บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ตารางที่ 30 ข้อคิดเห็นของกลุ่มผู้บริหารสถานศึกษาและกลุ่มผู้สอน ต่อการดำ�เนินการของครูใน การนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผ้เู รียนสกู่ ารปฏิบตั ิในชน้ั เรียน ผใู้ ห้ข้อมลู ความคิดเหน็ กล่มุ ผู้บรหิ าร ดา้ นการด�ำ เนนิ การ - จัดประชุมชี้แจงทำ�ความเข้าใจ มอบหมายงาน จับคู่ระหว่างท่ีครูที่มาอบรม กบั ครทู ไี่ มไ่ ด้มาเขา้ อบรม ผูบ้ ริหารนเิ ทศตดิ ตามเป็นครัง้ คราว - จดั กิจกรรม PLC เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจใหต้ รงกนั - นำ�ความรู้ความเข้าใจไปประชุมชี้แจงครู และให้ครูได้ดำ�เนินการตามกรอบ สมรรถนะหลกั - ประชมุ ครู เพอ่ื ตีความและศกึ ษา โดยรว่ มกำ�หนดสมรรถนะหลัก และสมรรถนะ ยอ่ ย ๆ ใหเ้ ปน็ รูปธรรมและเขา้ ใจไปในทิศทางเดยี วกัน - ใหก้ ำ�ลังใจ และเป็นทีป่ รึกษา - ใหค้ รทู ที่ �ำ แผนการสอนไดด้ ชี ว่ ยแนะน�ำ เมอื่ เสรจ็ สน้ิ การสอนทกุ ครง้ั มกี ารประเมนิ แลกเปลย่ี นความคิดเห็นรว่ มกนั - แบ่งปนั ความรรู้ ะหวา่ งเพื่อนครใู นการจัดรปู แบบกจิ กรรมใหม่ ๆ ท่ีหลากหลาย ทส่ี ่งเสริมการพฒั นาสมรรถนะ - จบั คูร่ ะหวา่ งครทู ่มี าอบรมกบั ครทู ่ไี มไ่ ดม้ าอบรมเพอ่ื เป็นพ่เี ล้ียง - จัดกล่มุ สมรรถนะใหอ้ ยูใ่ นประเภทเดยี วกันเพอ่ื ง่ายต่อการใช้งาน - ตรวจแผนการสอนและดำ�เนินการสอนคู่กับครู เพื่อให้ครูมั่นใจว่าสิ่งที่กำ�ลัง ทำ�นั้นมาถกู ทาง - จัดประชุมเพื่อประเมินแผนของครูท่านอ่ืน และช่วยกันเติมสมรรถนะต่าง ๆ ใหม้ ากขนึ้ ในแตล่ ะแผน - มกี ารประเมนิ ร่วมกัน แลกเปลยี่ นความคดิ เห็นเพื่อให้เกิดความถกู ตอ้ ง - ประชุมครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-3 ทุกคนเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับครู ทไ่ี มไ่ ด้รับการอบรม 170รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ตารางท่ี 30 ขอ้ คดิ เหน็ ของกลมุ่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและกลมุ่ ผสู้ อน ตอ่ การด�ำ เนนิ การของครใู นการน�ำ กรอบสมรรถนะหลักของผูเ้ รยี นสู่การปฏบิ ตั ิในชน้ั เรยี น (ตอ่ ) ผใู้ ห้ขอ้ มลู ความคดิ เห็น กลมุ่ ผบู้ ริหาร ดา้ นการน�ำ ไปใช้ของครู (ตอ่ ) - ครสู ามารถน�ำ ไปใช้ได้ - ครรู ู้สึกตื่นเต้นและทา้ ทายในการจัดการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ - ไดน้ �ำ มาใช้เพียงเล็กน้อยเท่านน้ั และท�ำ ไม่ครบทุกแบบ เนอื่ งจากมภี าระตดิ พนั จำ�นวนมาก และครูตอ้ งลงมอื ปฏิบัติเอง ยังขาดการปรึกษาหารือและรว่ มมอื กนั อยา่ งตอ่ เน่ือง - นำ�ไปใช้ได้ แตม่ ขี อ้ จำ�กดั เรื่องภาระงานของครทู ี่มีมากเกนิ ไป - ครูนำ�สมรรถนะท้ังหมดท้ังหมดมาคล่ีและละจัดเรียงให้อยู่ในท่ีเดียวกันเพื่อง่าย ตอ่ การใช้งาน - ครดู ำ�เนินการเขยี นแผนการสอน ส่งใหผ้ บู้ ริหารสถานศกึ ษาตรวจ - จัดประชุมเพื่อประเมินแผนการสอนของครูท่านอ่ืน และช่วยกันเติมสมรรถนะ ต่าง ๆ ใหม้ ากขน้ึ ในแตล่ ะแผน - มอบหมายงานใหค้ รทู กุ คน ใช้แนวทางทงั้ 4 แบบ - มกี ารประเมินร่วมกนั แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ เพ่ือให้เกิดความถูกต้อง แนวทางการแก้ไขกรณีครปู ฏบิ ตั ไิ ม่ได้ - ครรู วมกลมุ่ ท�ำ PLC อยา่ งเขม้ แขง็ เพอ่ื สรา้ งชมุ ชนการเรยี นรกู้ ารจดั การเรยี นการ สอนบนฐานสมรรถนะไปพร้อมกนั - ลดภาระงานของครู และประชุมปรึกษาหารือกันทั้งแบบเป็นทางการและแบบ กลั ยาณมิตร กลมุ่ ครผู ูส้ อน ด้านการดำ�เนนิ การ - การประชมุ วางแผนกับทมี งาน - การบรู ณาการสมรรถนะกับนโยบายของโรงเรียน - การคดั เลือกครูผูส้ อน - การกำ�กบั ตดิ ตาม - การจัดการเรียนการสอนตามกรอบสมรรถนะหลักให้นักเรียนมีโอกาสได้ ลงมือปฏบิ ัติมากขนึ้ - การจดั การเรยี นการสอนตอ้ งเชอ่ื มโยงกบั สมรรถนะทน่ี กั เรยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ - การวัดผลการเรียนรู้ เป็นการรวมการวัดผลตามตัวช้ีวัดกับการวัดสมรรถนะ เข้าด้วยกัน มีการประเมินตามสภาพจริงมากขึ้น ไม่ต้องจัดให้มีการสอบ เช่น ประเมินเร่ืองการพูดหน้าชั้นของนักเรียนได้เลย เพราะมีกิจกรรมน้ีบ่อยครั้งข้ึน ไม่ตอ้ งนดั นักเรียนมาสอบพดู หน้าช้ันอกี 171รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู จากตารางที่ 30 กลมุ่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา พบว่า ด้านการดำ�เนินการ มกี ารจดั ประชุมชี้แจง ท�ำ ความเขา้ ใจ โดยรว่ มก�ำ หนดสมรรถนะหลกั และสมรรถนะยอ่ ย มอบหมายงานและใหค้ รไู ดด้ �ำ เนนิ การ ตามกรอบสมรรถนะหลกั จบั ครู่ ะหวา่ งครทู ม่ี าอบรมกบั ครทู ไ่ี มไ่ ดม้ าอบรม ผบู้ รหิ ารนเิ ทศตดิ ตามเปน็ ครั้งคราว จัดกิจกรรมสร้างชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ เพื่อสร้างความเข้าใจให้ตรงกัน ให้กำ�ลังใจ และเป็นที่ปรึกษาให้ครูท่ีทำ�แผนการสอน ประเมินการสอนร่วมกัน แลกเปล่ียนความคิดเห็นซ่ึงกัน และกัน แบ่งปันความรู้ระหว่างเพื่อนครูในการจัดรูปแบบกิจกรรมท่ีส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะ การประเมินผลการปฏิบัติงานร่วมกัน ส่วนด้านการนำ�ไปใช้ของครูจากความคิดเห็นของผู้บริหาร สถานศึกษา พบว่า ครูสามารถนำ�ไปใช้ได้ ครูรู้สึกตื่นเต้นและท้าทายในการจัดการเรียนการสอน บนฐานสมรรถนะ ครนู �ำ สมรรถนะทงั้ หมดมาคลแ่ี ละจดั เรยี งทงั้ หมดเพอ่ื งา่ ยตอ่ การใชง้ าน ใชแ้ นวทาง ทงั้ 4 แบบ และบางแหง่ ใชไ้ มค่ รบทกุ แบบ เนอื่ งจากภาระงานของครทู มี่ มี ากเกนิ ไป บางโรงเรยี นยงั ขาด การปรกึ ษาหารอื และรว่ มมอื กนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ครดู �ำ เนนิ การเขยี นแผนการสอน สง่ ใหผ้ บู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ตรวจ จดั ประชมุ เพอื่ ประเมนิ แผนการสอนของครแู ละแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความถกู ตอ้ ง สว่ นดา้ นแนวทางการแกไ้ ขกรณคี รปู ฏบิ ตั ไิ มไ่ ด้ พบวา่ ครรู วมกลมุ่ ท�ำ PLC อยา่ งเขม้ แขง็ เพอื่ สรา้ งชมุ ชน การเรียนรูใ้ นการจดั การเรียนการสอนบนฐานสมรรถนะไปพรอ้ มกัน การช่วยลดภาระงานของครู และประชมุ ปรกึ ษาหารอื กนั ท้ังแบบเป็นพิธีการและแบบกลั ยาณมติ รเพ่ือใหค้ วามชว่ ยเหลือ กลุ่มครผู สู้ อน พบวา่ มกี ารประชมุ วางแผนกับทมี งาน การบรู ณาการสมรรถนะกับนโยบาย ของโรงเรยี นและการก�ำ กบั ตดิ ตาม การคดั เลอื กครผู สู้ อน การจดั การเรยี นการสอนตามกรอบสมรรถนะ หลักให้นักเรียนมีโอกาสได้ลงมือปฏิบัติมากขึ้น การจัดการเรียนการสอนต้องเชื่อมโยงกับสมรรถนะ ที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง การวัดผลการเรียนรู้เป็นการวัดผลตามตัวชี้วัดกับการวัดสมรรถนะ เขา้ ด้วยกนั มกี ารประเมนิ ตามสภาพจรงิ มากขึน้ ตารางท่ี 31 ข้อคดิ เห็นของผู้บริหารสถานศกึ ษาและกลมุ่ ครผู สู้ อน ตอ่ ความแตกตา่ งในการท�ำ งาน ของครทู น่ี �ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นงานการออกแบบหนว่ ยการเรยี นรกู้ ารจดั การเรยี น การสอนและการประเมินผลการเรยี นรู้ ผู้ให้ขอ้ มลู ความคิดเหน็ กลุ่มผบู้ รหิ าร - หลกั สตู รฐานสมรรถนะมีความยดื หยนุ่ สงู กวา่ และเปิดโอกาสครใู ห้ได้คิดวธิ ี และแนวทางในการจัดการเรยี นการสอนรปู แบบใหม่ ๆ เพม่ิ ข้ึน - ครมู ีการเปลย่ี นแปลงตัวเองในการวางแผนการจัดการเรยี นรู้ - ครูมีการเรียนรู้โดยร่วมมือกันในการเปลี่ยนแปลงตนเองเพ่ือพัฒนาการ จัดการเรยี นการสอน - มเี ทคนิคการสอน การใช้ส่ือและสถานการณ์ต่าง ๆ ในการจัดการเรยี นรู้ - มีความกระตือรือร้นและยืดหยุ่นในการแก้ปัญหาขยันทำ�กิจกรรมที่ทำ�ให้ นกั เรยี นมีความสขุ และมเี จตคติทีด่ ใี นการเรยี นรมู้ ากข้นึ - ครมู ีความเครียดกับเนือ้ หาวชิ าลดลง 172รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ตารางที่ 31 ข้อคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและกลุ่มครูผู้สอน ต่อความแตกต่างในการทำ�งาน ของครูท่ีนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ในงานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้การจัดการเรียน การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ (ตอ่ ) ผใู้ ห้ข้อมูล ความคิดเหน็ กลมุ่ ครผู ู้สอน ดา้ นการออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ - จดั ท�ำ แผนการเรยี นร้ทู ลี่ ะเอียดมากขึ้น - ออกแบบกจิ กรรมที่มีความหลากหลายและสอดคล้องกบั สมรรถนะ - ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรแู้ บบบูรณาการกับรปู แบบเฉพาะของโรงเรียน ด้านการจัดการเรียนการสอน - นักเรียนสนุกสนาน สนใจเรยี นมากขึ้น - นกั เรยี นได้ทำ�งานเป็นกลุม่ มากขนึ้ - ดำ�เนินการจัดการเรียนการสอนที่กำ�หนดไว้มากข้ึน ครูจัดกิจกรรมเพื่อให้ นกั เรียนเกดิ สมรรถนะ ด้านการประเมินผลการเรยี นรู้ - การประเมนิ ผลยังไมช่ ดั เจนและใช้เวลามาก - ผบู้ รหิ ารบูรณาการสมรรถนะกับนโยบายของโรงเรยี น - การจดั การเรียนการสอนตามกรอบสมมรรถนะหลกั นกั เรียนมโี อกาสไดล้ งมือ ปฏบิ ตั ิมากขึ้น - การจัดการเรียนการสอนต้องเชื่อมโยงกับสมรรถนะ ส่วนมากเป็นกิจกรรมท่ี นกั เรยี นต้องได้ลงมือปฏิบัตจิ ริง - การวดั ผลการเรยี นรนู้ นั้ เปน็ การรวมการวัดผลตวั ชีว้ ดั กบั การวดั สมรรถนะเขา้ ด้วยกนั - มีการประเมนิ ตามสภาพจริงมากขนึ้ ไมต่ อ้ งจดั ให้มีการสอบ เชน่ ประเมนิ เรอ่ื ง การพูดหน้าชั้นของนักเรียนได้เลย เพราะมีกิจกรรมน้ีบ่อยครั้งขึ้น ไม่ต้องนัด นักเรยี นมาสอบพดู หน้าชัน้ อกี จากตารางที่ 31 ข้อแตกต่างในการทำ�งานของครูในการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ ในดา้ นการออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ การจดั การเรยี นการสอน และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ พบวา่ กลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา มีความเห็นโดยสรุปว่า หลักสูตรฐานสมรรถนะมีความยืดหยุ่นสูงกว่า และเปิดโอกาสให้ครูได้คิดวิธีและแนวทางในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ ๆ เพิ่มข้ึน ครูมี การเปล่ียนแปลงตัวเองในการวางแผนการออกแบบการเรียนรู้ ครูเรียนรู้โดยร่วมมือกัน ในการเปลี่ยนแปลงตนเองเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน มีเทคนิคในการสอน การใช้สื่อและ สถานการณ์ต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีความกระตือรือร้นและยืดหยุ่นในการแก้ปัญหา ครูมีความเครียดกับเน้ือหาวิชาลดลง ขยันทำ�กิจกรรมที่ทำ�ให้นักเรียนมีความสุขและมีเจตคติ ทดี่ ีในการเรียนรู้มากขนึ้ 173รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล กลุ่มครูผู้สอน พบว่า ด้านการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ครูจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ ท่ีละเอียดมากขน้ึ ออกแบบกจิ กรรมที่มีความหลากหลายและสอดคล้องกับสมรรถนะ และออกแบบ หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการกับรูปแบบเฉพาะของโรงเรียน ด้านการจัดการเรียนการสอน นักเรียนสนุกสนาน สนใจเรียนมากขึ้น ได้ทำ�งานเป็นกลุ่มมากขึ้น ดำ�เนินการจัดการเรียนการสอน ที่กำ�หนดไว้มากข้ึน ครูสอนตามกรอบสมมรรถนะหลัก จัดกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนเกิดสมรรถนะ นักเรียนมีโอกาสได้ลงมือปฏิบัติมากข้ึน ด้านการประเมินผลการเรียนรู้ เป็นการรวมการวัดผล ตัวช้ีวดั กับการวดั สมรรถนะเขา้ ดว้ ยกนั มีการประเมินตามสภาพจรงิ มากข้นึ ไม่ตอ้ งจดั ให้มกี ารสอบ การประเมนิ ผลยังไม่ชัดเจนและใชเ้ วลามาก ตารางท่ี 32 ขอ้ คดิ เหน็ ของกลมุ่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาตอ่ แนวทางในการชว่ ยเหลอื นเิ ทศ และสนบั สนนุ ใหค้ รจู ัดทำ�แผนการจดั การเรียนรู้ และการนำ�แผนการจดั การเรียนร้ไู ปใช้ในหอ้ งเรยี น ผใู้ หข้ ้อมลู ความคิดเหน็ กลุ่มผู้บรหิ าร - ใช้แนวทางในการชว่ ยเหลอื นเิ ทศ และสนบั สนนุ ใหค้ รูจัดท�ำ แผนการจัดการ เรียนรแู้ ละการน�ำ แผนการจัดการเรียนร้ไู ปใชใ้ นหอ้ งเรยี น - การประชมุ อยา่ งสม่าํ เสมอเพือ่ สรา้ งความเข้าใจ - ใชก้ ระบวนการ PLC ต้ังแตก่ ารเขยี นแผน ไปสังเกตการสอน และการสะท้อน ผลร่วมกนั - ใช้การ Open Class โดยเข้าไปสังเกตการสอนในช้นั เรยี น ทที่ ำ�ใหเ้ หน็ ผลการ เปลยี่ นแปลงได้อยา่ งชัดเจนขึ้น - การนเิ ทศตดิ ตามเป็นระยะ ๆ - ส่งเสริมการแบ่งปนั การจดั กจิ กรรมของคณะครู - การสนับสนนุ สอื่ ในการจดั กจิ กรรม - การแนะน�ำ ในการเขียนแผนการสอน - การตรวจสอบและการจดั ทมี งานช่วยเหลือ แนะน�ำ ครู จากตารางท่ี 32 พบว่า กล่มุ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา มีความเห็นโดยสรุปว่า ผบู้ ริหารสถาน ศึกษาใช้แนวทางในการช่วยเหลือ นิเทศ และสนับสนุนให้ครูจัดทำ�แผนการสอนและการนำ�แผน การสอนไปใชใ้ นหอ้ งเรยี น โดยการประชมุ อยา่ งสมา่ํ เสมอเพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจ ใชก้ ระบวนการ PLC ตงั้ แตก่ ารเขยี นแผน ไปสงั เกตการสอน และมาสะทอ้ นผลรว่ มกนั ใชก้ าร Open Class โดยเขา้ ไปสงั เกต การสอนในชน้ั เรยี น ทที่ �ำ ใหเ้ หน็ ผลการเปลย่ี นแปลงไดอ้ ยา่ งชดั เจนขน้ึ มกี ารนเิ ทศตดิ ตามเปน็ ระยะ ๆ สง่ เสริมการแบง่ ปนั การจัดกจิ กรรมของคณะครู การสนับสนุนส่อื ในการจดั กิจกรรม การแนะนำ�ใน การเขียนแผนการสอน การตรวจสอบและการจัดทมี งานช่วยเหลอื แนะนำ�ครู 174รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ตารางท่ี 33 ข้อคิดเห็นของกลุ่มผู้บริหารสถานศึกษาต่อปัญหา อุปสรรคท่ีพบในการกำ�กับดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุนการทำ�งานของครู และการให้คำ�แนะนำ�/วิธีการแก้ไข ในด้าน การพัฒนาหลักสตู รการออกแบบการจดั การเรียนการสอนการวดั และประเมินผล ผู้ให้ขอ้ มลู ความคดิ เหน็ กลุ่มผบู้ ริหาร ปญั หาอปุ สรรคทีพ่ บในการกำ�กบั ดแู ล ชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ การท�ำ งานของครู ด้านการพฒั นาหลกั สตู ร - ครไู ม่เขา้ ใจ ครไู มม่ ่นั ใจ และครไู ม่รู้ - เป็นปัญหาที่เห็นว่าครูไม่มีความรู้เรื่องการพัฒนาหลักสูตร เพราะมองว่าเป็น เร่อื งไกลตวั - จ�ำ เปน็ ตอ้ งมผี รู้ ใู้ นโรงเรยี นอยา่ งนอ้ ย 1 คน เพอ่ื พาครใู นโรงเรยี นท�ำ - ยงั ไมไ่ ดป้ รบั หลกั สตู ร และไมไ่ ดว้ เิ คราะหห์ ลกั สตู รใหเ้ ขา้ กบั สมรรถนะ ท�ำ ใหย้ าก มากเวลาวางแผน การออกแบบการจดั การเรยี นการสอน - ครูขาดความมนั่ ใจในการจดั ทำ�แผนการสอนทค่ี รอบคลุมสมรรถนะท่ีเลอื กไว้ - ชว่ งแรกใชค้ มู่ อื เปน็ หลกั และยดึ ตดิ กบั ตวั อยา่ งในคมู่ อื ท�ำ ใหไ้ มม่ คี วามหลากหลาย ในการออกแบบ - ครูหลายท่าน ยังใช้แผนการจัดการเรียนรู้ของสำ�นักพิมพ์ตามหนังสือ ทำ�ให้ นำ�สมรรถนะไปใชไ้ ดย้ าก - แกไ้ ขโดยน�ำ วธิ กี ารออกแบบการเรยี นการสอน ผกู กบั การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ การของครู การวัดและประเมินผล - การประเมนิ สมรรถนะนักเรียนจะเกดิ สมรรถนะทีต่ ้องการหรอื ไม่ - วิธีการในการวัดผลประเมนิ ผลควรเป็นอย่างไร - ครมู ปี ัญหาในการออกแบบการวัดและประเมนิ ผล - การประเมินยงั ไมน่ ่าเชอ่ื ถอื เพราะครูบางส่วนยังไม่รู้ และครูยงั ไม่มนั่ ใจ วิธกี ารแกไ้ ข - แกไ้ ขโดยน�ำ วธิ กี ารออกแบบการเรยี นการสอน ผกู กับการประเมนิ ผลการ ปฏบิ ัติการของครู - ก�ำ หนดการวัดประเมินผล แบง่ ออกเปน็ ระยะ ๆ เปน็ รายเดอื น โดยให้ครูได้ ลองคน้ หาจากอินเทอรเ์ น็ต และนำ�ขอ้ สอบมาปรบั ใช้ - ผู้บรหิ ารแกไ้ ขโดยช่วยครทู ำ�งาน บางครั้งออกแบบให้เหน็ ว่า ต้องง่ายและเชือ่ ถอื ได้ - จำ�เป็นต้องมผี ู้รใู้ นโรงเรยี นอยา่ งน้อย 1 คน เพือ่ พาครูในโรงเรยี นทำ� - ใช้ DLTV ในการพฒั นาครู จดบนั ทกึ แล้วสรปุ กับนกั เรยี น และใชแ้ บบการวัด และประเมินผล 175รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสตู รการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล จากตารางที่ 33 กลุ่มผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา มีความเหน็ ต่อปัญหาอุปสรรคท่พี บในการกำ�กบั ดแู ล ชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ การทำ�งานของครู ดา้ นการพฒั นาหลักสตู ร พบว่า ครไู ม่เขา้ ใจ ครูไม่มั่นใจ และครูไม่มีความรู้เร่ืองการพัฒนาหลักสูตร เพราะมองว่าเป็นเรื่องไกลตัว ยังไม่ได้ปรับหลักสูตร และไมไ่ ดว้ เิ คราะหห์ ลกั สตู รใหเ้ ขา้ กบั สมรรถนะท�ำ ใหย้ ากตอ่ การวางแผนการสอน ดา้ นการออกแบบ การเรียนการสอน ครูขาดความม่ันใจในการจัดทำ�แผนการสอนที่ครอบคลุมสมรรถนะที่เลือกไว้ โดยในชว่ งแรกใชค้ มู่ อื เปน็ หลกั และยดึ ตดิ กบั ตวั อยา่ งในคมู่ อื ท�ำ ใหไ้ มม่ คี วามหลากหลายในการออกแบบ ครูหลายคนยังใช้แผนการจัดการเรียนรู้ของสำ�นักพิมพ์ตามหนังสือ ทำ�ให้นำ�สมรรถนะไปใช้ได้ยาก วธิ กี ารแกไ้ ข พบวา่ ใชว้ ธิ กี ารออกแบบการเรยี นการสอน ผกู กบั การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั กิ ารของครู กำ�หนดการวัดประเมินผลเป็นระยะ ๆ รายเดือน โดยให้ครูได้ลองค้นหาจากอินเทอร์เน็ต และนำ�ข้อสอบมาปรับใช้ ผู้บริหารช่วยครูทำ�การวางแผนและออกแบบให้เห็นว่า ต้องง่ายและ เชอ่ื ถือได้ ซงึ่ จ�ำ ป็นต้องมผี ูร้ ้ใู นโรงเรียนอย่างนอ้ ย 1 คน เพือ่ พาครูในโรงเรียนทำ� ใช้ระบบสถานวี ทิ ยุ โทรทัศน์การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม Distance Learning Television : DLTV ในการพัฒนาครู จดบันทึกแลว้ สรุปกับนกั เรียน และใช้แบบการวดั และประเมินผล ตารางท่ี 34 ขอ้ คดิ เหน็ ของกลมุ่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาตอ่ ชว่ งการเปลย่ี นผา่ นของการพฒั นาหลกั สตู ร ฐานสมรรถนะ ผ้ใู ห้ขอ้ มูล ความคิดเห็น กลุ่มผู้บริหาร - ควรปรบั ตารางเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. 1 - 3) โดยบรู ณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ทค่ี �ำ นงึ ถึงสมรรถนะเปน็ หลัก - ควรท�ำ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ เขยี นรายละเอยี ดสมรรถนะยอ่ ยไปสสู่ มรรถนะหลกั แบง่ เป็นชว่ งชั้นและให้โรงเรยี นมีอสิ ระด้านหลกั สตู ร - กระทรวงศึกษาธิการควรลดกลุ่มสาระการเรยี นรู้ลง - ควรมีต้ังแต่ระดบั ปฐมวัย - การจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการเหมาะสมกบั เดก็ เลก็ เพราะสมรรถนะจะเหน็ ชดั เจนกวา่ - ใชค้ วบคู่ไปกบั ตวั ชี้วดั - 10 สมรรถนะเหมาะสมกับเด็กยุคใหม่ จึงควรมีสมรรถนะย่อยให้เกิดความชัดเจนใน แต่ละระดบั ชน้ั ซึง่ ครูจะได้ไมต่ อ้ งกงั วลวา่ ต้องท�ำ ครบทกุ สมรรถนะในกิจกรรมเดียว - การสอนใหเ้ ดก็ มสี มรรถนะตั้งแต่ชั้นประถมศกึ ษาตอนต้น (ป. 1 - 3) ท�ำ ให้เด็กเรยี นรู้ ในระดับสงู ได้รวดเร็ว - การจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการเหมาะสมกบั เดก็ - จะนำ�ไปใช้ต่อในนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น (ป. 1 - 3) แต่ช้ันอื่น ๆ จะยังคงใช้กรอบเดิม อีก 3-5 ปี จะเห็นผลการเปรียบเทยี บนกั เรียน - นำ�เกณฑ์การประเมินสมรรถนะไปปรบั ใช้กับนกั เรียนดว้ ย - ใช้ความรู้ด้านการวิจัย เพ่ือเก็บขอ้ มลู ผลการใชส้ มรรถนะ 176รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล ตารางท่ี 34 ข้อคิดเห็นของกลุ่มผู้บริหารสถานศึกษาต่อช่วงการเปลี่ยนผ่านของการพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะ (ต่อ) ผูใ้ ห้ขอ้ มลู ความคิดเห็น กลุ่มผบู้ ริหาร การด�ำ เนินการต่อไป - ผลักดันให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างเพื่อนครูกับผู้เช่ียวชาญภายนอก เพื่อให้ เกิดการเรยี นรู้ขบั เคลอ่ื นไปด้วยกัน - นำ�สมรรถนะไปใช้ต่อควบคู่กับตัวช้ีวัดเดิม โดยเน้นกิจกรรมที่เด็กนำ�ไปประยุกต์ใช้ ในชวี ติ จริงใหม้ ากข้นึ - จะดำ�เนนิ การใหค้ รบทกุ ชน้ั โดยจะเร่ิมจากชั้นประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. 1 - 3) ก่อน - นำ�สมรรถนะมาใช้เป็นบางตัว และจะเริ่มดำ�เนินการในระดับอนุบาล 3 ด้วย เพ่ือเป็นการส่งต่อในชว่ งเปล่ยี นผ่าน - ใชก้ ารประเมินตามสภาพจริง ไมไ่ ดใ้ ช้ขอ้ สอบปลายภาค จากตารางท่ี 34 กล่มุ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา เห็นว่า ช่วงเปลีย่ นผ่านหรอื รอยตอ่ ของการพัฒนา หลักสูตรฐานสมรรถนะ ควรดำ�เนินการปรับตารางเรยี นระดบั ชัน้ ประถมศึกษาตอนตน้ (ป. 1 - 3) โดยบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีคำ�นึงถึงสมรรถนะเป็นหลัก ควรทำ�หลักสูตรฐานสมรรถนะ เขยี นรายละเอยี ดสมรรถนะยอ่ ยไปสสู่ มรรถนะหลกั แบง่ สมรรถนะเปน็ ชว่ งชน้ั และใหโ้ รงเรยี นมอี สิ ระ ดา้ นหลกั สตู ร จงึ ควรมสี มรรถนะยอ่ ยเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความชดั เจนในแตล่ ะระดบั ชนั้ ควรลดกลมุ่ สาระการเรยี นรลู้ ง เพราะของเดิมมีมากเกินไป ควรดำ�เนินการต้ังแต่ระดับปฐมวัย การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เหมาะสมกับเด็กเล็กเพราะสมรรถนะจะเห็นชัดเจนกว่า การสอนให้เด็กมีสมรรถนะต้ังแต่ระดับ ชั้นประถมศึกษาตอนต้น (ป. 1 - 3) ทำ�ให้เดก็ เรยี นรู้ในระดบั สงู ไดร้ วดเร็ว อยากนำ�ไปใช้ต่อโดยควบคู่ ไปกบั ตวั ชว้ี ดั แต่ระดบั ช้ันอ่ืน ๆ จะยงั คงใชก้ รอบเดมิ 10 สมรรถนะนเี้ หมาะสมกับเดก็ ยุคใหม่ ควรมี สมรรถนะยอ่ ยใหเ้ กดิ ความชดั เจนในแตล่ ะระดบั ชน้ั และน�ำ เกณฑก์ ารประเมนิ สมรรถนะไปบงั คบั ใชก้ บั นกั เรยี นดว้ ย คมู่ อื มสี ว่ นท�ำ ใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจทต่ี รงกนั และควรใชค้ วามรดู้ า้ นการวจิ ยั เพอ่ื เกบ็ ข้อมลู การใชส้ มรรถนะ ดา้ นการด�ำ เนนิ การตอ่ เนอื่ ง พบวา่ กลมุ่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาจะน�ำ สมรรถนะไปใชต้ อ่ ควบคกู่ บั ตวั ชวี้ ดั เดมิ เนน้ กจิ กรรมทปี่ ระยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ใหม้ ากขนึ้ ควรมสี มรรถนะยอ่ ยเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความชดั เจน ในแต่ละระดับช้ัน ซง่ึ ครูจะได้ไมต่ อ้ งกงั วลวา่ ต้องท�ำ ครบทุกสมรรถนะในกจิ กรรมเดียว จะจัดทำ�ครบ ทกุ ชนั้ โดยจะเรมิ่ จากระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. 1 - 3) กอ่ น น�ำ สมรรถนะมาใชเ้ ปน็ บางตวั และ จะเรม่ิ ทำ�ในระดบั อนบุ าล 3 ด้วย เพือ่ เป็นการส่งต่อในชว่ งเปลย่ี นผา่ น ใช้การประเมินตามสภาพจรงิ ไม่ได้ใชข้ อ้ สอบปลายภาค 177รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ตารางที่ 35 ขอ้ คดิ เหน็ ของกลมุ่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา และกลมุ่ ครผู สู้ อนตอ่ สงิ่ ส�ำ คญั 3 ประการแรก ทต่ี อ้ งท�ำ ในการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและการน�ำ กรอบสมรรถนะมาใชใ้ นโรงเรยี น ผู้ให้ข้อมูล ความคิดเหน็ กลุม่ ผูบ้ รหิ าร ประการที่ 1 การให้ความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับสมรรถนะใหช้ ัดเจน ผบู้ ริหารให้ การสนับสนุนและมีความรู้อย่างชัดเจน สามารถเป็นที่ปรึกษาได้ ประการท่ี 2 มกี ารรวมกลุ่ม PLC อยา่ งเขม้ แขง็ การ Coaching และ มพี ี่เลยี้ ง ประการท่ี 3 มาช่วยเติมเต็มความรู้ เพิ่มความชัดเจนในการออกแบบการเรียน การสอน มีผ้เู ชยี่ วชาญทีร่ ู้จรงิ และมาช่วยเหลอื ใหค้ �ำ แนะนำ� การมีคู่มือการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมสมรรถนะ ตัวอย่างกิจกรรม ท่ีนำ�ไปสสู่ มรรถนะ และแผนการสอน การส่งเสริมและสนับสนุนจากผู้บริหาร ผู้บริหารเห็นความสำ�คัญ ความรว่ มมอื ของครทู กุ คนในโรงเรยี น ครตู อ้ งเปดิ ใจ ศรทั ธา และใฝร่ ู้ การปรับความคิดเปิดรับส่ิงใหม่ ๆ ยอมรับเพ่ือนำ�ไปสู่การพัฒนา หลักสตู รฐานสมรรถนะ กลุ่มครูผูส้ อน ประการที่ 1 ผบู้ ริหารต้องเหน็ ความสำ�คัญ ประการท่ี 2 ครูตอ้ งเปิดใจ ศรทั ธา และใฝ่รู้ ประการที่ 3 มีผูเ้ ช่ยี วชาญที่ร้จู รงิ และมาชว่ ยเหลอื ให้ค�ำ แนะนำ�อยา่ งจรงิ ใจ จากตารางท่ี 35 กลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ส่ิงสำ�คัญ 3 ประการแรกที่ต้องทำ�เพื่อ ให้การดำ�เนินงานประสบความสำ�เร็จ ประการที่ 1 การให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมรรถนะ ให้ชัดเจน ผู้บริหารให้การสนับสนุนและมีความรู้อย่างชัดเจน สามารถเป็นท่ีปรึกษาได้ มีการรวม กลุ่ม PLC อย่างเข้มแข็ง การ Coaching และมีพี่เล้ียงมาช่วยเติมเต็มความรู้ เพิ่มความชัดเจน ในการออกแบบการเรยี นการสอน มีผู้เชย่ี วชาญท่รี จู้ รงิ และมาช่วยเหลือ ให้คำ�แนะนำ� ประการท่ี 2 การมีคู่มือการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมสมรรถนะ มีตัวอย่างกิจกรรมท่ีนำ�ไปสู่สมรรถนะและ แผนการจดั การเรยี นรู้ ประการที่ 3 การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ จากผบู้ รหิ าร ผบู้ รหิ ารเหน็ ความส�ำ คญั ความรว่ มมอื ของครทู กุ คนในโรงเรยี น ครตู อ้ งเปดิ ใจ ศรทั ธา และใฝร่ ู้ การปรบั ความคดิ เปดิ รบั สงิ่ ใหม่ ๆ ยอมรบั เพือ่ น�ำ ไปสู่การพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะ ดา้ นความคิดเหน็ ครูผู้สอน พบว่า ประการท่ี 1 ผบู้ รหิ ารต้องเหน็ ความส�ำ คญั ประการที่ 2 ครูต้องเปิดใจ ศรัทธา ใฝ่รู้ และประการสุดท้ายคือ ควรมีผู้เช่ียวชาญที่รู้จริงและมาช่วยเหลือให้ ค�ำ แนะน�ำ 178รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ตารางท่ี 36 ข้อคิดเห็นของกลุ่มผู้บริหารสถานศึกษาและกลุ่มครูผู้สอนต่อส่ิงที่โรงเรียนต้องการ ความชว่ ยเหลอื ในการพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะและการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ ผใู้ ห้ข้อมูล ความคิดเห็น กลุ่มผู้บรหิ าร - ผเู้ ชย่ี วชาญ/พเี่ ลยี้ งทสี่ ามารถใหค้ วามชดั เจนในการออกแบบการเรยี นการสอน ทมี่ คี วามร้คู วามเข้าใจจริง ๆ เปน็ ผูม้ าใหค้ วามรู้ - คมู่ อื การออกแบบและจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ การวดั ผลประเมนิ ผล และเทคนคิ / กลยุทธใ์ นการน�ำ สมรรถนะไปใช้ในชวี ิตประจำ�วนั - การแบง่ ย่อยแตล่ ะสมรรถนะ เพื่อใหค้ รูหยบิ ไปใชง้ านไดม้ ากขนึ้ - ตวั อยา่ งแผนการสอนกลางทเ่ี ชอ่ื มโยงสมรรถนะ และรปู แบบการสอนสถานการณ์ ต่าง ๆ ในชีวิตประจำ�วัน เพอื่ ใหค้ รนู ำ�ไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ดเ้ หมาะสมกับบริบทของ โรงเรยี นตนเอง - การวดั และประเมนิ ผลยงั ไมช่ ดั เจน ถา้ สามารถท�ำ ใหช้ ดั ขนึ้ ไดจ้ ะชว่ ยครไู ดม้ าก - มีศนู ย์รวมข้อมลู หลกั สูตรฐานสมรรถนะ เพม่ิ แหลง่ ค้นควา้ หาความรู้ มแี หลง่ การเรียนรู้ Online ทีค่ รสู ามารถเข้าถึงไดต้ ลอดเวลาและสอื่ สารกับภาคีและ ผู้เกี่ยวข้อง กลุม่ ครูผสู้ อน - มีผ้เู ชยี่ วชาญคอยชแ้ี นะ - ตวั อยา่ งแผนการสอน แนวทางการจดั การเรียนการสอนทช่ี ัดเจน ครอบคลุม ทกุ กลุ่มสาระ และเผยแพร่การสอนท่สี ่งเสริมสมรรถนะ - ตัวอย่างแผนการสอนควรยดื หยุ่นได้ โดยเชือ่ มั่นในตวั ครู - การสอบ O-NET กับการประเมนิ สมรรถนะควรมคี วามเชอ่ื มโยงกัน - มแี นวทางการวัดผลประเมนิ ผลอย่างชัดเจนและเกณฑ์การตดั สนิ ผลการเรียน - งบประมาณในการจดั ซ้ือสอื่ สนบั สนนุ การสอน - เทคโนโลยเี ขา้ ถงึ ไดย้ าก ควรน�ำ เทคโนโลยมี าใชป้ ระโยชนด์ า้ นการวดั ประเมนิ ผล และใชก้ ระตุน้ ให้เด็กสนใจเรยี นรู้ 179รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากตารางท่ี 36 ในกลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ผู้เชี่ยวชาญ/พี่เลี้ยงที่สามารถให้ ความชดั เจนในการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นการสอน ทมี่ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจจรงิ ๆ เปน็ ผมู้ าใหค้ วามรู้ มคี ู่มือการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล และเทคนคิ /กลยทุ ธ์ในการนำ� สมรรถนะไปใช้ในชีวิตประจำ�วันมีการแบ่งย่อยแต่ละสมรรถนะ เพื่อให้ครูหยิบไปใช้งานได้มากข้ึน มีตวั อย่างแผนการจดั การเรียนรกู้ ลางทีเ่ ชอ่ื มโยงสมรรถนะ และรปู แบบการสอนสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำ�วัน เพ่ือให้ครูนำ�ไปประยุกต์ใช้ได้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนตนเอง การวัดและ ประเมินผลยังไม่ชัดเจน ถ้าสามารถทำ�ให้ชัดขึ้นได้จะช่วยครูได้มาก ควรมีศูนย์รวมข้อมูลหลักสูตร ฐานสมรรถนะ เพมิ่ แหลง่ คน้ ควา้ หาความรู้ มแี หลง่ การเรยี นรอู้ อนไลนท์ คี่ รสู ามารถเขา้ ถงึ ไดต้ ลอดเวลา และสอื่ สารกบั ภาคแี ละผู้เกยี่ วขอ้ ง กลุ่มครูผู้สอน พบว่า ควรมีผู้เช่ียวชาญคอยให้คำ�ชี้แนะ มีตัวอย่างแผนการสอน แนวทาง การจัดการเรยี นการสอนทชี่ ัดเจน ครอบคลมุ ทุกกลมุ่ สาระ และเผยแพรก่ ารสอนที่สง่ เสริมสมรรถนะ ตวั อยา่ งแผนการสอนควรยดื หยนุ่ ได้ และเชอื่ มนั่ ในตวั ครู การสอบ O-NET กบั การประเมนิ สมรรถนะ ควรมคี วามเชอ่ื มโยงกนั มแี นวทางการวดั ผลประเมนิ ผลอยา่ งชดั เจนและเกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการเรยี น มกี ารจดั งบประมาณในการจัดซ้ือสอ่ื สนับสนนุ การสอน เทคโนโลยีเข้าถงึ ได้ยากจงึ ควรนำ�เทคโนโลยี มาใชป้ ระโยชน์ดา้ นการวดั ประเมนิ ผล และใชก้ ระตุน้ ให้ผเู้ รียนสนใจเรยี นรู้ 180รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ตารางท่ี 37 ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกบั บทบาทของหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการพฒั นาหลกั สตู ร ฐานสมรรถนะและกรอบสมรรถนะไปใช้ ผใู้ ห้ขอ้ มลู ความคิดเหน็ กลมุ่ ผู้บริหาร หน่วยงานทพี่ ฒั นาหลักสูตร - การจัดทำ�หลกั สตู รฐานสมรรถนะและการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ ควรค�ำ นึงถงึ สภาพบรบิ ทของแตล่ ะทอ้ งถน่ิ ทม่ี คี วามแตกตา่ งกนั ในการออกแบบหลกั สตู รและ เกณฑ์การวดั ผลประเมนิ ผล - จดั ท�ำ คู่มอื สมรรถนะแลว้ ประสานงานไปยงั หน่วยงานตา่ ง ๆ - อบรมให้ความรู้ในเร่ืองสมรรถนะหลักท่ีสอดคล้องกับตัวชี้วัดจากแผนการสอน เดิม เพอื่ เตมิ สถานการณ์ตา่ ง ๆ - กำ�หนดเป้าหมายคณุ ภาพผู้เรียนให้ชัดเจนสอดคล้องกันทุกหนว่ ยงาน - เปน็ หนว่ ยงานกลางในการวางระบบ การทดสอบระดับชาติ การรบั เด็กศึกษาต่อ โดยการใช้สมรรถนะ ปรับค่านิยมเก่ียวกบั O-NET - พฒั นาเทคโนโลยใี หเ้ ขา้ มามบี ทบาทในการสง่ เสรมิ สมรรถนะใหก้ บั ครแู ละโรงเรยี น กระทรวงศึกษาธกิ าร - กำ�หนดเป้าหมายคุณภาพผ้เู รยี นให้ชัดเจนและสอดคล้องกนั ทุกหน่วยงาน - ปรับระเบียบการใช้งบประมาณให้รวดเร็วในการสนับสนุนการสอน แก้ระเบียบ พสั ดทุ ี่ย่งุ ยาก และควรยดื หยุน่ การใช้งบประมาณของโรงเรยี น - พัฒนาส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั กรอบสมรรถนะให้กบั ครู หน่วยงานตน้ สงั กดั ของสถานศกึ ษา - ลดนโยบายทีซ่ าํ้ ซ้อน - ก�ำ หนดเปา้ หมายคณุ ภาพผู้เรยี นใหช้ ดั เจนและสอดคลอ้ งกันทุกหน่วยงาน - สว่ นกลางลดการสงั่ การ แตใ่ หท้ อ้ งถน่ิ บรหิ ารจดั การดว้ ยตนเอง โดยสง่ เสรมิ ความ เป็นเอกลกั ษณข์ องท้องถ่นิ ได้อยา่ งอิสระ - อบรมใหค้ วามรกู้ บั ครเู กย่ี วกบั กรอบสมรรถนะ ใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจกบั ผเู้ กย่ี วขอ้ ง 181รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผ้ใู หข้ ้อมลู ความคิดเห็น กลุ่มครผู ูส้ อน หน่วยงานท่ีพัฒนาหลักสตู ร - ปรับเกณฑ์การวัดผลประเมินผลระดับประถมศึกษาเป็น ผ่าน ไม่ผ่าน และใช้ การประเมนิ ตามสภาพจริง กระทรวงศึกษาธกิ าร - การสรา้ งขอ้ ทดสอบทต่ี อบสนองตอ่ บรบิ ทพน้ื ทท่ี ม่ี คี วามหลากหลาย และควรวัด ตามพัฒนาการ หนว่ ยงานตน้ สังกัดของสถานศึกษา - การสนับสนุนจากผู้บริหารการกำ�หนดนโยบายในระยะยาวและต่อเนื่อง และ ควรมคี วามชัดเจนเกยี่ วกบั ความรดู้ ้านสมรรถนะ จากตารางท่ี 37 กลมุ่ ผู้บริหารสถานศึกษามีข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเก่ยี วกบั บทบาทของ หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและกรอบสมรรถนะไปใช้ และมคี วามเหน็ โดยสรุป ดังน้ี หน่วยงานท่ีพัฒนาหลักสูตร การจัดทำ�หลักสูตรฐานสมรรถนะและการนำ�กรอบสมรรถนะ ไปใช้ ควรคำ�นึงถึงสภาพบริบทของแต่ละท้องถ่ิน การออกแบบหลักสูตรและเกณฑ์การวัดและ ประเมินผล จัดทำ�คู่มือสมรรถนะแล้วประสานงานไปยังหน่วยงานต่าง ๆ อบรมให้ความรู้ในเรื่อง สมรรถนะหลักที่สอดคล้องกับตัวชี้วัด กำ�หนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนให้ชัดเจนสอดคล้องกัน ทุกหน่วยงาน เป็นหน่วยงานกลางในการวางระบบ การทดสอบระดับชาติ การรับเด็กศึกษาต่อ โดยการใชส้ มรรถนะ ปรบั คา่ นยิ มเกยี่ วกบั O-NET พฒั นาเทคโนโลยใี หเ้ ขา้ มามบี ทบาทในการสง่ เสรมิ สมรรถนะให้กับครูและโรงเรยี น กระทรวงศึกษาธิการ กำ�หนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนให้ชัดเจนและสอดคล้องกันทุก หน่วยงาน ปรับระเบียบการใช้งบประมาณให้รวดเร็วในการสนับสนุนการสอน แก้ระเบียบพัสดุท่ี ยุ่งยาก มีความจำ�กัด และควรยืดหยุ่นการใช้งบประมาณของโรงเรียน การพัฒนาส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั กรอบสมรรถนะให้กับครู หนว่ ยงานต้นสงั กัดของสถานศึกษา ลดนโยบายที่ซา้ํ ซ้อน กำ�หนดเปา้ หมายคณุ ภาพผเู้ รยี น ให้ชัดเจนและสอดคล้องกันทุกหน่วยงาน ส่วนกลางลดการส่ังการ แต่ให้ท้องถิ่นบริหารจัดการด้วย ตนเอง โดยส่งเสรมิ ความเป็นเอกลักษณ์ของทอ้ งถน่ิ ได้อย่างอิสระ การอบรมให้ความรู้กบั ครูเกี่ยวกับ กรอบสมรรถนะให้ความรู้ ความเข้าใจกับผูเ้ กีย่ วข้อง 182รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ด้านความคิดเห็นกลุ่มครูผู้สอน พบว่า หน่วยงานท่ีพัฒนาหลักสูตร ควรปรับเกณฑ์ การวดั และประเมนิ ผลระดบั ประถมศกึ ษาเปน็ ผา่ น ไมผ่ า่ น และใชก้ ารประเมนิ ตามสภาพจรงิ กระทรวง ศึกษาธกิ าร ควรรสรา้ งข้อทดสอบท่ีตอบสนองต่อบรบิ ทพนื้ ทที่ มี่ คี วามหลากหลาย และควรวัดและ ประเมนิ ผลตามพฒั นาการ หน่วยงานต้นสงั กดั ของสถานศกึ ษา ควรมกี ารสนับสนนุ จากผู้บรหิ าร มกี ารก�ำ หนดนโยบายในระยะยาวและตอ่ เนอ่ื ง และควรมคี วามชดั เจนเกยี่ วกบั ความรดู้ า้ นสมรรถนะ ตารางท่ี 39 ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะส�ำ หรบั โรงเรยี นอน่ื ๆ ในการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ และการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ ผใู้ ห้ขอ้ มลู ความคิดเห็น กล่มุ ผบู้ ริหาร - ควรสง่ แบบสอบถามประเมนิ หลกั สตู รองิ มาตรฐาน พ.ศ. 2551 เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู เริ่มต้นก่อนการปรบั เปล่ยี นหลักสตู ร - ควรมีความชดั เจนของสมรรถนะและแนวทางการดำ�เนินการ - ใชก้ ระบวนการ PLC และ Lesson Study และควรมกี จิ กรรมกระตนุ้ ครใู หม้ าก - การพฒั นาครู ผรู้ บั ผิดชอบไมไ่ ดพ้ บกับผ้ปู ฏบิ ตั โิ ดยตรง มีการสง่ ต่อเปน็ ช่วง ๆ เชน่ ศกึ ษานเิ ทศก์ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความคลาดเคลอื่ น เมอ่ื ตอ้ งไปตรวจ นเิ ทศ ตดิ ตาม ทำ�ให้เข้าใจผิดและปฏิบัติผิดทาง ดังนั้น ต้องการผู้รู้จริง มาบอกวิธีปฏิบัติ ที่ถูกตอ้ ง - ควรมีเว็บไซต์กลางในการสืบค้นข้อมูล หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลในการจัด การเรียนการสอน - หน่วยงานหลักสูตรต้องประสานงานกับกระทรวงศึกษาธกิ าร และหน่วยงาน ต้นสงั กดั ตา่ ง ๆ เพ่อื ใหเ้ ป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน - ควรมกี ารประชาสัมพนั ธอ์ ยา่ งทั่วถึง - เม่อื มีหลกั สูตรควรตอ้ งจดั ทำ�คูม่ ือการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะใหก้ บั ครู - ระบแุ หลง่ เรียนรแู้ ละหนังสือประกอบท่ีครคู น้ หาความรไู้ ด้ด้วยตนเอง - สอ่ื และแหลง่ เรยี นรปู้ ระกอบการเรยี นการสอน เมอื่ ใชแ้ ลว้ ตอ้ งมแี บบประเมนิ ผลการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ โดยส่งตรงเข้าส่วนกลาง เพ่ือติดตามและ ปรับปรงุ แก้ไขเป็นระยะ ๆ 183รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล จากตารางท่ี 38 กลมุ่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ให้ความคิดเห็นวา่ ควรมีการประเมินหลักสตู ร เดิมเพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ มลู ก่อนการปรับเปล่ียนหลักสตู ร ควรมีความชดั เจนของสมรรถนะและแนวทางการ ด�ำ เนนิ การ ใชก้ ระบวนการ PLC และ Lesson Study ควรมกี จิ กรรมกระตนุ้ ครใู หม้ าก การพฒั นาครู สว่ นใหญผ่ รู้ บั ผดิ ชอบไมไ่ ดพ้ บกบั ผปู้ ฏบิ ตั โิ ดยตรง มกี ารสง่ ตอ่ เปน็ ชว่ ง ๆ เชน่ ศกึ ษานเิ ทศก์ ท�ำ ใหค้ ลาด เคลอ่ื น เมอื่ ตอ้ งไปตรวจ นเิ ทศ ตดิ ตาม เกดิ ความเขา้ ใจผดิ และปฏบิ ตั ผิ ดิ ทาง จงึ ตอ้ งการผรู้ จู้ รงิ มาบอก วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ตอ้ ง ควรมเี วบ็ ไซตก์ ลางในการสบื คน้ ขอ้ มลู หรอื แลกเปลยี่ นขอ้ มลู ในการจดั การเรยี นการ สอน หนว่ ยงานหลกั สตู รตอ้ งประสานงานกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ตา่ ง ๆ เพอื่ การท�ำ งานใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั ควรมกี ารประชาสมั พนั ธอ์ ยา่ งทว่ั ถงึ เม่ือมหี ลกั สูตรควรตอ้ ง จดั ท�ำ คมู่ อื การใชห้ ลกั สตู รฐานสมรรถนะใหก้ บั ครู ระบแุ หลง่ เรยี นรแู้ ละหนงั สอื ประกอบทจี่ ะชว่ ยใหค้ รู คน้ หาความรู้ได้ด้วยตนเอง ควรมีสื่อและแหล่งเรียนรปู้ ระกอบการเรยี นการสอน ควรประเมนิ ผล การใชห้ ลกั สตู รฐานสมรรถนะและส่งตรงเข้าสว่ นกลาง เพ่อื ตดิ ตามและปรับปรุงแกไ้ ขเป็นระยะ ๆ ตารางท่ี 39 ข้อคิดเห็นของกล่มุ ครูผ้สู อน ต่อการเลือกแนวทางในการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ ในการออกแบบและจดั กิจกรรมการเรียนการสอนอยา่ งไร (แนวทางที่ 1-4) ผู้ให้ข้อมลู ความคิดเห็น กลุ่มครูผ้สู อน - ครเู ลือกแนวทางที่ 1 เพราะสะดวก ง่าย ไมเ่ พมิ่ ภาระงานครู - ครเู ลอื กท้ัง 4 แนวทางเนื่องจากสอนเดก็ หลายระดบั ช้ัน - ครเู ลอื กแนวทางท่ี 1 ใชก้ บั ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-2 และแนวทางท่ี 3 นำ�มาใชก้ ับระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 - เลือกแนวทางท่ี 1 และแนวทางท่ี 3 - เลือกแนวทางที่ 1 และ 2 เพราะครูมีความพรอ้ มและเข้าใจ จากตารางที่ 39 พบวา่ ครสู ว่ นใหญเ่ ลอื กใชแ้ นวทางท่ี 1 เพราะสะดวก งา่ ย ไมเ่ พมิ่ ภาระงาน ครู รองลงมาคอื แนวทางที่ 3 แนวทางที่ 2 และท้ัง 4 แนวทาง โดยการใชห้ ลักการเลอื กแนวทาง ทีส่ ามารถนำ�มาใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั นักเรยี นแต่ละระดบั ช้ัน 184รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ตารางทื่ 40 ข้อคิดเห็นของกลุ่มครูผู้สอนต่อแนวทางอ่ืน ๆ ในการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ ในการพฒั นาผ้เู รยี น ผใู้ ห้ขอ้ มลู ความคดิ เห็น กล่มุ ครูผ้สู อน - ใชก้ ระบวนการคิด 9 ข้นั กับแนวทางที่ 1 - ใช้ GPASS ควบคกู่ ับสมรรถนะ - ใชห้ ลกั การบรู ณาการกบั แนวทางสมรรถนะที่ก�ำ หนด - วิพากย์แผนการสอนโดยครูผู้สอนในระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3 - นิเทศการเรียนการสอน - ประชุมวางแผนและเลือกแนวทางสมรรถนะ - ออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอน - ทดลองสอน - ประชมุ แลกเปลีย่ น ปรบั เปลย่ี นความคดิ เห็นและใหส้ อดคลอ้ งกับสมรรถนะ จากตารางที่ 40 พบวา่ ครใู ชแ้ นวทางกระบวนการคดิ 9 ขน้ั กบั แนวทางที่ 1 ใช้ GPASS ควบคู่ กับสมรรถนะ ใชห้ ลกั การบูรณาการกับแนวทางสมรรถนะท่กี ำ�หนด ประชุมวางแผนการด�ำ เนนิ งาน และคัดเลือกแนวทางในการสอน ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรูแ้ ละกิจกรรมการเรยี นการสอน วิพากย์ แผนการสอนโดยครผู สู้ อนในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3 นเิ ทศการเรยี นการสอน ประชมุ วางแผน และเลือกแนวทางสมรรถนะ (PDCA) ออกแบบ ทดลองสอน ประชมุ แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและ ปรบั เปลี่ยนใหส้ อดคลอ้ งกับสมรรถนะ ตารางที่ 41 ข้อคิดเห็นของกลุ่มครูผู้สอนต่อลำ�ดับขั้นตอนในการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ ในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยา่ งไรในแตล่ ะแนวทาง ผใู้ หข้ อ้ มูล ความคิดเหน็ กล่มุ ครูผสู้ อน - การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรเู้ คยี งคกู่ ัน และใช้ Open Class ให้ผู้เชีย่ วชาญ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง - ประชมุ ร่วมกนั ในการออกแบบการสอนแต่ละแนวทาง - ประชุมวเิ คราะห์ผู้เรียน ร่วมออกแบบกจิ กรรมและแนวทางการสอน - ประชมุ วางแผนการด�ำ เนนิ การและคดั เลอื กแนวทางการสอน วพิ ากษแ์ ผนการสอน และนเิ ทศการสอน 185รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล จากตารางท่ี 41 พบว่า กลมุ่ ครผู สู้ อน มลี ำ�ดบั ข้นั ตอนในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ น การออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละแนวทาง (แนวทางท่ี 1-4) โดยใช้วิธีการ รว่ มประชุมวางแผนคัดเลือกและออกแบบแนวทางการจัดการเรยี นการสอน การเขียนแผนการสอน เคียงคู่กัน และใช้ Open Class ให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบความถูกต้อง รวมถึงการวิพากษ์และ การนิเทศกำ�กับติดตามการเรยี นการสอน ตารางที่ 42 ขอ้ คดิ เหน็ ของกลมุ่ ครผู สู้ อนตอ่ รายการสมรรถนะและขอ้ มลู เกยี่ วกบั สมรรถนะในคมู่ อื ตอ่ การออกแบบการเรียนการสอนและรายละเอียดทต่ี ้องการใหม้ ีเพิ่มเตมิ ในคมู่ อื ผู้ใหข้ ้อมลู ความคดิ เห็น กลุม่ ครูผสู้ อน - รายละเอียดของสมรรถนะในคู่มอื ช่วยใหท้ �ำ งานได้ - กรอบสมรรถนะ สมรรถนะยอ่ ย และตวั อยา่ งแผนการจัด การเรยี นรู้ ตามลำ�ดับ - รายการสมรรถนะและข้อมลู เกย่ี วกับสมรรถนะในคู่มือชว่ ยครไู ด้มาก - คู่มือทำ�ให้ครอู อกแบบการเรียนการสอนได้ละเอยี ดข้ึน - ข้อมลู ที่ใชม้ ากทสี่ ดุ ในค่มู อื ได้แก่ แนวทางจดั กจิ กรรมโดยใช้สมรรถนะ - ขอ้ มูลเกีย่ วกบั สมรรถนะในคู่มือชว่ ยครไู ด้ดี - คมู่ อื ชว่ ยครใู นการทำ�งานได้ - ข้อมลู ที่ใช้มากที่สดุ ในคมู่ อื ไดแ้ ก่ กรอบสมรรถนะ สมรรถนะย่อย และ ตัวอย่างแผนการเรยี นการสอน ตามลำ�ดบั - ขอ้ มูลและรายละเอียดท่ีต้องการให้เพ่มิ เตมิ ในคมู่ ือ - ตัวอยา่ งแผนการจดั การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน และเพม่ิ แนวทาง ในการนำ�สมรรถนะไปใช้ จากตารางที่ 42 พบว่า กลุ่มครผู สู้ อน มคี วามเห็นว่า รายการสมรรถนะและขอ้ มูลเกย่ี วกับ สมรรถนะชว่ ยในการออกแบบการเรยี นการสอนได้ และใชข้ ้อมลู ในคูม่ อื มากท่สี ดุ 3 ล�ำ ดบั ได้แก่ กรอบสมรรถนะ รองลงมาคือ หลกั การและแนวทาง ความเชื่อมโยงสมรรถนะ แนวทางจัดกจิ กรรม โดยใช้สมรรถนะและตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ ตามลำ�ดับ ข้อมูลและรายละเอียดที่ต้องการ ใหเ้ พิม่ เติมในคูม่ อื คือ ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ ตัวอย่างกิจกรรมการเรยี นการสอน การวัด และประเมินผลโดยใชส้ มรรถนะ และเพมิ่ แนวทางในการน�ำ สมรรถนะไปใช้ 186รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตารางท่ี 43 ข้อคิดเห็นของกลุ่มครูผู้สอนต่อปัญหาในการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ในการออกแบบ และการจดั การเรียนการสอน และมกี ารแก้ไขปัญหาดงั กลา่ ว ผู้ใหข้ อ้ มลู ความคิดเห็น กลุ่มครผู สู้ อน ปญั หา : การจัดกจิ กรรมใหต้ รงกับสมรรถนะ การแกไ้ ข : ปรึกษาคณะผู้บริหาร มี Coach คอยชว่ ยเหลอื จากผ้เู ชย่ี วชาญ ปัญหา : การน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ การแก้ไข : เชื่อมสมรรถนะให้เขา้ กับกจิ กรรม ปญั หา : เวลาในการจดั กจิ กรรมมจี �ำ กดั การวดั และประเมนิ ผลสมรรรถนะ ยังไม่ชัดเจน การแกไ้ ข : ยดื หยุ่นเวลาจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนที่เช่ือมสมรรถนะ ปัญหา : ความไม่แน่ใจในความสอดคลอ้ งกับสมรรถนะ และการใช้เวลาใน การจัดการเรียนการสอน การแกไ้ ข : การเชือ่ มโยงสมรรถนะ ปญั หา : การเชอื่ มโยงสมรรถนะ การแก้ไข : ศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมจากแหล่งข้อมูลอ่ืน ๆ เช่น Youtube เพื่อหากจิ กรรมทีจ่ ะนำ�กรอบสมรรถนะเขา้ ไปเช่ือมโยง จากตาราง 43 พบว่า คณะครูผู้สอนพบปัญหาในการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ ในการออกแบบและการจดั การเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ การจดั กจิ กรรมใหต้ รงกบั สมรรถนะ การเชอ่ื มโยง สมรรถนะและการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีจำ�กัด การวัดและประเมนิ ผลสมรรถนะยงั ไม่ชดั เจน และไม่แน่ใจในความสอดคลอ้ งกบั สมรรถนะ ด้านการแก้ไขปัญหา พบว่า สิ่งที่คณะครูผู้สอนดำ�เนินการ ได้แก่ ปรึกษาคณะผู้บริหาร มี Coach คอยช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ การเชอื่ มโยงสมรรถนะให้เข้ากบั กิจกรรม ยดื หยุ่นเวลาจดั กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเช่ือมสมรรถนะ การศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ เช่น Youtube เพอื่ หากิจกรรมที่จะน�ำ กรอบสมรรถนะเขา้ ไปเช่อื มโยง 187รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ตารางที่ 44 ข้อคิดเห็นของกลุ่มครูผู้สอนต่อจุดใดง่ายท่ีสุดและยากที่สุดในการออกแบบการเรียน การสอนฐานสมรรถนะ ผู้ใหข้ อ้ มลู ความคดิ เห็น กลุ่มครผู ู้สอน จุดทง่ี า่ ยท่ีสุด - มีเปา้ หมายสมรรถนะทช่ี ัดเจน - มแี นวทางในการจดั กจิ กรรมทชี่ ดั เจน และหลากหลายตามบรบิ ทของโรงเรยี น ความพรอ้ มของนกั เรียน ผปู้ กครอง - สมรรถนะมีลักษณะเป็นความคิดรวบยอด ไม่มีรายละเอียดแบบตัวชี้วัด จงึ ไมม่ กี รอบของการสอน สามารถออกแบบกจิ กรรมการสอนทหี่ ลากหลาย ตรงกบั พฒั นาการของนกั เรียน ยากทสี่ ุด - การออกแบบกิจกรรมใหต้ รงกบั สมรรถนะ - การประเมนิ ตามสมรรถนะท่กี ำ�หนดไว้ จากตาราง 44 คณะครูมีความเห็นสอดคล้องกันว่า จุดที่ง่ายที่สุด คือ การมีเป้าหมาย สมรรถนะท่ีชัดเจน มีแนวทางในการจัดกิจกรรมที่ชัดเจนและหลากหลายตามบริบทของโรงเรียน ความพรอ้ มของนกั เรยี น ผปู้ กครอง สมรรถนะเปน็ สง่ิ ทบ่ี อกมาเปน็ ความคดิ รวบยอด ไมม่ รี ายละเอยี ด แบบตวั ชี้วดั จึงไมม่ กี รอบการสอน สามารถออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอนทห่ี ลากหลายตรงกบั พฒั นาการของนกั เรยี น จดุ ยากทส่ี ดุ คอื การออกแบบกจิ กรรมใหต้ รงกบั สมรรถนะ และการประเมนิ ผล ตามสมรรถนะท่ีกำ�หนดไว้ 188รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ตารางท่ี 45 ข้อคิดเห็นของกลุ่มครูผู้สอนต่อผลกระทบท่ีเด็กได้รับจากการนำ�กรอบสมรรถนะ ไปใชใ้ นการออกแบบและจัดการเรียนการสอน ผู้ใหข้ อ้ มูล ความคิดเห็น กลุม่ ครูผ้สู อน การนำ�กรอบสมรรถนะไปใชส้ ง่ ผลต่อเด็กอยา่ งไร - เดก็ เกดิ สมรรถนะ สามารถน�ำ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ได้ กลา้ แสดงออก กลา้ คดิ กลา้ ทำ� การสง่ ผลตอ่ เด็กในดา้ นอ่ืน ๆ นอกเหนอื จากดา้ นสมรรถนะ - เด็กเกดิ เจตคตทิ ด่ี ี สนกุ กบั การเรยี น ซ่งึ เกิดจากกิจกรรมทีห่ ลากหลาย ผลทไ่ี ด้ ส่วนใหญเ่ กิดจากการลงมือปฏบิ ัตขิ องผเู้ รยี น - ดจู ากความสามารถท่ีนกั เรยี นแสดงออก และนกั เรียนนำ�สง่ิ ที่เรยี นรทู้ โ่ี รงเรยี น ไปทำ�ซ้าํ ทบี่ า้ น - การใฝร่ ใู้ ฝเ่ รยี นของนกั เรยี นเพมิ่ มากขน้ึ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั นกั เรยี นทไี่ มค่ อ่ ยสนใจ เรยี นกแ็ สดงความสนใจในการเรยี นมากขน้ึ ผปู้ กครองชนื่ ชมเมอื่ นกั เรยี นน�ำ สง่ิ ทเี่ รยี นทีโ่ รงเรยี นไปทำ�ซ้ําทีบ่ ้าน จากตาราง 45 กลุ่มครูผู้สอน มีความเห็นสอดคล้องกันในการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ ในการออกแบบและจดั การเรยี นการสอน สง่ ผลใหเ้ ดก็ เกดิ สมรรถนะ สามารถน�ำ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ได้ กลา้ แสดงออก กลา้ คิดกล้าทำ� สว่ นผลในด้านอ่ืน ๆ นอกเหนอื จากด้านสมรรถนะ ได้แก่ นักเรียน เกดิ เจตคตทิ ด่ี ี สนกุ กบั การเรยี น ซง่ึ ทงั้ หลายนเ้ี กดิ จากกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย ผลทไี่ ดส้ ว่ นใหญเ่ กดิ จาก การลงมอื ปฏิบตั ขิ องผู้เรียน 189รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล ตารางท่ี 46 ขอ้ คดิ เหน็ ของกลมุ่ ครูผู้สอนตอ่ การเปลย่ี นแปลงด้านตา่ ง ๆ ของครจู ากการน�ำ กรอบ สมรรถนะไปใช้ในการออกแบบและจดั การเรยี นการสอน ผู้ใหข้ ้อมูล ความคดิ เหน็ กลมุ่ ครผู ู้สอน ดา้ นการออกแบบการเรียนการสอน – ครูมีมมุ มองกวา้ งขึ้นสามารถแตกแขนงความคิด และครูออกแบบแผนการจดั การเรียนได้ เพ่ือตรวจสอบให้เกิดสมรรถนะ ปรับเพิ่มกิจกรรมการสอนจาก แผนการสอนเดมิ - ครคู ดิ กจิ กรรมใหม้ คี วามหลากหลายและจ�ำ นวนมากขน้ึ เพอ่ื ใหต้ รงกบั สมรรถนะ ทต่ี ง้ั ไว้ ตอ้ งมกี ารตง้ั ปญั หา สถานการณเ์ พอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดท้ ดลองแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนและการประเมนิ ผล - เห็นความเชื่อมโยงของวิชาท่สี อนกับวชิ าอนื่ - ครูต้องคิดกิจกรรมท่ีนักเรียนต้องปฏิบัติจริงมากขึ้น รวมท้ังต้องจัดกิจกรรม ปัญหา หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตจริงเพื่อให้นักเรียนนำ�ความรู้ท่ีเรียน มาแกป้ ัญหา ด้านพฤตกิ รรมคร ู - ครกู ระตือรือรน้ พบกล่มุ เพ่ือนครมู ากขน้ึ เพอื่ พฒั นาตนเอง ใฝ่รมู้ ากขึน้ - ครูมีความสุขเพราะไดเ้ หน็ ถึงความเปลยี่ นแปลงของนักเรยี น - ครูเขียนแผนได้ดีขึน้ การจดั การเรียนรแู้ ละมคี วามหลากหลายมากข้ึน ดา้ นความรสู้ กึ เจตคตติ อ่ การสอนและตอ่ นักเรยี น - ครูเสียสละ มีความสุขเมื่อเห็นนักเรียนสนุก และได้รู้จักนักเรียนมากข้ึน เพอ่ื ส่งเสริมต่อยอดการพฒั นา - เปล่ียนจากท่ีเคยใช้แต่หนังสือสอน มาใช้กิจกรรมที่นักเรียนต้องลงมือทำ� นักเรียนที่ครูเคยมองว่าทำ�อะไรไม่ได้กลับแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ให้เห็นถึง ความสามารถของเขาทีค่ รูไม่เคยเห็น ชว่ งเปลย่ี นผา่ น/รอยตอ่ ของการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ หลงั จากทดลอง - จะดำ�เนินการจัดกิจกรรมต่อ เพราะเห็นความสำ�คัญ และอยากให้ครูคนอื่น เห็นความสำ�คัญและนำ�ไปใช้ - ขึ้นอยู่กับผู้บริหาร แต่โดยส่วนตัวอยากทำ�ต่อ เพราะสอนง่ายข้ึน เน่ืองจาก นักเรียนท่ีเคยมีปัญหาพฤติกรรมน้อยลง นักเรียนท่ีเคยไม่สนใจเรียนก็อยาก เรยี นมากขึน้ - อยากท�ำ แตภ่ าระงานเยอะคงไม่สะดวก 190รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล จากตาราง 46 กลมุ่ ครผู ้สู อน มกี ารน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการออกแบบและจัดการเรียน การสอน ส่งผลให้ครูมีการเปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการออกแบบการเรียนการสอน ครูมีมุมมองกว้างข้ึนสามารถแตกแขนงความคิด และครูออกแบบแผนการจัดการเรียนได้ ปรับเพิ่ม กิจกรรมการสอนจากแผนการสอนเดิม คิดกิจกรรมให้มีความหลากหลายและจำ�นวนมากข้ึนเพ่ือ ใหต้ รงกบั สมรรถนะทตี่ ง้ั ไว้ ตอ้ งมกี ารตง้ั ปญั หา สถานการณเ์ พอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดท้ ดลองแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนและการประเมนิ ผล คณะครเู หน็ ความเชอ่ื มโยงของวชิ าทส่ี อน กบั วชิ าอนื่ ดา้ นพฤตกิ รรมครู คณะครมู คี วามกระตอื รอื รน้ มกี ารพบพดู คยุ กบั กลมุ่ ครมู ากขน้ึ เพอื่ พฒั นา ตนเอง และใฝเ่ รยี นรูม้ ากขนึ้ ด้านความร้สู กึ เจตคตติ ่อการสอนและตอ่ เดก็ คณะครมู ีความเสยี สละ มคี วามสุขเมื่อเหน็ นกั เรียนสนกุ และไดร้ ูจ้ กั นักเรยี นมากขนึ้ เพื่อสง่ เสรมิ ต่อยอดการพฒั นา ส่วนด้านความคิดเห็นของกลุ่มครูผู้สอนโดยสรุป เกี่ยวกับช่วงเปล่ียนผ่าน/รอยต่อของ การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหลังจากทดลอง พบว่า ครูจะดำ�เนินการจัดกิจกรรมต่อ เพราะ เห็นความสำ�คัญ และอยากให้ครูคนอื่นเห็นความสำ�คัญและนำ�ไปใช้และขึ้นอยู่กับผู้บริหาร อยาก ท�ำ ตอ่ เพราะสอนงา่ ยขน้ึ เนือ่ งจากนกั เรยี นทีม่ ีปญั หาพฤตกิ รรมนอ้ ยลง นักเรียนท่ีเคยไมส่ นใจเรียน กอ็ ยากเรียนมากข้นึ และมีครบู างสว่ นอยากทำ� แต่ภาระงานเยอะ ไม่สะดวก ตอนท่ี 3 ข้อเสนอเชงิ นโยบายในการนำ�กรอบสมรรถนะผเู้ รยี นส�ำ หรบั หลกั สตู ร การศึกษาข้ันพ้นื ฐานสูก่ ารปฏบิ ตั ิ 3.1 ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาหลกั สตู ร 3.1.1 กำ�หนดให้มีเป้าหมายร่วมที่ชัดเจน ซ่ึงเป็นเป้าหมายที่ทุกคนสามารถรับรู้ และเขา้ ใจไดต้ รงกนั ในลกั ษณะของผลการเรยี นรทู้ พี่ งึ ประสงค์ (Desirable Outcomes) ทชี่ ดั เจน เขา้ ใจ ได้ไม่ยาก และไม่มากจนเกินไป ผู้ที่มีหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสามารถเห็นภาพใหญ่ (Big picture) ร่วมกันและมุ่งไปท่ีเป้าหมายเดียวกัน ซึ่งสามารถใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนท่ีเสนอ ในการวจิ ยั ครงั้ นเี้ ปน็ ฐานในการก�ำ หนดจดุ มงุ่ หมายดา้ นผเู้ รยี น โดยอาจพจิ ารณาทบทวนสมรรถนะหลกั สมรรถนะยอ่ ย ทง้ั ในแงข่ องจ�ำ นวนสมรรถนะและระดบั ความเขม้ ขน้ ของสมรรถนะทมี่ คี วามเหมาะสม กับผู้เรียนในแต่ละระดับ ซึ่งสามารถศึกษาวิจัยและทำ�ประชาพิจารณ์เพิ่มเติมได้ โดยการกำ�หนด เปา้ หมายรว่ มนี้ ทง้ั การก�ำ หนดเปา้ หมายรว่ มระดบั ชาติ ระดบั ทอ้ งถน่ิ / เขตพนื้ ท่ี และระดบั สถานศกึ ษา โดยใหเ้ ป้าหมายในทุกระดบั มีความสัมพนั ธ์เชอ่ื มโยงกนั 3.1.2 พฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะในระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานตามกระบวนการ วจิ ยั โดยควรมงุ่ เปา้ หมายใหไ้ ดห้ ลกั สตู รทก่ี �ำ หนดจดุ มงุ่ หมายเชงิ สมรรถนะ เสนอแนวทางการพฒั นา สมรรถนะ และแนวทางการวัดและประเมินผลสมรรถนะ ในลกั ษณะของการใชผ้ ลวิจัยช้ีน�ำ นโยบาย (Research-led policy) บนพนื้ ฐานของการมหี ลกั ฐานเชิงประจักษ์และระบบข้อมูลท่ีชดั เจนท่นี ำ�ไป สูก่ ารปรับปรงุ นโยบาย 191รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล นอกจากน้ี ควรให้มกี ารศึกษาเปรียบเทยี บความแตกต่างระหว่างหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กบั หลกั สตู รฐานสมรรถนะ เพอ่ื ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ ในการปรบั เปลยี่ น องค์ประกอบหลกั สูตรบางองคป์ ระกอบนัน้ มไิ ด้เป็นส่งิ ท่ียากล�ำ บาก 3.1.3 ปลดลอ็ ค“โครงสรา้ งเวลาเรยี น” ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ ทสี่ ถานศกึ ษามอี สิ ระจดั โครงสรา้ งหลกั สตู รรายวชิ าพนื้ ฐานหลกั ท่ีจำ�เป็นต่อการเรียนรู้ตามวัยที่สอดคล้องกับจุดเน้นและความต้องการตามบริบทของสถานศึกษา และชุมชนอย่างแท้จริง ทั้งนี้ แม้ว่าได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การบริหารจัดการ เวลาเรียนของสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ลงวนั ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 และคำ�ส่งั ส�ำ นกั งานคณะ กรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เรอื่ ง การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งเวลาเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางฯ ลงวนั ท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 แลว้ หากแตผ่ ใู้ ชห้ ลกั สตู รในระดบั สถานศกึ ษายงั ไมไ่ ดร้ บั รแู้ ละเกดิ ความเขา้ ใจ ในวงกวา้ ง รวมทง้ั ค�ำ สงั่ ฉบบั ดงั กลา่ วยงั มขี อ้ ก�ำ หนดถงึ โครงสรา้ งเวลาเรยี นเฉพาะสาระประวตั ศิ าสตร์ 40 ชวั่ โมงตอ่ ปี และรายวชิ าพน้ื ฐาน 840 ช่วั โมงตอ่ ปี 3.1.4 ตรวจสอบทบทวนตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560 ทง้ั นเี้ นอ่ื งจากผบู้ รหิ าร สถานศกึ ษาและครผู สู้ อนไดใ้ หข้ อ้ มลู วา่ ตวั ชวี้ ดั ของบางกลมุ่ สาระการเรยี นรมู้ จี �ำ นวนมากและซาํ้ ซอ้ นกนั เน้นด้านความรู้มาก ทักษะท่ีกำ�หนดในตัวช้ีวัดเป็นทักษะย่อย ๆ ส่วนด้านเจตคติ ค่านิยมมีน้อย ทำ�ให้การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผลของครูเป็นการพัฒนาและ ประเมินดา้ นความร้แู ละทักษะยอ่ ย ๆ ทีไ่ ม่เกิดเป็นสมรรถนะ 3.1.5 จดั รายวชิ าพน้ื ฐานแบบเนน้ รายวชิ าหลกั ใหม้ คี วามเขม้ ขน้ ระดบั ชน้ั ประถม ศกึ ษาตอนตน้ (ป.1 - 3) ไดแ้ ก่ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ และภาษาองั กฤษ ซง่ึ เปน็ รายวชิ าทเี่ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการเรียนรู้ศาสตร์อื่น ๆ และมีความจำ�เป็นต่อการนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน โดยจัดกลุ่มสาระ การเรยี นรอู้ นื่ ๆ เปน็ รายวชิ ารอง ไดแ้ ก่ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ประวตั ศิ าสตร์ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยจัดในลกั ษณะการบรู ณาการทนี่ ำ�สมรรถนะทง้ั 10 สมรรถนะเปน็ ฐานในการออกแบบการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการทงั้ รายวชิ าหลกั รายวชิ ารอง และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ทงั้ นี้ ตั้งแต่ระดับชน้ั ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4 - 6) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น (ม.1 - 3) และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 - 6) ควรคอ่ ย ๆ เตมิ ความเขม้ ขน้ ในรายวชิ าพน้ื ฐานและรายวชิ า เพ่ิมเติมที่จำ�เป็นต่อการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพตามศาสตร์เฉพาะในลักษณะความเข้มข้น ไตร่ ะดับ โดยใชส้ มรรถนะทงั้ 10 สมรรถนะเปน็ ฐาน 3.1.6 ใชส้ มรรถนะ 10 สมรรถนะ เป็นฐานสำ�คญั ไปสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน โดยเน้นการเชื่อมต่อหลักสูตรระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และระดับ การอดุ มศกึ ษาในลกั ษณะของสมรรถนะเชอ่ื มโยงตอ่ เนอื่ งกนั เพอ่ื สรา้ งคณุ ภาพของเดก็ ไทยใหเ้ ขม้ แขง็ ได้รับการพัฒนาท่ีสอดคล้องต่อเน่ืองตามความสามารถและความถนัดเฉพาะทาง โดยมีเป้าหมาย ในการสร้างพลเมืองไทยในอนาคตจากฐานสมรรถนะที่จ�ำ เปน็ ต่อการดำ�เนนิ ชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 192รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 3.1.7 ระดมความรว่ มมอื จากทกุ ภาคสว่ นทกุ สงั กดั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษา เพื่อให้มีขอ้ มูลสภาพปญั หาผเู้ รยี น การจดั การศึกษา และข้อมูลสำ�คัญจำ�เปน็ อนื่ ๆ อย่างหลากหลาย มุมมอง หลากหลายมิติ และน�ำ มาสู่การก�ำ หนดวสิ ัยทัศนร์ ่วมกนั (Share Visions) พร้อมท้งั ระดม ข้อมูลแนวปฏิบตั ทิ น่ี ่าสนใจและใชไ้ ด้ผลเพือ่ นำ�มาส่กู ารกำ�หนดนโยบาย (Practice to Policy) 3.2 ขอ้ เสนอแนะต่อการบริหารจดั การหลกั สูตรและการนำ�หลักสตู รไปใช้ 3.2.1 ดา้ นการส่ือสารและประชาสมั พนั ธห์ ลักสตู ร เนอื่ งจากการวจิ ยั ครงั้ นม้ี ขี อ้ คน้ พบประการหนงึ่ วา่ ผบู้ รหิ ารและครจู �ำ นวนมาก ไมท่ ราบขอ้ มลู ความเคลอ่ื นไหวและการปรบั ปรงุ หลกั สตู ร ดงั นน้ั ตอ้ งหายทุ ธวธิ ใี นการประชาสมั พนั ธ์ สื่อสารเพ่ือสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันในการใช้หลักสูตรแกนกลางฯ แนวทางหลักสูตรฐาน สมรรถนะ การบริหารจัดการหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล ในระดับช้ันเรียนท่ีมีความยืดหยุ่นหลากหลายแก่สถานศึกษาในทุกสังกัด เพ่ือให้ผู้ใช้และผู้พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาสามารถใช้และพัฒนาหลักสูตรได้ตามเจตนารมณ์ ให้เกิดผลจากภาคนโยบายสู่ภาคปฏิบัติได้อย่างแท้จริง ทั้งนี้ การส่ือสารต้องมรี ูปแบบที่ทันสมัย เข้าถึงง่าย หลากหลายช่องทางท่ีเหมาะสมกับผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้เก่ียวข้องที่มีหลาย ชว่ งวยั และมคี วามแตกตา่ งดา้ นประสบการณใ์ หส้ ามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และเขา้ ใจวธิ ที �ำ งานไดด้ ว้ ยตนเอง ท้ังในลักษณะของการจัดทำ�เอกสาร คู่มือ แหล่งเรียนรู้ การจัดสัมมนา การมีที่ปรึกษา การสร้าง สารสนเทศออนไลน์ เชน่ เวบ็ ไซต์ เฟซบกุ๊ แฟนเพจ แอปพลเิ คชนั วดี ทิ ศั น์ Call-center รวมถงึ การเปดิ พนื้ ที่สาธารณะ เชน่ กระดานข่าวออนไลน์ การตั้งกระทู้ เพอ่ื ช่วยให้ผ้มู หี นา้ ที่ในการใชห้ ลักสูตร อาทิ ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งสะดวก สามารถศกึ ษาท�ำ ความเขา้ ใจหลกั สตู ร ได้อย่างละเอียด และสามารถให้ข้อมูลสะท้อนปัญหาการใช้หลักสูตรดังกล่าว เพื่อใช้เป็นข้อมูล พืน้ ฐานในการพฒั นาหลกั สูตรของสถานศกึ ษาไดต้ อ่ ไป 3.2.2 ดา้ นการใชห้ ลกั สตู ร การออกแบบการเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล การออกแบบการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะตอ้ งก�ำ หนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เชงิ สมรรถนะทเ่ี หมาะสมกบั พฒั นาการตามชว่ งวยั และใชส้ ถานการณแ์ ละชวี ติ หรอื กจิ วตั รประจ�ำ วนั ของผู้เรียนเป็นตัวตั้ง โดยการเขียนจุดประสงค์เชิงสมรรถนะน้ีเป็นการระบุสิ่งที่ผู้เรียนต้องทำ�หรือ แสดงออก ซ่ึงเป็นการผสมผสานท้ัง ทักษะ ความรู้ และคุณลักษณะที่ผู้เรียนต้องใช้ในการทำ�งาน หรือใช้ในสถานการณ์เงื่อนไขนั้น ๆ และการออกแบบการเรียนการสอนและการพัฒนาหลักสูตร สถานศกึ ษาตอ้ งใช้ “บรบิ ทชวี ติ จรงิ ” ของผเู้ รยี นเปน็ ฐาน โดยมงุ่ เนน้ สมรรถนะทผี่ เู้ รยี นสามารถใชไ้ ด้ จรงิ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ซงึ่ มกั เปน็ การออกแบบการเรยี นการสอนทตี่ อบสนองตอ่ ความแตกตา่ งหลากหลาย ของผู้เรียน (Differentiated Instruction) รวมถึงต้องกำ�หนดแนวทางการวัดและประเมินผลที่ เน้นเพื่อพัฒนาโดยเน้นการประเมินตามสภาพจริงท่ีใช้สมรรถนะเป็นฐาน ทั้งน้ี ในส่วนของ การประเมินระดบั ชาติกต็ ้องใช้การประเมินฐานสมรรถนะเชน่ กัน 193รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 3.2.3 ข้อเสนอแนะต่อการจัดตั้งองค์กรหรือคณะบุคคลที่เก่ียวข้องกับการปฏิรูป หลกั สตู ร เสนอให้มสี ถาบัน หนว่ ยงานกลาง หรือคณะบุคคลทำ�หน้าที่วางแผนก�ำ หนด ทศิ ทาง การพัฒนาคุณภาพเดก็ ไทยอยา่ งเปน็ องค์รวมของทุกกระทรวง ทุกสังกดั หน่วยงาน และ องค์กรที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา โดยอาจมีองค์คณะบุคคลท่ีประกอบด้วย ผู้แทนระดับ นโยบายและระดับผู้ปฏบิ ตั ิจากหนว่ ยงานทีจ่ ัดการศกึ ษา เพอ่ื ให้ระดบั ผปู้ ฏบิ ตั ิท่มี หี นา้ ทนี่ ำ�หลักสตู ร ไปใช้มีเป้าหมายร่วมกันในการจัดการศึกษาให้เด็กแต่ละวัยตามบทบาทหน้าท่ี ภายใต้เป้าหมาย ในทศิ ทางเดยี วกนั มกี ารวางแผนการเชอ่ื มตอ่ หลกั สตู รแตล่ ะระดบั อยา่ งกลมกลนื และมปี ระสทิ ธภิ าพ แต่ละระดับการศึกษา เห็นความสัมพันธ์สอดคล้องตลอดทั้งระบบการพัฒนาหลักสูตร ตั้งแต่ การรา่ ง การใช้ และการประเมนิ ผล ตลอดจนเปน็ สอ่ื กลางในการสอื่ สารประชาสมั พนั ธ์ใหส้ ถานศกึ ษา ทุกสังกดั เข้าใจตรงกนั ทง้ั ในด้านหลกั สตู ร การสอน การวดั และประเมนิ ผล รวมท้ังเป็นหนว่ ยงานท่ี ระดมทรัพยากรและวางระบบฐานข้อมูลเพ่ือสนับสนุนการเรียนรู้ โดยเฉพาะแนวคิด แนวทาง และนวัตกรรมทน่ี า่ สนใจจากสถานศึกษาในทกุ สงั กัด หน่วยงานข้างต้นน้ีต้องมีบุคลากรเป็นนักวิชาการด้านหลักสูตร การสอน การวดั และประเมนิ ผลทสี่ ามารถใหค้ �ำ ปรกึ ษาและตอบปญั หาดา้ นบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร การจดั การเรยี น การสอน การวัดและประเมินผลแกผ่ ้บู รหิ ารและครูในสถานศึกษาได้ รวมถึงควรเพมิ่ บคุ ลากรที่ดแู ล ให้คำ�ปรึกษา แนะนำ�ในด้านนี้แก่คณะครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้งในระดับชาติและระดับ ท้องถิ่นใหเ้ พยี งพอดว้ ย 3.2.4 ขอ้ เสนอแนะตอ่ การพัฒนาวิชาชีพครู ความสำ�เรจ็ ของการใช้หลกั สูตรมไิ ดอ้ ยู่ที่การผลิตตัวเลม่ หลักสตู รไดแ้ ล้วเสร็จ หากแตอ่ ยทู่ กี่ ารพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพไดบ้ รรลตุ ามจดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร ซงึ่ ผทู้ มี่ บี ทบาทส�ำ คญั ก็คอื ครูที่ต้องท�ำ หน้าท่เี ป็นผูน้ �ำ การเปล่ียนแปลง (Change Agent) ดังน้นั จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งพฒั นาครู และผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาในเรอ่ื งหลกั สตู รฐานสมรรถนะและการจดั การเรยี นการสอนใหเ้ ขา้ ใจชดั เจน และมีการนิเทศติดตามอย่างจริงจังสม่ําเสมอ ซึ่งปัจจัยท่ีหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องต้องช่วยสนับสนุน ใหค้ รูทำ�งานได้ประสบผลสำ�เรจ็ ได้แก่ 1) การสรา้ งความเขา้ ใจแกค่ รทู กุ คน ใหเ้ ขา้ ใจอยา่ งชดั แจง้ วา่ ตนตอ้ งด�ำ เนนิ การ อยา่ งไรใหน้ กั เรยี นบรรลเุ ปา้ หมาย รวมทงั้ การเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจและพฒั นาทกั ษะเพมิ่ เตมิ แกค่ รดู า้ น การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ โดยเฉพาะอย่างย่ิงสำ�หรับครูระดับประถมศึกษาตอนต้น ที่ต้องเข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสมรรถนะเด็กปฐมวัยกับกรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ซ่ึงตอ้ งพัฒนาสมรรถนะดงั กลา่ วใหม้ ีความเชอื่ มโยงกนั 2) การจดั เตรยี มเครอ่ื งมอื และสอ่ื การเรยี นการสอน ทชี่ ว่ ยใหค้ รสู ามารถจดั การเรยี น การสอนไดด้ ว้ ยการน�ำ แนวทางการสอนทดี่ แี ละมปี ระสทิ ธภิ าพมาใช้ มากกวา่ เนน้ ใหค้ รพู ฒั นาเนอื้ หา บทเรยี น โดยกจิ กรรมทจี่ ะใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั คิ วรมคี มู่ อื หรอื ขอ้ ความแนะน�ำ วธิ ดี �ำ เนนิ การหรอื ทศิ ทาง 194รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสตู รการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล ของกิจกรรมน้ัน ๆ สำ�หรับครู อาทิ คู่มือแนวทางการใช้รูปแบบ วิธีหรือแนวการสอนเพ่ือพัฒนา สมรรถนะดา้ นตา่ ง ๆ คมู่ อื แนวทางการวดั และประเมนิ ผลสมรรถนะดา้ นตา่ ง ๆ รวมทงั้ ตวั อยา่ งเครอื่ งมอื วัดสมรรถนะ 3) การจัดเตรียมข้อมูลผลการประเมิน ท่ีบอกได้ว่าการเรียนรู้ของนักเรียน เป็นอยา่ งไร เป็นขอ้ มลู การเปรียบเทียบทอี่ า้ งองิ กบั ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวัง โดยเนน้ ทีป่ ระสิทธภิ าพ การสอนของครู ในลักษณะของการประเมินเพ่ือการเรียนรู้ (Assessment for Learning) ให้ครู เกิดการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียน ช่วยให้ครูย้อนกลับมามองการสอนของตนเองและปรับการสอนด้วย ตนเองได้ (ออกแบบเครอื่ งมอื พฒั นาใหค้ รสู ามารถท�ำ งานไดด้ ้วยตนเอง) หรืออาจโดยการจดั ตั้งคณะ กรรมการประเมนิ หลกั สตู รภายในโรงเรยี น ซงึ่ สามารถสะทอ้ นผลการใชห้ ลกั สตู รในระดบั ชนั้ เรยี นตอ่ ผบู้ รหิ ารและตน้ สงั กดั อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั เพอื่ เออ้ื อ�ำ นวยใหผ้ ดู้ แู ลระดบั บรหิ ารสถานศกึ ษาสามารถ น�ำ ขอ้ มลู ต่าง ๆ น้ี ไปศกึ ษาวิจัยเพ่อื พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาตอ่ ไปในอนาคต 4) การพฒั นาครแู กนน�ำ ครผู เู้ ชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นหลกั สตู รและการเรยี นการสอน ท่ีสามารถเสนอแบบอย่าง วิธีและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรและการสอนที่ได้ผล ซึ่งเป็นวิธี การสอนทไ่ี ดร้ บั การทดลอง และมผี ลการวจิ ยั ยนื ยนั ถงึ ประสทิ ธภิ าพของวธิ ดี งั กลา่ วแลว้ เพอ่ื ใหค้ รไู ด้ ศกึ ษาและเปรยี บเทยี บกับวิธีการสอนของตนแลว้ น�ำ ไปสกู่ ารปรบั เปลย่ี นเพื่อเป็นแนวทางการพฒั นา หลกั สูตรและการสอนให้กบั เพื่อนครู 5) การสนบั สนนุ และสรา้ งแรงผลกั ดนั จากเพอ่ื นครรู ว่ มวชิ าชพี โดยการสรา้ ง ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าชพี ทมี่ กี ารแลกเปลยี่ นวธิ สี อนและสะทอ้ นผลการสอนรว่ มกบั ครมู อื อาชพี เพอื่ การพฒั นาการสอน 6) การมีผู้น�ำ และผู้บริหารสถานศกึ ษาชว่ ยสนบั สนุนการทำ�งานและสร้างแรง ผลักดันใหเ้ กิดผลลัพธ์ท่ดี ี 7) การให้ชมุ ชนไดร้ บั ทราบถงึ ความคาดหวงั หรือเป้าหมายของสถานศึกษา และโรงเรยี นตอ้ งแสดงความรบั ผดิ ชอบต่อผลลัพธ์ทชี่ มุ ชนคาดหวัง โดยทัง้ ผบู้ ริหารสถานศึกษาและ ครูต้องพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถแสดงถึงความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาแก่ สังคมและชุมชนได้ 8) การวจิ ยั การตดิ ตาม และการประเมนิ ผลในการน�ำ หลกั สตู รไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ในห้องเรียนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือพัฒนาและรูปแบบวิธีการสอนใหม่ ๆ ที่สร้างความมั่นใจในการจัด การศกึ ษาได้วา่ วธิ ีการสอนใดดกี ว่าวิธที ี่ใชอ้ ยู่ ทงั้ นี้ ในการวจิ ยั ครงั้ นมี้ ขี อ้ คน้ พบวา่ กลมุ่ ผเู้ กยี่ วขอ้ งมหี ลายลกั ษณะ อาทิ 1) ไมย่ อมรบั รู้ ความเปลย่ี นแปลง 2) รบั รู้ แตไ่ มอ่ ยากเปลย่ี นแปลง หรอื 3) รบั รู้ อยากเปลย่ี นแปลง แตไ่ มก่ ลา้ ปรบั เปลยี่ น ซึง่ การพัฒนาบคุ ลากรแตล่ ะกลุ่มจึงตอ้ งมีกลยุทธ์ท่แี ตกต่างกนั ในกลุ่มเปา้ หมายเหล่านี้ 195รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสูตรการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตร การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน มีวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย คอื 1) เพือ่ พัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียนระดบั ประถม ศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 2) เพอ่ื น�ำ เสนอแนวทางการใชก้ รอบสมรรถนะ ผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น ในการพัฒนาผู้เรียน 3) เพื่อทดลองใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนต้น ในการพัฒนาผู้เรียน และ 4) เพ่ือจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบายในการนำ� กรอบสมรรถนะผเู้ รียน ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานสู่การปฏบิ ัติ กลุ่มตัวอยา่ ง การศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ น้ี เปน็ การวจิ ยั และพฒั นาทใ่ี ชก้ ระบวนการวจิ ยั แบบพหวุ ธิ ี (Multimethods Research) ประกอบดว้ ย การศกึ ษาเอกสาร (Documentary Study) การศึกษาภาคสนาม (Field Study) และการสนทนากลมุ่ (Focus Group Interview) และมกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลดว้ ยวิธีการ ทหี่ ลากหลาย (Multi - instrument Approach) กลมุ่ ตวั อยา่ งการวจิ ัยน้ี ได้แก่ โรงเรียนนำ�รอ่ งใช้กรอบสมรรถนะผูเ้ รยี นระดับประถมศกึ ษา ตอนต้น หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน จำ�นวน 6 โรงเรียน ประกอบดว้ ย โรงเรยี นท่จี ัดการศึกษา ข้นั พ้ืนฐานทุกสังกดั ในระดับชั้นประถมศกึ ษาตอนต้น (ป. 1 - 3) ได้แก่ โรงเรยี นบ้านขอบดง้ และ โรงเรยี นเทพศิรินทร์ 9 สังกดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน โรงเรียนวดั ปลกู ศรัทธา เขตลาดกระบัง สังกัดสำ�นักการศึกษากรุงเทพมหานคร โรงเรียนอนุบาลหนูน้อย สังกัดสำ�นักงาน คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน โรงเรยี นเทศบาล 4 (เพาะช�ำ ) สงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และโรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สงั กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษา ครอบคลมุ ใน 4 ภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคใต้ รวมจำ�นวนผู้บรหิ าร 8 คน และจ�ำ นวนครู 36 คน รวมจำ�นวนผู้เข้าร่วมวจิ ัยทง้ั สน้ิ 44 คน ซ่งึ ไดจ้ าก การเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 197รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ วธิ ดี �ำ เนนิ การวจิ ัย การดำ�เนินการวจิ ัยแบ่งออกเปน็ 3 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะท่ี 1 การพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และกรอบสมรรถนะ หลกั ผเู้ รยี นระดับประถมศกึ ษาตอนต้น 1) การศกึ ษาแนวคิดการจดั การศึกษาฐานสมรรถนะและมโนทัศนเ์ ก่ียวกบั สมรรถนะ 2) การพัฒนาสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและสมรรถนะหลัก ของผูเ้ รียนระดับประถมศกึ ษาตอนต้น 3) การพัฒนาแนวทางในการนำ�กรอบสมรรถนะหลักสู่การพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้อง กบั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 4) การพฒั นาเอกสารแนวทางด�ำ เนนิ การ สอ่ื ตน้ แบบ และรวบรวมทรพั ยากรการเรยี นรู้ เพอื่ พัฒนาสมรรถนะผูเ้ รียน ระยะท่ี 2 การทดลองนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียนระดับช้ันประถม ศกึ ษาตอนตน้ ในสถานศกึ ษา 1) การพัฒนาแนวทางการนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษา ตอนตน้ ไปสู่การจดั การเรยี นการสอน 2) การดำ�เนินการนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น ไปสู่การจัดการเรยี นการสอน ระยะที่ 3 การจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบายในการนำ�กรอบสมรรถนะผู้เรียนสำ�หรับหลักสูตร การศึกษาขั้นพืน้ ฐานสกู่ ารปฏบิ ตั ิ สรปุ ผลการวจิ ัย การวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตร การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน สามารถสรุปผลได้ ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ผลการพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานและ กรอบสมรรถนะหลกั ผ้เู รียนระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ คณะทำ�งานฯ สังเคราะห์สมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้ 4 องค์ประกอบ 10 สมรรถนะหลกั ดงั นี้ 198รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ องคป์ ระกอบท่ี 1 คนไทยฉลาดรู้ (Literate Thais) ประกอบด้วย 4 สมรรถนะหลัก ไดแ้ ก่ 1.1 ด้านภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สาร (Thai Language for Communication) 1.2 ด้านคณติ ศาสตรใ์ นชวี ติ ประจำ�วัน (Mathematics in Everyday Life) 1.3 ด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) 1.4 ดา้ นภาษาอังกฤษเพอื่ การส่ือสาร (English for Communication) องคป์ ระกอบที่ 2 คนไทยอยู่ดีมีสขุ (Happy Thais) ประกอบดว้ ย 2 สมรรถนะหลกั ไดแ้ ก่ 2.1 ด้านทกั ษะชวี ติ และความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) 2.2 ดา้ นทักษะอาชพี และการเปน็ ผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) องคป์ ระกอบที่ 3 คนไทยสามารถสงู (Smart Thais) ประกอบดว้ ย 2 สมรรถนะหลกั ได้แก่ 3.1 ด้านทักษะการคิดข้ันสูงและนวัตกรรม (Higher - order Thinking Skills and Innovation) 3.2 ด้านการรู้เท่าทันส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัล (Media, Information and Digital Literacy) องค์ประกอบที่ 4 พลเมืองไทยใส่ใจสังคม (Active Thai Citizen) ประกอบด้วย 2 สมรรถนะหลกั ไดแ้ ก่ 4.1 ด้านการทำ�งานแบบรวมพลงั เปน็ ทีม และมภี าวะผ้นู ำ� (Collaboration, Teamwork and Leadership) 4.2 ดา้ นพลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ /ตน่ื รทู้ ม่ี สี �ำ นกึ สากล (Active Citizen with Global Mindedness) เมอ่ื คณะท�ำ งานฯ สงั เคราะหแ์ ละพฒั นากรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานแลว้ ไดท้ �ำ การประเมนิ สมรรถนะของผเู้ รยี นชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ ตามกรอบโมเดลโครงสรา้ งสมรรถนะหลกั 10 สมรรถนะ โดยท�ำ การประเมนิ ผเู้ รยี นในสถานศกึ ษาในสงั กดั ตา่ ง ๆ ใน 4 ภมู ภิ าคทวั่ ประเทศ ไดแ้ ก่ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ส�ำ นกั การศกึ ษากรงุ เทพมหานคร และกรมสง่ เสรมิ การปกครอง ทอ้ งถ่ิน จ�ำ นวนท้ังส้ิน 2,337 คน โดยการส่มุ แบบแบง่ ชนั้ (Stratification Random Sampling) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโครงสร้างองค์ประกอบของสมรรถนะหลักของผู้เรียนที่ผู้วิจัย สงั เคราะหข์ นึ้ มากบั ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ โดยใชว้ ธิ กี ารวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชงิ ยนื ยนั (Confirmatory Factor Analysis) ด้วยโปรแกรมลิสเรล พบว่า โมเดลโครงสร้างของสมรรถนะหลักของผู้เรียน มีความสอดคล้องหรือกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และสามารถนำ�ไปใช้อธิบายสมรรถนะของ ผเู้ รยี นระดับประถมศึกษาตอนตน้ ได้ 199รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ตอนที่ 2 ผลการทดลองนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนต้นในสถานศกึ ษา 2.1 กระบวนการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน พบว่า โรงเรียนมีแนวทาง ในการนำ�กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการพัฒนาผเู้ รยี นใกล้เคยี งกัน โดยมีขนั้ ตอนหลกั คอื 1) ทบทวน และสรา้ งความเขา้ ใจ 2) เลอื กแนวทางการออกแบบการเรยี นการสอน 3) ออกแบบการเรยี นการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และประเมินผล 4) ติดตามผลและให้ความช่วยเหลือ ท้ังน้ีในแต่ละ โรงเรยี นจะมคี วามแตกต่างกนั ในสว่ นของลักษณะของกิจกรรมในแต่ละขน้ั ตอน 2.2 การเลอื กแนวทางในการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น จากการวเิ คราะห์ เนอื้ หาจากแผนการจดั การเรยี นรู้ พบวา่ ครสู ว่ นใหญ่ เลอื กใชแ้ นวทางที่ 1 ในการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน จำ�นวน 33 แผน คิดเป็นร้อยละ 66.00 รองลงมาคือ แนวทางที่ 2 และแนวทางที่ 3 แนวทางละ 7 แผน คิดเป็นร้อยละ 14.00 และน้อยที่สุดคือ แนวทางที่ 4 จ�ำ นวน 3 แผน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.00 2.3 การนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ออกแบบการเรียนการสอน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ และประเมินผล การน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใชอ้ อกแบบการเรยี นการสอน จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และประเมินผล พบว่า ทุกสมรรถนะหลักได้นำ�ไปใชใ้ นการออกแบบการเรียนการสอนท้งั 4 แนวทาง โดย สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สาร สมรรถนะหลกั ดา้ นคณิตศาสตร์ในชวี ิตประจำ�วนั สมรรถนะหลกั ดา้ นการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาองั กฤษ เพอื่ การสอ่ื สาร พบในแผนการจดั การเรยี นรแู้ นวทางท่ี 1 มากทสี่ ดุ สว่ นสมรรถนะหลกั ดา้ นทกั ษะชวี ติ และความเจรญิ แห่งตน สมรรถนะหลกั ดา้ นทักษะอาชีพและการเปน็ ผูป้ ระกอบการ สมรรถนะหลกั ด้านทักษะการคิดข้ันสูงและนวัตกรรม สมรรถนะหลักด้านการรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล สมรรถนะหลักด้านการทำ�งานแบบรวมพลัง เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ� และสมรรถนะหลักด้านการ เปน็ พลเมอื งท่เี ข้มแขง็ /ตน่ื รทู้ ่มี ีสำ�นกึ สากล พบในแผนการจัดการเรียนรูแ้ นวทางท่ี 3 มากที่สดุ 2.4 การเปลยี่ นแปลงท่เี กดิ ขึ้นกบั ครแู ละนกั เรียน 1) การเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ กบั ครู ครผู สู้ อนและผบู้ รหิ ารมคี วามคดิ เหน็ วา่ เมอ่ื น�ำ กรอบ สมรรถนะหลักไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา ตัวครูมีการ เปลยี่ นแปลงทงั้ ในดา้ นการออกแบบการสอน ลกั ษณะ/เทคนคิ การสอนทค่ี รนู �ำ มาใช้ การจดั กจิ กรรม การเรียนการสอน การใชส้ ือ่ และแหลง่ ทรัพยากร การประเมินผล และด้านอนื่ ๆ ดังนี้ ด้านการออกแบบ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และประเมินผล ครูออกแบบ กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นการปฏิบัติจริงและเน้นกระบวนการกลุ่มมากข้ึน คำ�นึงถึงการนำ� สมรรถนะมาเชอื่ มโยงกบั กจิ กรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพตามสมรรถนะทต่ี อ้ งการ มกี ารวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร ตวั ชวี้ ดั และสมรรถนะทส่ี อดคลอ้ งกนั เพอื่ ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นการสอน 200รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การวางแผนมีเป้าหมายชัดเจนขึ้น ครูปรับวิธีการสอน/กิจกรรม/บทบาทครูในการเป็นผู้อำ�นวย ความสะดวก จัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนหลากหลายขึ้น ให้เด็กลงมือปฏิบัติมากข้ึน เพิ่มกระบวนการกลุ่มมากข้ึน มีการเพ่ิมกิจกรรมให้เด็กได้คิด ได้ส่ือสาร ทำ�งานกลุ่ม การสะท้อน การเรยี นร/ู้ สมรรถนะ หลากหลายขนึ้ เมอื่ เขยี นแผนการจดั การเรยี นรแู้ ลว้ จะมกี ารตรวจเชค็ กจิ กรรม วา่ ท�ำ แลว้ เดก็ เกดิ สมรรถนะหรอื ไม่ ขณะทค่ี รสู อนมกี ารเชอ่ื มโยงสถานการณต์ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั มกี ารใชค้ �ำ ถามเพอื่ ใหเ้ ดก็ ยอ้ นกลบั เพอื่ ใหไ้ ดส้ มรรถนะทต่ี อ้ งการ เชน่ การสอื่ สาร แสดงความคดิ เหน็ ขอ้ คดิ ทไ่ี ด้ การแกป้ ญั หา รวมทง้ั กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ไดใ้ ชส้ มรรถนะอน่ื ในวชิ าตนเองมากขนึ้ และมกี ารบรหิ าร จัดการช้ันเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญมากข้ึน ในด้านการประเมินผลจะประเมินตามสมรรถนะ ท่ีเกดิ กบั นกั เรยี นจึงมีการประเมินท่หี ลากหลายขึน้ โดยประเมินจากการปฏบิ ตั ิ ประเมินจากผลงาน นกั เรยี น และการมีส่วนร่วมของนกั เรียนมากขึ้น ด้านลักษณะ/เทคนิคการสอนที่ครูนำ�มาใช้ จากการวิเคราะห์แผนการจัด การเรยี นรแู้ ละสงั เกตการสอน พบวา่ ครมู กี ารปรบั กจิ กรรมเปน็ การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยมลี กั ษณะกจิ กรรมและวธิ /ี เทคนคิ การสอน เชน่ ลงมอื ปฏบิ ตั ิ ฝึกปฏิบัติหน้าชั้นเรียน ลองผิดลองถูก ทดลอง ใช้กระบวนการกลุ่ม ใช้คำ�ถามเพื่อกระตุ้นนักเรียน ใช้กิจกรรมการเล่นเกม ปริศนาคำ�ทาย คำ�คล้องจอง ร้องเพลง บทบาทสมมติ ใช้สื่อการสอนที่ หลากหลายเหมาะสมกับวัย เช่น ของจริง นิทาน รูปภาพ YouTube ช่วยในการเรียนรู้ของเด็ก รวมทง้ั สอนโดยเนน้ การอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั ทเ่ี นน้ ทกั ษะปฏบิ ตั จิ รงิ และกระบวนการกลมุ่ เปน็ ตน้ ด้านอ่ืน ๆ ครูมีการปรับเปลี่ยนวิธีการทำ�งาน โดยมีการทำ�งานร่วมกับเพื่อนครู มากขึ้น มีการพัฒนาตนเองในด้านการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนา สอ่ื การเรยี นรู้ และมกี ารน�ำ PLC มาใชเ้ ปน็ กระบวนการในท�ำ งานและเรยี นรรู้ ว่ มกนั ปรบั เปลย่ี นบทบาท ของครจู ากครเู ปน็ ศนู ยก์ ลางเปลยี่ นเปน็ ผแู้ นะน�ำ และอ�ำ นวยความสะดวก เกดิ ความสมั พนั ธท์ ดี่ รี ะหวา่ ง ครแู ละนักเรยี นมากขนึ้ 2) การเปล่ยี นแปลงท่เี กิดขึ้นกบั นักเรยี น ในด้านผลที่เกดิ ข้ึนกบั นักเรียนตามสมรรถนะ หลักน้ันยังไม่ปรากฏชัดเจน เน่ืองด้วยระยะเวลาอันส้ัน แต่จากการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา ผู้บริหารและครูผู้สอนมีความคิด เหน็ วา่ นกั เรยี นมคี วามกระตอื รอื รน้ ในการเรยี น ตงั้ ใจเรยี น เขา้ ใจบทเรยี นมากขนึ้ นกั เรยี นไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิ สามารถน�ำ ไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ ไดม้ ากขน้ึ นกั เรยี นแกป้ ญั หาในสถานการณจ์ รงิ ไดจ้ ากการเชอื่ มโยงกจิ กรรม ในหอ้ งมาใชป้ ฏบิ ัตินอกหอ้ งเรียน นกั เรียนสนุกสนานในกิจกรรมการเรยี นรู้ กล้าแสดงออก กลา้ คดิ มากขึ้น นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มทำ�ให้เกิดการทำ�งานร่วมกัน มีการปรึกษากัน ช่วยเหลือกัน รู้จักบทบาทตนเอง เห็นศักยภาพของตนเอง รู้จักคุณค่าในตนเองมากข้ึน นักเรียนได้ออกไป น�ำ เสนอหนา้ ชน้ั เรยี น เกดิ ทกั ษะการสอ่ื สาร การแกไ้ ขปญั หา ซงึ่ สามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ได้ นอกจากนี้ นักเรยี นเกิดความผกู พันกับครมู ากข้ึน มคี วามสขุ ในการเรยี นร้มู ากขึน้ 201รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 2.5 บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศึกษา พบว่า ผ้บู รหิ ารมบี ทบาทหลกั ดงั นี้ 1) ผู้บริหารเป็นผู้นำ�ในการวางแผนดำ�เนินงาน ผู้บริหารมีบทบาทในการเป็นผู้นำ� ใหแ้ กค่ รใู นการเรม่ิ ตน้ ขบั เคลอื่ นการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น เรมิ่ ตงั้ แตก่ ารจดั ประชุมช้ีแจง สร้างความเข้าใจให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้อง ร่วมวิเคราะห์สมรรถนะหลักและสมรรถนะ ย่อยเพ่ือเพ่ิมความเข้าใจและครูสามารถนำ�สมรรถนะไปใช้ออกแบบการเรียนการสอนได้สะดวกข้ึน ร่วมวางแผนกับครูในการดำ�เนินงาน กำ�หนดแนวทางในการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ในแต่ละ ระดับช้ัน การออกแบบการเรียนการสอนและจัดท�ำ แผนการจดั การเรยี นรู้ 2) ผู้บรหิ ารเป็นท่ีปรกึ ษา ให้ความรู้ ค�ำ แนะนำ� ใหก้ ำ�ลงั ใจ และอ�ำ นวยความสะดวก ผู้บรหิ ารมีบทบาทในการเปน็ ทีป่ รกึ ษาใหแ้ กค่ รใู นการดำ�เนนิ งาน โดยเปน็ ที่ปรึกษาและใหค้ �ำ แนะน�ำ ในดา้ นการวางแผนน�ำ สมรรถนะไปใชใ้ นแตล่ ะวชิ าใหเ้ หมาะสมกบั หนว่ ยการเรยี นรขู้ องแตล่ ะระดบั ชนั้ และการจดั ท�ำ แผนการจัดการเรยี นรู้ ใหก้ ารสนับสนุนการดำ�เนินงาน สนับสนนุ สอื่ และทรพั ยากรที่ จ�ำ เปน็ ให้ก�ำ ลังใจ และคอยอำ�นวยความสะดวกในดา้ นตา่ ง ๆ ใหแ้ กค่ รู 3) ผู้บริหารเป็นผู้นิเทศ กำ�กับ ติดตามผลการดำ�เนินงาน ผู้บริหารมีบทบาท ในการนเิ ทศ ดแู ลการด�ำ เนนิ งานของครู ตดิ ตามตรวจแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ นเิ ทศ ดแู ลชว่ ยเหลอื ครกู รณพี บปัญหาขณะทดลอง รวมทั้งติดตามผลการด�ำ เนินงานของครู 2.6 ปัญหาที่พบและวิธีแก้ไข จากการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนา ผู้เรียนระดับชัน้ ประถมศกึ ษาตอนต้นในสถานศึกษา พบปัญหาและวธิ แี กไ้ ข ดงั นี้ 1) ด้านการออกแบบการเรียนการสอน ครูยังขาดความชำ�นาญและขาดความม่ันใจ ในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการออกแบบการเรยี นการสอน ยงั ไมเ่ ขา้ ใจค�ำ อธบิ ายสมรรถนะยอ่ ย บางตวั ทค่ี ลา้ ยกนั เชน่ สมรรถนะหลกั ภาษาไทยมสี มรรถนะยอ่ ยทคี่ ลา้ ยกนั สมรรถนะทกั ษะชวี ติ และ ความเจรญิ แหง่ ตนกบั สมรรถนะพลเมอื งทเี่ ขม้ แขง็ /ตน่ื รทู้ มี่ สี �ำ นกึ สากลมคี วามคลา้ ยกนั มาก และในสมรรถนะ ยอ่ ยมหี ลายขอ้ ทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั ครยู งั ไมค่ นุ้ กบั สมรรถนะท�ำ ใหไ้ มม่ นั่ ใจวา่ ท�ำ แผนการจดั การเรยี นรถู้ กู หรอื ไม่ ตัวบง่ ชบ้ี างตวั ยงั คลมุ เครือ ครอู า่ นแลว้ ยงั ไมค่ อ่ ยเข้าใจ อธิบายยังไมค่ รอบคลมุ ทำ�ใหน้ ำ�มาใชไ้ ม่ถูก ครูพยายามต่อยอดให้ออกแบบการเรียนการสอนได้หลายสมรรถนะแต่บางทีทำ�ได้ไม่ครบ บางที ยังคิดไม่ออกว่าจะแทรกสมรรถนะในกิจกรรมอย่างไร ครูยังไม่ค่อยมั่นใจว่าแผนการจัดการเรียนรู้ ครอบคลมุ สมรรถนะพอหรอื ไม่ บางครงั้ ใสส่ มรรถนะดา้ นนงึ ไปแตไ่ มเ่ กดิ กลบั ไปเกดิ สมรรถนะตวั อน่ื ทีไ่ มไ่ ด้ใสล่ งไป เพราะครยู ังไมเ่ ขา้ ใจกรอบสมรรถนะ ครไู มเ่ ขา้ ใจแนวทางการนำ�สมรรถนะไปพฒั นา ผ้เู รยี นในบางแนวทาง ยังห่วงเน้อื หาและการวัดผลท่ีตอ้ งเก็บคะแนนตามตวั ชวี้ ัด มกี ารแก้ปัญหาโดย (1) โรงเรียนจดั ประชุมเพ่อื ทำ�ความเข้าใจร่วมกนั (2) ครูร่วมกนั ศึกษาคมู่ ือศกึ ษากรอบสมรรถนะ 202รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ (3) ครูวเิ คราะห์วา่ ในแตล่ ะระดบั ช้นั ควรเกดิ สมรรถนะใดแค่ไหน (4) ใชก้ ระบวนการ PLC ในการเรียนรู้ร่วมกนั (5) ปรกึ ษาเพ่ือน / ปรกึ ษาผูบ้ รหิ าร (6) ปรึกษาศกึ ษานเิ ทศกเ์ พอื่ ขอค�ำ แนะนำ� 2) ด้านเวลา เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่พอ เพราะมีกิจกรรม หลากหลายมากข้ึนเพื่อตอ่ ยอดใหเ้ ด็กเกดิ สมรรถนะ จงึ ตอ้ งใชเ้ วลามากขนึ้ มีการแก้ปัญหาโดย (1) ครมู กี ารปรบั เพิม่ เวลา โดยใช้เวลาในคาบกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น / แนะแนว (2) ครูบูรณาการบทเรียนโดยใช้สมรรถนะและตวั ชวี้ ัดเปน็ หลัก ยดึ เน้อื หาน้อยลง (3) ครใู ชก้ ารยดื หยนุ่ เวลาในการสอน ซง่ึ บางครง้ั ตอ้ งใชเ้ วลาของวชิ าอน่ื ทตี่ นสอน หรอื ใชเ้ วลาสอนของเพอื่ นครู บางครง้ั กจิ กรรมอาจไมต่ อ่ เนอ่ื งกนั และบางครงั้ มกี ารปรบั กจิ กรรมใหม่ ให้อยู่ในเวลา 3) ดา้ นการบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี น ครผู สู้ อนไดส้ ะทอ้ นวา่ เวลาจดั กจิ กรรมในชนั้ เดก็ เลก็ ครจู ะเหนอื่ ยมากกวา่ ชน้ั เดก็ โต เพราะตอ้ งอธบิ ายใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจ นกั เรยี นยงั ไมค่ นุ้ เคยกบั การฟงั ค�ำ สง่ั และทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ในการใช้สมรรถนะเป็นหลัก จะมีปัญหาในการจัดงานให้นักเรียนทำ� เลือกจัดกลุ่มนักเรียน แล้วต้องคิดว่าจะหางานอะไรให้เหมาะสมกับความสามารถที่ต่างกัน อีกทั้ง ในบางโรงเรยี นมจี �ำ นวนนกั เรยี นมาก มขี อ้ จ�ำ กดั ในการใชพ้ น้ื ทแี่ ละการท�ำ งานกลมุ่ มกี ารแกป้ ญั หาโดย (1) ฝกึ ใหน้ กั เรยี นค้นุ เคยกบั การฟงั ค�ำ สงั่ และการท�ำ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง (2) ครูต้องวเิ คราะหน์ กั เรียนและเตรยี มงานทีเ่ หมาะกบั นักเรียนเพมิ่ เติม (3) ใชพ้ นื้ ทใี่ นการเรยี นรทู้ ง้ั ในหอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรยี นเพอื่ ใหน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 4) ดา้ นการบรหิ ารจัดการเวลาในการทำ�งานของครู ครสู ะทอ้ นว่า มีภาระงานมาก ไม่มีเวลาเต็มที่ในการมาเตรียมสมรรถนะและเตรียมแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สมรรถนะ ครู 1 คน สอนทุกวชิ าใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตอ้ งเตรียมนกั เรยี นเพอื่ ทดสอบ O - NET, NT ในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ต้องพัฒนานักเรียนให้อ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น โรงเรียนแก้ปัญหา โดยการจดั ประชมุ รว่ มท�ำ การเขา้ ใจหลกั การและรายละเอยี ดของสมรรถนะ และแนวทางการจดั การเรยี น การสอน 4 แนวทาง แล้วนำ�มาร่วมกันวางแผนเลือกแนวทางในการนำ�มาใช้จัดการเรียนการสอน ตามที่โรงเรยี นมีความพร้อมและบรบิ ทเอ้อื ต่อการท�ำ งาน 2.7 สงิ่ ทคี่ รแู ละโรงเรยี นตอ้ งการความชว่ ยเหลอื จากการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปทดลอง ใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ในสถานศกึ ษา พบวา่ สง่ิ ทค่ี รแู ละโรงเรยี นตอ้ งการ ความช่วยเหลอื มีดงั น้ี 1) ด้านการให้ความรู้และพัฒนาความสามารถของครูในการออกแบบการเรียน การสอน มีการให้ความรู้และใช้เวลาในการให้ครูฝึกออกแบบการเรียนการสอนมากข้ึน เพื่อให้ เข้าใจ concept และแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอนอย่างชัดเจนในทกุ แนวทาง รวมทั้ง 203รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ มีการพัฒนาครูในเร่ืองการจัดกิจกรรมที่แทรกสมรรถนะได้อย่างหลากหลาย เทคนิคการจัดการ ชน้ั เรียน และเนน้ รูปแบบการสอนในแต่ละแนวทางให้มากข้นึ 2) ดา้ นตัวชว้ี ัด มีการกำ�หนดรายละเอียดของสมรรถนะยอ่ ยแต่ละตัวแยกตามระดับ ช้นั ใหเ้ หมอื นกับตัวช้วี ัดในหลักสตู รแกนกลาง 3) ด้านคู่มือและตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือมีคำ�แนะนำ�ด้านการเขียน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแนวทางต่าง ๆ ท่ีชัดเจนและมีรูปแบบไปในแนวเดียวกัน มีตัวอย่างกิจกรรมการเรียนการสอนที่เป็นรูปธรรม มีตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และมีตวั อย่างตามแนวทางท่ี 1 - 4 เพิ่มเตมิ เพ่อื ใหค้ รูมแี นวทางในการทำ�งานเพมิ่ ขึ้น โดยเฉพาะ ตวั อยา่ งแนวทางท่ี 3 และ 4 เพิ่มมากขึน้ ในส่วนของตวั อย่างแนวทางที่ 4 ต้องการตัวอย่างที่รวม การนำ�กิจวัตรประจำ�วันมาออกแบบในลักษณะการบูรณาการในภาพรวมโดยไม่แยกเป็นกิจกรรม ยอ่ ย ๆ และครูบางสว่ นตอ้ งการแผนการจัดการเรยี นรสู้ ำ�เรจ็ รปู ใหค้ รบทุกวิชา 4) ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล ครตู อ้ งการแนวทางการวดั และประเมนิ ผลสมรรถนะ ท่ชี ดั เจน เห็นภาพตอ่ เนือ่ ง และสอดคลอ้ งกบั การวัดผลระดบั ชาติ 5) ดา้ นการใหค้ �ำ แนะน�ำ และชว่ ยเหลอื มกี ารนเิ ทศตดิ ตาม ใหข้ อ้ แนะน�ำ ใหค้ �ำ ปรกึ ษา บอ่ ย ๆ ทัง้ จากบคุ ลากรภายในโรงเรยี นและบุคคลภายนอก 2.8 ส่ิงท่ีครูคิดว่าเป็นปัจจัยท่ีทำ�ให้เกิดความสำ�เร็จ จากการนำ�กรอบสมรรถนะหลัก ไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา พบว่า ส่ิงท่ีครูคิดว่า เปน็ ปจั จัยทท่ี �ำ ให้เกิดความส�ำ เรจ็ มดี ังน้ี 1) กรอบสมรรถนะและรายละเอียด กรอบสมรรถนะทงั้ 10 สมรรถนะ มีความส�ำ คญั ในการสง่ เสรมิ นกั เรยี น หากมรี ายละเอยี ดและแนวทางในการน�ำ ไปใชท้ ชี่ ดั เจนจะชว่ ยใหค้ รเู ขา้ ใจและ นำ�ไปพฒั นานกั เรยี นได้ตรงเป้าหมายมากขึ้น 2) ผู้บริหาร หากผู้บริหารให้ความสำ�คัญ ให้การหนุนเสริม จะช่วยให้การทำ�งาน คล่องตัวขน้ึ เวลาจัดอบรม/รบั รขู้ ้อมูล อยากให้ผ้บู ริหารรว่ มไปรับรดู้ ว้ ยเพอ่ื สนับสนุนการด�ำ เนนิ งาน 3) ครูผู้สอน ครูต้องเข้าใจชัดเจนและออกแบบการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสมรรถนะ ท่ีสุด ความเข้าใจของครูในการนำ�สมรรถนะไปจัดการเรียนการสอนแต่ละแนวทางจะช่วยให้ครู วางแผนและเตรียมความพร้อมในการสอนได้ดีขึ้น โดยครูจะต้องมีความมุ่งมั่นพยายาม หาความรู้ เพ่ิมเติม เพื่อให้สามารถออกแบบกิจกรรมที่หลากหลาย เปลี่ยนจาก teacher - centered เป็น child - centered มีการฝกึ ปฏิบตั ิเกี่ยวกับสมรรถนะและน�ำ สมรรถนะมาออกแบบการจัดการเรยี น การสอนแต่ละแนวทาง มกี ารวดั ผลประเมนิ ผลตามสมรรถนะและตวั ชว้ี ดั ท่มี ใี นหน่วยการเรียนรู้เดมิ ครตู อ้ งใสใ่ จนักเรยี นมากข้ึน พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ ท�ำ สื่อ ใกลช้ ิดนกั เรยี นมากขนึ้ คดิ วา่ จะท�ำ อยา่ งไร ให้บรรลเุ ป้าหมายทตี่ อ้ งการ 204รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสตู รการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 4) การทำ�งานเป็นทีมของโรงเรียน การวิเคราะห์สมรรถนะและนำ�มาบูรณาการ ในการออกแบบการเรยี นการสอนรว่ มกนั ท�ำ ใหช้ ว่ ยลดเวลา และนกั เรยี นไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ สมรรถนะ มากข้ึน 5) ระยะเวลา มชี ่วงเวลาในการศึกษาหาความรู้ สร้างความเขา้ ใจและฝกึ ประสบการณ์ ในการนำ�สมรรถนะไปใช้จดั การเรยี นการสอนใหน้ านกว่าน้ี 6) การได้รับข้อมูลเก่ียวกับสภาพปัญหาของนักเรียนอย่างตรงจุด / มีข้อมูล เชิงประจกั ษ์ จะช่วยใหพ้ ฒั นานักเรียนไดต้ รงจดุ มากข้ึน 7) ผปู้ กครอง รบั รกู้ ารเปลยี่ นแปลงของการเรยี นการสอน และเขา้ ใจวา่ การสอนนกั เรยี น ใหเ้ กิดสมรรถนะต้องใชเ้ วลา และผู้ปกครองมีเวลาใกล้ชดิ กบั เดก็ 8) การนเิ ทศติดตาม คณะผูว้ ิจยั มีการนิเทศติดตามใหม้ ากข้นึ 9) มีแผนการจดั การเรยี นร้สู ำ�เร็จรปู ใหค้ ร ู 2.9 ข้อเสนอแนะ จากการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียนระดับ ชั้นประถมศกึ ษาตอนตน้ ในสถานศึกษา พบวา่ ผู้บริหารและครูมีข้อเสนอแนะ ดงั นี้ 1) ดา้ นการใหค้ วามรแู้ ละสรา้ งความเขา้ ใจ ควรสรา้ งความเขา้ ใจกบั คณะครใู นการน�ำ สมรรถนะไปจดั การเรียนการสอน โดย (1) ใหค้ วามรู้เกย่ี วกับสมรรถนะและมีตัวอยา่ งการน�ำ ไปใชท้ ี่หลากหลาย (2) เพม่ิ เวลาอบรมเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจมากขน้ึ และมกี ารทดลองปฏบิ ตั ิ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ รว่ มกัน ก่อนนำ�ไปใชจ้ รงิ (3) มกี ารพฒั นาครใู นการน�ำ สมรรถนะไปใชพ้ ฒั นาผเู้ รยี น โดยเนน้ เรอื่ งการออกแบบ กิจกรรมให้นักเรียนพฒั นาเกดิ หลายสมรรถนะและเกดิ ผลกบั นักเรียนมากท่ีสดุ 2) ด้านหลักสูตรและโครงสร้างหลักสูตร ในด้านหลักสูตรและโครงสร้างหลักสูตร มีขอ้ เสนอแนะดงั น้ี (1) มตี วั ชวี้ ดั เปน็ ตวั ตง้ั ตน้ เพราะสมรรถนะเปน็ กอ้ นใหญ่ หากไมม่ ตี วั ชวี้ ดั เหมอื นไมม่ ี จุดเร่ิม (2) ตวั ชว้ี ดั มคี วามชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย เชอ่ื มโยงกบั การทดสอบระดบั ชาติ NT / O - NET (3) ปรบั ลดรายวชิ าทซ่ี าํ้ ซอ้ น หลอมรวมสงิ่ ทซี่ าํ้ กนั เชน่ วทิ ยาศาตร ์ สงั คมศกึ ษา สขุ ศกึ ษา และพลศึกษาใชส้ มรรถนะเป็นฐานโดยบรู ณาการ (4) ในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ควรปรับโครงสร้างเวลาเรียนให้มีช่ัวโมงภาษาไทย เพิ่มมากขึ้นอย่างน้อยวันละ 2 ช่ัวโมง เนื่องจากเวลาท่ีมีไม่สัมพันธ์กับการปลูกฝังให้เกิดสมรรถนะ การอ่านเขียน โดยในโรงเรียนท่ีมีผลการอ่านดีเยี่ยมมีการจัดเวลาเรียนในภาคเช้าสอนภาษาไทย - คณิตศาสตร์ ส่วนวิชาอื่นใชก้ ารบูรณาการ 205รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสตู รการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 3) ด้านบริหารจัดการ หากครูประจำ�ชั้นสอนทุกวิชา จะสามารถยืดหยุ่นการจัด กิจกรรมไดง้ า่ ย แตถ่ า้ สอนเปน็ วชิ าทำ�ใหย้ ดื หย่นุ เวลาเรยี นได้ยาก 4) ด้านการวดั และประเมนิ ผล ครยู ังมคี วามกงั วลเรื่องผลสมั ฤทธข์ิ องนกั เรยี นเวลา ทดสอบระดบั ชาติ ยังไมเ่ หน็ หลกั สูตรตลอดแนว ไม่รวู้ า่ จะวัดและประเมินผลอยา่ งไร 5) ด้านระยะเวลาในการทดลอง ระยะเวลาค่อนข้างน้อย ทดลองใช้แผนการจัด การเรยี นรู้ จ�ำ นวน 1 - 2 แผน ยงั ไมค่ อ่ ยเหน็ ผลครยู งั ไมท่ ะลปุ รโุ ปรง่ วา่ คอื อะไร ท�ำ ใหเ้ ชอื่ มโยงไมค่ อ่ ยถกู 6) ดา้ นคูม่ อื ส่อื และแหลง่ ทรัพยากรการเรยี นรู้ มีขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี 6.1 จัดทำ�เอกสารเก่ียวกับสมรรถนะเพ่ิมเติม และมีตัวอย่างแผนการจัด การเรยี นรูใ้ นแตล่ ะแนวทางให้มากขน้ึ เพือ่ ใหค้ รูใช้ในการศึกษาและเปน็ แนวทางในการทำ�งาน 6.2 หากมีแผนการจัดการเรียนรู้สำ�เร็จรูปให้เป็นแนวทางครูจะนำ�ไปใช้ได้ง่าย ชว่ ยลดภาระใหค้ รู 2.10 ผลการศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูต่อการนำ�แนวทาง การใชก้ รอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ในการพฒั นาผเู้ รยี นหลงั สนิ้ สดุ การทดลอง จากการสนทนากล่มุ พบว่า 1) ด้านจุดแข็งและจุดอ่อนของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ดา้ นจดุ แขง็ พบวา่ สถานศกึ ษาสามารถน�ำ หลกั สตู รไปใชไ้ ดเ้ ลยและงา่ ยตอ่ ครเู มอื่ น�ำ ไป ลงสู่การปฏิบัติ มีตัวชี้วัดชัดเจนและครอบคลุมทำ�ให้ครูมีเป้าหมายในการสอนและประเมินผล ได้ครอบคลุม ด้านจุดอ่อน พบว่า หลักสูตรเดิมมีตัวช้ีวัดมากเกินไปและทับซ้อนในแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ โครงสร้างเวลาเรียนขาดความยืดหยุ่น จำ�นวนช่ัวโมงตามโครงสร้างหลักสูตรควรลดลง เน้ือหามากต้องยึดสาระกับตัวชี้วัดท่ีตนสอนเป็นหลักและไม่สามารถเช่ือมโยงความรู้ไปใช้ในชีวิต ประจ�ำ วันได้ วชิ าเรียนแตล่ ะกลุ่มสาระการเรยี นรู้มจี ำ�นวนมากเกินไป ดา้ นความตอ้ งการปรบั เปลย่ี น พบวา่ หลกั สตู รควรลดมาตรฐานและจ�ำ นวนตวั ชวี้ ดั เนอ้ื หาและเวลาเรยี นควรยดื หยนุ่ มากขน้ึ สง่ เสรมิ ความถนดั ของผเู้ รยี น เนน้ การปฏบิ ตั ิ การแกป้ ญั หา การเรยี นรูส้ ิ่งท่นี กั เรียนถนดั สามารถนำ�ไปใช้ในชวี ติ ประจำ�วันหรือประกอบอาชีพได้ หลกั สตู รควรมี ความยืดหยุ่นในการนำ�หลักสูตรไปใช้และเปิดกว้างให้แต่ละโรงเรียนพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น ในแตล่ ะโรงเรยี นทสี่ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของโรงเรยี นในแตล่ ะพนื้ ที่ ควรหลอมรายวชิ าเปน็ แนวบรู ณาการ ระบุเพียงเนื้อหาและสาระสำ�คัญและควรเอื้อให้มีกิจกรรมท่ีลงมือทำ�มากข้ึน ควรลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาเล่นและเพ่ิมดา้ นทักษะชวี ติ 2) ด้านการดำ�เนินการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปสู่การปฏิบัติในห้องเรียน พบวา่ โรงเรยี นมกี ารประชมุ วางแผนรว่ มกนั โดยรว่ มก�ำ หนดสมรรถนะหลกั และการน�ำ สมรรถนะไปใช้ จดั กจิ กรรม PLC เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจใหต้ รงกนั บรู ณาการสมรรถนะสกู่ ารปฏบิ ตั กิ บั นโยบายโรงเรยี น คดั เลอื กครผู สู้ อน แบง่ ปนั ความรรู้ ะหวา่ งเพอื่ นครจู ดั รปู แบบกจิ กรรมใหม่ ๆ ทหี่ ลากหลาย ใหก้ �ำ ลงั ใจ และเป็นที่ปรึกษาให้ครทู ท่ี �ำ แผนการสอน มปี ระเมินการสอนรว่ มกันและนิเทศกำ�กบั ตดิ ตาม 206รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ดา้ นครนู �ำ กรอบสมรรถนะหลกั ผเู้ รยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.1 - 3) ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นหอ้ งเรยี น พบวา่ ครสู ามารถน�ำ ไปใชไ้ ดโ้ ดยน�ำ สมรรถนะมาใชต้ ามแนวทางทเ่ี สนอแนะ คนละ 2 - 4 แนวทาง แตบ่ างโรงเรยี นยงั ขาดการปรึกษาและร่วมมือกนั อย่างตอ่ เน่อื ง ครดู �ำ เนนิ การ เขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ สง่ แผนให้ผูบ้ รหิ ารตรวจ มจี ัดประชุมเพื่อแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และ ประเมนิ แผนของครเู พ่ือใหเ้ กิดความถกู ตอ้ ง ดา้ นวธิ กี ารแกป้ ญั หากรณคี รยู งั ไมส่ ามารถน�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ไิ ด้ พบวา่ โรงเรยี นแกป้ ญั หา โดยครูรวมกลุ่มทำ� PLC อย่างเข้มแข็ง เพ่ือเรียนรู้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน ประชุม ปรกึ ษาท้งั แบบเป็นพิธกี ารและแบบกัลยาณมิตร เพื่อใหค้ วามชว่ ยเหลือและการลดภาระงานของครู 3) ข้อแตกต่างการท�ำ งานของครใู นการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ พบวา่ หลกั สูตร ฐานสมรรถนะ มีความยืดหยุ่นสูงกว่าและเปิดโอกาสครูให้คิดวิธีและแนวทางในการจัดการเรียน การสอนรปู แบบใหม่ ๆ เพมิ่ ขนึ้ มกี ารเรยี นรโู้ ดยรว่ มมอื กนั ในการเปลย่ี นแปลงตนเอง ในดา้ นการออกแบบ การเรียนการสอน ครูจัดทำ�แผนการเรียนรู้ที่ละเอียดและใช้เวลามากขึ้น ใช้เทคนิคในการสอนและ กิจกรรมหลากหลายสอดคล้องกับสมรรถนะ ใช้สื่อและสถานการณ์ต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้ มคี วามกระตอื รอื รน้ และยดื หยนุ่ ในการแกป้ ญั หา ผเู้ รยี นไดท้ �ำ งานเปน็ กลมุ่ สนกุ สนาน และสนใจเรยี น มากขนึ้ ท�ำ ใหน้ ักเรยี นมคี วามสุขและมเี จตคตทิ ี่ดใี นการเรียนรู้มากขึ้น ส่วนดา้ นการวัดผลประเมนิ ผล เป็นการวดั ผลบรู ณาการตัวชี้วัดกบั การวัดสมรรถนะเข้าด้วยกัน มกี ารประเมินตามสภาพจรงิ มากขนึ้ ลดการใช้ขอ้ สอบ ครบู างคนมคี วามเหน็ ว่าการวดั ผลประเมนิ ผลยังไม่ชดั เจนและใชเ้ วลามาก 4) การช่วยเหลอื นิเทศ และสนบั สนนุ ให้ครจู ัดท�ำ แผนการสอนและการนำ�แผน การสอนไปใชใ้ นหอ้ งเรียน พบว่า ผ้บู ริหารสถานศึกษาช่วยเหลือ นิเทศ และสนบั สนนุ ให้ครจู ัดท�ำ แผนการสอนและการน�ำ ไปใช้ในหอ้ งเรียน จัดประชุมสมํ่าเสมอเพ่ือสรา้ งความเข้าใจ ใชก้ ระบวนการ PLC ต้ังแต่การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ สังเกตการสอน และสะท้อนผลร่วมกัน ใช้การ Open Class โดยเข้าไปสังเกตการสอนในช้นั เรียนเพอ่ื นเิ ทศตดิ ตามเปน็ ระยะ ๆ สง่ เสริมการแบ่งปันการจดั กจิ กรรมและสื่อ และการจัดทมี งานชว่ ยเหลือ แนะนำ�ครู 5) ปญั หาอปุ สรรคทพี่ บในการสนบั สนนุ การท�ำ งานของครู ดา้ นการพฒั นาหลกั สตู ร พบว่า ครูไม่มีความรู้เรื่องการพัฒนาหลักสูตรเพราะมองว่าเป็นเร่ืองไกลตัว ด้านการออกแบบ การเรียนการสอน ครขู าดความมั่นใจในการจดั ท�ำ แผนการสอนท่คี รอบคลมุ สมรรถนะทีเ่ ลือกไว้และ ใช้คู่มอื เปน็ หลักยึดติดกับตัวอย่างในคู่มือ ท�ำ ให้ไมม่ ีความหลากหลายในการออกแบบ ครูหลายท่าน ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ของสำ�นักพิมพ์ตามหนังสือแบบเรียน ทำ�ให้นำ�สมรรถนะไปใช้ได้ยาก ดา้ นการวดั ผลประเมนิ ผล พบวา่ ครไู มแ่ นใ่ จวา่ การวดั ผลประเมนิ ผลสมรรถนะทดี่ คี วรด�ำ เนนิ การอยา่ งไร วิธีการแก้ไขเมื่อมีปัญหาอุปสรรค พบว่า ครูศึกษาวิธีการออกแบบการเรียน การสอนและการประเมินผลโดยค้นหาจากอินเทอร์เน็ตผู้บริหารสถานศึกษามาช่วยครูคิดวิเคราะห์ การทำ�งาน และมีความจำ�เป็นต้องมีผู้รู้ในโรงเรียนเพื่อพาครูโรงเรียนทำ� การใช้ระบบโทรทัศน์ การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (Distance Learning Television : DLTV) ในการพฒั นาครูและ ใช้เปน็ แบบอยา่ งในการวัดและประเมินผล 207รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสตู รการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 6) ชว่ งเปลยี่ นผา่ นหรอื รอยตอ่ การพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ พบวา่ สมรรถนะ 10 สมรรถนะเหมาะสมกับเด็กยุคใหม่ ควรจัดทำ�หลักสูตรฐานสมรรถนะต้ังแต่ระดับปฐมวัย ควรให้โรงเรียนมีอิสระด้านการจัดหลักสูตร ควรลดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดิมท่ีมากเกินไป ควรระบุ รายละเอียดสมรรถนะย่อยที่ชัดเจนในแต่ละระดับชั้นไปสู่สมรรถนะหลัก ควรปรับตารางเรียน ชั้นประถมศึกษาตอนต้น การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเสริมสมรรถนะเหมาะสมกับเด็กเล็ก ควรใช้สมรรถนะตอ่ ควบคู่ไปกบั ตัวชวี้ ดั และนำ�การประเมินสมรรถนะไปปรับใชก้ ับผ้เู รยี น ควรมคี ู่มอื เพราะท�ำ ให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจด้านสมรรถนะทตี่ รงกนั ดา้ นการด�ำ เนนิ การใชส้ มรรถนะตอ่ เนอ่ื ง พบวา่ จะน�ำ สมรรถนะไปใชต้ อ่ ควบคกู่ บั ตวั ชวี้ ดั เดมิ เนน้ กจิ กรรมทปี่ ระยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ใหม้ ากขน้ึ การทดลองน�ำ สมรรถนะมาใชต้ อ่ เนอื่ งโดยเรม่ิ จาก ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 และชั้นประถมศึกษาตอนต้น เพ่ือเป็นการเชื่อมต่อในช่วงเปล่ียนผ่าน ใชก้ ารประเมินตามสภาพจริงใหม้ ากขึน้ ไม่ได้ใช้ข้อสอบปลายภาค 7) การพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและการน�ำ กรอบสมรรถนะมาใชใ้ นโรงเรยี น ผู้บริหารและครูมีความเห็นว่า ส่ิงสำ�คัญประการแรก คือ การให้ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ สมรรถนะให้ชัดเจนโดยผู้บริหารสถานศึกษาเห็นความสำ�คัญ ให้การสนับสนุนและสามารถ เปน็ ที่ปรกึ ษาได้ มกี ารรวมกลุ่ม PLC อยา่ งเขม้ แขง็ การ Coaching โดยทมี พี่เลย้ี งช่วยเตมิ เต็มความรู้ เพ่ิมความชัดเจน ประการต่อมา คือ ครูต้องเปิดใจ ศรัทธา ใฝ่รู้ มีคู่มือการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริม สมรรถนะ ตวั อย่างกจิ กรรมที่น�ำ ไปสสู่ มรรถนะและแผนการสอน ประการสุดทา้ ย คือ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ จากผบู้ รหิ าร ชว่ ยเหลอื ผเู้ ชยี่ วชาญทร่ี จู้ รงิ และมาชว่ ยเหลอื ใหค้ �ำ แนะน�ำ ในการออกแบบ กจิ กรรมการเรียนการสอน 8) สง่ิ ทโี่ รงเรยี นตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ในการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและ การน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ พบว่า ควรมผี เู้ ช่ยี วชาญหรอื พเี่ ล้ยี งช้ีแนะในการออกแบบกิจกรรมและ การจัดทำ�แผนการจัดการเรียนการสอนที่เช่ือมโยงสมรรถนะ มีคู่มือการออกแบบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลและเทคนิค/กลยุทธ์ในการนำ�สมรรถนะไปใช้ มีแผนการจัด การเรยี นการสอนกลางทม่ี คี วามยดื หยนุ่ ครอบคลมุ ทกุ กลมุ่ สาระ มแี หลง่ การเรยี นรู้ Online ทเ่ี ผยแพร่ เทคนิคการสอนหรือกลยุทธ์ท่ีส่งเสริมสมรรถนะไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน โดยให้ครูสามารถเข้าถึงได้ ตลอดเวลา มีงบประมาณสนับสนุนเพ่ือการจัดซื้อส่ือสนับสนุนการสอน มีศูนย์รวมข้อมูลหลักสูตร ฐานสมรรถนะ เพมิ่ แหลง่ คน้ ควา้ หาความรโู้ ดยมแี หลง่ การเรยี นรู้ Online ทค่ี รสู ามารถเขา้ ถงึ ไดต้ ลอด เวลาและสอ่ื สารกบั ภาคแี ละผเู้ กยี่ วขอ้ ง มคี มู่ อื การวดั ผลประเมนิ ผลและเกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการเรยี น ท่ชี ัดเจนและเช่อื มโยงการประเมินสมรรถนะกบั การสอบ O - NET 208รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 9) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ในการพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะและการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ มีความเหน็ โดยสรปุ ดังน้ี หนว่ ยงานทพี่ ฒั นาหลกั สตู ร เปน็ หนว่ ยงานกลางในการวางระบบ ลดงานนโยบาย ที่ซ้ําซ้อนกัน จัดทำ�หลักสูตรฐานสมรรถนะ นำ�กรอบสมรรถนะไปใช้และจัดทำ�เกณฑ์การวัดและ ประเมินผล จัดทำ�คู่มือสมรรถนะ ประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ อบรมให้ความรู้ในเรื่องสมรรถนะ กำ�หนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนให้สอดคล้องกันทุกหน่วยงาน ปรับระเบียบการใช้งบประมาณ ในการสนับสนุนการสอน การพัฒนาเทคโนโลยีให้เข้ามามีบทบาทในการส่งเสริมสมรรถนะ พัฒนา เทคโนโลยีให้เข้ามามีบทบาทในการส่งเสริมสมรรถนะ การวางระบบการนำ�สมรรถนะไปใช้ เช่น การทดสอบระดบั ชาติ การรบั เดก็ ศกึ ษาตอ่ ปรบั เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลระดบั ประถมศกึ ษาเปน็ ผ่าน ไมผ่ ่าน และใชก้ ารประเมนิ ตามสภาพจริง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ก�ำ หนดเปา้ หมายคณุ ภาพผเู้ รยี นใหช้ ดั เจนและสอดคลอ้ งกนั ทกุ หนว่ ยงาน การสง่ เสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั กรอบสมรรถนะใหก้ บั ครู แกไ้ ขระเบยี บงบประมาณ ทย่ี งุ่ ยากใหม้ คี วามยดื หยนุ่ สรา้ งขอ้ ทดสอบทตี่ อบสนองตอ่ บรบิ ทพนื้ ทที่ ม่ี คี วามหลากหลายและวดั ผล ประเมินผลนกั เรียนตามพฒั นาการ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ของสถานศกึ ษา การก�ำ หนดนโยบายในระยะยาวและตอ่ เนอ่ื ง ลดนโยบายที่ซ้ําซ้อนและลดการส่ังการจากส่วนกลาง ให้ท้องถ่ินบริหารจัดการด้วยตนเองและ ส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นได้อย่างอิสระ ยืดหยุ่นการใช้งบประมาณของโรงเรียน มคี วามชดั เจนเกย่ี วกบั ความรดู้ า้ นสมรรถนะ รวมทงั้ ควรรวบรวมตน้ แบบของโรงเรียนตน้ แบบตา่ ง ๆ ให้ผู้สนใจศึกษาทาง Online อบรมให้ความรู้กับครูเกี่ยวกับกรอบสมรรถนะให้ความรู้ ความเข้าใจ กบั ผู้เกีย่ วขอ้ ง 10) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและ การนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ พบว่า ควรมีการประเมินหลักสูตรเดิมก่อนการปรับเปลี่ยนหลักสูตร และมีความชัดเจนแนวทางการดำ�เนินการของสมรรถนะ ใชก้ ระบวนการ PLC และ Lesson Study การพฒั นาครคู วรมผี รู้ จู้ รงิ มาใหว้ ธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ตอ้ งเพราะการสง่ ตอ่ ผา่ นศกึ ษานเิ ทศก์ อาจท�ำ ใหค้ ลาดเคลอื่ น เมอื่ ตอ้ งไปตรวจ นเิ ทศ ตดิ ตาม ท�ำ ใหป้ ฏบิ ตั ผิ ดิ ทาง จดั ท�ำ เวบ็ ไซตก์ ลาง เพอื่ การสบื คน้ ขอ้ มลู หรอื แลกเปลย่ี น ข้อมูลด้านสมรรถนะ หน่วยงานหลักสูตรต้องประสานงานกับกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงาน ตน้ สงั กดั ตา่ ง ๆ เพอื่ การท�ำ งานใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั มกี ารประชาสมั พนั ธอ์ ยา่ งทวั่ ถงึ จดั ท�ำ คมู่ อื การใชห้ ลกั สตู รฐานสมรรถนะใหก้ บั ครู ระบแุ หลง่ เรยี นรแู้ ละหนงั สอื ประกอบทจ่ี ะท�ำ ใหค้ รคู น้ หาความรู้ ได้ด้วยตนเอง มีสื่อและแหล่งเรียนรู้ประกอบการเรียนการสอน ควรประเมินผลการใช้หลักสูตร ฐานสมรรถนะ เพือ่ ติดตามและปรบั ปรุงแก้ไขเป็นระยะๆ 209รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ อภปิ รายผล 1. ผลการศึกษากรอบสมรรถนะและการนำ�แนวทางการใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ไปใช้ในการพฒั นาผู้เรียน 1.1 กรอบสมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะ มีความเหมาะสมในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนต้น เน่ืองจากมีความสอดคล้องของกรอบสมรรถนะหลักกับสมรรถนะ ของเดก็ ไทย โดยผลการวจิ ยั ตามกรอบโมเดลโครงสรา้ งสมรรถนะหลกั 10 สมรรถนะ ทนี่ �ำ มาตรวจสอบ ความสอดคล้องของโครงสร้างองค์ประกอบของสมรรถนะหลักของผู้เรียนท่ีผู้วิจัยสังเคราะห์ขึ้นมา กับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า โมเดลโครงสร้างของสมรรถนะหลักของผู้เรียนมีความสอดคล้องหรือ กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และสามารถนำ�ไปใช้อธิบายสมรรถนะของผู้เรียนระดับการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐานได้ในทุกกลุ่มสมรรถนะ 1.2 การนำ�แนวทางการใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรียน ครูสามารถนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้ทุกสมรรถนะ และทุกสมรรถนะหลักได้นำ�ไปใช้ในการออกแบบการเรียนการสอนท้ัง 4 แนวทาง โดยสมรรถนะ ด้านภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร สมรรถนะด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน สมรรถนะด้านการ สบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สมรรถนะดา้ นภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร พบในแผน การจัดการจัดการเรียนรแู้ นวทางท่ี 1 มากท่สี ุด ซง่ึ สอดคล้องกับผลการวิจัยในโครงการวิจยั ทดลอง เร่ือง การทดลองใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตรการศึกษา ข้ันพน้ื ฐาน ในโรงเรยี นเครือข่ายรว่ มทดลอง (สมบตั ิ คชสทิ ธ์ิ และคณะ, 2561) ทที่ �ำ การวิจัยทดลอง ใชก้ รอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ คขู่ นานกบั งานวจิ ยั นี้ โดยท�ำ การวจิ ยั กบั โรงเรยี น ท่ีมีความสนใจนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนเป็นโรงเรียนเครือข่ายร่วมทดลอง จ�ำ นวน 18 โรงเรียน ทัง้ ในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน สังกัดส�ำ นักการศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร สังกดั สำ�นกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน และสังกัดองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถนิ่ ครอบคลมุ ใน 4 ภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และ ภาคใต้ จากผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าครูผู้สอนยังคงมีความกังวลในเนื้อหาสาระวิชาและตัวช้ีวัดของกลุ่ม สาระวชิ า ใน 4 วชิ าหลัก ส่วนสมรรถนะด้านทักษะชวี ิตและความเจริญแห่งตน สมรรถนะดา้ นทักษะ อาชพี และการเป็นผู้ประกอบการ สมรรถนะการคดิ ขั้นสงู และนวตั กรรม สมรรถนะดา้ นการรู้เทา่ ทัน สือ่ สารสนเทศ และดจิ ิทลั สมรรถนะดา้ นการท�ำ งานแบบรวมพลงั เปน็ ทีม และมีภาวะผู้นำ� และ สมรรถนะด้านการเป็นพลเมืองที่แข็งเข้ม/ตื่นรู้ท่ีมีสำ�นึกสากล พบในแผนการจัดการจัดการเรียนรู้ แนวทางท่ี 3 มากที่สดุ แสดงให้เห็นว่า เมื่อเป็นตัวชีว้ ัดทไ่ี มย่ ึดตดิ กับกลุ่มสาระวชิ า ผู้สอนจะสามารถ บรู ณาการการสอนไดด้ ีกวา่ 210รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1.3 การน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ตามแนวทางต่าง ๆ มีความครอบคลุมและเอ้อื ต่อจดุ เนน้ นโยบายของโรงเรยี น ท้งั ในเขตชมุ ชนเมอื ง และเขตพื้นที่พิเศษ จากผลการวิจยั แสดงใหเ้ ห็นวา่ กรอบ สมรรถนะหลักมีความยืดหยุ่นในการนำ�มาปรับใช้ในสถานศึกษา โดยมีความสอดคล้องกับสภาพ ความตอ้ งการของโรงเรยี น ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ และเออ้ื ตอ่ การสง่ เสรมิ คณุ ภาพผเู้ รยี นตามนโยบายและจดุ เนน้ ของ โรงเรยี นทสี่ ดุ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ผลการวจิ ยั ทดลองใชก้ รอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ในโรงเรยี นเครอื ขา่ ยรว่ มทดลอง (สมบตั ิ คชสทิ ธิ์ และคณะ, 2561) ทพี่ บวา่ โรงเรยี น เครอื ขา่ ยรว่ มทดลองสามารถน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ทง้ั 10 สมรรถนะ มาปรบั ใชใ้ นการออกแบบกจิ กรรม การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น และบริบทของแต่ละโรงเรียนที่แตกต่างกัน แสดงให้เห็นถึงความยืดหยุ่นของกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนในการนำ�ไปใช้พัฒนาผู้เรียนใน สถานศกึ ษาโดยสอดรบั กบั พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 ท่ีมุ่งเน้นการกระจายอำ�นาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษาให้มีบทบาท และมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร (สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545) จากผลการวจิ ยั แสดงใหเ้ หน็ ว่า การน�ำ หลักสูตรฐานสมรรถนะไปทดลองใชใ้ นโรงเรยี น แม้ว่าโรงเรียน ร่วมทดลองจะมีความแตกต่างกันตามสังกัดหน่วยงาน ตลอดจนความแตกต่างด้านสภาพพื้นที่ ที่ตั้งจากทุกภาคของประเทศ รวมถึงความแตกต่างกันในด้านความพร้อมของปัจจัยทางการศึกษา ค่อนข้างมากและเป็นโรงเรียนขนาดเล็กในพื้นที่ชายขอบท่ีนักเรียนพูดภาษาไทยเป็นภาษาท่ีสอง มคี รไู มค่ รบชนั้ แตผ่ ลการทดลองใชห้ ลกั สตู รฐานสมรรถนะไปสกู่ ารออกแบบการจดั การเรยี นการสอน ในช้ันเรียนกลับมีแนวโน้มท่ีดีของการจัดการเรียนการสอนท่ีครูใช้หลักการบูรณาการ 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ที่ครูสามารถออกแบบหน่วยการเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการพัฒนาสมรรถนะให้กับผู้เรียน ราบรื่นกว่าการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนที่มีครูสอนเฉพาะรายวิชา การทดลองนำ�สมรรถนะ 10 สมรรถนะ ไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการออกแบบการจัดการเรียนการสอน ได้ในโรงเรียนทดลอง จึงเป็นข้อมูลที่แสดงถึงความยืดหยุ่นในการนำ�สมรรถนะไปสู่การปฏิบัติจริง ในโรงเรียน โดยไม่มีปญั หาอปุ สรรคดา้ นความเหลอื่ มลาํ้ ของโรงเรยี นท่ีเป็นปัญหาสำ�คญั ของประเทศ 1.4 กระบวนการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน มีขั้นตอนหลัก คือ 1) ทบทวนและสร้างความเข้าใจ 2) เลือกแนวทางการออกแบบการเรียนการสอน 3) ออกแบบ การเรยี นการสอน จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน และประเมนิ ผล 4) ตดิ ตามผลและใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในแต่ละขั้น ผู้บริหารมีส่วนสำ�คัญในการส่งเสริมโดยการแนะนำ� หนุนเสริม ให้กำ�ลังใจ เพื่อให้เกิด การขบั เคลอ่ื น รวมทง้ั การแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั ในกลมุ่ ครชู ว่ ยใหค้ รมู คี วามมน่ั ใจในการออกแบบการเรยี น การสอนมากขน้ึ ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั ผลการวจิ ยั ทดลองใชก้ รอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ในโรงเรยี นเครอื ขา่ ยรว่ มทดลอง (สมบตั ิ คชสทิ ธิ์ และคณะ, 2561) ทพ่ี บวา่ มขี น้ั ตอนหลกั ในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น 4 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ 1) ทบทวน และสรา้ งความเขา้ ใจ 2) เลอื กแนวทางการออกแบบการเรยี นการสอน 3) ออกแบบการเรยี นการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และประเมินผล 4) ติดตามผลและให้ความช่วยเหลือ เช่นเดียวกัน 211รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยนี้แสดงถึงบทบาทท่ีสำ�คัญของผู้บริหารสถานศึกษาในการแนะนำ� หนุนเสริม เพื่อการ ขบั เคลอ่ื นทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพแกค่ ณะครผู สู้ อน สอดคลอ้ งกบั ส�ำ นกั บรหิ ารงานการมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (2558) ทกี่ ลา่ ววา่ บทบาทหนา้ ทขี่ องผเู้ กยี่ วขอ้ งในการจดั ทกั ษะการเรยี นรทู้ เี่ นน้ สมรรถนะของสถาน ศกึ ษา ควรมกี ารศกึ ษาสภาพปจั จบุ นั ความตอ้ งการ การประชมุ ชแ้ี จงท�ำ ความเขา้ ใจ ก�ำ หนดนโยบาย ในการจดั การเรยี นการสอน จดั ท�ำ หลกั สตู ร แผนการจดั การเรยี นรู้ การวดั ผลประเมนิ ผล การประสานงาน สรา้ งเครือขา่ ย การเตรยี มความพร้อมดา้ นทรัพยากร งบประมาณ บุคลากร วสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ รวมถงึ ส่งิ จำ�เป็นใหม้ ีความพรอ้ มในการจดั การเรยี นการสอน การนิเทศ กำ�กบั ตดิ ตาม เพือ่ น�ำ มาวางแผน ปรับปรุงพัฒนา ดังนั้น กระบวนการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน จึงควรมี การเตรียมการด้านความพรอ้ มเหล่านี้ใหก้ ับสถานศกึ ษาอย่างทั่วถงึ 1.5 ปจั จยั สคู่ วามสำ�เร็จ ความคิดเห็นจากผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยความสำ�เร็จข้ึนอยู่กับการกำ�หนดนโยบาย ให้เห็นภาพที่ชัดเจนและมีความสอดคล้องกันระหว่างหลักสูตรกับการวัดและประเมินผลท้ังระดับ สถานศกึ ษาและระดบั ชาติ รวมถงึ แนวทางการรบั นกั เรยี นเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั อดุ มศกึ ษา เพอื่ ใหเ้ หน็ ภาพ ความเชื่อมต่อตั้งแต่จุดตั้งต้นจนถึงปลายทางในการพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งมีการสร้างความเข้าใจกับ ผู้บรหิ าร ครู และผู้ท่ีเกย่ี วขอ้ งหลักสูตรฐานสมรรถนะ การปรบั ตัวชว้ี ัดใหเ้ นน้ สมรรถนะ มแี นวทาง การวดั และประเมนิ ผลสมรรถนะทช่ี ดั เจน ปรบั โครงสรา้ งเวลาเรยี นใหเ้ หมาะกบั วยั และความตอ้ งการ จ�ำ เป็นของแต่ละระดับชัน้ ครูมอี ิสระในการออกแบบกจิ กรรมท่ีเหมาะสมกบั นักเรียนและสมรรถนะ ที่ต้องการ สนบั สนนุ ด้านการพฒั นาวิชาชีพ สอื่ แหล่งเรียนรู้ การให้ค�ำ แนะนำ�ชว่ ยเหลือ โดยเฉพาะ ช่วงเร่ิมต้นท่ีครูยังขาดความม่ันใจ โดยอาจใช้ PLC ในการพัฒนาวิชาชีพร่วมกัน ซ่ึงสอดคล้องกับ ผลการวิจัยทดลองใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตรการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน ในโรงเรียนเครือข่ายร่วมทดลอง (สมบัติ คชสิทธ์ิ และคณะ, 2561) ที่พบว่า ปัจจัยสู่ ความส�ำ เรจ็ ในการน�ำ กรอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ไปใช้ในสถานศึกษา ไดแ้ ก่ การสรา้ งความเขา้ ใจแกผ่ เู้ ก่ียวขอ้ งทุกฝา่ ย โดยมีภาพทช่ี ดั เจน เห็นความ เช่ือมโยงตั้งแต่นโยบายไปสู่การปฏิบัติ รวมถึงการวัดและประเมินผล มีแนวทางในการปฏิบัติและ ตัวอยา่ งการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้พัฒนาผเู้ รียน ท่เี ปน็ รปู ธรรมให้ผ้ปู ฏิบัตไิ ด้ศกึ ษาเพ่ิมเติม ผลการวิจัยท่ีแสดงถึงการดำ�เนินงานท่ีเป็นปัจจัยความสำ�เร็จในการนำ�หลักสูตร ฐานสมรรถนะไปสูก่ ารปฏิบัติน้ี สอดคล้องกับสำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2560) ได้เสนอวา่ หน่วยงานท่ีเป็นองค์กรหลักของกระทรวงศึกษาธิการ ควรจัดตั้งองค์กรสนับสนุนในการพัฒนา บุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและการจัดทำ�แผนการจัดการเรียน การสอน วิจัยและพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หารูปแบบการจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ ด�ำ เนนิ การจดั ฝกึ อบรมใหก้ บั ครผู สู้ อนโดยผเู้ ชยี่ วชาญ ครตู อ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในโครงสรา้ งหลกั สตู ร มีการวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา มีการออกแบบและจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้หลักสูตรรายวิชา 212รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ฐานสมรรถนะ มีการวิเคราะห์งานออกมาเป็นงานหลักงานย่อย เขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมให้ ผู้เรียนได้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท้ังด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ มีการสร้างใบความรู้ ใบงาน ไว้ล่วงหน้า เปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น มีวิธีการจูงใจให้ผู้เรียนเกิด ความสนใจในเร่ืองท่ีจะเรียน มีการดำ�เนินงานด้านการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผล ทำ�หน้าท่ี อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา เพ่ือให้ได้ข้อมูลไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การดำ�เนินการตามกจิ กรรมท่ีเสนอแนะเหลา่ นี้ เปน็ ปจั จัยพนื้ ฐานส�ำ คญั ทนี่ ำ� ไปสู่ความส�ำ เร็จ 2. ผลการศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูต่อการนำ�แนวทาง การใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นในการพัฒนาผู้เรียน หลังสิ้นสดุ การทดลอง 2.1 ดา้ นจดุ แขง็ จดุ ออ่ น ของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 พบว่า หลักสูตรเดิมมีตัวชี้วัดมากเกินไปและทับซ้อนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงสร้าง เวลาเรียนขาดความยืดหยุ่น จำ�นวนช่ัวโมงตามโครงสร้างหลักสูตรควรลดลง เน้ือหามาก ไม่เชื่อมโยงความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน วิชาเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้มีจำ�นวนมากเกินไป ดา้ นความตอ้ งการปรบั เปลยี่ น พบวา่ หลกั สตู รควรลดมาตรฐานและจ�ำ นวนตวั ชวี้ ดั เนอื้ หาและเวลา เรียนควรยืดหยุ่นมากขนึ้ สง่ เสริมความถนัดของผเู้ รียน เน้นการปฏิบตั ิ การแกป้ ัญหา การเรียนร้สู งิ่ ท่ี นกั เรยี นถนดั สามารถน�ำ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั หรอื ประกอบอาชพี ได้ และหลกั สตู รควรสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของโรงเรยี นในแต่ละพื้นที่ มคี วามยดื หยนุ่ ในการนำ�หลักสตู รไปใช้ เปดิ กวา้ งให้โรงเรียนพัฒนา ผเู้ รยี นตามจดุ เนน้ และบรบิ ทแตล่ ะพน้ื ที่ ควรหลอมรายวชิ าเปน็ แนวบรู ณาการและเพมิ่ ดา้ นทกั ษะชวี ติ สอดคลอ้ งกบั มาเรยี ม นลิ พนั ธ์ุ และคณะ (2556) ทพี่ บวา่ องคป์ ระกอบของเอกสารหลกั สตู รไมค่ รอบคลมุ และไมช่ ัดเจน บางองค์ประกอบมรี ายละเอียดมากเกินไป วิสัยทศั น์ และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ไม่ครอบคลมุ สภาพความต้องการของโรงเรียน ชุมชน ทอ้ งถน่ิ และไดเ้ สนอวา่ สพฐ.ควรจัดอบรมให้ ความรู้กับบุคลากรทุกฝ่ายและทุกคน ทั้งน้ีเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน ติดตามผลการนำ�หลักสูตร ไปใช้เป็นระยะ เพ่ือชว่ ยเหลอื และพัฒนากระบวนการน�ำ หลักสตู รไปใชใ้ หก้ บั สถานศึกษา การจัดทำ� หน่วยการเรยี นรู้และแผนจัดการเรยี นรู้ ขอ้ คน้ พบจากผลการวจิ ยั ของผใู้ ชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานดงั กลา่ ว จงึ เปน็ ปัจจัยสำ�คัญประการหน่ึงที่อาจต้องมีการตรวจสอบทบทวนการกำ�หนดกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม การก�ำ หนดโครงสร้างเวลาเรียนในทกุ ระดับการศึกษา มาตรฐาน ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้ทม่ี ี การกำ�หนดด้านความรู้มากกว่าการนำ�ไปสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะสำ�คัญท่ีนำ�ไป สคู่ วามสามารถของพลเมอื งไทยทตี่ ้องการในศตวรรษที่ 21 213รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 2.2 ด้านการดำ�เนินการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา พบว่า โรงเรียนมีการประชุมวางแผนร่วมกัน จัดกิจกรรม PLC แบ่งปันความรู้ระหว่างเพ่ือนครูเพื่อ สร้างความเข้าใจให้ตรงกัน กำ�หนดการบูรณาการการนำ�สมรรถนะไปใช้สู่การปฏิบัติกับนโยบาย โรงเรยี น คดั เลอื กครูผสู้ อน จัดรูปแบบกจิ กรรมใหม่ ๆ ทีห่ ลากหลาย ประเมนิ การสอนรว่ มกันและ นิเทศกำ�กับตดิ ตาม จากผลการวิจยั น้สี อดคลอ้ งกบั สุจติ รา ปทมุ ลังการ์ (2552) ท่เี สนอว่า ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรฐานสมรรถนะ เป็นพื้นฐานสำ�คัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพให้บรรลุเปา้ หมาย และสำ�นกั บริหารการมธั ยมศึกษาตอนปลาย (2558) ที่กล่าววา่ การน�ำ หลกั สตู รฐานสมรรถนะไปใชค้ วรมกี ารจดั ประชมุ วางแผนกบั ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย สนบั สนนุ ดา้ นทรัพยากรในการจัดการศึกษา และนเิ ทศ กำ�กับ ติดตามผลการด�ำ เนนิ งาน ผลการวิจัยในประเด็นนี้ จึงเป็นแนวคิดเพ่ือนำ�ไปสู่การดำ�เนินการว่า การนำ�หลักสูตร ฐานสมรรถนะไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นสถานศกึ ษา จงึ ควรมกี ารเตรยี มการดา้ นการสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ดา้ นการบริหารจัดการหลกั สตู รและการอบรมพฒั นาผู้บริหารสถานศกึ ษา ครผู สู้ อน และบคุ ลากรท่ี เกย่ี วข้องทกุ ฝา่ ยให้มคี วามพร้อมในการนำ�หลกั สตู รฐานสมรรถนะไปใชไ้ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพ 2.3 ด้านการนำ�กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษาตอนต้น ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นหอ้ งเรยี นของครู พบวา่ ครสู ามารถน�ำ ไปใชไ้ ดแ้ ตบ่ างโรงเรยี นยงั ขาดการปรกึ ษาและ ร่วมมือกันอย่างต่อเน่ือง ส่วนวิธีการแก้ปัญหากรณีครูยังไม่สามารถนำ�ไปสู่การปฏิบัติได้ พบว่า โรงเรียนแก้ปัญหาโดยครูรวมกลุ่มทำ� PLC อย่างเข้มแข็ง เพื่อเรียนรู้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกัน และกนั ประชุมปรึกษาทง้ั แบบเปน็ พธิ กี ารและแบบกลั ยาณมติ ร เพอ่ื ให้ความชว่ ยเหลือและการลด ภาระงาน ของครู สอดคล้องกบั ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา (2560) กลา่ วว่า สถานศึกษาควร กำ�หนดเป็นนโยบายที่ต้องปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ ฝกึ อบรมใหก้ บั ครผู สู้ อนโดยผเู้ ชยี่ วชาญทางดา้ นการท�ำ แผนการจดั การเรยี นการสอนหลกั สตู ร รายวชิ า ฐานสมรรถนะ เพอื่ พฒั นาศักยภาพของครผู สู้ อนใหม้ แี นวโน้มในการสอนที่ดี ดังน้ัน การนำ�หลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพจึงควรมี การเตรียมการที่ดีในการพัฒนาบุคลากรที่เก่ียวข้องให้สามารถจัดการเรียนการสอนเพ่ือส่งเสริม สมรรถนะให้กบั ผเู้ รยี นได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธผิ ล 2.4 ขอ้ แตกตา่ งการท�ำ งานของครใู นการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ พบวา่ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ มีความยืดหยุ่นสูงกว่าและเปิดโอกาสให้ครูได้คิดวิธีและแนวทางในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ ใหม่ ๆ เพิ่มขึน้ ด้านการออกแบบการเรียนรู้ ครูจดั ทำ�แผนจดั การเรยี นร้ทู ่ีละเอยี ดและใช้เวลามากข้นึ ใช้เทคนิคการสอนและกิจกรรมหลากหลาย ใช้สื่อและสถานการณ์ต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้ มคี วามกระตอื รอื รน้ และยดื หยนุ่ ในการแกป้ ญั หา ผเู้ รยี นไดท้ �ำ งานเปน็ กลมุ่ สนกุ สนาน และสนใจเรยี น มากข้ึน ทำ�ให้นักเรียนมีความสุขและมีเจตคติท่ีดีในการเรียนรู้ ด้านการวัดและประเมินผล 214รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ มีการประเมินผลตามสภาพจริงมากข้ึน ครูบางคนมคี วามเหน็ ว่าการวดั และประเมนิ ผลยังไมช่ ัดเจน ในการประเมนิ สมรรถนะและตัวชี้วัดที่ก�ำ หนด สอดคล้องกบั สุจิตรา ปทมุ ลงั การ์ (2552) ทีก่ ลา่ ววา่ การจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะเป็นการเช่ือมโยงความรู้และประสบการณ์เดิมของ ผเู้ รยี นกบั ประสบการณใ์ หม่ สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรโู้ ดยการปฏบิ ตั จิ ากสถานการณต์ า่ ง ๆ พฒั นาทกั ษะ การคิดและแกป้ ญั หา การวัดผลประเมนิ ผลเป็นการเนน้ ใหผ้ เู้ รียนปฏิบัติภาระงาน ใช้การวดั ผลแบบ อิงเกณฑ์ (criterion referenced) ในการประเมินความสำ�เร็จของผู้เรียนแต่ละคน ผลการวิจัย ในประเด็นนี้ สรุปได้ว่า หลักสูตรฐานสมรรถนะ เป็นแนวทางการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีเชื่อมโยง ประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ท่ีส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติภาระงานท่ีผู้เรียนสามารถน�ำ ไป ใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ และสนใจเรยี นมากขน้ึ 2.5 การช่วยเหลือ นิเทศ และสนับสนุนให้ครูจัดทำ�แผนการสอนและการนำ� แผนการจดั การเรยี นรไู้ ปใชใ้ นหอ้ งเรยี น พบวา่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาชว่ ยเหลอื นเิ ทศ และสนบั สนนุ ให้ ครจู ดั ท�ำ แผนการจดั การเรยี นรแู้ ละการน�ำ ไปใชใ้ นหอ้ งเรยี น จดั ประชมุ สมา่ํ เสมอเพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจ ใชก้ ระบวนการสรา้ งชมุ ชนการเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าชพี PLC ตง้ั แตก่ ารเขยี นแผน สงั เกตการสอน และสะทอ้ นผล รว่ มกนั การเปดิ ชนั้ เรยี น (Open Class) โดยเขา้ ไปสงั เกตการสอนในชน้ั เรยี นเพอ่ื นเิ ทศตดิ ตามเปน็ ระยะ ๆ สง่ เสรมิ การแบง่ ปนั การจดั กจิ กรรมและสอื่ และการจดั ทมี งานชว่ ยเหลอื แนะน�ำ ครู ผลการวจิ ยั นสี้ อดคลอ้ ง กบั แนวคดิ ของ ธำ�รง บวั ศรี (2535) อ้างองิ จาก สจุ ิตรา ปทมุ ลังการ์ (2552) ทีก่ ล่าวว่า หลกั สูตร ฐานสมรรถนะมโี ครงสรา้ งทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ เกณฑค์ วามสามารถดา้ นตา่ ง ๆ ของผเู้ รยี นในแตล่ ะระดบั ชนั้ ดงั นน้ั การน�ำ หลกั สตู รฐานสมรรถนะไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นชนั้ เรยี น ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาจงึ มคี วามจ�ำ เปน็ ตอ้ งมี การช่วยเหลอื นิเทศ และสนับสนุนครผู ูส้ อนใหส้ ามารถจัดท�ำ แผนการจัดการเรยี นรแู้ ละจัดกิจกรรม ตามแผนได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยวิธีการที่หลากหลายตามสภาพปัญหาความต้องการของ ครูผู้สอนท่ีเกย่ี วขอ้ ง 2.6 ปัญหาอุปสรรคท่ีพบในการสนับสนุนการทำ�งานของครู ด้านการพัฒนา หลักสูตร พบว่า ครูไม่มีความรู้เร่ืองการพัฒนาหลักสูตรเพราะมองว่าเป็นเรื่องไกลตัว ด้านการออกแบบการจัดการเรียนการสอน ครูขาดความมั่นใจในการจัดทำ�แผนการจัด การเรียนรู้ท่ีครอบคลุมสมรรถนะที่เลือกไว้และใช้คู่มือเป็นหลักยึดติดกับตัวอย่างในคู่มือ ทำ�ให้ไม่มี ความหลากหลายในการออกแบบ ครูหลายทา่ นใชแ้ ผนการจัดการเรียนรูข้ องส�ำ นกั พมิ พต์ ามหนังสอื แบบเรยี น ทำ�ใหน้ ำ�สมรรถนะไปใชไ้ ดย้ าก ดา้ นการวดั ผลประเมนิ ผล พบวา่ ครไู ม่แน่ใจว่าการวัดผล ประเมินผลสมรรถนะทีด่ ีควรด�ำ เนินการอยา่ งไร วธิ กี ารแก้ไขเมอื่ มปี ัญหาอปุ สรรค พบว่า ครูศกึ ษา วธิ กี ารออกแบบการเรียนการสอนและการประเมินผลโดยสบื ค้นจาก Internet ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา มาชว่ ยครูคดิ วิเคราะห์การท�ำ งาน และมคี วามจ�ำ เปน็ ต้องมผี รู้ ู้ในโรงเรยี นเพอื่ พาครูท�ำ การใช้ DLTV ในการพัฒนาครแู ละใช้เปน็ แบบอย่างในการวดั และประเมนิ ผล 215รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยน้ีสอดคล้องกับผลการวิจัยของ มาเรียม นิลพันธ์ุ และคณะ (2556) ซึ่งพบว่า ครูขาดความเข้าใจในกระบวนการออกแบบการเรียนการสอนท่ีอิงมาตรฐาน การจัด การเรียนการสอนไม่มคี วามหลากหลาย ขาดความรเู้ รื่องการวดั และประเมินผล ไม่สามารถวเิ คราะห์ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั เพอ่ื การประเมนิ ได้ ครขู าดความเขา้ ใจเรอ่ื งการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ไม่เน้นผเู้ รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง ไม่ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรดู้ ้วยตนเอง ด้วยเหตุน้ีปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากผลการวิจัยด้านการจัดการเรียนการสอนของ คณะครูและข้อเสนอแนะเพ่ือการแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในห้องเรียนของสถานศึกษา แต่ละแห่ง จึงเป็นข้อมูลสำ�คัญที่ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องนำ�ไปใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรม ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนเพื่อการแก้ปัญหาให้ตรงกับความต้องการให้บรรลุผลอย่างเหมาะสม ตามบริบทและสภาพปญั หาทมี่ อี ยู่ 2.7 ช่วงเปลี่ยนผ่านหรือรอยต่อการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ พบว่า สมรรถนะ 10 สมรรถนะ เหมาะสมกบั เดก็ ยคุ ใหม่ ควรจัดทำ�หลกั สตู รฐานสมรรถนะตัง้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั ควรให้ โรงเรยี นมอี สิ ระดา้ นการจดั หลกั สตู ร ควรลดกลมุ่ สาระการเรยี นรเู้ ดมิ ทม่ี ากเกนิ ไป ควรระบรุ ายละเอยี ด สมรรถนะย่อยที่ชัดเจนในแต่ละระดับชั้นไปสู่สมรรถนะหลัก ควรปรับตารางเรียนชั้นประถมศึกษา ตอนตน้ การจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการเสริมสมรรถนะเหมาะสมกบั เด็กเล็ก อยากใชส้ มรรถนะต่อ ควบคู่ไปกับตัวชี้วัดและนำ�การประเมินสมรรถนะไปปรับใช้กับผู้เรียน ควรมีคู่มือเพราะทำ�ให้เกิด ความรคู้ วามเข้าใจด้านสมรรถนะทีต่ รงกัน ด้านการดำ�เนินการใช้สมรรถนะต่อเนื่อง พบว่า จะนำ�สมรรถนะไปใช้ต่อควบคู่กับ ตวั ชวี้ ดั หลกั สตู ร เนน้ กจิ กรรมทป่ี ระยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ใหม้ ากขน้ึ จะทดลองน�ำ สมรรถนะมาใชต้ อ่ เนอ่ื ง โดยเรม่ิ จากระดบั ชน้ั อนบุ าลปที ี่ 3 และชน้ั ประถมศกึ ษาตอนตน้ เพอื่ เปน็ การสง่ ตอ่ ในชว่ งเปลยี่ นผา่ น ใชก้ ารประเมินตามสภาพจรงิ ใหม้ ากขนึ้ และลดการใช้ข้อทดสอบปลายภาคในระดบั ชนั้ ประถมศึกษา ปีที่ 1 - 2 2.8 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและการนำ�กรอบสมรรถนะมาใช้ในโรงเรียน ผู้บริหารและครูมีความเห็นว่า สิ่งสำ�คัญประการแรก คือ การให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ สมรรถนะให้ชัดเจนโดยผู้บริหารสถานศึกษาเห็นความสำ�คัญ ให้การสนับสนุนและสามารถเป็น ท่ปี รึกษาได้ มีการรวมกลมุ่ PLC อย่างเขม้ แข็ง การ Coaching โดยทีมพเี่ ลี้ยงช่วยเติมเต็มความรู้ เพิ่มความชัดเจน ประการต่อมา คือ ครูต้องเปิดใจ ศรัทธา ใฝ่รู้ มีคู่มือการจัดกิจกรรมที่ ส่งเสริมสมรรถนะ ตัวอย่างกิจกรรมที่นำ�ไปสู่สมรรถนะและแผนการสอน ประการสุดท้าย คือ การส่งเสรมิ และสนับสนุนจากผูบ้ รหิ าร ช่วยเหลือ ผู้เช่ยี วชาญท่ีรจู้ ริงและมาช่วยเหลือใหค้ ำ�แนะนำ� ในการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นการสอน จากผลการวจิ ัยดังกล่าว สอดคลอ้ งกบั สุจิตรา ปทุมลังการ์ (2552) ที่กล่าวถงึ ลกั ษณะ ส�ำ คญั ของหลกั สตู รฐานสมรรถนะวา่ มกี ารกาํ หนดผลการเรยี นรอู้ ยา่ งชดั เจนวา่ ผเู้ รยี นสามารถทาํ อะไรได้ 216รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ เม่อื จบหลักสูตร (Course Outcomes / Performance Outcomes) ใชม้ าตรฐานสมรรถนะเปน็ กรอบในการพัฒนาหลักสูตร กําหนดเน้ือหา วางแผนการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล ทําให้การเรียนการสอนเช่ือมโยงกับการประเมินผล มีเกณฑ์การปฏิบัติ (Performance Criteria) เพอ่ื ใชป้ ระเมนิ ผลผเู้ รยี น การจดั หลกั สตู รการเรยี นการสอนในหลกั สตู รแบบฐานสมรรถนะ จงึ มกี รอบ มาตรฐานสมรรถนะ เปน็ ตวั ก�ำ หนดความรู้ และทกั ษะทคี่ าดหวงั วา่ ผเู้ รยี นจะสามารถปฏบิ ตั ภิ าระงาน หรือกิจกรรมตา่ ง ๆ ไดเ้ ม่ือเรยี นจบหลกั สตู ร และสามารถวัดและประเมนิ ผลได้ตามเกณฑ์การปฏบิ ัติ ทีก่ �ำ หนด นอกจากน้ี สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2560) ได้กล่าวว่า หน่วยงานหลัก ของกระทรวงศึกษาธิการที่ทำ�หน้าที่จัดการศึกษาในระดับต่าง ๆ ควรจัดต้ังองค์กรสนับสนุนใน การพัฒนาบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะและการจัดทำ�แผนการจัด การเรยี นรหู้ ลกั สตู รรายวชิ าฐานสมรรถนะเพอื่ วจิ ยั และพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและหารปู แบบ การจัดท�ำ แผนการจัดการเรียนรูห้ ลกั สตู รรายวชิ าฐานสมรรถนะทีม่ ีประสิทธิภาพ ดังนั้น การพัฒนาหลักสูตรอิงสมรรถนะและการนำ�กรอบสมรรถนะมาใช้ในโรงเรียน จึงควรให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาผู้บริหารและครูผู้สอนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมรรถนะ สามารถเป็นทีมสนับสนุนในฐานะพ่ีเล้ียง เพื่อการ Coaching การจัดกิจกรรม PLC ให้ครูและ ผูเ้ ก่ียวขอ้ งสามารถทำ�หน้าทใี่ นฐานะผูพ้ ัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะของสถานศึกษาไดเ้ ป็นอย่างดี 2.9 ส่ิงท่ีโรงเรียนต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและ การนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ พบว่า ควรมีผ้เู ช่ยี วชาญหรือพีเ่ ล้ยี งชี้แนะในการออกแบบกิจกรรมและ การจัดทำ�แผนการจัดการเรียนการสอนท่ีเช่ือมโยงสมรรถนะ มีคู่มือการออกแบบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และเทคนิค/กลยุทธ์ในการนำ�สมรรถนะไปใช้ มีแผนการจัด การเรยี นรกู้ ลางทม่ี คี วามยดื หยนุ่ ครอบคลมุ ทกุ กลมุ่ สาระ มแี หลง่ การเรยี นรู้ Online ทเ่ี ผยแพรเ่ ทคนคิ การสอนหรอื กลยทุ ธท์ ีส่ ง่ เสรมิ สมรรถนะไปใช้ในชีวิตประจ�ำ วันโดยให้ครสู ามารถเข้าถงึ ไดต้ ลอดเวลา มงี บประมาณสนับสนนุ เพือ่ การจัดซอื้ ส่อื สนบั สนนุ การสอน มีศนู ย์รวมข้อมลู หลักสูตรฐานสมรรถนะ เพมิ่ แหลง่ คน้ ควา้ หาความรโู้ ดยมแี หลง่ การเรยี นรู้ Online ทค่ี รสู ามารถเขา้ ถงึ ไดต้ ลอดเวลาและสอื่ สาร กับภาคีและผู้เกี่ยวข้อง มีคู่มือการวัดผลประเมินผลและเกณฑ์การตัดสินผลการเรียนท่ีชัดเจนและ เช่อื มโยงการประเมนิ สมรรถนะกบั การสอบ O - NET จากผลการวิจัยที่นำ�เสนอความต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะและการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ โดยเฉพาะมีแหลง่ การเรียนรู้ Online มศี ูนยร์ วมข้อมลู หลักสูตรฐานสมรรถนะ เพ่ิมแหล่งคน้ คว้าหาความรู้ ท่ีครูสามารถเขา้ ถงึ ได้ตลอดเวลาและสื่อสารกับ ภาคีและผู้เกย่ี วข้อง มีความสอดคล้องกบั ข้อเสนอของ ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2560) ที่เสนอว่า สถานศึกษามีการเตรียมการจัดเตรียมอุปกรณ์ ระบบ สถานที่รองรับการใช้เทคโนโลยี ระบบ Internet ทีส่ ามารถบรกิ ารผู้ใช้ได้ทวั่ ถงึ และสามารถสืบค้นแบบ Online และ Offline 217รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 2.10 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ มคี วามเห็นโดยสรปุ ดังน้ี หน่วยงานท่ีพัฒนาหลักสูตร เป็นหน่วยงานกลางในการวางระบบ ลดงานนโยบาย ท่ีซํ้าซ้อนกัน จัดทำ�หลักสูตรฐานสมรรถนะ นำ�กรอบสมรรถนะไปใช้และจัดทำ�เกณฑ์การวัด และประเมนิ ผล จดั ท�ำ คมู่ อื สมรรถนะ ประสานงานหนว่ ยงานตา่ ง ๆ อบรมใหค้ วามรใู้ นเรอื่ งสมรรถนะ กำ�หนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนให้สอดคล้องกันทุกหน่วยงาน ปรับระเบียบการใช้งบประมาณ ในการสนบั สนนุ การสอน การพฒั นาเทคโนโลยใี หเ้ ขา้ มามบี ทบาทในการสง่ เสรมิ สมรรถนะ การวางแผน เชงิ ระบบในการนำ�สมรรถนะไปใช้ เชน่ การทดสอบระดบั ชาติ การรบั เด็กเพ่ือการศกึ ษาต่อ การปรับ เกณฑ์การวดั ผลประเมินผลระดับประถมศกึ ษาเปน็ ผา่ น ไมผ่ ่าน และใช้การประเมนิ ตามสภาพจรงิ กระทรวงศึกษาธิการ กำ�หนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนให้ชัดเจนและสอดคล้องกัน ทกุ หนว่ ยงาน การสง่ เสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั กรอบสมรรถนะใหก้ บั ครู แกไ้ ขระเบยี บงบประมาณ ที่ยุ่งยากให้มีความยืดหยุ่น สร้างข้อทดสอบท่ีตอบสนองต่อบริบทพ้ืนที่ที่มีความหลากหลายและ พัฒนาอยา่ งค่อยเปน็ คอ่ ยไปตามพัฒนาการ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ของสถานศกึ ษา การก�ำ หนดนโยบายในระยะยาวและตอ่ เนอื่ ง ลดนโยบาย ที่ซ้ําซ้อนและลดการสั่งการจากส่วนกลาง ให้ท้องถ่ินบริหารจัดการด้วยตนเองและส่งเสริม ความเปน็ เอกลกั ษณข์ องทอ้ งถน่ิ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระ ยดื หยนุ่ การใชง้ บประมาณของโรงเรยี น มคี วามชดั เจน เกย่ี วกบั ความรดู้ า้ นสมรรถนะ รวมทงั้ ควรรวบรวมตน้ แบบของ โรงเรยี นสาธติ และโรงเรยี นตน้ แบบตา่ ง ๆ ให้ผู้สนใจศึกษาทาง Online อบรมให้ความรู้กับครูเกี่ยวกับกรอบสมรรถนะให้ความรู้ ความเข้าใจ กบั ผู้เก่ียวขอ้ ง จากผลการวิจัยที่เสนอบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะและการนำ�กรอบสมรรถนะไปทดลองใช้ มีความสอดคล้องกับสำ�นักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา (2560) ท่ีเสนอว่า ควรจัดต้ังองค์กรสนับสนุนในการพัฒนาบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับ การพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและการจดั ท�ำ แผนการจดั การเรยี นรหู้ ลกั สตู รรายวชิ าฐานสมรรถนะ เพ่ือวิจยั และพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะและหารูปแบบการจัดทำ�แผนการจัดการเรยี นร้หู ลกั สตู ร รายวชิ าฐานสมรรถนะทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ อยา่ งไรกต็ าม ปจั จยั ความส�ำ เรจ็ ส�ำ คญั ควรเกดิ จากการท�ำ งานทเ่ี นน้ การบรู ณาการของ ทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องท่ีจะร่วมวางแผนการยกร่างหลักสูตรฐานสมรรถนะ การกำ�หนดสมรรถนะ ทจ่ี �ำ เปน็ ใหก้ บั ผเู้ รยี นแตล่ ะระดบั การศกึ ษาทส่ี อดคลอ้ งเชอื่ มโยงกนั โดยมเี ปา้ หมายการพฒั นาคณุ ภาพ ผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 ใหเ้ ป็นคนไทยและพลเมอื งไทยที่มีประสทิ ธภิ าพในอนาคต 2.11 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและ การนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ พบว่า ควรมีการประเมินหลักสูตรเดิมก่อนการปรับเปลี่ยนหลักสูตร และมีความชัดเจนแนวทางการดำ�เนินการของสมรรถนะ ใช้กระบวนการสร้างชุมชนการเรียนรู้ เชิงวชิ าชีพ PLC และการเปิดชั้นเรยี น (Lesson Study) การพัฒนาครคู วรให้ผู้รจู้ รงิ แนะน�ำ วธิ ปี ฏบิ ัติ 218รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน
บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ที่ถูกต้อง จัดทำ�เว็บไซต์กลางเพ่ือการสืบค้นข้อมูลหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านสมรรถนะ หน่วยงาน หลกั สตู ร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ตา่ ง ๆ ควรท�ำ งานใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั มกี ารประชาสัมพันธ์อยา่ งทั่วถงึ จัดทำ�คู่มอื การใชห้ ลักสตู รฐานสมรรถนะให้กบั ครู ระบุแหลง่ เรียนรู้ และหนงั สอื ประกอบทจ่ี ะท�ำ ใหค้ รคู น้ หาความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง มสี อื่ และแหลง่ เรยี นรปู้ ระกอบการเรยี น การสอน และประเมนิ ผลการใชห้ ลักสตู รฐานสมรรถนะ เพอื่ ตดิ ตามและปรบั ปรุงแกไ้ ขเปน็ ระยะ ๆ จากผลการวจิ ัยด้านน้มี ีความสอดคล้องกับ สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2560) ที่กล่าวถึงข้อเสนอแนะการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและการเรียนการสอนว่า ควรให้ความ สำ�คัญของความเชื่อมโยงกับการวิจัยและพัฒนารูปแบบการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอนฐานสมรรถนะ และความสามารถท่ีเป็นแกนกลาง การเชอ่ื มโยงซ่ึงกันและกนั ในแตล่ ะระดับ องคป์ ระกอบของขอบเขตและความลกึ ของความรู้ ทกั ษะ การประยกุ ตใ์ ชท้ กั ษะ ความรแู้ ละคณุ ลกั ษณะ ของบุคคล เป็นเกณฑ์ การกำ�หนดระดับและการเช่ือมโยงกับผลลัพธ์การเรียนรู้หรือผลักดันให้มี การบรู ณาการกันอย่างจรงิ จงั ดังน้ัน การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและการนำ�ไปสู่การปฏิบัติ จึงมีความจ�ำ เป็น ทีอ่ งค์กร หนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการและสถาบนั อน่ื ๆ ท่เี ก่ยี วข้องกับการจัดการศกึ ษา ของประเทศทุกระดับการศึกษา จะต้องให้ความสำ�คัญในการกำ�หนดเป้าหมายฐานสมรรถนะ ทตี่ อ้ งการใหเ้ กดิ แกผ่ เู้ รยี นในแตล่ ะชว่ งวยั จนจบการศกึ ษาและน�ำ ไปสกู่ ารประกอบอาชพี ทดี่ ใี นอนาคต ตอนท่ี 3 ข้อเสนอเชิงนโยบายในการนำ�กรอบสมรรถนะผู้เรียน สำ�หรับหลักสูตร การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานสกู่ ารปฏิบตั ิ 3.1 ขอ้ เสนอแนะต่อการพัฒนาหลักสูตร 3.1.1 ก�ำ หนดใหม้ เี ปา้ หมายรว่ มทช่ี ดั เจน ซงึ่ เปน็ เปา้ หมายทที่ กุ คนสามารถรบั รู้ และเข้าใจได้ตรงกันในลักษณะของผลการเรียนรู้ท่ีพึงประสงค์ (desirable outcomes) ท่ีชัดเจน เขา้ ใจได้ไมย่ าก และไม่มากจนเกนิ ไป ผทู้ ีม่ หี นา้ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การจดั การศึกษาสามารถเหน็ ภาพใหญ่ (big picture) ร่วมกันและมุ่งไปที่เป้าหมายเดียวกัน ซึ่งสามารถใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนท่ีเสนอ ในการวจิ ยั ครง้ั นเี้ ปน็ ฐานในการก�ำ หนดจดุ มงุ่ หมายดา้ นผเู้ รยี น โดยอาจพจิ ารณาทบทวนสมรรถนะหลกั สมรรถนะยอ่ ย ทงั้ ในแงข่ องจ�ำ นวนสมรรถนะและระดบั ความเขม้ ขน้ ของสมรรถนะทมี่ คี วามเหมาะสม กับผู้เรียนในแต่ละระดับ ซึ่งสามารถศึกษาวิจัยและทำ�ประชาพิจารณ์เพิ่มเติมได้ โดยการกำ�หนด เปา้ หมายรว่ มนี้ ทง้ั การก�ำ หนดเปา้ หมายรว่ มระดบั ชาติ ระดบั ทอ้ งถน่ิ / เขตพน้ื ท่ี และระดบั สถานศกึ ษา โดยใหเ้ ปา้ หมายในทกุ ระดับมีความสมั พนั ธเ์ ชอื่ มโยงกัน 3.1.2 พฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะในระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานตามกระบวนการวจิ ยั โดยควรมุ่งเป้าหมายให้ได้หลักสูตรที่กำ�หนดจุดมุ่งหมายเชิงสมรรถนะ เสนอแนวทางการพัฒนา สมรรถนะ และแนวทางการวัดและประเมนิ ผลสมรรถนะ ในลักษณะของการใชผ้ ลวจิ ัยชน้ี ำ�นโยบาย (Research - led policy) บนพื้นฐานของการมีหลักฐานเชิงประจักษ์และระบบข้อมูลที่ชัดเจน ท่นี �ำ ไปสู่การปรบั ปรงุ นโยบาย 219รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364