8 17.39 6 1 7.2 กลมุ่ ปญั หา สุขภาพจติ เดมิ สุรา ยา เสพติด (กลมุ่ เปราะบางทาง 1 0.89 2 1.79 4 3 สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการแล

รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง 228 ลมุ่ ประเมินโดยใช้ Application Mental Health Check In รอ้ ยละ 0.17 อยละ มีภาวะ ร้อยละ มีอย่าง ร้อยละ จำนวน 0.01 หมดไฟ น้อย 1 ผู้ตอบแบบ 0.31 ความเสย่ี ง ประเมนิ 11.59 0 0.00 94 21.36 440 8.57 0 0.00 4 11.43 35 0.24 0 0.00 6 0.73 825 0.00 0 0.00 0 0.00 11 0.00 1.95 52 11.26 65 14.07 462 0.18 1.19 12 3.58 17 5.07 335 0.13 13.04 0 0.00 11 23.91 46 0.02 3.57 0 0.00 4 3.57 112 0.04 ละนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ กลุม่ รายงาน เครยี ด ร้อยละ เสี่ยง รอ้ ยละ เส่ยี งฆ่า ร้อ สงั คม) สูง ซมึ เศรา้ ตัวตาย 7.3 ผสู้ งู อายุ (กลุ่มเปราะบางทาง สงั คม) 3 1.56 1 0.52 0 0 7.4 ผู้พกิ ารทางกาย (กลุ่มเปราะบางทาง สังคม) 0 0.00 0 0.00 0 0 8. ครอบครัวมผี พู้ ึ่งพิง 5 13.16 5 13.16 3 7 9. ผู้ปว่ ยเร้อื รัง 0 0.00 3 2.56 4 3 10. อนื่ ๆ (ผสู้ มั ผัสเสย่ี ง สงู ) 1 100.00 1 100.00 1 10 รวม 97 3.7 140 5.34 87 3 แหล่งข้อมลู : Application Mental Health Check In (ณ 20 มถิ นุ ายน 2564) สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการแล

รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง 229 อยละ มภี าวะ รอ้ ยละ มอี ยา่ ง ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ หมดไฟ นอ้ ย 1 ผ้ตู อบแบบ ความเสยี่ ง ประเมนิ 0.00 0 0.00 4 2.08 192 0.07 0.00 0 0.00 0 0.00 9 0.00 7.89 0 0.00 6 15.79 38 0.01 3.42 0 0.00 4 3.42 117 0.04 0.00 00.00 0 0.00 1 100.00 1 100 3.32 64 8.03 216 8.23 2,623 ละนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

230 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง ผลการดำเนนิ งาน ตาม OKRs ลดการฆา่ ตวั ตาย ของจังหวดั ลำปาง O : การฆ่าตัวตายสำเรจ็ < 6.3 ตอ่ ต.ค. 63 – ม.ค. 64 ต.ค. 63 – 16 มิ.ย 64 หมาย รอ้ ย ร้อย แสนประชากร เปา้ หมาย ผลงาน ละ เปา้ หมาย ผลงาน ละ เหตุ O1: การคัดกรองความเส่ยี งในผูป้ ว่ ย NCDs ทีม่ ีภาวะแทรกซอ้ น ผู้ป่วย กลมุ่ เส่ียงโรคทางจติ เวช 90% 152,375 76,757 50.37 160,561 91,844 57.2 Kr1. ผู้ปว่ ยเรอ้ื รังทางกายไดร้ ับการ ประเมนิ การฆา่ ตัวตายทกุ ราย (3Q,9Q,8Q) 90% 147,205 72,082 48.96 155,357 86,810 55.88 Kr2. ผปู้ ่วยเรอ้ื รงั ทางจิตได้รบั การ ประเมนิ การฆ่าตวั ตายทุกราย (3Q,9Q,8Q) 90% 5,170 4,675 90.43 5,204 5,034 96.73 Kr3. กลุม่ severe suicidality (SQ>17) ได้พบจติ แพทย์ /แพทย์ GP /พยาบาลจติ เวช หรอื admit ทกุ ราย 100% 73 73 100 121 121 100 O2: ผู้พยายามฆ่าตัวตาย ไมฆ่ ่าตัว ร้อย ร้อย หมาย ตายซ้ำ >90% เปา้ หมาย ผลงาน ละ เป้าหมาย ผลงาน ละ เหตุ Kr1. ผ้พู ยายามฆา่ ตัวตายได้รับ เสยี ชีวิต 2ราย ติดตามดแู ลต่อเนื่อง 1 ปี 100% (หฉ/ 116 114 98.27 121 119 98.46 เถนิ ) Kr2. กลุ่มพยายามฆา่ ตัวตายมี care giver อยา่ งน้อย 1 คนดูแลต่อเนอ่ื ง 1 ปี 100% 116 114 98.27 121 119 100 O3: ทุกชุมชนเสย่ี งมีพื้นท่ีสำหรบั จดั ร้อย เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ย หมาย กจิ กรรมให้กลมุ่ เสีย่ ง90% เป้าหมาย ผลงาน ละ ละ เหตุ สถานการณ์ Kr1. อสม/แกนนำชมุ ชน/สมาชกิ การระบาด ของ Covid-19 ครอบครัวเสี่ยงสูงจดั กิจกรรมเชงิ ยงั ไม่ บวก 100% (หมู่บ้าน) สามารถ 13 13 ดำเนนิ การ ให้ 970 970 100 อำเภอ อำเภอ 100 ครอบคลุม ได้ สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

231 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง O : การฆา่ ตวั ตายสำเร็จ < 6.3 ตอ่ ต.ค. 63 – ม.ค. 64 ต.ค. 63 – 16 ม.ิ ย 64 หมาย รอ้ ย ร้อย แสนประชากร เปา้ หมาย ผลงาน ละ เป้าหมาย ผลงาน ละ เหตุ Kr2. ตำบลท่มี ีความเสย่ี งต่อการฆา่ ปรับ ตัวตายมกี ารจดั กิจกรรมป้องกันฆา่ ตัวตายในกลุ่มเส่ียง 100% แผนงาน Kr3. 3 อำเภอท่ีมอี ัตราการฆ่าตัวตาย 13 13 100 ใน สูงในจงั หวัดดำเนินการจดั กจิ กรรม 13 13 100 ป้องกันฆา่ ตัวตายในกลมุ่ เส่ยี ง 100% 65 ไตรมาส ชุมชน 47 72.30 ท4่ี งาว แม่ 5 อำเภอ 3 75 เมาะ แม่ พรกิ หา้ งฉตั ร เถนิ 3. ปญั หาอุปสรรค 1. การฆา่ ตัวตายสำเรจ็ และพยายามฆา่ มจี ำนวนเพ่ิมสูงขนึ้ 2. ในช่วง COVID -19 การดำเนินงานขาดความต่อเน่ือง 4. แผนการดำเนินการต่อไป 1. วิเคราะห์ psychological autopsy จัดทำ case conference ในรายท่ีฆ่าตัวตายสำเร็จปี 2564 ในกลุ่ม วัยรุ่นทุกราย เพ่อื ปรับการวางแผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบรกิ ารตาม Service plan ของจงั หวดั 2. การประเมินผลลพั ธ์ Intervention โดยการถอดบทเรยี นกระบวนการดำเนนิ งานท่ีมีประสทิ ธผิ ลสงู ตามเป็น บริบทพืน้ ท่ี 3. การขยายงานจิตเวชชุมชนเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลต่อเนื่องสนับสนุนให้ผู้ป่วยสามารถดำเนินชีวิตอยู่ใน ชุมชนได้โดยการมีส่วนร่วมของเครอื ขา่ ยในชมุ ชน 4. ติดตามการดำเนินงานตาม OKRs ดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการเพ่ือป้องกันและแก้ไขปญั หาการฆา่ ตวั ตายงบPPA และโครงการจติ เวชเร้ือรงั ทกุ อำเภอ 5. คนื ขอ้ มลู และผลักดนั ปญั หาการฆา่ ตัวตายเป็นวาระเขา้ พชอ. 6. การให้บริการเชิงรุกในการค้นหาและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโดยประชาสัมพันธ์การใช้ Application Mental Health Check In 7.พฒั นาศักยภาพบุคลากร การสรรหานักจติ วทิ ยาในโรงพยาบาลชุมชนใหค้ รอบคลุมทุกแห่ง 5. ผลงานวิชาการในพืน้ ที่/นวัตกรรมในพ้ืนที่ “การขยายงานจติ เวชชมุ ชน” บูรณาการการดูแลผูป้ ่วยจิตเวชและยาเสพติด 5.1. พ้ืนทอ่ี ำเภอเมอื งลำปาง ดำเนินการโครงการการอบรม อสม. เชีย่ วชาญสุขภาพจิต/covid การให้บรกิ ารTelepsychiatry โดยนพ.รักษ์ รักษต์ ระกลู /แพทยป์ ฐมภมู ิ รว่ มกับกล่มุ การพยาบาล ชมุ ชน (จิตเวชชุมชน)/เครอื ข่ายรพ.สต.อำเภอเมืองลำปาง 5.2. พน้ื ทอี่ ำเภอห้างฉตั ร โดยกลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด รพ.ห้างฉตั ร สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

232 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง ผู้รายงาน 1.นางกาญจนา แกน่ ราช ตำแหนง่ พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ กลมุ่ งานควบคมุ โรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจิตและยาเสพตดิ สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง โทร 054 227527-106 E-mail: [email protected] สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

สำนกั งำนสำธำรณสุขจงั หวัดลำปำง รอบที่ 2 ประจำปีงบประมำณ 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook