Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสมรรถนะ

หลักสูตรสมรรถนะ

Published by สุเมธ สร้อยฟ้า, 2021-12-14 14:04:19

Description: 1687-file

Search

Read the Text Version

บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ นอกจากน้ี ควรใหม้ กี ารศกึ ษาเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหวา่ งหลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กบั หลกั สตู รฐานสมรรถนะ เพอ่ื ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ ในการปรบั เปลย่ี น องค์ประกอบหลกั สตู รบางองค์ประกอบนัน้ มไิ ด้เป็นส่งิ ทีย่ ากลำ�บาก 3.1.3 ปลดลอ็ ก“โครงสรา้ งเวลาเรยี น” ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ให้มีความยืดหยุ่นท่ีสถานศึกษามีอิสระในการจัดโครงสร้างหลักสูตรรายวิชา พื้นฐานหลักที่จำ�เป็นต่อการเรียนรู้ตามวัย ท่ีสอดคล้องกับจุดเน้นและความต้องการตามบริบทของ สถานศกึ ษาและชุมชนอย่างแท้จรงิ ทงั้ นี้ แม้วา่ ได้มปี ระกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่อื ง การบรหิ าร จัดการเวลาเรียนของสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ลงวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 และคำ�สงั่ ส�ำ นกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน เรอ่ื ง การปรบั ปรุงโครงสร้างเวลาเรยี นตามหลักสตู รแกนกลางฯ ลงวันท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ.2561 แล้ว หากแตผ่ ใู้ ชห้ ลักสตู รในระดับสถานศกึ ษายงั ไมไ่ ดร้ ับรู้และเกิด ความเข้าใจในวงกว้าง รวมท้ังคำ�ส่ังฉบับดังกล่าวยังมีข้อกำ�หนดถึงโครงสร้างเวลาเรียนเฉพาะ ของรายวิชาประวัติศาสตร์จำ�นวน 40 ช่ัวโมงต่อปี และรายวิชาพ้ืนฐานจำ�นวน 840 ชั่วโมงต่อปี โดยสถานศึกษาระดบั ประถมศกึ ษาทุกแหง่ ตอ้ งจัดภายใต้เวลาเรียนทีก่ ำ�หนดน้ี 3.1.4 ตรวจสอบทบทวนตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560 ทง้ั นเี้ นอื่ งจากผบู้ รหิ าร สถานศกึ ษาและครผู สู้ อนไดใ้ หข้ อ้ มลู วา่ ตวั ชวี้ ดั ของบางกลมุ่ สาระการเรยี น รมู้ จี �ำ นวนมากและซาํ้ ซอ้ นกนั เน้นด้านความรู้มาก ทักษะที่กำ�หนดในตัวช้ีวัดเป็นทักษะย่อย ๆ ส่วนด้านเจตคติ ค่านิยมมีน้อย ทำ�ให้การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผลของครูเป็นการพัฒนาและ ประเมนิ ดา้ นความรแู้ ละทกั ษะยอ่ ย ๆ ทไี่ มเ่ กดิ เป็นสมรรถนะ 3.1.5 จดั รายวชิ าพน้ื ฐานแบบเนน้ รายวชิ าหลกั ใหม้ คี วามเขม้ ขน้ ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา ตอนตน้ (ป.1 - 3) ไดแ้ ก่ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร​์ และภาษาองั กฤษ ซ่ึงเปน็ รายวชิ า ท่ีเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความจำ�เป็นต่อการนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน และจัดกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ๆ เป็นรายวิชารอง ได้แก่ สังคมศึกษา ประวัติศาสตร์ สุขศึกษา และพลศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยจัดในลักษณะการบูรณาการท่ีนำ�สมรรถนะท้ัง 10 สมรรถนะเป็นฐานในการออกแบบการเรียนรู้แบบบูรณาการทั้งรายวิชาหลัก รายวิชารอง และกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น ท้ังน้ี ต้ังแต่ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4 - 6) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) ควรค่อย ๆ เพม่ิ ความเข้มข้นในรายวิชาพ้นื ฐาน และรายวิชาเพ่ิมเติมท่ีจำ�เป็นต่อการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพตามศาสตร์เฉพาะในลักษณะ ความเขม้ ข้นไตร่ ะดบั โดยใชส้ มรรถนะทั้ง 10 สมรรถนะ เป็นฐาน 220รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 3.1.6 ใช้สมรรถนะ 10 สมรรถนะเป็นฐานสำ�คัญไปสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยเน้นการเชื่อมต่อหลักสูตรระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับ การอดุ มศกึ ษาในลกั ษณะของสมรรถนะเชอื่ มโยงตอ่ เนอื่ งกนั เพอื่ สรา้ งคณุ ภาพของเดก็ ไทยใหเ้ ขม้ แขง็ ได้รับการพัฒนาที่สอดคล้องต่อเน่ืองตามความสามารถและความถนัดเฉพาะทาง โดยมีเป้าหมาย ในการสรา้ งพลเมืองไทยในอนาคตจากฐานสมรรถนะท่ีจ�ำ เป็นตอ่ การดำ�เนินชีวิตในศตวรรษท่ี 21 3.1.7 ระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทุกสังกัดท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา เพ่ือใหม้ ีข้อมลู สภาพปญั หาผเู้ รยี น การจัดการศกึ ษา และขอ้ มลู ส�ำ คญั จำ�เป็นอน่ื ๆ อยา่ งหลากหลาย มมุ มอง หลากมติ ิ และนำ�มาส่กู ารกำ�หนดวิสยั ทศั นร์ ว่ มกัน (Share Visions) พรอ้ มทง้ั ระดมข้อมลู แนวปฏิบตั ทิ ีน่ า่ สนใจและใช้ได้ผลเพื่อนำ�มาสกู่ ารก�ำ หนดนโยบาย (Practice to Policy) 3.2 ขอ้ เสนอแนะต่อการบรหิ ารจดั การหลกั สตู รและการนำ�หลักสูตรไปใช้ 3.2.1 ดา้ นการสอ่ื สารและประชาสมั พนั ธห์ ลกั สตู ร เนอ่ื งจากการวจิ ยั ครง้ั นม้ี ขี อ้ คน้ พบ ประการหน่ึงว่า ผู้บริหารและครูจำ�นวนมากไม่ทราบข้อมูลความเคลื่อนไหวและการปรับปรุง หลักสูตร ดังน้ัน ต้องหายุทธวิธีในการประชาสัมพันธ์ สื่อสารเพ่ือสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ตรงกันในการใช้หลักสูตรแกนกลางฯ แนวทางหลักสูตรฐานสมรรถนะ การบริหารจัดการหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล ในระดับ ชั้นเรียนท่ีมีความยืดหยุ่นหลากหลายแก่สถานศึกษาในทุกสังกัด เพื่อให้ผู้ใช้และผู้พัฒนาหลักสูตร สถานศกึ ษาสามารถใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รไดต้ ามเจตนารมณ์ เกดิ ผลจากภาคนโยบายสภู่ าคปฏบิ ตั ไิ ด้ อย่างแทจ้ ริง ทัง้ นี้ การส่ือสารต้องมรี ปู แบบที่ทนั สมยั เขา้ ถึงงา่ ย หลากหลายชอ่ งทางทีเ่ หมาะสม กับผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้เกี่ยวข้องท่ีมีหลายช่วงวัยและมีความแตกต่างด้านประสบการณ์ ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลและเข้าใจวิธีทำ�งานได้ด้วยตนเอง ท้ังในลักษณะของการจัดทำ�เอกสาร คูม่ อื แหลง่ เรียนรู้ การจัดสมั มนา การมที ่ปี รึกษา การสรา้ งสารสนเทศออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ เฟซบ๊กุ แฟนเพจ แอปพลเิ คชัน วดี ิทศั น์ Call - center รวมถึงการเปิดพนื้ ท่ีสาธารณะ เชน่ กระดานข่าว ออนไลน์ การตง้ั กระทู้ เพอ่ื ชว่ ยใหผ้ มู้ หี นา้ ทใี่ นการใชห้ ลกั สตู ร อาทิ ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา สามารถ เข้าถงึ ข้อมลู ได้อยา่ งสะดวก สามารถศึกษาท�ำ ความเขา้ ใจหลักสตู รไดอ้ ย่างละเอยี ด และสามารถให้ ข้อมูลสะท้อนปัญหาการใช้หลักสูตรดังกล่าว เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรของ สถานศกึ ษาไดต้ อ่ ไป 3.2.2 ด้านการใช้หลักสูตร การออกแบบการเรียนการสอน การวัดและ ประเมินผล การออกแบบการเรียนการสอนฐานสมรรถนะต้องกำ�หนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เชงิ สมรรถนะทเ่ี หมาะสมกบั พฒั นาการตามชว่ งวยั และใชส้ ถานการณแ์ ละชวี ติ หรอื กจิ วตั รประจ�ำ วนั ของผู้เรียนเป็นตัวตั้ง โดยการเขียนจุดประสงค์เชิงสมรรถนะนี้เป็นการระบุสิ่งท่ีผู้เรียนต้องทำ�หรือ แสดงออก ซ่ึงเป็นการผสมผสานทั้ง ทักษะ ความรู้ และคุณลักษณะท่ีผู้เรียนต้องใช้ในการทำ�งาน 221รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลักสตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ หรือใช้ในสถานการณ์เง่ือนไขน้ัน ๆ และการออกแบบการเรียนการสอนและการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาต้องใช้ “บริบทชีวิตจริง” ของผู้เรียนเป็นฐาน โดยมุ่งเน้นสมรรถนะท่ีผู้เรียนสามารถ ใชไ้ ดจ้ ริงในชวี ิตประจ�ำ วนั ซงึ่ มักเปน็ การออกแบบการเรยี นการสอนท่ีตอบสนองตอ่ ความแตกต่าง หลากหลายของผู้เรียน (differentiated instruction) รวมถึงต้องกำ�หนดแนวทางการวัดและ ประเมนิ ผลท่ีเนน้ การประเมนิ เพอ่ื พฒั นาโดยเนน้ การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ทใ่ี ชส้ มรรถนะเปน็ ฐาน ทง้ั น้ี ในสว่ นของการประเมินระดบั ชาติกต็ ้องใช้การประเมนิ ฐานสมรรถนะเชน่ กนั 3.2.3 ข้อเสนอแนะต่อการจัดตั้งองค์กรหรือคณะบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิรูป หลักสูตร เสนอให้มีสถาบัน หน่วยงานกลาง หรือคณะบุคคลทำ�หน้าท่ีวางแผนกำ�หนดทิศทาง การพฒั นาคณุ ภาพเด็กไทยอย่างเปน็ องคร์ วมของทกุ กระทรวง ทกุ สังกัดหน่วยงาน และองค์กร ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา โดยอาจมีองค์คณะบุคคลที่ประกอบด้วย ผู้แทนระดับนโยบาย และระดับผู้ปฏิบัติจากหน่วยงานที่จัดการศึกษา เพื่อให้ระดับผู้ปฏิบัติที่มีหน้าท่ีนำ�หลักสูตรไปใช้ มีเป้าหมายร่วมกันในการจัดการศึกษาให้นักเรียนแต่ละวัยตามบทบาทหน้าที่ ภายใต้เป้าหมาย ในทศิ ทางเดยี วกนั มกี ารวางแผนการเชอ่ื มตอ่ หลกั สตู รแตล่ ะระดบั อยา่ งกลมกลนื และมปี ระสทิ ธภิ าพ แต่ละระดับการศึกษา เห็นความสัมพันธ์สอดคล้องตลอดทั้งระบบการพัฒนาหลักสูตร ต้ังแต่ การยกร่าง การใช้ และการประเมินผล ตลอดจนเป็นส่ือกลางในการส่ือสารประชาสัมพันธ์ ใหส้ ถานศกึ ษาทุกสังกัดเข้าใจตรงกนั ทงั้ ในด้านหลักสตู ร การสอน การวดั และประเมนิ ผล รวมทงั้ เปน็ หนว่ ยงานทร่ี ะดมทรัพยากรและวางระบบฐานขอ้ มลู เพอื่ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ โดยเฉพาะแนวคิด แนวทาง และนวัตกรรมทีน่ า่ สนใจจากสถานศึกษาในทุกสังกดั หน่วยงานข้างตน้ น้ตี ้องมบี คุ ลากรเปน็ นักวชิ าการด้านหลกั สตู ร การสอน การวดั และประเมนิ ผลท่ีสามารถใหค้ ำ�ปรกึ ษาและตอบปัญหาดา้ นบรหิ ารจดั การหลักสตู ร การจัดการเรียน การสอน การวัดและประเมินผลแก่ผู้บริหารและครูในสถานศึกษาได้ รวมถึงควรเพ่ิมบุคลากรที่ ดูแล ใหค้ ำ�ปรกึ ษา แนะนำ�ในด้านน้ีแก่คณะครูแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรูท้ ัง้ ในระดับชาติและระดับ ทอ้ งถิน่ ใหเ้ พียงพอดว้ ย 3.2.4 ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาวิชาชพี ครู ความส�ำ เรจ็ ของการใช้หลักสูตรมิไดอ้ ยู่ท่ี การผลิตตัวเล่มหลักสูตรได้แล้วเสร็จ หากแต่อยู่ท่ีการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพได้บรรลุตาม จุดมุ่งหมายของหลักสูตร ซึ่งผู้ที่มีบทบาทสำ�คัญก็คือครูท่ีต้องทำ�หน้าท่ีเป็นผู้นำ�การเปล่ียนแปลง (Change Agent) ดังน้ัน จึงจำ�เป็นต้องพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาในเรื่องหลักสูตรฐาน สมรรถนะและการจดั การเรยี นการสอนใหเ้ ขา้ ใจชดั เจน และมกี ารนเิ ทศตดิ ตามอยา่ งจรงิ จงั สมาํ่ เสมอ ซงึ่ ปจั จยั ทห่ี น่วยงานที่เก่ียวขอ้ งตอ้ งชว่ ยสนับสนนุ ให้ครูท�ำ งานไดป้ ระสบผลส�ำ เรจ็ ไดแ้ ก่ 1) การสร้างความเข้าใจแก่ครูทุกคน ให้เข้าใจอย่างชัดแจ้งว่าตนต้อง ดำ�เนินการอย่างไรให้นักเรียนบรรลุเป้าหมาย รวมท้ังการเสริมสร้างความเข้าใจและพัฒนาทักษะ เพิ่มเติมแก่ครูด้านการจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ โดยเฉพาะอย่างย่ิงสำ�หรับครู 222รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ระดับประถมศึกษาตอนต้นที่ต้องเข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสมรรถนะเด็ก ปฐมวัยกับกรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซึ่งต้องพัฒนาสมรรถนะดังกล่าว ใหม้ ีความเชื่อมโยงกนั 2) การจัดเตรียมเครื่องมือและส่ือการเรียนการสอน ที่ช่วยให้ครูสามารถจัด การเรียนการสอนได้ด้วยการนำ�แนวทางการสอนท่ีดีและมีประสิทธิภาพมาใช้ มากกว่าเน้นให้ครู พฒั นาเนอ้ื หาบทเรยี น โดยกจิ กรรมทจ่ี ะใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั คิ วรมคี มู่ อื หรอื ขอ้ ความแนะน�ำ วธิ ดี �ำ เนนิ การ หรอื ทศิ ทางของกิจกรรมนน้ั ๆ สำ�หรบั ครู อาทิ คมู่ อื แนวทางการใชร้ ปู แบบ วธิ ี หรอื แนวการสอน เพือ่ พฒั นาสมรรถนะดา้ นต่าง ๆ คู่มอื แนวทางการวดั และประเมนิ ผลสมรรถนะดา้ นตา่ ง ๆ รวมท้ัง ตวั อย่างเครอื่ งมอื วัดสมรรถนะ 3) การจัดเตรยี มขอ้ มลู ผลการประเมนิ ทบี่ อกไดว้ า่ การเรียนรูข้ องนกั เรยี นเปน็ อยา่ งไร เปน็ ขอ้ มลู การเปรยี บเทยี บทอี่ า้ งองิ กบั ตวั ชว้ี ดั โดยเนน้ ทปี่ ระสทิ ธภิ าพการสอนของครู ในลกั ษณะ ของการประเมินเพ่ือการเรียนรู้ (Assessment for Learning) ให้ครูเกิดการเรียนรู้ร่วมไปกับ ผู้เรียน ช่วยให้ครูย้อนกลับมาพัฒนาการสอนของตนเองและปรับการสอนด้วยตนเองได้ (ออกแบบ เครื่องมอื พัฒนาใหค้ รูสามารถทำ�งานไดด้ ้วยตนเอง) หรืออาจจัดต้ังคณะกรรมการประเมนิ หลักสตู ร ภายในโรงเรียน ซ่ึงสามารถสะท้อนผลการใช้หลักสูตรในระดับช้ันเรียนต่อผู้บริหารและต้นสังกัด อย่างนอ้ ยปีละ 1 คร้ัง เพื่อเอ้ืออำ�นวยให้ผู้ดูแลระดบั บริหารสถานศึกษาสามารถนำ�ขอ้ มูลตา่ ง ๆ น้ี ไปศึกษาวจิ ัยเพือ่ พฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาตอ่ ไปในอนาคต 4) การพัฒนาครูแกนนำ� ครูผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านหลักสูตรและการเรียน การสอนที่สามารถเสนอแบบอย่าง วิธีและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรและการสอนท่ีได้ผล ซ่ึง เป็นวิธีการสอนที่ผ่านการทดลอง และมีผลการวิจัยยืนยันถึงประสิทธิภาพของวิธีดังกล่าวแล้ว เพื่อ ให้ครูได้ศึกษาและเปรียบเทียบกับวิธีการสอนของตน แล้วนำ�ไปสู่การปรับปรุงเพ่ือเป็นแนวทาง การพฒั นาหลักสูตรและการสอนให้กบั เพอื่ นครู 5) การสนบั สนนุ และสรา้ งแรงผลกั ดนั จากเพอื่ นครรู ว่ มวชิ าชพี โดยการสรา้ งชมุ ชน แหง่ การเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าชพี ทมี่ กี ารแลกเปลย่ี นวธิ สี อนและสะทอ้ นผลการสอนรว่ มกบั ครมู อื อาชพี เพอื่ การพัฒนาการสอน 6) การมีผู้นำ�และผู้บริหารสถานศึกษาช่วยสนับสนุนการทำ�งานและสร้าง แรงผลักดนั ใหเ้ กดิ ผลลพั ธท์ ่ีดี 7) การให้ชุมชนได้รับทราบถึงความคาดหวังหรือเป้าหมายของสถานศึกษา และโรงเรียนต้องแสดงความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ท่ีชุมชนคาดหวัง โดยท้ังผู้บริหารสถานศึกษา และครูต้องพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเพอ่ื ใหส้ ามารถแสดงถงึ ความรบั ผดิ ชอบในการจดั การศกึ ษาแก่ สงั คมและชมุ ชนได้ 223รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 8) การวจิ ยั การตดิ ตาม และการประเมนิ ผลในการน�ำ หลกั สตู รไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ในห้องเรียนอย่างต่อเน่ือง เพื่อพัฒนารูปแบบวิธีการสอนใหม่ ๆ ท่ีสร้างความม่ันใจในการจัดการ ศึกษาไดว้ า่ วิธีการสอนใดดกี ว่าวธิ ีที่ใช้อยู่ ท้ังนี้ ในการวิจัยครั้งน้ีมีข้อค้นพบว่า กลุ่มผู้เก่ียวข้องมีหลายลักษณะ อาทิ 1) ไม่ยอมรบั รคู้ วามเปลี่ยนแปลง 2) รบั รู้ แตไ่ มอ่ ยากเปลยี่ นแปลง หรือ 3) รับรู้ อยากเปล่ยี นแปลง แต่ไม่กล้าปรับเปลี่ยน ซ่ึงการพัฒนาบุคลากรแต่ละกลุ่มจึงต้องมีกลยุทธ์ท่ีแตกต่างกันในกลุ่ม เป้าหมายเหลา่ นี้ ข้อเสนอแนะในการวิจยั คร้ังตอ่ ไป 1. การศึกษาวิจัยปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสำ�เร็จในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในศตวรรษ ท่ี 21 ทม่ี งุ่ เนน้ สมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะตามหลักสูตรสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 และมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560 2. การศึกษาวจิ ัยกระบวนการพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะระดบั สถานศึกษาของทุกสงั กดั 3. การศึกษาวิจัยกระบวนการนำ�หลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาที่มี ผลการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลศิ เพื่อค้นหาโรงเรยี นแกนนำ�หรอื ต้นแบบในแตล่ ะจังหวดั และภมู ิภาค 4. การศึกษาปัจจัยความต้องการจำ�เป็นในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ที่เขม้ แข็งของสถานศกึ ษาที่มคี วามแตกตา่ งกนั ตามขนาด บริบทและสังกัดในแตล่ ะพน้ื ท่ี 5. การศึกษาวิจัยการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการหลักสูตรฐานสมรรถนะ และการจัดการเรยี นการสอน โดยใช้หลักการมสี ่วนรว่ มของผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี 224รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สูตรการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

บรรณานุกรม (ภาษาไทย) กรมการฝกึ หดั คร.ู (2522). ความคิดสรา้ งสรรค์ของเดก็ ไทย. กรุงเทพมหานคร. กรมวิชาการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พอ งคการรบั สง สินคาและพัสดภุ ณั ฑ. กรมสามัญศึกษา. (2537). การสร้างรายวิชาการคิดเป็น. กรุงเทพมหานคร: กรมสามัญศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำ กดั . กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). การบรหิ ารจดั การเวลาเรียนของสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน. ประกาศ กระทรวงศึกษาธกิ าร. ลงวนั ท่ี 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2560. กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และ ระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ พ.ศ. 2561 . กรุงเทพฯ. กาญจนา คุณารกั ษ์. (2543). พื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร. นครปฐม: มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. กติ ตพิ งษ์ เลศิ เลยี งชยั . (2547). ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ ประสทิ ธภิ าพการทาํ งานของพนกั งานบรษิ ทั นวโลหะ จํากัด. หลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิต. มหาวทิ ยาลัยบรู พา. เกรยี งศกั ดิ์ เจรญิ วงศศ์ กั ด.ิ์ (2546). การคดิ เชงิ วเิ คราะห.์ กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั ซคั เซสมเี ดยี จ�ำ กดั . ________. (2546). ลายแทงนกั คิด. กรุงเทพมหานคร: ซคั เซสมเี ดยี . โกวทิ ประวาลพฤกษ.์ (2532). รปู แบบการสอนการคดิ คา่ นยิ ม จรยิ ธรรม และทกั ษะ. กรงุ เทพมหานคร: กระทรวงศกึ ษาธิการ. ไกรยทุ ธ ธรี ตยาคนี นั ท.์ (มกราคม – มนี าคม 2539). ระบบการศกึ ษาไทยในยคุ โลกาภวิ ฒั น์ : การพฒั นา ให้เดก็ ไทย คิดเปน็ และสร้างองค์ความร.ู้ วารสาร Chulalongkorn Education Review, 8. ขจรศกั ด์ิ ศิรมิ ยั . (2554). เร่อื งน่ารู้เกี่ยวกบั สมรรถนะ. (ออนไลน)์ สบื ค้นจาก: http://competency.rmutp.ac.th/.doc. [3 กรกฎาคม 2561] จริ ประภา อัครบวร. (2549). สรา้ งคนสร้างผลงาน. กรุงเทพฯ : ก.พลพิมพ.์ ชนะ กสิภาร์. (2546). คณุ วฒุ ิวิชาชพี (Vocational qualifications): กรณีศึกษา ประเทศองั กฤษ สก๊อตแลนด์ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์. กรงุ เทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. ชชู ยั สมทิ ธไิ กร. (2540). การฝกึ อบรมบคุ ลากรในองคก์ าร. กรงุ เทพมหานคร: สํานกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . 225รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

บรรณานุกรม (ภาษาไทย) . (2550). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์กร. พิมพ์คร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. . (2552). การสรรหาคัดเลอื กและการประเมินผลการปฏิบัติงานของบคุ ลากร. พิมพค์ รั้งที่ 3. กรงุ เทพมหานคร: วพี รน้ิ . เชิดศักด์ิ โฆวาสินธิ์. (ม.ป.ป.). การฝึกสมรรถภาพสมองเพื่อพัฒนาคุณภาพการคิด. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร. ฐติ พิ ฒั น์ พชิ ญธาดาพงศ.์ (2548). การพฒั นาระบบสมรรถนะของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ . เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ, บรษิ ัทปูนซิเมนตไ์ ทย จ�ำ กัด (มหาชน). . (2549). “ยทุ ธวธิ กี ารใชร้ ะบบสมรรถนะในการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ เพอื่ ผลกั ดนั องค์การ สคู่ วามเปน็ เลศิ เหนือคูแ่ ขง่ ขนั ”. วารสารดำ�รงราชานภุ าพ. ณรงควิทย แสนทอง. (2550). มารูจัก Competency กันเถอะ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : เอช อารเซ็นเตอร ทิศนา แขมมณี. (2546). การพัฒนากระบวนการคิด : แนวทางที่หลากหลายสำ�หรับครู. วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน, 38-54. .(2554). ทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ : การบูรณาการในการจัดการเรยี นรู.้ วารสารราชบณั ฑิตยสถาน, 188-204. .(2557). อภวิ ฒั นก์ ารเรยี นรู้ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ใน ปลกุ โลกการสอนใหม้ ชี วี ติ สหู่ อ้ งเรยี น แหง่ ศตวรรษใหม.่ กรงุ เทพมหานคร : บริษทั สหมติ รพรนิ้ ต้ิงแอนดพ์ บั ลิชชงิ่ จำ�กดั . .(2558). ถอดรหสั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารสอนกระบวนการคดิ . กรงุ เทพมหานคร: บริษัทวีพร้นิ ท์ จำ�กัด. .(2559). การไตรต่ รองการสอน. วารสารราชบณั ฑิตยสภา, 210-220. . (2561). ศาสตร์การสอนเพ่ือการจดั กระบวนการเรยี นรู้ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพมิ พ์จำ�กดั . ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). การนำ�เสนอรูปแบบเสริมสร้างทักษะการคิดข้ันสูงของนิสิต นักศึกษาครูระดับปริญญาตรี สำ�หรับหลักสูตรครุศึกษา. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. .(2547). รายงานการวิจัยและพัฒนารูปแบบการปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน. กรุงเทพฯ : คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. . (2549). รายงานการวิจัยและพัฒนารูปแบบการปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน. สำ�นักงาน กองทุนสนบั สนุนการวิจัย. กรุงเทพฯ. . (2554). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเนจเม้นท์ จำ�กัด. 226รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

บรรณานุกรม (ภาษาไทย) เทอ้ื น ทองแกว้ . (2550). สมรรถนะ(Competency): หลกั การและแนวปฏบิ ตั .ิ กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดุสติ . ธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยุตโต). พระ. (2553). ความคดิ : แหล่งสำ�คัญของการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสหธรรมมคิ จ�ำ กดั . ธํารงศักด์ิ คงคาสวัสดิ์. (2548). เร่ิมตน้ อย่างไรเมื่อจะนาํ Competency มาใชใ นองคกร. กรุงเทพฯ: พิมพดกี ารพิมพ. . (2553) ประโยชน์จากการดำ�เนนิ งานตามโครงการพฒั นาระบบ Competency. วารสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครรนิ ทร.์ ฉบบั ท่ี 180 (ตลุ าคม 2555). หนา้ 77-78 บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2546). การพฒั นาหลกั สตู รและการวจิ ยั เกย่ี วกบั หลกั สตู ร. กรงุ เทพฯ: สวุ รี ยิ าสาสน . ปฎล นนั ทวงศ์ และไพโรจน์ ด้วงวเิ ศษ. (2543). หลักสตู รและการจัดการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน. สงขลา: สถาบนั ราชภัฏสงขลา. ประมา ศาสตระรจุ .ิ (2550). การพฒั นาเกณฑส์ มรรถนะในการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของผบู้ รหิ าร ศนู ยเ์ ทคโนโลยที างการศกึ ษา สำ�นกั งานการศกึ ษานอกโรงเรยี น.ปรญิ ญานพิ นธ์ การศกึ ษาดษุ ฎี บณั ฑิต สาขาการศึกษาผ้ใู หญ่ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ประสาร มาลากลุ ณ อยธุ ยา. (2533). บทสนทนาเกี่ยวกบั การสอนให้คดิ นวัตกรรมทางการศกึ ษา เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน. การประชุมวิชาการ เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนา คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ปวณี กร แปน้ กลัด. (2557). การพฒั นาหลักสูตรฝกึ อบรมครูวชิ าชีพตามรปู แบบการพฒั นาหลกั สตู ร ฝึกอบรมครูวิชาชีพแบบฐานสมรรถนะ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา บริหาร อาชวี ะและเทคนคิ ศกึ ษา ภาควชิ าบรหิ ารเทคนคิ ศกึ ษา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . ปยิ ะชยั จนั ทรวงศไ์ พศาล. (2549). การคน้ หา้ และวเิ คราะหเ์ จาะลกึ Competency ภาคปฏบิ ตั .ิ พมิ พ์ ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร.์ ปรยี าพร วงศอ นตุ รโรจน.์ (2546). การบริหารงานวชิ าการ. กรุงเทพฯ : ศนู ย์สื่อเสรมิ . พนา ดุสติ ากร. (2557). การพฒั นารูปแบบการฝกึ อบรมสมรรถนะวิชาชพี สำ�หรบั ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ อตุ สาหกรรม. วทิ ยานพิ นธป์ รชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาเทคโนโลยเี ทคนคิ ศกึ ษา ภาควชิ าครศุ าสตร์ เทคโนโลยบี ัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . พรชุลี อาชวอำ�รุง. (ฝ่ายวิจัย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). การพัฒนาและทำ�งาน กับรายการในฐานะเทคนิคการสอนเพื่อพัฒนาการคดิ วิเคราะห.์ กรุงเทพมหานคร : ฝา่ ยวิจยั คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. พัชรีวัลย์ เกตุแก่นจันทร์. (2542). การบริหารสมอง. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาการศึกษาพิเศษ ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร. 227รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสูตรการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

บรรณานุกรม (ภาษาไทย) เพญ็ พศิ ทุ ธ์ิ เนคมานรุ กั ษ.์ (2537). การพฒั นารปู แบบการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณสำ�หรบั นกั ศกึ ษาคร.ู วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาดุษฎีบัณฑิต. บณั ฑติ วทิ ยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . มาเรยี ม นลิ พนั ธุ์ และคณะ. (2556). การประเมนิ ผลหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในโรงเรยี นตน้ แบบการใชห้ ลกั สตู ร. นครปฐม: คณะศกึ ษาศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. มาเรียม นิลพันธ์, ไชยยศ ไพวทิ ยศิรธิ รรม, ศิรวิ รรณ จณิชวัฒนวรชัย และอุบลวรรณ สง่ เสริม. (2558). การประเมนิ ผลการใชห้ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 รุจิร์ ภู่สาระ. (2546). การพัฒนาหลักสูตร : ตามแนวหลักสูตรการศึกษา (Curriculum Development: Educatoinal Reform). กรุงเทพฯ : บุ๊คพอยท์. วัลลภ พฒั นพงศ์. (2555). การสรา้ งหลกั สูตรฝกึ อบรมนกั พัฒนาหลกั สตู รฝกึ อบรมสมรรถนะอาชีพ. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต สาขาวิจัยและพัฒนาหลักสูตร ภาควิชา บริหารเทคนิคศกึ ษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. วจิ ารณ์ พานชิ . (2558). เรยี นรสู้ กู่ ารเปลยี่ นแปลง. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั เอส. อาร.์ พรนิ้ ตงิ้ แพสโปรดกั ส์ จ�ำ กดั . วชิ ยั วงษใ์ หญ.่ (2554). จากหลกั สตู รแกนกลางสหู่ ลกั สตู รสถานศกึ ษา: กระบวนทศั นใ์ หมก่ ารพฒั นา. พิมพ์คร้ังท่ี 3. กรงุ เทพฯ: จรลั สนทิ วงศ์การพิมพ.์ ศักดิ์สิทธ์ิ สีหลวงเพชร. (2559). การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น ทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู ส�ำ หรบั ครวู ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ . วารสารศกึ ษาศาสตร.์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ปที ี่ 10 ฉบับท่ี 4. สงัด อุทรานนั ท์. (2552). หลกั สูตรและการสอน. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สจวี รรณ ทรรพวส.ุ (2548). ปจั จยั ทส่ี มั พนั ธก์ บั การทาํ วจิ ยั ทางดา้ นการศกึ ษาของอาจารย์ ในสถาบนั ราชภฏั เขตกรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาการศกึ ษาดษุ ฎบี ณั ฑติ (สาขาการอดุ มศกึ ษา). มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. สายสมร ทองคำ�. (2528). กระบวนการสอนเพื่อสร้างลักษณะการคิดเป็น ทำ�เป็น แก้ปัญหาเป็น สำ�หรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สาโรช บวั ศร.ี (2526). วธิ สี อนตามขน้ั ทงั้ สขี่ องอรยิ สจั จ ในสำ�นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาต.ิ ศึกษาศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์, ภาคท่ี 2 ระบบการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: กราฟคิ อารต์ . สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำ�นักนายกรัฐมนตรี. (2540). ทฤษฎีการเรียนรู้เพ่ือ พัฒนาการคิด. กรงุ เทพมหานคร: หจก. ไอเดยี สแควร์. 228รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

บรรณานกุ รม (ภาษาไทย) เสน่ห์ จุ้ยโต. (2549). พจนานุกรมสมรรถนะ (Competency Dictionary) กรงุ เทพฯ: บรษิ ัทขนส่ง จำ�กดั (มหาชน). สมบตั ิ คชสทิ ธิ์ และคณะ. (2561). การวจิ ยั การนำ�กรอบสมรรถนะหลกั ทดลองใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ ในสถานศกึ ษาเครอื ขา่ ยรว่ มทดลอง. ปทมุ ธานี : คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ.์ สวสั ดิ์ จงกล. (2547). แนวคดิ เกย่ี วกบั หลกั สตู รและการจดั การเรยี นการสอนกลมุ่ การงานพนื้ ฐานอาชพี ในเอกสารกลมุ่ การงานพนื้ ฐานอาชพี หนว่ ยท่ี 1. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมมาธริ าช. สกุ ญั ญา รศั มธี รรมโชต.ิ (2548). แนวทางการพฒั นาศกั ยภาพมนษุ ยด์ ว้ ย Competency. กรงุ เทพฯ : ศิรวิ ัฒนาอนิ เตอรพริน้ ท จํากัด (มหาชน). สุจติ รา ปทุมลงั การ.์ (2552). ความรู้เกี่ยวกบั หลกั สตู รฐานสมรรถนะ. (ออนไลน)์ สืบคน้ จาก:http:// www.atsn.ac.th/images/Upload/file/CBCApplications.pdf, 1 สิงหาคม 2561. สุเทพ  อ่วมเจริญ.  (2557).  การเรียนการสอน  :  การออกแบบนวัตกรรมและเทคโนโลยี.  นครปฐม : มหาวทิ ยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจนั ทร์. สุธีระ ประเสริฐสรรพ์. (2561). เพาะพันธ์ปัญญา : ปัญญาจากเหตุผลในเหตุ – ผล. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั โรงพมิ พ์อกั ษรสัมพนั ธ์ (1987) จ�ำ กดั . สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ และ คงวุฒิ นริ นั ตสุข. (2561). เพาะพันธป์ ัญญาดว้ ย PLC. หนงั สอื ในโครงงาน เพาะพนั ธป์ ัญญา ลำ�ดับที่ 24. สงขลา : บรษิ ทั น�ำ ศลิ ป์โฆษณา จำ�กดั . สุนีย์ ภู่พันธ์. (2546). แนวคิดพื้นฐานการสร้างและการพัฒนาหลักสูตรยุคปฎิรูปการศึกษาไทย. เชยี งใหม่ : The Knowledge Centre. สมุ ติ ร คณุ านกุ ร. (2536). หลกั สตู รและการสอน. กรงุ เทพฯ : คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สุวิมล ว่องวาณิช. (2546). “การประเมินการปฏิบัติงาน” ใน การประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. กรงุ เทพฯ : ส�ำ นกั พมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สำ�นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา กลุ่มพัฒนากระบวนการเรยี นรู้, สำ�นกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน. (2556). แนวทางการจดั การเรยี นรบู้ รู ณาการแบบครบวงจรฉบบั ปรบั ปรงุ , กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย จ�ำ กัด. ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำ�นกั นายกรฐั มนตรี. 2559. แผน พัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). (ออนไลน์). http:// www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422, 22 มีนาคม 2561. สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน. (2561). การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. คำ�สง่ั ท่ี 922/2561 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. 229รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

บรรณานกุ รม (ภาษาไทย) สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาตพิ .ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท2ี่ ) พ.ศ. 2545. กรงุ เทพฯ : สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษา แห่งชาต.ิ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2556). หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556. กรุงเทพฯ : สอศ. . (2557). หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู พุทธศักราช 2557.กรงุ เทพฯ : ส�ำ นักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา. สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548). ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ทีจ่ ำ�เป็นสำ�หรบั ตำ�แหน่ง. กรงุ เทพฯ: สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น. สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580. ฉบบั ประกาศราชกจิ จานเุ บกษา. พิมพค์ รั้งที่ 1 ตลุ าคม 2561. ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารวฒุ สิ ภา. 2560. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560. (Online). www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF. 22 มนี าคม 2561. สำ�นักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย. (2558). แนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 ทเี่ นน้ สมรรถนะทางสาขาวิชาชีพ. กระทรวงศึกษาธกิ าร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด. สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2551). แนวทางการดําเนินงานโครงการวิจัย และพัฒนา การสงเสริมนวัตกรรมเครือขายการเรียนรูของครูและบุคลากร ทางการศึกษาเพ่ือพัฒนา คณุ ภาพผเู รยี น. เอกสารประกอบการประชมุ สรา งความเขา ใจแนวทางการดาํ เนนิ งานโครงการ วิจัยและพัฒนาการสง เสริมนวัตกรรมเครือขา ยการเรียนรูข องครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน. กรุงเทพฯ : สํานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู สํานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. . (2559). รายงานผลการศกึ ษา การพฒั นามาตรฐานการศกึ ษาของชาต.ิ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. นนทบรุ ี : 21 เซ็นจรู ่ี จำ�กัด. . (2560). แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรงุ เทพฯ : พริกหวานกราฟฟคิ จ�ำ กัด. . (2560). การวจิ ยั และพัฒนารูปแบบการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนฐาน สมรรถนะตามกรอบคณุ วุฒิแหง่ ชาติ . กรุงเทพฯ : สกศ. . (2560). การวจิ ยั และพฒั นารปู แบบการพฒั นาหลักสตู รและการจัดการเรยี นการสอน ฐานสมรรถนะตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : บริษัท พรกิ หวานกราฟฟคิ จำ�กัด. . สมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นาตามวยั (0-3 ป)ี และ (3-5 ป)ี . สนบั สนนุ โดย UNICEF. . (2561). มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ. 2561. กระทรวงศึกษาธกิ าร. 230รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

บรรณานกุ รม (ภาษาไทย) ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา และองคก์ ารทนุ เพอื่ เดก็ แหง่ สหประชาชาติ (ยนู เิ ซฟ) ประเทศไทย. (2561). พฤติกรรมของเด็กกลุ่มตัวอย่าง จำ�แนกตามสมรรถนะของเด็กปฐมวัยตามระดับ คอว์ไทล์ (Quartile) และจำ�แนกตามกลุ่มอายุของเด็ก 3-5 ปี กรุงเทพมหานคร : บริษัท พรกิ หวานกราฟฟคิ จำ�กดั . สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF อรทพิ า สอ่ งศริ .ิ (2545). การสรา้ งเกณฑป์ ระเมนิ สมรรถนะพยาบาลทางคลนิ คิ สาํ หรบั นกั ศกึ ษา หลกั สตู ร พยาบาลศาสตรบัณฑติ . วทิ ยานิพนธก์ ารศึกษาดษุ ฎบี ัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. อัจรยิ า วัชราวิวฒั น์. (2544). การพัฒนาหลกั สูตรเสรมิ สร้างสมรรถนะทางการวิจัยสำ�หรับ นักศึกษา พยาบาลศาสตร.์ วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาการศกึ ษาดษุ ฎบี ณั ฑติ . สาขาการวจิ ยั และ พฒั นาหลกั สตู ร. มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. อาภรณ์ ใจเทยี่ ง. (2550). หลกั การสอน. พมิ พ์ครง้ั ท:ี 4. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร.์ อุ่นตา นพคณุ . (2528). คิดเป็น. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เอ้ือญาติ ชูช่ืน. (2536). ผลการศึกษาการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวทฤษฎีของโรเบิร์ต เอช เอนนิส ท่ีมีต่อความสามารถทางการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาลตำ�รวจ. วทิ ยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต. บัณฑติ วิทยาลัย จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. 231รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

บรรณานกุ รม (ภาษาองั กฤษ) Alan, C.K. and Ping-Man, W. (2012). Factors Affecting the Implementation of Curriculum January 11, 2013. Ana, P., Zoran, L. (2017). Education for Life: Key 21st Century Competencies In Curricula In Montenegro Executive Summary. (Online). https://www.unicef.org/montenegro/Education_for_life_Key_21st_century_ competencies in curricula in Montenegro Executive summary .pdf, April 4, 2018. Ananiadou, K and claso, M. (2009). 21st Century Skills and Competences for New Millennium Learners in OECD Countries. OECD Education. Working Papers No.41. Paris : OECD Publishing Press. Association of Child Life Professionals. (2018). Child Life Competencies. (Online). https://www.childlife.org/about-aclp/purpose-mission-values/official-documents/ child-life-competencies, April 4, 2018. Ausubel, D. (1986). Educational Psychology : A Cognitive View. New York: Holt Rinehart and Winston. Beane. (1986). Curriculum Planning and Development. Massachusette: Allyn and Bacon. Beyer, B. (1937). Practical strategies for the teaching of thinhing. Boston : Allyn and Bacon. Bristow, S.F. and Patrick, S. (2014). An Intemational Study in Competencey Education: Postcards from Abroad. Vienna : iNACOL Competency Works. Brown, R. (1993). Schools of thought. San Francisco: Jossey – Bass. Bureau of Academic Affairs and Educational Standards, OBEC. (2019). 1st Capacity building workshop on teaching and learning development : Curriculum Design. January 29th – 31st : Palazzo Hotel, Bangkok. Collaborative for Académie, Social, and Emotional Learning (CASEL). (2012). 2013 CASEL Guide: Effective Social and Emotional Learning Programs. Preschool and Elementary School Edition. 232รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

บรรณานุกรม (ภาษาองั กฤษ) Confer, C. S. (2001). “Student Participation in a Process of Teacher Change: Toward Student – Centered Teaching and Learning”. Dissertation Abstracts International. Cost thinking. . (1976). New York: Pergamm Press. Daisuke, K. and Madoka, T, Global, Incubation x Fostering Talents (GiFT). (2017). Advancing 21st Century Competencies in Japan. (Online). http://asiasociety.org/files/21st-century-competencies-japan.pdf, April 4, 2018. De Bono, E. (1970). Lateral thinking : A textbook of creativity. New York: Penguin Books. Elite Daily STAFF. (2013). https://www.elitedaily.com/life/10-graduation. (Online), March 24, 2018. Ennis, R. (1985). A logical basic for measureing critical thinking skill Educational Leadership. Fenwick, L. and Cooper, M. (2012). Prevailing Pedagogies for Classes in Low SES Contexts and the Implications for Standards-Based Reform in Australia. (Online). http://link.springer.com/article/10.1007%2Fs13384-012-0066-8, May 2, 2013. Gardner, H. (1983). Frames of mind. New York : Basic Books, Harper Collins Public. Good. (1973). Carter V. Dictionary of Education. 3rd ed. New York: McGraw-Hill. Gordon, J. (1990). The evaluation primer. The Future Problem Solving Problem. North Carolina: St. Andrews College Laurinburg, Gov.UK. (2016). A brief guide to competencies. (Online). https://www.gov.uk/guidance/a-brief-guide-to-competencies, April 8, 2018. Guilford, J. (1967). The nature of human intelligence. New York: McGraw-Hill. Havelock North Primary School. (2018). Key Competencies. (Online). https://hnps.school.nz/learning/key-competencies/, April 8, 2018. International Bureau of Education. Examples of countries’ definitions of key/core competencies. (2018) (Online).http://www.ibe.unesco.org/en/geqaf/annexes/ technical-notes/examples-countries’-definitions-keycore-competencies, March 25, 2018. Jennifer, P.T., Elizabeth, K. Melvin, C, Pamela, C. O., and David H. National Institute of Education, Nanyang Technological University. (2017). 233รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

บรรณานกุ รม (ภาษาองั กฤษ) Advancing 21st Century Competencies in Singapore. (Online). https://asiasociety. org/sites/default/files/2017-10/advancing-21st-century-competencies-in-singa- pore.pdf, April 4, 2018. Kai-ming, C. and Liz, J., University of Hong Kong, and Wing-on Lee, The Open University of Hong Kong. (2017). Advancing 21st Century Competencies in Hong Kong. (Online). https://asiasociety.org/files/21st-century-competencies-hong-kong. pdf, April 4, 2018. Kai-ming C., University of Hong Kong. (2017). Advancing 21st Century Competencies in East Asian Education Systems. (Online). https://asiasociety.org/files/21st-cen- tury-competencies-east-asian-education-systems.pdf, April 4, 2018. Kenya Institute of Curriculum Development. (2017). Basic Education Curriculum Framework. (Online). http://kicd.ac.ke/curriculum-reform/basic-education- curriculum-framework/ Mark Poole’s DP. (2017). Transversal Competencies and the finnish national core curriculum. (Online). http://markpoolesdp.weebly.com/fulbright-blog/transver- sal-competencies-and-the-finnish-national-core-curriculum, March 25, 2018. Marzano, R. J. (1988). Dimensions of thinking : A framework for curriculum and instruction. Alexandria Virginia : Association for Supervision and Curriculum Development. McClelland, D.C. (1993). Testing for competence rather than intelligence. American Psychologist, 28(1), 1-14. Meichenbaum, D. (1985). Teaching Thinking : A cognitive behavioral perspective. In J.W. Segal, S.F. Chipman, & R. Glaser (Eds.). Hillsdale: Erlbaum. Ministry of Education, New Zealand. (2017). Key competencies. (Online). https:// parents.education.govt.nz/primary-school/learning-at-school/key-competen- cies/, April 9, 2018. New Zealand Council for Educational Research (NZCER). (2017). Weaving a Coherent Curriculum. Wellington : NZCER. NHS Education for Scotland Thistle House. (2011). Core Competency Framework for the Protection of Children. (Online). https://www.knowledge.scot.nhs.uk/media/5352752/child%20protection%20 web%20-%20core%20competency%20framework.pdf, April 4, 2018. OECD. (2014). Competency Framework. (Online). https://www.oecd.org/careers/competency_framework_en.pdf, March 25, 2018. 234รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

บรรณานุกรม (ภาษาองั กฤษ) OECD. (1997). THE DEFINITION AND SELECTION OF KEY COMPETENCIES Executive Summary. (Online). https://www.oecd.org/pisa/35070367.pdf , March 25, 2018. Ornstein, & Hunkins. (1993). Curriculum Foundations, Principles and lssues. 2nd ed. Boston: Allyn and Bacon. Osborn, A. (1963). Creative imagination. (3 rd ed.). New York: Charles Scribners & Son. Outi Kallioinen (ed.), (2007). The competence – Based Curriculum at Laurea, Laurea Univenity of Applied Sciences. Edita Prima Oy, Helsinki : Laurea Publications. Parallel thinking : From Socratic thinking to De Bono thinking. . (1996). London : Penguin Books. Paul, R. (1993). Teaching critical thinking. California: Center For Critical Thinking and Moral Critique. Piaget, J. (1965). Judment and reasoning of the child. London: Poutledge and Kagen Paul. Prawat, R. (1991). The value of ideas : the immersion approach to the development of thinking. Education Research. Priest, S. How to build Competency – Based Curricula in seven simple steps : An alternative approach Queensland Studies Authority. (2015). Year 1 Mathematies Australian Curriculum in Queensland (March 2013 amended April 2015), Australian Curriculum Assess- ment and Reporting Authority (ACRRA), Australia. Reform in Hong Kong: Key Findings from a Large-Scale Survey Study (Online). http://www.emeraldinsight.com/journals.htm?articleid=17010501&show=abstract, Richard, E. B. (1982). The Competent Manager: A Model for Effective. Performance: 20-21. Rosemary, H.N. (2014). Key competencies and effective pedagogy. (Online). http:// nzcurriculum.tki.org.nz/Key-competencies/Key-competencies-and-effective-ped- agogy, April 9, 2018. Roumen, N., Elena, S., and Eugenia, K. (2014). https://www.researchgate.net/profile/Roumen_Nikolov2, April 12, 2018. Sahlberg, P. Finnish Lessons 2. (2016). วชิ ชา ปดิ ชามกุ ผแู้ ปล. กรงุ เทพฯ : โอเพน่ เวลิ ดส์ พบั ลชิ ชง่ิ เฮาสม์ 2559. Shoikova, E., Krumova,M. (2009). ”Researching Competency Models”, Annual Journal of Electronics, TU-Sofia. Six thinking hats. (1992). New York: McQuaig Group. 235รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

บรรณานุกรม (ภาษาอังกฤษ) Spencer, L. M., & Spencer, S. M. (1993). Competence at Work: Model for Superior Performance. New York: Wiley & Sons. State University of Libvary Studies and Information Technologie,. Russia. (2014). Competence Based Framework For Curriculum Development. TEMPUS project : EQF-band professional ICT training for Russia and Kazakhstan. Stermberg, R. (1985). Beyond IQ : A triarchic theory of human intelligence. Cambridge University Press.: New York. Surr, W. and Redding, S. (2017). Competency – Based Education : Staying Shallow or going Deep? American Institutes for Research and Center an Innovations in Learning. Taba, H. (1962). Curriculum Development Theory and Practice. New York: Harcourt, Brace and World Teruko, Ki, CRN Staff. (2010). 21st Century Skills and Learning in Japan: Will Japanese school children be equipped to thrive in the 21st century? (Online). https:// www.childresearch.net/papers/school/2010_05.html, April 4, 2018. The California Department of Education and First 5 California Sacramento. (2011). California Early Childhood Educator Competencies. (Online). https://www.cde.ca.gov/sp/cd/re/documents/ececompetencies2011.pdf, April 8, 2018. The National Academy of Sciences. (2015). Transforming the Workforce for Children Birth Through Age 8: A Unifying Foundation: Knowledge and Competencies. (Online). https://www.nap.edu/read/19401/chapter/13#344, April 8, 2018. The OECD Southeast-Asia. (2018). http://www.oecd.org/southeast-asia/countries/thailand/ (Online), March 21, 2018. Torrance, E. (1964). The Minnesota studies of creative thinking in Widening Horizon in Creativity, Calvin W. Tayler (ed.),. New York: John Wiley and Sons,Inc. Torrance, E. A. (1972). Creative learning and teaching. New York : Dood, Mead and Company. Tyler, R.W. (2006). The Steps of Curriculum Development. (Online). www.triangcle. co.uk /pdf/validate asp? June 10, 2006. Tyler R. W. (1950). Basic Principles of curriculum and Instruction. London: University of Chicago 236รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสูตรการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

บรรณานกุ รม (ภาษาอังกฤษ) UNESCO. (2016). Assessment of Transversal Competencies. (2018) (Online). https://bangkok.unesco.org/content/assessment-transversal-competencies- policy-and-practice-asia-pacific-region, March 25, 2018. UNESCO Intenational Buseau of Education (IBE UNESCO). (2017). The Why, What and How of Competency – Based Curriculum Reforms : the Kenyan Experience. UNESCO. (2015). Asia-Pacific Education Research Institutes Network (ERI-Net) Regional Study on Regional Synthesis Report TRANSVERSAL COMPETENCIES IN EDUCATION POLICY & PRACTICE (PHASE I). UNESCO: Bangkok Office. UNESCO. (2014). Competency Framework. (Online). https://www.oecd.org/careers/competency_framework_en.pdf, March 25, 2018. UNESCO. (2013). Intercultural Competences Conceptual and Operational Framework. (Online). http://unesdoc.unesco.org/images/0021/002197/219768e.pdf, March 25, 2018. UNESCO. Glossary of Curriculum Terminology University., C. f. (1996). Critical thinking workshop handbook. California: Foundation for Critical Thinking,. Van-Tassel-Baska, J. (2012). A Case for Common Core State Standards: Gifted Curriculum 3.0 (Online). http://www.eric.ed.gov/ERICWebPortal/search. August 1, 2012. Watamura, K. P., (2001). “Child-centered Learning Versus Direct Instruction in Mathematics in the Elementary Classroom.” Masters Abstracts International. Wallach, M. A. (1965). Modes of thinking in young children. New York: Holt, Rinehart and Winston. Wilks, S. (1997). Thinking better through smart education. A Project proposal submit- ted To Australian Research Council. Worrell, P. (1990). “Metacognition : Implications for instruction in nursing education.”. Journal of Nursing Educational. 29, 170-174. 237รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน



ภาคผนวก ภาคผนวก ก. เครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ัย

ภาคผนวก ก. เคร่อื งมอื ประเมนิ สมรรถนะผเู้ รียนระดับช้นั ประถมศกึ ษาตอนต้น ประกอบด้วยองคป์ ระกอบสมรรถนะและระดับคุณภาพของผู้เรยี น สำ�หรับครผู ้สู อนใช้ประเมินนกั เรียน เกณฑ์ในการประเมนิ สมรรถนะผเู้ รียนระดบั ชั้นประถมศึกษาตอนต้น กลมุ่ สมรรถนะที่ 1 คนไทยฉลาดรู้ (Literate Thais) คุณลักษณะของนักเรยี นในแต่ละระดับคณุ ภาพ ท่ี สมรรถนะ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง (3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน) (0 คะแนน) 1 ภาษาไทยเพ่ือ ฟงั ดู พดู อา่ นและเขยี นโดย ฟัง ดู พดู อา่ นและ ฟงั ดู พูด อา่ นและ มที กั ษะนอ้ ยกวา่ ระดบั การสือ่ สาร ใชค้ �ำ และขอ้ ความสนั้ ๆ ใน เขียนโดยใช้คำ�และ เขียนโดยใช้คำ�และ 1 หรอื ไม่มีทกั ษะเลย (Thai Language การสอื่ สารกบั บคุ คลรอบ ข้อความสั้นๆ ใน ข้อความสั้นๆ ใน for ตัวได้อย่างคล่องแคล่ว ก า ร ส่ื อ ส า ร กั บ ก า ร สื่ อ ส า ร กั บ Communication) และเหมาะสมตาม บุคคลรอบตัวได้ บุคคลรอบตัวได้ กาลเทศะในทุกทักษะ อย่างคล่องแคล่ว อย่างคล่องแคล่ว รวมทง้ั มีความภาคภูมิใจ และเหมาะสมตาม และเหมาะสมตาม ในการใช้ภาษาไทยใน กาลเทศะในทกุ ทกั ษะ กาลเทศะได้เพียง การแลกเปลี่ยนความรู้ ทั้งฟัง ดู พูด อ่าน บางทกั ษะ ความรูส้ กึ ความคดิ และ และเขียน การเขา้ ใจกับผู้อ่ืน 2 คณติ ศาสตรใ์ น ส า ม า ร ถ แ ก้ ปั ญ ห า สามารถแก้ปัญหา สามารถแก้ปัญหา มที กั ษะนอ้ ยกวา่ ระดบั ชวี ติ ประจ�ำ วัน ทางคณิตศาสตร์และให้ ทางคณิตศาสตร์ ทางคณิตศาสตร์ 1 หรือไมม่ ที กั ษะเลย (Mathematics in เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ใ ห้ เ ห ตุ ผ ล ท า ง และให้เหตุผลทาง Everyday Life) รวมทั้งสามารถส่ือสาร คณิตศาสตร์ และ คณติ ศาสตร์ รวมทงั้ และสื่อความหมาย สามารถส่อื สารและ สามารถส่ือสารและ ทางคณติ ศาสตรแ์ ละเชอ่ื ม ส่ือความหมายทาง สื่อความหมายทาง โยงความรทู้ างคณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ รวมทงั้ คณิตศาสตร์ได้ กบั เนอื้ หาสาระอนื่ ๆ และ เช่ือมโยงความรู้ อย่างเหมาะสม สามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ช้ ทางคณิตศาสตร์กับ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ไดอ้ ยา่ ง เนอื้ หาสาระอนื่ ๆ ได้ อย่างเหมาะสมและมี อย่างเหมาะสม ประสทิ ธภิ าพ 240รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

ภาคผนวก ก. คณุ ลักษณะของนกั เรยี นในแตล่ ะระดบั คณุ ภาพ ที่ สมรรถนะ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ (3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน) (0 คะแนน) 3 การสืบสอบทาง กลา้ พดู กลา้ แสดงความคดิ ก ล้ า พู ด ก ล้ า ก ล้ า พู ด ก ล้ า มที กั ษะนอ้ ยกวา่ ระดบั วทิ ยาศาสตร์และ เหน็ สนบั สนนุ หรอื คดั คา้ น แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด 1 หรอื ไมม่ ที ักษะเลย จติ วิทยาศาสตร์ เพ่ือตัดสินใจในประเด็น เห็น สนับสนุนหรือ เห็น สนับสนุนหรือ (Scientific Inquiry ทางวิทยาศาสตร์ท่ีมีผล คัดค้านเพื่อตัดสิน คัดค้านเพื่อตัดสิน and Scientific กระทบตอ่ ตนเอง ครอบครวั ใจในประเด็นทาง ใจในประเด็นทาง Mind) สามารถใช้กระบวนการ วิทยาศาสตร์ท่ีมีผล วิทยาศาสตร์ที่มีผล ทางวิทยาศาสตร์ในการ กระทบตอ่ ตนเองและ กระทบตอ่ ตนเองและ แสวงหาความรู้ และ ครอบครวั สามารถ ครอบครัว สามารถ สามารถสรา้ งและใชแ้ บบ ใช้กระบวนการทาง ใช้กระบวนการทาง จ�ำ ลองอยา่ งงา่ ยเพอ่ื อธบิ าย วิทยาศาสตร์ใน วิทยาศาสตร์ใน ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ การแสวงหาความรู้ การแสวงหาความรู้ รวมทง้ั สามารถออกแบบ และสามารถสร้าง และสามารถสร้าง ต้นแบบสิ่งประดิษฐ์ และใช้แบบจำ�ลอง และใช้แบบจำ�ลอง งา่ ย ๆ ที่ใชแ้ ก้ปัญหาใน อยา่ งงา่ ยเพอื่ อธบิ าย อยา่ งงา่ ยเพอื่ อธบิ าย ชวี ติ ประจ�ำ วนั ของตนเอง ปรากฏการณ์ทาง ปรากฏการณ์ทาง และชมุ ชน ตลอดจนเปน็ ผู้ ธรรมชาติ รวมท้ัง ธรรมชาติ มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ มคี วาม สามารถออกแบบ เปน็ ผมู้ เี หตผุ ล ตระหนกั ใน ต้นแบบสิ่งประดิษฐ์ สง่ิ แวดลอ้ ม รบั ผดิ ชอบตอ่ งา่ ย ๆ ทใี่ ชแ้ กป้ ญั หา ตนเอง ครอบครัว สังคม ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของ ระดบั ประเทศ ตนเองและชุมชน 241รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

ภาคผนวก ก. คุณลักษณะของนักเรียนในแต่ละระดบั คุณภาพ ท่ี สมรรถนะ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ (3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน) (0 คะแนน) 4 ภาษาองั กฤษเพ่ือ สามารถจดจำ�คำ�ศัพท์ สามารถจดจ�ำ ค�ำ ศพั ท์ สามารถจดจ�ำ ค�ำ ศพั ท์ มที กั ษะนอ้ ยกวา่ ระดบั การสือ่ สาร ภาษาอังกฤษพื้นฐานใน ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน 1 หรือไม่มีทักษะเลย (English for ระดับช้ันของตนเองได้ ในระดบั ชนั้ ของตนเอง ในระดบั ชนั้ ของตนเอง Communication) อยา่ งถกู ตอ้ ง และสามารถ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และ สื่อสารผ่านการฟัง พูด สามารถสื่อสารผา่ น สามารถสื่อสารผ่าน อา่ นและเขยี นดว้ ยค�ำ ศพั ท์ การฟงั พดู อา่ นและ การฟงั พดู อา่ นและ ขอ้ ความและประโยคงา่ ย ๆ เขียนด้วยคำ�ศัพท์ เขียนด้วยคำ�ศัพท์ ในการส่ือสารโต้ตอบ ขอ้ ความและประโยค ข้ อ ค ว า ม แ ล ะ เกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัว งา่ ย ๆ ในการสอ่ื สาร ประโยคง่าย ๆ ใน หรือสถานการณ์ในชีวิต โต้ตอบเกี่ยวกับ การส่ือสารโต้ตอบ ประจ�ำ วนั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ข้อมูลส่วนตัว หรือ เกย่ี วกบั ขอ้ มลู สว่ นตวั และเหมาะสมกับบริบท สถานการณ์ในชีวิต หรือสถานการณ์ ทางสงั คมและวฒั นธรรม ประจำ�วันได้อย่าง ในชีวิตประจำ�วันได้ ตลอดจนสามารถถา่ ยทอด ถกู ตอ้ งและเหมาะสม อยา่ งถูกตอ้ ง ความคดิ และประสบการณ์ กับบริบททางสังคม ของตนเองโดยการใชภ้ าษา และวัฒนธรรม อังกฤษอย่างสร้างสรรค์ ตลอดจนมีเจตคติ รวมทงั้ มเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การ ท่ีดีต่อการเรียนวิชา เรียนวิชาภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ อกี ดว้ ย 242รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

ภาคผนวก ก. กลมุ่ สมรรถนะที่ 2 คนไทยอย่ดู ีมีสุข (Happy Thais) คุณลกั ษณะของนักเรียนในแต่ละระดบั คณุ ภาพ ท่ี สมรรถนะ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง (3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน) (0 คะแนน) 5 ทักษะชีวติ และ ดูแลและพึ่งตนเองได้ ดูแลและพึ่งตนเอง ดูแลและพึ่งตนเอง มีทักษะน้อยกว่าระดับ ความเจรญิ แหง่ เหมาะสมตามวยั ทงั้ ทาง ไดเ้ หมาะสมตามวยั ได้เหมาะสมตามวัย 1 หรอื ไม่มที กั ษะเลย ตน (Life Skills ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจอารมณ์ ทง้ั ทางดา้ นรา่ งกาย ท้ังทางด้านร่างกาย and Personal สังคม สติปัญญา และ จติ ใจอารมณ์ สงั คม จติ ใจ อารมณ์ สังคม Growth) สามารถป้องกันตนเอง สติปัญญา และ และสตปิ ญั ญา รวมทง้ั และหลีกเลี่ยงจากภัย สามารถป้องกัน สามารถปอ้ งกนั ตนเอง ตา่ ง ๆ ได้ รวมท้ังแก้ไข ตนเองและหลกี เลยี่ ง และหลกี เลยี่ งจากภยั ปัญหาและปรับตัวกับ จากภัยต่าง ๆ ได้ ต่าง ๆ ได้ สภาพความเปลยี่ นแปลง รวมทัง้ แกไ้ ขปญั หา และมีปฏสิ มั พนั ธท์ ีด่ ตี อ่ และปรบั ตวั กบั สภาพ ผู้อื่น วางตนได้เหมาะ ความเปลยี่ นแปลงได้ สมกับบทบาทของตน อย่างเหมาะสม ตลอดจนรบั รแู้ ละชน่ื ชม มสี นุ ทรยี ะทางดา้ นความ งามในธรรมชาตแิ ละศลิ ป วัฒนธรรม 6 ทกั ษะอาชีพ และ สามารถรับรู้ถึงความ สามารถรบั รถู้ งึ ความ สามารถรบั รถู้ งึ ความ มีทักษะน้อยกว่าระดับ การเป็น ตอ้ งการ ความสนใจ ความ ตอ้ งการ ความสนใจ ต้องการ ความสนใจ 1 หรอื ไม่มีทักษะเลย ผ้ปู ระกอบการ ถนัด และอาชพี ท่ีสนใจ ความถนดั และอาชพี และความถนัดของ (Career Skills ของตนเอง และสามารถ ท่ีสนใจของตนเอง ตนเอง และสามารถ and เผชญิ และปรบั ตวั เมอื่ พบ และสามารถเผชิญ เผชญิ และปรบั ตวั เมอ่ื Entrepreneur- กบั สถานการณท์ ยี่ งุ่ ยาก และปรบั ตวั เมอื่ พบ พบกับสถานการณ์ท่ี ship) มีการกำ�หนดเป้าหมาย กับสถานการณ์ท่ี ยงุ่ ยาก มกี ารก�ำ หนด การทำ�งาน และมีการ ยงุ่ ยาก มกี ารก�ำ หนด เปา้ หมายการท�ำ งาน วางแผนการใช้จ่ายและ เปา้ หมายการท�ำ งาน และมีการวางแผน การเก็บออม รวมท้ัง และมีการวางแผน ก า ร ใช้ จ่ า ย แ ล ะ มกี ารวางแผนท�ำ งานเปน็ การใช้จา่ ยและการ การเกบ็ ออม รวมทั้ง ข้ันตอน และสามารถ เก็บออม รวมทั้ง มกี ารวางแผนท�ำ งาน ท�ำ งานไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ มกี ารวางแผนท�ำ งาน เปน็ ขนั้ ตอน แตย่ งั ขาด เปน็ ข้นั เป็นตอน ตลอด เป็นข้ันตอน และ ทักษะในการทำ�งาน จนมีเจตคติท่ีดีต่อการ สามารถทำ�งานได้ ในบางข้ันตอน ประกอบอาชพี มีความ อย่างคล่องแคล่ว อดทน รอบคอบ สรา้ ง เป็นขั้นเปน็ ตอน ผลงาน และช่ืนชม ผลงานของตนเอง 243รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

ภาคผนวก ก. กล่มุ สมรรถนะท่ี 3 คนไทยสามารถสงู (Smart Thais) คุณลักษณะของนักเรยี นในแตล่ ะระดบั คณุ ภาพ ที่ สมรรถนะ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ (3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน) (0 คะแนน) 7 ทักษะการคิดข้ัน สามารถคดิ วเิ คราะหข์ อ้ มลู สามารถคดิ วเิ คราะห์ สามารถคิดวิเคราะห์ มที กั ษะนอ้ ยกวา่ สูงและนวัตกรรม หรอื เรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ท่ียงั ข้อมูลหรือเร่ืองราว ข้อมูลหรือเร่ืองราว ระดบั 1 หรอื ไมม่ ี (Higher-Order ไมม่ คี วามสลบั ซบั ซอ้ นมาก ตา่ ง ๆ ทยี่ งั ไมม่ คี วาม ตา่ ง ๆ ทย่ี งั ไมม่ คี วาม ทกั ษะเลย Thinking Skills และคิดตัดสินใจตามหลัก สลบั ซบั ซอ้ นมากและ สลบั ซบั ซอ้ นมากและ and Innovation) เหตุผลได้ สามารถสังเกต คดิ ตดั สนิ ใจตามหลกั คิดตัดสินใจตามหลัก หรือสำ�รวจตนเอง ระบุ เหตผุ ลได้ และสามารถ เหตผุ ลได้ และสามารถ ปัญหาของตนและปัญหา สังเกตหรือสำ�รวจ สังเกตหรือสำ�รวจ ที่มีกับเพื่อน และคิดหา ตนเอง ระบุปัญหา ตนเอง ระบุปัญหา สาเหตแุ ละวธิ กี ารแกป้ ญั หา ของตนและปัญหาที่ ของตนและปัญหาท่ี แลว้ ลงมอื แกป้ ญั หาดว้ ยวธิ ี มีกับเพ่ือน และคิด มีกับเพ่ือน และคิด การทเี่ ลอื ก รวมทงั้ สามารถ หาสาเหตแุ ละวธิ กี าร หาสาเหตุและระบุ ตดิ ตามผล ประเมนิ ผลและ แก้ปญั หา แล้วลงมือ วิธีการแก้ปัญหา แต่ สรปุ ผลการแกป้ ญั หาของตน แกป้ ญั หาดว้ ยวธิ กี ารท่ี ยังไม่สามารถลงมือ ไดต้ ลอดจนสามารถคดิ หรอื เลอื ก รวมทง้ั สามารถ แก้ปัญหาด้วยวิธีการ จนิ ตนาการความคดิ แปลก ติดตามผล ประเมิน ท่เี ลอื กดว้ ยตนเองได้ ใหมใ่ นกจิ กรรมตา่ ง ๆ เชน่ ผลและสรุปผลการ การเลน่ การประดษิ ฐ์ การ แกป้ ัญหาของตนได้ ท�ำ ของเลน่ ของใช้ การเลา่ นิทาน การวาดภาพ การ แสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และกฬี า 244รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

ภาคผนวก ก. คณุ ลกั ษณะของนักเรยี นในแต่ละระดบั คณุ ภาพ ท่ี สมรรถนะ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง (3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน) (0 คะแนน) 8 การรู้เทา่ ทันสือ่ รจู้ กั และใชส้ อื่ สารสนเทศได้ รู้จัก และใช้ส่ือ รู้จัก และใช้สื่อ มที กั ษะนอ้ ยกวา่ สารสนเทศ และ โดยเขา้ ใจความตอ้ งการใน สารสนเทศได้โดยเขา้ ใจ สารสนเทศได้ โดยเขา้ ใจ ระดบั 1 หรอื ไมม่ ี ดจิ ิทลั (Media, การใชป้ ระโยชนข์ องตนเอง ความต้องการใน ความตอ้ งการในการใช้ ทกั ษะเลย Information and และสามารถบอกถงึ วธิ กี าร การใชป้ ระโยชนข์ อง ประโยชนข์ องตนเอง Digital Literacy) เขา้ ถงึ แหลง่ สารสนเทศ แหลง่ ตนเอง และสามารถ และสามารถบอกถึง เรยี นรู้ และการใชป้ ระโยชน์ บอกถึงวิธีการเข้าถึง วิธีการเข้าถึงแหล่ง สือ่ รวมท้งั สามารถสบื คน้ แหล่งสารสนเทศ สารสนเทศ แหล่ง อา่ น สร้างสอ่ื และขา่ วสาร แหล่งเรียนรู้ และ เรียนรู้ และการใช้ อย่างหลากหลาย ตลอด การใช้ประโยชน์ส่ือ ประโยชน์ส่อื รวมท้งั จนสามารถประเมินความ รวมทง้ั สามารถสบื คน้ สามารถสืบค้น อ่าน น่าเชอื่ ถือและคุณค่า เห็น อ่าน สร้างสื่อและ สร้างส่ือและข่าวสาร ประโยชนแ์ ละโทษของส่อื ขา่ วสารอยา่ งหลากหลาย อยา่ งง่ายได้ สารสนเทศ และเทคโนโลยี ตลอดจนสามารถ ดจิ ทิ ลั และเลอื กสง่ ตอ่ ขอ้ มลู ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถอื ขา่ วสารทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ และคณุ คา่ เหน็ ประโยชน์ ตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน และโทษของสื่อ สารสนเทศ และ เทคโนโลยีดจิ ิทลั 245รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ภาคผนวก ก. กลุ่มสมรรถนะที่ 4 พลเมอื งไทยใสใ่ จสงั คม (Active Thais Citizen) คณุ ลกั ษณะของนกั เรยี นในแตล่ ะระดับคณุ ภาพ ท่ี สมรรถนะ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ (3 คะแนน) 2 คะแนน) (1 คะแนน) (0 คะแนน) 9 การทำ�งานแบบ ท�ำ งานรว่ มกนั เพอ่ื บรรลุ ทำ�งานร่วมกันเพื่อ ทำ�งานร่วมกันเพ่ือ มีทักษะน้อยกว่าระดับ รวมพลงั เป็นทีม เปา้ หมายดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ บรรลเุ ปา้ หมายดว้ ย บรรลุเปา้ หมายด้วย 1 หรอื ไมม่ ที ักษะเลย และมภี าวะผู้น�ำ ไว้วางใจกัน ในการทำ� ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบ (Collaboration, ตามบทบาททไ่ี ดร้ บั มอบ ไว้วางใจกัน ในการ ไว้วางใจกัน ในการ Teamwork & หมายทั้งการเป็นผู้นำ� ทำ�ตามบทบาท ทำ�ตามบทบาท Leadership) และสมาชิก เปิดใจ ให้ ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย และรบั ขอ้ มลู อยา่ งเตม็ ใจ ท้ังการเป็นผู้นำ� ทั้งการเป็นผู้นำ� ยอมรับความคิดเห็นที่ และสมาชิก เปิดใจ และสมาชิก เปิดใจ แตกต่างอย่างเหมาะสม ให้และรับข้อมูล ใหแ้ ละรบั ขอ้ มลู อยา่ ง ในทกุ สถานการณ์ พรอ้ ม อย่างเต็มใจยอมรับ เต็มใจยอมรับความ ประสานความคิด ปรับ ความคดิ เหน็ ทแ่ี ตกตา่ ง คิดเห็นที่แตกต่าง เปล่ียน ประนีประนอม อยา่ งเหมาะสมในทกุ อย่างเหมาะสมใน เพอื่ รกั ษาความสมั พนั ธท์ ด่ี ี สถานการณ์ บางสถานการณ์ 10 การเป็นพลเมอื ง สามารถปฏบิ ตั ติ นในฐานะ สามารถปฏิบัติตน สามารถปฏิบัติตน มีทักษะน้อยกว่าระดับ ท่เี ข้มแข็ง/ต่ืนรู้ สมาชกิ ของหอ้ งเรยี น และ ในฐานะสมาชิก ในฐานะสมาชิกของ 1 หรือไม่มที กั ษะเลย ทม่ี ีส�ำ นกึ สากล โรงเรยี นตามบทบาทและ ของห้องเรียน และ หอ้ งเรยี นตามบทบาท (Active Citizen หนา้ ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบ เคารพ โรงเรยี นตามบทบาท และหนา้ ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบ and Global กฎกติกาอย่างเคร่งครัด และหนา้ ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบ รวมทง้ั มสี ว่ นรว่ มและ Mindedness) รวมทงั้ มสี ว่ นรว่ มชว่ ยเหลอื เคารพกฎกตกิ าอยา่ ง ชว่ ยเหลอื ในกจิ กรรม ในกจิ กรรมต่าง ๆ และ เคร่งครัด รวมทั้งมี ตา่ ง ๆ ของหอ้ งเรยี น รกั ษาสาธารณสมบตั ขิ อง สว่ นรว่ ม ชว่ ยเหลอื ใน ได้ตามสมควรแก่วยั หอ้ งเรยี นและโรงเรยี นได้ กจิ กรรมตา่ ง ๆ และ ตามสมควรแกว่ ยั ตลอด รกั ษาสาธารณสมบตั ิ จนตระหนกั ในความส�ำ คญั ของห้องเรียนและ ของการอยรู่ ว่ มกนั กบั ผทู้ ม่ี ี โรงเรียนได้ตาม ความแตกตา่ งหลากหลาย สมควรแกว่ ยั และภาคภมู ใิ จในการเปน็ สมาชกิ ของหอ้ งเรยี นและ โรงเรียน 246รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน แบบสอบถามขอ้ มลู พน้ื ฐานของโรงเรยี นและครรู ว่ มทดลองใชก้ รอบสมรรถนะผเู ้ รยี นชัน้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี น ............................................................สงั กดั ................................. ทอ่ี ย.ู่ ...............................................................................................................................โทร............................. ขนาดของโรงเรยี น ( ) ขนาดเล็ก ( ) ขนาดกลาง ( ) ขนาดใหญ่ จานวนผบู้ รหิ าร.......คน จานวนคร.ู .....คน จานวนนกั เรยี น......คน ระดบั ทเ่ี ปิดสอน.............จานวนหอ้ งเรยี น......หอ้ ง ระดบั ชนั้ ป.๑ - ป.๓ มรี ะดบั ชนั้ ละ่ ......หอ้ ง รวม.....หอ้ ง มคี รสู อนประจาชนั้ ป.๑ - ป. ๓ รวม......คน ชอื่ ผบู ้ รหิ าร........................................................................โทรศพั ท.์ ..................... ID LINE……………………………. ชอื่ ผปู ้ ระสานงาน.................................................................โทรศพั ท.์ .......................ID LINE……………………………. 247 ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ที่ อายุ ตาแหน่ง กลมุ่ สาระ ชัน้ วฒุ ทิ างการ ความถนัด ประสบการณ์ ภาคผนวก ก. 264 ชอื่ - สกลุ การเรยี นรทู ้ ส่ี อน ศกึ ษา ความเชยี่ วชาญ ในการสอน วชิ าเอก/โท (ปี )

แบบสอบถามขอ้ มลู การเลอื กแนวทางการนากรอบสมรรถนะหลกั สหู่ อ้ งเรยี น โรงเรยี น...............................................................................จังหวัด........................สงั กดั .......................... รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น คำชแ้ี จง ขอความอนุเคราะหโ์ รงเรยี นพจิ ารณาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะหลกั ของผเู ้ รยี น โดยเลอื ก ๒ - ๓ แนวทาง และครอบคลมุ ชนั้ ป.๑ - ป.๓ และทาเครอื่ งหมาย / พรอ้ มกรอกขอ้ มลู ในชอ่ งทเี่ ลอื ก แนวทางท๑่ี แนวทางท๑่ี แนวทางท่ี แนวทางที่ ๓๔ ชนั้ ชอ่ื - สกลุ ครผู สู ้ อน งานเดมิ เป็ นฐาน ผสานสมรรถภาพ งานเดมิ เป็ นฐาน ผสานสมรรถภาพ บรู ณาการ สมรรถนะ ไทย คณติ องั กฤษ วทิ ย์ กลมุ่ ไทย คณติ องั กฤษ วทิ ย์ กลมุ่ ผสาน ชวี ติ วชิ า วชิ า หลาย ในกจิ วตั ร รวม รวม สมรรถนะ ประจาวนั 248 ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ป.๑ ภาคผนวก ก. 265 ป.๒ ป.๓

ภาคผนวก ก. สม.๓ แบบสอบถามข้อมูลของครรู ายบุคคล ด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รียน ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาตอนต้น โรงเรยี น....................................................................................................... สงั กดั ............................... ชอ่ื -สกลุ ครผู สู้ อน............................................................................................................................. ต�ำ แหนง่ ................................................................................. ประสบการณใ์ นการสอน................ปี วชิ าทน่ี �ำ กรอบสมรรถนะไปใช.้ ............................................................. ระดบั ชนั้ ทใี่ ชส้ อน............ หนว่ ย/เรอื่ ง............................................................................................ เวลา.....................ชว่ั โมง รูปแบบแผนการสอนในครั้งน้ี ใชแ้ นวทางท่ี ( ) ๑ ( ) ๒ ( ) ๓ ( ) ๔ สมรรถนะหลักทใ่ี ชใ้ นการสอนครัง้ น้ี ( ) ภาษาไทยเพอื่ การส่ือสาร สมรรถนะย่อยท.ี่ ..................................................................... ( ) คณิตศาสตร์ในชีวติ ประจำ�วนั สมรรถนะยอ่ ยท.่ี ............................................................... ( ) การสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจติ วิทยาศาสตร์ สมรรถนะยอ่ ยท.่ี ................................ ( ) ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร สมรรถนะยอ่ ยที่................................................................. ( ) ทกั ษะชวี ติ และความเจรญิ แหง่ ตน สมรรถนะย่อยที.่ ........................................................ ( ) ทกั ษะอาชีพและการเปน็ ผปู้ ระกอบการ สมรรถนะยอ่ ยท่ี............................................... ( ) ทักษะความคิดขัน้ สูงและนวตั กรรม สมรรถนะย่อยที่...................................................... ( ) การรูเ้ ทา่ ทนั สื่อ สารสนเทศ และดจิ ทิ ัล สมรรถนะย่อยท่.ี ................................................ ( ) การทำ�งานแบบรวมพลงั เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ� สมรรถนะยอ่ ยที.่ ............................... ( ) การเป็นพลเมอื งท่เี ขม้ แขง็ /ต่ืนรูท้ ีม่ ีสำ�นกึ สากล สมรรถนะย่อยที.่ .................................... 249รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสูตรการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

ภาคผนวก ก. ข้อมูลเกีย่ วกบั การท�ำ งานของครู ประเดน็ รายละเอียด ๑. ความเขา้ ใจของครเู กย่ี วกบั สมรรถนะ ๑.๑ รายการสมรรถนะและข้อมูลเกี่ยวกับสมรรถนะในคู่มือท่ีได้รับ และการน�ำ สมรรถนะไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ช่วยให้ทา่ นน�ำ ไปใช้ในการออกแบบการเรียนการสอนหรอื ไม่ ……....................................………………………................................. ๑.๒ ทา่ นใชข้ อ้ มลู ในคมู่ อื สว่ นใดมากทสี่ ดุ ……………................................. ……………………………………………………………………………................ ๑.๓ ขอ้ มูลและรายละเอียดท่ีทา่ นต้องการเพม่ิ เตมิ ในคมู่ ือมากท่ีสุดคอื เรื่องใด .........……………………………………………………………………………....... .........……………………………………………………………………………....... ๒. แนวทางการออกแบบการเรียน ๒.๑ ทา่ นมลี �ำ ดบั ขน้ั ตอนการคดิ ออกแบบการสอนแบบสมรรถนะอยา่ งไร การสอน (มขี นั้ ตอนในการน�ำ กรอบ .........……………………………………………………………………………........ สมรรถนะไปออกแบบแผนการจดั การ ๒.๒ ขนั้ ตอนการออกแบบการเรยี นการสอนขน้ั ตอนใดยากทสี่ ดุ ส�ำ หรบั เรยี นรอู้ ยา่ งไร) ทา่ น .........……………………………………………………………………………........ ๒.๓ แนวทางการสอนสมรรถนะแนวใด (๔ แนว) ที่ทา่ นเห็นวา่ ดที ี่สุด เพราะอะไร .........……………………………………………………………………………....... ๒.๔ ท่านคิดว่าน่าจะมีแนวทางการสอนสมรรถนะแนวอื่นอะไรบ้างที่ สามารถท�ำ ได้ ........……………………………………………………………………………........ ….........…………………………………………………………………………….... ๓. ลกั ษณะวธิ กี ารสอน/เทคนคิ การสอน ๓.๑ การสอนแบบสมรรถนะทที่ า่ นทดลองใชอ้ ยมู่ คี วามแตกตา่ งจากการ ท่ีครูนำ�มาใช้ในการออกแบบการ สอนตามตวั ช้ีวดั ทที่ า่ นเคยท�ำ มาอยา่ งไร ………….......................... เรียนการสอน พร้อมเหตุผล .........……………………………………………………………………………....... ๓.๒ แนวทางการสอนทท่ี ่านเลอื กแตล่ ะแบบมจี ุดเด่น จุดดอ้ ยอะไร .........……………………………………………………………………………....... .........……………………………………………………………………………....... ๓.๓ ทา่ นมคี วามเห็นต่อการสอนตามแนวทางที่ท่านเลือกอยา่ งไร .........……………………………………………………………………………....... ........……………………………………………………………………………........ 250รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

ภาคผนวก ก. ประเดน็ รายละเอยี ด ๔. ปัญหาในการออกแบบการเรียน ๔.๑ จดุ ใดงา่ ยทส่ี ดุ และยากทสี่ ดุ ในการออกแบบการเรยี นการสอนแบบ การสอน และการเขียนแผน สมรรถนะเปน็ ฐาน .........…………………………………………………… การจดั การเรียนรู้ ........……………………………………………………………………………........ ๔.๒ ท่านตอ้ งการคำ�แนะน�ำ ความช่วยเหลอื ในเรือ่ งใด .........……………………………………………………………………………....... .........……………………………………………………………………………....... ๕. ปัญหาที่เกิดข้ึนในการนำ�แผน ๕.๑ ปัญหาที่พบในการนำ�แผนการสอนแบบสมรรถนะเป็นฐาน การจดั การเรยี นรู้ไปใช้ ไปใช…้ ..........……......................……………………………………………. .........……………………………………………………………………………....... ๕.๒ ท่านตอ้ งการคำ�แนะนำ� ความช่วยเหลอื ในเร่ืองใด ..........……………………………………………………………………………...... .........……………………………………………………………………………........ ๖. ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั เดก็ จากการจดั การ ๖.๑ พฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กมีความแตกต่างจากเดิมหรือไม่ เรียนรู้ตามกรอบสมรรถนะของครู ในลกั ษณะใด ........……………………………………………………………………………......... .........……………………………………………………………………………....... ๖.๒ ท่านสังเกตเห็นความเปล่ียนแปลงอะไรบ้างในตัวเด็กท่ีท่านคิดว่า น่าจะเป็นผลจากการสอนแบบสมรรถนะของทา่ น .........……………………………………………………………………………....... ........……………………………………………………………………………........ ๗. การเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ขน้ึ กบั ครู ๗.๑ ด้านการออกแบบการเรียนการสอน .........……………………………………………………………………………....... .........……………………………………………………………………………....... ๗.๒ ด้านการจดั การเรียนการสอนและการวัดผลประเมนิ ผล .........……………………………………………………………………………....... ........……………………………………………………………………………........ ๗.๓ ด้านพฤตกิ รรมครู .........……………………………………………………………………………....... .........……………………………………………………………………………....... ๗.๔ ด้านความรูส้ กึ เจตคติตอ่ การสอนและต่อเด็ก .........……………………………………………………………………………....... ........……………………………………………………………………………........ ๗.๕ ดา้ นการเรียนรู้ของตนเองทีเ่ กดิ ขึ้น .........……………………………………………………………………………....... .........……………………………………………………………………………....... 251รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

ภาคผนวก ก. ประเดน็ รายละเอียด ........……………………………………………………………………………......... ๘. ข้อเสนอแนะในการนำ�สมรรถนะ .........……………………………………………………………………………....... ........……………………………………………………………………………........ หลกั ไปใชใ้ นการออกแบบแผนการ .........……………………………………………………………………………....... .........……………………………………………………………………………....... จดั การเรยี นรู้ ๙. อ่นื ๆ ๙.๑ กรณุ าสรุปว่าทา่ นมคี วามเขา้ ใจในเร่อื งหลักสตู รและการสอนแบบ ฐานสมรรถนะอย่างไร .........……………………………………………………………………………....... .........……………………………………………………………………………....... ๙.๒ กรุณาแสดงความรสู้ ึกและความคดิ เห็นเกีย่ วกบั หลกั สูตรและการ เรยี นการสอนในแบบทเ่ี คยท�ำ อยเู่ ดมิ กบั แบบฐานสมรรถนะทก่ี �ำ ลงั ทดลองใช้อยู่ .........……………………………………………………………………………....... .........……………………………………………………………………………....... 252รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลักสตู รการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ภาคผนวก ก. สม.๔ แบบสัมภาษณผ์ ู้บริหารสถานศกึ ษาโรงเรียนในโครงการทดลอง ช่ือ-สกุล ผู้บริหารสถานศึกษา ….................................……………………………………………………… โรงเรยี น……………...................……………….…….......…………….……..สังกดั …………….........………………. ********************************************************** ๑. การท�ำ งานของโรงเรียนหลังจากการรว่ มกิจกรรมสรา้ งความเขา้ ใจ ๑.๑ ด้านการนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น ไปสู่การปฏิบัติ ในห้องเรยี น ❍ สามารถนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น ไปสู่การปฏิบัติใน หอ้ งเรยี นได้ โดยดำ�เนนิ การแล้วดงั นี้ ๑) ................................................................................................................................................ ๒) ............................................................................................................................................... ๓) .................................................................................................................................................. ❍ ไม่สามารถนำ�กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียนระดับชัน้ ประถมศึกษาตอนตน้ ไปส่กู ารปฏิบตั ใิ น ห้องเรียนได้ ท้งั นีเ้ พราะ ๑) ................................................................................................................................................. ๒) ................................................................................................................................................. ๓) .................................................................................................................................................. ❍ กรณีทค่ี รูยังไมส่ ามารถนำ�ไปสกู่ ารปฏิบตั ไิ ด้ ทา่ นมวี ิธกี ารแกป้ ญั หาอยา่ งไร ๑) ................................................................................................................................................. ๒) ................................................................................................................................................. ๓).................................................................................................................................................. 253รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

ภาคผนวก ก. ๑.๒ ทา่ นพบขอ้ แตกตา่ งในการท�ำ งานของครรู ะหวา่ งการจดั การเรยี นการสอนและการวดั ผล ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ของหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ กบั การจดั กจิ กรรมการเรยี นการ สอนตามกรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียนระดับชน้ั ประถมศึกษาตอนต้น อย่างไร ❍ แตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ ๑) ................................................................................................................................................. ๒) ................................................................................................................................................. ๓).................................................................................................................................................. ❍ ไม่แตกตา่ งกัน ทงั้ นเี้ พราะ ๑) ................................................................................................................................................. ๒) ................................................................................................................................................. ๓).................................................................................................................................................. ๒. แนวทางในการชว่ ยเหลือ สนบั สนนุ ให้ครจู ัดทำ�แผนการสอน และการน�ำ แผนการสอนไปใช้ ในหอ้ งเรียน ๒.๑ โรงเรยี นดำ�เนนิ การใหก้ ารชว่ ยเหลือ สนับสนนุ ให้ครจู ัดทำ�แผนการสอนไดอ้ ยา่ งไรบ้าง ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๒.๒ โรงเรียนมกี ารนเิ ทศตดิ ตาม การน�ำ สมรรถนะไปสกู่ ารจดั การเรยี นการสอนในห้องเรียน โดยใคร และมวี ธิ ีการอย่างไรบา้ ง ....................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 254รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

ภาคผนวก ก. ๒.๓ ความคดิ เหน็ อนื่ ๆ ....................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ๓. ปญั หา/อปุ สรรคทผี่ ู้บริหารสถานศึกษาพบในการกำ�กบั ดูแล ชว่ ยเหลือ สนบั สนุนการทำ�งาน ของครู ๓.๑ ด้านการพัฒนาหลักสตู ร .............................................................................................. ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๓.๒ ด้านการออกแบบการจัดการเรยี นการสอน ................................................................ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๓.๓ ด้านการวัดและประเมินผล ........................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... ๔. การใหค้ �ำ แนะน�ำ กบั ครใู นกรณที พี่ บปญั หา/อปุ สรรคในการน�ำ สมรรถนะไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น ๔.๑ ปญั หาที่พบ………………................................................................................................. …........................................................................................................................................................ ..……………….…………………………………………………………………………………………………......................... 255รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

ภาคผนวก ก. ๔.๒ สาเหตขุ องปัญหา ………………....................................................................................... …........................................................................................................................................................ ..……………….…………………………………………………………………………………………………............................ ๔.๓ การให้ค�ำ แนะนำ�/วิธีการแก้ไข ………………................................................................... …....................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๕. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะในการดำ�เนินการน�ำ สมรรถนะไปใช้ให้ประสบความสำ�เรจ็ ………………......................................................................................................................................... …........................................................................................................................................................ ..……………….…………………………………………………………………………………………………......................... ๖. สงิ่ ท่จี ะผูบ้ ริหารจะด�ำ เนนิ การในโอกาสตอ่ ไป ………………......................................................................................................................................... …........................................................................................................................................................ ..……………….………………………………………………………………………………………………….......................... ลงชอ่ื ………………………………………................ ผเู้ กบ็ ข้อมูล (………………………………………………….) วนั ที่ …… เดอื น……………………..พ.ศ………… 256รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

ภาคผนวก ก. สม.๕ แบบบันทกึ ข้อมลู การนิเทศ กำ�กับ ตดิ ตามและข้อคน้ พบท่เี กิดข้นึ ระหว่างการทดลองของผูว้ ิจัย โรงเรยี น………………………………………………...........………………. สงั กดั …………………..........…… วนั เดือนปี……………………… ********************************************************** ๑. ภาพรวมการทำ�งานของโรงเรียน (แต่ละชัน้ ทำ�แผนกแี่ ผน เป็นแผนแนวทางใด เร่อื งอะไร) ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๒. บทบาทของผบู้ ริหารโรงเรยี น ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๓. ขอ้ มูลเก่ียวกบั การท�ำ งานของครู ๓.๑ ความเข้าใจสมรรถนะและการนำ�สมรรถนะไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๓.๒ แนวทางการออกแบบการจดั การเรียนการสอน ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๓.๓ ลกั ษณะ/ เทคนิคการสอนทค่ี รนู �ำ มาใช้ ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ 257รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ภาคผนวก ก. ๔. ผลทเี่ กิดขึ้น ๔.๑ ความเปลย่ี นแปลงของครู ………………......................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๔.๒ ความเปลยี่ นแปลงของนกั เรียน ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………......................... ๕. ปัจจัยท่ีทำ�ให้เกดิ ความสำ�เร็จ ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๖. ปญั หาสำ�คญั ทพี่ บและวิธแี กป้ ัญหาของโรงเรยี น ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๗. ส่งิ ท่ีครูและโรงเรยี นต้องการความชว่ ยเหลือ ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ 258รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

ภาคผนวก ก. ๘. แนวทางในการเติมเตม็ ช่วยเหลือโรงเรียน และสงิ่ ทท่ี ี่ปรกึ ษาไดใ้ ห้ค�ำ แนะน�ำ ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๙. องคค์ วามรู้ / ข้อคน้ พบส�ำ คญั ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๑๐. ข้อคดิ / แนวคดิ ทไ่ี ด้รับ ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………......................... แบบสรุปผลการดำ�เนินงานในการนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียน ลงชื่อ………..........……………………………ผเู้ กบ็ ขอ้ มูล (……………………….……………….) วนั ที่ …… เดอื น………………..พ.ศ……… 259รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สตู รการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

ภาคผนวก ก. ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาตอนตน้ ไปใชใ้ นการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (ส�ำ หรับโรงเรียน โรงเรยี นละ ๑ ชุด เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ฐานขอ้ มูลในการรว่ มประชุมสนทนากลุ่ม) โรงเรียน...................................................................................................... สังกัด............................... ***************************************** ๑. ครูในโรงเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับสมรรถนะหลักและแนวทางการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ ในการออกแบบและจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน มาก-นอ้ ย เพียงใด และส่ิงใดท่ีชว่ ยสง่ เสรมิ ให้ เกดิ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั สมรรถนะหลักและแนวทางการนำ�ไปใช้ มากย่งิ ข้นึ ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๒. ครมู หี ลกั ในการเลอื กแนวทางในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการออกแบบและจดั กจิ กรรมการเรยี น การสอนอยา่ งไร (แนวทางท่ี ๑-๔) และครสู ว่ นใหญเ่ ลอื กแนวทางใดในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ เพราะเหตุใด ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๓. โรงเรยี นของทา่ นมแี นวทางอนื่ ๆ ในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น นอกเหนอื จากแนวทางท้งั ๔ หรือไม่ อยา่ งไร ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ 260รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

ภาคผนวก ก. ๔. ครมู ลี �ำ ดบั ขนั้ ตอนในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการออกแบบและจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน อยา่ งไร ในแตล่ ะแนวทาง (แนวทางท่ี ๑-๔) แนวทางที่ ๑ ...................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... แนวทางที่ ๒ ..................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... แนวทางท่ี ๓ ..................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... แนวทางท่ี ๔ ..................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๕. รายการสมรรถนะและข้อมูลเก่ียวกับสมรรถนะในคู่มือที่ได้รับ ช่วยครูในการออกแบบการ เรียนการสอนหรือไม่ อย่างไร ......................................................................................................... ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๖. ครใู ชข้ ้อมูลในคู่มอื ส่วนใดมากท่ีสุด ๓ ลำ�ดับ (เรียงลำ�ดบั จากมากไปหานอ้ ย) .....……………… ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ 261รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

ภาคผนวก ก. ๗. ข้อมลู และรายละเอียดทีต่ ้องการใหเ้ พ่ิมเตมิ ในค่มู ือมากท่ีสดุ คือเรื่องใด.....…………….........….... ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๘. ครพู บปญั หาใดบา้ งในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการออกแบบและจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน และมี การแกไ้ ขปญั หาอยา่ งไร.......................................................................................................................................... .............................................……………............................................................................................ …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๙. จดุ ใดงา่ ยทส่ี ุด และยากทส่ี ุดในการออกแบบการเรยี นการสอนแบบสมรรถนะเปน็ ฐาน ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๑๐. การน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งผลใหเ้ ด็ก เกิดสมรรถนะตามจุดประสงคห์ รอื ไม่ อย่างไร ทราบได้อย่างไร ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๑๑. การนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งผลต่อ เดก็ ในด้านอ่ืน ๆ นอกเหนอื จากดา้ นสมรรถนะ หรือไม่ อยา่ งไร เพราะเหตุใด............................ ........................................................................................................................................................... ………………......................................................................................................................................... …................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ 262รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

ภาคผนวก ก. ๑๒. การนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ส่งผลให้ครูมี การเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ หรอื ไม่ อย่างไร ดา้ นการออกแบบการเรยี นการสอน……………………………………………..............………………….............. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ดา้ นการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมนิ ผล......………………………….............………………… ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ดา้ นพฤตกิ รรมคร.ู ................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ดา้ นความรสู้ ึก เจตคตติ ่อการสอนและต่อเด็ก......…………………………........……..............…......………… ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๑๓. ผบู้ รหิ ารมสี ว่ นสนบั สนนุ การด�ำ เนนิ งานในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการออกแบบและจดั กจิ กรรม การเรียนการสอนหรือไม่ อย่างไร...................................................................................................... …......................................................................................................................................................... ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๑๔. ในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและการนำ�กรอบสมรรถนะมาใช้ในโรงเรียน ส่ิงใดที่ ท่านคิดว่าเป็นส่ิงสำ�คัญ ๓ ประการแรก ที่จะต้องทำ�เพ่ือให้การดำ�เนินงานประสบความสำ�เร็จ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ............................................................………………............................................................................. …................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………….............................................................. 263รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ภาคผนวก ก. ๑๕. สง่ิ ท่ีโรงเรยี นต้องการความช่วยเหลอื ในการพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะและการน�ำ กรอบ สมรรถนะไปใช้ ................................................................................................................................. .....................................................…………......................................................................................... …........................................................................................................................................................ ..……………….…………………………………………………………………………………………………........................ ๑๖. ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะตอ่ หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งในการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและ การน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ หนว่ ยงานทพ่ี ฒั นาหลกั สตู ร........................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... กระทรวงศึกษาธิการ ....................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... หนว่ ยงานต้นสังกัด เช่น สพฐ. สพท. กทม. ...................................................................................... .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๑๗. ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะตอ่ โรงเรยี นตา่ ง ๆ ในการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ ………………....................................................................................................... …................................................................................................................................................... 264รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ภาคผนวก ก. แบบสอบถามความคิดเห็นของครู เกี่ยวกบั หลกั สูตรและการเรียนการสอนเนน้ สมรรถนะ ค�ำ ช้ีแจง กรุณาระบุระดับความคิดเห็นของท่านเกี่ยวกับหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนแบบ เนน้ สมรรถนะ ในประเด็นตา่ ง ๆ ท่กี ำ�หนดให้ โดยขดี เครื่องหมาย  ลงในช่องท่ตี รงกบั ระดับความ คิดเห็นของท่าน ระดบั ท่ี 1 หมายถงึ เหน็ ดว้ ย/มี ในระดับน้อย ระดบั ที่ 2 หมายถึง เห็นดว้ ย/มี ในระดับ ค่อนขา้ งนอ้ ย ระดับที่ 3 หมายถึง เหน็ ดว้ ย/มี ในระดับ คอ่ นขา้ งมาก ระดบั ที่ 4 หมายถงึ เห็นด้วย/มี ในระดบั มาก ประเด็นค�ำ ถาม ระดับความคิดเห็น หมายเหตุ 1234 จากประสบการณท์ ที่ า่ นไดม้ โี อกาสวางแผนและทดลองสอน บทเรยี นแบบฐานสมรรถนะ ทา่ นมคี วามคิดเห็นและความ ร้สู ึกในประเด็นต่อไปนีอ้ ย่างไร 1. กอ่ นทที่ า่ นไดเ้ รยี นรเู้ รอื่ งหลกั สตู รและการเรยี นการสอน ฐานสรรถนะทา่ นมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนอี้ ยใู่ นระดบั ใด 2. ขณะนท้ี า่ นคดิ วา่ ทา่ นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ เรอ่ื ง หลกั สตู ร และการจดั การเรียนการสอนอยใู่ นระดับใด 3. สมรรถนะทงั้ 10 ประการ มคี วามเหมาะสมกบั นกั เรยี น ในระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ในระดบั ใด 4. การก�ำ หนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ สามารถ ช่วยใหก้ ารจัดการเรยี นการสอนของท่านดีขน้ึ ในระดับใด 5. การจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะสามารถสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ เชงิ รุกของผู้เรยี นไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด 6. การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะช่วยให้ผู้เรียน เกดิ การเรียนรตู้ ามจดุ ประสงคท์ ่กี �ำ หนดได้มากนอ้ ยเพียงใด 7. ผเู้ รยี นมคี วามพงึ พอใจ/ชอบการเรยี นรแู้ บบฐานสมรรถนะ มากนอ้ ยเพยี งใด 265รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

ภาคผนวก ก. ประเด็นคำ�ถาม ระดบั ความคิดเห็น หมายเหตุ 1234 8. ท่านมีความพึงพอใจในกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ท่เี รียนแบบฐานสมรรถนะมากน้อยเพียงใด 9. จากการสอนแบบฐานสมรรถนะผู้เรียนเกิดสมรรถนะ ตามท่กี �ำ หนดมากนอ้ ยเพยี งใด 10. ทา่ นมคี วามพงึ พอใจในผลลพั ธก์ ารเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ทีเ่ รียนแบบฐานสมรรถนะ มากน้อยเพียงใด 11. ท่านคิดว่าการสอนแบบเน้นสมรรถนะช่วยให้ท่าน สอนไดด้ ี มีประสิทธิภาพมากขน้ึ กวา่ เดิมเพียงใด 12. การนิเทศการสอนช่วยให้ท่านเกิดความเข้าใจเพิ่ม ข้ึนมากน้อยเพียงใด 13. ทา่ นไดร้ บั ประโยชน์จากการนเิ ทศมากนอ้ ยเพียงใด 14. ท่านเห็นด้วยกับการปรับหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานใหเ้ ปน็ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ (ทมี่ งุ่ สรา้ ง ความสามารถในการน�ำ ความรู้ ทักษะ และคณุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิต) มากนอ้ ยเพยี งใด 15 . ทา่ นมคี วามตอ้ งการทจี่ ะเรยี นรแู้ ละพฒั นาการจดั การ เรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะ ในระดับใด ขอขอบพระคณุ 266รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสูตรการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

ภาคผนวก ภาคผนวก ข. ประมวลภาพถ่าย ระหวา่ งการดำ�เนินการวจิ ยั

ภาคผนวก ข. การประชมุ ทำ�ความเข้าใจแนวทางการน�ำ สมรรถนะสู่การพฒั นาผูเ้ รียน และการวางแผนการทดลอง ณ โรงแรมเบลลา่ บี จ.นนทบุรี วนั ท่ี 21 กรกฎาคม 2561 268รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

ภาคผนวก ข. การประชมุ ทำ�ความเข้าใจแนวทางการนำ�สมรรถนะสู่การพัฒนาผเู้ รยี น และการวางแผนการทดลอง ณ โรงเรยี นอนุบาลหนนู ้อย จ.สุราษฎรธ์ านี วนั ที่ 22 กรกฎาคม 2561 269รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook