Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสมรรถนะ

หลักสูตรสมรรถนะ

Published by สุเมธ สร้อยฟ้า, 2021-12-14 14:04:19

Description: 1687-file

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วขอั ง มีการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีสร้างผลผลิตและมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ เพิม่ ขึ้น ยุทธศาสตร์ท่ี 3 : การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีเป้าหมายให้ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะ ท่จี ำ�เปน็ ในศตวรรษท่ี 21 คนทกุ ช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน การศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ สถานศึกษาทุกระดับ การศึกษา สามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน มีการจัดการศึกษาตามหลักสูตรท่ีมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 และมสี มรรถนะทสี่ อดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรป์ ระเทศไทย 4.0 เพม่ิ ขน้ึ มรี ะบบและกลไกการทดสอบ การวดั และประเมนิ ความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะของผเู้ รยี นทกุ ระดบั การศกึ ษา และทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ทม่ี ีประสิทธภิ าพ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ได้รบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยุทธศาสตร์ท่ี 5 : การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม มเี ปา้ หมายใหค้ นทกุ ชว่ งวยั มจี ติ ส�ำ นกึ รกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และน�ำ แนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ตั ิ หลกั สตู ร แหลง่ เรยี นรู้ และสอื่ การเรยี นรทู้ สี่ ง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนำ�แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสู่การปฏิบัติ และมีการวิจัยเพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริม คุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม (สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2560) 5) มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ. 2561 มติคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบมาตรฐานการศึกษาของชาติ และให้ส่วนราชการและ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติไปเป็นกรอบในการกำ�หนดมาตรฐาน การศึกษา หลักสูตรการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา การส่งเสริม กำ�กับ ดูแล การตรวจสอบ การประเมนิ ผล และการประกันคณุ ภาพการศึกษาดว้ ย มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 กำ�หนดผ่านกรอบผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของ การศึกษา (Desired Outcomes of Education : DOE) มีจดุ มงุ่ หมายเพือ่ ให้สถานศกึ ษาทุกแหง่ ยึด เปน็ แนวทางสำ�หรบั การพัฒนาผู้เรียนไปสผู่ ลลัพธ์ทพี่ ึงประสงค์ของการศึกษา การจัดการศึกษาของชาติจะต้องทำ�ให้เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ซึ่งเป็นคุณลักษณะของ ผู้เรียน อันเป็นผลที่เกิดจากการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน การอาชีวศึกษา ตลอดถึงการอุดมศึกษา ท้ังนี้ สถานศึกษามีอิสระในการกำ�หนดแนวคิด ปรัชญา และวิสัยทัศน์ของการจัดการศึกษา ให้เป็นอัตลักษณ์และสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและ ตามความถนัดของผู้เรยี น หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ตอ้ งมกี ารสนบั สนนุ ก�ำ กบั ตดิ ตาม ประเมนิ และ พฒั นาคุณภาพของการจดั การศกึ ษา โดยมงุ่ เน้นความรบั ผดิ ชอบทตี่ รวจสอบได้ (Accountability) มรี ะบบการบรหิ ารจัดการทั้งดา้ นผู้บรหิ าร ครู คณาจารย์ และบคุ ลากร หลกั สูตรการเรยี นการสอน 20รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอั ง สอ่ื เทคโนโลยดี ิจิทัล ทรัพยากร สิง่ สนับสนนุ การศึกษา และการประเมิน ตลอดจนระบบและกลไก การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ืองที่ทำ�ให้เกิดผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ที่เหมาะสม ตามแต่ละระดับและ ประเภทการศกึ ษา และผลลพั ธส์ ะสมทคี่ รอบคลมุ ระดบั และประเภทการศกึ ษาทต่ี อ่ เนอ่ื งกนั นอกจากน้ี สถาบนั ผลติ และพฒั นาครใู นฐานะกลไกส�ำ คญั ในการพฒั นาครใู หม้ คี ณุ ภาพ จะมบี ทบาทในการเตรยี ม ความพร้อมครูก่อนประจำ�การ และส่งเสริมการพัฒนาครูประจำ�การให้มีสมรรถนะทางวิชาชีพ ท่สี อดคล้องกบั การจดั การเรียนรยู้ คุ ใหม่เพื่อผลลพั ธ์ที่พึงประสงคข์ องการศกึ ษา ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education : DOE) หมายถึง คุณลักษณะของคนไทย 4.0 ที่ตอบสนองวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยคนไทย 4.0 จะต้อง ธำ�รงความเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก นั่นคือ เป็นคนดี มีคณุ ธรรม ยึดค่านิยมรว่ มของสงั คมเป็นฐานในการพฒั นาตนใหเ้ ปน็ บุคคลที่มคี ณุ ลกั ษณะ 3 ดา้ น โดยเปน็ คุณลักษณะขัน้ ต่าํ ดงั ต่อไปน้ี (1) ผเู้ รยี นรู้ : เปน็ ผมู้ คี วามเพยี ร ใฝเ่ รยี นรู้ และมที กั ษะการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เพอื่ กา้ วทนั โลก ยคุ ดจิ ทิ ลั และโลกในอนาคตและมสี มรรถนะ (Competency) ทเ่ี กดิ จากความรู้ ความรอบรดู้ า้ นตา่ ง ๆ มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย มีทักษะชีวิต เพื่อสร้างงานหรือสัมมาอาชีพ บนพนื้ ฐานของความพอเพยี ง ความมนั่ คงในชวี ติ และคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี ตอ่ ตนเอง ครอบครวั และสงั คม (2) ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม : เป็นผู้มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษท่ี 21 ความฉลาดดิจทิ ัล (Digital Intelligence) ทักษะการคดิ สรา้ งสรรค์ ทกั ษะข้ามวัฒนธรรม สมรรถนะ การบูรณาการข้ามศาสตร์ และมีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ เพ่ือร่วมสร้างสรรค์และ พฒั นานวัตกรรมทางเทคโนโลยหี รอื สงั คม เพิ่มโอกาสและมูลคา่ ใหก้ บั ตนเอง และสงั คม (3) พลเมอื งทเี่ ขม้ แขง็ : เปน็ ผมู้ คี วามรกั ชาติ รกั ทอ้ งถนิ่ รถู้ กู ผดิ มจี ติ ส�ำ นกึ ความเปน็ พลเมอื งไทย และพลโลก มีจิตอาสา มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักการประชาธิปไตย ความยุตธิ รรม ความเท่าเทยี ม ความเสมอภาค เพอ่ื การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ท่ียัง่ ยืน และการอยรู่ ว่ มกันในสังคมไทยและประชาคมโลกอยา่ งสนั ติ โดยผลลัพธ์ทพี่ งึ ประสงค์ 3 ดา้ น ทเี่ หมาะสมตามช่วงวัย ที่มีความตอ่ เน่อื ง เช่ือมโยงและ สะสมตัง้ แตร่ ะดับการศกึ ษาปฐมวยั ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดับการอาชีวศึกษา จนถงึ ระดบั อดุ มศกึ ษา (ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2561) 6) ขอ้ ก�ำ หนดคณุ ภาพดา้ นการศึกษา หน่วยงานตน้ สังกัดและหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง ตอ้ งมีการสนบั สนุน ก�ำ กับ ติดตาม ประเมิน และพฒั นาคณุ ภาพของการจดั การศกึ ษา โดยมงุ่ เนน้ ความรบั ผดิ ชอบทต่ี รวจสอบได้ (Accountability) มีระบบการบริหารจัดการทั้งด้านผู้บริหาร ครู คณาจารย์และบุคลากร หลักสูตรการเรียน การสอน สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล ทรัพยากร ส่ิงสนับสนุนการศึกษา และการประเมิน ตลอดจน ระบบและกลไกการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ืองที่ทำ�ให้เกิดผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ ที่เหมาะสม 21รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกีย่ วขอั ง แต่ละระดับและประเภทการศึกษา และผลลัพธ์สะสมที่ครอบคลุมระดับและประเภทการศึกษา ทตี่ อ่ เนอื่ งกนั นอกจากน้ี สถาบนั ผลติ และพฒั นาครใู นฐานะกลไกส�ำ คญั ในการพฒั นาครใู หม้ คี ณุ ภาพ จะต้องมีบทบาทในการเตรียมความพร้อมครูก่อนประจำ�การ และส่งเสริมการพัฒนาครูประจำ�การ ใหม้ สี มรรถนะทางวชิ าชพี ทส่ี อดคลอ้ งกบั การจดั การเรยี นรยู้ คุ ใหม่ เพอ่ื ผลลพั ธท์ พ่ี งึ ประสงคข์ องการศกึ ษา ความรแู้ ละความรอบรู้ คอื ชดุ ความรทู้ จี่ �ำ เปน็ ส�ำ หรบั การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งเพอื่ ใหต้ นเอง รู้เท่าทนั การเปลี่ยนแปลงได้ ได้แก่ 1) ความรพู้ น้ื ฐาน (ภาษา การค�ำ นวณ การใช้เหตุผล) และความรู้ ตามหลักสูตร 2) การรู้จักตนเอง 3) ความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ท้องถิ่น ชุมชน สภาพภูมิสังคม ภมู ิอากาศ ประเทศชาติ ประชาคมโลก 4) ความรอบรดู้ า้ นต่าง ๆ ได้แก่ ความรอบรูด้ ้านสุขภาพ การเงนิ สารสนเทศ และ 5) ความรเู้ รอื่ งการงานอาชพี หน่วยงานต้นสังกัด ส่งเสริมการจัดทำ�มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐาน หลักสูตร เพื่อให้สถานศึกษาถือปฏิบัติ สถานศึกษาวางระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านคุณภาพผู้บริหารและครูอาจารย์ ความเหมาะสมของหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน ส่ือเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ และการประเมินการเรียนการสอน โดยมีการกำ�กับ ติดตาม และประเมินผลเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาอย่างเป็นระบบและ ต่อเน่อื ง มีธรรมาภบิ าล และความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ จากการศึกษาทบทวนกรอบนโยบายและแผนแม่บทต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนาการศึกษาเพื่อเตรียมคนในอนาคต การที่จะพัฒนาคนให้ได้ตามกรอบของรัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบบั ใหม่ กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) กรอบแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) และกรอบทิศทางของ แผนการศึกษาแห่งชาติท่ีมุ่งนำ�พาประเทศไปสู่ความมั่นคง ม่ังค่ัง และยั่งยืนในอีก 20 ปีข้างหน้า คนไทยจะต้องเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความพร้อมทางกาย ใจ และสติปัญญา มีทักษะในศตวรรษ ที่ 21 ที่สมบูรณ์ รวมท้ังมีสมรรถนะของการเป็นแรงงาน ทักษะสูง (Sophisticated Worker) นวตั กร (Innovator) นักคดิ (Thinker) และผปู้ ระกอบการ (Entrepreneur) คนไทยทุกคนได้รบั การ ศกึ ษาและเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อยา่ งมคี ณุ ภาพ มคี วามสามารถในการท�ำ งานอยา่ งเหมาะสมกบั ศกั ยภาพ และวัย เป็นพลเมืองท่ีมีส่วนร่วมและใส่ใจสังคม ดำ�รงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 ทงั้ น้ี รฐั มหี นา้ ทสี่ ง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพฒั นาคุณภาพคนไทยใหพ้ รอ้ ม ท้ังจดั ให้มีการรว่ มมอื กันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น และภาคเอกชน เพือ่ ร่วมกนั พฒั นาสเู่ ปา้ หมาย 22รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วขัอง 2. ความรู้พ้ืนฐานเกยี่ วกับหลกั สูตร ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับหลักสูตร ประกอบด้วย 1) ความหมายของหลักสูตร 2) ความสำ�คัญ ของหลักสูตร 3) ประเภทและรูปแบบของหลักสูตร และ 4) กระบวนการพัฒนาหลักสูตร รายละเอียดดงั นี้ 1) ความหมายของหลกั สตู ร คำ�ว่า “หลักสูตร” แปลมาจากคำ�ในภาษาอังกฤษว่า “Curriculum” มีรากศัพท์มาจาก ภาษาลาตนิ วา่ “Currere” หมายถงึ “Running Course” หรอื เสน้ ทางที่ใชว้ งิ่ แขง่ ตอ่ มาไดน้ �ำ ศัพท์น้ี มาใชใ้ นทางการศึกษาว่า “Running Sequence or Learning Experience” (Armstrong, 1986) หลักสูตรเป็นศัพท์ทางการศึกษาค�ำ หนงึ่ ที่คนสว่ นใหญ่คุ้นเคย และมีผใู้ ห้ความหมายไว้มากมายและ แตกตา่ งกันไป นกั การศกึ ษา ไดใ้ ห้ความหมายของหลักสตู รไวอ้ ยา่ งหลากหลาย ขึน้ อยกู่ ับทศั นะ ความเชอ่ื แนวคดิ ปรชั ญาและประสบการณ์ ซ่งึ สามารถประมวลความหมายของหลักสูตรท่สี ำ�คญั ไดด้ ังนี้ Good (1973) ได้ให้ความหมายของหลกั สตู รไว้ 3 ประการคอื ประการแรก หลกั สูตร คือ เน้อื หาวิชา ทจี่ ัดไวเ้ ปน็ ระบบ ใหผ้ ู้เรยี นไดศ้ กึ ษา เช่น หลกั สูตร สงั คมศกึ ษา หลกั สตู รศลิ ปศกึ ษา เปน็ ตน้ ความมงุ่ หมายของหลกั สตู รในขอ้ นห้ี มายถงึ หลกั สตู รเปน็ วชิ า ประการทสี่ อง หลกั สตู ร คอื เคา้ โครงทวั่ ไปของเนอ้ื หาหรอื สงิ่ เฉพาะทจ่ี ะตอ้ งสอนซงึ่ โรงเรยี น จดั ใหแ้ กเ่ ดก็ เพอื่ ใหม้ คี วามรจู้ บระดบั ชนั้ หรอื ใหร้ บั ประกาศนยี บตั ร เพอื่ ใหเ้ ขา้ เรยี นตอ่ ในทางวชิ าชพี ต่อไป ความหมายในข้อนีห้ มายถึง หลักสูตรทั้งฉบับรวมทุกวิชาเขา้ ด้วยกัน ประการสดุ ทา้ ย หลักสตู ร คอื กลุ่มวิชาหรอื การจัดประสบการณท์ ก่ี �ำ หนดไว้ ซง่ึ นักเรยี นได้ เล่าเรยี นภายใตก้ ารแนะน�ำ ของโรงเรยี นและสถาบันการศึกษา ความหมายในข้อน้ี หมายถงึ หลกั สตู ร ทง้ั ฉบบั ซึ่งประกอบดว้ ยเน้อื หาวิชาสว่ นหนึง่ และประสบการณ์อกี ส่วนหนึ่ง Beane (1986) สรปุ ความหมายของหลกั สตู รไวโ้ ดยใชเ้ กณฑค์ วามเปน็ รปู ธรรมไปสนู่ ามธรรม และจากการยึดโรงเรยี นเป็นศูนยก์ ลางไปส่ยู ึดผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง โดยไดอ้ ธิบายไวด้ งั น้ี 1) หลักสตู ร คือ ผลผลิตทเี่ กิดข้ึนจากกระบวนการจดั การศึกษา 2) หลกั สูตร คอื โครงการหรือแผนการในการจัดการศกึ ษา 3) หลักสูตร คอื การเรยี นรู้ทก่ี ำ�หนดไวอ้ ย่างมีความหมาย 4) หลกั สตู ร คือ ประสบการณข์ องผ้เู รยี น Taba (1962) ได้กล่าวไว้ว่า “การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หลักสูตรอันเดิมให้ได้ผลดียิ่งขึ้น ท้ังในด้านการวางจุดมุ่งหมาย การจัดเน้ือหาวิชา การเรียน การสอน การวดั ผลประเมนิ ผล และอนื่ ๆ เพอื่ ใหบ้ รรลถุ งึ จดุ มงุ่ หมายอนั ใหมท่ ว่ี างไว้ การเปลยี่ นแปลง 23รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวขัอง หลักสูตรเป็นการเปลี่ยนแปลงท้ังระบบหรือเปล่ียนแปลงท้ังหมด ตั้งแต่จุดมุ่งหมายและวิธีการ และการเปลย่ี นแปลงหลกั สตู รนจี้ ะมผี ลกระทบทางดา้ นความคดิ และความรสู้ กึ นกึ คดิ ของผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ ง ทกุ ฝา่ ย สว่ นการปรบั ปรงุ หลกั สตู ร หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงหลกั สตู รเพยี งบางสว่ นโดย ไมเ่ ปลย่ี นแปลง แนวคดิ พน้ื ฐาน หรือรูปแบบของหลักสูตร ” กรมวิชาการ (2544) ให้ความหมายของหลักสูตรไว้ใน 2 ลักษณะ คือ ความหมาย ในวงกว้างและความหมายในวงแคบ ความหมายในวงแคบหมายถึง วิชาหรือเน้ือหาวิชาต่าง ๆ ทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารก�ำ หนดใหเ้ รยี นในแตล่ ะชนั้ เรยี นวา่ จะตอ้ งเรยี นอะไรบา้ ง มากนอ้ ยเพยี งใด ความหมาย ในวงกวา้ งหมายถงึ ประสบการณท์ งั้ มวลทโ่ี รงเรยี นจดั ใหน้ กั เรยี นทงั้ ในและนอกหอ้ งเรยี นเพอื่ ใหน้ กั เรยี น ไดม้ คี วามรทู้ กั ษะ เกดิ ความคดิ และทศั นคตทิ ด่ี อี นั จ�ำ เปน็ ตอ่ การด�ำ รงชวี ติ ดงั นน้ั หลกั สตู รจงึ มคี วามหมาย รวมถงึ เอกสารหลกั สตู รกระบวนวธิ กี ารสอนของครู กระบวนการเรยี น ของผเู้ รยี นและการจดั กจิ กรรม ต่าง ๆ ของโรงเรียน รุจิร์ ภู่สาระ (2546) หลักสูตร หมายถึง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่นักเรียน ในโรงเรียน ประสบการณ์การเรียนรู้อาจเกิดขึ้นเพราะความสามารถส่วนตัวของครู สภาพแวดล้อม ทีส่ ่งเสริมการเรียนร้ใู นโรงเรียน สุนยี ์ ภู่พันธ์ (2546) กลา่ วถึง หลกั สตู รควรประกอบด้วยหลกั สตู รแมบ่ ท ได้แกข่ อ้ กำ�หนด ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารและวสั ดอุ ุปกรณ์การเรยี นการสอนกจิ กรรมการเรยี นการสอนและ การประเมินผล จากการให้ความหมายของนกั การศกึ ษาสรุปได้วา่ หลักสตู ร หมายถงึ วิชาและเนอื้ หาวชิ า ที่กำ�หนดมวลประสบการณ์ต่าง ๆ เก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนท่ีเขียนข้ึนอย่างเป็นทางการ หรอื ผา่ นการยกรา่ งอยา่ งเปน็ ระบบประกอบดว้ ย รายละเอยี ดของหลกั การ จดุ หมายโครงสรา้ งเนอื้ หา กิจกรรม แนวทาง หรือวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ การวัดและประเมินผล รวมทั้ง ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับเวลาของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีทางโรงเรียนจัดให้และคาดหวัง ให้เกดิ ขนึ้ อยา่ งมจี ดุ หมาย เพอื่ ให้นักเรยี นได้มคี วามรู้ ความคดิ ทักษะและกระบวนการในการปฏิบตั ิ 2) ความสำ�คัญของหลกั สูตร ในการจัดการศึกษาทุกระดับ บุคคลทุกคนท่ีเก่ียวกับการศึกษาต่างเล็งเห็นความสำ�คัญ ของหลกั สตู รเพราะหลกั สตู รเปน็ ตวั ก�ำ หนดทศิ ทางใหเ้ หน็ วา่ การจดั การศกึ ษาของประเทศทจ่ี ดั ใหแ้ ก่ เยาวชนน้นั เน้นหนักไปทศิ ทางใด หลกั สูตรจึงเปรียบเสมอื นเป็นแมบ่ ทในการจดั การศึกษาที่มุ่งเสรมิ พัฒนาการทุก ๆ ด้าน เพื่อให้สามารถดำ�รงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถบำ�เพ็ญตน ใหเ้ ป็นประโยชนแ์ ก่สงั คมและประเทศชาติ ปฎล นนั ทวงศ์ และไพโรจน์ ดว้ งวเิ ศษ (2543) สรุปความสำ�คัญของหลกั สูตรว่า หลกั สตู ร มีความสำ�คัญยิ่งในฐานะที่เป็นเอกสารท่ีกำ�หนดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ซงึ่ ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งในการจดั การศกึ ษาทกุ ฝา่ ยตอ้ งยดึ ถอื เปน็ แนวปฏบิ ตั ิ เพอ่ื พฒั นาบคุ คลใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ตามท่พี งึ ประสงค์ใหแ้ กส่ งั คมและประเทศชาติ 24รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กีย่ วขัอง กาญจนา คุณารักษ์ (2540) หลักสูตรเป็นเคร่ืองมืออย่างหน่ึงที่จะทําให้ปรัชญาหรือ ความมุ่งหมายในการจัดการศึกษา ได้รับผลสมความมุ่งหมายตามแผนการศึกษาแห่งชาติ เพราะ หลกั สตู ร มคี วามสาํ คญั ในการชว่ ยพฒั นาบคุ คลในทกุ ๆ ดา้ น กลา่ วคอื ผเู้ รยี นอยใู่ นวยั ทจี่ ะเปน็ ผใู้ หญ่ หลักสตู รมสี ่วนช่วยในการสร้างคุณลกั ษณะของผเู้ รยี นให้เปน็ ผูใ้ หญท่ ีม่ ีคุณภาพในอนาคต หลักสตู ร ยงั มคี วามสาํ คัญต่อสงั คมการเมืองและเศรษฐกจิ อกี ดว้ ย สอดคล้องกับสุมิตร คุณานุกร (2536) กล่าวถึงความสำ�คัญของหลักสูตรว่า หลักสูตร มีความสำ�คัญเพราะเป็นเครื่องช้ีนำ�ทางหรือเป็นบทบัญญัติของรัฐในการจัดการศึกษา เพื่อให้ผู้ที่มี สว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาน�ำ ไปปฏบิ ตั ิ อกี ทง้ั ยงั เปน็ เกณฑม์ าตรฐานทางการศกึ ษาและควบคมุ การจดั การเรียนการสอนของสถานศกึ ษา สรปุ ไดว้ า่ หลกั สตู รมคี วามส�ำ คญั ในฐานะเปน็ เครอ่ื งชแ้ี นะแนวทางใหก้ บั บคุ ลากรทเี่ กยี่ วขอ้ ง กับการจดั การศกึ ษาเพอื่ ให้บรรลตุ ามจุดหมายทีก่ �ำ หนดไว้ในหลักสตู ร หรืออาจกล่าวได้วา่ หลักสูตร เปรียบเหมอื นเข็มทศิ ที่เป็นตวั ก�ำ หนดในเร่ืองการจดั การเรียนการสอนว่าจะไปในทิศทางใด ในแตล่ ะ สถานศึกษามีความแตกต่างกัน สถานท่ีแห่งใดจึงจะเหมาะสมท่ีจะทำ�ให้ผู้เรียนเป็นไปตามแนวทาง ท่ีก�ำ หนดได้มากท่ีสดุ หรือตรงตามเปา้ ประสงคท์ ่กี �ำ หนดไว้ 3) ประเภทและรปู แบบของหลักสตู ร Ornstein and Hunkins (1993) ได้แบ่งลักษณะของการออกแบบหลักสูตรเป็น 3 ประเภท ประกอบด้วย หลักสูตรท่เี น้นเนือ้ หาวชิ า หลกั สูตรทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นสำ�คญั และหลักสูตร ทเ่ี นน้ ปัญหาเปน็ สำ�คญั ดงั นี้ 3.1 หลักสูตรท่ีเน้นเนื้อหาวิชา หลักสูตรท่ีเน้นเน้ือหาวิชา (Subject – Centered Designs) เป็นหลักสูตรที่เน้นความสำ�คัญของเน้ือหาวิชา การออกแบบหลักสูตรได้รับอิทธิพลจาก ปรัชญาการศึกษา คือ สารัตถะนิยม (Essentialism) และนริ นั ตรนยิ ม (Perennialism) หลกั สูตร ท่เี นน้ เนื้อหาวชิ า แบง่ เป็น 4 ประเภท ดังน้ี 3.1.1 หลกั สตู รแบบรายวชิ า (Subject Design) เปน็ หลกั สตู รทเ่ี กา่ แก่ และเปน็ ทน่ี ยิ ม แพรห่ ลายมากทสี่ ดุ มลี กั ษณะการจดั โครงสรา้ งหลกั สตู รเปน็ รายวชิ า เชน่ วชิ าภมู ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาไทย เปน็ ตน้ 3.1.2 หลักสูตรแบบสาขาวิชา (Discipline Design) เป็นหลักสูตรท่ีเกิดขึ้น หลังสงครามโลกครั้งท่ีสอง และได้รับความสนใจเป็นอย่างมากในช่วงปี ค.ศ. 1950 – 1960 การออกแบบหลักสูตรมีความคล้ายคลึงกับหลักสูตรรายวิชา แต่มีความแตกต่างกันที่หลักสูตร สาขาวชิ า จะมจี ดุ เนน้ ลมุ่ ลกึ ไปในศาสตรข์ องแตล่ ะสาขา เชน่ สาขาประวตั ศิ าสตร์ หลกั สตู รจะก�ำ หนด ให้ผู้เรียนเรียนรู้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ประหนึ่งเป็นนักประวัติศาสตร์ วิชาชีววิทยาก็เรียน เน้ือหาเชงิ ลึกในศาสตร์ของชวี วิทยา การเรยี นการสอนจะม่งุ เน้นความคดิ รวบยอด โครงสร้างเนือ้ หา และกระบวนการในศาสตร์ของชีววทิ ยา เป็นตน้ 25รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขัอง 3.1.3 หลักสูตรหมวดวิชา (Broad Fields Design) นักออกแบบหลกั สูตรพยายาม จะแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งของหลักสตู รรายวชิ า โดยน�ำ วชิ าทีม่ ีเน้ือหาสัมพนั ธ์กนั มาจดั เขา้ ไวใ้ นหมวดวิชา เดยี วกนั เชน่ ภมู ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ศลี ธรรม รวมอยใู่ นหมวดสงั คมศกึ ษา ชวี วทิ ยา ฟิสิกส์ เคมี รวมเป็นหมวดวิทยาศาสตร์ เป็นตน้ 3.1.4 หลักสูตรสัมพันธ์วิชา (Correlation Design) เป็นหลักสูตรที่พัฒนามาจาก หลักสูตรหมวดวิชา โดยเน้นความสัมพันธ์ของเนื้อหาวิชา ท่ีทำ�ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ท่ีดี และนำ� ไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าการเรียนเป็นรายวิชา ข้อดีของหลักสูตรแบบน้ีคือ ผู้สอนมีการวางแผน การสอนรวมกนั กิจกรรมการเรียนการสอนจดั ได้กว้างมากขึน้ ตัวอยา่ งของหลักสตู รประเภทน้ี คือ การนำ�เอาเน้ือหาประวัติศาสตร์ไทยกับวรรณคดีไทยบางตอนมาสานเนื้อหาให้คู่ขนานกันไปในเวลา เดียวกัน โดยผู้เรยี นจะสามารถเช่ือมโยงความรู้รายวิชาหนึ่งไปสูว่ ิชาหนึง่ ได้ 3.1.5 หลกั สตู รเนน้ กระบวนการ (Process Design) เปน็ หลกั สตู รทเ่ี นน้ กระบวนการ หรือทักษะกระบวนการ นักออกแบบหลักสูตรมีความเชื่อว่า การเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการ จะทำ�ให้ผู้เรียนสามารถนำ�กระบวนการน้ันไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ�วันของเขาได้ ตัวอย่างของ หลักสูตร เช่น หลักสูตรการคิดของเบเยอร์ได้แบ่งกลยุทธ์การคิดเป็น 3 วิธีคือ การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving) การตดั สินใจ (Decision Making) และการสร้างแนวคิด (Conceptualizing) เปน็ ตน้ 3.2 หลักสูตรท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ การออกแบบหลักสูตรที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ (Learner – Centered Designs) เปน็ หลกั สูตรทีม่ องถึงประโยชน์ของผู้เรียนเปน็ สำ�คัญ คำ�นึงถึง ความต้องการและความสนใจของผู้เรียน โดยหลีกเล่ียงหลักสูตรที่เน้นเน้ือหาวิชาเป็นตัวต้ัง การออกแบบหลักสตู รทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ จดั ได้หลายประเภท ดงั น้ี 3.2.1 หลกั สตู รเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั (Child – Centered Designs) หลกั สตู รไดแ้ นวคดิ มาจากรสุ โซ (Rousseau) ในตน้ ศตวรรษท่ี 18 กลา่ ววา่ เดก็ ควรจะไดศ้ กึ ษาถงึ ธรรมชาตทิ อี่ ยแู่ วดลอ้ ม ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและความสนใจของเขา นกั การศกึ ษาทจ่ี ดั อยใู่ นกลมุ่ นี้ เชน่ จอหน์ ดวิ อี้ (John Dewey) เฟเดอรคิ ฟรอเบล (Friedrich Froebel) และเปสตาลอสซ่ี (Pestalozzi) เป็นต้น การจัดเน้อื หาของหลกั สูตรแบบน้ี จะมีการบูรณาการเน้ือหาของวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกนั โดยเน้นไปที่ ประสบการณ์ หรอื ปัญหาสังคม ความจ�ำ เป็นของชีวิต ทักษะชีวิต การปรับตัว และประสบการณ์ตรง ของผู้เรียน ข้อดีของหลักสูตรน้ี คือ มีการผสมผสานกันระหว่างการเรียนรู้กับเน้ือหา ส่ิงที่เรียน มีความสัมพันธ์กับปัญหาชีวิต และความสนใจของผู้เรียน ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ และใชก้ ระบวนการแกป้ ญั หาของตนเอง สว่ นขอ้ จ�ำ กดั คอื การจดั หลกั สตู รทย่ี ดึ ความสนใจของผเู้ รยี น เปน็ ตวั ตงั้ จะไมส่ ามารถรบั ประกนั ไดว้ า่ ความตอ้ งการของผเู้ รยี นจะเปน็ ไปตามทสี่ งั คมตอ้ งการหรอื ไม่ และเปน็ ความยุ่งยากของสถานศึกษาท่จี ะจดั หลักสตู รใหส้ อดคลอ้ งกบั ผู้เรยี นทุกคน 3.2.2 หลกั สตู รเนน้ ประสบการณ์ (Experience – Centered Designs) เปน็ หลกั สตู ร ทมี่ ลี กั ษณะคลา้ ยกบั หลกั สตู รเนน้ กระบวนการ พฒั นามาจากแนวคดิ ของ จอหน์ ดวิ อี้ ทเ่ี นน้ การเรยี นรู้ ด้วยการปฏิบตั ขิ องผเู้ รยี น กจิ กรรมและประสบการณ์ต่าง ๆ ควรจดั ข้ึนตามความสนใจ และความ 26รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กยี่ วขัอง ต้องการของผู้เรียน จึงจะทำ�ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอันจะนำ�ไปสู่ การเรียนรู้และประสบการณ์อื่น ๆ ข้อดีของหลักสูตรนี้คือ ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง สง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ นำ�ความร้ไู ปใชใ้ นชีวติ ประจำ�วนั 3.2.3 หลกั สูตรแบบจิตนิยม (Romantic / Radical Designs) เปน็ หลกั สตู รท่ีเนน้ ความเปน็ ธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น ใหค้ วามส�ำ คญั ของบคุ คลแตล่ ะคนวา่ ทกุ คนมอี สิ ระในการเลอื ก สามารถ กำ�หนดชีวิตของตนเองได้ เน้นความมีเสรีภาพอันสมบูรณ์และความเป็นเอกัตบุคคลของแต่ละคน หลักสูตรควรช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับตัว ตัดสินใจกระทำ�สิ่งต่าง ๆ ได้ กล้ายอมรับในสิ่งท่ีตนทำ� ตลอดจนสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนได้ การเรียนการสอนเน้นผู้เรียนให้รู้จักปัญหา และได้ ฝกึ ฝนให้ท�ำ ในส่ิงทตี่ อ้ งออกไปเผชิญในชวี ติ จรงิ นักการศึกษาทมี่ แี นวคิดลักษณะน้ี ไดแ้ ก่ เอ.เอส.นลี (A.S.Neil) อิวาน อลิ ลชิ (Ivan Illich) และเปาโล แฟร์ (Paulo Freire) เป็นตน้ 3.2.4 หลกั สตู รมนษุ ยนยิ ม (Humanistic Designs) การออกแบบหลกั สตู รประเภทน้ี ได้รับแนวคิดของปรัชญาการศึกษาแบบอัตถิภาวะนิยม (Existentialism) หลักสูตรเน้นด้านจิตใจ ความเป็นเอกัตบุคคล การพัฒนามโนทัศน์ของตนเอง การรู้จักตนเอง การควบคุมการเรียนรู้และ พฤติกรรมดว้ ยตนเอง การรูจ้ ักเห็นใจผอู้ นื่ นับถือตนเองและผอู้ นื่ เน้นการพัฒนาจติ พิสัยควบคูไ่ ปกบั พทุ ธพิ ิสัย หลักสตู รจะเพิม่ ทางเลือกใหผ้ เู้ รียนไดม้ อี ิสระในการเลอื ก ยดึ หลักการพฒั นาแบบองค์รวม นักการศึกษาท่ีมีแนวคิดเช่นน้ี ได้แก่ อับบราฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow) และคาร์ล โรเจอร์ส (Carl Rogers) ข้อบกพรอ่ งของหลกั สตู รแบบน้ี คือ การจัดการเรยี นการสอนตอ้ งเปน็ ครู ท่ีมที กั ษะ มีความสามารถที่จะทำ�งานกับผู้เรียนเปน็ รายบุคคล 3.3 หลักสูตรท่ีเน้นปัญหาสังคมเป็นสำ�คัญ การออกแบบหลักสูตรที่เน้นปัญหาสังคม เปน็ ส�ำ คญั (Problem – Centered Designs) เปน็ การออกแบบหลกั สตู รทย่ี ดึ เอาภาระหนา้ ท่ี หรอื ชวี ติ ภายในสังคม สถานการณ์ในสังคมเป็นหลัก เป็นหลักสูตรที่เน้นสภาพของสังคม หรือปัญหา ของสงั คมเปน็ ตวั ตงั้ ในการจดั ท�ำ หลกั สตู ร โดยตอ้ งมกี ารวเิ คราะหส์ ภาพและความตอ้ งการของชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ หลกั สตู รแบบนมี้ คี วามแตกตา่ งจากหลกั สตู รทยี่ ดึ ผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั คอื การก�ำ หนดเนอ้ื หาของ หลกั สตู รตอ้ งมกี ารวางแผนเตรยี มการไวล้ ว่ งหนา้ กอ่ นนกั เรยี นเขา้ มาเรยี น แตก่ ส็ ามารถปรบั เปลย่ี นได้ ตามสภาพความต้องการของผเู้ รียน การออกแบบหลักสตู รจดั ไดห้ ลายประเภท ดงั น้ี 3.3.1 หลกั สตู รเน้นสถานการณ์ของชวี ิต (Life – Situations Designs) เป็นหลกั สูตร ท่เี น้นภาระหน้าที่ ชีวติ ในสังคม และสถานการณ์ของชวี ิตในสังคมเป็นหลัก หลกั สตู รที่ศึกษาจะมุง่ ให้ ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความหมายโดยให้สัมพันธ์กับชีวิตจริง ปัญหาท่ีผู้เรียนพบท่ีโรงเรียน จะมีความ คลา้ ยคลงึ กบั ปญั หาทพ่ี บนอกโรงเรยี น เชน่ หลกั สตู รของรฐั เวอรจ์ เี นยี ไดก้ �ำ หนดขอบขา่ ยของหลกั สตู ร มีรายละเอยี ดประกอบด้วย การป้องกันชวี ิตและสขุ ภาพ ชวี ติ ท่ดี ี การสรา้ งครอบครวั การสง่ เสรมิ กิจกรรมทางศาสนา ความพึงพอใจในความสวยความงาม สวัสดิศึกษา การร่วมมือในกิจกรรมเพื่อ สังคม การพกั ผ่อนหยอ่ นใจ การปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Ornstein and Hunkins, 1993) 27รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วขอั ง ขอ้ ดีของหลกั สตู รประเภทน้ี คือ การเนน้ กระบวนการเรยี นรเู้ พื่อการแก้ปญั หา มีการบูรณาการเนื้อหาและกระบวนการแก้ปัญหาเข้าด้วยกัน มีผู้วิจารณ์หลักสูตรนี้ว่าผู้เรียนอาจ ขาดความสมบรู ณใ์ นดา้ นเนอื้ หาสาระ แตผ่ สู้ นบั สนนุ หลกั สตู รนโ้ี ตแ้ ยง้ วา่ เนอื้ หาไดถ้ กู น�ำ เสนอไปแลว้ ในรปู แบบของปญั หา จดุ ออ่ นของหลกั สตู รน้ี คอื ความยากล�ำ บากในการจดั ขอบขา่ ยเนอื้ หาและล�ำ ดบั การเรียนรู้ การตัดสินใจว่าปัญหาที่ประสบอยู่ในปัจจุบัน จะเช่ือมโยงสัมพันธ์กับปัญหาในอนาคต หรอื ไม่ 3.3.2 หลกั สตู รแกน (Core Designs) เรียกอีกชื่อหน่งึ ว่า หลักสูตรเน้นภาระหนา้ ที่ ในสังคม (Social Function) เป็นการออกแบบหลักสูตรที่แก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรรายวิชา ใช้หลักการจัดหลักสูตร 2 แนวทาง คือ ใช้เนื้อหาเป็นแกน (Subject Matter Core Design) โดยรวบรวมเน้ือหาสาระและประสบการณ์ที่มีความสัมพันธ์เข้าด้วยกัน มีวิชาใดวิชาหน่ึงเป็นแกน เอาวิชาอ่ืนมาสัมพันธ์ หรอื ใช้ขอบเขตของการด�ำ รงชวี ิตเปน็ แกน (Area of Living Core Design) โดยดงึ เอาความตอ้ งการ และปญั หาสงั คมทเี่ กย่ี วกบั การด�ำ รงชวี ติ ของผเู้ รยี นมาเปน็ แกนของหลกั สตู ร โดยเรยี นรแู้ นวทางการแก้ปัญหา 3.3.3 หลกั สตู รเนน้ ปญั หาและปฏริ ปู สงั คม (Social Problems and Reconstructionist Designs) เป็นหลักสตู รที่เนน้ ปญั หาของสงั คมและแนวทางการแก้ไขปญั หาสังคมปจั จุบัน ตลอดจน การวางแผนเพอ่ื อนาคต หลกั สตู รจะตอ้ งสะทอ้ นการพฒั นาสงั คมในดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง การปกครอง ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงของสังคม ผู้เรียนจะต้องวิเคราะห์ภาวะวิกฤติของชุมชน ท้ังในระดับทอ้ งถิน่ ระดับชาตแิ ละระดับนานาชาติ ปรยี าพร วงศ์อนตุ รโรจน์ (2546) กลา่ วว่า การแบ่งประเภทของหลักสตู รเปน็ การแบ่งตาม แนวคิด ปรัชญา และทฤษฎีของการศึกษาสามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 9 ประเภท ซง่ึ ผู้เขียนสามารถสรุปได้ ดงั น้ี 1. หลักสตู รรายวชิ า (Subjective Curriculum) เป็นรูปแบบหลกั สูตรด้ังเดมิ โดยเนน้ เนอ้ื หาสาระเพื่อใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ ขา้ ใจ โดยจะมลี กั ษณะดังนี้ 1.1 เนื้อหาสาระแต่ละรายวิชาจะแยกจากกัน เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา สอนแยกออกจากกันเป็นรายวิชา 1.2 แตล่ ะวชิ าจะมลี าํ ดบั เนอ้ื หาสาระ มขี อบเขตความรทู้ เี่ รยี งลาํ ดบั ตามความยากงา่ ย และไมเ่ กีย่ วโยงถึงวชิ าอ่นื ๆ 1.3 วชิ าแตล่ ะวชิ าไมไ่ ดโ้ ยงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความรนู้ น้ั กบั การปฏบิ ตั ใิ นสถานการณจ์ รงิ 1.4 การเลือกเนื้อหาสาระ และการจัดเนื้อหาสาระ โดยยึดคุณค่าที่มีอยู่ในตัว ของเรือ่ งทส่ี อนน้นั โดยมีแนวคดิ ว่าผเู้ รยี นสามารถนาํ ไปใชเ้ ม่อื ตอ้ งการ 2. หลกั สตู รสหพนั ธ์ (Correlated Curriculum) เปน็ หลกั สตู รทเ่ี อาเนอ้ื หาของวชิ าอน่ื ทม่ี ี ความสมั พนั ธก์ นั มารวมเขา้ ดว้ ยกนั ท�ำ ใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธข์ อง 2 วชิ า โดยไมท่ าํ ลายขอบเขตวชิ าเดมิ 28รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วขอั ง น่นั คือ ไมไ่ ด้มีการผสมผสานเนอื้ หาเข้าดว้ ยกัน เชน่ การจัดเนื้อหาเน้นให้เห็นความสมั พนั ธ์ระหว่าง ระบบอิเล็กทรอนิกส์และโทรทัศน์ ความสัมพันธ์ระหว่างการเลี้ยงหมูและการปลูกพืช โดยแสดงให้ เหน็ แตล่ ะวชิ าจะเสริมกันไดอ้ ยา่ งไร 3. หลักสูตรผสมผสาน (Fused Curriculum) เป็นการจัดหลักสูตรที่มุ่งเน้นรายวิชา โดยสร้างจากเนื้อหาวิชาที่เคยแยกสอนนำ�มารวมให้เป็นวิชาเดียวกัน แต่ยังคงเนื้อหาพื้นฐานของ แต่ละวชิ าไว้ หลักสตู รแบบนแ้ี ตกต่างจากหลักสูตรสหสัมพนั ธท์ ม่ี ีบรู ณาการระหวา่ งวิชามากกวา่ คอื การสอนวิชาเหมือนสอนวิชาเดยี ว เชน่ การสอนสขุ ศึกษาและพลศึกษา เป็นต้น 4. หลักสูตรหมวดวิชา (Board Field Curriculum) เป็นรูปแบบหลักสูตรที่มีลักษณะ หลายหลกั สตู ร ไดแ้ ก่ หลกั สตู รสหสมั พนั ธแ์ ละหลกั สตู รแบบผสมผสาน โดยการนาํ เนอ้ื หาวชิ าหลาย ๆ วชิ าจัดเปน็ วิชาทว่ั ไปทีก่ ว้างขวางขนึ้ โดยเนน้ ถึงการรักษาคุณค่าของความรู้ที่มเี หตุผล มีระบบ เชน่ มนุษยก์ ับเทคโนโลยีมนุษยสัมพนั ธ์ เป็นต้น 5. หลกั สูตรวิชาแกน (Core Curriculum) เปน็ หลกั สตู รทม่ี ีวิชาใดวิชาหนงึ่ เปน็ แกนของ วชิ าอน่ื ๆ โดยเนน้ เนอ้ื หาดา้ นสงั คมและหนา้ ทพี่ ลเมอื งเพอ่ื การแกป้ ญั หา เชน่ ประชากรและมลภาวะ การดาํ รงชวี ติ ในเมืองและชนบท 6. หลักสูตรที่เน้นทักษะกระบวนการ (Process Skills Curriculum) เป็นหลักสูตร ทมี่ งุ่ ใหเ้ กดิ ทกั ษะกระบวนการ เชน่ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการในการแกป้ ญั หา เพื่อพฒั นาใหผ้ ูเ้ รียนมีความสามารถด้านทกั ษะกระบวนการดงั น้ี 6.1 มคี วามร้ทู ี่สามารถนําไปใชไ้ ด้ 6.2 ใชก้ ระบวนการใหเ้ ป็นส่ือไปสู่จุดม่งุ หมาย 6.3 ให้รู้ธรรมชาตขิ องกระบวนการ 7. หลกั สตู รทเ่ี นน้ ฐานสมรรถนะ (Competency or Performance based Curriculum) เป็นหลักสูตรท่ีมีความสัมพันธ์โดยตรงระหว่างจุดมุ่งหมาย กิจกรรม การเรียนการสอน และความ สามารถในการปฏิบัติของผู้เรียน หลักสูตรแบบน้ีต้องกําหนดความสามารถในการปฏิบัติที่ต้องการ ไว้เป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หรือจุดประสงค์ด้านความสามารถ จากน้ันก็วางแผนกิจกรรม การเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุแต่ละจุดประสงค์และมีการตรวจสอบการปฏิบัติของผู้เรียน ก่อนทีจ่ ะผ่านไปเรียนจดุ ประสงคถ์ ัดไป เชน่ การฝึกสอนแบบจุลภาค การสอนพมิ พ์ดดี 8. หลกั สตู รทเ่ี นน้ กจิ กรรมและปญั หาสงั คม (Social Activities and Problem Curriculum) หลักสูตรน้ีจะแตกต่างตามแนวคิดของแต่ละกลุ่ม เช่น ผู้ที่มีแนวคิดว่าหลักสูตรควรตรงกับ การดาํ รงชีวติ ในสังคมจริง ดงั นัน้ ในการสร้างหลักสตู รจึงยดึ รากฐานของหน้าท่ีทางสังคม หรอื หาก มีแนวความคิดว่าหลักสูตรควรเป็นเรื่องเก่ียวกับปัญหาในสังคมชุมชน เช่น การป้องกันมลภาวะ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น 9. หลักสูตรที่เน้นความต้องการและความสนใจของแต่ละบุคคล (Individual Needs and Interest Curriculum) เป็นหลักสูตรที่เน้นความสนใจและความต้องการของผู้เรียน เช่น การเนน้ ทผ่ี เู้ รยี น การเนน้ ทป่ี ระสบการณ์ โดยหลกั สตู รทส่ี รา้ งขน้ึ ตามความรแู้ ละความสนใจของผเู้ รยี น 29รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกย่ี วขัอง มคี วามยดื หยนุ่ สงู และผเู้ รยี นสามารถเรยี นไดเ้ ปน็ รายบคุ คล เชน่ หลกั สตู รของโรงเรยี น Summer Hill ทอี่ งั กฤษ ซง่ึ นลิ (Niel, 1960) สรา้ งขนึ้ โดยทาํ โรงเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผเู้ รยี น เปน็ ตน้ การพฒั นาหลกั สตู รมหี ลายรปู แบบ เชน่ การออกแบบหลกั สตู รทเี่ นน้ เนอ้ื หาวชิ า หลกั สตู รทเ่ี นน้ ผเู้ รยี น เปน็ ส�ำ คญั หลกั สตู รทเี่ นน้ ปญั หาสงั คมเปน็ ส�ำ คญั หลกั สตู รผสมผสาน และหลกั สตู รทเี่ นน้ สมรรถฐาน เป็นต้น ในการออกแบบหลักสูตร นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องตอบคำ�ถามให้ได้ว่าวัตถุประสงค์ของ การเรียนการสอนคืออะไร จะคัดเลือกเนื้อหาอะไรบ้างสำ�หรับผู้เรียน และจะจัดประสบการณ์ การเรยี นรอู้ ยา่ งไรบา้ ง ดงั นน้ั สงิ่ ทส่ี �ำ คญั ทสี่ ดุ ในการออกแบบหลกั สตู รทคี่ วรพจิ ารณา คอื การคดั เลอื ก เนื้อหาสาระและการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 4) กระบวนการพฒั นาหลักสตู ร การพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนเกิด การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามความมุ่งหมายและจุดประสงค์ท่ีกำ�หนดไว้ รวมถึงการประเมินผล หลกั สูตรให้ทราบถึงผลการเปลี่ยนแปลงในตัวผเู้ รยี น วา่ ไดบ้ รรลตุ ามความมงุ่ หมายและจุดประสงค์ จรงิ หรือไม่ เพอื่ ผู้ที่มีหน้าทรี่ ับผดิ ชอบจะได้รูแ้ ละคดิ เพื่อแกไ้ ขปรบั ปรงุ ต่อไป บญุ ชม ศรสี ะอาด (2546) ได้กล่าวถึงหลักของการพฒั นาหลักสูตรโดยทวั่ ไป ไวด้ ังน้ี 1. ใชพ้ น้ื ฐานจากประวัติศาสตร์ ปรัชญา สงั คม จิตวิทยา และวิชาความรูต้ า่ ง ๆ 2. พัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม โดยวิเคราะห์ปัญหาความต้องการ ความจำ�เป็นต่าง ๆ ของสงั คม 3. พัฒนาให้สอดคล้องกับระดบั พัฒนาการ ความตอ้ งการและความสนใจของผเู้ รียน 4. พฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั ของการเรยี นรใู้ นการเลอื กและจดั ประสบการณ์ การเรยี น จะต้องพิจารณาความเหมาะสมในด้านความยากง่าย ลำ�ดับก่อนหลัง ความต่อเน่ืองและบูรณาการ ของประสบการณ์ต่าง ๆ 5. พัฒนาทุกจุดอย่างประสานสัมพันธ์กันตามลำ�ดับจากจุดประสงค์ สาระความรู้ และประสบการณ์ กระบวนการเรียนการสอน และการประเมินผล 6. พิจารณาถงึ ความเปน็ ไปได้สงู ในทางปฏิบตั ิ 7. พฒั นาอย่างเปน็ ระบบ 8. พัฒนาอยา่ งตอ่ เนือ่ งไมห่ ยดุ ย้ัง 9. มีการวจิ ยั ตดิ ตามผลอยตู่ ลอดเวลา 10. ด�ำ เนนิ การในรปู คณะกรรมการ 11. อาศยั ความร่วมมอื อย่างจรงิ จังของผู้เช่ยี วชาญและผู้เกย่ี วข้องหลายฝา่ ย สวัสดิ์ จงกล (2547) ได้ให้ความหมายว่าการพัฒนาหลักสูตร คือการเก่ียวข้องกับ การวางแผนพัฒนาหรือคิดประสบการณ์เรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมหรือดียิ่งข้ึน 30รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอั ง สุเทพ อ่วมเจรญิ (2557) ไดก้ ลา่ วไวว้ ่า การพัฒนาหลกั สตู ร หมายถึง กระบวนการสรา้ ง และทดสอบคณุ ภาพของหลกั สตู รที่น�ำ วธิ กี ารเชงิ ระบบมาประยกุ ต์ใช้ โดยเฉพาะการน�ำ กระบวนการ วจิ ัยและพัฒนามาใชใ้ นการสร้างและทดสอบคณุ ภาพหลกั สูตรที่พัฒนาขึ้น สจีวรรณ ทรรพวสุ (2548) กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การทำ�ให้หลักสูตร ดีข้ึนโดยการปรับปรุงหรือเปล่ียนแปลงหลักสูตร เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการหรือ การเปล่ยี นแปลงสภาพแวดลอ้ ม สงั คม เศรษฐกจิ ของแตล่ ะแห่ง โดยมจี ดุ มงุ่ หมาย แนวทาง วิธีการ และเนื้อหาสาระ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ทัศนคติและพฤติกรรมตามท่ีกำ�หนด ในจดุ มุ่งหมายของการศกึ ษา สงดั อุทรานันท์ (2552) น�ำ เสนอขัน้ ตอนการพฒั นาหลักสูตร 7 ข้ันตอน สำ�คญั ดังน้ี 1. การก�ำ หนดขอ้ มลู พนื้ ฐานเปน็ กระบวนการทมี่ คี วามส�ำ คญั และเปน็ ขน้ั ตอนแรกของการ พฒั นาหลกั สตู ร เพอื่ ใหท้ ราบถงึ สภาพปญั หาความตอ้ งการของสงั คมและผเู้ รยี นซงึ่ จะชว่ ยใหส้ ามารถ จดั หลักสตู รให้สนองกบั ความตอ้ งการและสามารถแก้ไขปญั หาต่าง ๆ 2. การก�ำ หนดจดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร จดั เปน็ ขนั้ ตอนทสี่ �ำ คญั ยง่ิ อกี ขนั้ หนงึ่ เปน็ ขน้ั ตอน ทมี่ าหลงั จากไดว้ เิ คราะหแ์ ละไดท้ ราบสภาพปญั หา ตลอดจนความตอ้ งการตา่ ง ๆ การก�ำ หนดจดุ มงุ่ หมาย ของหลักสูตรน้ันเป็นการมุ่งแก้ปัญหาและสนองความต้องการที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูล อาจเป็น ขอ้ มลู พ้ืนฐานท่ีมีอยูเ่ ดมิ หรือจากการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลความต้องการข้นึ มาใหมก่ ็ได้ 3. การคัดเลือกจัดเนื้อหาสาระและประสบการณ์การเรียนการสอนที่จะนำ�มาจัดไว้ ในหลักสูตรจะต้องผ่านการพิจารณากล่ันกรองถึงความเหมาะสมและจำ�เป็นต้องสอดคล้อง กบั จุดมุ่งหมายของหลักสตู รทีก่ �ำ หนดไว้ 4. การก�ำ หนดมาตรการวดั และประเมนิ ผล ขน้ั นม้ี งุ่ ทจ่ี ะหาเกณฑม์ าตรฐานเพอื่ ใชใ้ นการวดั และประเมินผลว่า จะวัดและประเมินผลอะไรบ้างจึงจะสอดคล้องกับเจตนารมณ์หรือจุดมุ่งหมาย ของหลกั สูตร 5. การทดลองใช้หลักสูตร ขั้นตอนน้ีจะมุ่งศึกษาหาจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องต่าง ๆ ของหลกั สตู รหลงั จากได้มีการรา่ งหลกั สตู รเสร็จแลว้ ทงั้ น้ีเพื่อหาวธิ กี ารแกไ้ ขปรับปรงุ หลักสตู รใหไ้ ด้ ดยี ่งิ ขน้ึ 6. การประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สตู ร หลงั จากไดม้ กี ารยกรา่ งหลกั สตู ร หรอื ไดท้ �ำ การทดลอง ใช้หลักสูตรแล้ว ก็ควรมีการประเมินผลจากการใช้ว่าเป็นอย่างไร มีส่วนไหนบ้างท่ีควรจะได้รับ การปรับปรุงแก้ไขบ้าง ถ้ามีจุดอ่อนหรือไม่เหมาะสมตรงไหนก็จะต้องปรับปรุงให้เป็นท่ีเหมาะสม ก่อนน�ำ ออกไปใชจ้ รงิ ต่อไป 7. การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรก่อนนำ�ไปใช้ หลังจากได้มีการตรวจสอบและประเมินผล เบอ้ื งตน้ แล้วหากพบว่า หลักสูตรมขี อ้ บกพรอ่ งจะต้องปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้มีความถูกตอ้ งหรอื เหมาะสม ก่อนท่ีจะนำ�หลักสูตรไปใช้ในสถานศึกษาจริง ทั้งนี้เพ่ือให้การใช้หลักสูตรบรรลุผลตามเป้าหมาย ที่ก�ำ หนดไว้ 31รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วขอั ง วชิ ยั วงษ์ใหญ่ (2554) ไดส้ รุปแนวคิดและขนั้ ตอนกระบวนการพัฒนาหลกั สตู รดังน้ี 1. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรกำ�หนดจุดมุ่งหมาย หลักการและโครงสร้างและ การออกแบบหลักสูตรขึ้นมา โดยอาศัยข้อมูลจากสภาพปัญหาและความต้องการของสังคมปัจจุบัน โดยปรกึ ษาหารอื กับผ้เู ช่ยี วชาญแต่ละสาขาวชิ าอยา่ งสมํ่าเสมอ 2. ยกรา่ งเนือ้ หาสาระ แตล่ ะกลมุ่ ประสบการณ์ แตล่ ะหน่วยการเรียน และแต่ละรายวิชา โดยปรึกษาหารือจากผู้เช่ียวชาญแต่ละสาขาวิชา คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้เช่ียวชาญ แต่ละสาขาวิชาเป็นผู้กำ�หนดผลการเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หรือจุดประสงค์การเรียนรู้ วางแผนการสอน ทำ�บันทึกการสอน ผลิตส่ือการสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นกลุ่มหรือ รายบุคคล 3. นำ�หลกั สูตรท่ีพัฒนาไดแ้ ล้วไปทดลองใชใ้ นสถานศึกษานำ�ร่อง (สถานศกึ ษาทดลองใช้ หลกั สูตรใหม)่ โดยคณะกรรมการพฒั นาหลักสตู รกำ�หนดไว้ ถา้ มขี อ้ บกพร่องก็ท�ำ การแกไ้ ข ปรับปรุง โดยปรกึ ษาหารือผเู้ ช่ยี วชาญเฉพาะสาขาอยตู่ ลอดเวลา 4. อบรมผู้สอน ผู้บริหารทุกระดับ และบุคลากรทางการศึกษาให้เข้าใจหลักสูตรใหม่ เพอื่ จะไดใ้ ชห้ ลกั สตู รใหมใ่ หถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม ตามจดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร รวมทง้ั การประชาสมั พนั ธ์ หลักสูตรให้ผ้ทู เ่ี กี่ยวขอ้ งทราบ 5. นำ�หลักสูตรไปใช้ปฏิบัติการสอนที่สถานศึกษาก่อนประกาศใช้หลักสูตร สนับสนุนให้ ผบู้ รหิ ารและผสู้ อนน�ำ หลกั สตู รไปปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นสถานศกึ ษาตอ่ ไป กจิ กรรมการใชห้ ลกั สตู ร ใหม่มี 4 ประการคือ 5.1 การแปลงหลกั สตู รไปสกู่ ารสอน คอื จดั ท�ำ วสั ดหุ ลกั สตู ร ไดแ้ ก่ เอกสารหลกั สตู ร สอ่ื และอุปกรณก์ ารสอนท่ีจ�ำ เป็นท่ีจะต้องใช้ประกอบการเรยี นการสอน 5.2 ผบู้ รหิ ารจัดเตรยี มสิ่งต่าง ๆ เชน่ บคุ ลากร วสั ดหุ ลกั สตู ร และบรกิ ารต่าง ๆ เรมิ่ ต้ังแตอ่ บรมผูส้ อน และบคุ ลากรฝา่ ยสนับสนุนการใช้หลักสตู ร จัดหอ้ งสมดุ หอ้ งเรียน ห้องปฏิบตั ิ การ แหล่งเรียนรู้ และสือ่ การสอนทกุ ชนิด รวมทัง้ จดั งบประมาณสนับสนุนการบรหิ ารหลกั สูตร 5.3 การสอนเปน็ หนา้ ทข่ี องผสู้ อนประจ�ำ การทว่ั ไปทจ่ี ะตอ้ งด�ำ เนนิ การจดั การเรยี น การสอนให้ประสบความส�ำ เรจ็ ตามจดุ มงุ่ หมายของหลักสตู ร 5.4 การประเมินผล เพ่ือให้ทราบข้อบกพร่องของหลักสูตร แล้วดำ�เนินการ แก้ไข ปรับปรุงต่อไป การประเมินผลมี 2 ประเภท คือ การประเมินผลการเรียนของผู้เรียน และ การประเมนิ ผลหลกั สูตร การประเมินผลหลกั สูตร ได้แก่ การประเมินเอกสารหลักสตู ร ประเมนิ ผล การนำ�หลักสูตรไปใช้ประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ประเมินผลการใช้หลักสูตร ในการประเมินผล หลกั สูตรนั้นจะต้องประเมนิ ผลอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง เพราะว่าทกุ สิ่งทกุ อย่างในสงั คมปัจจบุ ัน ย่อมมีการเปล่ยี นแปลงอย่ตู ลอดเวลา ทง้ั ทางดา้ นเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง สงั คม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคร่ืองมือส่ือสาร เครื่องอำ�นวยความสะดวกในการดำ�เนินชีวิต และ การประกอบอาชพี แตล่ ะสาขาวิชา กม็ ีการเปลยี่ นแปลงและพัฒนาอยู่ตลอดเวลา 32รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กยี่ วขอั ง Tyler (1950) ได้ให้แนวคิดการพัฒนาหลักสูตร ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นต้นแบบท่ีมี นกั การศกึ ษาหลายทา่ นนำ�ไปประยุกตป์ รบั ปรงุ โดยแนวคิดของไทเลอรจ์ ะมงุ่ ใหค้ วามส�ำ คญั เก่ยี วกบั จุดมุ่งหมายของการจัดประสบการณ์ ประสิทธิภาพของประสบการณ์ และการประเมินผลตาม จุดมุ่งหมายการศึกษาที่ก�ำ หนดไว้ ไทเลอรไ์ ด้วางแบบโครงสร้างของหลักสูตร โดยใหห้ ลกั การ และ เหตุผลในการสร้างหลักสูตรไว้ 4 ประการ ท่ีผู้สร้างหลักสูตรควรจะตอบคำ�ถามท่ีเป็นพ้ืนฐาน 4 ประการ ดังน้ี 1. มจี ดุ ม่งุ หมายทางการศึกษาอะไรบา้ งที่โรงเรยี นควรแสวงหา 2. มปี ระสบการณ์ทางการศึกษาอะไรบา้ งท่ีโรงเรียนควรจะแสวงหา 3. มปี ระสบการณท์ างการศกึ ษาอะไรบา้ งทโ่ี รงเรยี นควรจดั ขน้ึ เพอ่ื บรรลจุ ดุ มงุ่ หมายทว่ี างไว้ 4. จะจดั ประสบการณ์ทางการศกึ ษาอยา่ งไรทีจ่ ะทาใหก้ ารสอนมปี ระสิทธิภาพ โดยแนวคิดในการพัฒนาหลกั สูตรของไทเลอร์ กล่าววา่ การพัฒนาหลักสตู รจะตอ้ งเปน็ ไปตามลำ�ดับ ขัน้ ดังตอ่ ไปน้ี ขน้ั ท่ี 1 การก�ำ หนดจดุ ม่งุ หมายของหลักสูตร เริ่มต้นด้วยการก�ำ หนดจุดมงุ่ หมายช่ัวคราว (Tentative) โดยอาศัยขอ้ มลู จากแหล่งกำ�เนดิ (Sources) ท่จี ะเปน็ พืน้ ฐานในการตดั สนิ ใจ 3 แหล่ง ดว้ ยกนั คอื 1. ศกึ ษาจากสงั คม 2. ศกึ ษาจากตัวผู้เรยี น 3. ข้อเสนอแนะของผเู้ ชย่ี วชาญในเน้ือหาวิชา ข้อมูลที่ได้จากทั้งหมดนี้จะเป็นเคร่ืองช่วยในการตั้งจุดมุ่งหมายอย่างคร่าว ๆ จดุ มงุ่ หมายทไ่ี ดใ้ นขน้ั นบ้ี างครงั้ มมี ากเกนิ กวา่ ทจี่ ะจดั เขา้ ไวใ้ นหลกั สตู รไดท้ งั้ หมด จงึ ควรใหม้ กี ารเลอื ก จดุ มงุ่ หมายขอ้ ทส่ี �ำ คญั และสอดคลอ้ งกนั ใหเ้ หลอื นอ้ ยลง เพอื่ น�ำ ไปเปน็ หลกั ในการปฏบิ ตั ขิ น้ั ตอ่ ๆ ไป ไทเลอรไ์ ดเ้ สนอวา่ การเลอื กจดุ มงุ่ หมายควรผา่ นการกลนั่ กรองเพอ่ื คดั ขอ้ ทไี่ มส่ �ำ คญั และไมส่ อดคลอ้ งออก มกี ารพิจารณา 2 ข้ันตอนคอื 1. พิจารณาหลักจติ วทิ ยาการเรียนรู้ 2. พิจารณาหลกั ปรชั ญา จุดมุ่งหมายที่ผ่านการกล่ันกรองแล้วนี้เรียกว่า จุดมุ่งหมายที่แท้จริง (Precise Objectives) ขั้นท่ี 2 การเลอื กประสบการณ์การเรยี น (Learning Experience) ในการวางโครงสร้าง ของหลักสตู ร ไทเลอร์ไดต้ ั้งคำ�ถามข้อท่ี 2 ไวว้ ่าจะเลือกประสบการณ์การเรยี นอย่างไรจงึ จะชว่ ยให้ บรรลุถึงจุดมุ่งหมายที่กำ�หนดไว้ จุดมุ่งหมายที่ระบุท้ังพฤติกรรมและเน้ือหาน้ัน เป็นจุดหมายปลาย ทางที่ตอ้ งการไปถึง (Ends) แต่ประสบการณ์การเรยี นที่เกิดขึ้น เพื่อใหเ้ กดิ การเรียนรู้นนั้ เปน็ วิธีการ ทจ่ี ะให้บรรลถุ งึ จุดหมายทีก่ ำ�หนดไว้ 33รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอั ง ข้นั ที่ 3 การประเมินผล (Evaluation) การประเมินผลเป็นขั้นตอนสุดท้ายของแนวคิด ในการจดั สรา้ งหลกั สตู รของไทเลอร์ เปน็ ขน้ั สดุ ทา้ ยทจ่ี ะทาใหผ้ วู้ างแผนจดั ท�ำ หลกั สตู รรวู้ า่ ประสบการณ์ การเรียนที่จะจัดข้ึนบรรลจุ ุดมุ่งหมายทก่ี �ำ หนดไวเ้ พยี งใด Taba (1962) ไดเ้ สนอแนวคิดในการพฒั นาหลกั สูตรท่เี รียกวา่ “Grass roots approach” หรอื วธิ กี ารจากเบอ้ื งลา่ งสเู่ บอ้ื งบน ซง่ึ ทาบาเชอื่ วา่ ผทู้ มี่ หี นา้ ทส่ี อนในหลกั สตู รควรไดม้ สี ว่ นรว่ มในการ พัฒนาหลักสูตรด้วย วิธีการพัฒนาหลักสูตรของทาบาน้ีมีขั้นตอนคล้ายคลึงกับ ไทเลอร์ แต่ต่างกัน ตรงวธิ ีการท่ไี ทเลอร์เสนอน้นั คอ่ นขา้ งเป็นวธิ ีการแบบ “Top-down” คือ การพฒั นาหลักสตู รทม่ี า จากข้อเสนอแนะของนกั วชิ าการ ใหค้ รูปฏิบัติ และผบู้ รหิ ารสัง่ การมายงั ครูผู้สอนอกี ทีหน่ึง ส�ำ หรับ ขน้ั ตอนในการพฒั นาหลักสตู รของทาบา มดี ังน้ี ขนั้ ท่ี 1 การสำ�รวจความต้องการ (Diagnosis of Needs) ครูหรือผู้ร่างหลักสูตร เร่ิมกระบวนการ ดว้ ยการส�ำ รวจความต้องการของนักเรยี นที่หลักสตู รได้วางแผนไว้ ขั้นท่ี 2 การกำ�หนดจุดมุ่งหมาย (Formulation of Objectives) หลังจากที่ครูได้ระบุ ความต้องการของนกั เรยี นแลว้ ครูกำ�หนดจดุ มุง่ หมายทจ่ี ะใหบ้ รรลผุ ล ขั้นที่ 3 การเลือกเนื้อหา (Selection of Contents) จุดมงุ่ หมายทเ่ี ลือกไวห้ รือท่สี ร้างขนึ้ เป็นตัวช้ีแนะแนวทางในการเลือกรายวิชาหรือเนื้อหาของหลักสูตร ซ่ึงควรเลือกเนื้อหาที่มี ความเท่ียงตรงและสำ�คัญด้วย ข้นั ที่ 4 การจัดเน้อื หา (Organization of Contents) เมอ่ื ครเู ลอื กเนือ้ หาได้แล้วต้องจัด เนอื้ หาโดยเรียงลำ�ดับขั้นตอนใหถ้ ูกตอ้ ง ค�ำ นึงถึงวุฒิภาวะของนักเรียน ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นและ ความสนใจของผู้เรียนดว้ ย ข้นั ท่ี 5 การเลอื กประสบการณก์ ารเรยี น (Selection of Learning Experiences) เม่อื ไดเ้ น้อื หาแลว้ ครูคัดเลือกวิธกี ารสอนทีเ่ หมาะสมกับเนือ้ หาและผเู้ รยี น ข้นั ท่ี 6 การจดั ประสบการณก์ ารเรยี น (Organization of Learning Experiences) กจิ กรรม การเรียนการสอนควรได้รับการจัดเรยี งลำ�ดับข้นั ตอนเชน่ เดียวกบั เน้อื หา แตค่ รูต้องจัดกจิ กรรมการ เรียนการสอนให้เหมาะกับผ้เู รยี นดว้ ย ขน้ั ที่ 7 การประเมนิ ผลและวธิ กี ารประเมนิ ผล (Evaluation and means of Evaluation) ผทู้ วี่ างแผนหลกั สูตรตอ้ งประเมินวา่ จดุ ม่งุ หมายใดบรรลุผลสำ�เรจ็ และทง้ั ครูและนักเรยี นควรรว่ มกัน ก�ำ หนดวธิ ีการประเมินผล Saylor, Alexander and Lewis (1981) ได้เสนอแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตร ซง่ึ เขามแี นวคดิ วา่ หลกั สตู รเปน็ แผนการในการจดั โอกาสการเรยี นรใู้ หก้ บั ผเู้ รยี น ดงั นนั้ หลกั สตู รจงึ ตอ้ งมี การก�ำ หนดไว้อย่างเปน็ ระบบ ดังนี้ 1. เป้าหมาย จุดมุ่งหมายและขอบเขต (Goals, Objectives and Domains) การพัฒนา หลักสูตรควรกำ�หนดเป้าหมาย และจุดมุ่งหมายหลักสูตรเป็นสิ่งแรก เป้าหมายแต่ละประเด็น 34รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสตู รการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วขอั ง จะบ่งบอกถึงขอบเขตหน่ึง ๆ ของหลักสูตร ซ่ึงเซเลอร์ อเล็กซานเดอร์และเลวิสได้เสนอไว้ว่า มี 4 ขอบเขตท่ีสำ�คัญ คือ พฒั นาการสว่ นบุคคล (Personal Development) สมรรถภาพทางสังคม (Social Competence) ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง (Continued Learning Skills) และ ความเชยี่ วชาญเฉพาะดา้ น (Specialization) นอกจากนยี้ งั มขี อบเขตอนื่ ๆ อกี ซงึ่ นกั พฒั นาหลกั สตู ร อาจจะพิจารณาตามความเหมาะสมกับผู้เรียนและลักษณะทางสังคม เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย และ ขอบเขตต่าง ๆ ของหลักสูตรจะได้รับข้อบังคับทางกฎหมายของรัฐ ข้อค้นพบจากงานวิจัยต่าง ๆ ปรัชญาของกลุม่ ผูเ้ ชยี่ วชาญทางด้านหลกั สูตร เป็นต้น 2. การออกแบบหลักสตู ร (Curriculum Design) เม่ือก�ำ หนดเปา้ หมายและจุดมงุ่ หมาย ของหลกั สตู รแล้ว นกั พฒั นาหลกั สตู รตอ้ งวางแผนออกแบบหลักสูตร ตัดสนิ ใจเกยี่ วกับการเลอื กและ จดั เนอื้ หาสาระ การเลอื กประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั เนอื้ หาสาระทไ่ี ดเ้ ลอื ก 3. การใช้หลักสูตร (Curriculum Implementation) หลังจากตัดสินใจเลือกรูป แบบหลักสูตรแล้วขั้นตอนต่อไป คือการนำ�หลักสูตรไปใช้ โดยครูผู้สอนต้องวางแผนและจัดทำ� แผนการสอนตามรปู แบบต่าง ๆ ครูผสู้ อนเลอื กวธิ กี ารสอน สอ่ื วัสดกุ ารเรยี นการสอนทชี่ ว่ ยใหผ้ เู้ รียน เกิดการเรยี นรู้ตามทกี่ �ำ หนดไว้ 4. การประเมนิ หลักสูตร (Curriculum Evaluation) การประเมนิ หลักสตู ร เปน็ ขนั้ ตอน สุดท้ายของรูปแบบน้ี นักพัฒนาหลักสูตรและครูผู้สอนต้องเลือกวิธีการประเมินเพ่ือตรวจสอบ ความสำ�เร็จของหลักสูตร ซ่ึงเป็นทั้งการประเมินระหว่างดำ�เนินการ (Formative Evaluation) และการประเมินผลรวม (Summary Evaluation) ทั้งนี้ เพ่ือนำ�ผลการประเมิน ไปปรับปรุงและ พฒั นาหลักสูตรตอ่ ไป จากการศึกษากระบวนการพัฒนาหลักสูตรท่ีนักพัฒนาหลักสูตรได้เสนอในรูปแบบต่างๆ ที่กล่าวมา สรุปได้ว่า กระบวนการพัฒนาหลักสูตรประกอบด้วยข้ันตอนท่ีสำ�คัญ ประกอบด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐาน การกำ�หนดจุดมุ่งหมาย การกำ�หนดเน้ือหาของหลักสูตร การกำ�หนด การจดั ประสบการณ์ การนำ�หลักสูตรไปใช้ การประเมินผลหลกั สตู ร และการปรบั ปรงุ แกไ้ ขหลกั สตู ร 3. หลกั สูตรการศึกษาของประเทศไทย หลกั สูตรการศึกษาของประเทศไทย ในสว่ นน้ปี ระกอบด้วย 1) หลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กบั สมรรถนะ และ 3) งานวิจัยท่เี กีย่ วขอ้ ง รายละอยี ดเปน็ ดงั น้ี 1) หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ปรับปรุงและพัฒนาจากหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยมี 35รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ียวขัอง การปรับปรุงแก้ไขจุดที่เป็นปัญหาอุปสรรคในการนำ�หลักสูตรสู่การปฏิบัติให้มีความชัดเจน และเหมาะสมย่ิงขึ้นบนฐานข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาวิจัยและติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตร อย่างต่อเนื่อง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตร อิงมาตรฐาน มีหลักการและแนวคิดสำ�คัญคือ มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนา คณุ ภาพผเู้ รยี น (Standards - Based Curriculum) โดยส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน มบี ทบาทหน้าทีใ่ นการกำ�หนดมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐานของ ชาติ ส�ำ หรับให้ทอ้ งถ่นิ และสถานศึกษาใช้เป็นกรอบทศิ ทางในการพัฒนาหลักสูตรเพ่อื พัฒนาผู้เรยี น ไปสู่มาตรฐานการเรยี นรู้ทก่ี �ำ หนด สถานศึกษามีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนได้มีพัฒนาการอย่างเต็มตาม ศกั ยภาพ ไดจ้ ดั ท�ำ หลกั สตู รสถานศกึ ษาทคี่ รอบคลมุ สว่ นทเ่ี ปน็ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ตามทก่ี ระทรวงประกาศใช้ และสอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รทอ้ งถน่ิ ทเ่ี ขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาก�ำ หนด ตลอดจน ข้อมูลจากการวิเคราะห์สภาพปัญหา จุดเน้น ความต้องการของสถานศึกษาและความต้องการของ ผู้เรียน และทุกองคป์ ระกอบของหลักสตู รเช่อื มโยงกบั มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดหลักสูตรสถานศึกษาจะประสบความสำ�เร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่าย ทเี่ กย่ี วขอ้ งตอ้ งรว่ มรบั ผดิ ชอบและรว่ มกนั ท�ำ งานอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื งในการวางแผนด�ำ เนนิ งาน การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรงุ แกไ้ ข เพอ่ื พฒั นานกั เรยี นไปสคู่ ณุ ภาพตามมาตรฐาน การเรยี นรู้ทีก่ �ำ หนดไว้ 1.1 หลกั การ หลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มหี ลกั การท่สี �ำ คญั ดงั นี้ 1) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำ�หรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพ้ืนฐานของความเป็นไทยควบคกู่ ับความเปน็ สากล 2) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา อยา่ งเสมอภาค และมีคุณภาพ 3) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำ�นาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษาให้สอดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถ่ิน 4) เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการ จัดการเรยี นรู้ 5) เป็นหลักสตู รการศึกษาท่เี น้นผูเ้ รียนเป็นส�ำ คัญ 6) เป็นหลักสูตรการศึกษาสำ�หรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ 36รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วขัอง 1.2 เป้าหมาย/จดุ หมาย หลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จงึ กำ�หนดเป็นจุดหมายเพ่อื ให้เกดิ กบั ผู้เรยี น เมื่อจบการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ดงั น้ี 1) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มที่พึงประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเอง มีวนิ ัยและ ปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถอื ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง 2) มคี วามรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และ มีทักษะชีวติ 3) มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตที่ดี มีสุขนิสยั และรกั การออกกำ�ลงั กาย 4) มคี วามรกั ชาติ มจี ติ ส�ำ นกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวถิ ชี วี ติ และ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ 5) มีจิตสำ�นึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำ�ประโยชน์และสร้างส่ิงท่ีดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคม อย่างมีความสขุ 1.3 สมรรถนะส�ำ คัญของผ้เู รยี น หลกั สตู รสถานศึกษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มงุ่ ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะส�ำ คัญ 5 ประการ ดังน้ี 1) ความสามารถในการสอื่ สาร เปน็ ความสามารถในการรับและสง่ สาร มวี ฒั นธรรม ในการใชภ้ าษาถา่ ยทอดความคดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ ความรสู้ กึ และทศั นะของตนเองเพอื่ แลกเปลยี่ น ข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้ง การเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร ด้วยหลกั เหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ ีการสอ่ื สาร ที่มปี ระสทิ ธิภาพโดยค�ำ นงึ ถึง ผลกระทบทมี่ ีตอ่ ตนเองและสงั คม 2) ความสามารถในการคดิ เปน็ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำ�ไปสู่การสร้าง องค์ความรูห้ รอื สารสนเทศเพอื่ การตัดสินใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3) ความสามารถในการแกป้ ญั หา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรค ต่าง ๆ ท่ีเผชญิ ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณต์ า่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ ความรมู้ าใชใ้ นการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา และมกี ารตดั สนิ ใจทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยค�ำ นงึ ถงึ ผลกระทบ ท่เี กดิ ขึ้นตอ่ ตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม 37รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอั ง 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการน�ำ กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำ�เนินชีวิตประจำ�วัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การท�ำ งาน และ การอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพ แวดล้อม และการรจู้ ักหลกี เลีย่ งพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี ดา้ นตา่ ง ๆ และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทำ�งาน การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม 1.4 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมี ความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ประกอบด้วย 1) รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2) ซอื่ สตั ย์ สุจริต 3) มีวินัย 4) ใฝ่เรียนรู้ 5) อยู่อย่างพอเพียง 6) มุ่งม่ันในการทำ�งาน 7) รักความเป็นไทย 8) มจี ิตสาธารณะ 1.5 มาตรฐานการเรยี นรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำ�นึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและ พหปุ ญั ญา หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จงึ ก�ำ หนดใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย 1) ภาษาไทย 2) คณิตศาสตร์ 3) วทิ ยาศาสตร์ 4) สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5) สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 6) ศิลปะ 7) การงานอาชพี และเทคโนโลยี และ 8) ภาษาตา่ งประเทศ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำ�หนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำ�คัญของ การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะบสุ งิ่ ทผี่ เู้ รยี นพงึ รู้ ปฏบิ ตั ไิ ด้ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม และ คา่ นยิ มทพ่ี งึ ประสงคเ์ มอ่ื จบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน นอกจากนน้ั มาตรฐานการเรยี นรยู้ งั เปน็ กลไกส�ำ คญั ในการขบั เคลอื่ นพฒั นาการศกึ ษาทง้ั ระบบ เพราะมาตรฐานการเรยี นรจู้ ะสะทอ้ นใหท้ ราบวา่ ตอ้ งการ อะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมท้ังเป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกัน คณุ ภาพการศกึ ษาโดยใชร้ ะบบการประเมนิ คณุ ภาพภายในและการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ซงึ่ รวมถงึ การทดสอบระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือประกัน คณุ ภาพดงั กลา่ วเปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ทชี่ ว่ ยสะทอ้ นภาพการจดั การศกึ ษาวา่ สามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพ ตามทม่ี าตรฐานการเรียนร้กู �ำ หนดเพียงใด 2) หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เกย่ี วกบั สมรรถนะ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน (Standards-Based Curriculum) ซ่ึงเป็นผลผลิตของการทบทวนหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 ท่ีสืบเน่อื งมาจากเจตนารมณข์ องพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 38รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วขัอง และแก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ทมี่ ่งุ เน้นให้มีการกระจายอ�ำ นาจทางการศึกษาให้ทอ้ งถนิ่ รวมทง้ั สถานศกึ ษามบี ทบาทและมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของตนมากขนึ้ (สำ�นักนายกรัฐมนตรี, 2542) จากข้อค้นพบของการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตรการ ศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และแนวทางพัฒนาเยาวชนไทยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 10 (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2549) กระทรวงศึกษาธิการ ไดม้ กี ารพฒั นาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ทม่ี คี วามเหมาะสม ชดั เจน ยิ่งขึ้น ทั้งด้านเป้าหมายของหลักสูตร และกระบวนการนำ�หลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ซึ่งจากการศึกษาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 จะเห็นได้ว่ามีการก�ำ หนดโครงสรา้ งหวั ข้อไวท้ งั้ หมด 24 หวั ขอ้ สามารถจัดกลุ่มหัวข้อต่าง ๆ ได้ 3 ด้าน ดังน้ี 1) ด้านความเป็นมาและเป้าหมายของหลักสูตร ประกอบด้วยหัวข้อ ความนำ� วิสัยทัศน์ หลกั การ และจุดหมาย 2) ดา้ นคณุ ภาพของผเู้ รยี น ประกอบดว้ ยหัวขอ้ สมรรถนะส�ำ คัญของผ้เู รียน คณุ ลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน การเรยี นรแู้ ละตัวชี้วดั และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น 3) ด้านการนำ�หลักสูตรไปใช้และการบริหารจัดการหลักสูตร ประกอบด้วยหัวข้อ ระดบั การศกึ ษา การจดั เวลาเรยี น โครงสรา้ งเวลาเรยี น การจดั การศกึ ษาส�ำ หรบั กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ การจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การวัดและประเมินผล การเรียน เอกสารหลักฐานการศึกษา การเทียบโอนผลการเรียน และการบริหารจัดการหลักสูตร (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551) เมื่อพิจารณาเกี่ยวกับด้านสมรรถนะของผู้เรียนจากการศึกษาเนื้อหาในหลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พบว่าหลักสูตรมีการกำ�หนดหัวข้อสมรรถนะ สำ�คัญของผู้เรียนไว้ชัดเจน โดยมีการกำ�หนดสมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียนไว้ 5 ประการ ได้แก่ 1) ความสามารถในการส่ือสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และ 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และเมื่อศึกษา มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วดั ของกลมุ่ สาระการเรยี นร้ทู ั้ง 8 กลุม่ จะเห็นว่ามาตรฐานการเรยี นรู้ สว่ นใหญ่จะมงุ่ เนน้ ที่ความรคู้ วามเขา้ ใจในเนอ้ื หาสาระ สว่ นตวั ชว้ี ดั แต่ละตวั ประกอบไปด้วยความรู้ ท่เี ปน็ เน้อื หาของแต่ละสาระการเรียนรู้และทกั ษะยอ่ ย ๆ เชน่ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษา มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ ตวั ช้ีวัดชน้ั ปี ป.1 1. บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย 2. เขียนสะกดคำ�และบอกความหมายของคำ� 3. เรียบเรยี งคำ�เปน็ ประโยคง่าย ๆ 39รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ียวขอั ง จากตวั อยา่ งของมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ของกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ มาตรฐานการเรียนรู้มุ่งให้เด็กเกิดความเข้าใจ ยังไม่เห็นภาพเชื่อมโยงถึงสมรรถนะสำ�คัญของ ผ้เู รยี น แม้ตัวบ่งช้จี ะสะทอ้ นใหเ้ หน็ ทง้ั เนอ้ื หาสาระและทักษะของผเู้ รยี นก็ตาม นอกจากนี้ เมือ่ พจิ ารณาถงึ ขอ้ ความในหวั ขอ้ คุณภาพผเู้ รียน พบวา่ เนื้อหาสว่ นใหญ่มงุ่ เน้น ใหผ้ ้เู รยี นมีความรคู้ วามเข้าใจเป็นหลัก เช่น คุณภาพผู้เรยี นกล่มุ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 มีความรู้ความเข้าใจและความรู้สึกเชิงจำ�นวนเกี่ยวกับจำ�นวนนับไม่เกินหน่ึงแสน และศูนย์ และการด�ำ เนนิ การของจำ�นวน สามารถแก้ปญั หาเกี่ยวกบั การบวก การลบ การคณู และ การหาร พร้อมทงั้ ตระหนกั ถงึ ความสมเหตุผลของคำ�ตอบทไี่ ด้ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ําหนัก ปริมาตร ความจุ เวลา และเงิน สามารถวัดได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และนำ�ความรู้เก่ียวกับการวัดไปใช้แก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับรูปสามเหล่ียม รูปส่ีเหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี ทรงส่ีเหลี่ยมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก รวมทัง้ จดุ สว่ นของเสน้ ตรง รังสี เส้นตรง และมุม มีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับแบบรูป และอธบิ ายความสมั พนั ธ์ได้ รวบรวมขอ้ มลู และจ�ำ แนกขอ้ มลู เกย่ี วกบั ตนเองและสงิ่ แวดลอ้ มใกลต้ วั ทพ่ี บเหน็ ในชวี ติ ประจำ�วันและอภปิ รายประเด็นตา่ ง ๆ จากแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมแิ ทง่ ได้ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการส่ือสาร การสอื่ ความหมาย และการน�ำ เสนอไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เชอื่ มโยงความรตู้ า่ ง ๆ ในคณติ ศาสตรแ์ ละเชอื่ มโยง คณติ ศาสตร์กบั ศาสตรอ์ น่ื ๆ มีความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551) จากการศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 วเิ คราะห์ได้ว่า ถึงแม้หลักสูตรมีการกำ�หนดสมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียนไว้ชัดเจนแต่ยังขาดถึงความเชื่อมโยง ท่ีชัดเจนระหว่างสมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียนกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของแต่ละ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ และยงั ไมเ่ ห็นสมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียนท่ีชดั เจนในหัวขอ้ คณุ ภาพผเู้ รยี นของ แต่ละกลุม่ สาระการเรยี นรู้ 40รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วขัอง 2) งานวจิ ัยท่ีเกีย่ วข้อง มูลนิธิการวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ ได้ศึกษาเพื่อวิเคราะห์ความสอดคล้องของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 พบว่า ในด้านเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ตามแนวทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 น้ัน แม้จะมีการระบุถึง สมรรถนะส�ำ คญั ของผเู้ รยี น ไดแ้ ก่ ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถ ในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั แนวคิดทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 รวมถึงมเี น้อื หาทีร่ ะบใุ ห้เหน็ ความสำ�คัญของทักษะปรากฏอยูบ่ า้ ง เชน่ “มคี วามรอู้ นั เปน็ สากลและมคี วามสามารถในการสอ่ื สาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ิต” ในหัวขอ้ “จุดหมาย” แตโ่ ดยรวมแลว้ ทกั ษะและความรูท้ ีจ่ ำ�เปน็ ในศตวรรษท่ี 21 ยงั ไมไ่ ดร้ บั ความสำ�คญั ในฐานะ “เป้าหมายหลกั ” อย่างชัดเจนรวมถงึ ยงั ไม่ถกู รอ้ ยโยงเข้ากบั เน้ือหา ส่วนอน่ื โดยเฉพาะในส่วนของตวั ชว้ี ดั ความกำ�กวมและไมช่ ัดเจนน้อี าจทำ�ให้โรงเรียนและครผู ู้สอน ทเี่ ปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบการเรยี นการสอนในระดบั ปฏบิ ตั เิ กดิ ความสบั สนและไมแ่ นใ่ จถงึ ระดบั ความส�ำ คญั ของทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 เมือ่ เปรยี บเทียบกับเปา้ หมายดา้ นคณุ คา่ และคณุ ลกั ษณะซงึ่ ดูจะได้รบั ความส�ำ คัญมากกวา่ ในสว่ นของเป้าหมาย โดยทีค่ ณุ คา่ เหล่านน้ั มีลักษณะที่กวา้ งเกนิ ไปและบางสว่ น กข็ ดั แย้งกบั แนวคิดทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ด้านการจัดการเรียนรู้และการวัดผลตามแนวทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในแง่ ของหลักการนั้น มีความสอดคล้องกับแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 แต่แนวคิดดังกล่าว ไม่สอดคล้องกับการจัดโครงสร้างเวลาเรียนที่มีการตีกรอบชัดเจน และมีการออกแบบตัวชี้วัด ที่ค่อนข้างอิงเนื้อหาในระดับชั้นปีทำ�ให้อาจจำ�กัดอิสรภาพในการออกแบบการเรียนรู้ตามแนวทาง ของหลักสูตรสถานศึกษา ส่วนสื่อการเรียนรู้ในหลักสูตรระบุให้ออกแบบส่ือการเรียนรู้อิงตัวช้ีวัด ซ่ึงอิงเน้ือหาเป็นหลัก รวมท้ังการวัดผลแม้ว่ามีการส่งเสริมให้ใช้วิธีการประเมินท่ีหลากหลายแต่ก็ กำ�หนดให้วัดผลอิงตัวช้ีวัดเช่นกัน จากการวิเคราะห์พบว่า แม้ในเชิงหลักการของการจัดการเรียนรู้ และการวดั ผลในหลักสตู รจะมหี ลายส่วนทส่ี อดคลอ้ งกบั แนวคดิ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 แตต่ ัวชีว้ ัด ทอ่ี อกแบบโดยองิ เนอ้ื หาคอ่ นขา้ งมากและโครงสรา้ งเวลาเรยี นทก่ี �ำ หนดกรอบชดั เจนไมส่ อดคลอ้ งกบั หลกั การในการเรยี นรูต้ ามแนวคิดทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ในการวิเคราะห์ตัวชี้วัดตามแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 พบว่า ปัญหาสำ�คัญอยู่ท่ี การออกแบบตัวช้ีวัดที่มีรายละเอียดเชิงเน้ือหามากเกินไปทุกชั้นปี ทำ�ให้หลักสูตรแกนกลางท่ีเป็น “หลักสูตรอิงมาตรฐาน” กลายเป็น “หลักสูตรอิงเน้ือหา” มากกว่า และแม้มาตรฐานการเรียนรู้ ในบางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เชน่ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ จะออกแบบมาโดยเนน้ ทกั ษะและกระบวนการคดิ แต่ตัวชี้วัดไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีหลายส่วนที่ยังยึดเน้ือหาเป็นหลัก ตัวช้ีวัดที่ค่อนข้าง องิ เนอื้ หา สง่ ผลใหเ้ กดิ ขอ้ จ�ำ กดั ในการออกแบบหลกั สตู รสถานศกึ ษา รวมทงั้ จดั การเรยี นรเู้ ชงิ บรู ณาการ ไดย้ าก และเนอ่ื งจากมขี ้อจำ�กดั ดา้ นเวลาท�ำ ให้ใชเ้ ทคนิคการสอนที่ดึงใหเ้ ด็กเขา้ มามสี ว่ นร่วมได้น้อย 41รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วขัอง มาเรียม นลิ พันธุ์ และคณะ (2556) ได้วจิ ยั เรอื่ งการประเมนิ ผลการใช้หลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตร โดยมีวัตถุประสงค์ เพอื่ ประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และศกึ ษาแนวทาง การพัฒนาความเข้มแข็งทางวิชาการของโรงเรียนต้นแบบใช้หลักสูตร การวิจัยน้ีใช้รูปแบบการวิจัย แบบผสมผสานวธิ ี (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอยา่ ง เปน็ โรงเรียนต้นแบบการใช้หลกั สตู ร แกนกลางศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ยี คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน และการวเิ คราะห์เนือ้ หา ผลการวิจัย พบว่า ด้านการใช้หลักสูตรนั้น หลักสูตรมีวิสัยทัศน์ หลักการ จุดมุ่งหมาย ที่ชัดเจนเน้นเป้าหมายการจัดการศึกษา แต่มีรายละเอียดมาก มีการกำ�หนดสมรรถนะสำ�คัญของ ผู้เรียนไว้ครอบคลุมแต่เป็นภาพกว้างซ่ึงปฏิบัติได้ยาก การวัดประเมินผลควรมีตัวชี้วัดและแนวทาง การวัดและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ในระดับช้ันประถมศึกษา ชนั้ ปีท่ี 1 - 3 ควรปรบั ให้นอ้ ยลง และเน้นการอา่ นออกเขียนได้ คิดเลขเป็น และเน้นการบูรณาการ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั ชดั เจน แตม่ จี �ำ นวนมากและมคี วามซา้ํ ซอ้ นระหวา่ งกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ บางมาตรฐานไม่เหมาะกับระดับผู้เรียนควรมีการทบทวนโดยการบูรณาการและตัวช้ีวัดช่วงชั้น ควรปรบั เป็นตวั ช้ีวัดช้นั ปี ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร มีคณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตรและงานวิชาการ สถานศึกษา แต่ผู้บริหารและครูผู้สอนส่วนหน่ึงยังขาดความรู้ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร อยา่ งแท้จรงิ ขาดการเป็นผ้ดู แู ล พเ่ี ลีย้ งและการชว่ ยเหลือ (Mentoring and Coaching) ท่ีเกีย่ วขอ้ ง กับหลักสูตร การสอนและการประเมิน ส่วนใหญ่เป็นการดำ�เนินงานของกลุ่มบุคคลเพียงไม่กี่คน ส่งผลให้การดำ�เนินงานไม่เป็นระบบ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สำ�นักงาน เขตพนื้ ที่ศึกษาควรมีการให้คำ�แนะน�ำ ช่วยเหลอื นเิ ทศ ตดิ ตาม การใช้หลกั สูตร ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน มกี ารจัดการเรยี นการสอนตามหลักสตู ร แต่บางส่วนยังสอน แบบเดิม สอนโดยไม่องิ มาตรฐาน ตัวชี้วดั หลกั สูตรสถานศึกษา ยงั ขาดความเขา้ ใจในการวเิ คราะห์ มาตรฐานการเรยี นรู้ตวั ชวี้ ดั เพอ่ื น�ำ ไปสู่การสอน และการสอนยังไม่เอ้ือใหผ้ ้เู รียนสร้างความรไู้ ด้ด้วย ตวั เองควรพฒั นาครใู หเ้ ขา้ ใจ วเิ คราะหห์ ลกั สตู รเพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารสอนและการประเมนิ ผลเนน้ การสอน ทส่ี ง่ เสรมิ การคดิ วเิ คราะห์ ด้านการออกแบบหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ มีองค์ประกอบของ หน่วยการเรียนรู้ส่วนใหญ่ครบถ้วน แต่เน้ือหาและสาระสำ�คัญในแต่องค์ประกอบไม่สอดคล้องกัน ครูส่วนหน่ึงขาดความเข้าใจในกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีอิงมาตรฐาน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ เน่ืองจากครูขาดความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจนในการออกแบบการเรียนรู้ที่อิง มาตรฐาน ประกอบกับปัจจัยด้านภาระงานมากสอนหลายระดบั ชั้น หลายวิชา จงึ ไมม่ ีเวลาเพียงพอ ดังนั้น สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานหรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องควรให้ความรู้ เรื่องการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ เทคนิคการสอน วิธีการสอนท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียน สร้างองค์ความรู้ดว้ ยตัวเอง 42รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวขอั ง ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีการระบุเกณฑก์ ารประเมินผลแตล่ ะระดบั ชัดเจน แต่ส่วนใหญย่ ังเนน้ การวัดและประเมินผลในระดับความรู้ ความจำ� และยังไมอ่ ิงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด การวัดผลและประเมินผลระดับชาติ ยังไม่ครอบคลุมและสอดคล้องกับมาตรฐานตัวช้ีวัด การวัดและประเมินผลการเรียนระดับช้ันเรียน พบว่า ครูขาดการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด ขาดความรู้ในการสร้างเกณฑ์การประเมินรูปแบบต่าง ๆ รวมท้ังเทคนิคและวิธีการวัดและ การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ควรมกี ารเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจ กบั ครูในการวัดและประเมินผลขนั้ สูงและเนน้ การประเมินเพ่อื พฒั นา ด้านคณุ ภาพผ้เู รียนตามมาตรฐานและตวั ช้วี ดั มีการระบไุ ว้ชัดเจนแตย่ ังไม่สะทอ้ นคุณภาพ ผู้เรียนด้านคนดี และคุณภาพผู้เรียนจากการทดสอบระดับชาติ ไม่สามารถบ่งบอกความสามารถ ท่ีแท้จริง ควรมีการพิจารณาเพิ่มตัวชี้วัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนหรือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทสี่ ะทอ้ นความเปน็ คนดี และการทดสอบระดบั ชาตคิ วรสมั พันธ์กบั มาตรฐานและตัวชีว้ ัด ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา พบว่า การบริหารจัดการหลักสูตรส่วนหน่ึง ยังขาดการมีส่วนร่วม และการติดตามผลที่เป็นระบบ ควรเน้นให้บุคลากรในโรงเรียนมีส่วนร่วมใน การพัฒนาหลักสูตร และควรมีการนิเทศติดตามเพื่อช่วยเหลือครูในการจัดการเรียนรู้และ การประเมนิ ผลโดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศ (Supervision) การช่วยเหลอื (Coaching) การเป็นผู้ดูแล พเ่ี ลยี้ ง (Mentoring) การดูแลติดตาม (Mentoring) การทำ�วิจัยในช้ันเรียน (Classroom Action Research) มกี ารบรหิ ารแบบเครือข่าย (Network) 4. สมรรถนะและหลักสูตรฐานสมรรถนะ สมรรถนะและหลักสูตรฐานสมรรถนะ ประกอบด้วย ความหมาย ความสำ�คัญ ประเภท สมรรถนะของประเทศตา่ ง ๆ และหลกั สตู รฐานสมรรถนะ ดงั น้ี 4.1 ความหมายของสมรรถนะ (Competency) Competency มคี วามหมายตามพจนานกุ รมวา่ ความสามารถหรอื สมรรถนะ ในภาษา องั กฤษมคี �ำ ทมี่ คี วามหมายคลา้ ยกนั อยหู่ ลายค�ำ ไดแ้ ก่ Capability, Ability, Proficiency, Expertise, Skills, Fitness, Aptitude จากการศึกษาเอกสารต่างประเทศพบว่า มีผู้ให้ความหมายของสมรรถนะไว้หลายท่าน ดงั นี้ McClelland (1993) ได้ให้คำ�จำ�กัดความของสมรรถนะ (Competency) ไว้ว่าเป็น บุคลิกลักษณะที่ซ่อนอยู่ในปัจเจกบุคคล ซึ่งสามารถผลักดันให้ปัจเจกบุคคลน้ันสร้างผลการปฏิบัติ งานทดี่ ีหรอื ตามเกณฑท์ กี่ �ำ หนดในงานที่ตนรับผดิ ชอบ 43รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลักสูตรการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอั ง Spencer and Spencer (1993) ใหค้ วามหมายทส่ี อดคลอ้ งกบั McClelland วา่ สมรรถนะ คอื คณุ ลกั ษณะของบคุ คล และไดข้ ยายความหมายของสมรรถนะไวว้ า่ สมรรถนะเปน็ ลกั ษณะเฉพาะ ของแตล่ ะบุคคล (Underlying Characteristic) เป็นเหตหุ ลกั ทส่ี ง่ ผลให้สามารถปฏิบัติงานไดอ้ ย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพหรอื ปฏบิ ตั งิ านได้ผลสงู สดุ Richard Boyatzis (1982) ไดเ้ ขยี นหนงั สอื ช่อื The Competence Manager: A Model of Effective Performance และไดใ้ ห้คำ�นยิ ามคำ�วา่ Competencies เป็นความสามารถในงาน หรือเปน็ คณุ ลกั ษณะท่อี ยู่ภายในบุคคลทน่ี ำ�ไปส่กู ารปฏบิ ตั งิ านให้เกดิ ประสิทธภิ าพ Good (1973) ไดใ้ หค้ วามหมายของสมรรถนะวา่ หมายถงึ ทกั ษะ (Skill) ความคดิ รวบยอด (Concept) และเจตคติ (Attitude) ทตี่ อ้ งมใี นการปฏบิ ตั งิ านทกุ ประเภท เปน็ ความสามารถอยา่ งหนงึ่ ในการน�ำ เอาหลกั การแนวคดิ ทฤษฎรี วมทง้ั เทคนคิ ในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั ถานการณจ์ รงิ เพ่ือทำ�งานและแกป้ ัญหาไดผ้ ลอย่างสูงสุด Winert (2001) ไดน้ �ำ เสนอสมรรถนะในลกั ษณะทวั่ ไปวา่ เปน็ ระบบทมี่ ลี กั ษณะพเิ ศษอนั หนง่ึ ของความสามารถ (Abilities) ศกั ยภาพ (Proficiencies) หรอื ทกั ษะ (Skills) ซง่ึ เปน็ ที่จำ�เปน็ หรือ เพยี งพอ เพื่อที่จะใหส้ ามารถบรรลุเปา้ หมายตามทีก่ ำ�หนดเฉพาะหนงึ่ ๆ ทางสงั คม และทางมรรควิธี ในสถานประกอบการหรอื ระหวา่ งการเรยี น รวมถงึ การพฒั นาของบคุ คลและการงานอาชพี ในบรบิ ท ของกรอบคณุ สมบตั ขิ องยโุ รป สมรรถนะถูกอธิบายในเรอ่ื งของความรับผิดชอบและการพง่ึ พาตนเอง สำ�หรับนกั วชิ าการหรอื หน่วยงานของไทยได้ให้ความหมายของสมรรถนะไว้ ดังนี้ ส�ำ นกั คณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น (2548) ได้ให้ความหมายสมรรถนะวา่ เปน็ กลมุ่ ของความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ตลอดจนทศั นคตขิ องบคุ คลทจ่ี �ำ เปน็ ในการท�ำ งานใหส้ ามารถท�ำ งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นคุณลักษณะของบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมและผลของ การปฏิบัติงาน ซึ่งคุณลักษณะเหล่าน้ี ประกอบข้ึนจากทักษะ ความรู้ความสามารถ ทัศนคติ บุคลิกภาพ ค่านิยมของบุคคลหรือพฤติกรรมของผู้ที่ผลการปฏิบัติงานยอดเย่ียมในงานหนึ่ง สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2551) กล่าวว่า สมรรถนะ หมายถึง พฤติกรรม ทเี่ กิดจากความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) ความสามารถ (Ability) และคุณลักษณะส่วนบคุ คล (Other Characteristics) ทีท่ �ำ ให้บคุ คลปฏิบัตงิ านได้ส�ำ เรจ็ และบรรลุผลสัมฤทธข์ิ ององคก์ ร ฐติ พิ ฒั น์ พชิ ญธาดาพงศ์ (2548) สรปุ วา่ สมรรถนะหมายถงึ ความรู้ ทกั ษะ และคณุ ลกั ษณะ ท่ีจำ�เป็นในการปฏิบัติงานใดงานหน่ึงให้ประสบความสำ�เร็จในสถานการณ์ที่หลากหลายกว่าและ ไดผ้ ลงานดีกว่าคนอ่ืน เสน่ห์ จุ้ยโต (2549) ได้ให้ความหมายของสมรรถนะ (Competency) คอื คณุ ลกั ษณะ เชิงพฤติกรรมของบุคลากร ที่ทำ�ให้สามารถทำ�งานในหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายประสบผลสำ�เร็จ อยา่ งดีเย่ยี ม (Superior performer) และแสดงบทบาท (Role) ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สกุ ญั ญา รศั มธี รรมโชติ (2548) ใหค้ วามหมายสมรรถนะ คอื ความรู้ ทกั ษะและคณุ ลกั ษณะ ส่วนบคุ คลทท่ี ำ�ให้บคุ คลนัน้ ทำ�งานในความรับผิดชอบของตนไดด้ ีกวา่ ผูอ้ ่ืน 44รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วขอั ง อัจริยา วัชราวิวัฒน์ (2544) กล่าวว่า สมรรถนะ หมายถึง ความสามารถท่ีประกอบ ด้วยความรู้ ความคิด เจตคติ และการปฏิบัติท่บี ุคคลพึงมีในการท่ีจะปฏบิ ตั ิ หรอื จัดท�ำ สิง่ ใดสิง่ หนึง่ ให้ประสบผลสำ�เร็จบรรลุตามจุดประสงค์ท่ีกำ�หนดและสามารถแสดงออกมาให้เห็นได้ในรูปของ พฤตกิ รรมทางความรู้ เจตคติและการกระทำ�ที่ดี ปยิ ะชยั จันทรวงศไ์ พศาล (2549) กล่าววา่ Competency หมายถงึ ทักษะ ความรู้และ ความสามารถหรอื พฤตกิ รรมของบคุ ลากรทจ่ี �ำ เปน็ ตอ่ การปฏบิ ตั งิ านเพอื่ ใหม้ นั่ ใจวา่ จะสามารถ ท�ำ งาน จนบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายของงานนน้ั ธำ�รงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์ (2553) กล่าวว่า สมรรถนะ หมายถึง ความรู้ความสามารถ ความชำ�นาญ แรงจูงใจหรือคุณลักษณะท่ีเหมาะสมของบุคคลที่จะสามารถปฏิบัติงาน ให้ประสบ ผลสำ�เร็จ จากความหมายทกี่ ลา่ วมาจะเหน็ ไดว้ า่ สมรรถนะเปน็ สงิ่ ทป่ี ระกอบขนึ้ มาจาก ความรู้ ทกั ษะและ คณุ ลกั ษณะ ดงั นน้ั การมเี พยี งความรแู้ ละทกั ษะนน้ั ยงั ไมถ่ อื เปน็ สมรรถนะ จนกวา่ จะสามารถน�ำ ความรู้ และทักษะน้ันมาประยุกต์ใช้กับงานทำ�งานให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีอย่างชัดเจน ประสบความสำ�เร็จ ในการปฏิบัติงานสูงกว่ามาตรฐาน จึงจะถือเป็นสมรรถนะ ดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่าสมรรถนะ เปน็ พฤตกิ รรมเชงิ คณุ ลกั ษณะสว่ นบคุ คลและความสามารถทแ่ี สดงออกใหเ้ หน็ ถงึ การการประยกุ ตใ์ ช้ ความรู้ ทกั ษะรวมทงั้ พฤตกิ รรมการท�ำ งานในบทบาทและสถานการณต์ า่ ง ๆ ทที่ �ำ ใหป้ ระสบความส�ำ เรจ็ ในการปฏิบัตงิ านไดอ้ ยา่ งโดดเดน่ กว่าคนอนื่ ๆ กอ่ ให้เกิดผลลัพธ์ตามท่อี งค์กรตอ้ งการ โดยมพี ืน้ ฐาน มาจากความรู้ ทกั ษะ ความสามารถ คณุ ลกั ษณะสว่ นบคุ คล อนั ไดแ้ ก่ วธิ คี ดิ อุปนสิ ัย และแรงจงู ใจ 4.2 ความส�ำ คญั ของสมรรถนะ ในปัจจุบันสังคมมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ภาคธุรกิจมีการแข่งขันอย่างรุนแรง องค์กร ยคุ ใหม่ จงึ ใหค้ วามส�ำ คญั กบั การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยใ์ หม้ คี ณุ ภาพ เนอื่ งจากหากองคก์ รใดมบี คุ ลากร ทมี่ คี ณุ ภาพกย็ อ่ มสามารถปฏบิ ตั งิ านไดป้ ระสบความส�ำ เรจ็ และน�ำ พาองคก์ รไปสเู่ ปา้ หมายได้ อยา่ งไร ก็ตามการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไม่ใช่เร่ืองง่าย ทำ�อย่างไรบุคลากรขององค์กรจึงจะเป็นคนท่ีมี คุณภาพ สามารถปฏบิ ัตงิ านไดป้ ระสบความส�ำ เร็จ ดังทีม่ งุ่ หวงั ความสำ�คัญของสมรรถนะ ในโลกของการแข่งขันทางธุรกิจมีการวิจัยพบว่า การพัฒนา คน คู่แข่งจะสามารถตามทันต้องใช้เวลา 7 ปี ในขณะที่เทคโนโลยีใช้เวลาเพียง 1 ปีก็ตามทัน เพราะซือ้ หาได้ ดงั นั้นสมรรถนะจึงมคี วามสำ�คัญต่อการปฏบิ ัตงิ านของขา้ ราชการและองคก์ าร ดังนี้ 1) ช่วยให้การคัดสรรบุคคลที่มีลักษณะดีทั้งความรู้ทักษะและความสามารถตลอดจน พฤตกิ รรมท่เี หมาะสมกับงานเพื่อปฏบิ ตั งิ านให้ส�ำ เร็จตามความตอ้ งการขององค์กรอย่างแท้จรงิ 2) ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึงระดับความสามารถของตัวเองว่าอยู่ในระดับใด และต้องพฒั นาในเรอื่ งใดช่วยใหเ้ กดิ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองมากขนึ้ 3) ใช้ประโยชน์ในการพฒั นาฝึกอบรมแกข่ ้าราชการ บคุ ลากร 45รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กยี่ วขอั ง 4) ช่วยสนับสนุนใหต้ ัวชว้ี ัดหลกั ของผลงาน (KPIs) บรรลเุ ป้าหมาย เพราะ Competency จะเป็นตัวบ่งบอกได้ว่า ถ้าต้องการให้บรรลุเป้าหมายตาม KPIs แล้ว จะต้องใช้ Competency ดา้ นใดบ้าง 5) ป้องกนั ไม่ใหผ้ ลงานเกดิ จากโชคชะตาเพียงอยา่ งเดียว เช่น ยอดขายของพนักงานขาย เพ่ิมข้ึนสูงกว่าเป้าท่ีกำ�หนดทั้ง ๆ ที่พนักงานขายคนน้ันไม่ค่อยตั้งใจทำ�งานมากนัก แต่เนื่องจาก ความต้องการของตลาดสูง จึงทำ�ให้ยอดขายเพ่ิมขึ้นเองโดยไม่ต้องลงแรงอะไรมาก แต่ถ้ามีการวัด Competency แล้ว จะทำ�ให้สามารถตรวจสอบได้ว่าพนักงานคนนั้นประสบความสำ�เร็จเพราะ โชคชว่ ยหรอื ด้วยความสามารถของเขาเอง 6) ช่วยให้เกิดการหล่อหลอมไปสู่สมรรถนะขององค์กรท่ีดีข้ึน เพราะถ้าทุกคนปรับ Competency ของตวั เองใหเ้ ขา้ กบั ผลงานทอี่ งคก์ รตอ้ งการอยตู่ ลอดเวลาแลว้ ในระยะยาวกจ็ ะสง่ ผล ให้เกิดเป็น Competency เฉพาะขององค์กรนั้น ๆ เช่น เป็นองค์การแห่งการคิดสร้างสรรค์ เพราะทุกคนในองค์การมี Competency ในเรื่องการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) นอกจากการใชส้ มรรถนะในการพฒั นาบคุ ลากรแลว้ หนว่ ยงานยงั สามารถน�ำ ระบบ สมรรถนะ ไปใช้ในการบรหิ ารงานบุคคลในมิตติ า่ ง ๆ ดังนี้ 1) การสรรหาและคัดเลือกบุคคล (Recruitment and Selection) หน่วยงานสามารถ น�ำ สมรรถนะของต�ำ แหนง่ ที่ต้องการสรรหา และคัดเลอื กบคุ คลเขา้ รับราชการไปท�ำ เป็นแบบทดสอบ หรือแบบสัมภาษณ์เพ่ือคัดเลือกบุคคลท่ีมีคุณลักษณะท่ีดี มีความรู้ทักษะ ความสามารถตลอดจน พฤตกิ รรมทเี่ หมาะสมกบั ต�ำ แหนง่ งาน เพอ่ื ใหไ้ ดค้ นทม่ี ผี ลการปฏบิ ตั งิ านตรง ตามทหี่ นว่ ยงานตอ้ งการ อยา่ งแทจ้ รงิ 2) การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของบคุ คล (Performance Appraisal) ผบู้ รหิ ารหนว่ ยงาน สามารถนำ�ผลการประเมินสมรรถนะ Competency Gap ของเจ้าหน้าท่ีมาใช้ให้สอดคล้องกับ การประเมินผลการปฏิบัติงานซง่ึ แสดงถึงการพัฒนาตนเองตามแผนพัฒนารายบุคคล 3) การให้รางวัลและค่าตอบแทน (Reward and Compensation) การบริหารงาน ภาครัฐในแนวใหมไ่ ดน้ ำ�ระบบการใหร้ างวัลและคา่ ตอบแทนมาใชเ้ พิ่มเติม จากการเล่ือนข้นั เงนิ เดือน อยา่ งเดยี ว เปน็ การบรหิ ารค่าตอบแทนทีส่ ามารถชว่ ยเพ่ิมแรงจงู ใจให้เจ้าหน้าทม่ี ีความกระตือรือรน้ ในการพัฒนาตนเองและพฒั นางานมากข้นึ การน�ำ ระบบสมรรถนะมาใช้จะช่วยใหก้ ารใหร้ างวลั และ คา่ ตอบแทนแกผ่ ทู้ ม่ี สี มรรถนะในการท�ำ งานสงู จะไดร้ บั คา่ ตอบแทนทสี่ งู กวา่ บคุ ลากรจะเหน็ ความส�ำ คญั ในการพฒั นาตนเองใหส้ งู ยงิ่ ขนึ้ สง่ ผลใหส้ มรรถนะขององคก์ รยง่ิ สงู ขนึ้ ตามไปดว้ ย นอกจากนน้ั ยงั ชว่ ย ใหก้ ารบรหิ ารคา่ ตอบแทนและการใหร้ างวัลมีความโปร่งใสและเป็นธรรมมากยง่ิ ขึ้น 4) การวางแผนความกา้ วหนา้ ทางอาชพี (Career Planning and Succession Plan) ระบบ สมรรถนะท�ำ ให้หน่วยงานสามารถทราบจดุ แขง็ และจุดออ่ นของเจา้ หน้าทท่ี ี่มอี ยู่ และทราบถึงทักษะ หรือความสามารถทจี่ ำ�เป็นสำ�หรบั ตำ�แหน่งเปา้ หมายในอนาคตของเจ้าหน้าท่ีแต่ละคน 46รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรบั หลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกยี่ วขอั ง 5) การประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ (Result-Based Management) การประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิ (RBM) ในปัจจุบันจะยึดยุทธศาสตร์ขององค์การเป็นหลักโดยมีตัวช้ีวัด (KPIs) ในระดับต่าง ๆ เป็นตัวบ่งช้ี ความส�ำ เรจ็ ปจั จบุ นั ขา้ ราชการตอ้ งเปน็ กลไกส�ำ คญั ในการพฒั นาประเทศโดยท�ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ แกนหลกั ในการน�ำ นโยบายของรฐั ไปปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และสนองตอบความตอ้ งการ ของประชาชน การเปล่ียนแปลงของสังคมและเศรษฐกิจมีผลทำ�ให้ ข้าราชการต้องปฏิบัติงานแบบ มืออาชพี มากขึน้ จากเหตุเหล่านกี้ ารสร้างราชการใสสะอาดจึงเปน็ กลยุทธ์ทางบวกที่มโี อกาสส�ำ เรจ็ ได้เร็ว วิธีการโดยดึงพลังส่วนดีของมนุษย์ออกมา พร้อมกับใช้พลังของสังคมควบคุมให้ข้าราชการ มีพฤติกรรมในทางสร้างสรรค์ส่ิงดีต่อสังคมแทนการเอาเปรียบ และคำ�นึงถึงแต่ประโยชน์ส่วนตน และหมู่คณะ ท้ังน้ี จึงต้องสร้างคุณภาพของคนในภาครัฐให้มีคุณธรรม และจริยธรรมเป็นฐาน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ตอ้ งชว่ ยกนั สง่ เสรมิ คนดแี ละกนั คนไมด่ อี อกไปจากภาคราชการ ปญั หาเรอ่ื งการทจุ รติ คอรร์ ัปชันเกดิ จากทศั นคติของบุคคลทไ่ี ดร้ บั การยอ้ มแต่งและสงั่ สม ต่อเนือ่ งกนั มาเป็นเวลายาวนาน จนกลายเป็นค่านิยมที่ว่าการทุจริตคอร์รัปชันจะสร้างประโยชน์ ให้แก่ตนเองและพวกพ้อง อย่างง่ายดาย ไม่ต้องลงทุนลงแรงอะไรมาก การสร้างความใสสะอาดในวงราชการจึงต้องอาศัย กลยุทธ์ที่แยบยล โดยต้องสร้างสิ่งแวดล้อมท่ีดีและต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกคนทุกฝ่าย โดยมี การปราบปรามอย่างเฉียบขาดรุนแรงและรวดเร็ว ให้คนเกิดความเกรงกลัวจนถึงขั้นไม่กล้าเสี่ยง ทำ�ผิด ทงั้ นี้ กล่มุ ผ้นู �ำ ในทกุ ระดับของภาครฐั จะตอ้ งทำ�เปน็ ตวั อยา่ งที่ดีด้วย 4.3 ประเภทของสมรรถนะ ในการจดั แบง่ ประเภทของสมรรถนะ นกั วชิ าการหลายทา่ นไดใ้ หท้ รรศนะทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไป ตามความเห็นของ McClelland ได้แบ่งสมรรถนะออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มแรกเป็นสมรรถนะ ข้ันพื้นฐาน หมายถึง ความรู้หรือทักษะพื้นฐานท่ีบุคคลท่ีจำ�เป็นต้องมีในการทำ�งานและสมรรถนะ ในกลมุ่ ทส่ี อง เปน็ สมรรถนะทที่ �ำ ใหบ้ คุ คลมคี วามแตกตา่ งจากผอู้ นื่ มผี ลการท�ำ งานทสี่ งู กวา่ มาตรฐาน หรือดีกวา่ บุคคลทวั่ ไป สมรรถนะในกลุ่มน้ี มุ่งเนน้ ท่กี ารใชค้ วามรู้ ทกั ษะและคณุ ลกั ษณะอ่นื เพ่อื ช่วย ใหเ้ กดิ ความส�ำ เรจ็ ทดี่ เี ลศิ ในงาน ขณะท่ี McLagan (1997) ใหค้ วามคดิ เหน็ ตอ่ ลกั ษณะของสมรรถนะ ในมมุ มองตา่ ง ๆ ท่ีรวมทงั้ มุมมองขดี ความสามารถเป็นปัจจัยนำ�เข้าและผลลพั ธ์ทเี่ ขา้ ดว้ ยกนั ดงั นี้ 1) สมรรถนะตามลักษณะงาน (Competency as Tasks) เปน็ การแสดงถงึ ว่าสมรรถนะ ตา่ ง ๆ สามารถแบง่ ออกเปน็ งานยอ่ ย ๆ และก�ำ หนดขอบเขตของงานทจี่ ะท�ำ ได้ ไดแ้ ก่ งานการท�ำ ความ สะอาดพ้ืน งานยอ่ ยคอื การเลอื กไม้กวาด ซ่งึ งานยอ่ ยลงไปอกี ก็จะตอ้ งมีความสามารถในการเลือกใช้ ไมก้ วาด วา่ จะเลือกใช้ไม้กวาดอนั ใดในการท�ำ งานท่จี ะเกดิ ประโยชน์สงู สุด 2) สมรรถนะตามลกั ษณะของผลลพั ธ์ (Competency as Results) ลกั ษณะสมรรถนะ ที่สามารถแบ่งออกเป็นองค์ประกอบย่อย ซ่ึงผลลัพธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านั้นจะรวมกัน ไปสูผ่ ลลัพธร์ ว่ มกนั 47รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ยี วขอั ง 3) สมรรถนะตามผลของการกระท�ำ (Competency as Outputs) สมรรถนะในลกั ษณะนี้ จ�ำ เปน็ ทจี่ ะตอ้ งคน้ หาความตอ้ งการของลกู คา้ ทงั้ ภายในและภายนอกองคก์ ร เพอ่ื ใหไ้ ดค้ วามตอ้ งการใน การผลติ หรอื บรกิ าร จากนนั้ จงึ แบง่ ผลทไี่ ดอ้ อกเปน็ องคป์ ระกอบยอ่ ย ๆ และสามารถก�ำ หนดคณุ ภาพ และมาตรฐานท่ตี อ้ งการในการตอบสนองความต้องการของลูกคา้ 4) สมรรถนะตามความรู้ ทกั ษะและทัศนคติ (Competency as knowledge, Skill and Attitude) คนทม่ี คี วามเฉลยี วฉลาดจะมกี ารแสดงออกทางพฤตกิ รรมหรอื วธิ กี ารตา่ ง ๆ ทจ่ี ะบง่ บอกวา่ คนผนู้ นั้ มคี วามสามารถในการปฏบิ ตั งิ านไดส้ งู กวา่ มาตรฐานทก่ี �ำ หนด ในสว่ นของสมรรถนะในลกั ษณะนน้ั จะตอ้ งแยกแยะออกมาใหเ้ ห็นว่าความรู้ ทกั ษะและทศั นคติ อะไรบา้ งทีจ่ ะท�ำ ใหป้ ระสบความส�ำ เร็จ ซึ่งความส�ำ เร็จดงั กลา่ วน้นั จะรวมไปถึงการมงุ่ เน้นในความสำ�เรจ็ ของเปา้ หมาย การคน้ หาแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาและจะนำ�มาซึ่งการใช้เป้าหมายเป็นตัวกำ�หนดลำ�ดับความสำ�คัญของการทำ�งาน ตอ่ ไปได้ 5) สมรรถนะท่แี ตล่ ะคนมีอยู่ (Competency as Attribute Bundle) เป็นการประยุกต์ ใช้กระบวนการของสมรรถนะทางความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ซึ่งเป็นความสามารถท่ีแท้จริงของแต่ละ บุคคลท่ีมีอยู่แต่เป็นการยากมากท่ีจะยกตัวอย่างให้เห็นอย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น พฤติกรรมของ ผนู้ �ำ จะตอ้ งมคี วามสามารถในการจงู ใจใหค้ นแสดงออกในการปฏบิ ตั อิ ยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ นน้ั คอื จะตอ้ ง แสดงพฤตกิ รรมท่สี ามารถจงู ใจใหบ้ คุ คลปฏิบัติตามได้ นน่ั คอื ความสามารถท่ีผู้น�ำ จะต้องมี แต่อะไร คือสาเหตุพ้ืนฐานของพฤติกรรมนั้น เช่น ความสามารถในการฟัง ความนึกคิด การพูดในท่ีชุมชน องค์ประกอบบางอย่างหรือความรับผิดชอบในตัวเอง ณรงคว์ ทิ ย์ แสนทอง (2550) ไดแ้ บง่ สมรรถนะออกเปน็ 3 ประเภท ไดแก่ 1) สมรรถนะหลัก (Core Competency) หมายถงึ บคุ ลิกลักษณะของคนทส่ี ะทอ้ นให้เห็นถงึ ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติ ความเช่ือและอุปนิสัยของคนในองค์การโดยรวมท่ีจะช่วยสนับสนุนให้องค์การบรรลุเป้าหมาย ตามวิสยั ทศั น์ได้ 2) สมรรถนะตามสายงาน (Job Competency) หมายถึง บุคลกิ ลกั ษณะของคน ทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติ ความเชอื่ และอปุ นสิ ยั ทจ่ี ะชว่ ยสง่ เสรมิ ใหค้ นนนั้ ๆ สามารถ สร้างผลงานในการปฏิบัติงานต�ำ แหนง่ น้ัน ๆ ได้สงู กวา่ มาตรฐาน 3) สมรรถนะสว่ นบุคคล (Personal Competency) หมายถงึ บคุ ลิกลักษณะของคนท่ีสะท้อนให้เหน็ ถึงความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติ ความเชือ่ และอุปนิสัยท่ีทำ�ให้บุคคลน้ันมีความสามารถในการทำ�ส่ิงใดส่ิงหน่ึงได้โดดเด่นกว่าคนอื่นท่ัวไป เช่น สามารถอาศัยกับแมงป่อง หรืออสรพิษได้ เป็นต้น ซึ่งเรามักจะเรียกสมรรถนะส่วนบุคคลว่า ความสามารถพเิ ศษสว่ นบคุ คล จิรประภา อัครบวร (2549) กล่าวว่า สมรรถนะในตำ�แหน่งหน่ึง ๆ จะประกอบไปด้วย 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) สมรรถนะหลัก (Core Competency) คอื พฤติกรรมท่ดี ีที่ทุกคนในองคก์ รตอ้ งมี เพอ่ื แสดงถงึ วฒั นธรรมและหลกั นยิ มขององคก์ ร 2) สมรรถนะบรหิ าร (Professional Competency) คือ คุณสมบัติความสามารถด้านการบริหารท่ีบุคลากรในองค์กรทุกคนจำ�เป็นต้องมีในการทำ�งาน เพ่ือให้งานสำ�เร็จและสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ขององค์การ 3) สมรรถนะเชิงเทคนิค 48รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขัอง (Technical Competency) คือ ทักษะด้านวิชาชีพท่ีจำ�เป็นในการนำ�ไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำ�เร็จ โดยจะแตกต่างกนั ตามลักษณะงาน สามารถจำ�แนกได้ 2 ส่วนย่อย ได้แก่ สมรรถนะเชงิ เทคนิคหลัก (Core Technical Competency) และสมรรถนะเชงิ เทคนคิ เฉพาะ (Specific Technical Competency) สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ (2548) จำ�แนกสมรรถนะได้เป็น 5 ประเภท คือ 1) สมรรถนะ สว่ นบคุ คล (Personal Competencies) หมายถงึ สมรรถนะทแ่ี ตล่ ะคนมี เปน็ ความสามารถเฉพาะตวั ยากทจี่ ะเลียนแบบหรอื ต้องมีความพยายามสงู มาก 2) สมรรถนะเฉพาะงาน (Job Competencies) หมายถงึ สมรรถนะของบุคคลกับการท�ำ งานในต�ำ แหนง่ หรอื บทบาทเฉพาะตัว เชน่ อาชพี นักส�ำ รวจ กต็ ้องมคี วามสามารถในการวเิ คราะห์ตัวเลข การคดิ ค�ำ นวณ ความสามารถในการท�ำ บัญชี เป็นตน้ 3) สมรรถนะองค์การ (Organization Competencies) หมายถึง ความสามารถพิเศษเฉพาะ องค์การน้ันเท่านั้น เช่น บริษัท เนช่ันแนล (ประเทศไทย) จำ�กัด เป็นบริษัทท่ีมีความสามารถ ในการผลติ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ หรอื บรษิ ทั ฟอรด์ (มอเตอร)์ จ�ำ กดั มคี วามสามารถในการผลติ รถยนต์ เปน็ ตน้ 4) สมรรถนะหลัก (Core Competencies) หมายถงึ ความสามารถสำ�คญั ท่บี คุ คลต้องมีหรือต้องทำ� เพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ต้ังไว้ เช่น พนักงานเลขานุการสำ�นักงานต้องมีสมรรถนะหลัก คือ การใช้คอมพวิ เตอรไ์ ด้ ติดตอ่ ประสานงานได้ดี เป็นตน้ หรอื ผ้จู ดั การบรษิ ทั ตอ้ งมีสมรรถนะหลกั คือ การสอื่ สาร การวางแผน การบรหิ ารจดั การและการท�ำ งานเปน็ ทมี เปน็ ตน้ 5) สมรรถนะในงาน (Functional Competencies) หมายถึง ความสามารถของบุคคลที่มีตามหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบ ตำ�แหน่งหน้าท่ี อาจเหมือนแต่ความสามารถตามหนา้ ที่ตา่ งกัน เชน่ ข้าราชการตำ�รวจเหมือนกัน แตม่ ีความสามารถ ตา่ งกนั บางคนมีสมรรถนะทางการสืบสวน สอบสวน บางคนมสี มรรถนะทางปราบปราม เป็นตน้ ชูชยั สมิทธิไกร (2550) ฐิตพิ ฒั น์ พิชญธาดาพงศ์ (2549) และ ปิยะชยั จันทรวงศไ์ พศาล (2549) ได้แบ่งประเภทของสมรรถนะมีท้ังสว่ นทเี่ หมือนกนั และแตกตา่ งกนั สรุปได้ดังนี้ 1) สมรรถนะหลกั (Core Competency) คอื สมรรถนะที่บคุ ลากรในองคก์ รทกุ คนจำ�เปน็ ตอ้ งมเี หมอื นกนั ทกุ คน ไมว่ า่ จะปฏบิ ตั งิ านต�ำ แหนง่ ใดเพอื่ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ขององคก์ รไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 2) สมรรถนะตามต�ำ แหนง่ หนา้ ที่ (Functional Competency หรือ Job Competency) คอื สมรรถนะทจี่ �ำ เปน็ ในการปฏบิ ตั งิ าน โดยใชเ้ ฉพาะต�ำ แหนง่ งานหนา้ ทนี่ นั้ ๆ เพอื่ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิ งานได้ประสบความสำ�เรจ็ 3) สมรรถนะดา้ นการบริหารจัดการ (Management Competency หรือ Professional Competency) คือ สมรรถนะท่ีบุคลากรในองค์กรต้ังแต่ผู้บริหารระดับล่างขึ้นไป จำ�เป็นต้องมี เพ่ือใหส้ ามารถปฏบิ ัติงานเกย่ี วกับการบริหารจัดการในองค์กรไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ จากแนวคิดการแบ่งประเภทของสมรรถนะดังท่ีกล่าวมา อาจแบ่งสมรรถนะของบุคลากร ในระดบั ปฏบิ ตั กิ ารออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื สมรรถนะหลกั (Core Competency) ซง่ึ หมายถงึ บุคลกิ ลักษณะ ความสามารถส�ำ คัญท่ีบุคคลตอ้ งมีหรอื ตอ้ งทำ� เพอื่ ให้บรรลุผลตามเปา้ หมายท่ตี ั้งไว้ ของคนที่สะทอ้ นให้เห็นถงึ ความรู้ ทักษะ ทศั นคติ ความเช่ือและอุปนสิ ยั ของคน และสมรรถนะตาม 49รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ยี วขัอง สายงาน (Job Competency) หมายถึง บุคลิกลักษณะของคนท่ีสะท้อนให้เห็นถึงความรู้ ทักษะ ทศั นคติ ความเชือ่ และอปุ นสิ ยั ท่ีจะช่วยสง่ เสรมิ ใหค้ นนนั้ ๆ สามารถสรา้ งผลงานในการปฏบิ ตั ิงาน ต�ำ แหน่งนัน้ ๆ ได้สูงกวา่ มาตรฐาน ดงั นนั้ การปฏบิ ตั งิ านใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายไดน้ น้ั จะขน้ึ กบั องคป์ ระกอบของสมรรถนะการปฏบิ ตั งิ าน ดงั ท่ีนกั การศึกษาไดก้ ลา่ วถงึ ไว้ดังนี้ กิตติพงษ์ เลิศเลียงชัย (2547) ได้กล่าวถึง องค์ประกอบสมรรถนะในการปฏิบัติงาน มี 3 ส่วน ดงั นี้ คอื 1) สิง่ ทอ่ี งค์กรตอ้ งการใหร้ ู้ (Knowledge) 2) ความสามารถทอ่ี งคก์ รตอ้ งการ ให้ท�ำ ได้ (Skills) และ 3) ลักษณะที่องคก์ รตอ้ งการใหเ้ ป็น (Attributes) ลักษณะทอี่ งค์กรตอ้ งการใหเ้ ป็น ความสามารถท่ีองคก์ รตอ้ งการ สง่ิ ทีอ่ งคก์ รต้องการใหร้ ู้ ภาพท่ี 2 ส่วนประกอบของสมรรถนะ ชชู ัย สมิทธไิ กร (2540) กลา่ วว่า คณุ สมบัตขิ องผูป้ ฏิบัตงิ านนน้ั ประกอบด้วย องค์ประกอบ ทส่ี �ำ คัญ 3 ประการ คือ ความรู้ ทกั ษะ และความสามารถ ซงึ่ มคี วามหมาย ดังน้ี 1. ความรู้ (Knowledge) คือ พ้ืนฐานของการสร้างทักษะและความสามารถเป็นสิ่งที่ได้รับ การจดั ระบบระเบยี บไวเ้ ปน็ อยา่ งดี สว่ นมากมกั จะเปน็ สงิ่ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ระเบยี บวธิ กี าร ซง่ึ จ�ำ เปน็ สำ�หรับการปฏบิ ัตงิ านใหเ้ กดิ ผลดตี ามจดุ ม่งุ หมาย 2. ทกั ษะ (Skill) คือ ความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ย่างคล่องแคล่ว ถูกต้อง สว่ นมากมกั จะหมายถงึ ความสามารถในการประกอบกจิ กรรมโดยใชอ้ วยั วะเคลอ่ื นไหวภายนอก (Psychomotor Type Activities) 3. ความสามารถ (Ability) คือ ความสามารถเชิงปัญญาท่ีจำ�เป็นสำ�หรับการปฏิบัติงาน กล่าวคอื เปน็ ความสามารถในการประยกุ ตค์ วามรทู้ ี่มีอยู่ไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน 50รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวขอั ง ฐิตพิ ัฒน์ พิชญธาดาพงศ์ (2548) กลา่ วไว้วา่ องค์ประกอบของระบบสมรรถนะ ประกอบด้วย 5 สว่ นคือ 1) ฐานขอ้ มลู สมรรถนะขององคก์ ร (Competency Basket) หมายถงึ ฐานขอ้ มลู ทเี่ กบ็ รวบรวม สมรรถนะที่จ�ำ เป็นในการปฏบิ ตั งิ านในต�ำ แหนง่ ต่าง ๆ ที่มีอย่ทู ้ังหมดภายในองค์กร 2) ประเภทของสมรรถนะ (Competency Categories) หมายถึง การจำ�แนก รวบรวม สมรรถนะออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ เช่น สมรรถนะหลัก สมรรถนะตามสายวิชาชีพ สมรรถนะร่วมของ กลุ่มงาน/สายวชิ าชีพ สมรรถนะเฉพาะทาง และสมรรถนะดา้ นการบริหารจดั การ เปน็ ต้น 3) ชอ่ื ของสมรรถนะ (Competency Name) เปน็ การก�ำ หนดหรือตง้ั ชอื่ สมรรถนะแตล่ ะตวั ให้ชัดเจน บ่งช้ีความแตกตา่ งกับสมรรถนะตัวอ่ืน ๆ ซ่งึ จะท�ำ ใหบ้ คุ ลากรในองค์กรเข้าใจตรงกัน 4) ระดบั ของสมรรถนะ (Proficiency Scale) เปน็ การก�ำ หนดระดบั ทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ ของสมรรถนะ การกำ�หนดระดับความสามารถของสมรรถนะน้ัน มหี ลายประเภทแตกตา่ งกันไปตาม ลกั ษณะและความเหมาะสมของสมรรถนะ 5) ตัวชี้วัดเชิงพฤติกรรม (Behavioral Indicators) หมายถึง การกระทำ� ปฏิกิริยา หรือ การกระทำ�ตามบทบาทหนา้ ท่ีภายใตส้ ถานการณ์ทเ่ี ฉพาะเจาะจง (Specific Circumstances) จากองคป์ ระกอบของสมรรถนะดงั กลา่ วมคี วามส�ำ คญั ตอ่ การปฏบิ ตั งิ านของพนกั งานและองคก์ ร ดงั ทช่ี ชู ยั สมิทธไิ กร (2552) ได้กลา่ วไว้ดังนี้ 1) ช่วยให้องค์การสามารถคัดสรรบุคคลท่ีมีคุณลักษณะท่ีดี ทั้งด้านความรู้ทักษะ และ ความสามารถ ตลอดจนพฤติกรรมที่เหมาะสมกับงาน เพื่อปฏิบัติงานให้สำ�เร็จตามความต้องการ ขององค์การอย่างแทจ้ ริง 2) ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึง ระดับความรู้ทักษะ และความสามารถของตนเอง ว่าอยู่ใน ระดบั ใด และจ�ำ เปน็ ต้องพัฒนาในเรื่องใด ซึ่งจะชว่ ยใหเ้ กิดการเรียนร้ดู ว้ ยตนเองมากข้นึ 3) น�ำ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นาฝกึ อบรมพนกั งานในองคก์ าร 4) ช่วยสนับสนุนให้ตัวช้ีวัดหลักของผลงาน (Key Performance Indicators: KPIs) บรรลเุ ปา้ หมาย เพราะ สมรรถนะจะเปน็ ตวั บง่ บอกไดว้ า่ ถา้ ตอ้ งการใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายตาม KPIs แลว้ จะตอ้ งใช้สมรรถนะใดบ้าง 5) ป้องกันไม่ให้ผลงานเกิดจากโชคชะตาเพียงอย่างเดียว เช่น ยอดขายของพนักงานขาย เพ่ิมขึ้นสูงกว่าเป้าท่ีกำ�หนด ท้ัง ๆ ท่ีพนักงานขายคนนั้นไม่ค่อยต้ังใจทำ�งานมากนัก แต่เน่ืองจาก ความต้องการของตลาดสูง จึงทำ�ให้ยอดขายเพ่ิมขึ้นเองโดยไม่ต้องทุ่มเทความพยายามมากนัก แต่ถ้ามีการวัดสมรรถนะแล้ว จะทำ�ให้สามารถตรวจสอบได้ว่าพนักงานคนนั้น ประสบความสำ�เร็จ เพราะโชคช่วยหรือความสามารถของเขา 51รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วขัอง 6) ช่วยให้การหล่อหลอมสมรรถนะขององค์การประสบความสำ�เร็จเร็วย่ิงข้ึน เพราะ ถ้าพนักงานทุกคนปรับสมรรถนะของตนเองให้เข้ากับมาตรฐานขององค์การกำ�หนดตลอดเวลาแล้ว ในระยะยาว ก็จะสามารถส่งผลให้เกิดเป็นสมรรถนะเฉพาะองค์การน้ัน ๆ เช่น เป็น องค์การแห่ง การคดิ สรา้ งสรรค์ เพราะทกุ คนในองค์การมสี มรรถนะในการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) 4.4 สมรรถนะสำ�คญั ของประเทศตา่ ง ๆ จากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั พบว่า แตล่ ะประเทศก�ำ หนดสมรรถนะไว้แตกต่างกนั โดยการปฏิรูปหลักสูตรและกรอบแนวคิดการศึกษาขององค์การความร่วมมือและการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ 2573 (The OECD Education 2030 Framework) ไดก้ ล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงส�ำ หรบั การปฏริ ูปหลกั สูตรทจ่ี ะตอ้ งมงุ่ เนน้ ทีส่ มรรถนะมากข้นึ และไดป้ ระกาศกรอบสมรรถนะของ OECD ไวด้ งั นี้ ภาพท่ี 3 กรอบสมรรถนะในการพฒั นาปี 2030 ของ OECD 52รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วขอั ง จากการศึกษาสมรรถนะของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชียตะวันออก สามารถสรุปได้ ดงั ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 การจัดกล่มุ ของสมรรถนะ และสมรรถนะของประเทศตา่ ง ๆ ในทวีปเอเชยี ตะวนั ออก ประเทศ กลุ่มของสมรรถนะ สมรรถนะ ฮอ่ งกง ความรู้และทักษะ • ความสามารถในการใช้ภาษา 2-3 ภาษา (Knowledge and Skills) (Trilingual and Bilingual Competency) • ความสามารถในการน�ำ ความรไู้ ปใชใ้ นบรบิ ทตา่ ง ๆ (T-Shaped Knowledge) • ความรใู้ นการควบคมุ เทคโนโลยี (Knowledge to Master and go Beyond Technologies) • ความรู้ด้านภูมิศาสตร์เศรษฐกิจประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของสังคมประเทศชาติและโลก (Knowledge of The Geography, Economy, History, and Culture of Society, The Nation and The World) คณุ ลกั ษณะ • การคดิ เชงิ วพิ ากษ์ (Critical Thinking) (Attributes) • การท�ำ งานเป็นทีม (Team Spirit) • การช่ืนชมความแตกต่าง (Appreciation of Differences) • ความพากเพียร (Perseverance) • ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) • ความออ่ นนอ้ มถอ่ มตน (Humility) • ความม่นั ใจในตนเอง (Self-Confidence) • การจดั การตนเอง (Self-Management) • การควบคมุ ตนเอง (Self-Control) 53รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวขอั ง ประเทศ กลุม่ ของสมรรถนะ สมรรถนะ ฮ่องกง ค่านยิ ม • ความซอื่ สัตย์ (Integrity) (ตอ่ ) (Values) • ความรับผิดชอบ (Responsibility) • ความมงุ่ มัน่ (Commitment) สิงคโปร์ การตระหนักรตู้ นเอง • การเอาใจใส่ (Caring) ญี่ป่นุ (Self-Awareness) • การเคารพในค่านยิ มที่แตกตา่ งกนั (Respect of การจดั การตนเอง (Self-Management) Different Values) การตระหนกั รทู้ างสงั คม • ความอดทนตอ่ ความหลากหลาย (Tolerance of (Social Awareness) การจดั การดา้ น Diversity) ความสัมพนั ธ์ • ความยตุ ธิ รรม (Justice) (Relationship • เคารพกฎหมาย (Rule of Law) Management) • สนั ตภิ าพ (Peace) การตัดสนิ ใจทมี่ ีความ • การสื่อสาร ความร่วมมือ และทักษะด้านข้อมูล รับผิดชอบ (Responsible สารสนเทศ (Communication, Collaboration, Decision-Making) and Information Skills) การร้ขู ั้นพืน้ ฐาน • การคดิ เชงิ วพิ ากษแ์ ละความคดิ สรา้ งสรรค์ (Critical (Basic Literacy) and Inventive Thinking) • การรู้ด้านความเป็นพลเมือง การตระหนัก เก่ียวกบั พลโลก ทักษะข้ามวฒั นธรรม (Civic Literacy, Global Awareness, and Cross-Cultural Skills) การรหู้ นงั สอื การรเู้ รอื่ งจ�ำ นวน และการรเู้ ทคโนโลยี สารสนเทศและเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร (รวมถงึ มารยาท และจริยธรรมในการใช้ ICT) (Literacy, Numeracy, and Information/ Communication Technology Literacy (and Manners and Morals for ICT) 54รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กยี่ วขัอง ประเทศ กลมุ่ ของสมรรถนะ สมรรถนะ ญ่ีปุน่ ความสามารถในการคิด การคน้ หาและการแก้ปญั หา ความคิดสร้างสรรค์ (ต่อ) (Thinking Ability) การคดิ เชิงวิพากษ์ การคิดเชงิ ตรรกะ อภิปัญญา และ ทกั ษะการเรยี นรทู้ จี่ ะปรบั ตวั ( Finding and Solving Problems, Creativity, Critical Thinking, Logical Thinking, Metacognition, and Adaptive Learning Skills) ความสามารถเชงิ ปฏบิ ตั ใิ น • การพ่งึ พาตนเอง (Independence and Auton- การกระทำ�เพือ่ โลก omous Action) ความเข้าใจตนเองและความ (Practical ability to act รับผิดชอบต่อตนเอง การส่งเสริมสุขภาพทักษะ for The World) การตัดสินใจ และทักษะในการวางแผนชวี ิต • การสรา้ งความสมั พนั ธ์ (Relationship Building) ความร่วมมือและความรับผิดชอบความรู้สึก / การแสดงความสมั พันธท์ ด่ี ีกับผู้อ่ืน • ความรับผิดชอบในการสร้างอนาคตท่ีย่ังยืน (Responsibility for Building a Sustainable Future) ความรบั ผดิ ชอบ สทิ ธหิ นา้ ที่ การท�ำ งาน ความเขา้ ใจ ในสงั คมวฒั นธรรมและสภาพ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ การประยุกต์ใช้ภาษาและข้อมูลสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ความรู้และเทคโนโลยี ตลอดจน ทักษะการหาปญั หาและการแกป้ ัญหา เกาหลีใต้ • ความสามารถในการจดั การตนเอง (Self-Management Competency) • ความสามารถในการประมวลความร้แู ละขอ้ มูลสารสนเทศ(Knowledge/ Information Processing Competency) • ความสามารถในการคิดสรา้ งสรรค์ (Creative Thinking Competency) • ความสามารถดา้ นสนุ ทรยี ศาสตรท์ างอารมณ์ (Aesthetic-Emotional Competency) • ความสามารถในการสื่อสาร (Communication Skills) • ความสามารถในการเป็นพลเมือง (Civic Competency) 55รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วขัอง ประเทศ กลุม่ ของสมรรถนะ สมรรถนะ ไต้หวัน การก�ำ กับตนเอง • ความเข้าใจในตนเองและการพัฒนาศักยภาพ (Self-Directed Action) (Self-Understanding and Development of Potentials) • ความประทับใจ ประสิทธิภาพ และความคิด สร้างสรรค์ (Appreciation, Performance and Creativity) • การวางแผนอาชพี และการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ (Career Planning and Lifelong Learning) การมสี ่วนรว่ มทางสังคม • ความเข้าใจในตนเองและการพัฒนาศักยภาพ (Social Participation) (Self-Understanding and Development of Potentials) • การมีความชื่นชม ประสิทธิผล และความคิด สรา้ งสรรค์ (Appreciation, Performance, and Creativity ) • การวางแผนอาชพี และการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ (Career Planning and Lifelong Learning) ปฏสิ ัมพันธ์ทางการส่ือสาร • การใช้เทคโนโลยีและข้อมูลให้ได้ประโยชน์สูงสุด (Communicative (Utilization of Technology and Information) Interaction) • สำ�รวจและสืบสอบอย่างตื่นตัว (Active Exploration and Inquiry) • การมีอิสระในการคิดและการแก้ปัญหา (Independent Thinking and Problem-Solving) 56รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกีย่ วขัอง ส�ำ หรบั ในประเทศต่าง ๆ ในทวีปยโุ รป อเมริกาเหนอื ออสเตรเลยี และแอฟรกิ าใต้ ได้กำ�หนด สมรรถนะไว้ ดงั ตารางที่ 2 ตารางที่ 2 สมรรถนะของประเทศตา่ ง ๆ ในทวปี ยุโรป อเมริกาเหนือ ออสเตรเลีย และแอฟรกิ าใต้ ประเทศ สมรรถนะ อังกฤษและ • ทักษะการส่ือสาร (Communication) ไอรแ์ ลนด์เหนอื • ทักษะด้านตนเองและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Personal สกอตแลนด์ and Interpersonal Skills) ฟนิ แลนด์ • ทกั ษะการจดั การขอ้ มลู สารสนเทศ (Managing Information) • ผ้เู รียนทปี่ ระสบความสำ�เรจ็ (Successful Learners) • ความมัน่ ใจสว่ นตน (Confident Individuals) • พลเมอื งทร่ี บั ผิดชอบ (Responsible Citizens) • จิตสาธารณะ (Effective Contributors) • การมีสขุ ภาวะที่ดี (Health and Wellbeing) • ทักษะในการเรียน ทักษะชีวิตและการทำ�งาน (Skills for Learning, Life and Work) • การรู้หนงั สอื (Literacy) • การรู้เรื่องจำ�นวน (Numeracy) • การคิดและการเรียนรู้เก่ียวกับการจะเรียน (Thinking and Learning to Learn) • สมรรถนะทางวฒั นธรรม การปฏสิ มั พนั ธ์ และการแสดงออกถงึ การเป็นตัวเอง (Cultural Competence, Interaction and Self-Expression) • การดแู ลตนเองและการจดั การกบั ชวี ติ ประจ�ำ วนั (Taking Care of Oneself and Managing Daily Life) • ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีการส่ือสาร (Information and Communication Technology (ICT) Competence) • ชีวิตการทำ�งานและการเป็นเจ้าของกิจการ (Working Life Competence and Entrepreneurship) • การมีส่วนร่วมและการสร้างอนาคตท่ียั่งยืน (Participation, Involvement and Building a Sustainable Future) 57รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลักสูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวขัอง ประเทศ สมรรถนะ นอรเ์ วย์ • การสอ่ื สาร (Being Able to Express Oneself) แคนาดา • การเขยี น (Being Able to Express Oneself in Writing) • การใช้เคร่ืองมอื ดิจทิ ลั (Being able to use Digital Tools) ออสเตรเลยี • การอา่ น (Being able to Read) • การรู้เรอ่ื งจำ�นวน (Being able to Develop Numeracy) • การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ (Critical Thinking) • การคดิ แก้ปัญหา (Problem Solving) • การจัดการข้อมูลสารสนเทศ (Managing Information) • การคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม (Creativity and Innovation) • การสอ่ื สาร (Communication) • การรว่ มมอื (Collaboration) • สมรรถนะทางวัฒนธรรมและการเปน็ พลโลก (Cultural and Global Citizenship) • การเจริญเติบโตส่วนบุคคลและมีความเป็นอยู่ท่ีดี (Personal Growth and Well-Being) • การรหู้ นงั สอื (Literacy) • ทกั ษะการคิด (Thinking skills) • ความคิดสรา้ งสรรค์ (Creativity) • การจดั การตนเอง (Self-Management) • การทำ�งานเป็นทีม (Teamwork) • ความเขา้ ใจระหวา่ งวฒั นธรรม (Intercultural Understanding) คุณธรรม จริยธรรมและความสามารถทางสังคม (Ethical behavior and Social Competence) • การร้เู ร่อื งจ�ำ นวน (Numeracy) • เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) • ความคิดสรา้ งสรรค์ (Creativity) 58รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วขอั ง ประเทศ สมรรถนะ นวิ ซแี ลนด์ • การใช้ภาษา สัญลักษณ์และข้อความ (Using Language, Symbols and Text) • การจัดการตนเอง (Managing - Self) • ความสมั พันธ์กับผูอ้ ื่น (Relating to Others) • การมสี ว่ นรว่ มและจติ สาธารณะ (Participating and Contributing) • การคดิ (Thinking) แอฟรกิ าใต้ • การระบแุ ละแก้ปัญหา (Identify and Solve Problems) • การทำ�งานรว่ มกับผูอ้ ่นื (Work Effectively with Others) • การรวบรวม วเิ คราะห์ จดั ระบบและประเมนิ ขอ้ มลู สารสนเทศ อย่างมีวิจารณญาณ (Collect, Analyze, Organize and Critically Evaluate Information) • การสอ่ื สารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (Communicate Effectively) • การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ (Use Science and Technology Effectively) • การแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั โลกในฐานะเปน็ ชดุ ของ ระบบที่เกี่ยวข้องกัน (Demonstrate Understanding of the World as a set of related systems) • พัฒนาเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ (การไตร่ตรองและหากลยุทธ์ ในการเรยี นทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ เป็นพลเมอื งทีม่ คี วามรับผิดชอบ รกั ษาวฒั นธรรมและมจี รยิ ธรรม การศกึ ษาเพอื่ อาชพี และโอกาส ในการเป็นเจ้าของธุรกิจ) (Full personal development (reflecting on and exploring strategies to learn more effectively, responsible citizens, cultural and aesthetical sensitiveness, education for career and entrepreneurial opportunities)) จากข้อมลู ในตารางเกี่ยวกับสมรรถนะของประเทศตา่ ง ๆ และองค์กรต่าง ๆ สามารถจดั กล่มุ ของสมรรถนะทพี่ บในประเทศและองค์กร ไดด้ งั น้ี 1. การเขา้ ใจตนเอง ดูแลตนเอง และพัฒนาตนเอง 2. ความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คล ความรว่ มมอื การท�ำ งานเป็นทีม 3. การรู้หนังสอื การรเู้ ร่อื งจ�ำ นวน การรู้สารสนเทศ สือ่ เทคโนโลยี และดิจทิ ลั 4. การใช้ภาษาและการสือ่ สาร 5. ทกั ษะการคิด 6. ทกั ษะชีวติ ทักษะการท�ำ งานและการวางแผนอนาคต 7. การเป็นพลเมืองท่ดี ี การมีส่วนรว่ มทางสังคมและมสี ่วนรว่ มในโลกใบนี้ 59รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วขอั ง 4.5 หลักสตู รฐานสมรรถนะ 1) ความหมายของหลักสตู รฐานสมรรถนะ Kenya Institute of Curriculum development – 4ICD (2017) นิยามไว้ว่า หลกั สตู รฐานสมรรถนะ (Competency-Based Competence) เปน็ หลกั สตู รทมี่ งุ่ เนน้ ในสงิ่ ทผี่ เู้ รยี น ได้รับการคาดหวังให้กระทำ� มากกว่ารวมความสนใจส่วนใหญ่ในส่ิงที่พวกเขาได้รับการคาดหวังให้รู้ ในหลักการ หลักสูตรท่ใี ห้ผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลางและปรบั เปลยี่ นตามความต้องการท่ีเปล่ียนแปลงของ ผเู้ รียน ครู และสังคม อนั บอกเป็นนัยว่าผูเ้ รยี นทงั้ ไดร้ ับและประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ค่านยิ ม และ เจตคติในการแก้ไขสถานการณ์ที่พวกเขาเผชญิ ในชวี ติ ประจ�ำ วัน ตามแนวโน้มกระแสโลกทเ่ี น้นเร่ือง สมรรถนะในศตวรรษที่ 21 สมรรถนะแกนหลักของ 4IDC มีดังนคี้ ือ - การติดตอ่ สื่อสารและการร่วมมือ - การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและการแกไ้ ขปญั หา - ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละจินตนาการ - ความเปน็ พลเมอื ง - สมรรถนะในตนเอง - ความร้พู ้นื ฐานทางดจิ ิทัล - การเรียนรู้วิธกี ารเรียน Roumen Nikolov, Elena Shoikova, และ Eugenia Kovatcheva ไดอ้ ธบิ ายไวใ้ นเอกสาร Competence-Based Framework for Curriculum Development (2014) ว่ามโนทศั นเ์ รอื่ ง สมรรถนะน้ีสามารถต่อเชื่อมโลกของการศึกษา การฝึกอบรม การจัดการความรู้ และการเรียนรู้ ท่ไี ม่เป็นทางการ นักวิจัยทางดา้ นสมรรถนะหลายทา่ นได้ให้คำ�นยิ ามตา่ ง ๆ ว่า สมรรถนะคอื อุปนสิ ัย และคุณลักษณะเด่นท่ีคงทนซ่ึงเป็นตัวกำ�หนดการกระทำ� คุณลักษณะท่ีเด่นชัดซ่ึงแยกแยะผู้กระทำ� ทสี่ �ำ เรจ็ ออกจากคนอนื่ ความสามารถทจี่ ะบรรลถุ งึ เปา้ หมาย แนวโนม้ ลกั ษณะนสิ ยั ภายในทใี่ หบ้ คุ คล รบั มือไดด้ ีกบั บทบาทหรือสถานการณ์ ภารกจิ ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ความรู้ ทักษะ ความสามารถ และ คุณลักษณะอ่ืน ๆ ทแี่ สดงออกในงาน ในบรบิ ทของกรอบคณุ สมบตั ขิ องสหภาพยโุ รป (The European Qualification Framework) “สมรรถนะ หมายถึง ความสามารถทผ่ี ่านการพิสจู นไ์ ดใ้ นการใชค้ วามรู้ ทักษะ และความสามารถ ทางสังคมและ/หรือทางมรรควิธี ในสถานการณ์การทำ�งานหรือการศึกษา และในการพัฒนา ด้านอาชีพและบคุ คล” แนวคดิ เกย่ี วกบั หลกั สตู รฐานสมรรถนะ (Competency-Based Approach) “สมรรถนะ” แปลมาจากคำ�ว่า Competence หรือ Competency ซ่ึงหมายถึง ความสามารถ ในการทำ� บางส่งิ ได้เปน็ อยา่ งดี (the ability to do something well: จาก Longman Dictionary) ในทน่ี ้ี จะกล่าวถึงความสามารถในการทำ�งานหรือการประกอบอาชีพเป็นสำ�คัญ ซึ่งในการทำ�งานหรือ การประกอบอาชพี นน้ั ตอ้ งใชค้ วามสามารถทม่ี อี ยใู่ นตวั บคุ คล เพอื่ จะท�ำ ภารกจิ ของงานนนั้ ถา้ บคุ คลใด 60รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวขอั ง มีความสามารถในการทำ�งานได้ เรียกว่า เป็นคนที่มีสมรรถนะในการทำ�งาน และในทางตรงข้าม ถา้ บุคคลใดไมส่ ามารถทำ�งานไดก้ เ็ รียกวา่ เป็นคนไมม่ สี มรรถนะ การสรา้ งเสรมิ ใหค้ นมีความสามารถ ในการทำ�งานเป็นการสร้างสมรรถนะให้เกิดขึ้นในตัวบุคคล และการออกแบบสมรรถนะ รวมถึง การฝึกอบรมคนให้มีสมรรถนะสำ�หรับการทำ�งานจึงเป็นสาระสำ�คัญของการจัดการเรียนการสอน ทางดา้ นอาชีวศกึ ษาและการฝึกอาชพี (Vocational Education and Training หรอื VET) 2) ความเปน็ มาของหลกั สตู รฐานสมรรถนะ ระบบฐานสมรรถนะมี 2 ระบบหลัก ได้แก่ ระบบของอังกฤษหรือสหราชอาณาจักร และระบบของสหรัฐอเมริกา โดยแต่ละระบบมีฐานแนวคิดและคุณลักษณะเฉพาะของตนเอง ซงึ่ ทงั้ 2 ระบบ ไมไ่ ดม้ คี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งสนิ้ เชงิ และเมอื่ ไดท้ �ำ ความเขา้ ใจทง้ั สองระบบกจ็ ะสามารถ น�ำ สว่ นที่ดที ี่สดุ มาประยุกต์ ใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมในบริบทที่ตอ้ งการได้ในทส่ี ดุ หลักสูตรฐานสมรรถนะ เริ่มใช้มาต้ังแต่ปี 1970 ในประเทศสหรัฐอเมริกา นิยมใช้ในการ จดั หลกั สตู รการฝกึ อบรม (Competency-Based Training) เชน่ สหรฐั อเมรกิ า คานาดา องั กฤษ เกาหลี ออสเตรเลีย เพือ่ ควบคุมคณุ ภาพของบุคลากรในอาชพี ต่าง ๆ เพอื่ เพ่มิ การแขง่ ขันกบั นานาชาติ เช่น ประเทศออสเตรเลยี มี The National Training Board เปน็ ผกู้ �ำ หนดมาตรฐานสมรรถนะระดบั ชาติ (National Competency Standards) ให้นโยบายและแนวทางการดำ�เนินงานฝึกอบรม โดยคาดหวงั สง่ิ ทผ่ี เู้ ขา้ อบรมจะสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ (Performance) เมอื่ จบหลกั สตู ร เชน่ การฝกึ อบรม ดา้ นภาษาอังกฤษเกย่ี วกับอาชีพตา่ ง ๆ เชน่ ด้านอาหาร การโรงแรม ทอ่ งเท่ียว ของ TAFE ประเทศ ออสเตรเลีย ก็จัดการฝึกอบรมแบบ Competency-Based Training in English Language Teaching และได้ปรับปรุงพัฒนา มาตรฐานสมรรถนะของอาชีพต่าง ๆ จนถึงปัจจุบัน รวมถึง การเทียบความรู้และประสบการณ์ ปัจจุบันสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ในหลายประเทศ ได้นำ�แนวทางการฝึกอบรมแบบ ฐานสมรรถนะ (Competency-Based Training) มาใชก้ บั การจดั หลักสตู รการศกึ ษาระดบั ต่าง ๆ เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency-Based Curriculum) ซ่ึงเป็นที่ยอมรับจากผู้กำ�หนด นโยบาย และผนู้ ำ�ดา้ นหลักสูตรของประเทศตา่ ง ๆ อย่างกวา้ งขวาง 3) วตั ถุประสงค์ของหลักสูตรฐานสมรรถนะ วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร/การฝึกอบรมฐานสมรรถนะ (Competence-Based Training) คือ การพัฒนาความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน/ผู้เรียน ในสหราชอาณาจักร คำ�ว่า “กำ�ลังคนท่ีมี สมรรถนะ” ประกอบไปด้วยคนที่มีความสามารถในการทำ�งานได้อยา่ งคงเส้นคงวา (Consistently) ตามมาตรฐานของขอ้ กำ�หนดในการท�ำ งานภายใตข้ อบเขตของบรบิ ทหรอื เงื่อนไขของงานนนั้ แต่ใน สหรฐั อเมรกิ าค�ำ วา่ “สมรรถนะ” ไมไ่ ดห้ มายถึงภาระงานในการทำ�ชิน้ งานนน้ั แต่หมายถงึ ส่ิงที่ท�ำ ให้ บคุ คลมคี วามสามารถในการปฏิบัติภาระงานนนั้ ๆ ไดด้ ้วย ดงั นนั้ Competence-Based Training หรือ Competency-Based Training หรือการฝึกอบรมบนฐานความสามารถ หมายถึง การใชค้ วาม สามารถท่ีจำ�เป็นสำ�หรับการทำ�งานมาใช้เป็นฐานของการจัดฝึกอบรม หรือนำ�มาใช้เป็นเน้ือหาของ 61รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วขัอง การฝึกอบรม ทำ�ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความสามารถตามเน้ือหาน้ัน เรียกให้กระชับส้ัน ๆ ว่า “การฝกึ อบรมฐานสมรรถนะ” นอกจากนย้ี งั มกี ารน�ำ แนวคดิ ไปใชส้ �ำ หรบั การพฒั นาหลกั สตู รอกี ดว้ ย เพราะหลกั สตู รและการสอนรวมทงั้ การฝกึ อบรมเปน็ เรอ่ื งทม่ี คี วามเกยี่ วขอ้ งกนั เสมอ เมอ่ื ใดมกี ารสอน หรือการฝึกอบรมก็มักตอ้ งมหี ลกั สตู รอยู่ด้วย 4) ลกั ษณะส�ำ คัญของหลักสตู รฐานสมรรถนะ 1) กาํ หนดผลการเรียนรู้อยา่ งชดั เจนวา่ ผ้เู รียนสามารถทําอะไรไดเ้ มอ่ื จบหลักสูตร (Course Outcomes / Performance Outcomes) 2) ใช้มาตรฐานสมรรถนะเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร กําหนดเนื้อหา วางแผน การจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล ทําให้การเรียนการสอนเช่ือมโยงกับการประเมินผล และการรับรองคุณวุฒิ 3) มีเกณฑ์การปฏิบตั ิ (Performance Criteria) เพอ่ื ใช้ในการประเมนิ ผลผเู้ รียนที่แน่นอน มาตรฐานสมรรถนะ เป็นข้อกำ�หนดความรู้ และทักษะ และนำ�ความรู้และทักษะนั้น ๆ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการท�ำ งาน โดยปฏบิ ตั งิ านใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานทกี่ �ำ หนด (Competency Standards Reflect the Specification of the Knowledge and Skill and the Application of that Knowledge and Skill to the Standard of Performance Required in Employment) การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนในหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะ จึงมีกรอบมาตรฐาน สมรรถนะ เปน็ ตวั ก�ำ หนดความรู้ และทกั ษะทคี่ าดหวงั วา่ ผเู้ รยี นจะสามารถปฏบิ ตั ภิ าระงาน / กจิ กรรม ต่าง ๆ ได้เมื่อเรียนจบหลักสูตร และสามารถวัดและประเมินผลได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติที่กำ�หนด เกณฑ์การปฏิบัติ (Performance Criteria) คือผลการเรียนรู้ ซึ่งคาดหวังให้ผู้รับการอบรม หรือ ผู้เรียนสามารถทำ�ได้เมื่อเรียนจบหน่วยนี้ ดังน้ัน การวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในหนว่ ยสมรรถนะนี้ ตอ้ งก�ำ หนดจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objective) หรอื จดุ ประสงค์ การเรยี นรู้ โดยให้ความร้แู ละการฝกึ ปฏิบัติเพ่อื ให้ผ้เู รยี นเกิดทกั ษะ สามารถปฏบิ ัตงิ านได้ตามเกณฑ์ ท่ีกำ�หนด และการประเมินผลต้องสอดคล้องกับเกณฑ์การปฏิบัติ จึงจะเกิดการเรียนการสอนและ การประเมนิ ผลแบบฐานสมรรถนะ เพราะใชส้ มรรถนะเปน็ ตวั ก�ำ หนด ตง้ั แตก่ ารจดั การเรยี นการสอน จนถึงการประเมินผล ซ่ึงการประเมินผล สามารถใช้รูปแบบท่ีหลากหลาย ได้แก่ การสังเกต (Observation) การสาธติ และตง้ั คำ�ถาม (Demonstration and Questioning) แบบทดสอบและ ข้อสอบอตั นยั (Pen and Paper Test and Essays) ซ่ึงใช้ประเมนิ ดา้ นความรู้ การสอบปากเปลา่ (Oral Test) การท�ำ โครงงาน (Projects) สถานการณจ์ �ำ ลอง (Simulations) แฟม้ ผลงาน (Portfolios) การประเมินผลโดยการใช้คอมพิวเตอร์ (Computer-Based Assessment) ใช้โปรแกรมสำ�เร็จรูป เปน็ เครอ่ื งมือในการสร้างแบบทดสอบและบนั ทกึ ผลได้ (สจุ ติ รา ปทมุ ลังการ,์ 2552) 62รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ยี วขอั ง 5) การจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ (Competency-Based Learning) การเรียนรู้ ฐานสมรรถนะ หมายถึง ระบบการสอน การประเมิน การให้ระดับคะแนน (Grading) และ การรายงานทางการศึกษาที่อยบู่ นฐานการแสดงออกของนกั เรียนทีไ่ ด้เรียนความรแู้ ละทกั ษะต่าง ๆ ท่ีพวกเขาถูกคาดหวังให้เรียนที่พวกเขาก้าวหน้าข้ึนโดยผ่านการการศึกษาของพวกเขาในโรงเรียน ของรัฐ ระบบฐานสมรรถนะใช้มาตรฐานการเรียนรู้ของรัฐกำ�หนดความคาดหวังทางวิชาการ และนยิ าม “สมรรถนะ” หรือ “ความช�ำ นาญ” ในคอรส์ ขอบเขตวิชา หรือระดบั ชนั้ ที่จดั ให้ (แม้ว่า ชุดมาตรฐานอื่นอาจจะถูกใช้ด้วย รวมถึงมาตรฐานต่าง ๆ ท่ีถูกพัฒนาโดยเขตพ้ืนที่และโรงเรียน หรอื โดยองคก์ รตามสาระวชิ า) เปา้ หมายทวั่ ไปของการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะคอื เพอ่ื ท�ำ ใหม้ นั่ ใจวา่ ผเู้ รยี น จะได้รับความร้แู ละทกั ษะท่ถี อื วา่ สำ�คญั ตอ่ ความส�ำ เรจ็ ในโรงเรยี น การศกึ ษาต่อในระดับอดุ มศึกษา การประกอบอาชีพ และการดำ�เนินชีวิตเมื่อเติบใหญ่ หากผู้เรียนไม่บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ พวกเขาก็จะต้องเรียน ฝึกปฏิบัติ และความช่วยเหลือทางวิชาการเพิ่มเพื่อช่วยให้พวกเขาบรรลุ สมรรถนะหรือพฒั นาถึงมาตรฐานที่คาดหวัง การนิยามการเรียนรู้ฐานสมรรถนะน้ันซับซ้อนเพราะนักการศึกษาไม่เพียงแต่ใช้คำ� ท่ีหลากหลายในแนวปฏิบัติ บางคำ�อาจจะหรืออาจจะไม่ถูกใช้แบบพ้องความหมายในแต่ละแห่ง ได้แก่ คำ�ว่าการศึกษา การสอน หรือการเรียนรู้บนฐานความชำ�นาญ ความเช่ียวชาญ ผลสัมฤทธ์ิ การกระทำ� และมาตรฐานสมรรถนะ คือการแสดงออกของคุณลักษณะที่ผู้สำ�เร็จการเรียน ไดแ้ สดงออกมาทบ่ี ง่ ชวี้ า่ พวกเขาไดถ้ กู เตรยี มเพอื่ ทจี่ ะแสดงออกและปฏบิ ตั ไิ ดโ้ ดยอสิ ระในการท�ำ งาน ตามวิชาชีพ สมรรถนะครอบคลุมมากกว่าเนื้อหาความจริง เป็นการบูรณาการและการประยุกต์ใช้ เน้ือหาความจริง ทักษะ และคุณลักษณะท่ีได้เรียนมาเป็นส่ิงท่ีจำ�เป็นต่อการบริการผู้ป่วย ชุมชน และวิชาชีพ (กรณีของ Health Service Center, West Virginia University) สมรรถนะที่ถูก พฒั นาขน้ึ ไมไ่ ดถ้ กู สอนทง้ั หมดในคอรส์ เดยี ว แตท่ ง้ั หมดถกู น�ำ เสนอตลอดทงั้ หลกั สตู ร ตามปกตคิ อรส์ วิชาทง้ั หลายชว่ ยสนบั สนุนการบรรลแุ ต่ละสมรรถนะ โดยชว่ งต้นของหลกั สตู รมสี ่วนประกอบหลัก ๆ คอื การสรา้ งความแตกฉานในความรจู้ รงิ และทกั ษะพนื้ ฐาน และดว้ ยการเตมิ เตม็ แผนการเรยี น ทุก ๆ ส่วนจะสร้างความยอดเย่ยี มให้กบั การประยุกตข์ นั้ สูงใชแ้ นวคดิ เหลา่ น้ีในสถานการณ์การปฏิบัติจรงิ 63รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขัอง การจดั การศกึ ษาเชงิ สมรรถนะ (Competency Education) เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2011 International Association for K-12 Online Learning (iNACOL) และ Council of Chief of State School Officers ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้นำ�ผู้บริหารการศึกษาและผู้กำ�หนดนโยบายทางการศึกษามาประชุมร่วมกันเพื่อกำ�หนดนิยาม ของการจัดการศึกษาที่เน้นสมรรถนะ ซ่ึงท่ีประชุมได้ให้ความเห็นและสรุปออกมาเป็นแก่นของ การจัดการศกึ ษาท่เี น้นสมรรถนะได้ดงั น้ี 1. ผูเ้ รียนก้าวหนา้ ในระดบั ทสี่ ามารถแสดงความเชยี่ วชาญออกมาได้ 2. สมรรถนะทีแ่ สดงออกมีความชัดเจน วดั ได้ และสะทอ้ นวตั ถุประสงคข์ องการจัดการเรยี นรู้ ท่ีต้องการสรา้ งให้ผู้เรียนมีความสามารถท่ีเข้มแขง็ 3. มีการจัดประสบการณ์เรยี นรู้ในเชิงบวก และมคี วามหมายตอ่ ผู้เรยี น 4. ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือ รวมท้ังการจัดสรรเวลาให้เหมาะสม บนพื้นฐานของ ความแตกต่างในความต้องการการเรียนรู้ของผู้เรยี นแต่ละคน 5. ผลการเรียนรู้ท่ีเน้นสมรรถนะ รวมถึงการนำ�ไปใช้และสร้างองค์ความรู้ได้ พร้อมกับ การพฒั นาทักษะและคุณลักษณะที่ส�ำ คญั การจัดการศึกษาฐานสมรรถนะใช้แนวคิดแบบองค์รวม (Holistic Approach) คือ มองเด็ก ทุกดา้ น “Whole Child” มงุ่ พาผู้เรยี นให้ไปถงึ มาตรฐานท่ีแท้จริงมากกว่าการบันทกึ ผลการเรยี นรู้ กับแนวคิดสมรรถนะ เป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล มากข้นึ เป็นหลกั สูตรฐานสมรรถภาพ (Proficiency-Based System) ซ่ึงจากการศกึ ษาสำ�รวจกไ็ ด้ พบลกั ษณะดังกล่าวนีด้ ้วยเชน่ กันในสหรัฐอเมริกาและทอ่ี ่ืน ๆ 6) แนวคดิ ส�ำ คญั ทบ่ี ่งบอกถึงการจดั การศึกษาฐานสมรรถนะ ประเทศในสหภาพยุโรป ไม่ค่อยใช้คำ�ว่า Competency Mastery และ Proficiency ในการกลา่ วอ้างถึงการจดั การศึกษาเชงิ สมรรถนะ แตม่ กั ใช้คำ�วา่ ผลลัพธข์ องการเรียนรู้ (Learning Outcomes) เปน็ แนวคดิ ทสี่ �ำ คญั จากการศกึ ษา มีคำ�สำ�คัญทเี่ ก่ียวกบั สมรรถนะ ดังนี้ Learner-Centered และ Student-Centered สองค�ำ นี้เป็นที่เข้าใจแพรห่ ลายเป็นองคป์ ระกอบสำ�คญั ของการจัดการศึกษาเชงิ สมรรถนะ นักการศึกษาได้มีคำ�กล่าวท่ีแสดงให้เห็นถึงการเปล่ียนแปลงถึงระดับพ้ืนฐาน เป็นการปฏิวัติทาง การศึกษาเลยทีเดยี ว ดงั นี้ “ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะไม่ใช่โลกฉันใด เด็ก ๆ ก็เป็นศูนย์กลางของ การเปลี่ยนแปลงของทุกส่ิงฉันนั้น เม่ือใดก็ตามท่ีจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของ ผเู้ รยี นทแ่ี ตกตา่ งกนั เมอ่ื นน้ั ผลกระทบทเ่ี ราตอ้ งค�ำ นงึ ถงึ กค็ อื บทบาทของครู หลกั สตู ร จะเปน็ อยา่ งไร โครงสรา้ งเวลาทใี่ ชใ้ นการจดั การศกึ ษา และสถานทใ่ี นการจดั การศกึ ษา จะมกี ารออกแบบใหส้ อดคลอ้ ง กันอย่างไร มนั คอื การปฏวิ ัติ” 64รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลักสูตรการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวขัอง Formative Assessment ต่างจาก Summative Assessment ในการจัดการศึกษา เชงิ สมรรถนะ ครตู อ้ งการขอ้ มลู ผลการเรยี นเพอื่ น�ำ มาปรบั ปรงุ การสอนของตน และเพอ่ื สะทอ้ นกลบั ให้ เดก็ ไดร้ วู้ า่ เขาควรปรบั ปรงุ การเรยี นรขู้ องเขาตรงไหนอยา่ งไร จงึ ตอ้ งใชก้ ารประเมนิ แบบ Formative Assessment การประเมนิ แบบ Summative Assessment โดยการสอบ (Examination) ใช้เพื่อ การตัดสินผลการจบการศึกษา และการศกึ ษาต่อ Personalization เป็นแนวคิดท่ีนักการศึกษาใช้เพ่ือเป็นแนวทางพัฒนาสู่การศึกษา เชิงสมรรถนะ เพราะหลักอันเป็นท่ีเข้าใจกันก็คือ เด็กต้องได้รับการพัฒนาในระดับที่เหมาะสมกับ ความต้องการของแตล่ ะคน 7) แนวคิดการจดั ทำ�แผนการจัดการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ การจดั ทำ�แผนการจดั การเรียนการสอนฐานสมรรถนะ หมายถงึ การวางแผนการสอนของ หลักสูตรรายวิชา ที่เกิดจากการศึกษาและกำ�หนดแนวทาง และวิธีการตั้งแต่ก่อนการสอน ขณะ ดำ�เนินการสอน และหลังการสอน โดยมงุ่ เน้นใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะดา้ นความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ ที่สอดคลอ้ งกบั จุดประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวิชา ส่งผลให้ผู้เรียนที่ไดผ้ ่านการเรยี นจบหลักสูตร รายวชิ าน้นั แล้วสามารถปฏบิ ัตงิ านได้บรรลุเปา้ หมายของจุดประสงคร์ ายวชิ าและสมรรถนะรายวชิ า องคป์ ระกอบของการจัดท�ำ แผนการสอนฐานสมรรถนะ แบง่ ไดเ้ ปน็ 4 องค์ประกอบ ซึง่ จัดเปน็ ล�ำ ดับ ขัน้ ดังน้ี (ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2560) 1) ขน้ั ศึกษาและจดั เตรียมทรัพยากรพ้นื ฐาน การวางแผนดว้ ยการเริ่มตน้ จากการศกึ ษา วิเคราะห์ตลอดจนจัดเตรียมทรัพยากร นับเป็นองค์ประกอบท่ีเป็นข้ันตอนแรกท่ีมีความสำ�คัญมาก ภารกิจทจี่ ะตอ้ งท�ำ ในขั้นตอนนม้ี ดี งั นี้ 1.1) ศกึ ษาหลกั สตู ร วตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร หวั เรอื่ ง ตลอดจนขอบเขตของเนอื้ หา ทีก่ ำ�หนดอยา่ งคร่าว ๆ ในหลักสตู ร 1.2) ส�ำ รวจและวินจิ ฉัยผเู้ รียน 1.3) ส�ำ รวจทรพั ยากรอนื่ ๆ เชน่ งบประมาณสนบั สนนุ สง่ิ อ�ำ นวยความสะดวกตอ่ การเรยี น การสอน เชน่ อปุ กรณ์สาธิต อปุ กรณ์ชว่ ยสอน เปน็ ต้น 1.4) สำ�รวจสภาวะแวดล้อม ตลอดจนความรู้ความสามารถของผู้สอนท่ีจะต้องนำ� มาใช้ในการพจิ ารณาแนวทางทีเ่ หมาะสมท่ีสดุ ต่อไป 2) ข้ันกำ�หนดแนวทางและวิธีการ ภายหลังจากศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้นได้แล้ว กจ็ ะน�ำ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วมาก�ำ หนดวธิ กี ารสอนและสอ่ื การเรยี นการสอน ภารกจิ ทจ่ี ะตอ้ งกระท�ำ ในขน้ั น้ี มีดังนี้ 2.1) ก�ำ หนดวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 2.2) ก�ำ หนดวธิ นี �ำ เขา้ สบู่ ทเรียนและการสร้างแรงจูงใจ 2.3) กำ�หนดวิธสี อนในแตล่ ะขอบเขตเนอื้ หาและวัตถุประสงค์ 65รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขัอง 2.4) ก�ำ หนดสอื่ การเรียนการสอน พร้อมกบั การจัดเตรยี มสื่อท่จี ำ�เป็นไวใ้ หพ้ รอ้ ม 2.5) ก�ำ หนดเวลาที่ใช้ในแตล่ ะขัน้ ตอน กำ�หนดวธิ กี ารประเมินผลผเู้ รียน ตลอดจนเลอื กและสร้างเครื่องมือต่าง ๆ ที่เหมาะสม เชน่ ใบงาน แบบทดสอบ เปน็ ต้น 3) ขั้นดำ�เนินกิจกรรมการเรียนการสอน เป็นการนำ�สิ่งท่ีได้ศึกษาจัดเตรียมไว้มาใช้ ในขนั้ ตอนนจี้ ะตอ้ งพยายามใชว้ ธิ กี ารทจี่ ดั เตรยี มไว้ ผสู้ อนจะตอ้ งใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะในการน�ำ การเรยี น ให้สำ�เรจ็ ผลตามเปา้ หมายและวิธีการ 4) ขั้นการประเมินผล เป็นข้ันของการตรวจสอบผลว่า ปฏิบัติการที่ผ่านมาเป็นเช่นไร ผู้เรียนเข้าใจมากน้อยเพียงใด การเตรียมการในขั้นน้ีจะต้องวางแผนไว้ล่วงหน้า เมื่อถึงขั้นตอนน้ี กจ็ ะเปน็ ขัน้ ของการนำ�ส่งิ ทเี่ ตรยี มมาใช้ แลว้ เกบ็ ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ความรู้ความเขา้ ใจของผู้เรียนในทนั ที ซงึ่ กจ็ ะปอ้ นขอ้ มลู กลบั ไปยงั ผเู้ รยี นเพอ่ื ปรบั ความรคู้ วามเขา้ ใจใหเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมายจากองคป์ ระกอบ ของการจัดระบบในการวางแผนการสอนดังกลา่ ว จะเปน็ แนวทางพัฒนาเพ่ือกำ�หนดขนั้ ตอนการจัด การเรยี นรู้ฐานสมรรถนะให้เป็นระบบโดยด�ำ เนนิ การตามข้ันตอนดังน้ี 4.1) ศึกษาหลักสูตร วตั ถปุ ระสงคท์ ั่วไป ตลอดจนขอบเขตเนอื้ หา 4.2) ศกึ ษาวนิ จิ ฉัยเก่ียวกับตัวผู้เรยี น 4.3) ก�ำ หนดวตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 4.4) เลือกวธิ ีการสอนตลอดจนส่อื การเรยี นการสอน 4.5) ด�ำ เนินกิจกรรมการเรยี นการสอน 4.6) ประเมนิ ผลความกา้ วหน้าในการเรยี นของผู้เรยี น 4.7) ศึกษาข้อมูลย้อนกลับเพ่ือนำ�มาปรับปรุงวิธีสอนในครั้งต่อไปผู้สอนจะต้องมี การวางแผนไวใ้ นทุกขน้ั ตอนอยา่ งละเอยี ดล่วงหนา้ เพือ่ ช่วยให้ผเู้ รยี นมีความเขา้ ใจในบทเรียนไดม้ าก ที่สุด และในการดำ�เนินการจัดการเรียนการสอนจะสามารถดำ�เนินการได้หลายรูปแบบตามความ เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียนและสภาพแวดล้อม โดยผู้สอนจำ�เป็นท่ีจะต้องมีการเตรียมการอย่าง ตอ่ เนอื่ ง ตง้ั แตเ่ รม่ิ ตน้ กอ่ นการสอน ขณะด�ำ เนนิ การสอน และประเมนิ ผลความกา้ วหนา้ เปน็ ล�ำ ดบั สดุ ทา้ ย 8) ลกั ษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะ 1) กำ�หนดผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes/Course Outcomes) หรือเรียกว่า สมรรถนะ หรือภาระงาน (Competencies or Tasks) อยา่ งชัดเจน ซึง่ สมรรถนะท่ีกำ�หนดขึ้นเป็น ส่ิงจ�ำ เป็นกบั การศกึ ษาและการปฏิบัตงิ านในอาชพี ต่าง ๆ ที่คาดหวังวา่ ผู้เรยี นจะสามารถปฏบิ ัตไิ ด้ เมื่อจบหลักสตู ร ผู้สอนจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามสมรรถนะทก่ี �ำ หนด 2) จัดกิจกรรมการเรียนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ เลือกใช้สื่อที่หลากหลาย และอุปกรณ์ ทจ่ี ะช่วยใหผ้ เู้ รียนปฏบิ ตั ภิ าระงาน (Task - Oriented Activities) ได้ สำ�เรจ็ ตามสมรรถนะที่กำ�หนด เนน้ กระบวนการเรยี นรู้ ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั (Feedback) แกผ่ เู้ รยี นเปน็ ระยะ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดป้ รบั ปรงุ แกไ้ ขการปฏบิ ัติงานใหไ้ ดต้ ามเกณฑ์ 66รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขัอง 3) ให้เวลาผู้เรียนแต่ละคนเพียงพอที่จะปฏิบัติภาระงานหน่ึง ๆ ให้สำ�เร็จก่อนท่ีจะไปสู่ ภาระงานต่อไป ให้ผู้เรียนแต่ละคนปฏิบัติภาระงานให้สำ�เร็จตามเกณฑ์การปฏิบัติงานท่ีกำ�หนด ใชก้ ารวดั ผลแบบองิ เกณฑ์ (Criterion Referenced) ในการประเมนิ ผลความส�ำ เรจ็ ของผเู้ รยี นแตล่ ะคน 9) กลวิธีการจัดเรยี นการสอน (Delivery Strategies) • ใช้สอ่ื ประเภท Audio-Visual Materials • การระดมสมอง (Brainstorming) • กรณีศึกษา (Case Study) • ประสบการณท์ �ำ งานร่วมกนั (Cooperative work Experience) • การสาธติ (Demonstration) • การอภิปราย (Discussion) • การฝึกซาํ้ ๆ (Drill) • ศกึ ษานอกสถานที่ (Field Trip) • กิจกรรมกล่มุ (Group Work) • เชิญวิทยากรมาบรรยาย (Guest Speaker) • ชุดการเรียน (Modules/Learning Packages) • การบรรยาย (Lecture) • ห้องปฏบิ ัตกิ ารแบบเปิด (Open Lab Sequences) • จดั อภปิ รายโดยผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น (Panel Discussions) • โครงงาน (Projects) เอกสารจากองคก์ ร บรษิ ัท (Enterprise Papers) ผลงาน ต้นแบบ (Prototypes) โครงงานวจิ ัย (Research Projects) แบบจำ�ลองตา่ ง ๆ (Models) • การถาม – ตอบ (Questions and Answers) • การทบทวน / ทำ�กจิ กรรมเพม่ิ เติม (Review / Reinforcement) • บทบาทสมมตุ ิ (Role Playing) • เกมสถานการณ์จ�ำ ลอง (Simulation Games) • Text or Reference Assessment 10) แนวโน้มการจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ (Competency Based Education: CBE) CBE มงุ่ ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถแสดงความสามารถทเ่ี ชยี่ วชาญ (ช�ำ นาญ) ซง่ึ ต้องใชเ้ วลาในการ เรียนรยู้ าวนาน แนวทาง CBE จะก�ำ หนดความคาดหวงั ต่อการเรยี นร้ขู องผูเ้ รยี นไวส้ ูง และคาดหวงั กบั ผเู้ รยี นทกุ คน ผเู้ รยี นแตล่ ะคนควรรบั ผดิ ชอบตอ่ ตวั เองใหถ้ งึ เปา้ หมายการเรยี นทมี่ งุ่ พฒั นาสมรรถนะ นั้น ๆ นักการศึกษาต้องช่วยเอื้ออำ�นวยสนับสนุนผู้เรียนตามลักษณะของแต่ละบุคคลด้วย ผู้เรียน ควรสามารถเรยี นในสถานทแ่ี ละเวลาทแี่ ตกตา่ งกนั จะไดร้ บั การประเมนิ ตอ่ เมอื่ ผเู้ รยี นพรอ้ ม ประเมนิ 67รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอั ง ความก้าวหน้าตามอัตราความก้าวหน้าของแต่ละคน ผู้เรียนต้องได้รับการช่วยเหลือสนับสนุน อยา่ งยดื หยนุ่ ผเู้ รยี นในแนว CBE จะไดร้ บั การประเมนิ ผา่ นไดร้ บั หนว่ ย (กติ ) การเรยี นเมอื่ เขาสามารถ แสดงออกถงึ ความเชย่ี วชาญตามเปา้ หมายการเรยี นรทู้ ่ีก�ำ หนดไว้ ปจั จุบนั มคี วามสนใจต่อ CBE เพ่มิ ข้ึนมาก แนวทาง CBE สามารถช่วยผเู้ รยี นมนั่ ใจวา่ จะ สำ�เร็จถึงเป้าหมายในการศึกษาเพื่อท่ีจะไปสู่เป้าหมายด้านอาชีพ ในปี 2015 มีรายงานว่า 42 รัฐ ในประเทศสหรัฐอเมริกาได้ใช้ CBE โดยมีข้ันตอนคือ การวางแผน การทดลองนำ�ร่อง (Piloting) และการใช้ (Implementing) U.S. Department of Ed. ได้ดำ�เนินโครงการมีงบประมาณเพื่อ “ยกระดับ CBE” แม้จะยังไม่มีองค์ความรู้เชิงวิชาการที่เกิดจากโครงการนี้ แต่มีการนำ�เสนอใน Webpage ทเ่ี สนอว่า CBE ทำ�ให้เกดิ ประโยชน์ทางการศึกษา Every Student Succeeds Act (ESSA) กำ�หนดให้การประเมินผู้เรียนมีความยืดหยุ่น รัฐใดสามารถทำ� (การประเมิน) เองได้ให้ใช้แนวทาง CBE ในการจัดการศึกษา การทดสอบให้อยู่ ในระดับพื้นท่ีเท่าน้ัน (Local Testing) นอกจากนี้ CBE ยังมีแนวทางการประเมินใหม่ ๆ (more innovative assessment approaches) เชน่ การประเมนิ การปฏบิ ตั ิ (performance assessment) การใช้พอร์ทโฟลิโอ ซ่ึงเป็นแนวทางการประเมินที่เข้าถึง (capture) ความเชี่ยวชาญของผู้เรียน ซง่ึ เปน็ ความเชยี่ วชาญทเี่ ปน็ ผลรวมของเปา้ หมายการเรยี นรู้ รายงานของ Innovation Lab Network College และ Career Read Task Force มบี ทสรปุ วา่ ในการสนบั สนนุ ของมหาวทิ ยาลยั และหนว่ ยงาน ทำ�ให้ผู้เรียนสามารถออกแบบการเรียน (Redesign) ของตัวเองใหม่ได้ สำ�หรับระบบการประเมิน เน้นความท้าทาย ความเป็นบุคคลเฉพาะตัวและใช้ฐานสมรรถนะ แม้ว่า CBE จะไม่ธรรมดาไม่ใช่ การจดั การศกึ ษาแบบเดมิ ๆ แตก่ ม็ คี �ำ นยิ ามทต่ี กลงกนั (โดย INACOL, CESSO) ค�ำ นยิ ามประกอบดว้ ย ลกั ษณะส�ำ คญั ตอ่ ไปน้ี • ผูเ้ รียนมคี วามเชยี่ วชาญอยา่ งกา้ วหนา้ • สมรรถนะ เป็นความสามารถทแ่ี สดงเปน็ องคค์ วามรทู้ ช่ี ัดเจนได้ (Explicit) สามารถวดั ได้ สามารถปรบั เปลยี่ น (Transferable) วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรไู้ ปเปน็ พลงั ความรคู้ วามสามารถของ ผู้เรยี นได้ • การประเมนิ เปน็ สงิ่ ทมี่ คี วามหมายมาก (Meaningful) และเปน็ การประเมนิ ประสบการณ์ การเรียนรู้เชิงบวกของผเู้ รียน • นักเรียนได้เวลาในการเรียน การสนับสนนุ ตามความจำ�เปน็ แต่ละบคุ คล • ผลการเรยี นรู้ (Learning Outcomes) เนน้ สมรรถนะทป่ี ระยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ เปน็ การสรา้ งสรรค์ ความรู้ ซ่ึงผลการเรียนรเู้ หลา่ น้ชี ่วยพัฒนาทักษะสำ�คญั ของผเู้ รียน มีงานวิจัยท่ีศึกษาจากครูและนักเรียนท่ีจัดการเรียนการสอนแนว CBE บางเร่ือง สำ�รวจสมรรถนะของผู้เรียน เช่น การมีแรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) วินัยในตนเอง (Self - Regulated) พฤตกิ รรมทางวชิ าการ (Academic Behaviors) ของนกั เรียนเกรด 9 สมรรถนะ เปน็ ชุดของความสามารถในการเรยี นรทู้ เี่ กย่ี วกับความสำ�เร็จทางวิชาการ 68รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สูตรการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ยี วขอั ง มีงานวิจัยท่ีรายงานทั้งข้อดีและข้อจำ�กัดของแนวโน้ม CBE ข้อดีคือ พบว่ามีความ เช่ือมโยงทางบวก ระหว่างประสบการณ์สำ�คัญของผู้เรียนกับความสามารถในการเรียนรู้ของ ผู้เรียนท่ีเปล่ียนแปลงเชิงบวก เปลี่ยนแปลงทั้งทักษะและพฤติกรรม เช่น การมีแรงจูงใจภายใน การจัดการตนเอง (Self - Efficacy) การควบคมุ ความคดิ ในรายงานการวิจยั รายงานว่า จัดการแบบ ยดื หยนุ่ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความกา้ วหนา้ เชน่ ใหเ้ วลาเพมิ่ เตมิ กบั ผเู้ รยี น สนบั สนนุ เชงิ บวกกบั ผเู้ รยี นเปน็ พเิ ศษ เพื่อให้เขามแี รงจูงใจภายใน และรู้ตวั ว่าตนเองมคี วามสามารถทเ่ี พียงพอด้านคณติ ศาสตร์ การวิจยั เก่ยี วกับ CBE มีตวั แปรที่กว้างมาก ในการทดลองใช้ CEB และการชว่ ยโรงเรียน ในการจัดการศึกษาแนว CBE มีหลายโรงเรียนที่ใช้แนว CBE แล้วนักเรียนก้าวหน้าตามมาตรฐาน วิชาการถึงระดับที่สามารถแสดงออกอย่างเชี่ยวชาญ รวมทั้งผู้เรียนได้หน่วยกิตในการเรียนด้วย อยา่ งไรก็ตามมีบางโรงเรยี นที่ไม่ได้ทดลองใช้ CBE เตม็ รูปแบบทง้ั ระดบั นโยบายและระดับชั้นเรียน ตารางที่ 3 ความแตกตา่ งระหว่าง Competency - Based Education (CBE) กับ Standards – Based Education (SBE) Competency-Based Education (CBE) Standards-Based Education (SBE) • ระบบ CBE เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ • SBE มรี ะบบของการสอน ระบบการประเมนิ หน่วยกิตการเรียนเมื่อเขาสามารถแสดงออก การใหเ้ กรด ประเมนิ จากความรคู้ วามเขา้ ใจ ความสามารถท่เี ฉพาะเจาะจงในวิชานัน้ ๆ และทกั ษะของผเู้ รยี น • เป้าหมายการเรียนรู้ คือ ชดุ กลมุ่ ของมาตรฐาน • เปา้ หมายการเรยี นรู้ (แนว SBE) คอื ความรู้ (เป้าหมายจงึ กว้างกว่า SBE ) แต่ละคนพฒั นา และทกั ษะทผ่ี เู้ รยี นแตล่ ะคนพฒั นากา้ วหนา้ ก้าวหน้าถึงระดับที่ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ ไปถึงมาตรฐานการเรียนร้ทู ก่ี �ำ หนดไว้ สงิ่ ทตี่ นเองได้เรยี นรมู้ าได้ • การบรรลุถึงสมรรถนะของผู้เรียนพิจารณาจาก การทผ่ี เู้ รยี นใชท้ ง้ั ความรแู้ ละทกั ษะอยา่ งเชยี่ วชาญ รวมถึงความคิด (Cognitive) ความเข้าใจผู้อ่ืน (Intrapersonal) ความเข้าใจตนเอง (Intra- personal) จุดเน้นที่เหมือนกันของ CBE กับ SBE คือ เป้าหมายการเรียนรู้เป็นเป้าหมายท่ีมี ความเหมาะสม เป็นท้ังความรู้ ทักษะ และความคาดหวังว่าผู้เรียนสามารถแสดงออกในการ ประยกุ ต์ใชส้ งิ่ ท่ีเรยี นรู้ 69รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook