36 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง การให้บริการกัญชาทางการแพทยใ์ นสถานบริการ ตารางท่ี 3 ข้อมูลสถานบริการสาธารณสุขท่ีใหบ้ รกิ ารคลินิกกญั ชาทางการแพทย์ตามประเภท รายสถานบรกิ าร จงั หวัดลำปาง ตารางท่ี 4 ข้อมลู ผลิตภณั ฑก์ ัญชาท่ีมีการให้บริการตามผลิตภัณฑ์ยา รายสถานบริการ จงั หวดั ลำปาง สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
37 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง ร้อยละของผไู้ ดร้ บั ยากัญชาทางการแพทยใ์ นคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทยจ์ ังหวัดลำปาง 1 ต.ค.63 – 31 พ.ค.64 รายชนิดยา น้ามนั กัญชาอภัยภูเบศร ยาทารดิ สีดวงทวารหนัก น้ามันกญั ชา GPO ไฟอาวุธ 4.98% 0.16% และโรคผิวหนงั THC/CBD ไพสาลี แก้ลมขึ้นเบอ้ื งสงู 0.08% 5.75% 1.09% 1.01% นา้ มันกญั ชา GPO THC น้ามันกญั ชาสตู ร อ.เดชา 10.65% 35.22% ศุขไสยาศน์ ท้าลายพระสเุ มรุ 11.82% 16.87% แกล้ มแกเ้ ส้น 12.37% รอ้ ยละของผูไ้ ด้รบั ยากญั ชาทางการแพทย์ในคลินิกกญั ชาทางการแพทย์จังหวัดลำปาง 1 ต.ค.63 – 31 พ.ค.64 รายกล่มุ โรค ปวดเรือ้ รัง 35.45 นอนไมห่ ลบั 32.46 4 โรคหลกั 10.18 โรคอน่ื ๆ 7.58 อมั พฤกษ์/อมั พาต 4.13 PALLIATIVE CARE 3.75 มะเร็ง/ เนื้องอก 3.45 2.53 พากนิ สัน 0.77 โรคอลั ไซเมอร์ 0.00 5.00 10.00 15.00 ร2้อ0ย.0ล0ะ 25.00 30.00 35.00 40.00 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
38 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง แผนภมู ทิ ี่ 3 คน แผนภมู ทิ ่ี 4 คน สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 ตารางท่ี 5 ขอ้ มูลผ้เู ข้ารับบริการคลนิ กิ กัญชาทางการแพทย์ตามประเภทผลติ ภณั ฑ์ สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการ
39 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง รายสถานบริการ จังหวดั ลำปาง รและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
40 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง การวิเคราะหผ์ ลการดำเนินงาน จังหวัดลำปางโดยคณะกรรมการพัฒนาระบบการนำกัญชามาใช้ทางการแพทย์จังหวัดลำปาง ได้ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ โดยสามารถดำเนินงานตามเป้าหมายเพ่ิมการเข้าถึงการใช้ยาจากกัญชาใน สถานบริการสาธารณสุข ดงั น้ี 1. มีการจัดต้ังคลินิกการให้บริการกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ผสมผสานแพทย์แผนไทย ผสมผสานแพทย์แผนไทย รพศ./รพท. ร้อยละ 100 โดยโรงพยาบาลลำปางได้จัดตั้งและดำเนินการต่อเนื่องมา ต้งั แต่ เดอื นสงิ หาคม 2562 2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปางได้เพ่ิมจำนวนวันท่ีเปิดให้บริการของคลินิกกัญชาทาง การแพทยใ์ นสถานบริการสงั กดั สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ลำปางเป็นอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 วัน จำนวนผเู้ ข้า รับบริการที่คลินิกกัญชาทางการแพทย์ในสถานบริการสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง 1 ตุลาคม 2563 – 31 พฤษภาคม 2564 เพ่ิมขึ้นร้อยละ 73.58 เม่ือเทียบกับระยะเวลาเดียวกันในปีงบประมาณ 2563 ตาม แผนภูมิท่ี 3 และจำนวนผู้มารับบริการท่ีคลินิกกัญชาทางการแพทย์แล้วได้รับยากัญชา คิดเป็นร้อยละ 88.76 (ปีงบประมาณ 2563 ร้อยละ 67.75 ) โดยกลุ่มโรค/อาการป่วยท่ีมารับการรักษาด้วยยากัญชามากท่ีสุด คือ ปวดเรอ้ื รัง รายละเอยี ดตามแผนภูมทิ ี่ 2 3. จำนวนตำรบั ยาที่มีและจ่ายในคลินิกกัญชาทางการแพทย์ทีก่ ำหนดให้เพิ่มข้นึ โดยโรงพยาบาล ลำปาง (A) มกี ารใชย้ ากัญชาทางการแพทย์แผนปัจจบุ ัน ผสมผสานแพทย์แผนไทย และโรงพยาบาลชุมชน (F2) ทุกแห่ง มียากัญชาทางการแพทย์อย่างน้อย 4 ตำรับ(ตำรับศุขไสยาศน์, ทำลายพระสุเมร, ตำรับแก้ลมแก้เส้น และตำรับแก้ลมขึ้นเบ้ืองสูง) ครบทุกแห่ง ส่วนโรงพยาบาลชุมชน (M2) ได้แก่ โรงพยาบาลเกาะคาและ โรงพยาบาลเถิน ที่กำหนดใหม้ ียากัญชาทางการแพทย์อย่างนอ้ ย 5 ตำรบั (ตำรบั ศขุ ไสยาศน์, ทำลายพระสุเมร, ตำรับแก้ลมแก้เส้น, ตำรับแก้ลมข้ึนเบ้ืองสูง, น้ำมันกัญชา อ.เดชา และตำรับน้ำมันเมตตาโอสถ/ตำรับการุณย์ โอสถ) ยังจัดการยาตำรบั ไมค่ รบตามเป้าหมาย รายละเอียดตามตารางที่ 4 ท้ังนี้ยากัญชาทางการแพทย์ท่ีมีการ จา่ ยมากทสี่ ุดได้แก่ น้ำมันกัญชาสูตร อ.เดชา รายละเอยี ดตามแผนภมู ิท่ี 1 และ ตารางที่ 5 3. ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข แม้ว่าการดำเนินงานในช่วง 1 ตุลาคม 2563 – 31 พฤษภาคม 2564 จะเป็นไปตามท่ีกำหนดไว้ ในบางส่วน แต่กย็ ังพบปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานอยู่หลายประเด็น ได้แก่ การใช้ยากัญชาทางการแพทย์ ยงั มีการใช้อยู่ในวงเฉพาะ ท้ังข้อจำกัดในข้อบ่งใช้ของ THC Oil ความล่าช้าในการผลิตและกระจายยากัญชาอ่ืน (CBD:THC, CBD เดี่ยว,ยาตำรับแผนไทย) จำนวนแพทย์แผนไทยที่จะต้องมีเพ่ิมหากต้องมีการขยายบริการลง ไปในระดับตำบล ท้ังเอกสารและการบันทึกข้อมูลความปลอดภัยจาการใช้กัญชาทางการแพทย์ มีขั้นตอนและ รายละเอียดค่อนข้างมาก รวมทั้งระบบข้อมูลการให้บริการ การรายงานต่างๆยังไม่เชื่อมต่อระหว่างกันอย่าง มีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดภาระงานในการจัดทำข้อมูลและการรายงานเพื่อส่งให้แก่หลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับการใช้กัญชาทางการแพทย์ ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานการพัฒนาระบบการนำกัญชามาใช้ทางการแพทย์ จังหวัดลำปางเป็นไปตามเป้าหมายและมีการพัฒนาที่เหมาะสม ซึ่งนโยบายระดับประเทศต้องการเพ่ิมการ เข้าถึงของประชาชนและผู้ป่วยต่อตำรับยาที่มีกัญชาเป็นส่วนผสม ดังน้ันในการดำเนินการส่ังจ่ายยากัญชาท้ัง แผนปัจจุบันและตำรับแผนไทย จึงควรทำความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของแต่ละวิชาชีพให้ชัดเจน โดยสูตรแผน ปัจจุบันต้องมีการขยายทำความเข้าใจกับแพทย์อ่ืนๆ ไม่จำกัดเฉพาะแพทย์ในคลินิกกัญชาทางการแพทย์ และ หากเป็นสูตรยาตำรับแผนไทยให้แพทย์แผนปัจจุบัน มีหน้าที่ประเมินว่าผู้ป่วยมีข้อห้ามใช้ต่อตำรับยาท่ีมีกัญชา เป็นส่วนผสมหรือไม่ แล้วส่งต่อให้แพทย์แผนไทยพิจารณาการรักษาและสั่งจ่ายยา และเภสัชกรทำหน้าท่ีจ่ายยา ให้คำแนะนำในการใช้ยา การสงั เกตอาการไม่พงึ ประสงค์ ติดตามและเก็บข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์ตามระบบ สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
41 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้การให้ความรู้เก่ียวกับกัญชาทางการแพทย์ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ขยายไปยัง เครือข่ายกลุ่มผู้สนใจอยู่เดิม เครือข่ายชุมชน และจัดให้มีศูนย์ข้อมูลหรือแหล่งสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับกัญชาทาง การแพทย์ ช่องทางการส่ือสารระหวา่ งหน่วยงานกับผู้ป่วย ประชาชนผู้สนใจ โดยเร่ิมในระดับจงั หวัด และขยาย ลงสรู่ ะดับพนื้ ทต่ี อ่ ไป 4. แผนการดำเนนิ การต่อไป 1. การสื่อสารข้อมูลการใช้กัญชาทางการแพทย์ให้กับกลุ่มเป้าหมายทั้งในส่วนเจ้าหน้าท่ีและ ประชาชนทั่วไป ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้จัดทำ รวมทั้งท่ีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ลำปางรวบรวมไวใ้ นรปู แบบไฟล์อเิ ล็กทรอนิกส์ และส่อื สังคม (Social media) เพ่ือให้เข้าถึงได้ง่ายและสามารถ ส่งผ่านสู่ประชาชน/ผู้ป่วยได้อย่างรวดเร็ว และหน่วยบริการสาธารณสุขทุกแห่งสามารถให้ข้อมูลการใช้กัญชา ทางการแพทย์แก่ชุมชน ผ่านผู้นำชุมชน อสม. เครือข่ายภาคประชาชน บวร.ร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมท้ังการกระจายและหมุนเวยี นใหก้ ับสถานบริการสาธารณสุขแต่ละระดับ เพ่ือส่งต่อความรู้แกผ่ ู้ป่วยที่มารับ บรกิ าร ญาตผิ ปู้ ่วย ประชาชนทัว่ ไป และบคุ ลากรสาธารณสุขอื่นๆ 2. การสนับสนุนข้อมลู การปลูกกัญชงและการขออนุญาตให้แกป่ ระชาชนผู้สนใจ ในการปลูกกัญ ชงเพ่ือเศรษฐกิจ รวมถึงการนำส่วนของกัญชาและกัญชงท่ีไม่เป็นยาเสพติดมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพ่ือเพิ่ม มูลค่า โดยจัดจุดให้บริการ ณ ศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข และการประชาสัมพันธ์ผ่านส่อื สงั คมรปู แบบตา่ งๆ ผูร้ ายงาน นายศราวธุ มณวี งศ์ เภสชั กรชำนาญการ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บรโิ ภคและเภสัชสาธารณสุข สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง โทร. 054 227527 ต่อ 109 E-mail: [email protected] สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
42 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติรอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง Agenda based ประเดน็ การตรวจราชการ ประเด็นที่ 3 ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ ตวั ชีว้ ดั รอ้ ยละ 75 ของอำเภอผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตทีม่ ีคุณภาพ 1. วเิ คราะห์สถานการณ์ สภาพปัญหา ผลการดำเนนิ งานท่ผี ่านมา จงั หวัดลำปาง ประกอบด้วย 13 อำเภอ ดำเนินการขับเคล่ือนและพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตามระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรีว่าด้วยการพฒั นาคุณภาพชีวิตระดับพ้ืนท่ี พ.ศ.2561โดยในปี 2564 ทุกอำเภอ มีการประชุมคัดเลือกประเด็นคุณภาพชีวิตเพื่อขับเคล่ือนและพัฒนาอย่างน้อย 2 เร่ือง/อำเภอ และกำหนด เป้าหมายกลุ่มเปราะบางในการดูแล (ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และผู้พิการ) โดยทุกอำเภอได้จัดทำฐานข้อมูล กลุ่มเปราะบางในพ้ืนท่ี วางแผนการดำเนินกิจกรรมประเด็นปัญหาและแผนการดูแลกลุ่มเป้าหมาย เช่ือมกับ โครงการ 3 หมอ และสนับสนุนการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว (PCU-NPCU) ในพ้ืนท่ี ประเด็นคุณภาพ ชีวิตที่มีการขับเคล่ือน 5 อันดับแรก ปี 2564 ได้แก่ 1) โรค covid-19 2) ผู้สูงอายุ 3) การจัดการขยะและ ส่ิงแวดล้อม 4) ผู้พิการ ผู้ยากไร้ 5) อาหารปลอดภัย ทั้งนี้ยังคงมุ่งเน้นให้เกิดการบูรณาการและความเข้มแข็ง ของกลไกระบบสุขภาพอำเภอ มีการบริหารจัดการและรูปแบบการบรู ณาการทรัพยากร (คน เงิน ของ ความรู้ ขอ้ มลู ) ท่เี ป็นรูปธรรมของทุกภาคส่วนท่เี ก่ียวขอ้ ง ในการดำเนินงานประเด็นฯการพฒั นาคุณภาพชวี ิตประชาชน และดูแลกลุ่มเปราะบาง เชื่อมโยงกลไก ทีมหมอครอบครัว สู่บริการปฐมภูมิ ท้ังน้ีเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพ ชีวติ ทด่ี ี เข้าถงึ บริการอย่างครอบคลุม เท่าเทียม เป็นธรรม และสามารถพงึ่ ตนเองด้านสุขภาพไดอ้ ย่างเหมาะสม ใชก้ ระบวนการขับเคลือ่ นในเชงิ ระบบกลไก UCCARE เพื่อการตดิ ตามประเมนิ ผล 2. แผน/กจิ กรรมการดำเนินงาน การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ระดบั อำเภอ (พชอ.) ระดบั จงั หวดั - ส่อื สารนโยบายและแนวทางการดำเนินระบบสุขภาพปฐมภมู แิ ละระบบสขุ ภาพอำเภอ (พชอ.) ปี 2564 ผ่านท่ีประชมุ กวป. ทางเอกสาร, Facebook Primary Care Lampang - กำหนดให้คณะกรรมการและคณะทำงานฯ วิเคราะห์ข้อมูล ประเมินตนเองตามแนวทาง UCCARE รวมถึงกำหนดประเด็นปัญหาตามบริบทพื้นท่ี อย่างน้อย 2 เรื่อง และมีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายการดูแลกลุ่ม เปราะบางตามบริบทพ้ืนท่ี พร้อมทั้งจัดทำทะเบียน มีแนวทางและแผนการดูแลกลุ่มเป้าหมายรายบุคคล โดย การมสี ่วนรว่ มของทุกภาคีเครือขา่ ยท่ีเก่ยี วขอ้ ง - ควบคุมกำกับ ติดตาม แผนงาน / โครงการคณะกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ การบันทึกข้อมูล จากโปรแกรมพชอ. และการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจาก สสส.และ สป. ให้เป็นไปตาม วัตถุประสงคแ์ ละทันเวลา - การออกนิเทศ ติดตาม เย่ียมพืน้ ที่ โดยบรู ณาการกับการนิเทศงานของสสจ. และประเมินผลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ - เวทีถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำเสนอผลการดำเนนิ งานเพอื่ คัดเลือกพชอ.ต้นแบบ จังหวัดลำปาง - เวทผี ู้ว่าราชการจังหวดั ลำปาง ในฐานะประธานคณะกรรรมการ มอบแนวทางปฏิบัติในการดำเนินงาน เฝา้ ระวังปอ้ งกนั และการฉีดวคั ซีน covid-19 แกน่ ายอำเภอทั้ง 13 อำเภอ เมอ่ื วันท่ี 14 ม.ิ ย. 64 - ดำเนนิ การ จัดต้งั พชจ. โดยบูรณาการการทำงานรว่ มกนั ทุกภาคส่วน ซึ่งอยรู่ ะหวา่ งการดำเนนิ งาน สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
43 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติรอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง ระดับอำเภอ 1. ทบทวนคำส่ังคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.) คณะอนุกรรมการและคณะ ทำงานขับเคล่ือนประเด็นทก่ี ำหนด ปีงบประมาณ 2564 ให้เปน็ ปัจจุบัน 2. ร่วมวิเคราะห์กำหนดประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างน้อย 2 เรื่อง กำหนดเป้าหมายกลุ่ม เปราะบางที่ชดั เจนของอำเภอ และ จดั ทำฐานข้อมูลกลมุ่ เปราะบาง 3. มีการบริหารจัดการและรูปแบบการบูรณาการทรัพยากร (คน เงิน ของ ความรู้ ข้อมูล) ที่เป็น รปู ธรรมของทุกภาคส่วนท่ีเก่ยี วขอ้ ง ในการดำเนินงานประเดน็ ฯการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ประชาชนและดูแลกลุ่ม เปราะบาง 4. มีประเมินตนเองตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยใช้กระบวนการ UCCARE แบบมีสว่ นรว่ ม ก่อนและหลังดำเนนิ การ (คร้ังที่ 1 ไตรมาสท่ี 1-2 ครั้งท่ี 2 ไตรมาส 3-4 ) 5. วางแผนการดำเนินกิจกรรมประเด็นปัญหาและแผนการดูแลกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมกับโครงการ 3 หมอและสนับสนุนการดำเนนิ งานคลินิกหมอครอบครวั (PCU-NPCU) ในพ้นื ที่ 6. ปี 2564 กำหนดให้ทุกอำเภออำเภอมีต้นแบบ/Best Practice ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชนในพืน้ ที่ อยา่ งนอ้ ย 1 เรื่อง 7. มีการตดิ ตาม ประเมินผล และสรุปประเมินผลการดำเนินงานส่งสสจ. รายไตรมาส 8. พชอ. วางแผนจัดระบบบริการสุขภาพแก่ประชาชน การบริหารจัดการกลุ่มเป้าหมายเพื่อมารับ บรกิ ารฉีดวัคซนี โควิด-19 พร้อมทั้งการจดั การปัญหาและเยียวยาผไู้ ด้รับผลกระทบตอ่ การบริการในสถานการณ์ โรคโควิด-19 3. ผลการดำเนินงาน ตามประเดน็ การตรวจราชการ แบบสรปุ ประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวติ ระดับอำเภอ (พชอ.)และเป้าหมายการดแู ลกลุม่ เปราะบาง จงั หวดั ลำปาง เขตสุขภาพท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564 อำเภอ ประเดน็ ขับเคล่อื น ปี 2563 ประเดน็ ขบั เคลอ่ื น ปี 2564 1.เมอื งลำปาง 1.การดแู ลผู้สงู อายุและผดู้ ้อยโอกาส 1.ผู้มีภาวะเปราะบางทางสังคม ผู้ด้อยโอกาส ระบุ เด็ก 2.การจัดการสิง่ แวดลอ้ ม ผูส้ งู อายุ และผู้พกิ าร 3.อาหารปลอดภยั 2.ขยะ ส่ิงแวดล้อม โฟม ลดใช้สารเคมี สิ่งปฏิกูล การเผา (ลดเค็ม,สขุ าภิบาลอาหาร) ปา่ ความสะอาดครัวเรือน บ้านสุขลักษณะ 3.โรคไข้เลอื ดออก 2.แมเ่ มาะ 1.ปญั หาหมอกควัน 4.โรค covid-19 3.เกาะคา 2.บา้ นผู้ยากไร้ ผดู้ อ้ ยโอกาส 1.ลดหวาน เค็ม ออกกำลงั กาย 3.โรคทมี่ ยี ุงลายเป็นพาหะนำโรค 2.อุบัติเหตจุ ราจร 4.พฤตกิ รรมการทานอาหารลดเค็ม 3.การดูแลผูส้ งู อายุ ผยู้ ากไร้และผ้ดู ้อยโอกาส 5.ปัญหาการฆา่ ตวั ตาย ๔. โรค covid-19 1.พฤติกรรมการบริโภคอาหาร (ลดเค็ม) 1. ผูส้ งู อายุ 2.สง่ เสรมิ การออกกำลงั กาย 2. คนยากจน 3.โรค covid-19 4.เสริมงาม 1.โรคไม่ตดิ ต่อเรอื้ รัง (DM/HT) 1. โรคไมต่ ิดต่อเรื้อรงั สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
44 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง อำเภอ ประเดน็ ขบั เคล่ือน ปี 2563 ประเด็นขับเคลือ่ น ปี 2564 5.งาว 6.แจห้ ม่ 2.การดแู ลผู้สงู อายุและผู้ด้อยโอกาส 2. การดูแลผสู้ งู อายุและผ้ดู อ้ ยโอกาส 3.การจดั การขยะและสิง่ แวดล้อม 3. ขยะ ส่ิงแวดลอ้ ม 7.วงั เหนอื 4.เกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภยั 4.โรค covid-19 8.เถนิ 1.การบรหิ ารจดั การขยะ 1. ผสู้ งู อายแุ ละกลุ่มเปราะบาง 9.แมพ่ ริก 2.การดูแลผู้สงู อายุ 2. โรค covid-19 10.แมท่ ะ 3. ลดเหลา้ เลิกบุหร่ี 4. อาหารปลอดภัย 5. การบรหิ ารจดั การขยะ 1.การจดั การขยะ 1. อาหารปลอดภยั 2.การดูแลเดก็ เยาวชน ผ้สู งู อายุ ผู้พกิ าร 2.การจัดการขยะ ผ้ดู อ้ ยโอกาส และผเู้ ปราะบาง 12 3.การดแู ลเด็ก เยาวชน ผสู้ งู อายุ ผู้พกิ าร ผดู้ อ้ ยโอกาสและ กลุม่ เป้าหมาย ผเู้ ปราะบาง 3.อาหารปลอดภัย 4.โรค covid-19 4.การฆ่าตวั ตาย 5.อบุ ัติเหตุ 1. ผู้สงู อายุ 6.หมอกควัน 2. การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 1.การดแู ลผสู้ ูงอายุ เพอ่ื ป้องกนั ควบคุมโรค 2. เบาหวาน/ความดนั โลหติ สงู 3.โรค covid-19 (ลดพงุ ลดโรค ) 3.การจดั การขยะในครัวเรือน 1. แมแ่ ละเด็ก 4.ไฟป่าหมอกควัน 2. ผสู้ งู อายุ 5.ลดอบุ ตั เิ หตุ 3. โรค covid-19 1.แม่และเด็ก 4. หมอกควัน 2.ผู้สูงอายุ 3.การออกกำลงั กาย 1. แมพ่ รกิ เมอื งท่เี ป็นมิตร 4.การลดอบุ ัติเหตจุ ราจร กบั ผ้สู ูงอายุ ผพู้ ิการและ 5.ขยะ ผู้ดอ้ ยโอกาส 6.มะเรง็ เตา้ นม 2. แมพ่ ริก รักษไ์ ต ลดเคม็ 1.แมพ่ ริกเมอื งทเ่ี ปน็ มิตรกับผู้สงู อายุ ผพู้ ิการ 3. แม่พรกิ เมืองเกษตรอนิ ทรยี ์ และผ้ดู อ้ ยโอกาส 4. โรค covid-19 2.แม่พรกิ เมอื งเกษตรอนิ ทรยี ์ 1.อาหารปลอดภัย 3.คนแม่พริกรักษ์ไต ลดเคม็ 2.การจดั การขยะชุมชนและสิ่งแวดล้อม 3.การดแู ลผู้สงู อายุและเปราะบาง 1.อาหารปลอดภัย 2.การจดั การขยะและการแก้ไขปัญหา สงิ่ แวดลอ้ ม สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
45 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติรอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง อำเภอ ประเด็นขับเคลอื่ น ปี 2563 ประเด็นขบั เคลือ่ น ปี 2564 11.สบปราบ 3.ผู้สงู อายุ 4. โรค covid-19 12.ห้างฉตั ร 1.โรคเบาหวาน 1. ผสู้ งู อายุทีม่ ภี าวะพ่ึงพิง 2.โรคไข้เลือดออก 2. โรคเบาหวาน 3.ผู้สงู อายแุ ละผทู้ ่ีมีภาวะพึ่งพิง 3. โรค covid-19 4.ฝุ่นควัน PM 2.5 1. เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 1. การดแู ลผู้สูงอายุและผ้ดู อ้ ยโอกาส 2.การดูแลผูส้ ูงอายุและผู้ด้อยโอกาส 2. เบาหวาน/ความดนั 3. โรค covid-19 13.เมืองปาน 1. โรคไมต่ ดิ ตอ่ เร้ือรงั 1. การดูแล เดก็ เยาวชน ผสู้ ูงอายุ ผู้พิการ ผดู้ ้อยโอกาส 2.การป้องกันอุบัติภยั ทางถนน และผเู้ ปราะบาง 3.การดูแลเด็ก เยาวชน ผู้สงู อายุ ผ้พู กิ าร 2. โรคไมต่ ิดต่อเร้ือรัง ผ้ดู อ้ ยโอกาส และผเู้ ปราะบาง 3. การปอ้ งกนั ภัยอุบัตเิ หตุทางถนน 4. โรค covid-19 เปา้ หมายกลมุ่ เปราะบางในพื้นท่ี 5 อนั ดบั กลุ่มเปราะบางที่ไดร้ บั การดูแลโดย พชอ. จงั หวดั ลำปาง ดังต่อไปน้ี 1.) ผพู้ ิการ ร้อยละ 45 2.) เด็ก รอ้ ยละ 40 3.)ผ้สู ูงอายุติดบา้ น รอ้ ยละ 9 4.) ผู้สงู อายุตดิ บา้ น รอ้ ยละ 3 5.) ผดู้ อ้ ยโอกาส ร้อยละ 3 ลำดบั อำเภอ เป้าหมายกลุ่มเปราะบางในพ้ืนท่ี จำนวน (คน) ไดร้ บั การดูแล (คน) 1 ผู้สูงอายุ 265 265 เมืองลำปาง ผูพ้ ิการ 2,617 1,724 6,485 3,848 เดก็ รูปร่างไม่สมส่วน(เตย้ี /ผอม) 192 192 ผู้สูงอายุตดิ บ้าน 43 43 ผสู้ ูงอายตุ ดิ เตียง 482 35 2 แมเ่ มาะ ผู้พกิ าร 220 220 * ทางกาย 97 97 162 162 * ทางจิตเวช 33 33 3 เกาะคา ผ้สู ูงอายตุ ดิ เตียง ผู้พกิ าร/ยากไร้ 4 เสรมิ งาม ผูส้ งู อายุตดิ เตยี ง สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
46 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติรอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง ลำดบั อำเภอ เปา้ หมายกลุ่มเปราะบางในพน้ื ท่ี จำนวน (คน) ได้รบั การดูแล (คน) กล่มุ เด็ก 3 3 เยาวชน 3 3 ผู้พกิ าร 47 47 ผู้ด้อยโอกาส 5 5 ผู้ป่วยตดิ เตียง 53 53 6 งาว ผู้พิการ 906 906 ผู้ดอ้ ยโอกาส 284 284 ผู้สูงอายตุ ิดบา้ น 205 205 7 วังเหนือ ผสู้ งู อายุติดเตยี ง 51 51 คนยากจน/พกิ าร 753 753 หญิงตั้งครรภ์ 70 70 เด็กอายุ0-5ปี 2,125 2,125 8 เถิน ผสู้ ูงอายุติดบ้าน 240 240 ผสู้ งู อายุตดิ เตยี ง 49 49 ผสู้ งู อายตุ ดิ เตียง 20 20 ผู้สูงอายบุ า้ น 125 125 9 แม่พริก ผ้สู งู อายตุ ิดสังคม 2909 2909 ผู้พิการ 352 352 ผูส้ งู อายตุ ิดเตยี ง ผสู้ งู อายตุ ิดบ้าน 78 78 10 แม่ทะ ผพู้ ิการ 327 327 เด็ก0-6ปี 2718 2718 ผู้สูงอายุติดบา้ น 1652 100 (เด็ก 0-6 ปีทยี่ ากจน) 11 สบปราบ ผู้สูงอายุติดเตียง 60 60 ผู้สูงอายุตดิ บา้ น 56 56 12 ห้างฉัตร ผู้สงู อายตุ ิดเตียง 157 157 ผพู้ กิ าร 64 64 52 52 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
47 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติรอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง ลำดบั อำเภอ เป้าหมายกลุ่มเปราะบางในพน้ื ที่ จำนวน (คน) ไดร้ บั การดแู ล (คน) ผู้สูงอายตุ ดิ บา้ น 140 140 24 24 13 เมอื งปาน ผสู้ ูงอายตุ ดิ เตียง สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกต ผลการประเมินเอง ตามเกณฑ์ UCCARE ปี 2564 ค ลาดบั อาเภอ ประเดน็ สาคญั UC รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 1.ผมู้ ภี าวะเปราะบางทางสงั คม 4 4 4 4 1 เมอื งลาปาง 2.การจัดการส่ิงแวดลอ้ ม 4 3.5 3 3.5 3.ไข้เลอื ดออก 3 3 3 3.5 4.โรค covid-19 3.5 4 3.7 4 1.ลดหวาน เคม็ ออกกาลังกาย 3 4 3 4 2 แมเ่ มาะ 2.อบุ ัตเิ หตจุ ราจร 3433 3.การดแู ลผูส้ ูงอายุ ผูย้ ากไร้ 3434 4.โรค covid-19 3534 1.ผสู้ ูงอายุ 3 3.5 3 3 3 เกาะคา 2.คนยากจน 3 3 3 3.5 3.โรค covid-19 3 3.5 3 3 1.โรคไมต่ ดิ ตอ่ เร้ือรัง 4444 4 เสริมงาม 2.การดแู ลผสู้ ูงอายแุ ละผูด้ อ้ ยโอกาส3 3.5 3 3.5 3 3 3.5 3.ขยะ ส่ิงแวดลอ้ ม 3 4.โรค covid-19 3 3.5 3 3.5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและ
48 ติรอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง คะแนน ตามองคป์ ระกอบ UCCARE สรุปผล สรุปผล C A R E การประเมนิ การประเมนิ รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 UCCARE UCCARE รอบ 1 รอบ 2 4 3.5 3 4 4 4 4 4 3.83 3.92 3.83 34344444 3.50 3.25 3.92 3 3.5 3 3 3 3 3 3.5 3.00 3.33 3.17 3.5 4 4 4 3.5 3.5 3.5 4 3.62 4.00 4.50 33333333 3 3.50 3.17 33333333 3 3.42 4.08 34343434 3 3.67 3.33 35353434 3 3 3.5 3 4 3 3.5 3 3.5 3 3 3 3 3.5 3 3 3 3 3 3 3 3 3.5 3 4 3 3.5 3 4 4 4 4 4 4.5 4 4 4 33444434 3 3 3.5 3 3 3 3.5 3 3.5 3 3 3 3 3.5 3 3.5 3 3.5 3 ะนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กต ผลการประเมนิ เอง ตามเกณฑ์ UCCARE ปี 2564 (ตอ่ ) คะแ ลาดบั อาเภอ ประเดน็ สาคญั UC รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 ร 1.อาหารปลอดภัย 4 4 3.5 3.5 5 แจ้ห่ม 2.การจัดการขยะ 3333 3.การดแู ลเดก็ เยาวชนผูส้ งู อายุ ผู้พกิ 3าร 3 3 3 3.โรค covid-19 3434 1.ผูส้ ูงอายแุ ละกลุม่ เปราะบาง 4 4 4 4 2.โรค covid-19 4444 3.ลดเหลา้ เลิกบุหรี 3 3.5 3 3.5 6 งาว 4.อาหารปลอดภัย 3 3.5 3 3.5 5.การบริหารจัดการขยะ 3433 6.โรค covid-19 3434 1.ผู้สงู อายุ 3 3.5 3 3 7 วงั เหนือ 2.การจัดการขยะและสง่ิ แวดลอ้ ม 3 4 3 3 3.โรค covid-19 3 4 3 3.5 สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและ
49 ติรอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง ะแนน ตามองคป์ ระกอบ UCCARE สรุปผล สรุปผล C A R E การประเมนิ การประเมนิ รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 UCCARE UCCARE รอบ 1 รอบ 2 3.5 3.5 4 4 3 3 3.5 3.5 3.58 3.58 3 33333333 3 3 33333333 3 4 34343434 3 4 3.75 34443434 3.84 3.5 3 3.5 4 4 3 3.5 3 3.5 3.84 3.33 3 3.5 3 3.5 3 3.5 3 3.5 3 3 3 3 3.5 3 3 3 3.5 3 3 3.5 3 3.5 3 3.5 3 3.5 3 3.5 3 3.5 3 4 3 3.5 3 3.5 3 3.75 3.33 3 3.5 3 3 3 3.5 3 3.5 3 3.42 3.42 3 3.5 3 3 3 3.5 3 3.5 3 3 3.5 3 3 3 3.5 3 3 3 ะนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกต ผลการประเมินเอง ตามเกณฑ์ UCCARE ปี 2564 (ต่อ) ค ลาดบั อาเภอ ประเดน็ สาคญั UC รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 1.แมแ่ ละเดก็ 5545 2.ผสู้ งู อายุ 5555 8 เถิน 3.โรค covid-19 5535 4.หมอกควนั 3534 5.โรค covid-19 3434 1.แมพ่ ริกเมอื งทเ่ี ปน็ มติ ร กบั ผสู้ งู อาย4ุ ผพู้ กิ าร4และ ผู้ด3.อ้ 5ยโอกา4ส 9 แมพ่ ริก 2.แมพ่ ริก รักษไ์ ต ลดเคม็ 3535 3.แมพ่ ริกเมอื งเกษตรอนิ ทรีย์ 3 5 3 4 4.โรค covid-19 2525 1.อาหารปลอดภยั 3434 10 แมท่ ะ 2.การจัดการขยะชมุ ชนและ 3434 3.การดแู ลผสู้ งู อายุ และ กลมุ่ 3 4 3 4 4.โรค covid-19 3434 สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและ
50 ติรอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง คะแนน ตามองคป์ ระกอบ UCCARE สรุปผล สรุปผล C A R E การประเมนิ การประเมนิ รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 UCCARE UCCARE รอบ 1 รอบ 2 5 5 5 5 5 5 5 4 5 4.67 5 5 55554545 4.67 4 3.5 45354525 3.5 4.17 4.33 34333434 3 4.17 4.67 34333333 3 3.5 3.67 3.5 4 4 4 3 4 5 5 3.84 4 3.75 34343434 3 34343434 3 25242425 2 34333333 3 34343333 3 34343434 3 3 4 3 4 3 3.5 3 3 3 ะนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กต ผลการประเมนิ เอง ตามเกณฑ์ UCCARE ปี 2564 (ตอ่ ) ค ลาดบั อาเภอ ประเดน็ สาคญั UC รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 1.ผ้สู ูงอายทุ มี่ ภี าวะพงึ่ พงิ 4 444 11 สบปราบ 2.โรคเบาหวาน 3 444 4 3 3.5 3.โรค covid-19 3 3.5 4 3.5 1.การดแู ลผ้สู ูงอายแุ ละผู้ดอ้ ยโอกาส4 444 434 12 หา้ งฉตั ร 2.เบาหวาน/ความดนั 4 4 3.5 4 3.โรค covid-19 3 545 1.การดแู ล เดก็ เยาวชน 4 5 3.5 4 545 2.โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรื้อรัง 5 13 เมอื งปาน 3.การป้องกนั ภัยอบุ ัตเิ หตทุ าง 5 4.โรค covid-19 5 สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและ
51 ติรอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง คะแนน ตามองคป์ ระกอบ UCCARE สรุปผล สรุปผล C A R E การประเมนิ การประเมนิ 2 รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 รอบ 1 รอบ 2 UCCARE UCCARE รอบ 1 รอบ 2 4.17 55444444 4 3.83 3.83 34333434 3 3.83 3.92 3 4 3 4 3 4 3 3.5 3 3.75 34444434 3 4.17 3 4 4 4 4 4 3 3.5 3 4.33 3 3.5 3 3.5 3 3.5 3 4 3 4.17 3.5 4 4 4 3 4 5 5 3.84 4.67 44444444 4.17 4 4 3.5 4 4 4 4 4 4 45444445 4.17 ะนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
52 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง ผลการดำเนนิ งานตาม Small Success มีการดำเนินงานครบ 13 อำเภอตามกำหนด 3 เดอื น 6 เดอื น 9 เดอื น 12 เดอื น -มปี ระเดน็ การพฒั นาคุณภาพ - มีคณะทำงานขับเคลื่อน -มกี ารเย่ียมเสรมิ พลงั และ อำเภอมีการดำเนินการและ ประเมินผลการดำเนนิ การ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ชีวติ ประเด็นสำคญั ตามบริบท ประเดน็ คุณภาพชวี ติ พฒั นาคุณภาพชวี ติ ตาม คุณภาพการพฒั นาคณุ ภาพ แนวทาง UCCARE ชวี ิต ในพื้นท่ีอย่างน้อย 2 ตามท่ีพ้ืนท่ีกำหนด -ถอดบทเรยี นระดบั จังหวดั 13 อำเภอ ร้อยละ100 เพอื่ ขยายผลพ้นื ท่ีตน้ แบบ ประเดน็ /อำเภอ และมกี าร -มกี ารเสรมิ ศักภาพ พชอ. กำหนดเปา้ หมาย และจดั ทำ โดยบูรณาการกับ พชต. ทะเบียน แผนการดแู ลกลุ่ม เปราะบางในพื้นที่ -บูรณการเชื่อมโยงกบั งาน สุขภาพประชาชน 4. ปญั หาอปุ สรรคและแนวทางแก้ไข 3.1. การให้ความสำคญั ความเข้มแขง็ และการมสี ่วนรว่ มในการขบั เคลื่อนงาน พชอ. อยา่ งจรงิ จัง ของ เครือข่ายทุกภาคสว่ น 3.2. การจดั การข้อมูลตามประเด็นคุณภาพที่พร้อมใชแ้ ละให้การสนับสนุน 3.3. ส่งเสรมิ ให้มกี ารร่วมจดั ทำแผนยทุ ธศาสตร์ พชอ. ระยะกลาง ระยะยาว รวมทั้งมกี องทุนทสี่ ามารถ นำมาใช้ในการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ พชอ. ได้ ผรู้ ายงาน 1. นางศิริพร โทลา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โทรศพั ท์ 093-0239157 2. นายประยทุ ธ ศรีกระจ่าง นักวชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ โทรศัพท์ 086-4287037 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
ระบบงานของหน่วยบริการ (Functional based)
53 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง Functional based ประเดน็ การตรวจราชการ ประเด็นท่ี 4 สขุ ภาพกลุ่มวัย ประเด็น การพัฒนาคุณภาพชีวติ (ดา้ นสขุ ภาพ) ทกุ กลมุ่ วยั งานอนามยั แม่และเด็ก ตวั ชว้ี ดั (KPI) /คา่ เปา้ หมาย : อัตรามารดาตายไมเ่ กิน 17 ต่อการเกดิ มชี พี แสนคน I. สถานการณ์งานอนามยั แมแ่ ละเดก็ จังหวัดลำปางในภาพรวม จงั หวดั ลำปางมีจำนวนการคลอดมแี นวโนม้ ลดลง ปี2561-2564 = 3,967ราย, 3,676 ราย 3,531 ราย และ 2,264 ราย (ต.ค.63 – พ.ค.64) ตามลำดับดังแสดงในแผนภูมิที่ 1 จะเห็นได้ว่าจังหวัดลำปาง มีจำนวนการคลอดที่ ลดลงอย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่ปี 2562 จังหวัดลำปางได้ปรับระบบการให้บริการคลอดในโรงพยาบาลที่มีการคลอดน้อย กว่า 15 ราย/ปี กรณีไม่ฉุกเฉินให้พิจารณาวางแผนส่งต่อไปทำคลอด ที่ รพ.แม่ข่ายเพ่ือลดความเส่ียงระหว่างการเฝ้า คลอด ซ่ึงได้แก่ รพ.แม่พริก แม่เมาะ เสริมงาม ห้างฉัตร สบปราบ และแม่ทะ รวมท้ังหมด 6 แห่ง ซึ่งปี 2564 รพ.ทั้ง 6 แห่งมกี ารคลอดรวม 16 ราย ดงั แสดงในตารางท่ี 1 ดงั น้ันความทา้ ทายของโรงพยาบาลเหล่านีค้ ือความพร้อมในการ ดแู ลการคลอดฉกุ เฉินและเพม่ิ การให้คำแนะนำเน้นยำ้ หญิงตั้งครรภใ์ นการมาโรงพยาบาลเม่อื เรมิ่ เจ็บครรภ์ แผนภมู ิท่ี1 ข้อมูลจำนวนการคลอดจงั หวัดลำปาง ปี 2561-2564(ต.ค.63-พ.ค.64) 3967 3676 3531 2264 2561 2562 2563 2564 ตารางท่ี 1 ข้อมูลจำนวนการคลอดแยกรายโรงพยาบาล ปี 2564 (ต.ค.63-พ.ค.64) โรงพยาบาล จำนวนการคลอด ปี 2564 (ราย) (ตค63-พค64) 1. รพ.ลำปาง 1,467 2. รพ.เกาะคา 441 3. รพ.เถนิ 187 4. รพ.แมเ่ มาะ 6 5. รพ.เสริมงาม 1 6. รพ.งาว 57 7. รพ.แจห้ ่ม 15 8. รพ.วงั เหนือ 12 9. รพ.แมพ่ ริก 1 10.รพ.แมท่ ะ 1 11.รพ.สบปราบ 12.รพ.ห้างฉตั ร 1 13.รพ.เมอื งปาน 6 14 รวม 2264 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
54 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง ต้ังแต่ปี 2561 - 2564 (ต.ค.63-พ.ค.64) จากการทบทวนพบว่ามารดาตายจังหวัดลำปาง มีสาเหตุใน กลุ่ม Indirect cause มีโรครว่ มทางอายุรกรรม หลังจากได้มีการพัฒนาระบบ Lampang ANC 2018 ตั้งแต่ปี 2561 เป็นต้นมา ทำให้การดูแลกลุ่มเสี่ยงที่ตั้งครรภ์มแี นวโน้มดีข้ึน ปี 2563 พบมารดาเสียชีวิต 1 ราย ดังแสดง ในตารางท่ี 2 จากสาเหตุ Eclampsia/lift basal ganglia hemorrhage IVH Pre HT อายุ 46 ปี NO ANC , ไม่ทราบว่าต้ังครรภ์ จากการซักประวัติญาติพบว่าคุมกำเนิดโดยกินยาคุมแต่ไม่สม่ำเสมอ ซ่ึงในการดูแลช่วง Plan Pregnancy ดังนี้ ในปี 2564 จึงกำหนดจุดเน้นในการทำงาน ภายใต้แนวคิดหากหญิงตั้งครรภ์ทกุ รายได้ เข้าถึงการดูแลที่มีคุณภาพตั้งแต่แรกเริ่มของการต้ังครรภ์ รวมท้ังถ้าหากหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีโรคทางอายุรก รรมมีการวางแผนการต้ังครรภเ์ มอื่ ควบคุมอาการโรคได้ ระบบดูแลที่มีอยู่น่าจะสามารถดูแลให้ปลอดภัยได้ ซ่ึง จากการทบทวนมีหลายรายท่ีต้ังครรภ์โดยที่ไม่ได้ต้ังใจ/คุมกำเนิดที่ไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นปี 2564 จึงได้ กำหนดจดุ เนน้ การทำงาน ดงั นี้ 1. พฒั นาระบบเฝา้ ระวังหญิงตัง้ ครรภเ์ สี่ยง 1.1 หญงิ วยั เจริญพันธ์ทุ ี่มโี รครว่ มทางอายุรกรรมทีส่ ำคัญ DM, HT, SLE, Heart disease, DVT ได้รบั คำแนะนำดา้ นการวางแผนครอบครวั 70% 1.2 ระบบการดูแลหญงิ ตั้งครรภท์ ี่มีโรครว่ มทางอายุรกรรม 2. พฒั นาคณุ ภาพการฝากครรภแ์ ละการคลอด ตารางท่ี 2 อัตรามารดาตายจังหวัดลำปาง ผลการดำเนินงาน ปี 2561-2564 (ตค.63-พค.64) ข้อมูล เปา้ หมาย 2561 2562 2563 2564 (ตค.63-พค.64) อตั ราส่วนการตายมารดา ≤ 17 ต่อแสน 0 0 27.95 การเกิดมชี พี 0 (1/3,578ราย) II. การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคัญ ตามท่ีได้นำเสนอข้อมูลในสถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กจังหวัดลำปางในภาพรวม ปี 2564 ใน ข้างตน้ โดยจังหวัดลำปางได้ มีการทบทวนตามกระบวนการ 4P และกำหนดจดุ เน้นการทำงาน ดังนี้ 1. พฒั นาระบบเฝา้ ระวังหญิงตงั้ ครรภ์เสีย่ ง 1.1 หญงิ วัยเจรญิ พันธ์ทุ ีม่ ีโรครว่ มทางอายุรกรรมท่ีสำคัญ DM, HT, SLE, Heart disease, DVT ไดร้ ับ คำแนะนำ ด้านการวางแผนครอบครัว 70% แนวทางการดำเนนิ งาน o กำหนดกลมุ่ โรคเป้าหมายทเ่ี ริ่มดำเนินการกอ่ น โดยเลือกกลุม่ โรคท่มี ีความเสย่ี งสูงและเป็นสาเหตุของ การเสยี ชีวิตในหญงิ ตง้ั ครรภ์ ซ่ึงไดแ้ ก่ DM, HT, SLE, Heart disease และDVT. o นำข้อมูลจากฐานข้อมูลใน HDC.มาทบทวนก่อนดำเนินการ พบว่าจังหวัดลำปางมีหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ15-50ปี จำนวน 108,833 คน ป่วยด้วย 5 โรคเสี่ยงสูง จำนวน 8,555 คน คิดเป็นร้อยละ 7.86 พบ HT มากที่สุด ร้อยละ 72.92 และยังพบว่าร้อยละ 70.05 ได้รับการคุมกำเนิดแล้ว เพื่อให้หญิงวัย เจริญพันธ์ุเหล่านี้มีการคุมกำเนิดท่ีมีประสิทธภิ าพและให้สามารถวางแผนการต้ังครรภ์เมื่อควบคุมการ กำเรบิ ของโรคได้ ไดร้ บั การดูแลตั้งแตร่ ะยะแรกของการต้งั ครรภ์ สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
55 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง o เน้นการซักประวัติ LMPและการคุมกำเนิดการคุมกำเนิดท่ีเหมาะสมและมีการวางแผนการตั้งครรภ์ หาก พบวา่ มีการคมุ กำเนิดทีไ่ ม่มีประสิทธิภาพใหส้ ง่ ตอ่ คลินกิ วางแผนครอบครวั o ทบทวนระบบการดแู ลรว่ มกันสูต+ิ Med /กำหนดแนวทางซกั ประวัติ LMP+การคุมกำเนดิ Loss LMP. สง่ UPT o ส่ือสารและประชาสมั พนั ธต์ ้ังแตใ่ นชุมชนโดย อสม. จนถึงสถานบรกิ ารทุกระดบั 1.2 ระบบการดูแลหญงิ ตั้งครรภท์ ี่มีโรคร่วมทางอายรุ กรรม แนวทางการดำเนินงาน - เม่อื พบหญิงตงั้ ครรภก์ ล่มุ เสย่ี งมีระบบในการดแู ลร่วมกันระหวา่ งสตู ิแพทยแ์ ละอายรุ แพทย์ โดยมีการใช้ individual care plan ทกุ ราย - ทบทวน/ปรับปรุง individual care plan ใหส้ อดคล้องกับ CPG. - กลุม่ เสย่ี งสูง : สตู ิแพทยแ์ ละอายุรแพทย์ประเมนิ ความเส่ยี งตอ่ มารดา หากเสี่ยงสูงต่อการเสยี ชวี ติ ของ มารดา เสนอทางเลือกยตุ กิ ารตง้ั ครรภโ์ ดยทีมสหวิชาชีพ กรณีต้ังครรภ์ต่อไดร้ ับการดูแลรว่ มกันระหวา่ งสูติ แพทยแ์ ละอายุรแพทย์ตาม individual care plan 2. พัฒนาคุณภาพการฝากครรภ์และการคลอด 2.1 หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงทุกรายได้รับการวางแผนการคลอดตามระบบส่งต่อที่กำหนดไว้และหากพบปัญหามี ระบบให้คำปรึกษาและระบบ Fast Track โดยกำหนดแนวทางการส่งต่อทั้งกรณีตั้งครรภ์และการคลอด เขียว เหลอื ง แดง 2.2 เพิ่มความครอบคลุมการดแู ลหญงิ ตงั้ ครรภ์ในคลนิ ิกเอกชน - ขอขอ้ มูลทะเบยี นหญงิ ต้งั ครรภใ์ นคลินิกเพ่ือใหไ้ ดร้ บั การดแู ลต่อเน่ือง - สนบั สนนุ CD แผน่ พบั แนะนำ รร.พ่อแม่ และคมู่ ือ DSPM ใหก้ บั คลินิกเอกชนเพือ่ ให้หญงิ ตง้ั ครรภ์ท่ฝี าก ครรภ์ในคลินิกได้รับคำแนะนำเช่นเดียวกับในโรงพยาบาลโดยเฉพาะการแนะนำให้รู้จักคู่มือ DSPM ซ่ึง จากการสำรวจพบว่าหญิงหลังคลอดบางรายท่ีฝากครรภ์ในคลินิกเอกชนไม่รู้จักคู่มือ DSPM รวมท้ังมีการเพ่ิม การเย่ยี มบ้านช่วงANCและดูแลตอ่ เนอ่ื งหลงั คลอด 2.3 พัฒนาระบบและคณุ ภาพบริการในPCU. (รปู แบบ/แนวทางการใหบ้ ริการ) - กำหนดแนวทางการใหบ้ ริการหญิงตั้งครรภร์ ายใหมใ่ น PCU เพือ่ ให้สามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารไดง้ า่ ย 2.4 Keep Competency ใน รพช.ลกู ขา่ ย 10 แหง่ (รพช.คลอดนอ้ ย 6แหง่ /รพช.ท่ียงั มเี ฝ้าคลอด 4แห่ง) - วางแผนร่วมมือกับวิทยาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครลำปาง จัดทำ Workshop ทำคลอด ฉุกเฉิน ในรพช.ท่ีคลอดน้อยด้วยหุ่นและการซ้อมสถานการณ์ฉุกเฉินทางสูติกรรมจากโปรแกรมหุ่น โดย กำหนดไว้ รพ.ละ 1ทมี /3คน (ก.ค.64) - กำหนดการส่มุ เยีย่ ม /นเิ ทศโดยทมี MCH จังหวดั ลำปาง (ก.ค.64) สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
56 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง III. ผลการดำเนนิ งานทีส่ ำคญั 1. ผลงานการพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั หญงิ ต้ังครรภ์เสี่ยง ตารางท่ี 2 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 15-50ปี ท่ีมีโรคร่วมทางอายุรกรรมท่ีสำคัญ ได้รับคำแนะนำด้านการ วางแผนครอบครวั 70% ปี 2564 (ต.ค.63-พ.ค.64) จำนวนหญิงวัย 5 โรครวม รอ้ ยละ DM HT SLE Heart dis. DVT ไดค้ ุมกำเนดิ ได้รับ เจริญพนั ธ์ุ (จาก คำแนะนำ อาย1ุ 5-50ปี ฐานขอ้ มลู ) (ตค63-พค.64) 108,833 8,555 7.86 3,394 6,238 302 766 31 5,993 5,545 ร้อยละ 39.67 72.92 3.53 8.95 0.36 70.05 69.88 ข้อมูลจาก HDC.และรายงานแยก จากขอ้ มลู ตารางท่ี 1 พบประเด็นทเ่ี ป็นโอกาสพัฒนาดงั นี้ o การดำเนินงานยังไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจากผู้ป่วย NCD ส่วนหนึ่งในช่วงการระบาดโรคโควิด-19 มี การเลื่อนนัดในการให้บริการ และในโรงพยาบาลลำปาง มีผู้ป่วยกระจายหลายคลินิกยังไม่สามารถ รวบรวมได้ o ทุกสถานบริการมีการซักประวัติและให้คำแนะนำเร่ืองการคุมกำเนิด แต่ยังพบว่าการเก็บข้อมูลแล ะ การประเมินผลยังทำได้ไม่ครอบคลุมโดยเฉพาะในโรงพยาบาลลำปาง มีผู้ป่วยกระจายหลายคลินิก จงึ วางแผนปรับระบบการบันทึกเป็นรหสั ICD-10 คกู่ ับรหสั คำแนะนำการคุมกำเนิด เพ่ือให้ง่ายต่อการ ประเมนิ ผล ควบค่กู บั การส่มุ ตรวจเวชระเบียน o จากการสุ่มข้อมูล 1,327 ราย หญิงวัยเจริญพันธ์ุกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับคำแนะนำทั้งหมด 5,545 พบว่า คมุ กำเนดิ ไมเ่ หมาะสม/มีการเปลีย่ นวิธีการคมุ กำเนดิ ใหม่ ร้อยละ 1.05 o พบหญิงวัยเจริญพนั ธ์ุเส่ียงมีการตั้งครรภ์ จำนวน 120 ราย ทกุ รายไดร้ ับการดแู ลรว่ มโดยอายุรแพทย์ ตามแนวทาง (GDM 78 ราย/ HT 40 ราย /โรคหัวใจ 2 ราย) จากการติดตาม คลอดแล้วจำนวน 39 ราย ทกุ รายปลอดภยั ดี 2. ผลงานการคดั กรองภาวะเสยี่ งในหญิงต้ังครรภ์ จังหวดั ลำปาง ปี 2564 (ต.ค.63 – พ.ค.64) แผนภมู ิท่ี 2 ขอ้ มูลการคัดกรองภาวะเส่ียงในหญิงตง้ั ครรภ์ จังหวัดลำปาง ปี 2564 (ต.ค.63 – พ.ค.64) Anemia(40.10%) 60 GDM (20.31%) C/S 54.60% HT (10.42%) 40 33.25 27.27 27.27 20 12.21 0 เส่ยี งสตู กิ รรม แม่อายุ>35ปี แม่อายุ<20ปี เส่ียงอายรุ กรรม 2561 2562 2563 2564 ขอ้ มลู จากทะเบยี นหญงิ ต้ังครรภจ์ งั หวดั ลำปาง สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
57 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง o ปี 2564 (ต.ค.63 – พ.ค.64) มีจำนวนหญิงตั้งครรภ์ทงั้ หมด 1,616 ราย มคี วามเส่ียง 961 ราย/1,155เสย่ี ง คิดเป็นร้อยละ 59.47 แบ่งระดับความเส่ียงดังนี้ เสี่ยงต่ำ 377 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.23 , เสี่ยงปานกลาง 341 ราย คดิ เปน็ รอ้ ละ 35.48 และเส่ยี งสูง 243 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 25.29 o ภาวะเสย่ี งในหญงิ ตั้งครรภ์ จงั หวดั ลำปาง แบ่งรายด้านมีดงั นี้ - เสี่ยงอายุรกรรม 384 ราย คิดเป็นร้อยละ 33.25 ท่ีพบมาก 3 อันดับแรกได้แก่ Anemia ร้อยละ 40.10 , GDM ร้อยละ 20.31 และ HT ร้อยละ 10.42 - เสี่ยงอายุรกรรม 315 ราย คดิ เป็นร้อยละ 27.27 ทพี่ บมากที่สดุ ไดแ้ ก่ C/S ร้อยละ 54.60 - เสี่ยงอายุ 35 ปขี ึน้ ไป คิดเปน็ รอ้ ยละ 27.27 - เสี่ยงอายุ <20 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.21 3. ผลงานการพฒั นาคุณภาพการฝากครรภ์และการคลอด 3.1 การฝากครรภ์ O หญงิ ตงั้ ครรภ์ทุกรายได้รบั การดแู ลตามแนวทาง ANC 2018 o หญงิ ตง้ั ครรภ์กลมุ่ เสย่ี งสงู (ท่ีมโี รครว่ มอายุรกรรม) มี individual care plan ทกุ ราย และไดร้ บั การดแู ล ร่วมกนั ระหว่างสูติ แพทย์และอายุรแพทย์ตาม individual care plan o เพม่ิ ความครอบคลุมการดูแลหญงิ ตงั้ ครรภ์ในคลินิกเอกชน พบวา่ ได้รับการตดิ ตามเยย่ี มบ้าน จำนวน 86 ราย o PCU.เปิดบรกิ าร ANC คร้ังแรก 48 แหง่ คิดเป็นร้อยละ 87.36 o ในช่วงการระบาด COVID-19 มีการปรับระบบการให้บริการ ดังน้ี - จัดสถานท่ใี ห้บรกิ ารจดุ เดียว - ปรบั ระบบจากเปิดคลนิ ิกสปั ดาห์ละ 1 วันเป็นให้บรกิ ารทกุ วัน (เฉลย่ี วนั ละ 5-10 ราย) - หญงิ ต้งั ครรภ์ที่ไมม่ ีความเส่ียงปรับระบบนัดใหห้ ่างขน้ึ แตย่ ดึ หลกั ตามเกณฑ์ ANC 5 ครั้งคุณภาพ 3.2 การคลอด o มีระบบการใหค้ ำปรึกษาและการส่งต่อตามเกณฑ์ เขียว เหลอื ง แดง และระบบ Fast Track ไม่พบปัญหา การส่งตอ่ o Keep Competency (วางแผน กค.64) Workshop ทำคลอดฉุกเฉนิ ในรพช.ทคี่ ลอดน้อย/ ซ้อม สถานการณ์ฉุกเฉนิ ทางสตู ิกรรม--รพ.ละ 1ทมี (3คน) o จากการทบทวนรายงานการคลอด รพ.6 แห่งที่คลอดน้อย ได้แก่ แมเ่ มาะ และหา้ งฉัตร แหง่ ละ 6 ราย เสรมิ งาม แมท่ ะ แม่พรกิ และสบปราบ แห่งละ 1 ราย ซึ่งทุกแห่งได้มีการทำคลอด จากการทบทวนพบวา่ ทักษะการทำคลอดของ รพ.กล่มุ นีน้ า่ จะเพียงพอ โดยมขี ้อค้นพบดงั นี้ – เจา้ หน้าทท่ี ่ีทำคลอดส่วนใหญ่คือพยาบาล ER. : พยาบาล ER เป็นผ้มู ีประสบการณ์และมีการกำหนด และไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะตามกำหนด และแต่ละเวรมกี ารมอบหมายหนา้ ที่การทำคลอดไวใ้ นตาราง เวร – กระบวนการคลอดปกตสิ ามารถทำได้ ไมพ่ บปัญหา – ปญั หาท่พี บส่วนใหญ่คือ การส่ือสารแนวทางการดแู ลเฉพาะดา้ น เชน่ ทารกท่ีคลอดก่อนกำหนดต้องสง่ ต่อ รพ.ลำปางทกุ ราย ( 2 ราย Refer ลา่ ชา้ ) แนวทางแกไ้ ข : หอ้ งคลอดทำแนวทางแบบย่อ และสื่อสารในท่ปี ระชุม ER. – พบอบุ ตั ิการณไ์ ม่พงึ ประสงค์ PPH 1 ราย (ห้างฉตั ร) –ดแู ลได้ตามแนวทางที่กำหนดไว้ สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
58 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง ผลการดำเนนิ งานการฝากครรภ/์ การคลอด และผลงานท่ีสำคัญอ่นื ๆ ตารางที่ 3 ผลการดำเนนิ งานทส่ี ำคญั ปี2561- 2564 (ต.ค.63 – พ.ค.64) ลำดบั ข้อมูล เป้าหมาย ผลงาน ป2ี 561- 2564 (ต.ค.63 – พ.ค.64) 1 ร้อยละหญิงต้ังครรภ์ฝากครรภ์คร้ังแรก ≥รอ้ ยละ 75 ป2ี 561 ปี2562 ปี2563 ป2ี 564 กอ่ นหรอื เท่ากับ 12 wks. (ปรบั ปี63) 72.84 87.55 78.19 82.10 ≥รอ้ ยละ75 2 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแล (ปรบั ปี63) 62.44 79.62 74.61 78.57 กอ่ นคลอด 5 ครัง้ ตามเกณฑ์ ร้อยละ 100 79.18 88.62 80.45 72.91 3 ร้อยละหญิงต้ังครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริม ไอโอดนี ธาตุเหล็ก และกรดโฟลกิ 4 ภาวะโลหิตจางในหญิงต้ังครรภ์ (Hct1 ไม่เกนิ รอ้ ยละ 17 10.95 15.33 13.46 13.27 < 33 mg%) ---ปี61-62 ใช้ข้อมูลจาก รายงาน ก2. 5 ภาวะโลหิตจางในหญิงต้ังครรภ์ (Hct2 ไม่เกนิ รอ้ ยละ 17 8.32 10.96 15.02 14.93 < 33 mg%) ---ปี61-62 ใช้ข้อมูลจาก รายงาน ก2. 6 ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย ไม่เกินรอ้ ยละ 7 7.12 6.61 8.08 6.25 กวา่ 2,500 กรมั 7 ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการ ≥รอ้ ยละ 75 79.44 86.32 85.38 75.18 (ปรบั ปี63) ดแู ลครบ 3 ครงั้ ตามเกณฑ์ 8 ร้อยละเด็ก 0 – 6 เดือนรับบริการ ร้อยละ 50 88.00 63.62 67.68 66.30 และกินนมแม่อยา่ งน้อย 6 เดอื น 9 ร้อยละการเกิดภาวะตกเลือดหลัง ไมเ่ กนิ ร้อยละ 5 1.56 1.29 1.35 2.45 คลอดเฉยี บพลัน 10 ร้อ ย ล ะเด็ ก เกิ ด มี ชี พ มี ภ าวะข าด ไม่เกิน 25:พันเกิด 22.53 17.45 14.25 20.05 มชี ีพ ออกซเิ จนท่ี 1นาทนี ้อยกวา่ หรือ เทา่ กบั 7 11 ร้อยละของการคลอดก่อนกำหนด 5.24 5.13 5.78 5.07 12 ร้อยละการผา่ ตัดคลอด ไม่เกนิ ร้อยละ30 - รพ.ลำปาง 50.28 49.86 54.31 54.94 - รพ.เกาะคา 27.82 27.47 29.24 31.52 - รพ.เถิน 37.27 39.09 42.51 39.04 แหลง่ ขอ้ มูล ข้อ 1 – 8 จาก HDC วันท่ี 16 มิ.ย.64 ข้อ 9 – 12 จาก CMI เขต1 เดอื น พ.ค.64 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
59 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง จากตารางท่ี 3 ในภาพรวมผลการดำเนินงานค่อนข้างดี ผ่านเกณฑ์เกือบทุกข้อ ผลการดำเนินงานที่ยัง ไม่ผ่านเกณฑ์ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก ซ่ึงพบว่าอำเภอเมือง ลำปางเป็นพื้นท่ีเร่งรัดซ่ึงเป็นเร่ืองของการบันทึกข้อมูลและการฝากครรภ์ในคลินิกเอกชนได้คืนข้อมูลให้พ้ืนที่ เพื่อเร่งรัดในการดำเนินงานต่อไป สำหรับร้อยละการผ่าตัดคลอด มีการทบทวนความจำเป็นในการผ่าคลอด โดยใช้ robson classification ในโรงพยาบาลลำปาง เกาะคา และเถิน ซึง่ สว่ นใหญเ่ ป็น Case ผ่าคลอดซำ้ IV. ผลงานเด่นและความภูมิใจ /ปจั จัยแหง่ ความสำเร็จ 1 ปจั จยั แหง่ ความสำเร็จ ได้แก่ การกำหนดนโยบาย และการสอ่ื สารนโยบายทีช่ ัดเจน - ผู้บริหารจงั หวดั ส่อื สารโดยตรงกับผู้บริหารอำเภอโดยผ่านเวทปี ระชุมผูบ้ ริหารจงั หวดั ,สนับสนนุ และ การติดตามกำกบั ทต่ี ่อเนอ่ื งนเวทีผู้บรหิ าร - ทีม MCH board จังหวัดท่ีเข้มเข็ง มีการสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการตามนโยบายและช่วยแก้ปัญหา หนา้ งาน /มเี วที สื่อสารผ่านผูร้ ับผดิ ชอบงานโดยตรง / พฒั นาทกั ษะทีจ่ ำเปน็ /ออกนเิ ทศหน้างาน - ทมี MCH board อำเภอ นำนโยบายไปปฏิบตั แิ ละสอื่ สารระดบั ตำบล และตดิ ดาม กำกับ 2. ผลงานเด่นและความภมู ิใจ 2.1 การพัฒนาระบบ Lampang ANC 2018 ปี 2561 – ปัจจบุ ัน : การพัฒนาระบบ Lampang ANC 2018 ซ่ึงเป็นการพัฒนาระบบการฝาก ครรภ์และการคลอด ซึ่งทำให้ผลลัพธ์การฝากครรภ์และการคลอดของจังหวัดลำปางมีแนวโน้มดีข้ึน โดย แนวทางทส่ี ำคญั ได้แก่ - การค้นหาและการดแู ลหญงิ ตัง้ ครรภก์ ล่มุ เสย่ี งเพื่อลดปัญหามารดาเสียชีวติ จากโรคทางอายุรกรรม โดย กำหนดให้มีการทำแผนการดูแลรายบุคคล( Individual Care plan) ในกลุ่มเส่ียงสูงทุกรายและกลุ่ม เสย่ี งสูงต้องได้รับการดูแลร่วมโดยอายรุ แพทย์ จดั ระบบสง่ ต่อตามความเส่ยี ง - การลดปญั หา Preterm ที่พบสาเหตจุ าก UTI จึงเพ่ิมการตรวจ UA ใน Lab 1,2 - การกำหนดให้หญิงตัง้ ครรภท์ กุ รายตอ้ งได้พบแพทย์ และต้องไดร้ บั การ U/S ทกุ ราย - การลด LBW และลดภาวะซดี ทีม่ ีการพัฒนาทักษะดา้ นโภชนาการแก่ผ้รู บั ผดิ ชอบ - การทำ Couple counseling ที่ไม่ทำเฉพาะสามี แต่เน้นไปท่ีคนดูแลขณะตั้งครรภ์และผู้เล้ียงดูหลัง คลอด โดยทำ 4 ครง้ั ตามแนวทางโรงเรียนพ่อแม่ 2.2 การจดั ระบบการฝากครรภแ์ ละการคลอดจังหวัดลำปาง ปี 2562 – ปัจจุบัน : จากที่จงั หวัดลำปางมีจำนวนการคลอดท่ีลดลง รพช.บางแห่งคลอดปีละ ไม่เกิน 5-10 ราย จากการทบทวนปัญหาที่ผ่านมาพบความเส่ียงในระหว่างการเฝ้าคลอดและการ คลอด ซึ่งย่ิงมีจำนวนน้อยทักษะของ จนท.จะลดลงไป ปี2562 จึงได้นำร่อง รพ.แม่พริก และแม่ เมาะไม่เปิดบริการรอคลอดให้ส่งต่อไปทำคลอดที่แม่ข่าย ทำคลอดเฉพาะกรณีฉุกเฉิน ซ่ึงสามารถ บริหารจัดการได้ ทำให้ปี 2563 ขยายไปอีก 4 แห่งที่มีจำนวนคลอดน้อย ในขณะเดียวกันมีการ พฒั นาทักษะ จนท.ควบคู่ไปด้วย ซึ่งทำให้มคี วามชัดเจนในการวางแผนพฒั นาโรงพยาบาลแต่ละกลุม่ ท่ี ต้องมีวิธีการที่ต่างกันไปตามบริการท่ีเปิด ปัจจุบันจังหวัดลำปาง มีการจัดบริการฝากครรภ์และการ คลอดในโรงพยาบาล 4 กล่มุ ดังนี้ กล่มุ 1 แมข่ ่าย รพ.ลำปาง – รับส่งตอ่ กรณีสแี ดงจาก รพช.ทุกแหง่ กลุ่ม 2 Node เกาะคา และเถนิ -รับสง่ ตอ่ กรณสี เี หลือง และรบั เคสคลอดจาก รพช.ท่กี ำหนด คือ เถนิ รบั สง่ ตอ่ จากสบปราบและแมพ่ รกิ ท่ีเหลอื สง่ ตอ่ มาคลอดท่ีเกาะคา สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
60 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง กลุ่ม 3 รพช. F2 ทีม่ ีบริการรอคลอด และทำคลอดเองกรณีสีเขยี ว 4 แห่ง ไดแ้ ก่ งาว วังเหนือ เมืองปาน และแจห้ ม่ กลุ่ม 4 รพช. F2 ท่ีมีเฉพาะบริการคลอดฉุกเฉิน 6 แห่ง ได้แก่ รพ.แม่พริก แม่เมาะ เสริมงาม ห้างฉตั ร สบปราบ และแม่ทะ V. โอกาสการพฒั นาและแนวทางการพฒั นาตอ่ เนือ่ ง 5.1 ดำเนินงานต่อเนอ่ื งเรือ่ งการประเมินและใหค้ ำแนะนำหญงิ วยั เจริญพันธุอ์ ายุ 15-50ปี ทีม่ ีโรคร่วมทาง อายรุ กรรมที่สำคัญ ให้ได้รบั การคมุ กำเนดิ ทีเ่ หมาะสมและมกี ารวางแผนการตั้งครรภ์ 5.2 เนน้ การเชื่อมโยงระบบการดูแลต่อเนือ่ งหลงั การส่งตอ่ ผูป้ ่เพ่ิมการวยเพื่อการดูแลตอ่ เนื่องในชมุ ชน โดยปรับระบบ New service in PCU ลงสู่บริการปฐมภมู ิ ตามแผนพัฒนาระบบปฐมภมู จิ ังหวัดลำปาง 5.3 การติดตามขอ้ มูลในเชงิ คุณภาพรายบุคคล 5.4 ดำเนินงานตามมาตรฐานอนามยั แมแ่ ละเดก็ โดยกลยทุ ธ์เยีย่ มเสริมพลัง และหาแนวทางใหมๆ่ ในการ ควบคุมกำกับ ให้มกี ารปฏบิ ตั ิตามมาตรการต่างๆ ผูร้ ายงาน นางสาวองั คณา จำปาวนั ตำแหนง่ นกั วิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลมุ่ งานส่งเสริมสุขภาพสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง โทร 054 227527-106 E-mail: [email protected] สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
61 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง Functional based ประเดน็ การตรวจราชการ ประเด็นท่ี 5 ลดแออัด ลดรอคอย ลดปว่ ย ลดตาย ประเด็นการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) การบริบาลฟ้ืนสภาพระยะกลางแบบ Intermediate ward ในโรงพยาบาล ตัวชีว้ ัด (KPI) /ค่าเปา้ หมาย 1. รอ้ ยละของโรงพยาบาลระดับ M และ F ในจงั หวดั ทใ่ี ห้การบริบาลฟื้นสภาพระยะกลางแบบ ผู้ปว่ ยใน (intermediate bed / ward) มากกว่าร้อยละ 80 2. ร้อยละของผู้ป่วย Stroke, Traumatic Brain Injury และ Spinal Cord Injury ที่รอดชีวิตและ มีคะแนน Barthel index <15 รวมท้ังคะแนน Barthel index >15 with multiple impairment ได้รับการ บรบิ าลฟน้ื สภาพระยะกลาง และติดตามจนครบ 6 เดอื น หรือจน Barthel index = 20 มากกวา่ ร้อยละ 65 1.สถานการณ์ภาพรวม จังหวดั ลำปางมีโรงพยาบาลชุมชนแยกตามอำเภอทั้งส้ิน ๑๒ แห่ง มีการรับผู้ป่วยจาก รพ.ศูนย์ลำปาง ไปดูแลต่อในรูปแบบของ intermediate bed ทั้งสิ้น 11 รพ.ติดตามผลการดูแลส่งต่อผู้ป่วยเพื่อการดูแล intermediate care ผ่านโปรแกรม COC-link ของ รพ.ลำปาง จากน้ัน รพ.ชุมชนจะทำการดูแลต่อเน่ืองจบ ครบ 6 เดือน ในระหว่างท่ีผู้ป่วยกลับไปรับการรักษาฟื้นฟูที่ รพ.ชุมชนแล้ว 1 เดือน หากผู้ป่วยอาการไม่ดีข้ึน ใหส้ ง่ ต่อไปฟื้นฟู รพ.เวชชารักษ์ ซ่ึงใหบ้ รกิ ารแบบ IMC ward 2.แนวทาง / กิจกรรมและผลการดำเนินงาน 1. จดั ทำแนวทางการดูแลและการสง่ ต่อ ผ้ปู ว่ ย IMC ของจังหวดั ลำปาง จากโรงพยาบาลศูนย์ลำปาง โรงพยาบาลชุมชน ( admit for intensive rehab) และการส่งตอ่ ไปดูแลต่อที่โรงพยาบาลเวชชารกั ษ์ ลำปาง ในรปู แบบของ IMC bed 2. ทำแผนจัดหาวสั ดุ อปุ กรณใ์ นการบำบัดฟน้ื ฟใู หค้ รบ และพร้อมใช้งานในแตล่ ะโรงพยาบาล 3. บูรณาการแผนการพัฒนาศักยภาพบุคลากร และประชุมวิชาการ ร่วมกับเขตสุขภาพ โดยจะจัด อบรมฟื้นฟู หลักสตู ร 5 วัน ในวนั ท่ี 14-18 มิถนุ ายน 2564 และการประชมุ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การดำเนินงาน IMC เขตสขุ ภาพที่ 1 4. พฒั นาและตดิ ตามประเมนิ ผลการใช้งาน โปรแกรม COC-link 2020 เช่ือมข้อมูลกับโรงพยาบาล ชุมชน และApplication ต่างๆ ให้สามารถเชื่อมต่อข้อมูลได้ เพ่ือนำไปใช้ ประโยชน์ในการวาง แผนการดูแลตอ่ ไป 5. ประเมินผลการดูแลรักษา ฟ้ืนฟู และติดตามผู้ป่วย IMC ของจังหวัดลำปาง โดยรูปแบบ โครงการวจิ ัยของโรงพยาบาลเวชชารกั ษ์ ลำปาง ร่วมกับโรงพยาบาลทุกแห่งในจงั หวดั (อยู่ระหวา่ ง การดำเนนิ งาน ) สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
62 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง ข้อมูลผูป้ ่วย IMC ปีงบประมาณ 2564 ( ต.ค.63 – มิ.ย.64 ) โรค จำนวนผู้ปว่ ย ( ราย ) รอ้ ยละ Stroke 275 91.36 Traumatic Brain Injury (TBI ) 20 6.64 spinal cord injury (SCI ) 6 2.0 รวม 301 100 ขอ้ มูลการดแู ลผู้ปว่ ย IMC ที่ครบกำหนดการติดตาม 6 เดือน ( ติดตามผลลพั ธ์ ณ ม.ิ ย.64 ) โรค ผู้ปว่ ยท่ี ติดตาม ร้อยละ BI สูงข้ึน BI คงที่ BI ตำ่ ลง เสยี ชีวิต เข้าเกณฑ์ ครบ 6 เดือน 87.11 ราย รอ้ ยละ ราย รอ้ ยละ ราย รอ้ ยละ ราย ร้อยละ Stroke 256 81.82 TBI 22 223 123 55.16 61 27.35 1 0.45 38 17.04 SCI 5 100 11 61.11 4 22.22 00 3 16.67 รวม 283 18 86.93 3 60.0 2 40.0 00 00 137 55.69 67 27.24 1 0.41 41 16.67 5 246 3.ปญั หาอุปสรรค - การเข้ารบั บริการ IMC bed ท่ี รพช. (ไมเ่ ป็นไปตาม protocol) D/C ก่อน - รูปแบบของการดำเนนิ งานด้าน Intermediate Care ทที่ ำจรงิ เป็นแบบ OPD และเยย่ี มบ้าน แนวทางการพฒั นา พัฒนาศกั ยภาพ โรงพยาบาลชมุ ชน ในดา้ นการให้บรกิ าร ฟน้ื ฟู เพ่อื เพิ่มคณุ ภาพการดแู ลผปู้ ่วย ผู้รายงาน ตำแหน่ง นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ 1. นายกรกช วิจิตรจรสั แสง กลุม่ งานพฒั นาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง โทร 054 227527-106 E-mail: [email protected] 2. นางปทุมพร ทวีวฒั น์ ตำแหน่ง นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ กลมุ่ งานพฒั นาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง โทร 054 227527-106 E-mail: [email protected] สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
63 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง Functional based ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 5 ลดแออดั ลดรอคอย ลดปว่ ย ลดตาย ประเด็น: การพฒั นาระบบบริการสุขภาพ (Health Outcome) สาขาหวั ใจ 1. ลดอตั ราตายของผปู้ ว่ ยโรคกลา้ มเนื้อหวั ใจขาดเลือดเฉียบพลนั ชนิด STEMI 2. พัฒนาระบบการดแู ลผ้ปู ว่ ยโรคกล้ามเนือ้ หวั ใจขาดเลอื ดเฉยี บพลนั ชนิด STEMI ให้ดยี ง่ิ ข้ึน ตวั ชว้ี ดั (KPI) /คา่ เปา้ หมาย 1. อัตราตายของผปู้ ่วยโรคกล้ามเนอ้ื หัวใจขาดเลือดเฉยี บพลนั ชนดิ STEMI < 9 % 2. ร้อยละของการใหก้ ารรกั ษาผูป้ ่วยโรคกล้ามเนื้อหวั ใจขาดเลือดเฉียบพลนั ชนิด STEMI ได้ตาม มาตรฐานเวลาท่ีกำหนด > 60 % 1. สถานการณ์/วิเคราะหบ์ รบิ ท/ปญั หา /แนวทางแก้ไข โรงพยาบาลลำปางเป็นศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางโรคหัวใจ ให้บริการด้านโรคหัวใจตลอด 24 ช่ัวโมง (24 /7) ให้แก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบเครือข่ายบริการสขุ ภาพที่ 1 ล้านนา 2 ( ลำปาง แพร่ และน่าน) และ ประชาชนนอกเครือข่ายอย่างครบวงจร ด้วยทีมบุคลากรสหสาขาวิชาชีพที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางครบทุก ด้าน โดยมีอายุรแพทย์โรคหัวใจจำนวน 2 คน, อายุรแพทย์ท่ัวไปช่วยงานหัวใจ 1 คน, Interventional cardiologist 4 คน, ศลั ยแพทยห์ ัวใจหลอดเลือดและทรวงอก 3 คน, กมุ ารแพทย์โรคหวั ใจ 1 คนและวสิ ญั ญีแพทย์เฉพาะทาง หัวใจ 2 คนและทีมปฏิบัติการ ให้บริการด้วยเคร่ืองมือท่ีทันสมัย มีห้องปฏิบัติการสวนหัวใจ 2 ห้อง ห้องผ่าตัด หัวใจ 2 ห้อง และมีหอผู้ป่วยที่ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดทั้งระยะวิกฤตและสามัญท่ีมีความพร้อม คลนิ กิ เฉพาะทางที่ดแู ลติดตามต่อเนื่อง และระบบการใหบ้ ริการแบบเครือขา่ ย ปญั หา 1. STEMI 1.1 อตั ราการเสียชีวติ ในโรงพยาบาลของผู้ปว่ ย STEMI อยใู่ นอัตราคอ่ นข้างสงู - ปีงบประมาณ 2563 อัตราการเสียชีวิตท้ังจังหวัด = 11.34% (28 /247 ราย) วิเคราะห์แล้ว 75% เกิดจาก Cardiac complication, 25% Atypical presentation,60% จาก Multiple medical problems, 60% Active smoker ได้มีการพัฒนาระบบการให้บริการร่วมกันในจังหวัด ทั้งระบบการ Consult การให้บรกิ ารระบบการ Referและการประชาสัมพันธ์การใชบ้ ริการ 1669 ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพย่งิ ข้ึน - ปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63 – พ.ค.64) อัตราการเสียชีวิตทั้งจังหวัด = 13.8% (24/173 ราย) โดยเป็นผู้ปว่ ยเสยี ชีวติ ที่ รพช. 3 ราย, ในรพ.ลำปาง 20 รายและเสยี ชีวิตระหว่างการ Refer จาก รพช.มารพ.ลำปาง 1 ราย วเิ คราะห์จาก System factors, Patient factors และ Treatment factors ได้ ดงั กราฟ สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
64 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
65 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง -Transfer delay 35% (8/23) วิเคราะห์แล้วพบว่า เกิดจากผู้ป่วยมี Cardiogenic shock ที่ ER ของ โรงพยาบาลแรก ต้องใหก้ ารใส่ Endotracheal tube และให้การช่วยเหลือกอ่ น Refer (2 ครัง้ : เกาะคา, งาว), ผู้ป่วย Arrest ต้อง CPR และให้การช่วยเหลือก่อน Refer (1 ครั้ง : เกาะคา), ขณะรอ Serial ECG ผู้ป่วย Arrest ทำ CPR แล้วผู้ป่วยเสียชีวิตที่ ER (1 ครั้ง : แม่ทะ), FMC-ECG แผ่นแรก ใช้เวลา 50 นาที วินิจฉัย NSTEMI (R/O Recent MI) with CHF แล้ว Refer ทำ ECG ซ้ำท่ี รพ.ศ ST elevate at V4-V6 แพทย์ CCU consult Interventionist วินิจฉัย STEMI ทำ Primary PCI แต่ผู้ป่วยเสียชีวิตจาก HAP (1 ครั้ง : เกาะคา) , รพ.ลำปาง ผู้ป่วยเหนื่อย พ่นยา On Endotracheal tube แล้ว Arrest ที่ ER รพ.ลำปาง ทำ CPR ก่อนส่งต่อ CCU และทำ Primary PCI (Diagnosis STEMI – wire crossing 135 นาที) ส่วนของรพ.เถิน (2 คร้ัง) โดย ระบบ แพทย์เวร (GP) จะต้อง Consult Med มาดูผู้ป่วย อ่าน ECG และทำ Echocardiogram ทุกรายก่อน Consult Cardiologist ซ่ึงช่วยในการตัดสินใจให้การรักษาผู้ป่วยได้ก่อน Refer และลดระยะเวลาที่ Cardiologist ต้องมาทำ Echo ที่รพศ. ซึ่งใช้เวลามากอยู่แล้ว รวมถึงต้องให้การช่วยเหลือผู้ป่วยอาการหนัก กอ่ น Refer สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการรอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
66 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง -ได้มีการพัฒนาระบบการให้บริการร่วมกันในจังหวัด ทั้งระบบการ Consult การให้บริการ ระบบการ Refer และการประชาสัมพันธก์ ารใช้บริการ 1669 ให้มีประสทิ ธิภาพยงิ่ ข้ึน รวมถงึ พัฒนาแบบฟอร์มในการเก็บ ข้อมูล STEMI Timeline Sheet ให้เป็นแบบฟอร์มเดียวกันโดยมีการชี้แจงและใช้นิยามเดียวกันในการเก็บ ข้อมูล เพ่ือให้สามารถนำข้อมูลมาใช้วิเคราะห์และพัฒนาระบบการให้บริการของแต่ละโรงพยาบาลและใน ภาพรวมของจังหวัดลำปางได้ (เรม่ิ ใช้ 1 มีนาคม 2564) 1.2. รอ้ ยละของการให้การรักษาผู้ป่วยโรคกล้ามเน้ือหวั ใจขาดเลอื ดเฉียบพลันชนิด STEMI ได้ตาม มาตรฐานเวลาทีก่ ำหนด > 60 % มแี นวโน้มเพม่ิ ขึน้ ใกล้ถึงเปา้ หมาย - ปีงบประมาณ 2563 ร้อยละของการให้การรักษาผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิด STEMI ท่ีมีข้อบ่งชี้โดยการให้ Fibrinolytic agent ภายใน 30 นาที และ หรือ การทำ Primary PCI ภายใน 120 นาที นับตงั้ แตไ่ ดร้ ับการวนิ ิจฉัย STEMI ทัง้ จังหวดั = 47.3% (88 /186 ราย) - ปงี บประมาณ 2564 (ต.ค.63 – พ.ค.64) รอ้ ยละของการใหก้ ารรักษาผปู้ ่วยโรคกล้ามเน้ือหัวใจขาด เลือดเฉียบพลันชนิด STEMI ท่ีมีข้อบ่งชี้โดยการให้ Fibrinolytic agent ภายใน 30 นาที และ หรือ การทำ Primary PCI ภายใน 120 นาที นับต้ังแตไ่ ดร้ ับการวนิ ิจฉยั STEMI ท้ังจงั หวดั = 53.7% (66 /123 ราย) สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
67 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
68 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง 1.3 อัตราการเปดิ หลอดเลือดหวั ใจ (Reperfusion therapy) สูงกว่าเกณฑเ์ ปา้ หมาย > 95% - ปีงบประมาณ 2563 อัตราการเปิดหลอดเลือดหัวใจในผู้ป่วย STEMI ที่มีข้อบ่งชี้ = 97.38% (186 / 191 ราย) ซ่ึงเป็นการให้ยาละลายล่ิมเลือดจำนวน 22 ราย และการทำ Primary PCI จำนวน 164 ราย - ปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63 – พ.ค.64) อัตราการเปิดหลอดเลือดหัวใจในผู้ป่วย STEMI ที่ มี ข้อ บ่ งชี้ = 97.6% (123/126 ราย) ซ่ึ งเป็ น การให้ ยาล ะล ายล่ิม เลื อด จำน วน 18 ราย แล ะ การทำ Primary PCI จำนวน 105 ราย สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
69 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง 1.4 ผปู้ ว่ ยเข้าถึงบริการ 1669 เพ่ิมมากขึ้น (เกณฑ์ > 20%) - ปีงบประมาณ 2563 อัตราการใช้บริการ 1669 ของผู้ป่วย STEMI ทั้งจังหวัด = 10.1% - ปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63 – พ.ค.64) มีอัตราการการใช้บริการ 1669 ของผู้ป่วย STEMI ทั้งจังหวัด = 10.1% โดยพบว่า 89.9% ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลเอง / ญาตินำส่ง/โดยรถส่วนตัว จึงต้อง มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงการใช้บริการ 1669 ให้มากขึ้นและอย่างต่อเนื่อง ตอ่ ไป 2. NSTEMI ● อตั ราการเสยี ชีวติ ในโรงพยาบาลของผู้ป่วย NSTEMI อย่ใู นอัตราค่อนขา้ งสูง แต่มีแนวโนม้ ลดลง - ปีงบประมาณ 2563 อัตราการเสียชีวิตท้ังจังหวัด = 7.8% ได้มีการพัฒนาระบบการ ให้ บ ริก ารร่วม กั น ใน จั งห วัด ทั้ งระบ บ ก าร Consult ก ารให้ บ ริก ารแ ล ะ ระบ บ ก าร Refer ให้ มี ประสิทธิภ าพ ย่ิงขึ้น โดยเฉพ าะอย่างย่ิงการจัดให้มียา Enoxaparin ชนิดฉีดอยู่ในบั ญ ชียาของ โรงพยาบาลทุกระดบั ในจงั หวัดลำปาง มกี ารจัดหายาไว้ทกุ โรงพยาบาล การทำแนวทางการรักษา NSTEMI ของ จังหวัดลำปางเพื่อ Triage ผู้ป่วย ให้ทุกโรงพยาบาลสามารถให้การรักษาดูแลผู้ป่วยNSTEMI ได้ตามความ รุนแรงจากการประเมิน GRACE risk score ผ่านระบบ Consult และระบบ Refer เพิ่มการเข้าถึงการรักษา โดยการทำ CAG /PCI ในผปู้ ่วย NSTEMI high risk / very high risk ทุกราย in admission ตลอด 24 / 7 - ปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63 – ม.ี ค.64) อตั ราการเสียชีวิตท้ังจังหวดั = 7.3% (26 / 358 ราย) วิเคราะห์จาก System factors, Patient factors และ Treatment factors ได้ดังกราฟ สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง ตรวจราชการรอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
70 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง 3. Heart failure ● อัตราการเสยี ชีวติ ในโรงพยาบาลของผู้ป่วย Heart failure - ปีงบประมาณ 2563 = 3.65% (31 / 849 ราย) - ปงี บประมาณ 2564 (ต.ค.63 – ก.พ.64) อตั ราการเสยี ชีวติ ท้งั จงั หวัด = 1.1% (6 / 565 ราย) สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการรอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
71 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง 2. แนวทาง / กจิ กรรมและผลการดำเนินงาน (เพิม่ เตมิ จากข้อ 1) สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการรอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
72 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
73 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
74 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
75 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
76 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง 3. ปญั หาอปุ สรรคและแนวทางแก้ไข 4. แผนการดำเนนิ การตอ่ ไป ผรู้ ายงาน : 1. นพ.ยศวรี ์ โชตชิ ่วง ประธานคณะกรรมการ Service Plan สาขาโรคหัวใจ จังหวดั ลำปาง E-mail : [email protected] โทรศพั ท์ : 09 1414 7191 2. นางสุกัญญา ปัญญาสขุ เลขานุการคณะกรรมการ Service Plan สาขาโรคหัวใจ จังหวดั ลำปาง E-mail : [email protected] โทรศพั ท์ : 08 8253 4136 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการรอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
77 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง Functional based ประเดน็ การตรวจราชการ ประเดน็ ที่ 5 ลดแออัด ลดรอคอย ลดป่วย ลดตาย ประเด็นการพฒั นาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขามะเร็ง ตัวชวี้ ดั (KPI) /คา่ เปา้ หมาย Monitor ตวั ชวี้ ัด ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมบี ำบัด รังสรี กั ษา ของมะเรง็ 5 อันดบั แรก (1) รอ้ ยละของผ้ปู ว่ ยทไี่ ด้รับการรกั ษาด้วยการผา่ ตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ≥ 70% (2) รอ้ ยละของผูป้ ว่ ยทไี่ ด้รบั การรกั ษาดว้ ยเคมบี ำบดั ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ 70% (3) รอ้ ยละของผู้ปว่ ยที่ไดร้ ับการรักษาดว้ ยรงั สรี กั ษาภายในระยะเวลา 6 สปั ดาห์ ≥ 60% ขอ้ มูลสถิติ อัตราการเสยี ชีวิตจากโรคมะเร็งสงู สดุ 5 ตำแหน่งแรก ปี 2562 – 2564 ซ่ึงมีแนวโนม้ มะเร็งปอด มะเรง็ ตบั และมะเร็งลำไสก้ ารเสียชวี ิตลดลง จำนวนผเู้ สยี ชวี ติ และอตั รา : 100,000 ประชากร จำแนกโรคมะเร็งสาเหตกุ ารตาย 5 อนั ดับ ปงี บประมาณ 2562-2564 (ตุลาคม - มถิ ุนายน2564) จังหวัดลำปาง สาเหตุการตายโรคมะเร็ง 5 ลำดบั 2562 สาเหตุการตายโรคมะเรง็ 5 ลำดบั 2563 สาเหตุการตายโรคมะเร็ง 5 2564 (1ต.ค. ลำดับ 63 – มิ.ย.64) รวม อตั รา รวม อัตรา รวม อตั รา 034 : เนอื้ งอกรา้ ยทหี่ ลอดคอ 034 : เนื้องอกรา้ ยทห่ี ลอดคอ 034 : เน้อื งอกรา้ ยทหี่ ลอดคอ หลอดลมใหญ่และปอด (C33- 295 40.00 หลอดลมใหญ่และปอด (C33- 290 39.40 หลอดลมใหญ่และปอด 206 27.99 C34) C34) (C33-C34) 031 : เนอื้ งอกร้ายทต่ี ับและทอ่ 158 21.42 031 : เนอ้ื งอกรา้ ยทต่ี ับและทอ่ 174 23.64 031 : เนื้องอกรา้ ยทตี่ บั และ 112 15.22 น้ำดีในตบั (C22) น้ำดใี นตบั (C22) ท่อน้ำดีในตับ (C22) 030 : เนื้องอกรา้ ยทล่ี ำไสใ้ หญ่ 030 : เนอ้ื งอกรา้ ยทลี่ ำไส้ใหญ่ 030 : เน้อื งอกร้ายทล่ี ำไส้ เร็คตัมและทวารหนกั (C18-C21) 55 7.46 เร็คตมั และทวารหนัก (C18-C21) 78 10.60 ใหญ่ เรค็ ตมั และทวารหนกั 51 6.93 (C18-C21) 036 : เนอ้ื งอกรา้ ยทเี่ ตา้ นม ชาย/ 54 7.32 036 : เนอ้ื งอกรา้ ยทเี่ ตา้ นม ชาย/ 51 6.93 036 : เนอื้ งอกรา้ ยทเ่ี ตา้ นม 37 5.03 หญิง (C50) หญิง (C50) ชาย/หญงิ (C50) 029 : เน้ืองอกร้ายทีก่ ระเพาะ 31 4.20 045 : ลิวคีเมีย (C91-C95) 42 5.71 029 : เนื้องอกร้ายที่กระเพาะ 35 4.76 อาหาร (C16) อาหาร (C16) แหล่งขอ้ มูล : รายงานการตายตามทะเบียนราษฎร์ ประชากรท่มี ีทะเบยี นในจังหวดั ลำปาง 1. สถานการณ์/วเิ คราะห์บริบท/ปัญหา ในปี 2564 Service plan สาขามะเร็ง จังหวัดลำปาง มีแผนการดำเนินการตาม 7 ยุทธศาสตร์ ด้าน โรคมะเร็งของกระทรวงสาธารณสุข มุ่งเน้นการพัฒนาการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง อย่างต่อเน่ืองครบวงจร ภายในจังหวัด ต้งั แตก่ ารรณรงค์ป้องกนั การตรวจคัดกรอง การตรวจวินจิ ฉัย การรักษา และการดแู ลตอ่ เน่อื ง จนถึงวาระสุดท้ายของผู้ป่วยโรคมะเร็ง อย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าประสงค์หลัก เพ่ือลดอัตราตาย ลดอัตราป่วย ลดระยะเวลาการรอคอย ผู้ปว่ ยมะเร็งสามารถเขา้ ถงึ บริการท่ีมีคุณภาพ ได้มาตรฐานถูกตอ้ ง ทันเวลา และท่ัวถึง โดยคาดหวัง ลดอุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็ง มีการจัดทำแผนการพัฒนาและติดตาม ผลการดำเนินการ โดยใช้ 6BB มกี ารกำหนด OKR ในการให้บริการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง นอกจากน้ียังมีกิจกรรม โครงการตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ในการให้บริการดแู ลรกั ษาผปู้ ่วยโรคมะเร็ง ต่างๆ โดย ปี 2564 มีแผนการดำเนนิ กิจกรรม ได้แก่ 1. การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรกี ล่มุ เป้าหมายอายุ 30-70 ปี 2. การตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลูกในสตรกี ลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ด้วยวิธี HPV DNA test สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
78 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง 3. การตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง โดยการตรวจหาเลือดแฝงใน อุจจาระใน กลุ่มเปา้ หมาย อายุ 50 ปีขน้ึ ไป 4. การตรวจคัดกรองมะเร็งตับและท่อน้ำดี ด้วยการตรวจหาไข่พยาธิในอุจจาระและการตรวจ อัลตร้าซาวด์ การพฒั นา Service plan สาขามะเร็ง จังหวดั ลำปาง ปี 2564 โดยใช้ OKR ดงั นี้ OKRs Cancer จังหวัดลำปาง ปี 2564 O1 ผูป้ ว่ ยสงสัยมะเรง็ เต้านมหรือมะเร็งลำไส้ใหญ่มีระยะเวลารอคอยการวนิ จิ ฉัยน้อยลง KR1.1 ได้รับผลพยาธวิ ทิ ยาเบ้อื งตน้ ภายใน 1 สปั ดาห์>90% KR1.2 ได้รับการตรวจ ultrasound หรือ CT scan for staging ภายใน 3 สัปดาห์ ≥90% O2 ลดระยะเวลารอคอยในการเข้ารับการรักษาโรคมะเร็งเต้านมหรือมะเร็งลำไส้ใหญ่และ ดำเนิน นโยบายตามโครงการ Cancer Anywhere KR2.1 ระยะเวลารอคอยการผ่าตัด < 4 สัปดาห์ > 80% KR2.2 ระยะเวลารอคอยการรักษาดว้ ยยาเคมีบำบัด < 6 สัปดาห์ > 80% KPI monitor ปี 2564 1. การวนิ ิจฉยั ทางพยาธวิ ทิ ยาเบ้ืองต้น ภายใน 1 สปั ดาห์ ≥ 90% 2. การตรวจ ultrasound หรอื CT scan for staging ภายใน 3 สัปดาห์ > 90% 3. ระยะเวลารอคอยการผ่าตัด < 4 สัปดาห์ > 80% 4. ระยะเวลารอคอยการรักษาด้วยยาเคมบี ำบดั < 6 สปั ดาห์ > 80% 2.แนวทาง/กิจกรรมและผลการดำเนนิ งาน การดำเนินกิจกรรม และผลการดำเนินการ ด้านการตรวจคัดกรองมะเร็ง บางกจิ กรรม ยังไม่ผ่านเกณฑ์ เนือ่ งจากสถานการณก์ ารเฝ้าระวงั ปอ้ งกันการแพร่กระจายเชื้อไวรัส COVID-19 ผลการดำเนินการ ด้านการตรวจวินิจฉัยโรค การตรวจพิสูจน์ช้ินเน้ือ การตรวจด้วยวิธีต่างๆในการ วินิจฉัยระยะของโรค (stage) ซ่ึงมีความสำคัญต่อการวางแผนการรักษาและการพยากรณ์โรค และด้านการ รักษาโรคมะเร็ง ด้วยวิธีการหลัก ท้ังการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษา รพ.ลำปาง มีผลการดำเนินการใน ไตรมาส 1-3 อยู่ในเกณฑ์เป้าหมาย และมีการพัฒนาคุณภาพการดำเนินการให้ รพ.ระดับ M2 รพ.เถิน และ รพ.เกาะคา พัฒนาการเก็บตัวช้ีวัด ด้านการตรวจวินิจฉัยโรค ด้านการรักษาโรคมะเร็ง ด้วย ซ่ึงอยู่ระหว่างการ เก็บรวบรวมขอ้ มลู และวเิ คราะหผ์ ลการดำเนนิ การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
79 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง ตวั ชว้ี ดั สตรกี ลุม่ เป้าหมาย (30-60ปี) ไดร้ ับการคัดกรองมะเรง็ ปากมดลูก (รอ้ ยละ 40 สะสมปี 63-64) 100 80 60 53.61 52.67 47.62 44.29 40.35 39.49 37.72 34.72 33.61 32.97 32.27 29.94 32.89 40 19.13 20 0 ตัวชี้วัด สตรีกลมุ่ เป้าหมาย (30-70 ปี) ได้รบั การคดั กรองมะเร็งเตา้ นม (รอ้ ยละ 80) 100 BSE CBE 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288