Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางจัดการเรียนรู้ธศ.เอก-ธรรม

แนวทางจัดการเรียนรู้ธศ.เอก-ธรรม

Published by suttasilo, 2021-06-28 10:53:24

Description: แนวทางจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษาเอกวิชาธรรม

Keywords: แนวทางจัดการเรียนรู้,วิชาธรรม,ธรรมศึกษาเอก

Search

Read the Text Version

144 เวลา..............ชัว่ โมง แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑๒ ธรรมศึกษาชน้ั เอก สาระการเรยี นรูว้ ชิ าธรรม เรอ่ื ง หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาสว่ นสังสารวฏั ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ธศ ๑ ร้แู ละเข้าใจหลักธรรมของพระพุทธศาสนา มศี รทั ธาท่ีถกู ตอ้ ง ยดึ มนั่ และปฏิบัติ ตามหลักธรรม เพอ่ื อยู่รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ขุ ๒. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสังสารวัฏ ๓. สาระส�ำ คญั หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ เป็นหลักธรรมที่ว่าด้วยวิปัสสนากัมมัฏฐาน หลักการเจรญิ วปิ ัสสนา หากบคุ คลยดึ มนั่ และปฏบิ ตั ิไดจ้ ะอยใู่ นสังคมด้วยความเป็นสขุ ๔. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ นักเรียนอธบิ ายหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสงั สารวฏั ได้ ๕. สาระการเรยี นรู้/เน้ือหา - วิปสั สนากัมมฏั ฐาน หลักการเจริญวปิ ัสสนา ๖. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้ันสืบค้นและเชือ่ มโยง ๑. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ โดยใช้คำ�ถาม เพ่ือพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ และเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ - นกั เรยี นเคยเรยี นเรือ่ ง หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวฏั บา้ งหรือไม่ - หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสังสารวฏั มีอะไรบา้ ง - นักเรียนเคยได้ยินไดเ้ หน็ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั จากทไี่ หนบา้ ง ข้ันฝึก ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ส่วนสังสารวัฏ วิปัสสนากัมมัฏฐาน หลักการเจรญิ วปิ ัสสนา จากใบความร้ทู ่ี ๑๒ ๓. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ จดั เตรยี มการเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษา ช้ันเอก วิชาธรรม

145 ขัน้ ประยกุ ต์ ๔. ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ ออกมาน�ำ เสนอตามหวั ขอ้ ทตี่ นเองได้รับมอบหมายเพอื่ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ๕. นักเรียนในแต่ละกลุ่มตอบค�ำ ถามตามใบกิจกรรมที่ ๑๒ ๖. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ในแต่ละหัวขอ้ ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ท่ี ภาระงาน ชิ้นงาน ใบกจิ กรรมท่ี ๑๒ ๑ ตอบคำ�ถามเกย่ี วกบั หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสงั สารวฏั ๘. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ ๑. ใบความรูท้ ี่ ๑๒ เรอื่ ง หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสงั สารวัฏ ๒. ใบกิจกรรมท่ี ๑๒ ๙. การวดั ผลและประเมนิ ผล สงิ่ ทต่ี อ้ งการวดั วิธวี ัด เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ อธบิ ายหลักธรรม ของพระพทุ ธศาสนา - ตรวจผลงาน - แบบประเมิน ผ่าน = ไดค้ ะแนนต้ังแต่ร้อยละ ๖๐ ขนึ้ ไป สว่ นสงั สารวฏั ได้ ผลงาน ไม่ผา่ น = ไดค้ ะแนนตํ่ากว่าร้อยละ ๖๐ แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

146 ข้อ ท่ี แบบประเมินผลงาน ๑ คะแนน ๔ - ๕ คะแนน ใบกจิ กรรมที่ ๑๒ ตอบค�ำ ถามถกู ต้องและ ๑ ตอบค�ำ ถามถกู ต้อง ตรงประเดน็ นอ้ ย ตรงประเด็น ระดับคะแนน ๒ - ๓ คะแนน ตอบค�ำ ถามถูกตอ้ ง ตรงประเด็นส่วนใหญ่ เกณฑ์ เกณฑ์การตดั สิน คะแนน ผา่ น ๓ คะแนนข้ึนไป ไม่ผา่ น ร้อยละ ๒ คะแนนลงมา ๖๐ ข้นึ ไป ตา่ํ กว่า ๖๐ หมายเหตุ เกณฑ์การตดั สนิ สามารถปรับใชต้ ามความเหมาะสมกบั กลุม่ เปา้ หมาย แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศึกษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

147 ใบกจิ กรรมท่ี ๑๒ หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสงั สารวัฏ ชือ่ กล่มุ .................... ช่ือ.........................................................................................ช้นั .....................เลขท่.ี .......................... ช่อื .........................................................................................ช้นั .....................เลขท่ี........................... ชอื่ .........................................................................................ช้นั .....................เลขท่.ี .......................... ค�ำ ชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนตอบคำ�ถามต่อไปนี้ จ�ำ นวน ๑ ขอ้ (๕ คะแนน) ๑. อธิบายถึงความหมายและการปฏบิ ัติตนของวปิ สั สนากมั มัฏฐาน หลกั การเจรญิ วิปัสสนา .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ช้ันเอก วชิ าธรรม

148 เฉลยใบกิจกรรมท่ี ๑๒ หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสังสารวฏั ๑. อธิบายถงึ ความหมายและการปฏบิ ัตติ นของวิปัสสนากัมมัฏฐาน หลักการเจรญิ วิปสั สนา ตอบ วิปสั สนากัมมัฏฐาน (วปิ สั สนาภาวนา) หมายถึง กมั มฏั ฐานเปน็ อบุ ายทำ�ใหเ้ กดิ ปญั ญารเู้ ห็น สภาวธรรมตามเปน็ จริง โดยความเปน็ ไตรลกั ษณ์ คือ ไม่เทยี่ ง เป็นทกุ ข์ เปน็ อนตั ตา ธรรมเปน็ อารมณเ์ ปน็ ภูมขิ องวิปัสสนา ในการเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน ต้องรู้จักอารมณ์ของวิปัสสนา อุปมาเหมือนการปลูกพืชพันธ์ุ ธัญญาหารต้องมีพน้ื ที่ ถา้ ไมม่ ีพื้นที่สำ�หรบั ปลูกแล้ว พืชกเ็ กิดไม่ได้ ธรรมอนั เปน็ อารมณเ์ ป็นภมู ิของวปิ สั สนา คือส่ิงที่ยึดหน่วงจิตให้เกิดวิปัสสนาปัญญา มีอยู่ ๖ หมวด คือ ๑. ขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ๒. อายตนะ ๑๒ คำ�ว่า อายตนะ แปลวา่ ที่ต่อ เคร่ืองตอ่ หมายถึง เครอ่ื งรับรอู้ ารมณ์ของจติ แบง่ เป็นอายตนะภายใน ๖ และอายตนะภายนอก ๖ ๓. ธาตุ ๑๘ คำ�ว่า ธาตุ แปลว่า สภาพทรงไว้ หมาย ถึงสิ่งที่ทรงสภาวะของตนอยู่เองตามท่ีเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น เป็นไปตามธรรมดา ไม่มีผู้สร้าง ไม่มีผู้บันดาล ๔. อนิ ทรีย์ ๒๒ ค�ำ วา่ อนิ ทรยี ์ แปลวา่ ส่ิงทเ่ี ป็นใหญ่ หมายถงึ อายตนะท่ีเปน็ ใหญ่ในการท�ำ กจิ ของตน เช่น ตาเป็นใหญ่ในการเห็น ๕. อริยสัจ ๔ คำ�ว่า อริยสัจ แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงท่ีทำ�ให้ผู้เข้า ถึงความเป็นพระอรยิ ะ คือ ทกุ ข์ สมุทัย นโิ รธ มรรค ๖. ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ คำ�วา่ ปฏจิ จสมุปบาท แปลวา่ ธรรมที่อาศัยกันและกันเกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกอีกอย่างว่า ปัจจยาการ คืออาการที่เป็นปัจจัยแก่กันและกัน ไดแ้ ก่ อวิชชา สงั ขาร วิญญาณ นามรปู สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตณั หา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ ธรรมที่เปน็ เหตเุ กิดข้นึ ตัง้ อยแู่ หง่ วปิ สั สนา ๑) สีลวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ ศีล ๒) จติ ตวิสุทธิ ความหมดจดแหง่ จติ ธรรมทเ่ี ปน็ ตวั วปิ สั สนา ๑) ทิฏฐวิ สิ ุทธิ ความหมดจดแหง่ ทิฏฐิ ๒) กงั ขาวิตรณวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ ญาณเปน็ เครอ่ื งขา้ มพ้นความสงสัย ๓) มคั คามัคคญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ ญาณเปน็ เคร่ืองเหน็ วา่ ทางหรอื มิใช่ทาง ๔) ปฏิปทาญาณทสั สนวสิ ุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเปน็ เครอ่ื งเห็นทางปฏิบัติ ๕) ญาณทัสสนวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ คอื อริยมรรค ๔ ลักษณะ กจิ ผล และเหตุของวิปสั สนา ลกั ษณะ คอื เครือ่ งหมายของวปิ สั สนา ได้แก่ ความรู้ความเห็นวา่ สงั ขารเป็นของไม่เทีย่ ง เปน็ ทกุ ข์ เป็นอนัตตา อย่างแจ้งชดั ตามท่เี ปน็ จรงิ แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศกึ ษา ชัน้ เอก วชิ าธรรม

149 กิจ คือ หน้าที่ของวิปัสสนา ได้แก่ ความขจัดมืดคือโมหะอันปิดบังปัญญาไว้ไม่ให้เห็นตาม ความเปน็ จริงของสงั ขารวา่ เป็นของไม่เทีย่ ง เปน็ ทุกข์ เป็นอนตั ตา ผล คอื ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จากการเจรญิ วปิ สั สนา ไดแ้ ก่ ความรแู้ จง้ เหน็ จรงิ ในสงั ขารวา่ เปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทุกข์ เป็นอนตั ตา ปรากฏเฉพาะหนา้ ดุจประทีปสอ่ งสว่างอยฉู่ ะนัน้ เหตุ คือ ส่งิ ทส่ี นบั สนุนใหว้ ปิ ัสสนาเกิดขึน้ และด�ำ รงอยู่ ไดแ้ ก่ความท่ีจติ ไมฟ่ ุง้ ซ่าน ต้ังม่นั เปน็ สมาธิ วิภาคของวปิ ัสสนา วิภาค หมายถึง การแยกสว่ นพิจารณาอารมณ์วปิ ัสสนา ๖ สว่ น คอื ๑) อนิจฺจํ ส่วนท่ีไม่เที่ยง คือสังขารท่ีปัจจัยปรุงแต่งสร้างขึ้น เป็นของไม่เที่ยง เพราะเกิดขึ้น แลว้ แปรปรวนเป็นอยา่ งอืน่ ไป ไม่คงอยู่อย่างเดมิ ๒) อนิจฺจลกฺขณํ ส่วนที่เป็นลักษณะของความไม่เที่ยง คือเคร่ืองหมายกำ�หนดให้รู้ว่าสังขาร เปน็ ของไมเ่ ที่ยง มีความเกิดขึ้นแล้ว แปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป ไม่คงอยูอ่ ยา่ งเดมิ ๓) ทกุ ฺขํ สว่ นที่เป็นทกุ ข์ คอื สงั ขารทเ่ี ป็นตวั ทุกข์ เพราะมีความเกดิ -ดับ และมคี วามเปลยี่ นแปลง เปน็ อยา่ งอ่นื ด้วยทุกขท์ ่ีเกิดจากชรา พยาธิ มรณะอยเู่ ป็นนิตย์ ๔) ทกุ ฺขลกฺขณํ สว่ นท่ีเป็นลักษณะของความทุกข์ คือเครื่องหมายก�ำ หนดให้รวู้ ่าสงั ขารเป็นทกุ ข์ เพราะถกู ชรา พยาธิ มรณะ บบี ค้ันเบียดเบียนเผาผลาญทำ�ลายใหเ้ ป็นทกุ ข์อยเู่ ปน็ นติ ย์ ๕) อนตตฺ า สว่ นทเ่ี ปน็ อนตั ตา คอื ความทสี่ งั ขารและวสิ งั ขารเปน็ อนตั ตา เปน็ สภาพวา่ งจากตวั ตน มใิ ช่สัตว์ บุคคล เราเขา ๖) อนตตฺ ลกขฺ ณํ สว่ นทเ่ี ปน็ ลกั ษณะของอนตั ตา คอื เครอื่ งหมายก�ำ หนดใหร้ วู้ า่ สงั ขารและวสิ งั ขาร เปน็ สภาพที่ไมม่ ีตัวตน มิใชส่ ัตว์ บุคคล ตวั ตน เราเขา การปฏิบัติ เราตอ้ งฝกึ การเจริญวปิ ัสสนา จะท�ำ จติ สงบ และร้แู จ้ง แนวทางการจดั การเรยี นรูธ้ รรมศึกษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

150 ใบความรทู้ ่ี ๑๒ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสงั สารวัฏ วปิ ัสสนากมั มฏั ฐาน หลักการเจรญิ วิปัสสนา สาธชุ นมาท�ำ วปิ สั สนาปญั ญาทเ่ี หน็ แจง้ ชดั ในอารมณใ์ หเ้ กดิ มขี นึ้ ในจติ ดว้ ยเจตนาอนั ใด เจตนา อันนัน้ ช่ือว่า วิปสั สนาภาวนา อธบิ าย วิปัสสนากัมมัฏฐาน (วิปัสสนาภาวนา) หมายถึง กัมมัฏฐานเป็นอุบายทำ�ให้เกิดปัญญารู้เห็น สภาวธรรมตามเปน็ จริง โดยความเปน็ ไตรลกั ษณ์ คือ ไม่เทีย่ ง เปน็ ทกุ ข์ เป็นอนัตตา ธรรมเปน็ อารมณ์เปน็ ภมู ขิ องวิปัสสนา ในการเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน ต้องรู้จักอารมณ์ของวิปัสสนา อุปมาเหมือนการปลูกพืชพันธ์ุ ธัญญาหารตอ้ งมพี น้ื ที่ ถ้าไมม่ ีพนื้ ท่ีสำ�หรับปลูกแล้ว พชื ก็เกิดไมไ่ ด้ ธรรมอนั เปน็ อารมณ์เป็นภมู ขิ องวปิ สั สนา คือสิ่งทีย่ ดึ หน่วงจิตให้เกดิ วปิ ัสสนาปัญญา มีอยู่ ๖ หมวด คือ ขนั ธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อนิ ทรีย์ ๒๒ อริยสัจ ๔ และปฏจิ จสมุปบาท ๑๒ ธรรมทั้ง ๖ หมวดนี้ ย่อเป็น รูปและนาม ๑. ขันธ์ ๕ คอื รปู เวทนา สัญญา สงั ขาร และวิญญาณ อธบิ ายดังนี้ ๑) รปู คอื รา่ งกายอันสงเคราะหด์ ้วยธาตุ ๔ ดิน น้ํา ไฟ ลม ๒) เวทนา คือ ความเสวยอารมณ์สขุ ทุกข์ อุเบกขา ๓) สัญญา คือ ความจำ�ได้หมายรู้อารมณ์หรือสิ่งที่มากระทบกับอายตนะภายในคือตา หู จมกู ล้นิ กาย และใจ ๔) สังขาร คือ อารมณ์อันเกิดกับจิต เจตนาความคิดอ่านท่ีปรุงแต่งจิตให้ดีหรือชั่ว หรือ เปน็ กลางๆ ๕) วิญญาณ คือ ความรแู้ จง้ อารมณท์ างทวาร ๖ คอื ตา หู จมกู ลิน้ กาย และใจ ๒. อายตนะ ๑๒ คำ�ว่า อายตนะ แปลวา่ ที่ตอ่ เคร่อื งต่อ หมายถึง เคร่อื งรับรู้อารมณ์ของจติ แบง่ เปน็ อายตนะภายใน ๖ และอายตนะภายนอก ๖ คอื อายตนะภายใน ๖ ไดแ้ ก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ อายตนะภายนอก ๖ ไดแ้ ก่ รูป เสยี ง กลิน่ รส โผฏฐพั พะ ธรรมารมณ์ ๓. ธาตุ ๑๘ คำ�วา่ ธาตุ แปลวา่ สภาพทรงไว้ หมายถงึ สิง่ ท่ีทรงสภาวะของตนอยู่เองตามทีเ่ หตุ ปจั จัยปรงุ แต่งข้ึน เปน็ ไปตามธรรมดา ไมม่ ผี ูส้ ร้าง ไมม่ ผี ู้บนั ดาล คือ ๑) จักขธุ าตุ ธาตุคือจกั ขปุ ระสาท (ตา) ๒) รปู ธาตุ ธาตคุ อื รูป ๓) จกั ขวุ ิญญาณธาตุ ธาตคุ ือสภาวะทรี่ ับรรู้ ูปทางตา ๔) โสตธาต ุ ธาตุคือโสตประสาท (หู) แนวทางการจัดการเรียนรธู้ รรมศึกษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

151 ๕) สทั ทธาต ุ ธาตุคือเสียง ๖) โสตวญิ ญาณธาต ุ ธาตุคอื สภาวะที่รับรเู้ สียงทางหู ๗) ฆานธาต ุ ธาตุคอื ฆานประสาท (จมูก) ๘) คันธธาต ุ ธาตุคอื กล่ิน ๙) ฆานวิญญาณธาตุ ธาตุคือสภาวะทร่ี ับรู้กลนิ่ ทางจมูก ๑๐) ชิวหาธาตุ ธาตุคือชวิ หาประสาท (ล้ิน) ๑๑) รสธาต ุ ธาตคุ ือรส ๑๒) ชิวหาวิญญาณธาตุ ธาตคุ อื สภาวะที่รบั รรู้ สทางลน้ิ ๑๓) กายธาตุ ธาตคุ ือกายประสาท ๑๔) โผฏฐัพพธาตุ ธาตคุ อื โผฏฐพั พะ (สิ่งสมั ผัส) ๑๕) กายวิญญาณธาตุ ธาตคุ ือสภาวะท่รี ับรสู้ ัมผัสทางกาย ๑๖) มโนธาต ุ ธาตคุ ือมโน (จติ ) ๑๗) ธัมมธาตุ ธาตุคือธมั มะ (ส่ิงทใ่ี จนกึ คิด, อารมณ)์ ๑๘) มโนวิญญาณธาต ุ ธาตคุ อื สภาวะท่ีรับรู้อารมณ์ทางจิต ๔. อนิ ทรยี ์ ๒๒ ค�ำ ว่า อนิ ทรีย์ แปลวา่ ส่ิงท่ีเป็นใหญ่ หมายถงึ อายตนะที่เปน็ ใหญใ่ นการท�ำ กจิ ของตน เช่น ตาเป็นใหญ่ในการเหน็ เปน็ ตน้ คือ ๑) จักขนุ ทรยี ์ อนิ ทรีย์คอื จกั ษุประสาท (ตา) ๒) โสตนิ ทรีย ์ อนิ ทรยี ค์ ือโสตประสาท (หู) ๓) ฆานนิ ทรยี ์ อินทรยี ค์ อื ฆานประสาท (จมูก) ๔) ชิวหนิ ทรยี ์ อินทรีย์คือชวิ หาประสาท (ลน้ิ ) ๕) กายินทรีย์ อินทรยี ์คอื กายประสาท (กาย) ๖) มนนิ ทรีย ์ อนิ ทรยี ์คอื มโน (จติ ๘๙ ดวง หรอื ๑๒๑ ดวง) ๗) อติ ถนิ ทรีย ์ อนิ ทรียค์ ืออิตถีภาวะ (ความเปน็ หญงิ ) ๘) ปุริสินทรีย์ อนิ ทรีย์คอื ปรุ สิ ภาวะ (ความเปน็ ชาย) ๙) ชวี ิตนิ ทรยี ์ อนิ ทรยี ค์ อื ชวี ติ ๑๐) สุขนิ ทรยี ์ อนิ ทรยี ์คือสขุ เวทนา (ความรสู้ กึ เป็นสขุ ) ๑๑) ทกุ ขินทรยี ์ อินทรีย์คือทกุ ขเวทนา (ความรสู้ กึ เป็นทุกข)์ ๑๒) โสมนัสสนิ ทรยี ์ อินทรยี ์คือโสมนสั สเวทนา (ความรู้สีกดใี จ) ๑๓) โทมนัสสนิ ทรีย ์ อินทรยี ์คอื โทมนัสสเวทนา (ความรสู้ ึกเสยี ใจ) ๑๔) อุเปกขินทรีย ์ อนิ ทรีย์คืออเุ บกขาเวทนา (ความรสู้ ึกเปน็ กลาง) ๑๕) สัทธนิ ทรีย์ อินทรยี ์คือศรัทธา มีหนา้ ท่ีเด่นดา้ นความเชือ่ ๑๖) วริ ิยนิ ทรยี ์ อินทรียค์ ือวิริยะ มีหนา้ ทเี่ ด่นด้านความเพียร ๑๗) สตินทรยี ์ อินทรยี ์คือสติ มหี นา้ ท่เี ด่นด้านความระลึกชอบ แนวทางการจัดการเรยี นรูธ้ รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

152 ๑๘) สมาธนิ ทรีย์ อนิ ทรีย์คือสมาธิ มีหนา้ ที่เดน่ ด้านความต้งั ใจมัน่ ๑๙) ปญั ญินทรยี ์ อนิ ทรยี ค์ อื ปญั ญา มีหนา้ ท่ีเด่นดา้ นความร้ชู ดั ๒๐) อนัญญตญั ญสั สามตี ินทรยี ์ อนิ ทรยี ข์ องผูป้ ฏิบัติดว้ ยมงุ่ โสดาปตั ตมิ คั คญาณ ๒๑) อัญญินทรีย์ อินทรีย์คือปัญญาอันรู้ท่ัวถึงโสดาปัตติผลญาณถึง อรหตั ตมคั คญาณ ๒๒) อัญญาตาวนิ ทรีย์ อนิ ทรยี แ์ หง่ ทา่ นผู้รทู้ ่วั ถึงอรหตั ตผลญาณ ๕. อรยิ สจั ๔ คำ�วา่ อริยสจั แปลว่า ความจริงอนั ประเสรฐิ ความจรงิ ทีท่ �ำ ใหผ้ ู้เขา้ ถึงความเป็น พระอริยะ คอื ทุกข์ สมทุ ัย นิโรธ มรรค ๖. ปฏจิ จสมปุ บาท ๑๒ ค�ำ ว่า ปฏิจจสมปุ บาท แปลว่า ธรรมทอ่ี าศยั กนั และกันเกิดขนึ้ พรอ้ มกัน เรยี กอกี อยา่ งวา่ ปจั จยาการคอื อาการทเ่ี ปน็ ปจั จยั แกก่ นั และกนั ไดแ้ ก่อวชิ ชา สงั ขารวญิ ญาณนามรปู สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ ธรรมที่เปน็ เหตุเกิดข้นึ ตั้งอยู่แห่งวิปสั สนา ในวสิ ุทธิ ๗ ธรรมที่เป็นเหตเุ กดิ ขน้ึ ตั้งอย่ขู องวิปสั สนา ได้แก่ วสิ ุทธิ ๒ ข้อข้างต้น คอื ๑) สลี วิสุทธิ ความหมดจดแหง่ ศีล ๒) จิตตวิสทุ ธิ ความหมดจดแห่งจติ ผู้ท่ีเจริญวิปัสสนาเบ้ืองต้น ต้องปฏิบัติตนให้มีศีลบริสุทธิ์และมีจิตบริสุทธ์ิก่อน จึงจะเจริญ วิปสั สนาต่อไปได้ ถา้ เปน็ ผมู้ ศี ีลไมบ่ ริสทุ ธิ์ ยงั มีจติ ฟ้งุ ซ่าน ไม่เป็นสมาธิ ก็ไม่ควรทจ่ี ะเจรญิ วปิ สั สนา ธรรมทเ่ี ป็นตัววปิ ัสสนา ในวสิ ุทธิ ๗ ธรรมท่ีเป็นตัววิปสั สนา ได้แก่ วิสทุ ธิ ๕ ขอ้ ขา้ งท้าย คอื ๑) ทิฏฐิวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแห่งทิฏฐิ ๒) กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครอื่ งขา้ มพ้นความสงสยั ๓) มัคคามคั คญาณทสั สนวิสุทธิ ความหมดจดแหง่ ญาณเป็นเครอ่ื งเหน็ วา่ ทางหรือมใิ ช่ทาง ๔) ปฏิปทาญาณทัสสนวิสทุ ธิ ความหมดจดแห่งญาณเปน็ เครอ่ื งเหน็ ทางปฏิบัติ ๕) ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหง่ ญาณทัสสนะ คืออรยิ มรรค ๔ อกี นัยหน่ึง ธรรมทเี่ ป็นตวั วิปสั สนา ได้แก่ ไตรลักษณ์ หรอื สามญั ญลักษณะ ๓ คอื ๑) อนิจจตา ความเปน็ ของไมเ่ ทีย่ ง ๒) ทกุ ขตา ความเป็นทกุ ข์ ๓) อนัตตตา ความเป็นของมิใชต่ วั ตน ลักษณะ กจิ ผล และเหตขุ องวิปสั สนา ลักษณะ คอื เครือ่ งหมายของวิปสั สนา ไดแ้ กค่ วามรูค้ วามเห็นว่าสงั ขารเป็นของไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ข์ เป็นอนตั ตา อยา่ งแจ้งชดั ตามทีเ่ ปน็ จริง แนวทางการจัดการเรียนรธู้ รรมศึกษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

153 กิจ คือ หน้าที่ของวิปัสสนา ได้แก่ ความขจัดมืดคือโมหะอันปิดบังปัญญาไว้ไม่ให้เห็นตาม ความเป็นจริงของสงั ขารว่า เปน็ ของไม่เทยี่ ง เปน็ ทุกข์ เปน็ อนัตตา ผล คอื ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการเจริญวปิ สั สนา ไดแ้ ก่ ความรู้แจ้งเหน็ จริงในสงั ขารวา่ เป็นของ ไมเ่ ทีย่ ง เป็นทุกข์ เปน็ อนตั ตา ปรากฏเฉพาะหน้า ดจุ ประทปี ส่องสว่างอยู่ฉะนั้น เหตุ คือ สง่ิ ที่สนับสนนุ ใหว้ ปิ ัสสนาเกดิ ข้นึ และดำ�รงอยู่ ไดแ้ ก่ ความทจ่ี ติ ไมฟ่ ้งุ ซ่าน ต้ังมนั่ เป็นสมาธิ วภิ าคของวิปสั สนา วิภาค หมายถงึ การแยกส่วนพิจารณาอารมณว์ ิปสั สนา ๖ ส่วน คอื ๑) อนจิ ฺจํ ส่วนทีไ่ มเ่ ท่ียง คอื สงั ขารทปี่ ัจจัยปรงุ แต่งสรา้ งขนึ้ เปน็ ของไม่เท่ียง เพราะเกิดข้นึ แล้ว แปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป ไมค่ งอย่อู ย่างเดิม ๒) อนิจฺจลกฺขณํ ส่วนท่ีเป็นลักษณะของความไม่เท่ียง คือเคร่ืองหมายกำ�หนดให้รู้วา่ สังขารเป็น ของไมเ่ ทย่ี ง มีความเกดิ ขน้ึ แลว้ แปรปรวนเป็นอยา่ งอน่ื ไป ไมค่ งอยูอ่ ย่างเดมิ ๓) ทกุ ฺขํ ส่วนทเ่ี ปน็ ทุกข์ คอื สังขารที่เป็นตวั ทกุ ข์ เพราะมีความเกดิ -ดบั และมีความเปลีย่ นแปลง เปน็ อยา่ งอ่ืนด้วยทุกขท์ เี่ กิดจากชรา พยาธิ มรณะอยูเ่ ปน็ นติ ย์ ๔) ทุกฺขลกฺขณํ ส่วนท่ีเป็นลักษณะของความทุกข์ คือเคร่ืองหมายกำ�หนดให้รู้ว่าสังขารเป็นทุกข์ เพราะถูกชรา พยาธิ มรณะ บีบค้ันเบียดเบยี นเผาผลาญทำ�ลายใหเ้ ป็นทกุ ขอ์ ย่เู ป็นนิตย์ ๕) อนตตฺ า สว่ นทเี่ ปน็ อนตั ตา คอื ความทสี่ งั ขารและวสิ งั ขารเปน็ อนตั ตา เปน็ สภาพวา่ งจากตวั ตน มิใชส่ ัตว์ บุคคล เราเขา ๖) อนตตฺ ลกขฺ ณํ สว่ นทเ่ี ปน็ ลกั ษณะของอนตั ตา คอื เครอ่ื งหมายก�ำ หนดใหร้ วู้ า่ สงั ขารและวสิ งั ขาร เป็นสภาพทไี่ ม่มีตัวตน มิใชส่ ัตว์ บุคคล ตวั ตน เราเขา ผูเ้ จริญวปิ ัสสนา มี ๒ ประเภท ๑) สมถยานิก ผู้มีสมถะเป็นยาน หมายถึง ผู้เจริญสมถะจนได้บรรลุฌานสมาบัติแล้วจึงอาศัย สมถะนั้นเป็นพื้นฐานเจริญวิปัสสนาต่อไป เมื่อบรรลุเป็นพระอรหันตขีณาสพแล้วเป็นผู้มีคุณวิเศษตา่ งๆ เช่น สามารถแสดงฤทธไ์ิ ด้ เปน็ ต้น ๒) วิปัสสนายานิก ผู้มีวิปัสสนาเป็นยาน หมายถึง ผู้เจริญวิปัสสนาอย่างเดียวไปจนบรรลุเป็น พระอรหันต์ โดยมิได้เจริญสมถะ ไม่ได้ฌานสมาบัติมาก่อน เมื่อเจริญวิปัสสนาก็กำ�หนดนามรูปเป็นอารมณ์ ยกข้ึนสู่ไตรลักษณ์ เมื่อบรรลุเป็นพระอรหันตขีณาสพแล้วไม่สามารถแสดงฤทธ์ิได้ เรียกว่า สุกขวิปัสสกะ (ผเู้ จริญวิปัสสนาลว้ น) วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ อย่าง ผเู้ จรญิ วปิ สั สนา อาจมสี งิ่ ทม่ี าท�ำ ใหจ้ ติ เศร้าหมองในระหวา่ งเจรญิ วปิ สั สนา เรยี กวา่ วปิ สั สนปู กเิ ลส เคร่ืองเศร้าหมองแห่งวิปัสสนา คือ ธรรมารมณ์ที่เกิดแก่ผู้ได้วิปัสสนาอ่อนๆ จนทำ�ให้สำ�คัญว่าตนบรรลุ มรรค ผลแลว้ เปน็ เหตขุ ดั ขวางให้ไมก่ า้ วหนา้ ต่อไปในวิปัสสนาญาณ มี ๑๐ อย่าง คอื แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษา ชัน้ เอก วิชาธรรม

154 ๑) โอภาส แสงสว่างเกดิ แตว่ ปิ สั สนาจติ ซ่านออกจากสรรี ะ ๒) ญาณ ความหย่งั รู้ หรอื วิปสั สนาญาณที่เหน็ นามรปู แจง้ ชดั ๓) ปีต ิ ความอ่มิ ใจท่ีแผซ่ ่านไปท่วั รา่ งกาย ๔) ปัสสัทธ ิ ความสงบกายและจิต ระงบั ความกระวนกระวายได้ ๕) สุข ความสขุ กายและจิตที่เย็นประณีต ๖) อธิโมกข์ ความน้อมใจเชื่อ มศี รัทธากล้าเปน็ ทผี่ อ่ งใสของจิตและเจตสิก ๗) ปัคคาหะ ความเพียรสมาํ่ เสมอประคองจิตไว้ดว้ ยดีในอารมณ์ ๘) อปุ ัฏฐาน ความทีส่ ติต้งั มั่นปรากฏชัด ความมีสตแิ ก่กล้า ๙) อุเบกขา ความมีจิตเปน็ กลางในสังขารทงั้ สนิ้ อยา่ งแรงกล้า ๑๐) นกิ นั ต ิ ความพอใจอาลัยในวิปัสสนาที่สขุ ุมละเอยี ด ผบู้ ำ�เพ็ญวปิ สั สนา เมือ่ วปิ สั สนูปกิเลส ๑๐ อย่างใดอย่างหนง่ึ เกิดข้นึ พงึ พิจารณารเู้ ทา่ ทนั ว่า ธรรม ดังกล่าวไม่ใช่วิปัสสนา หากแต่เป็นอุปกิเลสแห่งวิปัสสนา ไม่ใช่ทางมรรคผล แล้วไม่ยินดี ไม่หลงในธรรม ทเี่ ป็นอุปกเิ ลสนั้น โดยไม่หยุดความเพียรในการเจริญวปิ ัสสนา กจ็ ะสามารถยกจติ ข้นึ สู่วิปัสสนาญาณขนั้ สูงได้ สรุปความ ผเู้ จรญิ วปิ สั สนาจนไดว้ ปิ สั สนาญาณ ยอ่ มเหน็ นามรปู โดยความเปน็ ไตรลกั ษณ์ คอื ไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ข์ เป็นอนัตตา ตามความเป็นจริง จะไดร้ ับอานิสงสม์ ากกว่าการบำ�เพญ็ ทาน และการรกั ษาศีล โดยมีอานิสงส์ ๔ อยา่ ง ดังน้ี (๑) มีสตมิ ั่นคง ไมห่ ลงตาย (ตายอย่างมสี ติ) (๒) เกิดในสุคติภพ คอื โลกมนษุ ย์และโลกสวรรค์ (๓) เป็นอุปนสิ ัยแหง่ มรรค ผล นิพพาน ตอ่ ไปในเบอ้ื งหน้า (๔) ถ้ามีอุปนสิ ัยแห่งมรรค ผล นิพพาน ก็สามารถบรรลไุ ด้ในชาตนิ ี้ การบำ�เพ็ญวิปัสสนา จัดว่าเป็นปฏิบัติบูชาอันเลิศ อันประเสริฐท่ีสุดในพระพุทธศาสนา เพราะ สามารถท�ำ ใหพ้ น้ จากกเิ ลสและกองทกุ ข์ ปดิ ประตอู บายภมู ไิ ด้ ฉะนนั้ พทุ ธศาสนกิ ชน ไมพ่ งึ ประมาท หาโอกาส บ�ำ เพญ็ วิปสั สนา โดยถ้วนทวั่ กนั เถดิ แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

155 บทที่ ๕ แบบทดสอบ แบบทดสอบธรรมศึกษา ช้ันเอก ประกอบด้วย - แบบทดสอบกอ่ นเรียน - เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น - แบบทดสอบหลังเรยี น - เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แนวทางการจัดการเรยี นร้ธู รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

156 แบบทดสอบก่อนเรยี นวิชาธรรม ธรรมศกึ ษา ช้นั เอก จ�ำ นวน ๕๐ ข้อ ๕๐ คะแนน ค�ำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลอื กค�ำตอบทถี่ ูกต้องท่ีสุดเพียงค�ำตอบเดียว ๑. นพิ พิทา มีความหมายตรงกบั ขอ้ ใด ข. ความหนา่ ยในทุกข์ ก. ความดบั ทุกข ์ ง. ความหน่ายในอาหาร ค. ความหนา่ ยในอตั ภาพ ๒. สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้ ค�ำ วา่ สทู ง้ั หลาย หมายถึงใคร ก. หมู่สัตว ์ ข. หมพู่ ุทธบรษิ ัท ค. หมฆู่ ราวาส ง. หม่พู ระภิกษุ ๓. พวกผรู้ ูห้ าขอ้ งอยู่ไม่ ค�ำ วา่ ผรู้ ู้ หมายถงึ ใคร ก. คนมกี ารศกึ ษา ข. คนมีวิสัยทศั น์ ค. คนมสี ติ ง. คนเหน็ โลกตามจรงิ ๔. ผ้ขู ้องอย่ใู นโลก มอี าการเชน่ ใด ข. ตดิ ขา่ วสาร ก. ตดิ ส่ิงล่อใจ ง. ตดิ เพ่ือน ค. ตดิ ส่ิงเสพติด ๕. รูป เสียง กลิ่น รส ท่นี า่ ปรารถนา จดั เปน็ อะไร ก. กิเลสกาม ข. วตั ถุกาม ค. มาร ง. กเิ ลสตณั หา ๖. เสยี งประเภทใด จดั เปน็ บ่วงแห่งมาร ข. เสยี งผรสุ วาท ก. เสียงสรรเสริญ ง. เสียงมุสาวาท ค. เสยี งนนิ ทา ๗. การส�ำ รวมอนิ ทรยี ์ ต้องเร่ิมท่ีใคร ข. ครอู าจารย์ ก. พระสงฆ์ ง. นกั เรียน ค. ตนเอง ๘. เหน็ สังขารอยา่ งไร จงึ หน่ายในทกุ ข์ ข. เห็นด้วยสมาธิ ก. เห็นด้วยตา ง. เห็นด้วยฌาน ค. เห็นด้วยปัญญา แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศึกษา ช้ันเอก วชิ าธรรม

157 ๙. อนจิ จฺ ตา ก�ำ หนดรไู้ ด้ดว้ ยอาการอยา่ งไร ข. ไมอ่ ยูใ่ นอำ�นาจ ก. เกดิ ข้นึ แลว้ ดบั ไป ง. เป็นสภาพคงท่ี ค. ทนไดย้ าก ๑๐. ทุกขฺ ตา มีลักษณะเช่นไร ข. ไม่ใชต่ ัวตน ก. หาเจา้ ของมไิ ด้ ง. ทนไดย้ าก ค. ไม่เทยี่ ง ๑๑. ขอ้ ใดจดั เป็นทุกขป์ ระจำ�สังขาร ข. โศกเศรา้ ก. เกิด แก่ ตาย ง. เจ็บไข้ ค. หวิ กระหาย ๑๒. ปกณิ ณกทุกข์ ได้แก่ขอ้ ใด ข. เสียใจ ก. เกดิ แก่ ตาย ง. เจบ็ ไข้ ค. หนาวร้อน ๑๓. ขอ้ ใดจดั เปน็ นพิ ัทธทุกข์ ข. กลวั แพ้คดี ก. กงั วลใจ ง. ปวดปัสสาวะ ค. คบั แค้นใจ ๑๔. ข้อใดจดั เป็นสันตาปทุกข์ ข. ถูกกเิ ลสเผา ก. ถกู แดดเผา ง. ถกู ความหวิ เผา ค. ถูกไฟเผา ๑๕. ขอ้ ใดจัดเปน็ วปิ ากทกุ ข์ ข. แจ้งความ ก. คา้ ความ ง. ถกู จองจ�ำ ค. กลัวแพค้ ดี ๑๖. เสือ่ มยศ จดั เขา้ ในทกุ ข์ประเภทใด ข. นพิ ัทธทุกข์ ก. สันตาปทกุ ข์ ง. วิวาทมลู กทกุ ข์ ค. สหคตทกุ ข ์ ๑๗. อนตั ตลักขณะ ตรงกบั ขอ้ ใด ข. หาเจา้ ของมิได้ ก. ไมอ่ ย่ใู นอำ�นาจ ง. ถกู ทกุ ข้อ ค. แย้งตอ่ อตั ตา ๑๘. การไมเ่ หน็ สังขารเปน็ อนตั ตา เพราะอะไรปดิ บงั ไว้ ก. นจิ จสัญญา ข. ฆนสญั ญา ค. สนั ตต ิ ง. อิรยิ าบถ แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศึกษา ช้นั เอก วิชาธรรม

158 ๑๙. เห็นสงั ขารเป็นอนัตตา มีประโยชน์อยา่ งไร ก. ละความอยาก ข. ละความถือมนั่ ค. ละความโกรธ ง. ละความโลภ ๒๐. วริ าคะ ตรงกับขอ้ ใด ข. สิ้นวฏั ฏะ ก. สน้ิ กิเลส ง. ส้ินก�ำ หนดั ค. สนิ้ อาลัย ๒๑. คำ�วา่ ธรรมยังความเมาใหส้ รา่ งนนั้ หมายถงึ เมาในอะไร ก. ลาภยศสรรเสรญิ ข. สรุ าเมรัย ค. ความรัก ง. ส่ิงเสพตดิ ใหโ้ ทษ ๒๒. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ไวพจน์แหง่ วิราคะ ข. นิโรธ ก. นิพพาน ง. ตัณหักขยะ ค. อโลภะ ๒๓. เพราะสน้ิ กำ�หนัด จติ ย่อมหลุดพ้นจากอะไร ก. ตัณหา ข. อาสวะ ค. ราคะ ง. นิวรณ์ ๒๔. วิมุตตขิ อ้ ใด จดั เปน็ โลกิยะ ข. สมจุ เฉทวิมตุ ติ ก. ตทงั ควมิ ตุ ต ิ ง. นสิ สรณวมิ ตุ ติ ค. ปฏิปัสสัทธวิ ิมตุ ต ิ ๒๕. วมิ ตุ ติขอ้ ใด จัดเปน็ โลกุตตระ ข. ปฏปิ สั สทั ธวิ ิมตุ ติ ก. สมุจเฉทวมิ ตุ ต ิ ง. ถูกทกุ ข้อ ค. นิสสรณวมิ ตุ ติ ๒๖. หลดุ พน้ ดว้ ยอรยิ มรรค จดั เป็นวิมุตตใิ ด ข. สมุจเฉทวมิ ุตติ ก. ตทังควิมตุ ติ ง. นสิ สรณวิมุตติ ค. ปฏิปัสสทั ธวิ ิมตุ ติ ๒๗. พจิ ารณาเหน็ สังขารเปน็ ทุกข์ จดั เป็นญาณใด ก. อาทีนวญาณ ข. อทุ ยัพพยญาณ ค. ภยตูปัฏฐานญาณ ง. นพิ พทิ าญาณ ๒๘. พิจารณาเห็นสังขารอยา่ งไร จดั เปน็ ภยตูปฏั ฐานญาณ ก. เห็นเปน็ ทุกข ์ ข. เหน็ เปน็ ของย่อยยับ ค. เห็นความเกดิ ดับ ง. เหน็ เป็นของน่ากลัว แนวทางการจัดการเรยี นร้ธู รรมศึกษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

159 ๒๙. อรยิ มรรคข้อใดจดั เขา้ ในสีลวิสุทธิ ข. สมั มาวายามะ ก. สัมมาวาจา ง. สัมมาสมาธิ ค. สมั มาสต ิ ๓๐. อรยิ มรรคข้อใดจดั เข้าในจติ ตวสิ ุทธิ ข. สมั มากัมมันตะ ก. สมั มาวาจา ง. สมั มาวายามะ ค. สัมมาอาชีวะ ๓๑. พจิ ารณาเหน็ สังขารเปน็ ไตรลกั ษณ์ จดั เปน็ วิสทุ ธใิ ด ก. สลี วสิ ทุ ธิ ข. จิตตวสิ ุทธิ ค. ทิฏฐวิ สิ ุทธ ิ ง. กงั ขาวิตรณวิสทุ ธิ ๓๒. ความหมดจดแหง่ ญาณเปน็ เครอื่ งข้ามความสงสัย จดั เปน็ วสิ ุทธิใด ก. สลี วสิ ุทธิ ข. จติ ตวสิ ทุ ธิ ค. ทฏิ ฐิวสิ ุทธ ิ ง. กงั ขาวิตรณวสิ ทุ ธิ ๓๓. สขุ อน่ื ยิ่งกวา่ ความสงบย่อมไม่มี หมายถึงสงบจากอะไร ก. เวรภยั ข. กเิ ลส ค. ความวุน่ วาย ง. สงคราม ๓๔. ผเู้ พ่งความสงบพึงละโลกามสิ เสีย คำ�วา่ โลกามสิ หมายถึงอะไร ก. กามคุณ ข. กามกเิ ลส ค. กามฉนั ทะ ง. กามราคะ ๓๕ ข้อใดทำ�ให้เกิดสันติภายนอก ข. รกั ษาศีล ก. ให้ทาน ง. เจรญิ เมตตา ค. เจริญภาวนา ๓๖. จุดมุ่งหมายสูงสดุ ของพระพุทธศาสนาคืออะไร ก. เกิดในสวรรค ์ ข. เกดิ ในพรหมโลก ค. เข้าถงึ นพิ พาน ง. เขา้ เฝ้าพระพทุ ธเจา้ ๓๗. บาลีว่า สพเฺ พ ธมฺมา อนตตฺ าติ ยืนยันนพิ พานว่า ก. เปน็ อนัตตา ข. เปน็ อตั ตา ค. เป็นสภาวะสูญ ง. เปน็ สภาวะเท่ยี ง ๓๘. ปฏบิ ตั ิอยา่ งไร ชื่อว่าเขา้ ใกล้นิพพาน ข. ฟงั ธรรมเปน็ นิตย์ ก. รักษาศีลประจำ� ง. เหน็ ภยั ในความประมาท ค. ฝกึ จิตสมา่ํ เสมอ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ชั้นเอก วิชาธรรม

160 ๓๙. คำ�ว่า นพิ พานมใิ ช่โลกน้หี รือโลกอืน่ นัน้ ส่องความว่านิพพานเป็น ก. โลกทิพย ์ ข. โลกพิเศษ ค. โลกสมมติ ง. ไม่มขี อ้ ถูก ๔๐. ข้อใดกลา่ วถงึ สอุปาทเิ สสนิพพานไดถ้ กู ต้อง ก. ปฏบิ ตั เิ พ่ือละกิเลส ข. สิน้ กิเลส สิน้ ชีวิต ค. สน้ิ กเิ ลส มีชวี ติ อย่ ู ง. มกี ิเลส มชี วี ิต ๔๑. การบรรลุนพิ พานมผี ลอยา่ งไร ข. เปน็ สขุ อย่างยงิ่ ก. เพลิดเพลินอยา่ งยิง่ ง. ร่ืนรมยอ์ ยา่ งยิง่ ค. ยินดอี ย่างย่งิ ๔๒. สมถกมั มัฏฐาน มีความหมายตรงกับขอ้ ใด ก. การก�ำ จัดกิเลส ข. การละสังโยชน์ ค. การรู้แจ้งเห็นจรงิ ง. การท�ำ ใจใหส้ งบ ๔๓. ข้อใดเปน็ มูลกัมมัฏฐาน ข. รปู เสยี ง กล่นิ รส ก. ดิน นํา้ ลม ไฟ ง. ตา หู จมูก ล้ิน กาย ค. ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ๔๔. การเจรญิ มูลกัมมฏั ฐาน กำ�จดั นิวรณใ์ ด ข. พยาบาท ก. กามฉนั ทะ ง. วจิ ิกจิ ฉา ค. ถีนมทิ ธะ ๔๕. คนโกรธงา่ ย ควรเจรญิ กมั มฏั ฐานขอ้ ใด ข. อสภุ กมั มฏั ฐาน ก. กายคตาสติ ง. อานาปานัสสติ ค. เมตตาพรหมวหิ าร ๔๖. คนรกั ง่ายหน่ายเร็ว ควรเจริญกัมมัฏฐานขอ้ ใด ก. สีลานุสสต ิ ข. อสุภกัมมัฏฐาน ค. เมตตาพรหมวหิ าร ง. กสิณ ๔๗. การเจรญิ มรณัสสติ มีประโยชนอ์ ย่างไร ข. เกดิ ความทกุ ข์ ก. เกิดความไม่ประมาท ง. เกิดความสลดใจ ค. เกิดความวางเฉย ๔๘. เหน็ แจ้งอะไร จดั เป็นวปิ สั สนา ข. นาม ก. รปู ง. นามรูป ค. เวทนา แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศึกษา ชั้นเอก วิชาธรรม

161 ๔๙. ข้อใดเปน็ อารมณข์ องวิปสั สนา ข. นามรปู ก. พรหมวิหาร ง. กสณิ ค. อสภุ ะ ข. ไม่สะอาด ๕๐. พิจารณากายอย่างไร จึงจดั เป็นวิปสั สนา ง. ไม่เท่ียง ก. ปฏกิ ลู ค. นา่ เกลียด แนวทางการจดั การเรียนรูธ้ รรมศึกษา ช้นั เอก วชิ าธรรม

162 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นวชิ าธรรม ธรรมศึกษา ชน้ั เอก จ�ำ นวน ๕๐ ข้อ ๕๐ คะแนน ขอ้ ขอ้ ขอ้ ข้อ ขอ้ ข ๑. ข ๑๑. ก ๒๑. ก ๓๑. ค ๔๑. ง ๒. ข ๑๒. ข ๒๒. ค ๓๒. ง ๔๒. ค ๓. ง ๑๓. ง ๒๓. ข ๓๓. ข ๔๓. ก ๔. ก ๑๔. ข ๒๔. ก ๓๔. ก ๔๔. ค ๕. ข ๑๕. ง ๒๕. ง ๓๕. ข ๔๕. ข ๖. ก ๑๖. ค ๒๖. ข ๓๖. ค ๔๖. ก ๗. ค ๑๗. ง ๒๗. ก ๓๗. ก ๔๗. ง ๘. ค ๑๘. ข ๒๘. ง ๓๘. ง ๔๘. ข ๙. ก ๑๙. ข ๒๙. ก ๓๙. ง ๔๙. ง ๑๐. ง ๒๐. ง ๓๐. ง ๔๐. ค ๕๐. แนวทางการจัดการเรียนรูธ้ รรมศึกษา ช้ันเอก วิชาธรรม

163 แบบทดสอบหลังเรียนวชิ าธรรม ธรรมศกึ ษา ชนั้ เอก จ�ำ นวน ๕๐ ขอ้ ๕๐ คะแนน ค�ำชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนเลอื กค�ำตอบทถ่ี กู ต้องที่สุดเพียงค�ำตอบเดยี ว ๑. พิจารณากายอย่างไร จงึ จดั เป็นวิปัสสนา ก. ปฏกิ ูล ข. ไม่สะอาด ค. นา่ เกลียด ง. ไมเ่ ท่ียง ๒. ข้อใด เปน็ อารมณข์ องวปิ สั สนา ข. นามรูป ก. พรหมวิหาร ง. กสิณ ค. อสภุ ะ ๓. เห็นแจง้ อะไร จดั เป็นวิปสั สนา ข. นาม ก. รูป ง. นามรูป ค. เวทนา ๔. การเจรญิ มรณสั สติ มีประโยชนอ์ ย่างไร ข. เกดิ ความทุกข์ ก. เกดิ ความไมป่ ระมาท ง. เกิดความสลดใจ ค. เกิดความวางเฉย ๕. คนรักง่ายหน่ายเร็ว ควรเจริญกัมมัฏฐานขอ้ ใด ก. สีลานุสสต ิ ข. อสภุ กัมมัฏฐาน ค. เมตตาพรหมวหิ าร ง. กสณิ ๖. คนโกรธง่าย ควรเจริญกัมมฏั ฐานขอ้ ใด ข. อสภุ กมั มัฏฐาน ก. กายคตาสต ิ ง. อานาปานัสสติ ค. เมตตาพรหมวิหาร ๗. การเจริญมลู กัมมัฏฐาน กำ�จัดนิวรณ์ใด ข. พยาบาท ก. กามฉันทะ ง. วจิ ิกจิ ฉา ค. ถนี มิทธะ ๘. ข้อใดเป็นมลู กมั มัฏฐาน ข. รูป เสียง กลน่ิ รส ก. ดนิ น้าํ ลม ไฟ ง. ตา หู จมกู ลิ้น กาย ค. ผม ขน เลบ็ ฟนั หนงั แนวทางการจดั การเรียนรูธ้ รรมศึกษา ช้นั เอก วชิ าธรรม

164 ๙. สมถกัมมัฏฐาน มคี วามหมายตรงกับข้อใด ก. การกำ�จัดกิเลส ข. การละสังโยชน์ ค. การรู้แจ้งเห็นจรงิ ง. การท�ำ ใจให้สงบ ๑๐. การบรรลุนิพพานมีผลอยา่ งไร ข. เป็นสขุ อยา่ งยง่ิ ก. เพลดิ เพลนิ อย่างยง่ิ ง. รน่ื รมย์อยา่ งยิ่ง ค. ยินดีอยา่ งยิ่ง ๑๑. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ สอุปาทิเสสนิพพานได้ถกู ตอ้ ง ก. ปฏิบตั ิเพ่ือละกิเลส ข. สน้ิ กิเลส สนิ้ ชีวิต ค. ส้นิ กิเลส มชี วี ิตอย่ ู ง. มีกิเลส มีชีวิตอยู่ ๑๒. ค�ำ วา่ นพิ พานมิใช่โลกน้ีหรอื โลกอนื่ น้นั สอ่ งความวา่ นิพพานเป็น . . . ก. โลกทพิ ย์ ข. โลกพิเศษ ค. โลกสมมต ิ ง. ไมม่ ีขอ้ ถูก ๑๓. ปฏบิ ัตอิ ย่างไร ชอ่ื ว่าเขา้ ใกล้นิพพาน ข. ฟงั ธรรมเป็นนิตย์ ก. รกั ษาศลี ประจำ� ง. เห็นภยั ในความประมาท ค. ฝึกจิตสมาํ่ เสมอ ๑๔. บาลวี า่ สพเฺ พ ธมฺมา อนตตฺ าติ ยืนยันนิพพานว่า ก. เปน็ อนัตตา ข. เปน็ อัตตา ค. เปน็ สภาวะสูญ ง. เปน็ สภาวะเท่ียง ๑๕. จดุ มงุ่ หมายสูงสุดของพระพทุ ธศาสนาคืออะไร ก. เกิดในสวรรค์ ข. เกดิ ในพรหมโลก ค. เขา้ ถึงนพิ พาน ง. เข้าเฝา้ พระพทุ ธเจา้ ๑๖. ข้อใดทำ�ให้เกดิ สันตภิ ายนอก ก. ใหท้ าน ข. รกั ษาศลี ค. เจรญิ ภาวนา ง. เจริญเมตตา ๑๗. ผู้เพง่ ความสงบพึงละโลกามิสเสีย คำ�ว่า โลกามิส หมายถงึ อะไร ก. กามคณุ ข. กามกเิ ลส ค. กามฉันทะ ง. กามราคะ ๑๘. สุขอ่นื ยิ่งกว่าความสงบยอ่ มไม่มี หมายถึงสงบจากอะไร ก. เวรภัย ข. กเิ ลส ค. ความวนุ่ วาย ง. สงคราม แนวทางการจัดการเรียนรูธ้ รรมศึกษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

165 ๑๙. ความหมดจดแหง่ ญาณเปน็ เคร่อื งขา้ มความสงสยั จดั เป็นวสิ ุทธิใด ก. สลี วสิ ทุ ธิ ข. จิตตวสิ ทุ ธิ ค. ทฏิ ฐิวสิ ทุ ธ ิ ง. กงั ขาวติ รณวสิ ุทธิ ๒๐. พจิ ารณาเห็นสังขารเปน็ ไตรลักษณ์ จดั เปน็ วิสุทธใิ ด ก. สลี วสิ ทุ ธิ ข. จิตตวิสุทธิ ค. ทิฏฐิวิสทุ ธิ ง. กงั ขาวิตรณวิสทุ ธิ ๒๑. อริยมรรคข้อใด จัดเขา้ ในจิตตวสิ ทุ ธิ ข. สมั มากมั มนั ตะ ก. สัมมาวาจา ง. สมั มาวายามะ ค. สัมมาอาชีวะ ๒๒. อรยิ มรรคข้อใด จดั เขา้ ในสีลวิสทุ ธิ ข. สมั มาวายามะ ก. สัมมาวาจา ง. สมั มาสมาธิ ค. สมั มาสติ ๒๓. พจิ ารณาเหน็ สังขารอยา่ งไร จดั เปน็ ภยตปู ฏั ฐานญาณ ก. เหน็ เปน็ ทกุ ข์ ข. เห็นเปน็ ของยอ่ ยยบั ค. เหน็ ความเกิดดับ ง. เหน็ เป็นของน่ากลัว ๒๔. พิจารณาเหน็ สงั ขารเป็นทุกข์ จดั เปน็ ญาณใด ก. อาทีนวญาณ ข. อทุ ยัพพยญาณ ค. ภยตูปัฏฐานญาณ ง. นพิ พิทาญาณ ๒๕. หลดุ พน้ ดว้ ยอรยิ มรรค จัดเป็นวมิ ตุ ตใิ ด ข. สมจุ เฉทวมิ ุตติ ก. ตทังควมิ ุตติ ง. นสิ สรณวมิ ตุ ติ ค. ปฏปิ ัสสทั ธวิ มิ ุตต ิ ๒๖. วิมตุ ตขิ ้อใด จัดเปน็ โลกตุ ตระ ข. ปฏิปัสสัทธิวิมตุ ติ ก. สมจุ เฉทวมิ ุตติ ง. ถูกทกุ ขอ้ ค. นสิ สรณวิมตุ ติ ๒๗. วิมตุ ตขิ อ้ ใด จัดเปน็ โลกยิ ะ ข. สมุจเฉทวมิ ตุ ติ ก. ตทังควิมตุ ติ ง. นสิ สรณวิมตุ ติ ค. ปฏปิ ัสสัทธวิ มิ ตุ ติ ๒๘. เพราะส้นิ กำ�หนัด จิตย่อมหลุดพ้นจากอะไร ก. ตัณหา ข. อาสวะ ค. ราคะ ง. นิวรณ์ แนวทางการจัดการเรียนรธู้ รรมศึกษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

166 ๒๙. ขอ้ ใดไม่ใช่ไวพจนแ์ หง่ วริ าคะ ข. นิโรธ ก. นิพพาน ง. ตณั หกั ขยะ ค. อโลภะ ๓๐. ค�ำ ว่า ธรรมยงั ความเมาให้สร่างนั้น หมายถึงเมาในอะไร ก. ลาภยศสรรเสริญ ข. สรุ าเมรัย ค. ความรัก ง. สิง่ เสพตดิ ใหโ้ ทษ ๓๑. วิราคะ ตรงกับขอ้ ใด ข. สิน้ วฏั ฏะ ก. สิ้นกเิ ลส ง. ส้ินกำ�หนดั ค. สน้ิ อาลยั ๓๒. เห็นสังขารเปน็ อนัตตา มีประโยชน์อย่างไร ก. ละความอยาก ข. ละความถือม่ัน ค. ละความโกรธ ง. ละความโลภ ๓๓. การไมเ่ หน็ สังขารเป็นอนัตตา เพราะอะไรปิดบังไว้ ก. นิจจสญั ญา ข. ฆนสญั ญา ค. สันตต ิ ง. อริ ิยาบถ ๓๔. อนัตตลกั ขณะ ตรงกับขอ้ ใด ก. ไมอ่ ยูใ่ นอ�ำ นาจ ข. หาเจา้ ของมไิ ด้ ค. แย้งตอ่ อัตตา ง. ถกู ทกุ ข้อ ๓๕. เสอ่ื มยศ จัดเขา้ ในทกุ ขป์ ระเภทใด ข. นพิ ัทธทกุ ข์ ก. สันตาปทกุ ข ์ ง. ววิ าทมลู กทุกข์ ค. สหคตทกุ ข์ ๓๖. ข้อใดจดั เป็นวปิ ากทกุ ข์ ข. แจ้งความ ก. ค้าความ ง. ถกู จองจ�ำ ค. กลวั แพ้คดี ๓๗. ข้อใดจดั เป็นสันตาปทกุ ข์ ข. ถูกกิเลสเผา ก. ถกู แดดเผา ง. ถกู ความหิวเผา ค. ถูกไฟเผา ๓๘. ขอ้ ใดจดั เปน็ นพิ ัทธทกุ ข์ ข. กลวั แพค้ ดี ก. กงั วลใจ ง. ปวดปสั สาวะ ค. คับแคน้ ใจ แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศึกษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

167 ๓๙. ปกณิ ณกทุกข์ ไดแ้ กข่ ้อใด ข. เสียใจ ก. เกิด แก่ ตาย ง. เจบ็ ไข้ ค. หนาวรอ้ น ๔๐. ข้อใดจดั เป็นทกุ ขป์ ระจ�ำ สงั ขาร ข. โศกเศรา้ ก. เกดิ แก่ ตาย ง. เจบ็ ไข้ ค. หิวกระหาย ๔๑. ทุกขฺ ตา มลี ักษณะเชน่ ไร ข. ไม่ใช่ตัวตน ก. หาเจา้ ของมไิ ด้ ง. ทนไดย้ าก ค. ไมเ่ ทย่ี ง ๔๒. อนิจจฺ ตา กำ�หนดรไู้ ดด้ ้วยอาการอย่างไร ข. ไมอ่ ยู่ในอ�ำ นาจ ก. เกดิ ขน้ึ แลว้ ดับไป ง. เป็นสภาพคงที่ ค. ทนไดย้ าก ๔๓. เหน็ สังขารอย่างไร จึงหน่ายในทกุ ข์ ข. เห็นดว้ ยสมาธิ ก. เห็นดว้ ยตา ง. เห็นด้วยฌาน ค. เหน็ ด้วยปญั ญา ๔๔. การสำ�รวมอนิ ทรยี ์ ตอ้ งเริม่ ท่ีใคร ข. ครอู าจารย์ ก. พระสงฆ ์ ง. นกั เรียน ค. ตนเอง ๔๕. เสียงประเภทใด จัดเปน็ บว่ งแหง่ มาร ข. เสียงผรสุ วาท ก. เสยี งสรรเสรญิ ง. เสยี งมสุ าวาท ค. เสยี งนนิ ทา ๔๖. รูป เสยี ง กล่ิน รส ทน่ี ่าปรารถนา จัดเปน็ อะไร ก. กเิ ลสกาม ข. วตั ถุกาม ค. มาร ง. กเิ ลสตณั หา ๔๗. ผ้ขู อ้ งอยู่ในโลก มีอาการเช่นใด ข. ตดิ ขา่ วสาร ก. ติดส่ิงล่อใจ ง. ตดิ เพอ่ื น ค. ติดส่งิ เสพตดิ ๔๘. พวกผู้รหู้ าขอ้ งอยไู่ ม่ คำ�วา่ ผูร้ ู้ หมายถงึ ใคร ก. คนมกี ารศกึ ษา ข. คนมีวิสยั ทัศน์ ค. คนมีสติ ง. คนเห็นโลกตามจริง แนวทางการจัดการเรียนร้ธู รรมศึกษา ช้ันเอก วชิ าธรรม

168 ๔๙. สทู ้งั หลายจงมาดโู ลกน้ี ค�ำ วา่ สทู ั้งหลาย หมายถงึ ใคร ก. หมสู่ ตั ว ์ ข. หมูพ่ ุทธบริษัท ค. หม่ฆู ราวาส ง. หมพู่ ระภกิ ษุ ๕๐. นิพพิทา มีความหมายตรงกับขอ้ ใด ข. ความหนา่ ยในทกุ ข์ ก. ความดบั ทกุ ข์ ง. ความหน่ายในอาหาร ค. ความหนา่ ยในอตั ภาพ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ช้นั เอก วชิ าธรรม

169 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี นวิชาธรรม ธรรมศกึ ษา ชน้ั เอก จำ�นวน ๕๐ ขอ้ ๕๐ คะแนน ขอ้ ขอ้ ข้อ ข้อ ข้อ ๑. ง ๑๑. ค ๒๑. ง ๓๑. ง ๔๑. ง ๒. ข ๑๒. ง ๒๒. ก ๓๒. ข ๔๒. ก ๓. ง ๑๓. ง ๒๓. ง ๓๓. ข ๔๓. ค ๔. ก ๑๔. ก ๒๔. ก ๓๔. ง ๔๔. ค ๕. ข ๑๕. ค ๒๕. ข ๓๕. ค ๔๕. ก ๖. ค ๑๖. ข ๒๖. ง ๓๖. ง ๔๖. ข ๗. ก ๑๗. ก ๒๗. ก ๓๗. ข ๔๗. ก ๘. ค ๑๘. ข ๒๘. ข ๓๘. ง ๔๘. ง ๙. ง ๑๙. ง ๒๙. ค ๓๙. ข ๔๙. ข ๑๐. ข ๒๐. ค ๓๐. ก ๔๐. ก ๕๐. ข แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศึกษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

ภาคผนวก

171 บรรณานุกรม กองพุทธศาสนศึกษา. (๒๕๕๗). คู่มือการจัดการเรียนการสอนและสอบธรรมศึกษาในสถานศึกษา (พิมพค์ ร้งั ท่ี ๑). กรงุ เทพมหานคร : สำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา. (๒๕๕๗). หลกั สตู รการศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ม.๑ - ม.๓). กรุงเทพมหานคร : ส�ำ นกั งานพระพทุ ธ ศาสนาแหง่ ชาติ. ส�ำ นักงานแม่กองธรรมสนามหลวง. (๒๕๕๗). ผลการสอบธรรมสนามหลวง ฉบบั ดีวดี ี ประจำ�ปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๖. กรุงเทพมหานคร : สำ�นักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาต.ิ สำ�นักงานแมก่ องธรรมสนามหลวง. (๒๕๕๖). เรื่อง สอบธรรมของสนามหลวง แผนกธรรม พ.ศ. ๒๕๕๖ (พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑). กรุงเทพมหานคร : ส�ำ นักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ. สำ�นกั งานแมก่ องธรรมสนามหลวง. (๒๕๕๘). เร่ือง สอบธรรมของสนามหลวง แผนกธรรม พ.ศ. ๒๕๕๗ (พิมพค์ รง้ั ที่ ๑). กรุงเทพมหานคร: สำ�นักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาต.ิ แนวทางการจัดการเรยี นรูธ้ รรมศกึ ษา ช้ันเอก วิชาธรรม

172 คณะผูจ้ ดั ทำ� แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศกึ ษา ชน้ั ตรี โท เอก (วินัย) ๑. พระมหาสริ ิชยั สขุ ญาโณ วัดราชบพิธสถติ มหาสมี าราม ๒. นายอดศิ กั ด์ิ วไิ ลลกั ษณ์ ผ้อู ำ�นวยการโรงเรียนวัดราชบพิธ ๓. นายส�ำ ราญ เพยี รด ี รองผู้อำ�นวยการโรงเรียนวดั ราชบพิธ ๔. นางสาวนิภา บญุ คลงั ครชู ำ�นาญการพเิ ศษ ๕. นางสาวรตั นา ล้ิมศรีวาณชิ ยกร ครู แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศกึ ษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

173 แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ชั้นเอก วชิ าธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook