Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางจัดการเรียนรู้ธศ.เอก-ธรรม

แนวทางจัดการเรียนรู้ธศ.เอก-ธรรม

Published by suttasilo, 2021-06-28 10:53:24

Description: แนวทางจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษาเอกวิชาธรรม

Keywords: แนวทางจัดการเรียนรู้,วิชาธรรม,ธรรมศึกษาเอก

Search

Read the Text Version

94 ใบความร้ทู ี่ ๗ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสงั สารวัฏ ๑. คติ ๑. จิตเฺ ต สงกฺ ิลฏิ ฺเ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา. เม่อื จิตเศรา้ หมองแลว้ ทุคตเิ ป็นอันหวงั ได.้ ๒. จติ ฺเต อสงฺกิลฏิ เฺ  สคุ ติ ปาฏกิ งขฺ า. เมื่อจติ ไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเปน็ อันหวงั ได.้ อธบิ าย สังสารวัฏ หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด ได้แก่ ลำ�ดับการสืบต่อท่ีเป็นไปไม่ขาดสายแห่งขันธ์ ธาตุ และอายตนะทั้งหลาย หรอื การเวยี นวา่ ยตายเกิดอยใู่ นภพภูมิก�ำ เนดิ ตา่ งๆ คติ คอื ภูมเิ ปน็ ที่ไป หรอื เป็นทถ่ี งึ เบื้องหนา้ แตต่ าย มี ๒ ประเภท คือ (๑) ทุคติ ภมู เิ ป็นที่ไปขา้ งชัว่ สถานที่ไปเกิดทมี่ แี ตค่ วามทกุ ข์ร้อน (๒) สุคติ ภูมิเป็นท่ไี ปขา้ งดี สถานทไ่ี ปเกิดทีม่ คี วามสุขสบาย คติทัง้ ๒ น้ัน มที ีม่ าในพระสตู รต่างๆ ดังน้ี ๑. ทุคติ ทุคติ ในบางสูตรแจกเป็น ๒ คือ (๑) นิรยะ คอื นรก โลกอนั หาความเจรญิ มิได้ (๒) ตริ จั ฉานโยนิ กำ�เนิดสัตว์ดิรจั ฉาน (สตั วเ์ จรญิ โดยขวางหรอื ไปตามยาว) บางสตู รเพิ่มปติ ตวิ สิ ยะ แดนแห่งเปรต เข้าไปเปน็ ๓ ดว้ ยกนั อีกอย่างหน่งึ วา่ อบาย โลกอนั ปราศจากความเจริญ ทุคติ ภูมิเป็นท่ไี ปข้างชั่ว วนิ บิ าต โลกทีท่ ำ�ให้ สัตวผ์ ู้ตกอยไู่ รอ้ ำ�นาจ ในสตู รโดยมากเพ่มิ นิรยะ ไวต้ อนทา้ ย จงึ รวมเปน็ ๔ ในคัมภรี ์อรรถกถาพระวินยั ปิฎกและพระสตุ ตนั ตปฎิ ก ไดใ้ ห้ค�ำ จำ�กดั ความทุคติ ๔ อยา่ ง ดังน้ี อบาย หมายถึง ภูมิอันปราศจากความสุขไร้ความเจริญ หรือสถานที่ปราศจากบุญท่ีเป็นเหตุ ใหไ้ ด้สมบตั ิ ๓ คอื มนุษย์ สวรรค์ นพิ พาน ทุคติ หมายถึง ภูมิอันมีแต่ความทุกข์ หรือสถานท่ีสัตว์ไปเกิดเพราะผลกรรมชั่วอันเนื่องจาก ความเปน็ คนเจา้ โทสะ วินิบาต หมายถึง ภูมิเป็นท่ีตกแห่งสัตว์ผู้ไร้อำ�นาจ หรือตกไปมีแต่ความพินาศ มีอวัยวะแตก กระจดั กระจาย นริ ยะ หรอื นรก หมายถงึ ภูมิอันไม่มคี วามเจริญ มีแตค่ วามเร่าร้อนกระวนกระวาย ในคัมภีร์สุมังคลวิลาสินี คำ�ว่า วินิบาต หมายถึง สัตว์จำ�พวกที่ไม่นับเข้าในสัตว์ผู้บังเกิด ในอบายภมู ิ ๔ ไดแ้ ก่ พวกเวมานกิ เปรต คือเปรตท่ีแมจ้ ะมีวิมานอยู่ แตไ่ มร่ งุ่ เรอื งเหมอื นเทพอ่ืนๆ ได้เสวยสุข เพยี งชั่วคร่แู ลว้ เสวยทุกข์ทรมานต่างๆ เป็นชว่ งๆ สลบั กนั ไป แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศกึ ษา ช้ันเอก วชิ าธรรม

95 ๑) นริ ยะ หรอื นรก นรกในลทั ธิศาสนาอ่ืนตามพระมตสิ มเด็จพระมหาสมณเจา้ ฯ สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงประทานความรู้เชิงวิเคราะห์วิจารณ์เกี่ยวกับนรกในลัทธิ ศาสนาอ่นื ไวว้ ่า “นรกน้ันมิใชม่ เี ฉพาะของเรา ลทั ธศิ าสนาอืน่ ท่ยี อมรบั การเวียนว่ายตายเกิด ก็มนี รกดว้ ยกนั ทั้งน้ัน เช่นของศาสนาพราหมณ์ซึ่งคล้ายกับนรกในพระพุทธศาสนาของเรา นิรยะนั้นเป็นศัพท์ภาษาบาลี พวกพราหมณ์เขาเรียกว่า นรกะ ตามศัพท์สันสกฤต ในภาษาของเราเรียกว่า นรก ตามอย่างเขา อีกอย่าง เขาเรยี กวา่ ปาตาละ เราเรยี กตามเขาวา่ บาดาล แตเ่ ราเขา้ ใจไปวา่ นาคภพ นรกของเขานนั้ เปน็ ทล่ี งโทษอาตมนั ผู้ท�ำ บาปในเมื่อยังอยูใ่ นโลกน้ี แบ่งเปน็ สว่ นใหญ่ ๗ สว่ น ในหนังสอื ทอี่ ่านไม่ไดร้ ะบวุ ่าใครควรตกนรกขมุ อะไร ตามบาปที่ท�ำ ทูตของพระยมคอยตรวจดอู ยตู่ ลอดโลก พอมคี นตายลงก็นำ�ตัวไปแสดงแก่พระยม ทูตเหล่าน้ี ไมม่ คี �ำ เรยี กในภาษาสนั สกฤต แตข่ องเราเรยี กวา่ นริ ยบาล ทางไปนรกนนั้ ตอ้ งผา่ นแมน่ า้ํ เพลงิ จงึ มธี รรมเนยี มวา่ เมื่อคนเจ็บหนักจวนตาย ทายาทย่อมจัดทำ�โคทาน คือให้โคแก่พราหมณ์ตัวหนึ่ง เพ่ือจะได้ใช้เป็นพาหนะ ขา้ มแมน่ าํ้ เพลงิ นน้ั เมอื่ ไปถงึ แลว้ ไมป่ รากฏวา่ พระยมไดซ้ กั ถามเอาค�ำ ใหก้ ารของผนู้ น้ั มรี ายงานไวเ้ สรจ็ แลว้ วา่ ผ้นู ้นั เมอื่ ยงั อยู่ ณ โลกน้ี ได้ท�ำ กรรมอยา่ งไรไว้บ้าง เปน็ แตเ่ ปดิ รายงานนนั้ สอบดูแล้วพิพากษาทีเดียว ถ้าเป็น ผู้ไม่ได้ทำ�บาปหรือทำ�บ้าง แต่ได้ทำ�บุญไว้ อาจกลบลบกัน ย่อมถูกปล่อยตัวส่งไปขึ้นสวรรค์หรือไปเกิดใหม่ ในมนษุ ยโลก ถา้ เปน็ ผไู้ ดท้ �ำ บาปไวม้ ากหรอื ท�ำ บาปหนกั ยอ่ มลงโทษสมแกค่ วามผดิ การลงโทษทผ่ี นู้ นั้ จะไดร้ บั ในคราวตกนรก คอื ถกู ขงั ในทม่ี ดื ตอื้ หรอื จมอยใู่ นบอ่ เตม็ ดว้ ยปสั สาวะสนุ ขั และนาํ้ มกู ของคน ถกู ลงโทษดว้ ยไฟ เหล็กแดง ใหส้ ตั ว์มพี ิษกัด ให้นกและสัตวร์ า้ ยทก่ี ินเนอ้ื เป็นอาหารจิกบา้ งกดั บา้ ง ถูกสนตะพายท่จี มกู ลากไป บนมีดอันคมกริบ ถูกบังคับให้ลอดรูเข็ม ถูกให้แร้งควักลูกตา ถูกภูเขาสองข้างกระแทกกันบด แม้อย่างน้ัน ก็ยังไม่ตาย ทนไปได้กว่าจะส้ินกรรม คร้ันสิ้นกรรมแล้วย่อมพ้น ไม่ต้องติดเสมอไปเหมือนสัตว์นรกบางลัทธิ แต่นั้นย่อมไปเกิดในกำ�เนิดสัตว์ดิรัจฉานเลวๆ กว่าจะพบช่องทำ�ความดี จึงจะได้คติที่ดี เร่ืองท่ีเล่ามาน้ี ผู้แต่งอา้ งว่าปกรณช์ ่อื ปทั มปุราณะ ชะรอยนรกนี้จักช่อื ปัทมนรก ตรงกบั ของเราว่าปทมุ นริ ยะ” นรกในคัมภรี ์พระไตรปิฎก ในเทวทูตสูตร อุปริปัณณาสก์ มัชฌิมนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๔/๓๓๔ พระพุทธองค์ ทรงแสดงว่า มนุษย์ผู้ทำ�บาปไว้ในโลกน้ี เมื่อตายไปเกิดในนรก จะถูกพวกนายนิรยบาล คือ ผู้คุมกฎนรก หรอื ผทู้ �ำ หนา้ ทล่ี งโทษสตั วน์ รกจบั น�ำ ไปพบพญายมราช ผทู้ �ำ หนา้ ทพี่ พิ ากษาตดั สนิ โทษสตั วน์ รกโดยพญายมราช จะถามสัตว์นรกน้นั ว่า เมื่ออยูใ่ นโลกมนุษยเ์ คยเห็นเทวทตู ท้ัง ๕ นี้หรือไม่ เมือ่ เห็นแล้วท�ำ ไมถงึ ยังประมาทอยู่ เปน็ ต้น คำ�ว่า เทวทูต หมายถึง ทูตของพญายมราชท่ีส่งสัญญาณตักเตือนมนุษย์ในโลกให้รู้ธรรมดา ของชวี ิต เพื่อมใิ หป้ ระมาทมัวเมาในชวี ิต มี ๕ อยา่ ง คอื (๑) เดก็ แรกคลอด (๒) คนแก่ (๓) คนเจ็บ (๔) คนถกู ลงราชทณั ฑ์ (๕) คนตาย มอี ธิบายดงั น้ี นายนิรยบาลจะจับสัตว์นรกนั้นท่ีแขนท้ังสองข้างแสดงแก่พญายมราชว่า คนผู้นี้ไม่ปรนนิบัติ บดิ ามารดาเลย ไมบ่ �ำ รงุ สมณพราหมณ์ ไมอ่ อ่ นนอ้ มตอ่ ผใู้ หญใ่ นตระกลู ขอจงลงอาญาแกค่ นผนู้ เ้ี ถดิ กอ่ นจะลง อาญาโทษ พญายมราชกจ็ ะสอบสวนซกั ไซไ้ ตถ่ ามถงึ เทวทตู ตา่ งๆ วา่ เจา้ ไมเ่ คยเหน็ เดก็ แดงๆ ทย่ี งั ออ่ นนอนหงาย เปื้อนมูตรคูถของตนอยู่ในแดนมนุษยบ์ า้ งหรือ…ไม่เคยเหน็ หญิงหรอื ชายทม่ี อี ายุ ๘๐ ปี ๙๐ ปี หรือ ๑๐๐ ปี แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

96 ผู้แก่หง่อม มีซ่ีโครงคด หลังงอ ถือไม้เท้า เดินงกๆ เงิ่นๆ โซเซ ฟันหัก ผมหงอก หนังเหี่ยวย่น ตัวตกกระ ศรี ษะลา้ น ในแดนมนษุ ยบ์ า้ งหรอื …ไมเ่ คยเหน็ หญงิ หรอื ชายผปู้ ว่ ยเปน็ ไขห้ นกั ทกุ ขท์ รมาน นอนเปอื้ นมตู รคถู ของตน ต้องมีคนอ่ืนคอยพยุงลุกพยุงเดิน ในแดนมนุษย์บ้างหรือ…ไม่เคยเห็นพระราชาท้ังหลายในแดนมนุษย์จับโจร ผู้ประพฤตผิ ดิ มาแลว้ ส่ังลงราชทณั ฑว์ ิธีตา่ งๆ เปน็ ตน้ วา่ ลงโทษแบบโบยดว้ ยแส้ โบยด้วยหวาย ตดี ว้ ยตะบอง ส้นั ตดั มือ ตดั เท้า ตัดทัง้ มือทง้ั เท้าบา้ งหรือ….ไม่เคยเหน็ หญิงหรือชายทีต่ ายแลว้ หน่ึงวนั สองวนั หรือสามวนั ขึ้นพองอืด เขียวชาํ้ มนี ํ้าเหลืองไหลเยมิ้ ในแดนมนุษย์บา้ งหรือ เม่อื สัตวน์ รกนั้นตอบวา่ เคยเห็น พญายมราช จึงสำ�ทับว่า เม่ือเจ้ารู้เดียงสาเป็นผู้ใหญ่ข้ึน มิได้มีความคิดบ้างหรือว่า แม้เราเองก็มีความเกิดเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเกิดไปได้...แม้เราเองก็มีความแก่เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้...แม้เราเองก็มีความ เจ็บป่วยเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บป่วยไปได้...สัตว์ท่ีทำ�บาปกรรมไว้นั้นๆ ย่อมถูกลงโทษด้วยวิธีตา่ งๆ ในปจั จบุ นั จะปว่ ยกล่าวไปไยถงึ ชาตหิ นา้ เลา่ .... แมเ้ ราเองกม็ คี วามตายเปน็ ธรรมดา ไมล่ ว่ งพน้ ความตายไปได้ ควรที่จะทำ�ความดีทางกาย ทางวาจา และทางใจไว้ สัตว์นรกนั้นกลับตอบว่า ข้าพเจ้าไม่อาจคิดเช่นน้ันได้ เพราะมวั ประมาท” พญายมราชจงึ ตดั สนิ ลงโทษโดยกลา่ ววา่ “เจา้ ไมไ่ ดท้ �ำ ความดที างกาย ทางวาจา และทางใจไว้ เพราะมวั ประมาทเสยี ดงั น้ัน นายนริ ยบาลจักลงโทษเจ้าในฐานเปน็ ผู้ประมาท บาปกรรมน้ไี ม่ใชม่ ารดาบดิ า ไม่ใช่พ่ีน้องชายหรือพี่น้องหญิง ไม่ใช่มิตรสหาย ไม่ใช่ญาติสายโลหิต ไม่ใช่สมณะและพราหมณ์ ไม่ใช่เทวดา ทำ�ใหเ้ จ้า ตวั เจา้ เองนัน่ แหละท�ำ เข้าไว้ เจ้าเทา่ นัน้ จกั เสวยวบิ ากกรรมน้ี วิธกี ารลงโทษในนรก ล�ำ ดบั นน้ั นายนริ ยบาลจะลงโทษสตั วน์ รกดว้ ยเครอ่ื งพนั ธนาการ ๕ แหง่ (ปญั จพธิ พนั ธนะ) คอื ตรงึ ตะปเู หลก็ แดงทมี่ อื ๒ ขา้ ง ทเ่ี ทา้ ๒ ขา้ ง และทก่ี ลางอก ถากดว้ ยผง่ึ จบั ตวั เอาหวั หอ้ ยเทา้ ชฟ้ี า้ ถากดว้ ยพรา้ จบั ตวั เทียมรถแลว้ ใหว้ ิ่งกลบั ไปกลับมาบนพ้ืนอนั รอ้ นโชน บงั คบั ใหป้ นี ข้นึ ลงภเู ขาถา่ นเพลงิ ลูกใหญท่ ร่ี อ้ นโชน ผลักพุ่งลงไปในหม้อทองแดงท่ีร้อนโชน เขาถูกเคี่ยวจนเดือดผุดเป็นฟอง บางคราวผุดข้ึนข้างบน บางคราว จมลงขา้ งลา่ ง บางคราวแลน่ ขวาง สตั วน์ รกนน้ั ยอ่ มเสวยทกุ ขเวทนาอนั แรงกล้า แตก่ ไ็ มต่ าย แลว้ นายนริ ยบาล น�ำ สัตว์นรกไปขังไวใ้ นมหานรก ลกั ษณะมหานรกและนรกขมุ ต่างๆ มหานรกนั้นมีสัณฐานเป็นสี่เหล่ียม มีประตูด้านละหน่ึง (ส่ีมุมสี่ประตู) มีกำ�แพงเหล็กล้อม มีแผ่นเหล็กครอบไว้ข้างบน พื้นแห่งนรกนั้นเป็นเหล็กร้อนโชนเป็นเปลวแผ่ไปตลอด ๑๐๐ โยชน์โดยรอบ ตงั้ อยทู่ กุ เมอื่ บางคราวประตแู ตล่ ะดา้ นของมหานรกเปดิ ออก เขาจะวงิ่ ไปทปี่ ระตนู นั้ โดยเรว็ ถกู ไฟไหมผ้ วิ หนงั เนอื้ เอน็ หรือแม้กระดกู ก็มอดไหม้เป็นควันตลบ แต่อวยั วะที่ถกู ไหมไ้ ปแล้วจะกลบั เป็นรปู เดมิ และในขณะ ท่ีเขาใกล้จะถึงประตู ประตูน้ันก็จะพลันปิดสนิท สัตว์นรกน้ันย่อมเสวยทุกขเวทนาอย่างแสนสาหัสอยู่ใน มหานรกนัน้ และไม่ตาย ตราบเทา่ ที่บาปกรรมยงั ไมส่ ้ินสดุ ในทา้ ยพระสตู ร แมพ้ ญายมราชกม็ คี วามรสู้ กึ วา่ สตั วท์ ท่ี �ำ บาปกรรมไวใ้ นโลก ยอ่ มถกู นายนริ ยบาล ลงโทษแบบต่างๆ เห็นปานนี้ โอหนอ ขอเราพึงได้ความเป็นมนุษย์ ขอพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพึงเสด็จอุบัติ ในโลก ขอเราพงึ ไดน้ ง่ั ใกลพ้ ระองค์ ขอพระองคพ์ งึ ทรงแสดงธรรมแกเ่ รา และขอเราพงึ รทู้ วั่ ถงึ ธรรมของพระองค์ นั้นเถิด แนวทางการจัดการเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

97 เรื่องนรกน้ี พระพุทธองค์มิได้ทรงสดับมาจากสมณะหรือพราหมณ์อื่นๆ แต่เป็นเรื่องจริงท่ีทรง รู้เห็นประจักษต์ ามกรรมของสตั วท์ ี่ปรากฏเองทง้ั น้ัน ในเทวทูตสูตรนี้ พระพุทธองค์ทรงระบุชื่อนรกรอบๆ มหานรกไว้ ๕ ช่ือ คือ (๑) คูถนรก นรกท่ีเต็มด้วยคูถ (๒) กุกกุลนรก นรกท่ีเต็มด้วยเถ้ารึง (๓) สิมพลีวันนรก นรกป่าง้ิว (๔) อสิปัตตวันนรก นรกปา่ ไมใ้ บเปน็ ดาบ (๕) ขาโรทกนทนี รก นรกแมน่ ํา้ ด่าง ช่ือนรกในพระไตรปฎิ กเลม่ อืน่ ๆ : ในสังกิจจชาดก สัฏฐินบิ าต ชาดก ขทุ ทกนิกาย สตุ ตนั ตปิฎก พระไตรปฎิ กเลม่ ที่ ๒๘ ได้ระบุถงึ ชือ่ ของมหานรก นรกขนาดใหญ่ไว้ ๘ ขุม คือ ๑) สญั ชวี นรก ๒) กาฬสุตตนรก ๓) สังฆาฏนรก ๔) โรรุวนรก ๕) มหาโรรุวนรก ๖) อเวจมี หานรก ๗) ตาปนนรก ๘) ปตาปนนรก พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่ามหานรกทั้ง ๘ ขุมนี้ล้วนพ้นได้ยาก แออัดไปด้วยสัตว์นรกผู้ทำ�กรรม หยาบช้า แต่ละขุมมีอุสสทนรก ซ่ึงเป็นนรกเล็กๆ ต้ังอยู่มุมประตูท้ังสี่ด้าน ด้านละส่ีขุม ดังนั้น มหานรก ๘ ขุม จึงมีอสุ สทนรกเปน็ บริวาร ๑๖ ขมุ และเม่ือนับจ�ำ นวนทงั้ หมดจึงมีอุสสทนรก ๘ x ๑๖ = ๑๒๘ ขุม เมือ่ รวมเข้ากบั มหานรก ๘ ขมุ จงึ ไดจ้ �ำ นวนนรกท้งั หมด ๑๓๖ ขุม พระมติวิจารณ์เร่ืองนรกของสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ : เร่ืองนรกของพราหมณ์กับของเรา เทียบกันแล้วย่อมมีเค้าเป็นอันเดียวกัน เข้าใจว่าน่าจะมาจากต้นเดิมเดียวกันหรือลอกเลียนแบบกันมาแล้ว ยักเยื้องดัดแปลงให้เหมาะกับหลักคำ�สอนของตน เช่น เราปรารถนาจะแปลเทวทูตเป็นความเสื่อมส้ินหรือ ความทกุ ข์โดยธรรมดา เราก็ท�ำ ให้ยมราชซกั ถาม เราเสียวไส้กลวั การลงโทษ เรากท็ �ำ ให้ยมราชถามแลว้ นงิ่ เสีย ให้นายนิรยบาลรู้เอาเอง เรานับถือพระศาสนาของเรา เราก็ทำ�ให้ยมราชเล่ือมใส ของเขาก็เป็นเช่นเดียวกัน เช่น เขาต้องการให้มีอำ�นาจแก้ได้ เพ่ือล่อให้คนทำ�บาปนับถือพระเจ้าของเขาเป็นสรณะ เขาก็กล่าวถึง พระวษิ ณแุ ละพระศวิ ะว่ามอี �ำ นาจใชเ้ ทวทตู ไปแยง่ อาตมนั ของผนู้ บั ถอื พระองคจ์ ากเทวทตู พระยม ไปสเู่ ทวโลก ของพระองค์ เปน็ อนั พน้ จากการตกนรก และพระวษิ ณมุ พี ระกรณุ าปลอ่ ยสตั วน์ รกกไ็ ด้ และเรอ่ื งของเขาเชอื่ วา่ มตี ัวอย่างทเ่ี หน็ ไดใ้ นมนษุ ย์สมยั นน้ั ดว้ ย เชน่ น้ี ทางท่ีจะพึงวจิ ารณม์ ดี ังน้ี ๑. พระพุทธศาสนารับรองมติในเรื่องนิรยะเพียงใด รับรองเท่าท่ีกล่าวสักว่าช่ือในบาลีนั้นๆ ดังกล่าวมาแลว้ หรือรบั รองตลอดถงึ เรือ่ งพิสดารดังแสดงในเทวทตู สตู รด้วย ๒. ถา้ ไมร่ ับรองเรอ่ื งนรกในเทวทตู สูตร จะพึงทำ�ความเข้าใจว่า สมเดจ็ พระบรมศาสดาน�ำ มาตรสั เพ่ือแสดงนรกในมนุษย์โดยนัย แต่เร่ืองถูกเติมหรือดัดแปลงให้เป็นจริงไป หรือเป็นส่ิงแปลกปลอมที่แต่งข้ึน ทีหลัง ๓. การวจิ ารณส์ องขอ้ ขา้ งตน้ นนั้ อาจเปน็ เหตใุ หเ้ ขา้ ใจวา่ พระพทุ ธศาสนารบั รองเรอ่ื งเลา่ ปรมั ปรา ทีเ่ คยเช่อื ถอื กนั มา ด้วยยงั มไิ ด้ปรากฏแก่ญาณ เปน็ “สนั ทิฏฐิโก” คือ เหน็ เอง (ยงั ไมม่ ีการพสิ ูจน์ใหเ้ หน็ ไดช้ ัด ดว้ ยปญั ญา) หรอื นอกจากเหน็ เองแลว้ ไม่รบั รองเรือ่ งที่ยงั ไมม่ จี ริง แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศึกษา ชัน้ เอก วชิ าธรรม

98 ถา้ คนท่ีนบั ถือศาสนาอ่ืนมีความเป็นธรรม จะพงึ วจิ ารณ์ เขาคงไมต่ ีคา่ พระศาสนาของเราสูงเกนิ ไป เขาอาจลงความเหน็ วา่ ศาสนาของเรารบั รองมตปิ รมั ปราอนั ยงั ไมอ่ าจช�ำ แรกดว้ ยญาณ (ยงั ไมไ่ ดร้ บั การพสิ จู น์ ด้วยปัญญา) เช่นน้ี เขาจักไม่รงั เกยี จเรอื่ งเช่นนี้ทป่ี รากฏในคัมภรี ศ์ าสนาของเรา สว่ นเราย่อมตีคา่ พระศาสนา ของเราสูงโดยธรรมดา มาพบเร่ืองงเช่นน้ีเข้าในคัมภีร์ของเราย่อมตะขิดตะขวง จะรับรองก็อาย จะปฏิเสธ กไ็ มถ่ นดั ปาก ด้วยเหตนุ ี้ จึงเป็นการยากทีจ่ ะสนั นิษฐานลงความเหน็ (วา่ นรกมลี ักษณะอย่างไร) ๒) ติรัจฉานโยนิ กำ�เนิดสัตวด์ ิรัจฉาน ติรัจฉานโยนิ กำ�เนดิ สตั ว์ดิรจั ฉาน หมายถงึ ภพภมู ิท่ไี ปเกดิ ของเหลา่ สตั ว์ทม่ี กี ารเคล่อื นไหว อิริยาบถในลักษณะขวางหรือกระเสือกกระสนคลานไป ดังที่พระพุทธองค์ทรงแสดงผลกรรมของผู้ตายจาก โลกมนุษย์แล้วไปบังเกิดในกำ�เนิดสัตว์ดิรัจฉานไว้ในสังสัปปติปริยายสูตร ทสกนิบาต อังคุตตรนิกาย สตุ ตันตปฎิ ก พระไตรปิฎกเล่มท่ี ๒๔ มีใจความวา่ “บางคนในโลกน้ีมักฆ่าสัตว์ คือ เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือเป้ือนเลือด ชอบทุบตีและฆ่าผู้อื่น ไมม่ คี วามกรุณาในสตั ว์ทง้ั หลาย เขากระเสือกกระสนเพอ่ื ทำ�ชัว่ ดว้ ยกาย วาจา ใจ กายกรรม วจีกรรม และ มโนกรรมของเขายอ่ มคด คตขิ องเขากค็ ด เรากล่าวคติของเขาวา่ มี ๒ อยา่ ง คือ นรกซ่งึ มีทุกข์โดยส่วนเดยี ว และกำ�เนดิ สตั ว์ดริ จั ฉานซึง่ มปี กตกิ ระเสือกกระสน เช่น งู แมงป่อง ตะขาบ พังพอน แมว หนู นกเคา้ แมว หรือสตั วด์ ิรัจฉานเหล่าใดเหลา่ หน่งึ ทีเ่ หน็ มนษุ ยแ์ ล้วย่อมกระเสือกกระสนไป” ในพระสูตรน้ี จดั สัตว์ดริ ัจฉาน ประเภทเลอ้ื ยคลานไว้ ๗ ชนดิ คอื (๑) งู (๒) แมงปอ่ ง (๓) ตะขาบ (๔) พงั พอน (๕) แมว (๖) หนู (๗) นกเคา้ แมว ในพาลปณั ฑิตสูตร อุปรปิ ณั ณาสก์ มชั ฌมิ นกิ าย พระสตุ ตันตปฎิ ก พระไตรปฎิ กเล่มท่ี ๑๔ แสดงสัตว์ดริ ัจฉานไว้ ๕ ประเภท ดงั น้ี ๑) จำ�พวกกินหญ้าเป็นอาหาร (ติณภักขา) ได้แก่ ม้า โค กระบือ ลา แพะ มฤค หรือแม้ จำ�พวกสตั วอ์ ่นื ๆ ทมี่ ีหญ้าเป็นอาหาร ๒) จำ�พวกมีคูถเป็นภักษา (คูถภักขา) ได้แก่ ไก่ สุกร สุนัขบ้าน สุนัขป่า หรือแม้จำ�พวก สตั วอ์ ่นื ๆ ทมี่ ีคถู เปน็ ภกั ษา ๓) จำ�พวกเกิดแก่ตายในที่มืด ได้แก่ ต๊ักแตน บุ้ง มอด ไส้เดือน หรือแม้จำ�พวกสัตว์อ่ืนๆ ท่เี กดิ แกต่ ายในท่มี ดื ๔) จ�ำ พวกเกิดแก่ตายในนา้ํ ได้แก่ ปลา เตา่ หรอื แม้จ�ำ พวกสตั วอ์ น่ื ๆ ท่ีเกดิ แกต่ ายในน้าํ ๕) จำ�พวกเกิดแก่ตายในของโสโครก ได้แก่ สัตว์จำ�พวกท่ีเกิดแก่ตายในปลาเน่า ในศพเน่า ในขนมบูด ในแอง่ นํา้ คร�ำ ในหลุมโสโครก หรอื แม้จำ�พวกอ่นื ๆ ที่เกิดแก่ตายในของโสโครก ๓) ปิตติวิสยะ แดนแห่งเปรต ปิตติวิสยะ หรือเปรตวิสัย ในศาสนาพราหมณ์ มีธรรมเนียมเซ่นและทำ�ทักษิณา เพ่ืออุทิศให้บุรพบิดรที่ล่วงลับไป เรียกพิธีนี้ว่า ศราทธะ ในพระพุทธศาสนา พระพุทธองค์ทรงอนุญาต การกระท�ำ เช่นนัน้ และตรัสเรยี กวา่ ปพุ พเปตพลี ดังมปี รากฏในอาทิยสูตร แหง่ ปฐมปัณณาสก์ ปัญจกนบิ าต องั คุตตรนิบาต พระไตรปิฎก เล่มท่ี ๒๒ โดยทรงแสดงวา่ เปน็ หน้าทข่ี องพุทธบรษิ ทั พึงกระท�ำ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ชั้นเอก วิชาธรรม

99 อนงึ่ ค�ำ ว่า เปตะ หรอื เปรต มคี วามหมาย ๒ ประการ คือ (๑) ความหมายท่ัวไป หมายถึงผู้ละโลกน้ีไปแล้ว คือ ผู้ตายจากโลกนี้ไปแล้ว ดังเช่น การทำ�บุญอุทิศส่วนกุศลให้เปตชน ท่ีเรียกว่าเปตพลี ดังน้ัน แม้พวกที่ตายไปเกิดเป็นเทวดา ก็เรียกว่าเปตะ หรอื เปรตได้ในความหมายนี้ (๒) ความหมายโดยเฉพาะ หมายถงึ สตั วจ์ �ำ พวกหนง่ึ ซงึ่ เกดิ อยใู่ นอบายชน้ั ทเี่ รยี กวา่ ปติ ตวิ สิ ยั หรือ เปรตวิสยั ซ่ึงแปลวา่ แดนเปรต เปน็ สตั ว์ท่ไี ด้รับความทุกขเวทนาต่างๆ ตามผลแห่งกรรมชัว่ ทีไ่ ด้ท�ำ ไว้ เช่น อดอยาก ผอมโซเพราะไมม่ ีอาหารจะกนิ แม้เมื่อมี กก็ นิ ไมไ่ ด้ หรอื กินได้ กก็ นิ อยา่ งยากลำ�บาก เพราะ ปากเท่ารูเข็ม หรือกินเข้าไปได้แต่ก็กลายเป็นเลือด เป็นหนอง เป็นมูตร เป็นคูถ และยังหมายถึงเปรต อกี พวกหนง่ึ ซง่ึ เสวยผลแหง่ กรรมดแี ละกรรมชว่ั ในอตั ภาพเดยี วสลบั กนั ไป โดยเรยี กวา่ เวมานกิ เปรต คอื เปรต ที่มีวิมานอยู่เป็นของตนเอง มีความสุขเหมือนพวกเทวดาในเวลาหน่ึง แต่อีกเวลาหน่ึงก็ได้รับทุกขเวทนา แสนสาหสั เหมอื นเปรตพวกอ่ืนและสัตว์นรกทว่ั ไป รปู ลกั ษณข์ องสัตวผ์ เู้ กิดในปติ ตวิ สิ ยะ สัตวท์ ่ีเกดิ เปน็ เปรตมรี ปู รา่ งตา่ งกัน ๔ ชนิด ดังน้ี (๑) ชนิดมีรปู ร่างไม่สมประกอบ ซูบผอม อดโซ (๒) ชนิดมีรูปร่างวิการ คือ กายเป็นอย่างมนุษย์ แต่ศีรษะเป็นอย่างสัตว์ดิรัจฉาน เช่น เป็นกา เปน็ สกุ ร หรอื เป็นงู (๓) ชนิดมีรูปรา่ งพิกล ได้รับการลงโทษอยู่ตามลำ�พงั ด้วยอ�ำ นาจบาปกรรม (๔) ชนิดมีรูปรา่ งอย่างมนุษย์ปกติ ท่สี วยงามก็มี โดยมวี ิมานเป็นท่ีอยู่ เรียกว่า เวมานิกเปรต ๔) อสุรกาย พวกอสูร อสรุ กาย พวกอสูร มี ๒ ประเภท คอื (๑) สตั วเ์ กดิ ในอบายจ�ำ พวกหนึ่งซ่งึ สะดุ้งหวาดหวัน่ ไรค้ วามสุข เช่น หมู่อสรู ชือ่ กาลกัญชิกา คืออสูรหมู่หน่ึงซึ่งมีอัตภาพยาว ๓ คาวุต (เกือบ ๑ โยชน์ ๔ คาวุต เท่ากับ ๑ โยชน์) มีเลือดเนื้อน้อย คล้ายใบไม้เหี่ยว มีนัยน์ตาทะลักออกมาอยู่บนหัวคล้ายตาปู ปากเท่ารูเข็มอยู่บนหัวเหมือนกัน ต้องก้ม กลืนกินอาหารอย่างยากลำ�บาก ในอรรถกถาทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค จัดพวกอสูรในอบายภูมิ ถ้าเปรียบกับ คนในโลกน้กี ็เหมอื นคนอดอยาก เทย่ี วก่อโจรกรรมในเวลาค่ําคนื หลอกหลวงฉกชงิ เอาทรพั ย์ของผูอ้ ื่น (๒) เทพชั้นต่ําพวกหน่ึงซึ่งมีท้าวเวปจิตติและท้าวปหาราทะเป็นต้น เป็นหัวหน้าปกครอง มีภพอยู่ภายใต้เขาพระสุเมรุ ช่ือว่า อสูร เพราะไม่มีความอาจหาญ ไม่เป็นอิสระ และไม่รุ่งเรืองเฉกเช่น พวกเทพทั่วไป ๒. สคุ ติ สคุ ติ คอื ภูมอิ ันเป็นที่เกิดของผปู้ ระกอบกุศลกรรม มี ๒ อยา่ ง คอื ๑) มนุษยโลก โลกของมนษุ ย์ หมายถึง ภูมิท่ีอยู่ของสตั วท์ ่มี จี ิตใจสงู เป็นผู้รูจ้ กั ใชเ้ หตุผล ๒) เทวโลก โลกของเทวดาและพรหม หมายถึง ภูมิที่อยู่ของเทวดาในสวรรค์ชั้นกามาพจร ๖ และพรหมผ้สู ถิตอยใู่ นพรหมโลก แนวทางการจัดการเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

100 สวรรคช์ ั้นกามาพจร ไดแ้ ก่ โลกสวรรค์อนั เปน็ ทอ่ี ยขู่ องเทวดาทีย่ ังขอ้ งอยใู่ นกามคุณ ๕ เปน็ ภมู ิ ทม่ี แี ต่ความสขุ สบาย สมบรู ณ์ด้วยโภคสมบตั ิ หรอื เรยี กว่า สุคตโิ ลกสวรรค์ มี ๖ คอื (๑) จาตมุ หาราชิกา สวรรคท์ ่ที ้าวมหาราชทง้ั ๔ คอื ทา้ วธตรฐ ทา้ ววิรุฬหก ทา้ ววริ ปู กั ษ์ ทา้ วกุเวร เป็นผปู้ กครอง (๒) ดาวดงึ ส์ สวรรค์เปน็ ทอ่ี ยขู่ องเทวดาสหาย ๓๓ องค์ มีทา้ วสักกเทวราชเป็นผูป้ กครอง (๓) ยามา สวรรค์เป็นท่อี ยู่ของเทวดาผูป้ ราศจากทกุ ข์ (๔) ดสุ ิต สวรรค์เปน็ ที่อยขู่ องเทวดาผเู้ อิบอม่ิ ดว้ ยทพิ ยสมบัตอิ นั เปน็ ของเฉพาะตน (๕) นมิ มานรดี สวรรค์เปน็ ที่อยู่ของเทวดาผยู้ นิ ดีในกามสขุ ท่ีตนเนรมิตข้นึ (๖) ปรนมิ มติ วสวตั ตี สวรรคเ์ ป็นที่อย่ขู องเทวดาผู้ยินดีในกามสุขทผี่ อู้ ืน่ เนรมิตให้ พรหมโลก ได้แก่ ภูมิอันท่ีอยู่ของพรหมผู้ประเสริฐและบริสุทธ์ิ คือผู้บำ�เพ็ญสมาธิจิตแน่วแน่ จนไดบ้ รรลฌุ านสมาบตั หิ รอื ส�ำ เรจ็ เปน็ อรยิ บคุ คลชน้ั อนาคามใี นโลกมนษุ ย์ เมอ่ื สน้ิ ชวี ติ จงึ ไปบงั เกดิ ในพรหมโลก ตามล�ำ ดบั ชน้ั แห่งคุณธรรมที่ได้บรรลุ พรหมโลกมี ๒๐ ชน้ั จัดเป็น ๒ อยา่ ง คือ ๑. รูปพรหม หรือรปู ภูมิ ไดแ้ ก่ พรหมท่ีมรี ูปขันธ์หรือพรหมผู้ได้รปู ฌาน แบ่งเป็น ๑๖ ชัน้ คือ ปฐมฌานภมู ิ ๓ ช้นั ทุตยิ ฌานภมู ิ ๓ ช้ัน ตติยฌานภูมิ ๓ ชนั้ และจตตุ ถฌานภูมิ ๗ ชั้น มีดงั นี้ ๑) ปฐมฌานภูมิ ได้แก่ผู้ได้บรรลุปฐมฌานแล้วส้ินชีวิตไปเกิดในพรหมโลก ๓ ช้ัน คือ (๑) พรหมปารสิ ัชชา (๒) พรหมปุโรหติ า (๓) มหาพรหมา ๒) ทตุ ยิ ฌานภมู ิ ผไู้ ดบ้ รรลทุ ตุ ยิ ฌานแลว้ สน้ิ ชวี ติ ไปเกดิ ในพรหมโลก ๓ ชน้ั คอื (๔) ปรติ ตาภา (๕) อปั ปมาณาภา (๖) อาภัสสรา ๓) ตติยฌานภูมิ ได้แก่ ผู้ได้บรรลุตติยฌานแล้วส้ินชีวิตไปเกิดในพรหมโลก ๓ ช้ัน คือ (๗) ปริตตสภุ า (๘) อัปปมาณสุภา (๙) สุภกณิ หา ๔) จตุตถฌานภูมิ ได้แก่ ผู้ได้บรรลุจตุตถฌานแล้วสิ้นชีวิตไปเกิดในพรหมโลก ๗ ช้ัน คือ (๑๐) เวหัปผลา (๑๑) อสญั ญสี ัตตา (๑๒) อวหิ า (๑๓) อตัปปา (๑๔) สุทสั สา (๑๕) สุทัสสี (๑๖) อกนฏิ ฐา พรหมโลก ๕ ชน้ั ต้ังแต่ชน้ั อวิหาถึงช้ันอกนิฏฐา เรียกว่า ชน้ั สทุ ธาวาส หมายถงึ ภูมิเป็นท่ีอยู่ หรอื ทเี่ กดิ ของทา่ นผบู้ รสิ ทุ ธคิ์ อื พระอนาคามี ซง่ึ เปน็ ผไู้ มก่ ลบั มาเกดิ ในโลกมนษุ ยอ์ กี แตจ่ ะนพิ พานในพรหมโลก ชนั้ สุทธาวาสนี้ ๒. อรูปพรหม หรอื อรูปภมู ิ ไดแ้ ก่ พรหมทไ่ี ม่มีรูปขนั ธ์ หรอื พรหมผู้ได้อรูปฌาน แบ่งเป็น ๔ ช้นั คือ ๑) อากาสานัญจายตนภมู ิ ชน้ั ทีเ่ ข้าถึงภาวะมอี ากาศไมม่ ีทส่ี ุด ๒) วญิ ญาณัญจายตนภูมิ ช้ันท่ีเข้าถึงภาวะมีวิญญาณไมม่ ีทสี่ ุด ๓) อากญิ จญั ญายตนภูมิ ช้นั ทเ่ี ข้าถงึ ภาวะไม่มอี ะไร ๔) เนวสญั ญานาสญั ญายตนภูมิ ชนั้ ท่เี ข้าถึงภาวะทก่ี ลา่ วไม่ไดว้ ่ามีสญั ญาหรือไมม่ ี แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ชัน้ เอก วิชาธรรม

101 สรุปความ สังสารวัฏ คือการเวียนว่ายตายเกิดในภพภูมิกำ�เนิดต่างๆ ท้ังทุคติและสุคติ ในเทวทูตสูตร พระพทุ ธองคท์ รงแสดงกรรมทเี่ ปน็ เหตใุ หไ้ ปเกดิ ในสคุ ตแิ ละทคุ ตไิ วว้ า่ “ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มมองเหน็ หมสู่ ตั ว์ ผู้กำ�ลังจุติ กำ�ลังอุบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธ์ิ ลว่ งจกั ษวุ สิ ยั ของมนษุ ยไ์ ดว้ า่ หมสู่ ตั วเ์ หลา่ นปี้ ระกอบดว้ ยกายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสจุ รติ ไมว่ า่ รา้ ยพระอรยิ เจา้ เปน็ สมั มาทฏิ ฐิ ยดึ ถอื การกระท�ำ ดว้ ยอ�ำ นาจสมั มาทฏิ ฐิ หมสู่ ตั วเ์ หลา่ นน้ั หลงั จากตายไปจงึ เขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ ...หมู่สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่าร้ายพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือ การกระท�ำ ด้วยอ�ำ นาจมิจฉาทฏิ ฐิ หมู่สัตวเ์ หลา่ น้นั หลังจากตายไปจงึ เขา้ ถงึ เปรตวสิ ยั ...ก�ำ เนดิ สตั ว์ดริ ัจฉาน อบาย ทุคติ วินบิ าต นรก” แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศึกษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

102 เวลา..............ช่วั โมง แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๘ ธรรมศึกษาช้นั เอก สาระการเรียนรวู้ ชิ าธรรม เรอื่ ง หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาส่วนสังสารวัฏ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ธศ ๑ รแู้ ละเขา้ ใจหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยดึ มน่ั และปฏบิ ตั ิ ตามหลกั ธรรม เพอ่ื อยู่ร่วมกันอย่างสนั ติสุข ๒. ผลการเรียนรู้ รแู้ ละเข้าใจหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสงั สารวัฏ ๓. สาระสำ�คัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ เป็นหลักธรรมที่ว่าด้วยกรรม ๑๒ หากบุคคล ยึดมน่ั และปฏิบัตไิ ดจ้ ะอย่ใู นสงั คมด้วยความเป็นสุข ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ นกั เรียนอธบิ ายหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั ได ้ ๕. สาระการเรยี นรู/้ เน้ือหา - กรรม ๑๒ ๖. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้ันสืบค้นและเชื่อมโยง ๑. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ โดยใช้คำ�ถาม เพือ่ พัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดและเชื่อมโยงไปสกู่ ารเรียนรู้ - นักเรียนเคยเรยี นเรอ่ื งหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสงั สารวัฏบ้างหรอื ไม่ - หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสงั สารวฏั มอี ะไรบ้าง - นักเรยี นเคยได้ยนิ ได้เห็นหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสังสารวัฏจากท่ีไหนบา้ ง ข้ันฝกึ ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ส่วนสังสารวฏั กรรม ๑๒ จากใบความรูท้ ่ี ๘ ๓. นักเรียนแต่ละกลมุ่ จดั เตรยี มการเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศึกษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

103 ข้นั ประยกุ ต์ ๔. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ออกมานำ�เสนอตามหวั ข้อทต่ี นเองได้รับมอบหมายเพอื่ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ๕. นักเรียนในแต่ละกลุ่มตอบคำ�ถามตามใบกิจกรรมท่ี ๘ ๖. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรปุ ในแต่ละหวั ข้อ ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ท ี่ ภาระงาน ชิน้ งาน ใบกจิ กรรมท่ี ๘ ๑ ตอบค�ำ ถามเก่ียวกบั หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั ๘. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ ๑. ใบความรู้ท่ี ๘ เรอ่ื ง หลักธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั ๒. ใบกิจกรรมที่ ๘ ๙. การวดั ผลและประเมนิ ผล ส่ิงทต่ี อ้ งการวัด วิธีวดั เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมิน อธิบายหลกั ธรรมของ พระพุทธศาสนา - ตรวจผลงาน - แบบประเมนิ ผา่ น = ได้คะแนนตัง้ แต่รอ้ ยละ ๖๐ ข้นึ ไป สว่ นสงั สารวฏั ได้ ผลงาน ไม่ผา่ น = ไดค้ ะแนนต่ํากวา่ รอ้ ยละ ๖๐ แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศกึ ษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

104 ข้อ ที่ แบบประเมนิ ผลงาน ๑ คะแนน ๔ - ๕ คะแนน ใบกจิ กรรมที่ ๘ ตอบค�ำ ถามถกู ต้องและ ๑ - ๒ ตอบคำ�ถามถูกต้อง ตรงประเดน็ น้อย ตรงประเดน็ ระดับคะแนน ๒ - ๓ คะแนน ตอบค�ำ ถามถูกตอ้ ง ตรงประเดน็ สว่ นใหญ ่ เกณฑ์ เกณฑ์การตดั สนิ คะแนน ผา่ น ๓ คะแนนขนึ้ ไป ไม่ผา่ น รอ้ ยละ ๒ คะแนนลงมา ๖๐ ขน้ึ ไป ตํา่ กว่า ๖๐ หมายเหตุ เกณฑ์การตดั สนิ สามารถปรบั ใชต้ ามความเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศึกษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

105 ใบกจิ กรรมท่ี ๘ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสงั สารวัฏ ช่ือกลุม่ .................... ชอ่ื .........................................................................................ช้ัน.....................เลขท่.ี .......................... ชอื่ .........................................................................................ชนั้ .....................เลขท่ี........................... ชอื่ .........................................................................................ช้นั .....................เลขท่ี........................... คำ�ช้ีแจง ให้นกั เรียนตอบค�ำ ถามตอ่ ไปนี้ จ�ำ นวน ๑ ขอ้ (๕ คะแนน) ๑. อธบิ ายถึงความหมายและการปฏบิ ัติตนของกรรม ๑๒ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศกึ ษา ชนั้ เอก วิชาธรรม

106 เฉลยใบกจิ กรรมที่ ๘ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสังสารวฏั ๑. อธบิ ายถึงความหมายและการปฏบิ ัตติ นของกรรม ๑๒ ตอบ กรรม แปลว่า การกระทำ� คำ�ว่ากรรมเป็นคำ�กลางๆ ถ้าเป็นส่วนดี เรียกว่า กุศลกรรม ส่วนไม่ดี เรียกว่า อกุศลกรรม กรรม เม่ือจำ�แนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผลทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล รวมเรียกว่า กรรม ๑๒ ๑. ทฏิ ฐธรรมเวทนยี กรรม กรรมใหผ้ ลในภพนี้ หมายถงึ กรรมใหผ้ ลในชาตปิ จั จบุ นั น้ี เปน็ กรรมแรง ใหผ้ ลทันตาเหน็ ๒. อปุ ปชั ชเวทนยี กรรม กรรมใหผ้ ลตอ่ เมือ่ เกิดแลว้ ในภพหนา้ หมายถงึ กรรมให้ผลในภพต่อไป หรือเสวยผลกรรมในชาติหนา้ ๓. อปราปรเวทนยี กรรม กรรมใหผ้ ลตอ่ เมอื่ พน้ ภพหนา้ ไปแลว้ หมายถงึ กรรมใหผ้ ลในภพตอ่ ๆ ไป ได้โอกาสเม่อื ใด ใหผ้ ลเมื่อนัน้ จนกวา่ จะเลกิ ใหผ้ ล ๔. อโหสกิ รรม กรรมให้ผลส�ำ เร็จแล้ว หมายถึง กรรมเลิกใหผ้ ล ไมม่ ีผลอกี หมดโอกาสทจ่ี ะให้ผล ตอ่ ไป ๕. ชนกกรรม กรรมแตง่ ให้เกิด หมายถงึ กรรมทเี่ ป็นตวั น�ำ ไปเกดิ ท�ำ หน้าทใี่ ห้ผลแกผ่ ้ทู �ำ กรรม ที่ตายจากภพหนงึ่ แลว้ ไปถอื ปฏสิ นธิในภาพหนง่ึ ถ้าเปน็ กรรมดกี น็ �ำ ไปเกิดในสคุ ติ ถา้ เป็นกรรมชัว่ ก็น�ำ ไปเกดิ ในทคุ ติ ๖. อปุ ตั ถมั ภกกรรม กรรมสนบั สนนุ หมายถงึ กรรมไมส่ ามารถใหป้ ฏสิ นธไิ ดเ้ อง ตอ่ เมอ่ื ชนกกรรม ใหป้ ฏสิ นธแิ ลว้ จึงเขา้ สนับสนนุ ส่งเสรมิ ให้ดีขึน้ บา้ ง ใหเ้ ลวลงบ้าง ตามอ�ำ นาจของกรรมดีหรือกรรมชว่ั ๗. อุปปีฬกกรรม กรรมบีบค้ัน กรรมนี้ขัดแย้ง หรือตรงกันข้ามกับชนกกรรม คอยเข้าบีบค้ัน เบียดเบียนชนกกรรมไมใ่ หเ้ ผล็ดผลเต็มท่ี ถา้ ชนกกรรมเป็นกุศลให้ปฏสิ นธฝิ า่ ยดี ยอ่ มเข้าขดั ขวางให้เสอ่ื มลง ๘. อปุ ฆาตกกรรม กรรมตัดรอน กรรมนเี้ หมือนกับอุปปฬี กกรรม แตใ่ ห้ผลท่ีรนุ แรงกวา่ ๙. ครุกรรม กรรมหนัก หมายถงึ กรรมหนกั ทสี่ ุดกว่ากรรมอนื่ ในลำ�ดับแหง่ การให้ผล ๑๐. พหลุ กรรม กรรมชนิ หรอื เรยี กวา่ อาจณิ ณกรรม หมายถงึ กรรมทที่ �ำ บอ่ ยๆเปน็ อาจณิ ใหผ้ ลรอง จากครกุ รรม ๑๑. อาสนั นกรรม กรรมเมอื่ จวนเจยี น หมายถงึ กรรมทท่ี �ำ ในขณะใกลจ้ ะสนิ้ ใจตาย กรรมนแี้ มจ้ ะมี ก�ำ ลังออ่ น ๑๒. กตัตตากรรม กรรมสกั ว่าทำ� หมายถงึ กรรมท่ีทำ�โดยไมม่ ีเจตนา การปฏบิ ัติ เราตอ้ งปฏบิ ตั ดิ ี ไมป่ ฏิบตั ชิ ว่ั เพราะกรรมจะสง่ ผลในทางปฏบิ ตั ิ แนวทางการจดั การเรยี นร้ธู รรมศึกษา ชนั้ เอก วิชาธรรม

107 ใบความรู้ที่ ๘ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวฏั กรรม ๑๒ หมวดท่ี ๑ ให้ผลตามคราว (เวลาท่ีใหผ้ ล) ๑. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพนี้ ๒. อุปปชั ชเวทนียกรรม กรรมใหผ้ ลต่อเมอ่ื เกิดแล้วในภพหน้า ๓. อปราปรเวทนียกรรม กรรมใหผ้ ลตอ่ เมื่อพน้ ภพหน้าไปแลว้ ๔. อโหสิกรรม กรรมใหผ้ ลส�ำ เรจ็ แลว้ หมวดที่ ๒ ใหผ้ ลตามกจิ ๕. ชนกกรรม กรรมแตง่ ใหเ้ กดิ ๖. อปุ ตั ถัมภกกรรม กรรมสนบั สนนุ ๗. อปุ ปฬี กกรรม กรรมบบี คั้น ๘. อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน หมวดท่ี ๓ ใหผ้ ลตามลำ�ดบั ๙. ครุกรรม กรรมหนัก ๑๐. พหุลกรรม กรรมชนิ ๑๑. อาสนั นกรรม กรรมเมอ่ื จวนเจยี น ๑๒. กตตั ตากรรม กรรมสักว่าทำ� อธบิ าย กรรม แปลว่าการกระทำ� คำ�ว่ากรรมเป็นคำ�กลางๆ ถ้าเป็นส่วนดี เรียกว่า กุศลกรรม ส่วนไม่ดี เรียกว่า อกุศลกรรม กรรม เมื่อจำ�แนกตามหลักเกณฑ์เก่ียวกับการให้ผลท้ังฝ่ายกุศลและอกุศล พระอรรถกถาจารยไ์ ดแ้ สดงไว้เป็น ๓ หมวด หมวดละ ๔ ประเภท รวมเรียกว่า กรรม ๑๒ หมวดที่ ๑ จ�ำ แนกโดยใหผ้ ลตามคราว (เวลาท่ใี ห้ผล) มี ๔ อย่าง คอื ๑. ทฏิ ฐธรรมเวทนยี กรรม กรรมใหผ้ ลในภพนี้ หมายถงึ กรรมใหผ้ ลในชาตปิ จั จบุ นั นี้ เปน็ กรรมแรง ให้ผลทนั ตาเหน็ คอื ใหผ้ ลกอ่ นกรรมอนื่ ท้งั หมด โดยผทู้ ำ�ย่อมเสวยผลกรรมท่ีตนทำ�ในชาตินี้นน่ั เอง ๒. อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลต่อเม่ือเกิดแล้วในภพหนา้ หมายถึง กรรมใหผ้ ลในภพต่อไป หรือเสวยผลกรรมในชาติหน้า กรรมนี้จัดว่าเป็นกรรมท่ีเบากว่ากรรมที่ ๑ คือผู้นั้นไม่ได้รับผลของกรรมน้ี ในทันทที ันใด ตอ่ เม่ือลว่ งลับไปแลว้ เกิดในภพใหม่ กรรมน้จี งึ จะใหผ้ ล แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศึกษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

108 ๓. อปราปรเวทนยี กรรม กรรมใหผ้ ลตอ่ เมอื่ พน้ ภพหนา้ ไปแลว้ หมายถงึ กรรมใหผ้ ลในภพตอ่ ๆ ไป ได้โอกาสเมื่อใด ให้ผลเมื่อน้ันจนกว่าจะเลิกให้ผล กรรมนี้เป็นกรรมที่เบากว่ากรรมที่ ๒ จะให้ผลก็ต่อเมื่อ พ้นภพหน้าไปแล้ว จะเป็นภพใดภพหน่ึงน้ันกำ�หนดแน่ไม่ได้ เปรียบเหมือนสุนัขล่าสัตว์ ตามทันสัตว์ในที่ใด ก็กดั เอาไดใ้ นท่นี น้ั ๔. อโหสิกรรม กรรมให้ผลส�ำ เร็จแล้ว หมายถึง กรรมเลกิ ให้ผล ไม่มีผลอีก หมดโอกาสท่ีจะใหผ้ ล ต่อไป เปรียบเหมือนพชื สิ้นยางแล้วเพาะปลกู ไมข่ ึน้ หมวดท่ี ๒ จ�ำ แนกโดยใหผ้ ลตามกิจ (หนา้ ท)่ี มี ๔ อยา่ ง คือ ๕. ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หมายถึง กรรมทเี่ ป็นตวั นำ�ไปเกดิ ท�ำ หน้าทีใ่ หผ้ ลแก่ผู้ท�ำ กรรม ท่ีตายจากภพหน่ึงแล้วไปถือปฏิสนธิในภพหนึ่ง ถ้าเป็นกรรมดีก็นำ�ไปเกิดในสุคติ ถ้าเป็นกรรมชั่วก็นำ�ไปเกิด ในทคุ ติ ตามความหนกั เบาของกรรมทีท่ �ำ กรรมนีใ้ นทีอ่ ่ืน เรยี กวา่ กมมฺ โยนิ (กรรมเปน็ ก�ำ เนดิ ) ทำ�หนา้ ทเ่ี พยี ง ให้ปฏสิ นธิ ตอ่ จากนน้ั กเ็ ปน็ อนั หมดหนา้ ที่ เปรยี บเหมอื นบดิ าเพยี งเปน็ ผใู้ ห้กำ�เนดิ บุตร ๖. อปุ ตั ถมั ภกกรรม กรรมสนบั สนนุ หมายถงึ กรรมไมส่ ามารถใหป้ ฏสิ นธไิ ดเ้ อง ตอ่ เมอ่ื ชนกกรรม ให้ปฏสิ นธิแล้วจึงเขา้ สนับสนุนส่งเสริมให้ดขี ้ึนบา้ ง ใหเ้ ลวลงบ้าง ตามอ�ำ นาจของกรรมดีหรอื กรรมชัว่ เปรยี บ เหมอื นแมน่ มผู้เล้ยี งทารกทคี่ นอ่นื ให้เกดิ แล้ว กรรมน้ีสอดคล้องกับชนกกรรม ถ้าชนกกรรมเป็นกุศลให้ปฏิสนธิฝ่ายดี (เกิดในตระกูล สงู หรือถิ่นที่ด)ี ย่อมเข้าสนบั สนุนทารกผูเ้ กดิ แลว้ ให้ไดร้ บั ความสุขความเจรญิ รุ่งเรอื งตลอดไป ตรงกับบาลีวา่ โชติ โชตปิ รายโน รงุ่ เรอื งมาแลว้ มรี งุ่ เรอื งไปภายหนา้ ถา้ ชนกกรรมเปน็ อกศุ ลใหป้ ฏสิ นธฝิ ่ายเลว (เกดิ ในตระกลู ตาํ่ หรอื ถน่ิ ทไ่ี มด่ )ี กรรมนย้ี อ่ มกระหนาํ่ ซา้ํ เตมิ ทารกผเู้ กดิ แลว้ ใหช้ วี ติ ตกตา่ํ ลง ตรงกบั บาลวี า่ ตโม ตมปรายโน : มืดมาแลว้ มมี ดื ไปภายหน้า ๗. อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น กรรมนี้ขัดแย้ง หรือตรงกันข้ามกับชนกกรรม คอยเข้าบีบคั้น เบียดเบยี นชนกกรรมไมใ่ หเ้ ผลด็ ผลเตม็ ที่ ถ้าชนกกรรมเปน็ กศุ ลให้ปฏสิ นธิฝา่ ยดี ย่อมเข้าขดั ขวางใหเ้ ส่ือมลง ตรงกับบาลีว่า โชติ ตมปรายโน รุ่งเรืองมาแล้ว มืดไปภายหน้า ถ้าชนกกรรมเป็นอกุศลให้ปฏิสนธิฝ่ายเลว คือใหเ้ กิดในทุคติภมู ิ เกิดในตระกลู ตาํ่ หรอื ในถน่ิ ทไ่ี ม่เจรญิ ยอ่ มเขา้ บน่ั ทอนวิบากของอกศุ ลกรรมใหท้ เุ ลาลง ตรงกบั บาลีวา่ ตโม โชตปิ รายโน : มืดมาแลว้ รงุ่ เรืองไปภายหน้า ๘. อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน กรรมน้ีเหมือนกับอุปปีฬกกรรม แต่ให้ผลท่ีรุนแรงกว่า สามารถทจ่ี ะตดั รอนผลแหง่ ชนกกรรมและอปุ ตั ถมั ภกกรรมทงั้ ฝา่ ยดแี ละไมด่ ใี หข้ าดลง แลว้ เขา้ ไปใหผ้ ลแทนท่ี กรรมนจี้ ึงตรงกันขา้ มกบั ชนกกรรมและอุปตั ถมั ภกกรรม หมวดท่ี ๓ จ�ำ แนกโดยการให้ผลตามล�ำ ดบั มี ๔ อย่าง คอื ๙. ครกุ รรม กรรมหนกั หมายถงึ กรรมหนกั ทส่ี ดุ กวา่ กรรมอน่ื ในล�ำ ดบั แหง่ การใหผ้ ล ในฝา่ ยอกศุ ล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕ ส่วนในฝ่ายกุศล ได้แก่ สมาบัติ ๘ ครุกรรมนี้ย่อมให้ผลก่อนกว่ากรรมอ่ืนๆ เปรยี บเหมอื นบคุ คลทง้ิ สง่ิ ของตา่ งๆ เชน่ เหลก็ ศลิ า หญา้ ขนนก เปน็ ตน้ จากทส่ี งู ลงมาพรอ้ มกนั สงิ่ ใดหนกั กวา่ ส่งิ นัน้ ยอ่ มตกถึงพ้ืนดนิ กอ่ น ส่งิ อื่นๆ ยอ่ มตกถึงพน้ื ตามล�ำ ดบั หนกั เบาฉะน้ัน แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ชัน้ เอก วชิ าธรรม

109 ๑๐. พหลุ กรรมกรรมชนิ หรอื เรยี กวา่ อาจณิ ณกรรมหมายถงึ กรรมทที่ �ำ บอ่ ยๆเปน็ อาจณิ ใหผ้ ลรอง จากครุกรรม เมอื่ ครุกรรมไมม่ ี กรรมน้ียอ่ มใหผ้ ลกอ่ นกรรมประเภทอื่น เปรียบเหมือนนกั มวยปล�้ำ คนทมี่ ีแรง มากหรอื วอ่ งไวกวา่ ยอ่ มเอาชนะไดเ้ ปน็ ธรรมดา หรอื เปรยี บเหมอื นโจรทท่ี �ำ การปลน้ ฆา่ เปน็ อาจณิ แตไ่ มไ่ ดท้ �ำ อนันตรยิ กรรมอย่างใดอยา่ งหน่ึง กรรมทีเ่ กิดจากการปล้นฆา่ ยอ่ มใหผ้ ลทนั ทที ี่เขาตาย ๑๑. อาสันนกรรม กรรมเมือ่ จวนเจียน หมายถึง กรรมท่ีท�ำ ในขณะใกล้จะสิน้ ใจตาย กรรมนแ้ี ม้ จะมกี �ำ ลงั ออ่ น ถา้ ไมม่ คี รกุ รรมและพหลุ กรรม ยอ่ มใหผ้ ลกอ่ นกรรมอนื่ ๆ เปรยี บเหมอื นโคทถี่ กู ขงั แออดั ในคอก พอคนเล้ียงโคเปิดประตูคอก โคตัวใดท่ีอยู่ริมประตู ถึงจะเป็นโคแก่มีกำ�ลังน้อย โคตัวนั้นย่อมออกได้ก่อน โคตวั อืน่ ที่มีก�ำ ลงั มากกว่า ๑๒. กตตั ตากรรม กรรมสกั วา่ ท�ำ หมายถงึ กรรมทที่ �ำ โดยไมม่ เี จตนา เชน่ คนเดนิ เหยยี บมดตาย โดยไมต่ งั้ ใจ โดยไมร่ วู้ า่ เปน็ บญุ หรอื เปน็ บาป ตอ่ เมอื่ กรรมอนื่ ไมม่ ี กรรมนจี้ งึ ถงึ คราวใหผ้ ล เปรยี บเหมอื นลกู ศร ทีค่ นยงิ ไปโดยไมม่ ีเปา้ หมายแน่นอน ถูกบ้าง ผิดบา้ ง หนักบ้าง เบาบ้าง เพราะคนยงิ ไมม่ คี วามต้ังใจ สรุปความ กรรม ๑๒ น้ี แสดงให้รู้วา่ คนบางคนทำ�กรรมช่ัว แต่ยังคงไดร้ บั ความสขุ ความเจรญิ อยู่ในปจั จุบนั ก็เพราะกรรมดีที่เคยทำ�ไว้ในอดีตกำ�ลังให้ผล หรือเพราะกรรมชั่วท่ีทำ�ในปัจจุบันยังไม่ได้โอกาสให้ผล อนง่ึ กรรม ๑๒ น้ี ไมม่ ปี รากฏในพระไตรปฎิ ก แตพ่ ระอรรถกถาจารย์ มพี ระพทุ ธโฆษาจารย์ เปน็ ตน้ ไดจ้ ดั รวบรวม ไว้ในภายหลัง แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศกึ ษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

110 เวลา..............ช่วั โมง แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๙ ธรรมศึกษาชน้ั เอก สาระการเรยี นรู้วชิ าธรรม เร่อื ง หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาสว่ นสงั สารวัฏ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ธศ ๑ รู้และเขา้ ใจหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา มศี รัทธาทถี่ ูกตอ้ ง ยดึ มน่ั และปฏิบัติ ตามหลกั ธรรม เพอ่ื อย่รู ว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ุข ๒. ผลการเรยี นรู้ รแู้ ละเข้าใจหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสงั สารวัฏ ๓. สาระส�ำ คัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ เป็นหลักธรรมท่ีว่าด้วยหัวใจสมถกัมมัฏฐาน หากบุคคลยดึ ม่นั และปฏิบตั ไิ ดจ้ ะอยใู่ นสงั คมด้วยความเปน็ สขุ ๔. จุดประสงค์การเรยี นรู้ นักเรยี นอธบิ ายหลักธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสังสารวัฏได้ ๕. สาระการเรียนร้/ู เน้ือหา - หวั ใจสมถกมั มฏั ฐาน ๖. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขน้ั สบื ค้นและเชือ่ มโยง ๑. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ โดยใช้คำ�ถาม เพื่อพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ และเชื่อมโยงไปสูก่ ารเรยี นรู้ - นักเรยี นเคยเรยี นเรือ่ งหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสังสารวัฏบา้ งหรือไม่ - หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสงั สารวัฏมอี ะไรบา้ ง - นักเรยี นเคยได้ยนิ ได้เหน็ หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสงั สารวฏั จากที่ไหนบ้าง ขนั้ ฝึก ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา สว่ นสังสารวฏั หัวใจสมถกัมมัฏฐาน จากใบความรทู้ ี่ ๙ ๓. นกั เรียนแต่ละกลุ่มจดั เตรียมการเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น แนวทางการจดั การเรยี นร้ธู รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

111 ขน้ั ประยุกต์ ๔. ให้นักเรยี นแต่ละกลุม่ ออกมาน�ำ เสนอตามหัวข้อท่ตี นเองไดร้ ับมอบหมายเพอ่ื แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ๕. นกั เรยี นในแตล่ ะกลมุ่ ตอบคำ�ถามตามใบกจิ กรรมท่ี ๙ ๖. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ ในแตล่ ะหัวขอ้ ๗. ภาระงาน/ช้นิ งาน ท ่ี ภาระงาน ช้ินงาน ใบกิจกรรมท่ี ๙ ๑ ตอบค�ำ ถามเก่ยี วกบั หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสังสารวัฏ ๘. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ ๑. ใบความรู้ท่ี ๙ เรือ่ ง หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั ๒. ใบกิจกรรมท่ี ๙ ๙. การวดั ผลและประเมินผล สิ่งทต่ี ้องการวดั วธิ วี ัด เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน อธิบายหลักธรรมของ - ตรวจผลงาน - แบบประเมนิ ผ่าน = ได้คะแนนตัง้ แต่ร้อยละ ๖๐ ข้นึ ไป พระพทุ ธศาสนา ผลงาน ไม่ผ่าน = ได้คะแนนตา่ํ กวา่ รอ้ ยละ ๖๐ สว่ นสังสารวฏั ได้ แนวทางการจดั การเรยี นรูธ้ รรมศกึ ษา ชั้นเอก วิชาธรรม

112 ข้อ ที่ แบบประเมนิ ผลงาน ๑ คะแนน ๔ - ๕ คะแนน ใบกจิ กรรมที่ ๙ ตอบค�ำ ถามถกู ต้องและ ๑ - ๒ ตอบคำ�ถามถูกต้อง ตรงประเดน็ น้อย ตรงประเดน็ ระดับคะแนน ๒ - ๓ คะแนน ตอบค�ำ ถามถูกตอ้ ง ตรงประเดน็ สว่ นใหญ ่ เกณฑ์ เกณฑ์การตดั สนิ คะแนน ผา่ น ๓ คะแนนขนึ้ ไป ไม่ผา่ น รอ้ ยละ ๒ คะแนนลงมา ๖๐ ขน้ึ ไป ตํา่ กว่า ๖๐ หมายเหตุ เกณฑ์การตดั สนิ สามารถปรบั ใชต้ ามความเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศึกษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

113 ใบกจิ กรรมที่ ๙ หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสงั สารวัฏ ช่ือกลมุ่ .................... ช่ือ.........................................................................................ชนั้ .....................เลขที.่ .......................... ชอื่ .........................................................................................ชั้น.....................เลขที่........................... ชอื่ .........................................................................................ช้ัน.....................เลขท่.ี .......................... ค�ำ ชี้แจง ให้นกั เรยี นตอบค�ำ ถามตอ่ ไปนี้ จำ�นวน ๑ ขอ้ (๕ คะแนน) ๑. อธิบายถึงความหมายและการปฏิบัตติ นของหวั ใจสมถกัมมัฏฐาน .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศึกษา ช้ันเอก วิชาธรรม

114 เฉลยใบกิจกรรมท่ี ๙ หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสังสารวัฏ ๑. อธบิ ายถงึ ความหมายและการปฏบิ ัติตนของหวั ใจสมถกมั มัฏฐาน ตอบ กัมมฏั ฐาน แปลว่า ที่ตัง้ แหง่ การงาน หมายถึง อารมณ์อนั เป็นทีต่ งั้ แห่งการงานหรือเรียกว่า ภาวนา แปลวา่ ท�ำ ใหม้ ีใหเ้ ป็นข้ึน แบง่ เป็น ๒ อย่าง คือ ๑. สมถกัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเป็นอุบายสงบใจ หมายถึง กัมมัฏฐานท่ีเน่ืองด้วยบริกรรม อย่างเดียว เป็นการบำ�เพ็ญเพียรทางจิตโดยใช้สติเป็นหลัก เป็นอุบายทำ�ให้นิวรณธรรมระงับไป ไม่เก่ียวกับ การใช้ปัญญา ๒. วิปัสสนากัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเป็นอุบายเรืองปัญญา หมายถึง กัมมัฏฐานท่ีใช้ปัญญา พจิ ารณาอยา่ งเดยี ว โดยการพจิ ารณาปรารภสภาวธรรม หัวใจสมถกมั มัฏฐาน ในหัวใจสมถกัมมัฏฐานนี้ ทเี่ ปน็ อุบายเครือ่ งอบรมจิตให้เปน็ สมาธิ มี ๕ อย่าง คือ ๑. กายคตาสติ ๒. เมตตา ๓. พุทธานุสสติ ๔. กสิณ ๕. จตธุ าตวุ วตั ถาน การปฏิบัติ เราต้องต้งั อย่ใู นสมาธิในการปฏบิ ัตงิ าน แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศึกษา ชั้นเอก วิชาธรรม

115 ใบความรู้ที่ ๙ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสงั สารวัฏ หัวใจสมถกมั มัฏฐาน สมาธึ ภิกขฺ เว ภาเวถ สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาต.ิ ภิกษทุ ้ังหลาย พวกเธอจงยงั สมาธใิ ห้เกดิ ชนผมู้ จี ิตเปน็ สมาธิแล้ว ย่อมรูต้ ามความเปน็ จรงิ . อธิบาย อาการของกายและวาจาจะเป็นอย่างไร ย่อมสำ�เร็จมาจากใจเป็นผู้บัญชา ถ้าใจได้รับการอบรมดี กบ็ งั คบั บญั ชากายและวาจาใหด้ ไี ปตาม ถา้ ใจชว่ั กบ็ งั คบั บญั ชาใหก้ ายและวาจาชวั่ ไปตาม ดงั นน้ั พระพทุ ธองค์ จงึ ทรงสอนภิกษุทำ�ใจให้เปน็ สมาธิ เมื่อใจเป็นสมาธิ แม้จะนำ�ไปใช้นึกคิดอะไรก็ละเอียดสขุ มุ ยอ่ มรูจ้ ักความ เป็นจริงได้ดีกว่าผู้มีใจไม่เป็นสมาธิ ใจท่ีไม่เป็นสมาธิ บางคราวอาจทำ�ให้เป็นคนเสียสติ เพราะไม่มีอะไรเป็น เครอื่ งควบคมุ กัมมฏั ฐาน กมั มฏั ฐาน แปลวา่ ทตี่ ง้ั แหง่ การงาน หมายถงึ อารมณอ์ นั เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ การงาน หรอื เรยี กวา่ ภาวนา แปลว่า ทำ�ใหม้ ีให้เป็นขึน้ แบ่งเปน็ ๒ อย่าง คอื ๑. สมถกัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเป็นอุบายสงบใจ หมายถึง กัมมัฏฐานที่เน่ืองด้วยบริกรรม อย่างเดียว เป็นการบำ�เพ็ญเพียรทางจิตโดยใช้สติเป็นหลัก เป็นอุบายทำ�ให้นิวรณธรรมระงับไป ไม่เก่ียวกับ การใชป้ ัญญา ๒. วิปัสสนากัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเป็นอุบายเรืองปัญญา หมายถึง กัมมัฏฐานท่ีใช้ปัญญา พจิ ารณาอย่างเดียว โดยการพิจารณาปรารภสภาวธรรม คือ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรยี ์ ๒๒ แยกออกพิจารณาให้รู้ตามสภาพความเป็นจริง โดยยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์หรือสามัญญลักษณะว่า เป็นอนิจจัง ทกุ ขัง และอนัตตา หวั ใจสมถกัมมัฏฐาน ในหวั ใจสมถกมั มฏั ฐานนี้ ท่เี ปน็ อบุ ายเครือ่ งอบรมจิตให้เปน็ สมาธิ มี ๕ อย่าง คอื ๑. กายคตาสติ ๒. เมตตา ๓. พุทธานุสสติ ๔. กสณิ ๕. จตธุ าตุววัตถานะ แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศึกษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

116 ๑. กายคตาสติ กายคตาสติ หมายถึง การใช้สติกำ�หนดพิจารณากายว่าเป็นของไม่สวยงาม คือกำ�หนดพิจารณา แต่ปลายผมลงมาถึงปลายเท้า อันประกอบดว้ ยผม ขน เลบ็ ฟัน หนัง เป็นต้น ก�ำ หนดพิจารณาสี สณั ฐาน กลิ่น ที่เกิด ท่ีอยู่ของส่วนตา่ งๆ เหล่านั้น ซึ่งเรียกว่า อาการ ๓๒ จนเห็นว่า แต่ละอย่างล้วนเป็นส่ิงปฏิกูล นา่ เกลยี ด เหมอื นหมอ้ ใสอ่ จุ จาระและสงิ่ ปฏกิ ลู ตา่ งๆ ภายนอกอาจจะดสู วยงาม แตภ่ ายในเตม็ ไปดว้ ยสง่ิ สกปรก โสโครกนานปั การ ๒. เมตตา เมตตา หมายถึง ปรารถนาจะให้ผู้อื่นเป็นสุข คือความมีจิตอันแผ่ไมตรีและคิดทำ�ประโยชน์แก่ มนุษย์และสัตว์ท่ัวหน้า ผู้จะเจริญเมตตากัมมัฏฐานน้ี เบื้องต้นควรนึกถึงคนอื่นเทียบกับตนว่า “เรารักสุข เกลียดทุกข์ฉันใด คนอ่ืนก็รักสุข เกลียดทุกข์ฉันนั้น สิ่งที่ชอบใจของเรา ย่อมเป็นของที่ชอบใจของคนอื่น สงิ่ ทไี่ ม่เปน็ ทช่ี อบใจของเรา ย่อมไมเ่ ปน็ ท่ีชอบใจของคนอนื่ ด้วยเหมือนกนั ” ผู้เจริญเมตตา พึงแผ่โดยเจาะจงก่อน เริ่มต้นแต่คนท่ีใกล้ชิดสนิทกัน เช่น มารดาบิดา สามี ภรรยา บตุ รธิดา ครอู าจารย์ เปน็ ตน้ หลังจากนั้น พงึ แผ่โดยไม่เจาะจง คอื สรา้ งความปรารถนาดใี นคนท่ัวไป หรือเพื่อนมนุษย์ท่ัวโลก ตลอดถึงสรรพสัตว์ การแผ่เมตตาโดยเจาะจง ทำ�ให้จิตมีพลังแรง แต่ขอบเขตแห่ง ความไม่มีภัยไม่มีเวรและความสำ�เร็จประโยชน์แก่ผู้อ่ืนเป็นไปในวงแคบ ส่วนการแผ่เมตตาโดยไม่เจาะจง แม้ว่าจิตจะมีพลังอ่อน แต่เป็นไปในวงกว้าง สามารถทำ�ให้คนในสังคมมีความรักใคร่ปรองดองช่วยเหลือกัน และได้สุขโดยท่ัวถึงกัน ในการเจริญเมตตากัมมัฏฐานนิยมบริกรรมตามบทบาลีว่า “สพฺเพ สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฌฺ า อนฆี า สขุ ี อตฺตานํ ปรหิ รนฺต”ุ แปลว่า “ขอสัตว์ทง้ั หลายทง้ั ปวง เปน็ ผ้ไู ม่มีเวร ไมม่ ีความล�ำ บาก ไมม่ ีทกุ ข์ จงมีสขุ รกั ษาตนเถิด” บุคคลท่ีเจริญเมตตาย่อมได้รับอานิสงส์ ๑๑ อย่าง คือ (๑) หลับเป็นสุข (๒) ตื่นเป็นสุข (๓) ไม่ฝนั ร้าย (๔) เปน็ ท่รี ักของมนุษย์ (๕) เปน็ ท่รี กั ของอมนุษย์ (๖) เทวดารักษา (๗) ไฟ ยาพษิ ศัสตราวธุ ไมก่ ลาํ้ กราย (๘) จติ สงบเปน็ สมาธไิ ดเ้ รว็ (๙) สหี นา้ ผอ่ งใส (๑๐) ตายอยา่ งมสี ติ (๑๑) เมอ่ื ยงั ไมบ่ รรลธุ รรมชน้ั สงู ยอ่ มเขา้ ถงึ พรหมโลก ๓. พทุ ธานสุ สติ พทุ ธานสุ สติ แปลว่า ความระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจ้า หมายถึง การระลกึ ถงึ พระพทุ ธองค์ โดยปรารภ ถงึ พระคณุ ความดขี องพระองค์ ไม่ใช่ระลกึ ถงึ เพราะตอ้ งการจะกล่าวโทษโดยประการต่างๆ ผเู้ จรญิ พทุ ธานสุ สติ พงึ บรกิ รรมระลกึ ถงึ พระพทุ ธคณุ ๙ บท คอื อติ ปิ ิ โส ภควา อรห,ํ สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ, วิชชฺ าจรณสมปฺ นฺโน สคุ โต, โลกวทิ ,ู อนุตตฺ โร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนสุ ฺสาน,ํ พทุ โฺ ธ ภควา โดยล�ำ ดบั หรอื จะก�ำ หนดเฉพาะพระคณุ บทใดบทหน่ึงกไ็ ด้ เช่น บทท่นี ยิ มกนั มากคือ บทวา่ “อรหํ” หรอื “พทุ โฺ ธ” ๔. กสิณ กสิณ แปลว่า วัตถุอันจูงใจ หมายถึงวัตถุอันจูงใจให้เข้าไปผูกอยู่สำ�หรับเพ่งเพื่อให้จิตเป็นสมาธิ โดยก�ำ หนดเอาวตั ถจุ งู ใจ ๑๐ อยา่ งมาเพง่ เปน็ อารมณ์ คอื (๑) ปฐวี ดนิ (๒) อาโป นา้ํ (๓) เตโช ไฟ (๔) วาโย ลม แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

117 (๕) นีลํ สเี ขยี ว (๖) ปีตํ สีเหลอื ง (๗) โลหิตํ สีแดง (๘) โอทาตํ สีขาว (๙) อาโลโก แสงสว่าง (๑๐) อากาโส ทวี่ ่าง ขอ้ ๑ - ๔ เรยี กรวมกนั ว่า ภูตกสณิ กสณิ มหาภูตรูป ๔ คือ ดนิ น้าํ ไฟ และลม ส่วนข้อ ๕ - ๘ เรียกรวมกนั ว่า วัณณกสิณ กสิณสี ๔ คือ สีเขียว เหลอื ง แดง และขาว ๕. จตุธาตวุ วัตถานะ จตุธาตุววัตถาน แปลว่า การกำ�หนดธาตุ ๔ หมายถึง กัมมัฏฐานท่ีกำ�หนดพิจารณาให้เห็นว่า รา่ งกายของคนเรา เปน็ แตเ่ พยี งธาตุ ๔ คอื ดนิ นาํ้ ไฟ ลม มาประชมุ รวมกนั เทา่ นนั้ ทง้ั นเ้ี พอ่ื ถา่ ยถอนความรสู้ กึ วา่ เปน็ สัตว์ บคุ คล ตวั ตน เราเขาออกไปจากจิตใจเสยี ได้ เรียกอีกอยา่ งว่า ธาตุมนสกิ าร หรือธาตกุ ัมมฏั ฐาน ทา่ นไดจ้ ัดหัวใจสมถกมั มฏั ฐานไว้ ๕ อยา่ ง กเ็ พื่อเปน็ เครอ่ื งฆา่ กัน คอื เปน็ ค่ปู รบั กับนิวรณ์ ๕ โดยตรง คือ ๑) กายคตาสติ เป็นคปู่ รับกบั กามฉันทะ ๒) เมตตา ” พยาบาท ๓) พทุ ธานสุ สติ ” ถีนมิทธะ ๔) กสณิ ” อทุ ธัจจกุกกุจจะ ๕) จตุธาตุววตั ถานะ ” วจิ ิกิจฉา นวิ รณ์ ๕ นิวรณ์ แปลว่า เคร่ืองกีดก้ัน เครื่องขัดขวาง หมายความว่า ส่ิงที่กีดกั้นการทำ�งานของจิต สิ่งที่ขัดขวางความดีความงามของจิต สิ่งที่ทอนกำ�ลังปัญญา หรือส่ิงท่ีกั้นจิตไม่ให้ก้าวหน้าในกุศลธรรม อนั เป็นสนิมกัดกรอ่ นใจของคน มี ๕ อยา่ ง คือ ๑. กามฉันทะ ความพอใจรักใครใ่ นกาม หมายถึง ความที่จิตยินดีลุม่ หลงในกามคุณ ๕ อยา่ ง คอื รปู เสียง กลน่ิ รส โผฏฐัพพะ ที่นา่ ปรารถนาน่าพอใจ กามฉนั ทะมีเหตุเกดิ มาจากสุภสญั ญา คอื ความกำ�หนด หมายว่า สวยงาม ๒. พยาบาท ความคิดปองร้ายผู้อ่ืน หมายถึง ความที่จิตพยาบาทอาฆาตคิดแค้นผู้อื่น ได้แก่ ความขัดใจ แค้นเคือง เกลียดชัง ผูกใจเจ็บ มองในแง่ร้ายคิดร้าย เป็นต้น พยาบาทน้ีมีเหตุเกิดมาจาก ปฏฆิ ะ คอื ความกระทบกระท่งั แห่งจติ หรอื ความหงดุ หงดิ ใจ ๓. ถีนมิทธะ ความท้อแท้ง่วงเหงา หมายถึง ความที่จิตท้อแท้เซ่ืองซึม แยกอธิบายเป็น ๒ คำ� คือ ถีนะ แปลว่า ความท้อแท้ ได้แก่ ความหดหู่ห่อเห่ียว ซบเซา เหงาหงอยแห่งจิต และมิทธะ แปลว่า ความง่วงเหงา ไดแ้ ก่ ความงว่ งเหงาหาวนอน หรืออาการซมึ เซาแห่งกาย ถนี มทิ ธะนีม้ ีเหตุเกดิ มาจาก อรติ คอื ความไมเ่ พลิดเพลิน หรือความไม่ยินดี ๔. อทุ ธจั จกกุ กจุ จะ ความฟงุ้ ซา่ นร�ำ คาญ หมายถงึ ความทจ่ี ติ กลดั กลมุ้ เดอื ดรอ้ น แยกอธบิ ายเปน็ ๒ คำ� คือ อุทธัจจะ แปลวา่ ความฟงุ้ ซ่าน ไดแ้ ก่ ความทจ่ี ติ คิดพล่านไป ไมส่ งบ กระสบั กระส่ายไปในอารมณ์ ต่างๆ และกุกกุจจะ แปลว่า ความรำ�คาญ ได้แก่ ความวุ่นวายใจ ความเดือดร้อนใจ ความกลัดกลุ้มใจ อทุ ธจั จกุกกุจจะน้ีมีเหตเุ กดิ มาจากเจตโสอวูปสมะ คอื ความไม่สงบแห่งจติ แนวทางการจัดการเรียนรูธ้ รรมศกึ ษา ชัน้ เอก วิชาธรรม

118 ๕. วจิ กิ จิ ฉา ความลงั เลสงสยั หมายถงึ ความทจี่ ติ เคลอื บแคลง ไมแ่ นใ่ จ เชน่ มคี วามสงสยั เกยี่ วกบั พระรัตนตรัย ไม่เชือ่ ผลของบุญและบาป เป็นต้น วจิ กิ ิจฉาน้มี เี หตเุ กิดมาจากอโยนโิ สมนสิการ คอื ความท�ำ ไว้ ในใจโดยไม่แยบคาย ความคดิ ท่ไี ม่ฉลาดรอบคอบ ความคิดทไี่ มถ่ กู ทาง องคฌ์ านทเ่ี ป็นคปู่ รับกับนวิ รณ์ ฌาน แปลวา่ ความเพง่ หรือคณุ ธรรมเครือ่ งเผากเิ ลส เป็นชื่อของคณุ วิเศษทเ่ี กิดจากการฝกึ อบรม จติ ใหเ้ ป็นสมาธิ มี ๒ ประเภท คอื รปู ฌาน และอรปู ฌาน ๑. รูปฌาน ฌานที่มอี ารมณก์ มั มฏั ฐานเปน็ รปู ธรรม มี ๔ ข้นั คือ ๑) ปฐมฌาน ฌานขัน้ ที่ ๑ มีองค์ธรรม ๕ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตา ๒) ทุติยฌาน ฌานขัน้ ท่ี ๒ มีองค์ธรรม ๓ คือ ปตี ิ สุข และเอกคั คตา ๓) ตติยฌาน ฌานขน้ั ที่ ๓ มีองค์ธรรม ๒ คอื สุข และเอกัคคตา ๔) จตุตถฌาน ฌานขั้นท่ี ๔ มอี งค์ธรรม ๒ คอื อุเบกขา และเอกัคคตา ๒. อรูปฌาน ฌานทมี่ อี ารมณก์ มั มัฏฐานเป็นอรูปธรรมหรอื นามธรรม ซ่งึ ผูส้ �ำ เรจ็ ฌานประเภทนี้ เมื่อสิน้ ชีวิตแล้วจะมีคตทิ ีแ่ น่นอนคอื ไปบังเกิดเปน็ พรหมอยใู่ นอรูปภพ หรอื อรูปพรหม ๔ ช้ัน ชัน้ ใดชนั้ หน่ึง องค์ฌานเป็นค่ปู รับกบั นิวรณ์ ๕ ๑) เอกัคคตา เป็นคปู่ รบั กบั กามฉันทะ ๒) ปตี ิ ” พยาบาท ๓) วิตก ” ถีนมทิ ธะ ๔) สขุ ” อทุ ธจั จกุกกจุ จะ ๕) วจิ าร ” วิจกิ จิ ฉา อุเบกขานนั้ ประกอบร่วมในทุกองคฌ์ าน ท่านจึงไมน่ ำ�มาจับคู่ปรบั กับนิวรณ์ ๕ สรปุ ความ การฝกึ จติ ใหเ้ ป็นสมาธินนั้ ทา่ นกำ�หนดสมถกัมมัฎฐานท่ีเปน็ หัวใจ เพื่อเป็นพน้ื ฐานแห่งการศกึ ษา ในเบอื้ งต้น ๕ อยา่ ง คอื กายคตาสติ เมตตา พทุ ธานุสสติ กสณิ และจตุธาตวุ วัตถานะ และก�ำ หนดนิวรณ์ ท่เี ปน็ คู่ปรบั กนั ไว้ ๕ อยา่ ง คอื กามฉันทะ พยาบาท ถีนมทิ ธะ อุทธจั จกุกกุจจะ และวจิ กิ จิ ฉา การเจริญสมถกัมมัฏฐาน เม่ือฝึกจนจิตเป็นสมาธิแน่วแน่และสามารถข่มกิเลส คือ นิวรณ์ ๕ ได้ เรยี กว่า บรรลุฌาน อันจดั เปน็ ผลสูงสุดของการเจริญสมถกมั มฏั ฐาน ฌานมี ๒ ประเภท คอื รูปฌานกับอรูปฌาน รปู ฌานมี ๔ ขน้ั แตล่ ะขัน้ มอี งคธ์ รรมท่ีเปน็ ค่ปู รบั กับ นวิ รณ์ ๕ เรียกว่า องคฌ์ าน ๕ คือ (๑) เอกัคคตา ภาวะทีจ่ ิตมอี ารมณ์เปน็ หนง่ึ หรือตัวสมาธิ เป็นคปู่ รับกบั กามฉันทะ (๒) ปีติ ความอมิ่ ใจ เปน็ คปู่ รับกบั พยาบาท (๓) วิตก ความตรกึ อารมณ์ เปน็ คปู่ รับกบั ถีนมทิ ธะ (๔) สขุ ความสบายใจ เปน็ คปู่ รบั กบั อุทธัจจกุกกุจจะ (๕) วจิ าร ความตรองอารมณ์ เปน็ คูป่ รบั กับวจิ ิกจิ ฉา โดยมีองคธ์ รรม คอื อุเบกขา ความวางเฉย ประกอบรว่ มในทกุ องคฌ์ าน แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศึกษา ชัน้ เอก วิชาธรรม

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๐ 119 ธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สาระการเรยี นรู้วชิ าธรรม เวลา..............ช่วั โมง เรือ่ ง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาสว่ นสังสารวฏั ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ธศ ๑ รูแ้ ละเข้าใจหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา มศี รัทธาทีถ่ กู ตอ้ ง ยึดมน่ั และปฏิบัติ ตามหลกั ธรรม เพือ่ อย่รู ว่ มกันอยา่ งสนั ติสุข ๒. ผลการเรียนรู้ รแู้ ละเข้าใจหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวฏั ๓. สาระส�ำ คัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ เป็นหลักธรรมท่ีวา่ ด้วยสมถกัมมัฏฐาน : หลักการ เจรญิ สมถะ หากบคุ คลยึดมั่นและปฏบิ ัตไิ ด้จะอยใู่ นสังคมดว้ ยความเป็นสุข ๔. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ นักเรยี นอธบิ ายหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั ได้ ๕. สาระการเรียนรู/้ เน้อื หา - สมถกมั มัฏฐาน : หลักการเจริญสมถะ ๖. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ สืบค้นและเชือ่ มโยง ๑. ครูและนักเรียนสนทนาเก่ียวกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ โดยใช้คำ�ถาม เพ่ือพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดและเชอ่ื มโยงไปสู่การเรียนรู้ - นกั เรยี นเคยเรยี นเรื่องหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสังสารวัฏบา้ งหรอื ไม่ - หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสังสารวัฏมอี ะไรบ้าง - นกั เรียนเคยไดย้ ินไดเ้ ห็นหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสังสารวัฏจากท่ไี หนบ้าง ขนั้ ฝึก ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา สว่ นสงั สารวัฏ สมถกัมมฏั ฐาน : หลกั การเจรญิ สมถะ จากใบความรู้ที่ ๑๐ ๓. นักเรียนแต่ละกลมุ่ จดั เตรยี มการเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรยี น แนวทางการจัดการเรยี นรูธ้ รรมศกึ ษา ชั้นเอก วิชาธรรม

120 ขน้ั ประยุกต์ ๔. ให้นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ออกมาน�ำ เสนอตามหัวขอ้ ท่ตี นเองได้รบั มอบหมายเพ่ือแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ๕. นักเรียนในแตล่ ะกลุ่มตอบคำ�ถามตามใบกจิ กรรมที่ ๑๐ ๖. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปในแตล่ ะหวั ข้อ ๗. ภาระงาน/ชนิ้ งาน ที่ ภาระงาน ชิ้นงาน ใบกจิ กรรมที่ ๑๐ ๑ ตอบค�ำ ถามเก่ยี วกับหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั ๘. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ ๑. ใบความรทู้ ่ี ๑๐ เรือ่ ง หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสังสารวัฏ ๒. ใบกิจกรรมท่ี ๑๐ ๙. การวัดผลและประเมนิ ผล สิง่ ท่ตี ้องการวดั วธิ วี ัด เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมนิ อธบิ ายหลักธรรมของ - ตรวจผลงาน - แบบประเมิน ผ่าน = ไดค้ ะแนนต้งั แตร่ ้อยละ ๖๐ ขนึ้ ไป พระพทุ ธศาสนา ผลงาน ไมผ่ า่ น = ได้คะแนนต่าํ กวา่ ร้อยละ ๖๐ ส่วนสังสารวัฏได ้ แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศึกษา ช้ันเอก วิชาธรรม

ข้อ ท่ี แบบประเมนิ ผลงาน 121 ๔ - ๕ คะแนน ใบกจิ กรรมที่ ๑๐ ๑ คะแนน ๑ - ๒ ตอบค�ำ ถามถกู ต้อง ตอบค�ำ ถามถูกตอ้ งและ ตรงประเด็น ระดับคะแนน ตรงประเดน็ นอ้ ย ๒ - ๓ คะแนน ตอบคำ�ถามถกู ตอ้ ง ตรงประเด็นสว่ นใหญ ่ เกณฑ์ เกณฑ์การตดั สนิ คะแนน ผา่ น ๓ คะแนนขึน้ ไป ไม่ผา่ น รอ้ ยละ ๒ คะแนนลงมา ๖๐ ข้นึ ไป ตํา่ กว่า ๖๐ หมายเหตุ เกณฑ์การตัดสินสามารถปรับใชต้ ามความเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศึกษา ชนั้ เอก วิชาธรรม

122 ใบกิจกรรมท่ี ๑๐ หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสงั สารวัฏ ชือ่ กลุ่ม.................... ชอื่ .........................................................................................ชั้น.....................เลขท่.ี .......................... ช่อื .........................................................................................ช้ัน.....................เลขท่.ี .......................... ช่ือ.........................................................................................ชั้น.....................เลขที.่ .......................... คำ�ชแ้ี จง ให้นักเรียนตอบคำ�ถามตอ่ ไปน้ี จ�ำ นวน ๑ ขอ้ (๕ คะแนน) ๑. อธิบายถึงความหมายและการปฏิบัติตนของสมถภาวนา : หลักการเจรญิ สมถะ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ช้นั เอก วิชาธรรม

123 เฉลยใบกจิ กรรมท่ี ๑๐ หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสังสารวัฏ ๑. อธิบายถงึ ความหมายและการปฏบิ ตั ติ นของสมถภาวนา : หลักการเจริญสมถะ ตอบ สมถกัมมัฏฐาน หมายถึงหลักการเจริญสมถะ เป็นอุบายเครื่องปิดกั้นนิวรณ์กิเลสมิให้ ครอบงำ�จิตสันดานได้ เปรียบเหมือนบุคคลสร้างทำ�นบก้ันนํ้ามิให้ไหลไป ท้ังยังเป็นอุบายข่มจิตมิให้ฟุ้งซ่าน เปรียบเหมอื นนายสารถฝี กึ ม้าให้พร้อมใชง้ านเป็นราชพาหนะได้ ธรรมที่เป็นอารมณข์ องสมถกัมมัฏฐานตามนยั พระบาลี ๑. อภิณหปัจจเวกขณะ หมายถึง หลักธรรมสำ�หรับกำ�หนดพิจารณาในชีวิตประจำ�วัน หรือ หัวขอ้ ธรรมที่ควรพจิ ารณาทกุ ๆ วัน ๒. สติปัฏฐาน หมายถึง การตั้งสติกำ�หนดพิจารณาสิ่งท้ังหลายให้รู้เห็นตามความเป็นจริง โดยก�ำ หนดพจิ ารณาสงิ่ สำ�คัญในชีวติ ภาวนา หมายถงึ การเจริญกมั มฏั ฐานหรอื ฝึกสมาธิตามลำ�ดับขั้น มี ๓ คอื ๑. บริกรรมภาวนา การเจริญสมาธิข้ันเริ่มต้น ได้แก่ การกำ�หนดเอานิมิตในสิ่งท่ีกำ�หนด เปน็ อารมณ์กัมมัฏฐาน ๒. อปุ จารภาวนา การเจริญสมาธขิ น้ั อปุ จาร ได้แก่ การเจริญกัมมฏั ฐานที่อาศัยบรกิ รรมภาวนา โดยก�ำ หนดอุคคหนมิ ิตเร่ือยไปจนแนบสนทิ ในใจ ๓. อัปปนาภาวนา การเจริญสมาธิขั้นอัปปนา ได้แก่ การเจริญกัมมัฏฐานที่อาศัยปฏิภาคนิมิต ซึ่งเกดิ ขน้ึ สมํา่ เสมอดว้ ยอปุ จารสมาธิ การปฏิบัติ เราตอ้ งฝกึ สมาธใิ หน้ ่ิง แนว่ แนใ่ นการปฏบิ ัตใิ นทางท่ดี ี แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศึกษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

124 ใบความร้ทู ่ี ๑๐ หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวฏั สมถกัมมัฏฐาน ๑. กลุ บุตรมีศรทั ธามาเจริญสมถะ ทำ�ใหเ้ กิดขน้ึ ด้วยเจตนาอนั ใด เจตนาอนั นั้นชื่อวา่ สมถภาวนา ๒. กลุ บตุ รผมู้ ศี รทั ธายงั สมถะอนั เปน็ อบุ ายเครอ่ื งสงบระงบั ของจติ ใหเ้ กดิ มขี นึ้ ชอื่ วา่ สมถภาวนา ๓. เจตนาอันเป็นไปในสมถกมั มัฏฐานท้งั หมดทงั้ สนิ้ ชอื่ ว่า สมถภาวนา อธิบาย สมถกัมมัฏฐาน หมายถึง หลักการเจริญสมถะ เป็นอุบายเคร่ืองปิดกั้นนิวรณ์กิเลสมิให้ ครอบงำ�จิตสันดานได้ เปรียบเหมือนบุคคลสร้างทำ�นบก้ันนํ้ามิให้ไหลไป ทั้งยังเป็นอุบายข่มจิตมิให้ฟุ้งซ่าน เปรียบเหมอื นนายสารถฝี กึ มา้ ให้พร้อมใชง้ านเปน็ ราชพาหนะได้ ธรรมทเี่ ป็นอารมณ์ของสมถกัมมฏั ฐานตามนัยพระบาลี ธรรมท่ีนิยมนำ�มากำ�หนดเพ่ือให้จิตสงบเป็นสมาธิ กล่าวตามพระบาลี (พระไตรปิฎก) มี ๒ คือ อภิณหปัจจเวกขณะ ๕ และสติปัฏฐาน ๔ มอี ธิบายดังน้ี ๑. อภิณหปัจจเวกขณะ หมายถึง หลักธรรมสำ�หรับกำ�หนดพิจารณาในชีวิตประจำ�วัน หรือ หัวข้อธรรมที่ควรพิจารณาทกุ ๆ วนั มี ๕ อย่าง คือ ๑) ชราธัมมตา การพิจารณาถงึ ความแกเ่ นืองๆ เป็นอุบายบรรเทาความประมาทในวยั ๒) พยาธิธัมมตา การพิจารณาถึงความเจ็บป่วยเนืองๆ เป็นอุบายบรรเทาความประมาท ในความไมม่ โี รค ๓) มรณธมั มตา การพจิ ารณาถึงความตายเนืองๆ เป็นอบุ ายบรรเทาความประมาทในชีวติ ๔) ปิยวินาภาวตา การพิจารณาถึงความพลัดพรากจากสิ่งที่รักเนืองๆ เป็นอุบายบรรเทา ความเศรา้ โศกเสยี ใจ ความคบั แค้นใจ ๕) กัมมัสสกตา การพิจารณาว่าตนมีกรรมเป็นของตนเนืองๆ เป็นอุบายเตือนใจให้รู้ว่า ทุกคนมกี รรมเป็นของตน ท�ำ ดไี ดด้ ี ทำ�ชั่วได้ชว่ั ๒. สติปัฏฐาน หมายถึง การต้ังสติกำ�หนดพิจารณาสิ่งท้ังหลายให้รู้เห็นตามความเป็นจริง โดยกำ�หนดพิจารณาส่งิ ส�ำ คญั ในชวี ติ มี ๔ อย่าง คอื ๑) กายานุปสั สนาสติปฏั ฐาน หมายถึง การตั้งสติกำ�หนดพจิ ารณากายใหร้ ้เู หน็ ตามความจริง ซ่ึงแบง่ เปน็ ๖ บรรพ (หมวด) คอื (๑) อานาปานบรรพ หมวดก�ำ หนดรลู้ มหายใจเขา้ - ออกยาว สนั้ หยาบ ละเอยี ด เปน็ ตน้ (๒) อิริยาปถบรรพ หมวดกำ�หนดรู้อิริยาบถใหญ่ของคนเรา ๔ อิริยาบถ คือ เดิน ยืน น่งั นอน วา่ สำ�เร็จเปน็ ไปได้เพราะลมและจิตท่คี ิด แนวทางการจดั การเรยี นร้ธู รรมศึกษา ชัน้ เอก วชิ าธรรม

125 (๓) สัมปชัญญบรรพ หมวดกำ�หนดรู้รอบคอบในการเคล่ือนไหวของกาย มีก้าวไป ข้างหนา้ และถอยกลับมาข้างหลงั เปน็ ต้น มิใหห้ ลงลืมพลัง้ เผลอสตทิ ุกขณะของการเคล่ือนไหวไปมาใดๆ (๔) ปฏิกูลบรรพ หมวดกำ�หนดพิจารณาอวัยวะหรือส่วนต่างๆ ภายในกายตน มีผม ขน เล็บ ฟนั หนัง เปน็ ต้น และเปรยี บเทียบกบั กายผู้อ่นื ให้เหน็ เปน็ ของปฏกิ ลู คือไม่งามไม่สะอาด เตม็ ไปดว้ ย ส่งิ ปฏกิ ูลโสโครกน่าเกลยี ด (๕) ธาตุบรรพ หมวดกำ�หนดพิจารณากายตนและกายผู้อื่นโดยเป็นสักแต่ว่าธาตุ ๔ มาประชุมรวมกัน คือ ส่ิงที่แข็งท่ีกระด้าง กำ�หนดว่าเป็นธาตุดิน ส่ิงท่ีอ่อนที่เหลวซึมซาบไปในดิน ทำ�ดิน ให้เหนียวเป็นกอ้ นอยไู่ ด้ ก�ำ หนดวา่ เป็นธาตุนํา้ ส่งิ ทีท่ ำ�ดินและนํา้ ใหอ้ นุ่ ใหร้ อ้ น ใหแ้ หง้ เกรียมไป กำ�หนดวา่ เปน็ ธาตไุ ฟ สง่ิ ทอ่ี ปุ ถมั ภอ์ ดุ หนนุ พยงุ ดนิ และนา้ํ ไว้ และท�ำ ใหไ้ หวตงิ ไปมาและรกั ษาไฟไวม้ ใิ หด้ บั ไปได้ ก�ำ หนดวา่ เป็นธาตุลม (๖) นวสถี กิ าบรรพ หมวดก�ำ หนดพจิ ารณากายทเ่ี ปน็ ซากศพซงึ่ เขาทงิ้ ไวใ้ นปา่ ชา้ เปน็ ตน้ อันกลายเป็นอสภุ ะเปลยี่ นสภาพไปตามระยะกาลที่ถูกท้ิงไว้ ๙ ระยะกาล เร่ิมต้ังแต่ซากศพท่ีเขาทง้ิ ไวห้ นงึ่ วัน สองวนั หรอื สามวัน จนกลายเปน็ อสภุ ะขน้ึ อืดพอง มีสีเขียว มีหนองไหลเยมิ้ ออก เป็นตน้ ไปจนถึงซากศพ ที่เขาทิ้งไว้นานจนกลายเป็นกระดูกผยุ ย่อยปน่ ละเอยี ดเปน็ จรุ ณไป เมื่อตั้งสติกำ�หนดพิจารณากาย ๖ หมวด หมวดใดหมวดหน่ึงดังกล่าวมาน้ี จนภาวะ จิตสงบแนว่ แน่เป็นสมาธิสามารถละนิวรณก์ เิ ลสได้ เรียกวา่ สมถกมั มฏั ฐาน ๒) เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน หมายถึง การต้ังสติกำ�หนดพิจารณาเวทนา คือ ความรู้สึก เป็นสขุ เป็นทุกข์ หรอื ไมส่ ขุ ไมท่ ุกข์ (เปน็ กลางๆ) เมอ่ื เสวยสขุ เวทนา กม็ ีสติกำ�หนดรูว้ ่าเสวยสุขเวทนา เป็นตน้ จนกระท่งั จิตสงบเปน็ สมาธสิ ามารถละนวิ รณ์กิเลสได้ ๓) จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน หมายถึง การต้ังสติกำ�หนดพิจารณาจิตของตนตามเป็น จริง คอื จติ มรี าคะ ก็รู้ว่าจติ มรี าคะ จิตปราศจากราคะ ก็รู้ว่าจติ ปราศจากราคะ เปน็ ตน้ จนกระท่งั จติ สงบ เป็นสมาธิสามารถละนิวรณก์ ิเลสได้ ๔) ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน หมายถึง การตั้งสติกำ�หนดพิจารณาสภาวธรรมต่างๆ ท้ังที่ เป็นกุศล อกุศล อัพยากฤตที่มีอยู่ในจิตสันดาน เช่น กามฉันทะมีอยู่ภายในจิต ก็รู้ว่ามีอยู่ หรือกามฉันทะ ไมม่ ีอยภู่ ายในจติ กร็ ้วู า่ ไม่มอี ยู่ เปน็ ต้น จนกระทั่งจิตสงบเปน็ สมาธิสามารถละนวิ รณ์กิเลสได้ แม้ธรรมท่ีเป็นอารมณ์ของสมถกัมมัฏฐานจะมีหลายประการ ถึงกระน้ันก็ควรกำ�หนดว่าธรรมที่ เป็นอารมณ์ ซงึ่ สามารถท�ำ ให้จติ สงบระงบั นิวรณ์กิเลสได้ จัดเปน็ อารมณ์ของสมถภาวนาได้ทง้ั สิ้น ธรรมที่เป็นอารมณข์ องสมถกัมมฏั ฐานตามนยั อรรถกถา ในคมั ภรี ์อรรถกถาและคัมภีร์วิสทุ ธมิ รรค ทา่ นได้ประมวลหมวดธรรมอันเป็นอารมณก์ มั มฏั ฐานไว้ ๔๐ อย่าง จดั เป็นหมวดธรรมได้ ๗ หมวด ดงั น้ี หมวดท่ี ๑ กสณิ ๑๐ ๑. ปฐวกี สิณ กสิณมีดนิ เป็นอารมณ์ ๒. อาโปกสิณ กสณิ มนี าํ้ เปน็ อารมณ์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศกึ ษา ช้ันเอก วิชาธรรม

126 ๓. เตโชกสณิ กสณิ มไี ฟเปน็ อารมณ์ ๔. วาโยกสณิ กสณิ มีลมเปน็ อารมณ์ ๕. นลี กสณิ กสิณมสี เี ขยี วเป็นอารมณ์ ๖. ปีตกสณิ กสณิ มีสีเหลอื งเปน็ อารมณ์ ๗. โลหิตกสิณ กสณิ มีสีแดงเปน็ อารมณ์ ๘. โอทาตกสณิ กสณิ มสี ีขาวเปน็ อารมณ์ ๙. อาโลกกสณิ กสณิ มแี สงสวา่ งเปน็ อารมณ์ ๑๐. ปริจฉินนากาสกสิณ กสณิ มีอากาศคือชอ่ งวา่ งเป็นอารมณ์ กสณิ แปลว่า วตั ถุอันจงู ใจ หมายถงึ วตั ถสุ ำ�หรับเพง่ เพ่อื จูงจิตให้เปน็ สมาธิ ๔ ข้อแรก เรียกว่า ภตู กสณิ (มหาภูตรปู ๔ คือ ดนิ นํ้า ไฟ ลม) ๔ ข้อหลงั (ข้อ ๕ - ขอ้ ๘) เรยี กวา่ วณั ณกสณิ (เขยี ว เหลอื ง แดง ขาว) การเจริญกสณิ มปี ฐวีกสณิ เป็นตน้ ควรทำ�ดวงกสณิ ตามประเภทของกสณิ น้นั ๆ ใหก้ วา้ งประมาณ ๑ คืบกับ ๔ น้ิวเป็นอย่างใหญ่ แต่ไม่ควรเล็กกว่าปากขันนํ้า พึงกำ�หนดจิตบริกรรมว่า “ปฐวี ปฐวี ปฐวี” หรือ “ดิน ดนิ ดนิ ” ดว้ ยการหลบั ตาบา้ ง ลมื ตาบ้าง ความสงบแห่งจิตจะด�ำ เนินไปตามลำ�ดับ เรียกว่า นิมิต ในขณะท่ีเพ่งดูดวงกสิณพร้อมกับการบริกรรมไปนั้น ท่านเรียกว่า บริกรรมนิมิต หรือบริกรรมภาวนา เมื่อบริกรรมไปจนเกิดนิมิตติดตา เรียกว่า อุคคหนิมิต ถึงจุดนี้แล้วนิวรณธรรม จะเริ่มสงบลงตามลำ�ดับ จิตจะเป็นอุปจารสมาธิ (สมาธิเฉียดใกล้ความสงบเข้าไปทุกที) จน ปฏิภาคนิมิต (นิมิตเทียบเคียง สามารถ ย่อหรือขยายนิมิตได้) ปรากฏข้ึน ดวงนิมิตจะปรากฏสวยงามผ่องใส จิตจะเข้าสู่ความสงบประณีตข้ึนไป ถึงขัน้ อปั ปนาสมาธิ (สมาธิอนั แนว่ แน)่ ได้บรรลฌุ านในท่ีสดุ หมวดท่ี ๒ อสภุ ะ ๑๐ ๑. อุทธุมาตกะ ซากศพทเี่ นา่ พองขึน้ อดื ๒. วนิ ลี กะ ซากศพทมี่ สี เี ขียวคลา้ํ คละดว้ ยสีต่างๆ ๓. วปิ พุ พกะ ซากศพทีม่ นี ํา้ เหลอื งไหลเยิ้มอยตู่ ามทท่ี ีแ่ ตกปรอิ อก ๔. วิจฉิททกะ ซากศพทขี่ าดจากกันเปน็ ๒ ทอ่ น ๕. วกิ ขายติ กะ ซากศพทถ่ี กู สัตว์ เชน่ แร้ง กา สุนขั จกิ กดั กนิ แลว้ ๖. วกิ ขิตตกะ ซากศพทกี่ ระจยุ กระจาย มีอวยั วะหลดุ ออกไปขา้ งๆ ๗. หตวิกขติ ตกะ ซากศพที่ถกู สับฟนั บนั่ เปน็ ทอ่ นๆ กระจายออกไป ๘. โลหิตกะ ซากศพท่มี ีโลหติ ไหลอาบเร่ียราดอยู่ ๙. ปฬุ วุ กะ ซากศพทมี่ หี นอนคลาคล่�ำ เตม็ ไปหมด ๑๐. อฏั ฐกิ ะ ซากศพที่ยงั เหลืออย่แู ตร่ ่างกระดกู หรือกระดูกท่อน อสภุ ะ แปลวา่ สภาพอนั ไมง่ าม หมายถงึ ซากศพในสภาพตา่ งๆ ซง่ึ ใชเ้ ปน็ อารมณข์ องสมถกมั มฏั ฐาน โดยการพิจารณาซากศพในระยะเวลาต่างๆ กันรวม ๑๐ ระยะ เริ่มแต่ซากศพข้ึนอืดไปจนถึงซากศพ ทเี่ หลือแตโ่ ครงกระดกู แนวทางการจัดการเรยี นร้ธู รรมศกึ ษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

127 การเจรญิ อสภุ ะ : การเจรญิ อสภุ กมั มฏั ฐานจ�ำ เปน็ ตอ้ งอาศยั ซากศพในลกั ษณะตา่ งๆ เมอ่ื จะพจิ ารณา อย่ายืนเหนือลม ใตล้ ม หรือใกล้ - ไกลเกินไป แต่ใหย้ ืนในทซ่ี ่ึงอาจเหน็ ซากศพได้ชัดเจนและไม่ถูกกล่ินซากศพ รบกวน ใหย้ นื ตรงชว่ งกลางของซากศพ โดยตอ้ งเป็นซากศพทีย่ ังคงรปู รา่ งสมบูรณอ์ ยู่ ไม่พงึ พจิ ารณาซากศพ ของเพศตรงข้ามกบั ตน (เพราะจะทำ�ใหเ้ กิดราคะได)้ โดยก�ำ หนดพจิ ารณา ๖ ส่วน คอื ๑) สีของซากศพ พจิ ารณาดูว่าเป็นสีดำ�หรือขาว เป็นต้น ๒) เพศหรือวัยของซากศพ พิจารณาให้รู้ว่าอยู่ในปฐมวัยหรือมัชฌิมวัย แต่ห้ามกำ�หนดว่า เปน็ เพศหญิงหรอื เพศชาย ๓) สณั ฐานของซากศพ พจิ ารณาดูว่าเป็นอวยั วะสว่ นไหนของซากศพ ๔) ทศิ ทอี่ ยูข่ องซากศพ พจิ ารณาดูว่าอวัยวะตา่ งๆ ของซากศพอยู่ในทศิ ใดบา้ ง ๕) โอกาสท่ีตง้ั ของซากศพ พิจารณาดูวา่ อวยั วะต่างๆ ของซากศพตง้ั อยูใ่ นทใ่ี ดบ้าง ๖) ภาพรวมของซากศพ พิจารณาดูโดยรวม ตั้งแต่ปลายผมถึงปลายเท้าของซากศพนั้นว่า ประกอบดว้ ยอาการ ๓๒ มีผม ขน เล็บ เป็นตน้ จนถึงมันสมองเป็นท่ีสุด เปน็ ของปฏิกลู นา่ เกลียดทง้ั โดยสี กลนิ่ เปน็ ตน้ เม่อื ก�ำ หนดพิจารณาอสุภะดังกล่าวแลว้ นมิ ติ ทงั้ ๓ คือ บรกิ รรมนมิ ิต อคุ คหนมิ ิต และปฏิภาคนิมติ ย่อมปรากฏข้นึ ตามล�ำ ดับจนถงึ บรรลุฌาน เชน่ เดยี วกบั การเจริญกสณิ หมวดที่ ๓ อนสุ สติ ๑๐ ๑. พทุ ธานุสสต ิ ระลกึ ถึงพระพุทธเจ้า คือนอ้ มจิตระลกึ ถงึ และพจิ ารณาคุณของพระองค์ ๒. ธัมมานสุ สติ ระลกึ ถึงพระธรรม คือนอ้ มจติ ระลกึ ถึงและพจิ ารณาคณุ ของพระธรรม ๓. สงั ฆานุสสติ ระลกึ ถึงพระสงฆ์ คอื น้อมจติ ระลึกถงึ และพิจารณาคุณของพระสงฆ์ ๔. สลี านุสสต ิ ระลกึ ถึงศลี คอื นอ้ มจิตระลึกพจิ ารณาศีลของตนท่ีบรสิ ทุ ธไ์ิ ม่ด่างพร้อย ๕. จาคานสุ สต ิ ระลกึ ถงึ การบรจิ าค คอื นอ้ มจติ ระลกึ ถงึ ทานทต่ี นไดบ้ รจิ าคแลว้ และพจิ ารณา คุณธรรมคอื ความเผ่อื แผ่เสยี สละทมี่ ีในตน ๖. เทวตานุสสต ิ ระลึกถึงเทวดา คอื นอ้ มจิตระลึกถึงเทวดาท้งั หลายที่ตนเคยรู้ และพจิ ารณา คณุ ธรรมอันท�ำ บคุ คลให้เป็นเทวดา ๗. อุปสมานสุ สติ ระลึกถึงธรรมเป็นที่สงบ คือระลึกถึงและพิจารณาคุณของพระนิพพาน อนั เปน็ ทดี่ ับกเิ ลสและกองทุกข์ ๘. มรณสั สต ิ ระลึกถึงความตาย คือระลึกถึงและพิจารณาถึงความตายอันจะต้องมี มาถงึ ตนเปน็ ธรรมดา เพอ่ื ไม่ใหเ้ กิดความประมาท ๙. กายคตาสต ิ สตอิ นั ไปในกาย คอื ก�ำ หนดพจิ ารณากายนใี้ หเ้ หน็ วา่ ประกอบดว้ ยสว่ นต่างๆ อนั ไม่สะอาด ไมง่ าม น่ารังเกียจ ๑๐. อานาปานัสสติ สตกิ �ำ หนดลมหายใจเขา้ - ออก อนสุ สติ แปลว่า ความตามระลึก คือ นอ้ มจิตระลกึ นึกถงึ อารมณก์ มั มฏั ฐานอยเู่ นอื งๆ แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศึกษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

128 ๑.-๓. ให้ก�ำ หนดระลกึ พจิ ารณาถึงความสำ�คัญของพระรัตนตรยั ตามคณุ บททีว่ ่า อติ ิปิ โส ภควา อรหํ สมมฺ าสมฺพุทฺโธ ... สฺวากขฺ าโต ภควตา ธมฺโม ... สปุ ฏิปนโฺ น ภควโต สาวกสงโฺ ฆ ... โดยมวี ธิ กี ารเจรญิ ๓ อย่าง คอื ๑) สาธยาย คอื การสวดสรรเสรญิ คณุ ของพระรตั นตรยั ตามทนี่ ยิ มกนั จนจติ สงบไมช่ ดั ส่าย ไปในอารมณอ์ ่ืนๆ ๒) น้อมร�ำ ลึก คอื การน้อมนำ�เอาคณุ ของพระรตั นตรยั บทใดบทหน่ึงมากำ�หนดบริกรรมว่า พุทโธ, ธัมโม, สังโฆ โดยต้ังสติระลึกตามบทนั้นๆ ให้สัมพันธ์กับการหายใจเข้า-ออก เช่น หายใจเข้าว่า พทุ หายใจออกว่า โธ เป็นต้น ๓) พิจารณา คือการยกคุณของพระรัตนตรัยแต่ละบทขึ้นพิจารณา เมื่อพิจารณาเห็นชัด ในบทใด ก็พจิ ารณาอยู่ทบ่ี ทน้ัน จนจติ สงบ ๔. การเจริญสีลานุสสติ : ผู้จะเจริญสีลานุสสติ พึงชำ�ระศีลของตนให้บริสุทธ์ิ อย่าให้เป็นท่อน คอื อย่าให้ขาด อยา่ ให้ด่าง อย่าใหพ้ รอ้ ย เม่อื ทำ�ศลี ของตนใหบ้ รสิ ุทธด์ิ ้วยดีแล้ว พงึ เขา้ ไปส่ทู ส่ี งัดพจิ ารณาศลี ของตนวา่ ศลี ของเราน้ี ไมข่ าด ไมด่ า่ ง ไมพ่ รอ้ ย เปน็ ศลี ทพ่ี ระอรยิ ะชอบใจนกั ปราชญส์ รรเสรญิ เมอ่ื ระลกึ นกึ ถงึ ศีลของตนอยูอ่ ยา่ งนี้ นิวรณ์กจ็ ะสงบระงับ จิตย่อมต้งั มัน่ เป็นขณกิ สมาธแิ ละอปุ จารสมาธโิ ดยล�ำ ดบั ๕. การเจรญิ จาคานสุ สติ : ผจู้ ะเจรญิ จาคานสุ สติ พงึ ท�ำ จติ ใหย้ นิ ดใี นการบรจิ าคทาน โดยตงั้ ใจวา่ ต่อแต่น้ีไป เมื่อมีผู้รับทานอยู่ หากเรายังไม่ได้ให้ทาน เราจะไม่บริโภคเลยเป็นอันขาด จากน้ันพึงกำ�หนด อาการทีต่ นบริจาคทานด้วยเจตนาอันบรสิ ทุ ธใิ์ หเ้ ป็นนมิ ติ อารมณ์ แล้วเข้าไปสู่ท่ีอนั สงัดพิจารณวา่ “เปน็ ลาภ ของเราแลว้ หนอ เราได้เกิดมาเป็นมนษุ ย์พบพระพทุ ธศาสนา” เม่ือระลึกถงึ ทานทตี่ นบรจิ าค นวิ รณก์ ็จะสงบ ระงับ จติ ยอ่ มตงั้ มั่นเปน็ ขณกิ สมาธแิ ละอปุ จารสมาธิโดยล�ำ ดบั ๖. การเจรญิ เทวตานสุ สติ : ผจู้ ะเจรญิ เทวตานสุ สติ พงึ ระลกึ ถงึ คณุ ธรรมทที่ �ำ บคุ คลใหเ้ ปน็ เทวดา จากนนั้ แล้วพงึ พิจารณาว่า “เหลา่ เทวดาท่เี กดิ ในสคุ ติ บริบรู ณด์ ้วยสขุ สมบัตอิ นั เปน็ ทพิ ย์ เพราะเม่อื ชาติกอ่ น เทวดาเหล่านั้นประกอบด้วยคุณธรรมคือ ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา แม้เราก็มีคุณธรรมเช่นนั้น เหมอื นกนั ” เมอื่ ระลกึ ถงึ อย่างนแี้ ลว้ ยอ่ มเกดิ ปตี ปิ ราโมทย์ นวิ รณก์ จ็ ะสงบระงบั จติ ยอ่ มตง้ั มนั่ เปน็ ขณกิ สมาธิ และอปุ จารสมาธิโดยล�ำ ดบั ๗. การเจรญิ อปุ สมานสุ สติ : ผจู้ ะเจรญิ อปุ สมานสุ สติ พงึ เขา้ ไปสทู่ อี่ นั สงดั ระลกึ ถงึ คณุ ของนพิ พาน เป็นอารมณ์ว่า “พระนิพพานนี้ เป็นที่ส้ินตัณหา เป็นท่ีปราศจากกิเลสเครื่องย้อมใจ เป็นท่ีดับราคะ โทสะ โมหะโดยไมเ่ หลือ เป็นทีด่ ับเพลิงกิเลสและกองทกุ ข์โดยส้นิ เชิง เป็นสขุ อย่างยิ่ง” เมือ่ ระลกึ อยู่อย่างนี้ นิวรณ์ กจ็ ะสงบระงบั จติ ยอ่ มตงั้ มั่นเปน็ ขณกิ สมาธแิ ละอุปจารสมาธิโดยล�ำ ดบั ๘. การเจรญิ มรณสั สติ : ผจู้ ะเจรญิ มรณสั สติ พงึ ไปยงั ทส่ี งดั แลว้ บรกิ รรมวา่ “ความตายจกั มแี กเ่ รา เราจักต้องตาย ชีวิตของเราจะต้องขาดสิ้นลงแน่นอน เรามีความตายเป็นธรรมดา ล่วงพ้นความตายไป ไม่ได้” การระลึกถึงความตายโดยอุบายที่ชอบ พึงประกอบด้วยองค์ ๓ คือ ๑) สติ ระลึกถึงความตายอยู่ ๒) ญาณ รู้ว่าความตายจะมีเป็นแน่ ตัวจะต้องตายเป็นแท้ ๓) เกิดสังเวชสลดใจ เม่ือระลึกอยู่อย่างนี้ นวิ รณก์ ็จะสงบระงับ จิตยอ่ มตัง้ มั่นเปน็ ขณิกสมาธแิ ละอุปจารสมาธโิ ดยล�ำ ดับ แนวทางการจัดการเรียนรธู้ รรมศกึ ษา ชนั้ เอก วิชาธรรม

129 ๙. การเจรญิ กายคตาสติ : ผจู้ ะเจริญกายคตาสติ พงึ ต้งั สตกิ �ำ หนดพจิ ารณากายอนั เปน็ ท่ปี ระชมุ แห่งส่วนปฏิกูลน่าเกลียด ต้ังแต่ปลายผมลงมาถึงปลายเท้า มีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ ให้เห็นว่าเต็มไปด้วย ของไม่สะอาดมีประการต่างๆ ซึ่งนับได้จำ�นวน ๓๒ ส่วน คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง, เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม, หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด, ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า ดี, เสลด หนอง (นํ้าเหลือง) เลือด เหงื่อ มันข้น, น้ําตา มันเหลว น้ําลาย นํ้ามูก ไขข้อ, นํ้ามูตร (นํ้าปัสสาวะ) มันสมอง พจิ ารณาโดยสี สณั ฐาน กล่ิน ทีเ่ กดิ ทอ่ี ยขู่ องส่วนตา่ งๆ เหลา่ นนั้ จนเหน็ วา่ เปน็ ของไม่สวยไมง่ าม เป็นของ ปฏิกลู นา่ เกลียด นวิ รณ์กจ็ ะสงบระงบั จติ ยอ่ มต้ังมัน่ เป็นขณกิ สมาธิ อปุ จารสมาธิและอัปปนาสมาธิ ๑๐. การเจริญอานาปานสั สติ : ผจู้ ะเจริญอานาปานสั สติ พึงเขา้ ไปสูท่ ีส่ งดั เชน่ ป่าไม้ เรอื นวา่ ง โรงศาลา เป็นต้น ซึ่งเหมาะแก่การเจริญจิตตภาวนา แล้วนั่งขัดสมาธิเท้าขวาทับเท้าซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ต้ังกายใหต้ รง ด�ำ รงสตใิ ห้มนั่ ก�ำ หนดรลู้ มหายใจเขา้ -หายใจออก อย่าใหห้ ลงลืม เมอื่ หายใจเขา้ พึงก�ำ หนดรู้ว่า หายใจเข้า เมื่อหายใจออกพึงกำ�หนดรู้ว่าหายใจออก เมื่อหายใจเข้าและออกยาวหรือส้ัน ก็พึงมีสติกำ�หนดรู้ โดยประจักษช์ ดั ทุกขณะไปโดยมิใหห้ ลงลมื เพอื่ ใหจ้ ติ ตัง้ ม่นั เปน็ สมาธิโดยเร็ว หมวดท่ี ๔ พรหมวิหาร ๔ ๑. เมตตา ความรักใคร่ปรารถนาดอี ยากให้ผู้อน่ื มีความสุข ๒. กรณุ า ความสงสาร คดิ ช่วยใหพ้ น้ ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ ความใฝ่ใจในอนั จะปลดเปลื้องความทกุ ขย์ าก เดือดรอ้ นของปวงสตั ว์ ๓. มุทิตา ความพลอยยินดี ได้แก่ ความเป็นผู้มีจิตแช่มช่ืนเบิกบาน ในเมื่อเห็นผู้อ่ืนอยู่ดีมีสุข เจริญรงุ่ เรอื ง และประสบความส�ำ เรจ็ ยิง่ ขึน้ ไป ๔. อุเบกขา ความวางใจเป็นกลางในสัตว์ทั้งหลาย ได้แก่ ความไม่เอนเอียงไปด้วยความชอบ หรือความชัง เท่ียงตรงดุจตราช่ัง โดยพิจารณาเห็นว่า สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของของตน ทำ�กรรมใดไว้ ยอ่ มได้รับผลกรรมนน้ั พรหมวหิ าร หมายถงึ หลกั ความประพฤตอิ นั ประเสรฐิ หรอื หลกั การด�ำ เนนิ ชวี ติ อนั บรสิ ทุ ธห์ิ มดจด และหลักการปฏิบัติต่อมนุษย์และสัตว์ทั้งหลายโดยชอบ พรหมวิหารนี้เรียกอีกอย่างว่า อัปปมัญญา เพราะเป็นธรรมทแี่ ผไ่ ปในมนษุ ยห์ รอื สตั ว์ท้ังหลาย โดยไม่เจาะจง ไม่มปี ระมาณ ไม่มขี อบเขต มีวธิ ีเจรญิ ดังน้ี เมตตา : เมอื่ เหน็ โทษของโทสะและอานิสงส์ของขนั ติ จงึ แผ่เมตตาจติ ไปในตนกอ่ นว่า “ขอเราจง เปน็ สุข อยา่ ไดม้ ที กุ ข์ มีเวรมีภัยแก่ใครๆ เลย อย่าได้มคี วามทุกข์กายทุกข์ใจ จงเปน็ สุขๆ รักษาตนให้พน้ จาก ทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด” โดยเปรียบเทียบว่า เรารักสุข เกลียดทุกข์ ฉันใด ผู้อื่นหรือสัตว์อ่ืนก็รักสุข เกลียดทุกข์ ฉันน้ัน จากน้ัน พึงแผ่ไปในสรรพสัตว์ ไม่มีประมาณ ไม่มีขอบเขต โดยทำ�นองเดียวกันวา่ “ขอสัตว์ท้ังปวง อย่ามีเวร อย่ามีความพยาบาทต่อกันและกันเลย อย่ามีความทุกข์กายทุกข์ใจ จงเป็นสุขๆ รักษาตน ใหพ้ ้นจากทกุ ขภ์ ยั ทัง้ สน้ิ เถิด” เมตตาน้ีเป็นข้าศึกแก่โทสะและพยาบาทโดยตรง เมื่อบุคคลเจริญเมตตานี้ย่อมละโทสะและ พยาบาทได้ จิตก็ตั้งม่ันเป็นขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ และอัปปนาสมาธิโดยลำ�ดับ บุคคลที่เจริญเมตตา แนวทางการจัดการเรียนรธู้ รรมศกึ ษา ชนั้ เอก วชิ าธรรม

130 ยอ่ มได้รับอานสิ งส์ ๑๑ อยา่ ง คอื (๑) หลับเปน็ สุข (๒) ต่ืนเปน็ สุข (๓) ไมฝ่ ันร้าย (๔) เปน็ ท่รี ักของมนษุ ย์ (๕) เปน็ ท่ีรกั ของอมนษุ ย์ (๖) เทวดารักษา (๗) ไฟ ยาพษิ ศสั ตราวุธ ไม่กลา้ํ กราย (๘) จิตสงบเป็นสมาธิได้เรว็ (๙) สีหน้าผ่องใส (๑๐) ตายอยา่ งมสี ติ (๑๑) เมอื่ ยังไม่บรรลธุ รรมช้นั สูง ยอ่ มเขา้ ถึงพรหมโลก กรุณา : เม่ือได้เห็นสรรพสัตว์ผู้ได้รับความทุกข์ยากลำ�บาก แล้วทำ�ให้อารมณ์แผ่กรุณาจิตไปว่า “ขอสัตว์ผู้ประสบทุกข์ จงพ้นจากทุกข์เถิด” เมื่อแผ่ไปอย่างน้ีบ่อยๆ ก็จะกำ�จัดวิหิงสา ความเบียดเบียน นิวรณ์ก็จะสงบระงับ จิตก็จะต้ังมั่นเป็นขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ และอัปปนาสมาธิโดยลำ�ดับ สำ�เร็จ เปน็ กามาวจรกุศลและรูปาวจรกศุ ล มุทิตา : เม่ือได้เห็นหรือได้ยินมนุษย์หรือสัตว์อื่นๆ ที่อยู่สุขสบาย ก็พึงทำ�จิตให้ช่ืนชมยินดี แผ่มุทิตาจิตไปว่า “ขอสัตว์ทั้งหลายอย่าได้เสื่อมจากสมบัติท่ีตนได้แล้วเลย” หรือ “ขอสัตว์เหล่านั้นย่ังยืน อยู่ในสุขสมบัติของตนๆ เถิด” เมื่อทำ�บริกรรมนึกอยอู่ ย่างน้ี ย่อมละอรติ คอื ความไม่ยนิ ดีในสมบัติของผอู้ นื่ ลงไปได้ จิตกจ็ ะตัง้ มัน่ เปน็ ขณกิ สมาธิ อปุ จารสมาธิ และอัปปนาสมาธโิ ดยลำ�ดบั อุเบกขา : พึงแผ่ไปในสรรพสัตว์ โดยทำ�จิตให้เป็นกลางๆ อย่าดีใจเสียใจในเหตุสุขทุกข์ของ สรรพสัตว์ แล้วบริกรรมนึกไปว่า “สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง มีกรรมเป็นของของตน เป็นอยู่เช่นใด ก็จงเป็นอยู่ เช่นนน้ั เถดิ ” เมอ่ื นึกบรกิ รรมอย่างน้ีเรอ่ื ยไป จิตกจ็ ะละราคะและปฏฆิ ะ คอื ความกำ�หนัดขดั เคอื งในสุขทุกข์ ของผอู้ ่ืนลงไปได้ อุเบกขาน้ีมีอานุภาพทำ�ใหผ้ ู้เจรญิ ได้ถงึ จตตุ ถฌานในจตุกกนัย และปญั จมฌานในปญั จกนัย หมวดท่ี ๕ อาหาเรปฏกิ ลู สัญญา ๑ อาหาเรปฏิกูลสัญญา ความสำ�คัญว่าเป็นของปฏิกูลในอาหาร หมายถึง การพิจารณาอาหาร ให้เห็นเป็นของน่ารังเกียจ เพ่ือไม่ให้เกิดความติดใจในรสอาหาร มีวิธีการพิจารณาความปฏิกูลในอาหาร โดยอาการ ๑๐ อยา่ ง คอื ๑) โดยการไป ๒) โดยการแสวงหา ๓) โดยการบรโิ ภค ๔) โดยทอ่ี ยู่ ๕) โดยการหมกั หมม ๖) โดยยังไมย่ ่อย ๗) โดยยอ่ ยแล้ว ๘) โดยผลจากการย่อย ๙) โดยการหล่ังไหลขับถ่ายออก ๑๐) โดยทำ�ให้ แปดเปือ้ น แตพ่ ระมติของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ ฯ มี ๘ อยา่ ง โดยตัดข้อ ๑ และขอ้ ๒ เมื่อผู้เจริญอาหาเรปฏิกูลสัญญาพิจารณาโดยอาการอย่างนี้ นิวรณ์ย่อมสงบระงับ จิตก็จะตั้งม่ัน เปน็ อุปจารสมาธิ ใหส้ ำ�เรจ็ กจิ เป็นกามาวจรกุศล และเปน็ อปุ นสิ ยั ปัจจัยแหง่ มรรคผลนิพพานตอ่ ไป หมวดที่ ๖ จตุธาตวุ วัตถาน ๑ จตุธาตุววัตถาน การกำ�หนดธาตุ ๔ หมายถึง การกำ�หนดพิจารณาให้เห็นว่าร่างกายเรานั้น เปน็ แต่เพยี งธาตุ ๔ คอื ดิน น้าํ ไฟ ลม มาประชมุ กนั เท่านน้ั ท้งั นี้ เพื่อให้เกิดความเบื่อหน่าย ถอนความรสู้ ึกวา่ เป็นสัตว์ บคุ คล ตัวตน เราเขา ออกไปจากจิต เรียกอีกอยา่ งวา่ ธาตุมนสิการหรือธาตุกมั มัฏฐาน ในการก�ำ หนดนนั้ ผจู้ ะเจรญิ จตธุ าตวุ วตั ถานนี้ พงึ ตดั ความกงั วลหว่ งใยทงั้ หมด เขา้ ไปสสู่ ถานทส่ี งดั แลว้ ตัง้ สติพิจารณารา่ งกายนี้ โดยแยกส่วนต่างๆ ออกเป็นธาตุ ๔ คือ ดนิ นํา้ ไฟ ลม ดงั น้ี ส่ิงที่แข็งกระด้าง มีอยู่ในกาย เช่น ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เน้ือ เอ็น กระดูก เป็นต้น จัดเป็น ปฐวีธาตุ ธาตุดิน แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศึกษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

131 สง่ิ ที่เหลวเอบิ อาบซาบซมึ ไป มีอยใู่ นกาย เช่น น้ําลาย นาํ้ มูก น้ําตา มนั เปลว เหง่ือ เลอื ด เปน็ ต้น จดั เป็น อาโปธาตุ ธาตุน้ํา ส่ิงท่ีทำ�ให้กายอบอุ่น ทำ�ให้กายทรุดโทรมเหี่ยวแห้ง ปราศจากความงาม ทำ�ให้กายเร่าร้อน กระวนกระวายจนทนไมไ่ ด้ และท�ำ อาหารในกายใหย้ ่อยแปรแปรวนไป จดั เป็น เตโชธาตุ ธาตไุ ฟ สิ่งที่อุปถัมภ์คํ้าชูกายให้สำ�เร็จกิจมีส่ันไหว ลุก เดิน ยืน น่ัง นอนได้ เป็นต้น จัดเป็น วาโยธาตุ ธาตุลม ธาตุลมนี้ มอี าการ ๖ อย่าง คอื (๑) ลมพัดข้นึ เบ้อื งบน (๒) ลมพดั ลงเบ้อื งต่ํา (๓) ลมในท้องนอกไส้ (๔) ลมในไส้ใหญ่ (๕) ลมซ่านไปท่ัวอวยั วะในร่างกาย และ (๖) ลมหายใจเข้า - ออก เมือ่ ก�ำ หนดพจิ ารณาธาตุ ๔ เชน่ นเ้ี รอ่ื ยไป จติ กจ็ ะต้งั มัน่ เป็นขณกิ สมาธิและอปุ จารสมาธโิ ดยลำ�ดับ นิวรณ์ก็จะสงบระงับไป จิตย่อมหยั่งลงสู่สุญญตารมณ์ คือเห็นว่าร่างกายน้ีว่างเปล่าจากสัตว์ บุคคล ตัวตน เราเขา จากนั้นจิตจะเพิกเฉยเป็นกลางๆ ไม่ยินดียินร้ายใน อิฏฐารมณ์อนิฏฐารมณ์ และอาจได้สำ�เร็จ มรรคผลนิพพานในทีส่ ดุ หมวดที่ ๗ อรปู ๔ ๑. อากาสานัญจายตนะ ฌานท่กี �ำ หนดอากาศคอื ช่องว่างอนั ไมม่ ที ่ีสุดเปน็ อารมณ์ ๒. วิญญานญั จายตนะ ฌานท่กี �ำ หนดวิญญาณอนั ไมม่ ที ีส่ ุดเปน็ อารมณ์ ๓. อากญิ จัญญายตนะ ฌานทก่ี �ำ หนดภาวะไม่มีอะไรๆ เป็นอารมณ์ ๔. เนวสัญญานาสญั ญายตนะ ฌานทกี่ �ำ หนดภาวะมสี ญั ญากไ็ มใ่ ช่ ไมม่ สี ญั ญากไ็ มใ่ ชเ่ ปน็ อารมณ์ อรูป หมายถงึ ฌานที่มีอรปู ธรรมเปน็ อารมณ์ ภพของสตั วผ์ ้เู ข้าถึงอรปู ฌาน มดี ังนี้ ๑. อากาสานัญจายตนะ หมายถึง ฌานที่เลิกเพ่งกสิณแล้วมากำ�หนดอากาศคือที่ว่าง หรอื ชอ่ งวา่ งเป็นอารมณ์ โดยพิจารณาให้เหน็ วา่ อากาศไมม่ ที สี่ ุด แล้วทำ�บรกิ รรมวา่ อนนฺโต อากาโส อากาศ ไมม่ ีทีส่ ดุ ๆ ดังนีเ้ นืองๆ จติ ย่อมตั้งม่นั เป็นอุปจารสมาธิ ตลอดจนถึงอปั ปนาสมาธิโดยลำ�ดบั ๒. วญิ ญานญั จายตนะ หมายถงึ ฌานทเ่ี ลกิ เพง่ อากาศหรอื ทว่ี า่ งนนั้ แลว้ มาก�ำ หนดเพง่ ดวู ญิ ญาณ ความรับรู้เป็นอารมณ์ โดยพิจารณาให้เห็นว่าวิญญาณไม่มีท่ีสุด แล้วทำ�บริกรรมว่า อนนฺตํ วิญฺาณํ วญิ ญาณไม่มีท่สี ุดๆ ดังน้เี นอื งๆ จติ ย่อมตงั้ ม่นั เปน็ อปั ปนาสมาธิ ๓. อากญิ จญั ญายตนะ หมายถงึ ฌานทเี่ ลิกกำ�หนดเพง่ วญิ ญาณเปน็ อารมณ์ของอรปู ฌานท่ี ๒ แล้วมายึดหน่วงเอาความไม่มีของอรูปฌานที่ ๑ เป็นอารมณ์ แล้วทำ�บริกรรมว่า นตฺถิ กิญฺจิ อรูปวิญญาณ ที่ ๑ น้ี นิดหนึ่งไมม่ ี มไิ ด้เหลือตดิ อยูใ่ นอากาศ ดังน้ีเนอื งๆ จิตยอ่ มต้ังม่นั เปน็ อปั ปนาสมาธิ ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนะ หมายถึง ฌานที่เลิกกำ�หนดคือปล่อยวางอารมณ์ของอรูปฌาน ที่ ๓ แล้วก�ำ หนดเอาแต่ภาวะทล่ี ะเอียดประณตี ของอรูปฌานที่ ๔ เป็นอารมณ์ แลว้ ท�ำ บรกิ รรมวา่ สนฺตเมตํ ปณตี เมตํ อรูปฌานนล้ี ะเอียดนกั ประณีตนัก จะมีสญั ญากไ็ ม่ใช่ ไม่มีสญั ญาก็ไมใ่ ช่ ดังนเ้ี นอื งๆ จติ ย่อมตั้งม่นั เปน็ อปั ปนาสมาธิ แนวทางการจัดการเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ช้นั เอก วชิ าธรรม

132 จรติ ๖ ท่ีจัดอารมณ์กัมมัฏฐานไว้ถึง ๔๐ อย่าง เพราะกำ�หนดตามความเหมาะแก่จริตของบุคคล ท้ังน้ี เพื่อให้ผู้ปฏิบัติสามารถเลือกตามความเหมาะแก่จริตของตน ถ้าเลือกอารมณ์กัมมัฏฐานได้ถูกต้องเหมาะสม กับจรติ การปฏบิ ตั ิก็จะได้ผลดแี ละรวดเร็ว ค�ำ ว่า จริต แปลวา่ ความประพฤติ หมายถงึ พื้นเพของจิต หรอื อปุ นสิ ยั ที่หนักไปทางใดทางหนงึ่ อนั เป็นปกตปิ ระจ�ำ อยใู่ นสันดาน เรียกอีกอย่างวา่ จรยิ า จริตของบคุ คลในโลก มี ๖ ประเภท คอื ๑. ราคจริต หมายถึง ผู้มีราคะเป็นความประพฤติปกติ หรือมีราคะเป็นเจ้าเรือน คือมีลักษณะ นิสัยรักสวยรักงาม ชอบเรื่องบันเทิงเจริญใจ เรียบร้อย ทำ�งานละเอียดประณีต นิยมรสอาหารท่ีกลมกล่อม เปน็ คนเจ้าเลห่ ์ โออ้ วด ถอื ตวั มีความตอ้ งการทางกามและเกียรติมาก เปน็ ตน้ ๒. โทสจริต หมายถึง ผู้มีโทสะเป็นความประพฤติปกติ หรือมีโทสะเป็นเจ้าเรือน คือมีลักษณะ นิสัยใจร้อน หงุดหงิดรุนแรง ฉุนเฉียว โกรธง่าย ชอบการต่อสู้เอาชนะผู้อื่น พรวดพราด รีบร้อน กระด้าง ทำ�การงานรวดเร็วแต่ไม่ค่อยเรียบร้อย ชอบบริโภคอาหารรสจัด ลบหลู่คุณท่าน ตีตนเสมอ และมักริษยา เปน็ ต้น ๓. โมหจริต หมายถงึ ผูม้ ีโมหะเป็นความประพฤตปิ กติ หรอื มโี มหะเปน็ เจ้าเรือน คอื มีลกั ษณะ นิสัยโง่เขลา ข้ีหลงข้ีลืม เลื่อนลอย ขาดเหตุผล ชอบเรื่องไร้สาระ ทำ�การงานหยาบขาดความเรียบร้อย มกั มีความเหน็ คล้อยตามคนอน่ื ง่าย ใครว่าอยา่ งไรก็ว่าตามเขา ขเ้ี กียจ ข้สี งสัย เข้าใจอะไรยาก เป็นตน้ ๔. สัทธาจริต หมายถึง ผู้มีศรัทธาเป็นความประพฤติปกติ หรือมีศรัทธาเป็นเจ้าเรือน คือ มีลักษณะนิสัยเชื่อง่าย ทุ่มเทใจให้ผู้อื่นได้ง่าย เชื่อเร่ืองไสยศาสตร์ ทำ�การงานเรียบร้อย ชอบสวยงาม แบบเรียบๆ ไม่ฉูดฉาดโลดโผน มจี ิตใจเบกิ บานในเรอ่ื งบุญกุศล ไม่ชอบโอ้อวด เปน็ ต้น ๕. พุทธิจริต หมายถึง ผู้มีความรู้เป็นความประพฤติปกติ หรือมีพุทธิปัญญาเป็นเจ้าเรือน คือ มีลักษณะนิสัยชอบคิดพิจารณาตามความจริง มีปัญญาเฉียบแหลมว่องไว ได้ยินได้ฟังอะไรมามักจำ�ได้เร็ว มักท�ำ กิจกรรมที่เปน็ ประโยชน์ เรยี บร้อย สวยงาม มีระเบียบ ชอบพินจิ พิเคราะห์ เป็นตน้ ๖. วิตกจริต หมายถึง ผู้มีความวิตกเป็นความประพฤติปกติ หรือมีความวิตกเป็นเจ้าเรือน คือ มลี กั ษณะนสิ ยั คดิ วกวน ฟงุ้ ซา่ น ขาดความมน่ั ใจ วติ กกงั วลในเรอ่ื งไมเ่ ปน็ เรอ่ื ง ท�ำ งานจบั จด มกั เหน็ คลอ้ ยตาม คนหม่มู าก ประเภทพวกมากลากไป เป็นตน้ อารมณ์กัมมฏั ฐานทเี่ หมาะกบั จริต ๖ กมั มฏั ฐาน ๑๑ อย่าง คือ อสภุ ะ ๑๐ และกายคตาสติ ๑ เหมาะกับคนราคจรติ กัมมัฏฐาน ๘ อย่าง คือ วัณณกสิณ ๔ ได้แก่ นีลกสิณ ปีตกสิณ โลหิตกสิณ และโอทาตกสิณ และพรหมวหิ าร ๔ ได้แก่ เมตตา กรณุ า มทุ ติ า และอุเบกขา เหมาะกบั คนโทสจริต อานาปานสั สตกิ มั มัฏฐาน เหมาะกบั คนโมหจริตและคนวิตกจริต กัมมัฏฐาน ๖ อย่าง คือ อนุสสติ ๖ ได้แก่ พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ และเทวตานุสสติ เหมาะกบั คนสัทธาจรติ แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ชนั้ เอก วิชาธรรม

133 กัมมัฏฐาน ๔ อย่าง คือ มรณัสสติ อุปสมานุสสติ อาหาเรปฏิกูลสัญญา และจตุธาตุววัตถาน เหมาะกับคนพุทธิจริต ภตู กสิณ ๔ และอรูป ๔ เหมาะกบั คนทุจริต นิมติ ๓ นมิ ติ หมายถึง เครอื่ งหมายส�ำ หรับใหจ้ ิตกำ�หนดในการเจรญิ กัมมฏั ฐาน มี ๓ อย่าง คือ ๑. บริกรรมนิมิต นิมิตขั้นเร่ิมต้น ได้แก่ สิ่งที่กำ�หนดเป็นอารมณ์ในการเจริญกัมมัฏฐาน เช่น ดวงกสิณที่เพ่งดู ลมหายใจทกี่ �ำ หนด หรอื พระพุทธคุณทกี่ �ำ หนดนึกเปน็ อารมณ์ เปน็ ตน้ ๒. อุคคหนิมิต นิมิตติดตา ได้แก่ บริกรรมนิมิตท่ีเพ่งหรือกำ�หนดจนเห็นเป็นภาพติดตาติดใจ เชน่ ดวงกสณิ ที่เพ่งจนตดิ ตา หลับตาแล้วยงั เหน็ เปน็ ตน้ ๓. ปฏภิ าคนมิ ติ นมิ ติ เทยี บเคยี ง ไดแ้ ก่ นมิ ติ ทเี่ ปน็ ภาพเหมอื นของอคุ คหนมิ ติ แตต่ ดิ ลกึ เขา้ ไปอกี จนเปน็ ภาพทเี่ กดิ จากสญั ญาของผทู้ ไ่ี ดส้ มาธิ จงึ บรสิ ทุ ธจิ์ นปราศจากสี เปน็ ตน้ และไมม่ มี ลทนิ ใดๆ ทงั้ สามารถ นกึ ขยายหรอื ย่อสว่ นได้ตามปรารถนา ภาวนา ๓ ภาวนา หมายถงึ การเจรญิ กัมมฏั ฐานหรอื ฝกึ สมาธติ ามล�ำ ดบั ขนั้ มี ๓ คือ ๑. บริกรรมภาวนา การเจริญสมาธิขั้นเริ่มต้น ได้แก่ การกำ�หนดเอานิมิตในส่ิงท่ีกำ�หนด เปน็ อารมณก์ มั มัฏฐาน เชน่ เพง่ ดวงกสณิ กำ�หนดลมหายใจเข้า - ออกทก่ี ระทบปลายจมูก หรือนกึ ถงึ พทุ ธคณุ เป็นอารมณ์ เปน็ ต้น คือการก�ำ หนดบริกรรมนมิ ติ น่นั เอง ๒. อปุ จารภาวนา การเจริญสมาธขิ ัน้ อปุ จาร ไดแ้ ก่ การเจริญกัมมัฏฐานที่อาศัยบรกิ รรมภาวนา โดยกำ�หนดอุคคหนิมิตเร่ือยไปจนแนบสนิทในใจ เกิดเป็นปฏิภาคนิมิตขึ้น และนิวรณ์สงบระงับ จิตก็ตั้งม่ัน เปน็ อุปจารสมาธิ ๓. อัปปนาภาวนา การเจริญสมาธิขั้นอัปปนา ได้แก่ การเจริญกัมมัฏฐานที่อาศัยปฏิภาคนิมิต ซง่ึ เกดิ ขนึ้ สม่ําเสมอดว้ ยอปุ จารสมาธิ ในที่สุดกเ็ กิดอัปปนาสมาธิ คือสมาธิท่แี นว่ แน่ถงึ ขน้ั ที่เรยี กวา่ บรรลุปฐมฌาน ฌานสมาบตั ิ : คุณวิเศษของสมถกมั มัฏฐาน สมาบัติ แปลว่า ภาวะท่ีพระอริยบุคคลพึงเข้าถึงได้ หมายถึงคุณวิเศษที่ผู้ปฏิบัติเข้าถึงบรรลุถึง ได้แก่ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ เรียกบุคคลผู้บรรลุว่า ฌานลาภีบุคคล (ผู้ได้บรรลุฌาน) ผู้ได้ฌาน ต้องมคี วามชำ�นาญคลอ่ งแคลว่ ในฌานสมาบตั ิท่ีได้บรรลุ เรยี กว่า วสี จึงจะสามารถทำ�ให้ฌานสมาบตั ิด�ำ รงอยู่ อยา่ งม่นั คง มี ๕ อยา่ ง คอื ๑. อาวัชชนวสี ความชำ�นาญในการนึกตรกึ ถงึ องคฌ์ าน ๒. สมาปัชชนวสี ความชำ�นาญในการเขา้ ฌาน ๓. อธฏิ ฐานวสี ความช�ำ นาญในการรกั ษาฌานไวต้ ามทีก่ �ำ หนด ๔. วฏุ ฐานวสี ความชำ�นาญในการออกจากฌานตามท่กี ำ�หนด ๕. ปัจจเวกขณวสี ความชำ�นาญในการพจิ ารณาองค์ฌานทีไ่ ด้บรรลุ แนวทางการจดั การเรียนรูธ้ รรมศกึ ษา ชัน้ เอก วิชาธรรม

134 นักบวชนอกพระพุทธศาสนาสามารถบรรลุสมาบัติ ๘ ได้ แต่ไม่สามารถละกิเลสบรรลุ พระนิพพานได้ เพยี งส่งผลให้บงั เกดิ ในพรหมโลกเท่านนั้ ดังเชน่ อาฬารดาบส และอทุ ทกดาบส เป็นต้น ในพระพุทธศาสนา สมาบัติ ๘ จัดเป็นทิฏฐธรรมสุขวิหาร คือธรรมเคร่ืองอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ของพระอริยบุคคล ย่อมเป็นไปเพ่ือดับกิเลสทำ�ให้แจ้งพระนิพพาน มี ๒ ประเภท คือ (๑) ผลสมาบัติ การเข้าถึงผล ย่อมท่ัวไปแก่พระอริยบุคคลท่ีได้สมาบัติเท่าน้ัน (๒) นิโรธสมาบัติ มีได้เฉพาะพระอริยบุคคล ๒ จ�ำ พวก คอื พระอนาคามี และพระอรหันตท์ ี่ได้สมาบัติ ๘ เท่านน้ั รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และ สญั ญาเวทยิตนโิ รธ ๑ เรยี กวา่ อนปุ ุพพวิหาร ๙ คอื ๑) ปฐมฌาน ๒) ทตุ ยิ ฌาน ๓) ตตยิ ฌาน ๔) จตุตถฌาน ๕) อากาสานญั จายตนฌาน ๖) วิญญาณัญจายตนฌาน ๗) อากิญจญั ญายตนฌาน ๘) เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ๙) สัญญาเวทยติ นโิ รธ การที่ท่านกำ�หนดอารมณ์สมถกัมมัฏฐานไว้หลายวิธี ก็เพื่อเหมาะแก่จริตบุคคล เพ่ือเป็นอุบาย ระงบั นิวรณ์ ๕ และเพื่อใหบ้ รรลุฌานสมาบัตติ ามลำ�ดับ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ช้นั เอก วิชาธรรม

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๑ 135 ธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สาระการเรยี นรู้วชิ าธรรม เวลา..............ชั่วโมง เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาสว่ นสังสารวฏั ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ธศ ๑ รู้และเข้าใจหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา มศี รัทธาที่ถกู ต้อง ยึดมั่นและปฏบิ ัติ ตามหลกั ธรรม เพอื่ อยูร่ ่วมกนั อยา่ งสนั ตสิ ขุ ๒. ผลการเรียนรู้ รู้และเขา้ ใจหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสังสารวัฏ ๓. สาระส�ำ คัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ เป็นหลักธรรมท่ีว่าด้วยพุทธคุณกถา หากบุคคล ยึดม่นั และปฏบิ ัตไิ ด้จะอยใู่ นสงั คมดว้ ยความเปน็ สขุ ๔. จุดประสงค์การเรยี นรู้ นักเรียนอธิบายหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั ได้ ๕. สาระการเรยี นร/ู้ เน้ือหา - พทุ ธคณุ กถา ๖. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขนั้ สืบคน้ และเชอื่ มโยง ๑. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ โดยใช้คำ�ถาม เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ และเชอ่ื มโยงไปสกู่ ารเรียนรู้ - นักเรยี นเคยเรียนเรอ่ื งหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสังสารวัฏบ้างหรอื ไม่ - หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏมอี ะไรบ้าง - นกั เรยี นเคยไดย้ นิ ไดเ้ ห็นหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสงั สารวัฏจากท่ไี หนบา้ ง ข้ันฝึก ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา สว่ นสังสารวัฏ พุทธคุณคาถา จากใบความรทู้ ่ี ๑๑ ๓. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มจัดเตรียมการเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรยี น แนวทางการจดั การเรยี นรูธ้ รรมศกึ ษา ช้นั เอก วชิ าธรรม

136 ข้ันประยุกต์ ๔. ให้นักเรียนแต่ละกล่มุ ออกมานำ�เสนอตามหัวขอ้ ทต่ี นเองได้รับมอบหมายเพ่ือแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ๕. นกั เรียนในแต่ละกลุ่มตอบค�ำ ถามตามใบกิจกรรมท่ี ๑๑ ๖. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปในแตล่ ะหัวข้อ ๗. ภาระงาน/ชน้ิ งาน ท ่ี ภาระงาน ชิ้นงาน ใบกจิ กรรมที่ ๑๑ ๑ ตอบคำ�ถามเกีย่ วกบั หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสังสารวฏั ๘. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้ ๑. ใบความรทู้ ่ี ๑๑ เรอ่ื ง หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ ๒. ใบกจิ กรรมที่ ๑๑ ๙. การวัดผลและประเมนิ ผล สง่ิ ทีต่ ้องการวดั วิธวี ัด เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ อธบิ ายหลักธรรม ของพระพุทธศาสนา - ตรวจผลงาน - แบบประเมิน ผา่ น = ไดค้ ะแนนต้งั แต่รอ้ ยละ ๖๐ ขนึ้ ไป สว่ นสงั สารวัฏได้ ผลงาน ไมผ่ า่ น = ได้คะแนนตํ่ากวา่ ร้อยละ ๖๐ แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศึกษา ช้นั เอก วิชาธรรม

ขอ้ ที่ แบบประเมนิ ผลงาน 137 ๔ - ๕ คะแนน ใบกจิ กรรมที่ ๑๑ ๑ คะแนน ๑ ตอบคำ�ถามถูกตอ้ ง ตอบคำ�ถามถูกตอ้ งและ ตรงประเดน็ ระดบั คะแนน ตรงประเดน็ นอ้ ย ๒ - ๓ คะแนน ตอบคำ�ถามถูกตอ้ ง ตรงประเด็นสว่ นใหญ่ เกณฑ์ เกณฑ์การตดั สนิ คะแนน ผา่ น ๓ คะแนนขน้ึ ไป ไม่ผา่ น รอ้ ยละ ๒ คะแนนลงมา ๖๐ ข้นึ ไป ตํ่ากว่า ๖๐ หมายเหต ุ เกณฑ์การตัดสนิ สามารถปรบั ใชต้ ามความเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย แนวทางการจัดการเรยี นร้ธู รรมศกึ ษา ชั้นเอก วิชาธรรม

138 ใบกจิ กรรมที่ ๑๑ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสังสารวฏั ช่ือกลุ่ม.................... ช่ือ.........................................................................................ชัน้ .....................เลขท.ี่ .......................... ชอ่ื .........................................................................................ชั้น.....................เลขท่.ี .......................... ชอ่ื .........................................................................................ชนั้ .....................เลขท.ี่ .......................... ค�ำ ชแ้ี จง ให้นักเรียนตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี จำ�นวน ๑ ขอ้ (๕ คะแนน) ๑. อธบิ ายถงึ ความหมายและการปฏบิ ัตติ นของพุทธคุณ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศึกษา ชั้นเอก วิชาธรรม

139 เฉลยใบกจิ กรรมท่ี ๑๑ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั ๑. อธิบายถึงความหมายและการปฏบิ ัติตนของพุทธคณุ ตอบ พทุ ธคณุ คอื พระคณุ ของพระพุทธเจ้า ท้งั ทีเ่ ปน็ พระคณุ สมบตั ิส่วนพระองค์ และพระคุณ ทท่ี รงบ�ำ เพญ็ เพือ่ ประโยชนเ์ ก้ือกูลแก่ผู้อนื่ มี ๙ ประการ ดังนี้ ๑. อรหํ ผู้เปน็ พระอรหนั ต์ หมายถึง ผบู้ ริสุทธ์ปิ ราศจากกิเลสโดยสิน้ เชงิ ๒. สมฺมาสมฺพทุ โฺ ธ ผูต้ รสั รู้เองโดยชอบ หมายถึง เปน็ ผตู้ รสั รู้สรรพสิง่ ท่คี วรรยู้ งิ่ ท่คี วรกำ�หนดรู้ ๓. วชิ ชฺ าจรณสมปฺ นฺโน ผ้ถู งึ พรอ้ มด้วยวิชชาและจรณะ หมายถึง ทรงเพยี บพรอ้ มดว้ ยวชิ ชา ๓ วิชชา ๘ และจรณะ ๑๕ ๔. สุคโต ผ้เู สดจ็ ไปดีแล้ว หรือผู้กล่าวดีแลว้ ๕. โลกวิทู ผทู้ รงร้แู จ้งโลก ๖. อนุตฺตโร ปรุ สิ ทมฺมสารถิ ผเู้ ป็นสารถีฝึกคนทฝ่ี กึ ได้ ไมม่ ผี ้อู ่ืนยิง่ กวา่ ๗. สตถฺ า เทวมนสุ สฺ านํ ผเู้ ปน็ พระศาสดาของเทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย คอื ทรงเปน็ บรมครสู ง่ั สอน บุคคลทกุ ระดับชน้ั ๘. พุทฺโธ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว คือทรงเป็นพระพุทธเจ้าอย่างสมบูรณ์ เพราะตรัสรู้สรรพส่ิง ทีค่ วรรู้ และทรงสอนผู้อน่ื ให้รตู้ าม ๙. ภควา ผ้ทู รงจำ�แนกพระธรรม ผ้มู โี ชค การปฏิบัติ เราต้องหมนั่ ศึกษาคุณงามความดที อ่ี งค์สัมมาสมั พทุ ธเจา้ ทรงปฏบิ ตั ิไวแ้ ลว้ แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศึกษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

140 ใบความรทู้ ี่ ๑๑ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสังสารวฏั พุทธคุณกถา พุทธคณุ ๙ ๑. อรห ํ ผู้เปน็ พระอรหันต์ ๒. สมฺมาสมพฺ ทุ ฺโธ ผตู้ รัสรเู้ องโดยชอบ ๓. วชิ ฺชาจรณสมปฺ นฺโน ผ้ถู งึ พรอ้ มด้วยวชิ ชาและจรณะ ๔. สุคโต ผูเ้ สด็จไปดีแลว้ ๕. โลกวิทู ผทู้ รงรแู้ จง้ โลก ๖. อนตุ ตฺ โร ปรุ สิ ทมฺมสารถิ ผู้เปน็ สารถีฝกึ คนทีฝ่ ึกได้ ไม่มผี ู้อน่ื ย่ิงกวา่ ๗. สตฺถา เทวมนสุ ฺสานํ ผูเ้ ป็นพระศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทง้ั หลาย ๘. พุทโฺ ธ ผูร้ ู้ ผูต้ นื่ ผู้เบิกบานแลว้ ๙. ภควา ผูท้ รงจ�ำ แนกพระธรรม ผู้มโี ชค อธบิ าย พุทธคุณ คือ พระคุณของพระพุทธเจ้า ท้ังที่เป็นพระคุณสมบัติส่วนพระองค์ และพระคุณ ที่ทรงบำ�เพญ็ เพอื่ ประโยชนเ์ ก้อื กลู แก่ผอู้ ืน่ มี ๙ ประการ ดังน้ี ๑. อรหํ ผู้เป็นพระอรหันต์ หมายถึง ผู้บริสุทธิ์ปราศจากกิเลสโดยสิ้นเชิง ในอรรถกถาและ ปกรณว์ เิ สสวิสุทธมิ รรค ไดน้ ยิ ามความหมายของคำ�วา่ อรหํ ไว้ ๕ ประการ ๑) เป็นผู้ไกลกิเลส คือทรงดำ�รงอยู่ไกลแสนไกลจากกิเลสทั้งหลาย เพราะทรงกำ�จัดกิเลส ทง้ั หลาย พรอ้ มทงั้ วาสนาดว้ ยอริยมรรคจนหมดส้ิน ๒) เปน็ ผู้ก�ำ จดั อริทงั้ หลาย คือทรงก�ำ จดั ขา้ ศึกคอื กิเลสทั้งหลายด้วยอริยมรรค ๓) เป็นผู้หกั กำ�แห่งสังสารจกั ร คือทรงหกั กงล้อแหง่ การเวียนว่ายตายเกิดในภพภมู ติ า่ งๆ ๔) เป็นผู้ควรแก่ปัจจัย ๔ เป็นต้น คือทรงเป็นผู้ควรแก่การบูชาพิเศษ เพราะพระองค์ ทรงเปน็ ทกั ขไิ ณยบคุ คลชัน้ ยอด เทวดาและมนุษย์ทง้ั หลายต่างบูชาพระองคด์ ้วยการบูชาอย่างย่ิง ๕) เปน็ ผู้ไมม่ ที ่ลี บั ในการท�ำ บาป คือไม่ทรงทำ�บาปทุจรติ ท้ังในท่ีลบั และในทแี่ จง้ ๒. สมฺมาสมฺพุทฺโธ ผูต้ รัสรู้เองโดยชอบ หมายถึง เปน็ ผู้ตรัสร้สู รรพส่ิงทีค่ วรร้ยู ิ่ง ท่คี วรก�ำ หนดรู้ ที่ควรละ ที่ควรทำ�ให้แจ้ง และที่ควรเจริญให้เกิดมีได้อย่างถูกต้องโดยชอบด้วยพระองค์เอง โดยไม่มีผู้ใด แนะน�ำ สง่ั สอน โดยสรปุ คอื พระองค์ตรัสร้อู ริยสัจ ๔ ด้วยพระองค์เอง ๓. วิชชฺ าจรณสมปฺ นโฺ น ผู้ถงึ พร้อมดว้ ยวิชชาและจรณะ หมายถึง ทรงเพยี บพร้อมด้วยวิชชา ๓ วิชชา ๘ และจรณะ ๑๕ แนวทางการจดั การเรียนรูธ้ รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

141 วชิ ชา ๓ คือ ๑) ปุพเพนิวาสานุสสตญิ าณ ญาณหยง่ั ร้รู ะลกึ ชาตหิ นหลังได้ ๒) จตุ ูปปาตญาณ ญาณหยัง่ ร้จู ุตแิ ละอบุ ัติของสตั ว์ทั้งหลาย ๓) อาสวักขยญาณ ญาณหยง่ั รู้ความส้ินไปแหง่ อาสวกิเลส วชิ ชา ๘ คือ ๑) วปิ สั สนาญาณ ปัญญาที่พิจารณาเห็น รูป นาม คือ ขันธ์ ๕ เป็นส่วนๆ ต่างอาศยั กนั ๒) มโนมยิทธิ ฤทธ์ิทางใจ เช่น เนรมิตกายไดห้ ลากหลายอย่าง เป็นต้น ๓) อิทธวิ ิธิ แสดงฤทธ์ิได้ เชน่ เหาะเหนิ เดนิ อากาศได้ เดินบนน้ําด�ำ ลงไป ในแผน่ ดนิ ได้ เปน็ ตน้ ๔) ทิพพโสต หูทพิ ย์ คือฟงั เสียงทอี่ ย่ไู กลแสนไกลไดย้ ิน ๕) เจโตปรยิ ญาณ กำ�หนดรู้ใจผอู้ ่นื ได้ เช่น ร้คู วามคดิ คนอ่ืนวา่ คิดอยา่ งไร ๖) ปพุ เพนวิ าสานสุ สติญาณ ญาณระลกึ ชาติหนหลังของตนได้ ๗) ทิพพจกั ขุ ตาทพิ ย์ เหน็ การเกิดการตายของเหล่าสัตว์ ๘) อาสวักขยญาณ รู้จกั ทำ�อาสวะให้ส้นิ ไปไมม่ ีเหลือ จรณะ ๑๕ คือ ความสำ�รวมในศีล ๑) สีลสงั วร ๒) อินทรียสงั วร ความสำ�รวมอินทรยี ์ ๓) โภชเนมัตตัญญุตา ความเปน็ ผ้รู ู้จกั ประมาณในการบรโิ ภค ๔) ชาครยิ านโุ ยค ความหม่นั ประกอบความเพยี ร ๕) สทั ธา ความเช่ือกรรมและผลของกรรม ๖) หิร ิ ความละอายต่อบาปทุจรติ ๗) โอตตัปปะ ความสะดุ้งกลัวตอ่ บาปทจุ รติ ๘) พาหุสจั จะ ความเป็นผ้ไู ด้สดบั มาก ๙) วริ ยิ ารมั ภะ การปรารภความเพยี ร ๑๐) สติ ความระลึกได้ ๑๑) ปัญญา ความรอบรู้ตามเปน็ จรงิ ๑๒) ปฐมฌาน ฌานท่ี ๑ ๑๓) ทตุ ยิ ฌาน ฌานท่ี ๒ ๑๔) ตตยิ ฌาน ฌานที่ ๓ ๑๕) จตตุ ถฌาน ฌานที่ ๔ ๔. สุคโต ผเู้ สดจ็ ไปดแี ลว้ หรอื ผู้กล่าวดีแลว้ ในอรรถกถานยิ ามความหมายไว้ ๔ ประการ ๑) ทรงพระนามวา่ สคุ โต เพราะมกี ารเสดจ็ ด�ำ เนนิ ไปอยา่ งบรสิ ทุ ธ์ิ หาโทษมไิ ด้ ดว้ ยอรยิ มรรค ๒) ทรงพระนามวา่ สคุ โต เพราะเสดจ็ ไปสู่อมตสถานคอื พระนิพพาน แนวทางการจัดการเรียนรธู้ รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

142 ๓) ทรงพระนามว่า สคุ โต เพราะเสด็จไปโดยชอบ ไมท่ รงหวนกลบั มาส่กู เิ ลสท่ลี ะได้แลว้ ๔) ทรงพระนามว่า สคุ โต เพราะตรสั วาจาชอบ ตรสั คำ�จริง ประกอบดว้ ยประโยชน์ ๕. โลกวทิ ู ผทู้ รงรูแ้ จง้ โลก มีความหมาย ๒ ประการ ดงั น้ี ๑) ทรงพระนามว่า โลกวิทู เพราะทรงรู้แจ้งโลกภายในคือร่างกาย ซ่ึงมีสัญญามีใจครองนี้ โดยทรงรู้ถึงสภาวะ เหตเุ กดิ ข้ึน ความดบั และวิธีปฏิบัติให้ลถุ ึงความดบั อยา่ งถอ่ งแท้ ๒) ทรงพระนามว่า โลกวิทู เพราะทรงรู้แจ้งโลกภายนอก ๓ คือ (๑) สังขารโลก โลกคือ สังขารท่ีมีการปรุงแต่งตามเหตุปัจจัย เช่น สรรพสัตว์ดำ�รงอยู่ได้เพราะอาหาร (๒) สัตวโลก โลกคือหมู่สัตว์ ซ่ึงแยกเปน็ มนุษย์ เทวดา พรหม (๓) โอกาสโลก โลกคอื แผน่ ดนิ หรอื โลกตา่ งๆ ทม่ี ใี นจักรวาล ๖. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ ผู้เป็นสารถีฝึกคนที่ฝึกได้ ไม่มีผู้อื่นย่ิงกว่า คือทรงทำ�หน้าที่ดุจ สารถี ฝึกเทวดา มนุษย์ อมนษุ ย์ และสตั วด์ ิรจั ฉานท่ีสมควรฝกึ ได้ ด้วยอุบายวิธตี า่ งๆ ตามสมควรแกอ่ ธั ยาศยั ของแต่ละบุคคลไดอ้ ย่างไมม่ ีผอู้ น่ื ยิ่งกว่า ๗. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ ผู้เป็นพระศาสดาของเทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย คือทรงเป็นบรมครู สั่งสอนบุคคลทุกระดับช้ัน ด้วยพระมหากรุณา โดยมุ่งประโยชน์ในโลกน้ี ประโยชน์ในโลกหน้า และ ประโยชนส์ งู สุดคือพระนพิ พาน ๘. พทุ ฺโธ ผู้รู้ ผูต้ ืน่ ผู้เบิกบานแล้ว คอื ทรงเป็นพระพทุ ธเจ้าอย่างสมบูรณ์ เพราะตรัสรู้สรรพสิ่ง ทคี่ วรรู้ และทรงสอนผอู้ นื่ ใหร้ ตู้ าม พระองคท์ รงตนื่ เองจากความเชอ่ื ถอื และขอ้ ปฏบิ ตั ทิ งั้ หลายทน่ี บั ถอื กนั มาผดิ ๆ และทรงปลกุ ผ้อู ่นื ใหต้ ื่นจากความหลงงมงาย ทรงมพี ระหฤทัยเบกิ บานบำ�เพญ็ พุทธกจิ ได้บริสทุ ธ์บิ ริบรู ณ์ ๙. ภควา ผู้ทรงจำ�แนกพระธรรม ผู้มีโชค ในอรรถกถาและปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรคให้นิยาม ความหมายไว้ ๖ ประการ ดังนี้ ๑) ทรงเป็นผู้มีโชค คือทรงหวังพระโพธิญาณก็ได้สมหวัง ซ่ึงเป็นผลจากพระบารมี ท่ที รงบำ�เพญ็ มานานถึง ๔ อสงไขย ๑ แสนกัป ๒) ทรงเปน็ ผู้ท�ำ ลายกเิ ลสและหมู่มารทั้งมวลได้อยา่ งราบคาบ คือทรงชนะกิเลสทง้ั ปวงและ หมู่มารได้หมดสนิ้ ๓) ทรงมีภคธรรม ๖ ประการ คือ (๑) ความมีอำ�นาจเหนือจิต (๒) โลกุตตรธรรม (๓) พระเกียรติยศท่ีปรากฏทั่วในโลก ๓ (๔) พระสิริรูปสง่างามครบทุกส่วน (๕) ความสำ�เร็จประโยชน์ ตามทที่ รงมุ่งหวัง (๖) ความเพยี รชอบเป็นเหตใุ หไ้ ด้รับความเคารพจากชาวโลก ๔) ทรงจำ�แนกแจกธรรม คือทรงเป็นวิภัชชวาทีในการแสดงธรรม โดยทรงแยกแยะ จำ�แนกแจกแจงประเภทแห่งธรรมออกไปอย่างละเอยี ดวิจติ รพิสดาร ๕) ทรงเสพอริยธรรม คือทรงยินดีในอริยวิหารธรรม (ธรรมเป็นเคร่ืองอยู่ของพระอริยเจ้า) วิเวก (ความสงัดกายและจิต) วิโมกข์ (ความหลุดพ้นจากกิเลส) และอุตตริมนุสสธรรม (ธรรมของมนุษย์ อนั ยวดยงิ่ มีฌานสมาบตั ิ เปน็ ตน้ ) ๖) ทรงสลดั ตณั หาในภพ ๓ ได้แลว้ คือทรงปราศจากกเิ ลสตัณหาอนั ทำ�ใหเ้ วยี นว่ายตายเกิด ในภพ ๓ คือ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ชัน้ เอก วิชาธรรม

143 สรปุ พระพทุ ธคณุ พระพุทธคุณ ๙ ต้ังแต่ อรหํ ถึง ภควา เป็นเนมิตกนาม เกิดโดยนิมิตคืออรหัตตคุณและ อนตุ ตรสัมมาสมั โพธญิ าณ ไม่มผี ใู้ ดในมนุษยโลกและเทวโลกแตง่ ต้ังถวาย ตามพระมติของสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงจัดพระพุทธคุณ ๙ ไว้โดยย่อ ๒ ประการ คือ พระปัญญาคุณกบั พระกรณุ าคุณ พระฎกี าจารย์ท้ังหลายจัดไว้ ๓ ประการ คอื พระปญั ญาคณุ พระวิสุทธคิ ุณ และพระกรุณาคุณ ในพระคุณท้ัง ๓ น้ี ข้อที่เป็นหลักและกล่าวถึงท่ัวไปในคัมภีร์ต่างๆ มี ๓ คือ ปัญญา และกรุณา ส่วนวิสุทธิ เป็นพระคุณเนื่องอยู่ในพระปัญญาอยู่แล้ว เพราะเป็นผลเกิดเองจากการตรัสรู้ จงึ ไม่แยกไว้เปน็ ข้อหนึ่งต่างหาก พระพทุ ธคณุ บทวา่ อรห,ํ สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ, วชิ ชฺ าจรณสมปฺ นโฺ น, สคุ โต, โลกวทิ ู จดั เขา้ ในพระปญั ญาคณุ , บทว่า อนุตฺตโร ปรุ สิ ทมมฺ สารถิ และสตฺถา เทวมนสุ สฺ านํ จัดเข้าในพระกรณุ าคณุ , บทว่า พทุ ฺโธ และภควา จดั เขา้ ไดท้ งั้ ในพระปัญญาคุณและพระกรณุ าคณุ อีกอยา่ งหน่ึง บทว่า อรห,ํ สมมฺ าสมพฺ ุทโฺ ธ, วชิ ฺชาจรณสมปฺ นโฺ น, สุคโต, โลกวิทู แสดงคณุ สมบัติ สว่ นพระองค์ เรียกวา่ อัตตหติ คุณ, บทว่า อนตุ ตฺ โร ปรุ ิสทมมฺ สารถิ และสตฺถา เทวมนุสสฺ านํ แสดงคุณสมบัติ เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น เรียกว่า ปรหิตคุณ, บทว่า พุทฺโธและภควา แสดงคุณสมบัติส่วนพระองค์ และเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ้อู ื่น เรยี กว่า อตั ตปรหิตคุณ แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศึกษา ช้ันเอก วชิ าธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook