Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางจัดการเรียนรู้ธศ.เอก-ธรรม

แนวทางจัดการเรียนรู้ธศ.เอก-ธรรม

Published by suttasilo, 2021-06-28 10:53:24

Description: แนวทางจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษาเอกวิชาธรรม

Keywords: แนวทางจัดการเรียนรู้,วิชาธรรม,ธรรมศึกษาเอก

Search

Read the Text Version

44 ใบความรู้ท่ี ๒ หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทา ๑. นพิ ฺพินฺทํ วิรชฺชติ. : เม่อื เบอื่ หน่าย ย่อมสน้ิ กำ�หนัด ๒. วิราโค เสฏฺโ ธมฺมานํ. : วริ าคะ เป็นประเสรฐิ แหง่ ธรรมท้งั หลาย ๓. สขุ า วริ าคตา โลเก กามานํ สมตกิ กฺ โม. : วิราคะ คือ ความกา้ วล่วงเสียดว้ ยดีซ่งึ กามท้ังหลาย เป็นสขุ ในโลก อธิบาย วริ าคะ ความสิ้นกำ�หนัด หมายถึง ภาวะท่ีจิตปราศจากความก�ำ หนัดยินดีในกาม ความสำ�รอกจติ จากกเิ ลสกาม หรอื สภาวธรรมใดๆ ทีเ่ ปน็ ไปเพือ่ ความสนิ้ ก�ำ หนดั หายรัก หายอยากในกามสุขท้งั ปวง ไวพจนแ์ ห่งวริ าคะ ๘ อย่าง ในอัคคัปปสาทสูตร จตกุ กนิบาต อังคุตตรนกิ าย (พระไตรปฎิ กเลม่ ท่ี ๒๑) พระพทุ ธองค์ทรงแสดง วิราคะว่าเป็นยอดแห่งธรรมทง้ั ปวง ท้งั ที่เป็นสงั ขตธรรมและอสังขตธรรม แล้วทรงแจกไวพจนแ์ ห่งวริ าคะ คือ คำ�กำ�หนดใช้เรยี กแทนวริ าคะ เปน็ ๘ อยา่ ง คือ ๑. มทนิมฺมทโน ธรรมยงั ความเมาให้สร่าง ๒. ปิปาสวนิ โย ธรรมนำ�เสยี ซง่ึ ความระหาย ๓. อาลฺยสมคุ ฆฺ าโต ความถอนขนึ้ ด้วยดซี งึ่ อาลัย ๔. วฏฺฎูปจฺเฉโท ความเข้าไปตดั เสียซงึ่ วฏั ฏะ ๕. ตณหฺ กฺขโย ความสิ้นตณั หา ๖. วริ าโค ความสิ้นกำ�หนัด ๗. นิโรโธ ความดบั ๘. นพิ พฺ านํ ธรรมชาติหาเครื่องเสียบแทงมไิ ด้ ๑. มทนิมฺมทโน (มทนิมมทนะ) ธรรมยังความเมาให้สร่าง คำ�ว่า ความเมา หมายถึง ความเมาในอารมณ์อันย่ัวยวนให้เกิดความเมา เช่น ความเมาในชาติกำ�เนิดสูง อำ�นาจ บริวาร ลาภ ยศ ต�ำ แหน่ง หน้าท่กี ารงาน ความสขุ สรรเสรญิ วยั ความไมม่ ีโรค ชวี ติ เปน็ ตน้ ธรรมทีท่ �ำ ให้จิตสรา่ งคอื คลายจาก ความเมาดงั กล่าว จัดเปน็ วริ าคะ ๒. ปิปาสวินโย (ปิปาสวินยะ) ธรรมนำ�เสียซึ่งความระหาย คำ�ว่า ความระหาย หรือกระหาย หมายถึง ความกระวนกระวายใจอันมีสาเหตุมาจากตัณหาคือความทะยานอยาก ซ่ึงเปรียบเหมือนอาการ กระหายนํา้ ธรรมทนี่ ำ�ออกคือระงบั ความกระวนกระวายใจ จัดเปน็ วิราคะ แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศึกษา ชัน้ เอก วชิ าธรรม

45 ๓. อาลฺยสมุคฺฆาโต (อาลัยสมุคฆาตะ) ความถอนข้ึนด้วยดีซึ่งอาลัย คำ�ว่า อาลัย หมายถึง ความติดพัน ความห่วงใยในกามคุณ ๕ คือ รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ อันเป็นอารมณ์ท่ีน่าปรารถนา น่าพอใจ ธรรมท่ถี อนอาลยั คอื พรากจติ ออกจากกามคณุ ๕ จัดเป็นวริ าคะ ๔. วฏฏฺ ปู จเฺ ฉโท (วฏั ฏปู จั เฉทะ) ความเขา้ ไปตดั เสยี ซง่ึ วฏั ฏะ ค�ำ วา่ วฏั ฏะ หมายถงึ ความเวยี นตาย เวียนเกิดในภูมิทงั้ ๓ คอื กามาวจรภมู ิ รปู าวจรภูมิ อรปู าวจรภูมิ อย่างไม่รู้จักจบส้นิ ด้วยอำ�นาจกิเลส กรรม วิบาก ที่เรียกว่า วัฏฏะ ๓ กิเลส กรรม และวิบาก ทั้ง ๓ นี้จัดเป็นวงจรแห่งทุกข์ กล่าวคือ เม่ือเกิดกิเลส ก็เป็นเหตุให้ทำ�กรรม เมื่อทำ�กรรมก็ได้รับวิบากคือผลของกรรมนั้น เมื่อได้รับวิบากก็เป็นเหตุให้เกิดกิเลส แล้วทำ�กรรมได้รับวิบากหมนุ เวียนต่อไปเชน่ นไี้ มร่ ู้จักจบสิ้น ธรรมท่ตี ดั วฏั ฏะใหข้ าด จัดเป็นวิราคะ ๕. ตณฺหกฺขโย (ตัณหักขยะ) ความส้ินตัณหา คำ�ว่า ตัณหา หมายถึง ความทะยานอยาก ความดิ้นรนอยากได้ มี ๓ อย่าง คือ (๑) กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม ได้แก่ อาการที่จิตแส่หา อยากได้กามคุณ ๕ (๒) ภวตัณหา ความทะยานอยากในภพ ได้แก่ อาการท่ีจิตด้ินรนอยากเป็นนั่นเป็นนี่ หรืออยากเกดิ อยากมอี ยู่อยากคงอยตู่ ลอดไป (๓) วิภวตัณหา ความทะยานอยากในวภิ พ ไดแ้ ก่ อาการทจี่ ิต ขัดข้องคับแค้น อยากพ้นไปจากภาวะที่ตนไม่ปรารถนา อยากตายไปเสีย อยากขาดสูญ ธรรมท่ีขจัดตัณหา ใหส้ นิ้ ไป จดั เปน็ วิราคะ ๖. วิราโค (วิราคะ) ความสิ้นกำ�หนัด หมายถึง ภาวะที่จิตปราศจากความกำ�หนัดรักใคร่ หรอื ภาวะที่ฟอกจติ จากน้าํ ย้อมคือกเิ ลสกามไดอ้ ยา่ งเด็ดขาด ธรรมที่ทำ�ให้ส้นิ กำ�หนดั จดั เป็นวิราคะ ๗. นิโรโธ (นิโรธ) ความดับ หมายถึง ความดับตัณหา หรือความดับทุกข์ ธรรมท่ีดับตัณหา จดั เปน็ วริ าคะ ๘. นิพฺพานํ (นิพพาน) ธรรมชาติหาเคร่ืองเสียบแทงมิได้ หมายถึง ภาวะจิตท่ีดับกิเลสและ กองทกุ ขไ์ ดส้ ้ินเชงิ อนั เปน็ จุดหมายสงู สุดของพระพุทธศาสนา ในท่นี ้ีเพยี งแต่นำ�ค�ำ มาเปน็ ไวพจน์ของวิราคะ เท่าน้ัน รายละเอยี ดจะกล่าวในหัวข้อวา่ ดว้ ย นพิ พาน สรปุ ความ วริ าคะ ทม่ี าในล�ำ ดบั แหง่ นพิ พทิ า ตามอทุ เทสวา่ “นพิ พฺ นิ ทฺ ํ วริ ชชฺ ติ : เมอื่ เบอ่ื หนา่ ย ยอ่ มสน้ิ ก�ำ หนดั ” จดั เปน็ อริยมรรค คอื ญาณอนั ใหส้ ำ�เร็จความเปน็ พระอรยิ ะ มี ๔ อย่าง คอื โสดาปัตติมรรค สกทาคามมิ รรค อนาคามมิ รรค และอรหตั ตมรรค วิราคะ ในอทุ เทสวา่ วริ าโค เสฏฺโ ธมมฺ านํ : วริ าคะ เปน็ ประเสริฐแห่งธรรมท้ังหลาย เป็นไวพจน์ ของนพิ พาน สว่ นวิราคะ ทแ่ี ปลว่า สิ้นกำ�หนดั ในอทุ เทสแห่งวมิ ุตตทิ ี่ว่า วิราคา วมิ ุจจฺ ติ : เพราะส้นิ กำ�หนดั ยอ่ มหลุดพ้น เป็นชอ่ื ของอรยิ มรรค วริ าคะ เปน็ ได้ทงั้ อริยมรรคและอริยผล คอื ถ้ามาหรอื ปรากฏในลำ�ดับแหง่ นพิ พิทา หรอื มาคกู่ ับ วิมุตติ จัดเปน็ อริยมรรค ถ้ามาตามล�ำ พงั จัดเป็นอริยผล แนวทางการจัดการเรยี นร้ธู รรมศึกษา ชนั้ เอก วชิ าธรรม

46 เวลา..............ช่ัวโมง แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ ธรรมศกึ ษาช้นั เอก สาระการเรยี นรู้วิชาธรรม เรอื่ ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทา ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ธศ ๑ รู้และเข้าใจหลักธรรมของพระพุทธศาสนา มีศรัทธาทถี่ ูกต้อง ยึดมนั่ และปฏิบัติ ตามหลกั ธรรม เพอ่ื อยู่รว่ มกันอยา่ งสันติสุข ๒. ผลการเรียนรู้ รแู้ ละเขา้ ใจหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏปิ ทา ๓. สาระส�ำ คัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทา เป็นหลักธรรมท่ีว่าด้วยวิมุตติ ความหลุดพ้น หากบคุ คลยึดมน่ั และปฏบิ ตั ิไดจ้ ะอยู่ในสังคมดว้ ยความเปน็ สุข ๔. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนอธบิ ายหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทาได้ ๕. สาระการเรยี นร/ู้ เนือ้ หา - วิมตุ ติ ความหลุดพ้น ๖. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขัน้ สบื คน้ และเชื่อมโยง ๑. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทา โดยใช้ ค�ำ ถามเพอ่ื พัฒนาทักษะกระบวนการคดิ และเช่อื มโยงไปสกู่ ารเรียนรู้ - นกั เรยี นเคยเรียนเรอื่ งหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏปิ ทาบา้ งหรือไม่ - หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นปรมัตถปฏปิ ทามอี ะไรบา้ ง - นักเรียนเคยได้ยินไดเ้ ห็นหลักธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นปรมตั ถปฏิปทาจากที่ไหนบ้าง ข้ันฝึก ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา สว่ นปรมัตถปฏปิ ทา วมิ ตุ ติ ความหลดุ พน้ จากใบความรทู้ ่ี ๓ ๓. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มจัดเตรียมการเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรยี น แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ชนั้ เอก วชิ าธรรม

47 ขน้ั ประยกุ ต์ ๔. ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ ออกมานำ�เสนอตามหัวข้อที่ตนเองได้รับมอบหมายเพอื่ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ๕. นกั เรียนในแต่ละกล่มุ ตอบคำ�ถามตามใบกิจกรรมท่ี ๓ ๖. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปในแต่ละหัวขอ้ ๗. ภาระงาน/ชิ้นงาน ที ่ ภาระงาน ชิน้ งาน ๑ ตอบคำ�ถามเกยี่ วกบั หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏปิ ทา ใบกจิ กรรมท่ี ๓ ๘. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ ๑. ใบความรทู้ ่ี ๓ เรื่อง หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นปรมัตถปฏปิ ทา ๒. ใบกจิ กรรมท่ี ๓ ๙. การวดั ผลและประเมนิ ผล สิ่งท่ตี อ้ งการวัด วธิ ีวัด เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน อธบิ ายหลักธรรม ของพระพุทธศาสนา - ตรวจผลงาน - แบบประเมิน ผ่าน = ไดค้ ะแนนตง้ั แต่รอ้ ยละ ๖๐ ขนึ้ ไป ส่วนปรมตั ถปฏิปทาได้ ผลงาน ไม่ผา่ น = ได้คะแนนต่ํากว่าร้อยละ ๖๐ แนวทางการจดั การเรยี นร้ธู รรมศกึ ษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

48 ขอ้ ท่ี แบบประเมินผลงาน ๑ คะแนน ๔ - ๕ คะแนน ใบกจิ กรรมท่ี ๔ ตอบค�ำ ถามถกู ต้องและ ๑ - ๑๐ ตอบคำ�ถามถูกตอ้ ง ตรงประเดน็ น้อย ตรงประเดน็ ระดบั คะแนน ๒ - ๓ คะแนน ตอบค�ำ ถามถกู ตอ้ ง ตรงประเดน็ สว่ นใหญ ่ เกณฑ์ เกณฑก์ ารตัดสนิ คะแนน ผา่ น ๓ คะแนนขนึ้ ไป ไมผ่ ่าน รอ้ ยละ ๒ คะแนนลงมา ๖๐ ขึน้ ไป ต่ํากว่า ๖๐ หมายเหต ุ เกณฑ์การตดั สนิ สามารถปรับใชต้ ามความเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศึกษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

49 ใบกิจกรรมที่ ๓ หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นปรมัตถปฏิปทา ชือ่ กล่มุ .................... ช่ือ.........................................................................................ช้ัน.....................เลขท.ี่ .......................... ชอื่ .........................................................................................ชน้ั .....................เลขที.่ .......................... ชือ่ .........................................................................................ช้นั .....................เลขท.่ี .......................... ค�ำ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี จำ�นวน ๑ ข้อ (๕ คะแนน) ๑. อธิบายถึงความหมายและการปฏบิ ัตติ นของวิมุตติ ความหลดุ พ้น .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศึกษา ชนั้ เอก วชิ าธรรม

50 เฉลยใบกจิ กรรมท่ี ๓ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นปรมตั ถปฏิปทา ๑. อธบิ ายถึงความหมายและการปฏบิ ัตติ นของวมิ ุตติ ความหลดุ พน้ ตอบ วิมตุ ติ ความหลุดพน้ หมายถึง ความทจ่ี ิตหลุดพน้ จากอาสวะทัง้ หลาย อาสวะ แปลวา่ สภาวะอนั หมกั ดอง เป็นช่อื ของเมรยั ก็มี เชน่ คำ�วา่ ผลาสโว (ผลาสวะ) นาํ้ ดอง ผลไม้ เปน็ ชือ่ ของกิเลสก็มี เช่น ค�ำ ว่า กามาสโว (กามาสวะ) กิเลสเปน็ เหตุใคร่ หรอื กิเลสเนอ่ื งดว้ ยกาม ในท่นี ี้ เปน็ ชอื่ ของกเิ ลส หมายถงึ กิเลสทีห่ มักดองนอนเนอื่ งอยใู่ นจิตสนั ดาน มี ๓ อยา่ ง คอื (๑) กามาสวะ ไดแ้ ก่ กิเลสที่หมักดองอยู่ในจิตสันดานอันเกี่ยวเนื่องด้วยกามคุณ ๕ ตรงกับกามตัณหา (๒) ภวาสวะ ได้แก่ กเิ ลสทหี่ มกั ดองอยใู่ นจติ สนั ดานดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจตดิ ใจอยใู่ นภพ ตรงกบั ภวตณั หา (๓) อวชิ ชาสวะ ไดแ้ ก่ กเิ ลสท่หี มักดองอยู่ในจติ สนั ดานอนั เนือ่ งมาจากอวชิ ชา ความไม่รูแ้ จง้ ในอรยิ สัจ ๔ ตรงกับโมหะ วิมุตติ ในอุทเทสท่ี ๑ ไดแ้ ก่ อริยผล เพราะสืบเนือ่ งมาจากวิราคะ วมิ ตุ ติ ในอทุ เทสท่ี ๒ ได้แก่ อริยมรรค เพราะได้แสดงไว้ในลำ�ดับแห่งการรู้แจ้งอริยสัจ ๔ วิมุตติ ในอุทเทสท่ี ๓ ได้แก่ อริยผล เพราะ แสดงญาณที่สืบเนื่องมาจากวิมุตติ ซึ่งเรียกอกี อยา่ งวา่ วิมุตติญาณทัสสนะ วมิ ตุ ติ ในพระไตรปฎิ กไมไ่ ดก้ �ำ หนดชดั วา่ หลดุ พน้ ในขณะแหง่ มรรคหรอื ในขณะแหง่ ผล แตจ่ �ำ แนก ไวเ้ ปน็ ๒ ค�ำ โดยชดั เจน คอื ค�ำ วา่ วมิ ตุ ติ กบั ค�ำ วา่ วมิ ตุ ตญิ าณทสั สนะ เชน่ ทปี่ รากฏในพระบาลแี สดงอเสขธรรม ขนั ธ์ ๕ คอื สลี ขันธ์ สมาธิขนั ธ์ ปัญญาขนั ธ์ วมิ ตุ ติขันธ์ และวิมตุ ตญิ าณทสั สนขนั ธ์ สีลขนั ธ์ สมาธิขันธ์ ปญั ญาขนั ธ์ หมายถึง กองหรือหมวดหมูธ่ รรมคอื ศีล สมาธิ และปัญญา ทั้งท่ี เป็นโลกิยะและโลกุตตระ วิมุตติขันธ์ หมายถึง กองหรือหมวดหมู่ธรรมคือ วิมุตติ เป็นโลกุตตระอยา่ งเดียว สว่ นวมิ ตุ ตญิ าณทสั สนขนั ธ์ หมายถงึ กองหรอื หมวดหมธู่ รรมคอื ปจั จเวกขณญาณ เปน็ ญาณทพ่ี จิ ารณาทบทวน มรรค ผล และนพิ พาน ซงึ่ เกดิ ขนึ้ แกพ่ ระอรหนั ตเ์ ทา่ นนั้ จดั เปน็ โลกยิ ะอยา่ งเดยี ว เพราะไมไ่ ดท้ �ำ หนา้ ทลี่ ะกเิ ลส เพยี งแต่ตรวจดูกเิ ลสทลี่ ะไดห้ รอื ยังละไม่ได้ (กลา่ วตามนยั อรรถกถาสงั ยุตตนิกาย มหาวรรค) ดงั นัน้ วิมตุ ติ ตรงกับอุทเทสที่ ๑ ว่า “วิราคา วมิ ุจฺจติ : เพราะสน้ิ ก�ำ หนดั ย่อมหลดุ พ้น” เป็นกิจ ของจติ อนั เปน็ ส่วนเบอ้ื งต้น ส่วนวิมตุ ติญาณทสั สนะ ตรงกบั อุทเทสที่ ๓ วา่ “วมิ ุตฺตสฺมึ วิมตุ ฺตมติ ิ าณํ โหติ : เมือ่ หลุดพ้นแล้ว ญาณว่า “หลดุ พ้นแลว้ ” ยอ่ มมี เปน็ กจิ แห่งปญั ญา วิมุตติ ๒ ตามนัยพระบาลี ๑) เจโตวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอำ�นาจแห่งใจ หมายถึง ความหลุดพ้นจากกิเลสสาสวะ เครอื่ งร้อยรดั ผกู พันทั้งปวงด้วยการฝึกจิตเปน็ ปฏิปทาข้อปฏบิ ตั ิของผบู้ ำ�เพ็ญเพยี รทเี่ จรญิ สมถะและวิปัสสนา มาโดยล�ำ ดบั จนสำ�เรจ็ เป็นพระอรหันต์ แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศึกษา ชนั้ เอก วชิ าธรรม

51 ๒) ปญั ญาวมิ ตุ ติ ความหลดุ พน้ ดว้ ยอ�ำ นาจแหง่ ปญั ญา หมายถงึ ความหลดุ พน้ ดว้ ยอ�ำ นาจปญั ญา ทร่ี ู้เห็นตามเป็นจรงิ หรอื ภาวะทจี่ ิตใชป้ ัญญาพจิ ารณาอันเปน็ เหตใุ ห้หลดุ พน้ จากเครอื่ งร้อยรดั ผกู พันคอื กิเลส และอวชิ ชาไดอ้ ยา่ งเบด็ เสรจ็ เดด็ ขาด เปน็ ปฏปิ ทาขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องผบู้ �ำ เพญ็ เพยี รทม่ี งุ่ มนั่ เจรญิ วปิ สั สนาอยา่ งเดยี ว จนส�ำ เร็จเป็นพระอรหนั ต์ วมิ ตุ ตทิ ั้ง ๒ อยา่ งนีเ้ ป็นเครอ่ื งแสดงปฏปิ ทาท่ีใหส้ ำ�เร็จความหลดุ พ้นของพระอรหนั ต์ ในพระบาลี จะมีคำ�วา่ “อนาสวํ : อนั หาอาสวะมิได”้ กำ�กบั เป็นคุณบทใหร้ วู้ ่าเปน็ โลกุตตรธรรม เชน่ พระบาลีว่า“อาสวานํ ขยา อนาสวํ เจโตวิมุตตฺ ึ ปญฺาวมิ ุตฺตึ ... : กระท�ำ ใหแ้ จ้งซง่ึ เจโตวิมตุ ติ ปญั ญาวิมุตติอันหาอาสวะมไิ ดเ้ พราะ อาสวะทั้งหลายส้ินไป” ไว้เสมอ จึงเป็นเหตุให้วินิจฉัยว่า วิมุตติท่ีเป็นสาสวะคือมีอาสวะหรือเป็นโลกิยะก็มี เมื่อกำ�หนดความในพระบาลีธัมมจักกัปปวัตตนสูตรที่ว่า “อกุปฺปา เม วิมุตฺติ : วิมุตติของเราไม่กำ�เริบ” กเ็ ปน็ เหตใุ หว้ นิ จิ ฉยั วา่ วมิ ตุ ตมิ ที งั้ ทเ่ี ปน็ อกปุ ปธรรม ธรรมทก่ี �ำ เรบิ ไมไ่ ด้ คอื เปน็ โลกตุ ตระ และเปน็ กปุ ปธรรม ธรรมทก่ี ำ�เรบิ ได้ คอื เป็นโลกยิ ะ ดว้ ยเหตุนี้ ในคัมภีรอ์ รรถกถา ท่านจึงแบง่ วมิ ุตตเิ ป็น ๕ อย่าง วมิ ตุ ติ ๕ ตามนยั อรรถกถา ๑) ตทังควิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยองค์นั้นๆ หมายถึง ภาวะที่จิตพ้นจากกิเลสด้วยอาศัยธรรม ตรงกนั ขา้ มทเ่ี ปน็ คปู่ รบั กนั เชน่ เกดิ เมตตา หายโกรธ เกดิ สงั เวช หายก�ำ หนดั เปน็ ตน้ เปน็ การหลดุ พน้ ชวั่ คราว โดยระงับอกศุ ลเจตสิกได้เป็นคราวๆ จัดเปน็ โลกยิ วมิ ุตติ ๒) วกิ ขมั ภนวมิ ตุ ติ ความหลดุ พน้ ดว้ ยขม่ ไว้ หมายถงึ ความหลดุ พน้ จากกเิ ลสกามและอกศุ ลธรรม ทั้งหลายได้ด้วยกำ�ลังฌาน อาจสะกดไว้ได้นานกว่าตทังควิมุตติ แต่เม่ือฌานเสื่อมแล้ว กิเลสอาจเกิดข้ึนอีก จดั เปน็ โลกยิ วมิ ุตติ ๓) สมุจเฉทวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยตัดขาด หมายถึง ความหลุดพ้นจากกิเลสด้วยอริยมรรค โดยทกี่ เิ ลสไม่สามารถเกดิ ขนึ้ ในจติ สันดานได้อกี จดั เปน็ โลกตุ ตรวมิ ตุ ติ ๔) ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยสงบราบ หมายถึง ความหลุดพ้นจากกิเลสด้วยอริยผล จดั เปน็ โลกุตตรวิมุตติ ๕) นิสสรณวมิ ุตติ ความหลดุ พน้ ดว้ ยสลัดออกได้ หมายถงึ ภาวะท่จี ิตหลดุ พน้ จากกเิ ลสเสรจ็ สิ้น แลว้ ดำ�รงอยูใ่ นภาวะท่ีหลดุ พ้นจากกิเลสนั้นตลอดไป ได้แก่ นิพพาน จัดเปน็ โลกุตตรวมิ ตุ ติ การบัญญัติตทังควิมุตติ เป็นเกณฑ์กำ�หนดว่า วิมุตติท่ีเป็นของปุถุชนก็มี การบัญญัติวิกขัมภน วิมุตติ เป็นเกณฑ์กำ�หนดว่า เจโตวิมุตติที่เป็นสาสวะคือมีอาสวะก็มี การบัญญัติสมุจเฉทวิมุตติและ ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำ�หนดว่า วิมุตติเป็นได้ทั้งอริยมรรคทั้งอริยผล การบัญญัตินิสสรณวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำ�หนดว่า วิมุตติท่ีเป็นปรมัตถสัจจะนั้น ได้แก่ พระนิพพาน หรือเป็นเกณฑ์กำ�หนดให้ครบ โลกุตตรธรรม ๓ การปฏบิ ตั ิ ฝกึ จติ เปน็ ปฏปิ ทาขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องผบู้ �ำ เพญ็ เพยี รทเี่ จรญิ สมถะและวปิ สั สนามาโดยล�ำ ดบั จนส�ำ เร็จเปน็ พระอรหนั ต์ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

52 ใบความรูท้ ่ี ๓ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏปิ ทา วิมตุ ติ ความหลดุ พ้น ๑. วริ าคา วิมุจฺจติ. เพราะสิน้ ก�ำ หนดั ยอ่ มหลดุ พน้ . ๒. กามาสวาปิ จิตตฺ ํ วิมุจจฺ ติ ถฺ , ภวาสวาปิ จติ ตฺ ํ วิมุจฺจติ ถฺ , อวชิ ชฺ าสวาปิ จิตฺตํ วิมจุ ฺจติ ฺถ. จิตหลุดพน้ แลว้ แม้จากอาสวะเน่ืองดว้ ยกาม จิตหลดุ พ้นแลว้ แม้จากอาสวะเนอ่ื งดว้ ยภพ จิตหลุดพน้ แล้ว แม้จากอาสวะเนื่องดว้ ยอวิชชา. ๓. วิมุตฺตสมฺ ึ วิมตุ ฺตมติ ิ าณํ โหต.ิ เมือ่ หลุดพน้ แล้ว ญาณว่าหลดุ พ้นแล้ว ย่อมมี. อธบิ าย วิมุตติ ความหลุดพน้ หมายถงึ ความทจ่ี ติ หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย อาสวะ แปลวา่ สภาวะอันหมกั ดอง เปน็ ชื่อของเมรยั กม็ ี เช่น ค�ำ วา่ ผลาสโว (ผลาสวะ) นํา้ ดอง ผลไม้ เป็นชื่อของกิเลสก็มี เช่น คำ�ว่า กามาสโว (กามาสวะ) กิเลสเป็นเหตุใคร่ หรือกิเลสเน่ืองด้วยกาม ในที่นี้เปน็ ช่อื ของกิเลส หมายถึง กเิ ลสที่หมักดองนอนเน่อื งอยใู่ นจติ สนั ดาน มี ๓ อยา่ ง คือ (๑) กามาสวะ ไดแ้ ก่ กเิ ลสทหี่ มักดองอยใู่ นจติ สันดานอนั เกย่ี วเนอ่ื งด้วยกามคณุ ๕ ตรงกับกามตัณหา (๒) ภวาสวะ ไดแ้ ก่ กเิ ลสทหี่ มกั ดองอยใู่ นจติ สนั ดานดว้ ยอ�ำ นาจความพอใจตดิ ใจอยใู่ นภพ ตรงกบั ภวตณั หา (๓) อวชิ ชาสวะ ไดแ้ ก่ กเิ ลสท่ีหมักดองอยู่ในจิตสนั ดานอันเน่อื งมาจากอวชิ ชา ความไมร่ ู้แจ้งในอริยสัจ ๔ ตรงกับโมหะ วมิ ตุ ติ ในอุทเทสท่ี ๑ ได้แก่ อรยิ ผล เพราะสืบเน่ืองมาจากวริ าคะ วมิ ตุ ติ ในอุทเทสท่ี ๒ ได้แก่ อริยมรรค เพราะได้แสดงไว้ในลำ�ดับแห่งการรู้แจ้งอริยสัจ ๔ วิมุตติ ในอุทเทสที่ ๓ ได้แก่ อริยผล เพราะ แสดงญาณทสี่ ืบเนื่องมาจากวมิ ตุ ติ ซึง่ เรียกอีกอยา่ งวา่ วมิ ุตติญาณทัสสนะ วมิ ตุ ติ ในพระไตรปฎิ กไมไ่ ดก้ �ำ หนดชดั วา่ หลดุ พน้ ในขณะแหง่ มรรคหรอื ในขณะแหง่ ผล แตจ่ �ำ แนก ไวเ้ ปน็ ๒ ค�ำ โดยชดั เจน คอื ค�ำ วา่ วมิ ตุ ติ กบั ค�ำ วา่ วมิ ตุ ตญิ าณทสั สนะ เชน่ ทปี่ รากฏในพระบาลแี สดงอเสขธรรม ขนั ธ์ ๕ คือ สีลขันธ์ สมาธขิ นั ธ์ ปญั ญาขนั ธ์ วิมตุ ติขันธ์ และวมิ ตุ ติญาณทัสสนขนั ธ์ สีลขนั ธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ หมายถึง กองหรือหมวดหมธู่ รรมคอื ศลี สมาธิ และปญั ญา ท้ัง ท่เี ป็นโลกยิ ะและโลกตุ ตระ วิมตุ ตขิ ันธ์ หมายถึง กองหรอื หมวดหมธู่ รรมคอื วมิ ุตติ เปน็ โลกตุ ตระอยา่ งเดยี ว สว่ นวมิ ตุ ตญิ าณทสั สนขนั ธ์ หมายถงึ กองหรอื หมวดหมธู่ รรมคอื ปจั จเวกขณญาณ เปน็ ญาณทพี่ จิ ารณาทบทวน มรรค ผล และนพิ พาน ซงึ่ เกดิ ขน้ึ แกพ่ ระอรหนั ตเ์ ทา่ นน้ั จดั เปน็ โลกยิ ะอยา่ งเดยี ว เพราะไมไ่ ดท้ �ำ หนา้ ทลี่ ะกเิ ลส เพียงแตต่ รวจดกู ิเลสทีล่ ะไดห้ รอื ยังละไม่ได้ (กลา่ วตามนยั อรรถกถาสังยตุ ตนิกาย มหาวรรค) แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศึกษา ช้ันเอก วชิ าธรรม

53 ดังนั้น วิมตุ ติ ตรงกับอุทเทสที่ ๑ ว่า “วิราคา วมิ จุ จฺ ติ : เพราะส้ินกำ�หนัด ย่อมหลดุ พน้ ” เป็นกิจ ของจติ อันเปน็ สว่ นเบอ้ื งต้น ส่วนวมิ ุตตญิ าณทัสสนะ ตรงกบั อทุ เทสท่ี ๓ ว่า “วมิ ุตตฺ สมฺ ึ วิมุตตฺ มติ ิ าณํ โหติ : เมือ่ หลดุ พน้ แล้ว ญาณว่า “หลดุ พ้นแลว้ ” ยอ่ มมี เปน็ กจิ แห่งปัญญา วิมตุ ติ ๒ ตามนยั พระบาลี ๑) เจโตวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอำ�นาจแห่งใจ หมายถึง ความหลุดพ้นจากกิเลสาสวะ เครอื่ งรอ้ ยรดั ผกู พนั ทง้ั ปวงดว้ ยการฝกึ จติ เปน็ ปฏปิ ทาขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องผบู้ �ำ เพญ็ เพยี รทเ่ี จรญิ สมถะและวปิ สั สนา มาโดยล�ำ ดับจนสำ�เร็จเป็นพระอรหนั ต์ ๒) ปญั ญาวมิ ตุ ติ ความหลดุ พน้ ดว้ ยอ�ำ นาจแหง่ ปญั ญา หมายถงึ ความหลดุ พน้ ดว้ ยอ�ำ นาจปญั ญา ทร่ี เู้ ห็นตามเปน็ จรงิ หรอื ภาวะท่ีจิตใช้ปัญญาพจิ ารณาอันเป็นเหตุใหห้ ลุดพน้ จากเครอื่ งรอ้ ยรัดผกู พนั คือกิเลส และอวชิ ชาไดอ้ ยา่ งเบด็ เสรจ็ เดด็ ขาด เปน็ ปฏปิ ทาขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องผบู้ �ำ เพญ็ เพยี รทมี่ งุ่ มนั่ เจรญิ วปิ สั สนาอยา่ งเดยี ว จนสำ�เร็จเป็นพระอรหนั ต์ วมิ ุตติทั้ง ๒ อยา่ งนเ้ี ป็นเคร่ืองแสดงปฏิปทาทใี่ ห้สำ�เร็จความหลดุ พน้ ของพระอรหนั ต์ ในพระบาลี จะมีค�ำ วา่ “อนาสวํ : อันหาอาสวะมไิ ด้” กำ�กบั เปน็ คณุ บทให้รวู้ า่ เปน็ โลกตุ ตรธรรม เช่นพระบาลีวา่ “อาสวานํ ขยา อนาสวํ เจโตวิมุตตฺ ึ ปญฺาวิมตุ ตฺ ึ ... : กระทำ�ให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปญั ญาวิมุตตอิ ันหาอาสวะมิได้เพราะ อาสวะทั้งหลายส้ินไป” ไว้เสมอ จึงเป็นเหตุให้วินิจฉัยว่า วิมุตติที่เป็นสาสวะคือมีอาสวะหรือเป็นโลกิยะก็มี เม่ือกำ�หนดความในพระบาลีธัมมจักกัปปวัตตนสูตรที่ว่า “อกุปฺปา เม วิมุตฺติ : วิมุตติของเราไม่กำ�เริบ” กเ็ ป็นเหตุให้วินจิ ฉยั ว่า วมิ ุตตมิ ีทั้งทีเ่ ปน็ อกปุ ปธรรม ธรรมทก่ี �ำ เริบไมไ่ ด้ คอื เปน็ โลกตุ ตระ และเป็นกุปปธรรม ธรรมท่ีก�ำ เรบิ ได้ คือเป็นโลกิยะ ด้วยเหตุน้ี ในคัมภรี อ์ รรถกถา ท่านจึงแบ่งวิมุตติเปน็ ๕ อย่าง วมิ ุตติ ๕ ตามนัยอรรถกถา ๑) ตทังควิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยองค์นั้นๆ หมายถึง ภาวะท่ีจิตพ้นจากกิเลสด้วยอาศัยธรรม ตรงกนั ขา้ มทเี่ ปน็ คปู่ รบั กนั เชน่ เกดิ เมตตา หายโกรธ เกดิ สงั เวช หายก�ำ หนดั เปน็ ตน้ เปน็ การหลดุ พน้ ชวั่ คราว โดยระงับอกศุ ลเจตสกิ ไดเ้ ป็นคราวๆ จัดเป็นโลกิยวมิ ุตติ ๒) วกิ ขมั ภนวมิ ตุ ติ ความหลดุ พน้ ดว้ ยขม่ ไว้ หมายถงึ ความหลดุ พน้ จากกเิ ลสกามและอกศุ ลธรรม ทั้งหลายได้ด้วยกำ�ลังฌาน อาจสะกดไว้ได้นานกว่าตทังควิมุตติ แต่เม่ือฌานเสื่อมแล้ว กิเลสอาจเกิดขึ้นอีก จัดเป็นโลกยิ วิมุตติ ๓) สมุจเฉทวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยตัดขาด หมายถึง ความหลุดพ้นจากกิเลสด้วยอริยมรรค โดยทก่ี เิ ลสไม่สามารถเกิดข้ึนในจติ สันดานได้อีก จดั เปน็ โลกุตตรวมิ ตุ ติ ๔) ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยสงบราบ หมายถึง ความหลุดพ้นจากกิเลสด้วยอริยผล จดั เป็นโลกตุ ตรวิมุตติ ๕) นิสสรณวมิ ตุ ติ ความหลุดพน้ ด้วยสลัดออกได้ หมายถงึ ภาวะทจ่ี ติ หลุดพ้นจากกิเลสเสรจ็ สิ้น แลว้ ด�ำ รงอยใู่ นภาวะท่ีหลุดพ้นจากกิเลสนนั้ ตลอดไป ได้แก่ นพิ พาน จดั เป็นโลกุตตรวิมตุ ติ แนวทางการจัดการเรียนรธู้ รรมศึกษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

54 การบัญญัติตทังควิมุตติ เป็นเกณฑ์กำ�หนดว่า วิมุตติท่ีเป็นของปุถุชนก็มี การบัญญัติวิกขัมภน วิมุตติ เป็นเกณฑ์กำ�หนดว่า เจโตวิมุตติท่ีเป็นสาสวะคือมีอาสวะก็มี การบัญญัติสมุจเฉทวิมุตติและ ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำ�หนดว่า วิมุตติเป็นได้ทั้งอริยมรรคท้ังอริยผล การบัญญัตินิสสรณวิมุตติ เป็นเกณฑ์กำ�หนดว่า วิมุตติที่เป็นปรมัตถสัจจะน้ัน ได้แก่ พระนิพพาน หรือเป็นเกณฑ์กำ�หนดให้ครบ โลกุตตรธรรม ๓ สรุปความ วิมตุ ติ หมายถึง ความทจ่ี ิตหลุดพน้ จากอาสวะทงั้ หลาย ในพระบาลจี �ำ แนกเป็น ๒ คอื เจโตวมิ ตุ ติ และปัญญาวิมตุ ติ ส่วนในอรรถกถาจ�ำ แนกเป็น ๕ คือ ตทังควมิ ตุ ติ วิกขมั ภนวมิ ุตติ สมจุ เฉทวิมตุ ติ ปฏปิ ัสสทั ธิ วมิ ุตติ และนสิ สรณวมิ ุตติ โดย ๒ ขอ้ แรก จดั เป็นโลกยิ ะ สว่ น ๓ ข้อหลงั จดั เปน็ โลกุตตระ วิมุตติของพระอรหันต์ มีไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญาสมบูรณ์ ส่วนผู้แรกปฏิบัติธรรม การหัดทำ�จิตให้ปลอดจากกิเลสกามและอกุศลวิตกอย่างอื่นได้ ก็นับว่าได้รับประโยชน์จากการศึกษาเรื่อง วิมุตติในเบ้อื งต้นนีแ้ ลว้ แนวทางการจัดการเรยี นร้ธู รรมศึกษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๔ 55 ธรรมศึกษาชั้นเอก สาระการเรยี นรูว้ ิชาธรรม เวลา..............ชว่ั โมง เร่อื ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏิปทา ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ธศ ๑ รแู้ ละเขา้ ใจหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา มศี รัทธาท่ถี กู ต้อง ยึดมน่ั และปฏบิ ตั ิ ตามหลกั ธรรม เพือ่ อยูร่ ว่ มกันอย่างสันตสิ ุข ๒. ผลการเรียนรู้ รแู้ ละเขา้ ใจหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏปิ ทา ๓. สาระสำ�คัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทา เป็นหลักธรรมที่ว่าด้วยวิสุทธิ ความหมดจด หากบคุ คลยึดม่นั และปฏบิ ตั ิไดจ้ ะอยูใ่ นสังคมดว้ ยความเปน็ สุข ๔. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นกั เรยี นอธบิ ายหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมัตถปฏปิ ทาได้ ๕. สาระการเรียนรู/้ เนื้อหา - วิสุทธิ ความหมดจด ๖. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้ันสบื ค้นและเชื่อมโยง ๑. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทา โดยใช้ คำ�ถามเพอ่ื พฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดและเชือ่ มโยงไปสูก่ ารเรยี นรู้ - นกั เรยี นเคยเรยี นเร่อื งหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นปรมัตถปฏปิ ทาบา้ งหรือไม่ - หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏิปทามอี ะไรบา้ ง - นกั เรยี นเคยได้ยินไดเ้ ห็นหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมัตถปฏปิ ทาจากท่ีไหนบ้าง ขัน้ ฝกึ ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ส่วนปรมตั ถปฏิปทา วิสุทธิ ความหมดจด จากใบความรทู้ ี่ ๔ ๓. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มจัดเตรยี มการเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศึกษา ช้ันเอก วชิ าธรรม

56 ขัน้ ประยุกต์ ๔. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมาน�ำ เสนอตามหวั ข้อทตี่ นเองไดร้ ับมอบหมายเพื่อแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ๕. นกั เรยี นในแต่ละกลมุ่ ตอบคำ�ถามตามใบกจิ กรรมที่ ๔ ๖. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปในแตล่ ะหวั ข้อ ๗. ภาระงาน/ชิน้ งาน ท่ี ภาระงาน ชิ้นงาน ๑ ตอบคำ�ถามเกีย่ วกบั หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา ส่วนปรมัตถปฏิปทา ใบกจิ กรรมที่ ๔ ๘. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ ๑. ใบความรูท้ ่ี ๔ เร่อื ง หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทา ๒. ใบกจิ กรรมที่ ๔ ๙. การวดั ผลและประเมินผล สง่ิ ท่ีตอ้ งการวดั วธิ วี ดั เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน อธิบายหลักธรรมของ พระพุทธศาสนา - ตรวจผลงาน - แบบประเมิน ผา่ น = ได้คะแนนตงั้ แต่ร้อยละ ๖๐ ข้ึนไป สว่ นปรมตั ถปฏิปทาได้ ผลงาน ไม่ผา่ น = ไดค้ ะแนนต่ํากว่าร้อยละ ๖๐ แนวทางการจดั การเรยี นรูธ้ รรมศกึ ษา ชัน้ เอก วชิ าธรรม

ขอ้ ท่ี แบบประเมินผลงาน 57 ๔ - ๕ คะแนน ใบกิจกรรมที่ ๔ ๑ คะแนน ๑ - ๑๐ ตอบค�ำ ถามถูกตอ้ ง ตอบคำ�ถามถูกตอ้ งและ ตรงประเด็น ระดบั คะแนน ตรงประเดน็ นอ้ ย ๒ - ๓ คะแนน ตอบค�ำ ถามถกู ต้อง ตรงประเดน็ ส่วนใหญ ่ เกณฑ์ เกณฑก์ ารตัดสิน คะแนน ผ่าน ๓ คะแนนขึน้ ไป ไมผ่ า่ น รอ้ ยละ ๒ คะแนนลงมา ๖๐ ข้นึ ไป ตา่ํ กวา่ ๖๐ หมายเหตุ เกณฑก์ ารตดั สนิ สามารถปรับใช้ตามความเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ช้ันเอก วชิ าธรรม

58 ใบกิจกรรมที่ ๔ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทา ชื่อกลุ่ม.................... ชอ่ื .........................................................................................ชั้น.....................เลขที่........................... ช่ือ.........................................................................................ชน้ั .....................เลขท่.ี .......................... ชื่อ.........................................................................................ชัน้ .....................เลขท่ี........................... ค�ำ ชแี้ จง ให้นกั เรียนตอบคำ�ถามต่อไปน้ี จำ�นวน ๑ ข้อ (๕ คะแนน) ๑. อธบิ ายถงึ ความหมายและการปฏบิ ตั ติ นของวิสทุ ธิ ความหมดจด .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจดั การเรียนรูธ้ รรมศึกษา ชัน้ เอก วิชาธรรม

59 เฉลยใบกิจกรรมที่ ๔ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏปิ ทา ๑. อธิบายถึงความหมายและการปฏิบตั ิตนของวิสุทธิ ความหมดจด ตอบ วสิ ทุ ธิ ความหมดจด หมายถงึ ความบรสิ ทุ ธิ์ คอื การช�ำ ระจติ ของตนใหห้ มดจดบรสิ ทุ ธผิ์ อ่ งแผว้ จากกเิ ลสาสวะทง้ั ปวง ความหมดจดน้ยี อ่ มเกิดได้ด้วยปัญญา หลักความหมดจดในลัทธิศาสนาอ่ืน : ลัทธิศาสนาพราหมณ์ถือว่า ความหมดจดจะมีได้ด้วย การชำ�ระบาป โดยทำ�พิธีลอยบาปทิ้งเสียในแม่น้ําคงคา (หรือเรียกว่าอาบน้ําชำ�ระบาปได้) ลัทธิศาสนาอ่ืนๆ เชน่ คริสต์ศาสนาถือว่า ความหมดจดจะมีไดด้ ้วยการสวดมนต์อ้อนวอนพระผู้เปน็ เจ้าใหท้ รงยกโทษให้ หลกั ความหมดจดในพระพทุ ธศาสนา : พระพุทธศาสนาถอื วา่ ความหมดจดจะมีได้ดว้ ยปญั ญา เทา่ นน้ั จะมดี ว้ ยเหตอุ น่ื หาไดไ้ ม่ นน่ั หมายความวา่ บญุ บาปจะมไี ดเ้ พราะตนเองเปน็ ผทู้ �ำ ไมม่ ใี ครมาชว่ ยท�ำ ให้ บรสิ ุทธิห์ รอื ไมบ่ รสิ ุทธิไ์ ด้ ดงั พระบาลใี นธรรมบท ขุททกนกิ าย (พระไตรปิฎก เลม่ ท่ี ๒๕/๓๗) วา่ “ทำ�บาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง ไม่ทำ�บาปเอง ย่อมหมดจดเอง ความหมดจดและ ความเศร้าหมอง เปน็ ของเฉพาะตน คนอน่ื ยงั คนอนื่ ให้หมดจดและเศร้าหมองหาไดไ้ ม่” อธบิ ายความ : บคุ คลท่ีท�ำ บาปอกศุ ลหรือความช่วั ใดๆ ยอ่ มได้ชื่อว่าเปน็ คนชัว่ บาปอกุศลท่ีเขาท�ำ ก็อำ�นวยผลกรรมให้เศร้าหมอง เปรียบเหมือนเขม่าหรือของโสโครกท่ีบุคคลจับต้องก็พลอยเปื้อนไปด้วย สว่ นผูไ้ ม่กระทำ�บาปอกุศล ท�ำ แตบ่ ญุ กุศล ยอ่ มบรสิ ุทธิ์หมดจด เปรยี บเหมอื นผา้ ขาวทส่ี ะอาด ฉะนั้น เพราะ ในโลกนี้ไม่มีใครสามารถทำ�ให้ผู้อื่นบริสุทธ์ิหมดจดหรือเศร้าหมองได้ ข้อน้ีพึงเห็นได้ในบทพระธรรมคุณว่า “ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ : พระธรรม อันวิญญูชนท้ังหลายพึงรู้ได้เฉพาะตน” จึงสรุปความได้ว่า ความเศร้าหมองเกิดจากการท�ำ บาป ความหมดจดเกดิ จากการไมท่ ำ�บาป ความบริสุทธิภ์ ายในย่อมมดี ว้ ยปัญญา กล่าวคอื ความหมดจดจากกเิ ลสาสวะ อันนอนเนื่องอยู่ ภายในขนั ธสนั ดาน จะต้องอาศัยปัญญาพจิ ารณาตามความเปน็ จรงิ เรยี กว่า วิปสั สนาญาณ ๙ ซึง่ จดั เปน็ ขนั้ ๆ สงู ขนึ้ ไปตามล�ำ ดบั ๙ ข้ัน ดังนี้ ๑. อุทยัพพยญาณ หรือ อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ญาณหยั่งเห็นความเกิดและความดับ คือ ปัญญาพิจารณาความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งสังขารหรือเบญจขันธ์ จนเห็นประจักษ์ชัดว่าสังขาร ท้งั หลายทัง้ ปวง เกิดข้นึ แล้วกต็ ้องดบั ไป ๒. ภังคญาณ หรือ ภังคานุปัสสนาญาณ ญาณหยั่งเห็นความเส่ือมสลาย คือปัญญาพิจารณา เหน็ ว่า สงั ขารทัง้ หลายทัง้ ปวง มกี ารแตกสลายย่อยยบั ไป ๓. อาทีนวญาณ หรือ อาทนี วานปุ ัสสนาญาณ ญาณหยัง่ เห็นโทษ คอื ปญั ญาพิจารณาเห็นสังขาร ทง้ั หลายท้ังปวงวา่ เปน็ โทษ มีความบกพรอ่ ง เจือปนด้วยทุกข์ ๔. ภยตูปัฏฐานญาณ ญาณหยั่งเห็นสังขารปรากฏโดยเป็นของน่ากลัว คือปัญญาพิจารณาเห็น สังขารทง้ั หลายทัง้ ปวง ทง้ั ทเี่ ปน็ ไปในอดีต ปัจจุบนั และอนาคต ล้วนปรากฏเป็นของน่าสะพรึงกลวั แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศึกษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

60 ๕. นิพพทิ าญาณ หรอื นพิ พิทานุปสั สนาญาณ ญาณหยัง่ เห็นความหน่าย คือปัญญาพิจารณา เหน็ สงั ขารวา่ เปน็ โทษน่ากลวั เชน่ นั้นแลว้ จงึ เกิดความหนา่ ยในสังขาร ๖. มุญจิตุกัมยตาญาณ หรือ มุญจิตุกามยตาญาณ ญาณหยั่งเห็นด้วยใคร่จะพ้นไปเสีย คือ ปัญญาพิจารณาจนเกิดความหนา่ ยสงั ขารทงั้ หลายแล้วเกดิ ความปรารถนาท่ีจะพ้นไปเสยี จากสงั ขารเหลา่ น้นั ๗. ปฏสิ งั ขาญาณ หรอื ปฏสิ งั ขานปุ สั สนาญาณ ญาณพจิ ารณาหาทาง คอื ปญั ญาพจิ ารณาสงั ขาร ท้ังหลาย โดยยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์ เพ่ือหาอบุ ายทจ่ี ะปลดเปลือ้ งจิตออกไปจากความหน่ายนั้น ๘. สังขารุเปกขาญาณ ญาณวางเฉยในสังขาร คือปัญญาพิจารณารู้เห็นสังขารตามความ เป็นจรงิ ว่า มคี วามเปน็ อยู่ เป็นไปอย่างนน้ั เปน็ ธรรมดา จึงวางจิตเปน็ กลางในสงั ขารทัง้ หลาย จากนัน้ จึงละ ความเก่ียวเกาะในสังขารเสยี ได้ ๙. สัจจานุโลมิกญาณ หรือ อนุโลมญาณ ญาณอันเป็นไปโดยอนุโลมแก่การหย่ังรู้อริยสัจ คือ เมอื่ เกดิ สงั ขารเุ ปกขาญาณจติ กเ็ ปน็ กลางตอ่ สงั ขารทงั้ หลายและญาณนนั้ มงุ่ ตรงตอ่ นพิ พานจงึ เกดิ ปญั ญาทส่ี งู ขนึ้ อีกข้ันหนึ่ง เป็นขั้นสุดท้ายของวิปัสสนาญาณ คือญาณอันคล้อยต่อการตรัสรู้อริยสัจ ย่อมเกิดขึ้นเป็นลำ�ดับ ถัดมา จากนั้นก็จะเกดิ โคตรภญู าณ ญาณครอบโคตร คอื ปัญญาทอ่ี ยใู่ นลำ�ดบั ก่อนถึงอรยิ มรรค ซึ่งข้ามพ้น ความเปน็ ปถุ ชุ นข้นึ สคู่ วามเปน็ อรยิ บคุ คล แล้วเกดิ มรรคญาณให้สำ�เร็จความเป็นพระอรยิ บคุ คลต่อไป วิสทุ ธิ ความหมดจด (อกี บรรยายหนง่ึ ) ๓. มคฺคานฏฺงฺคิโก เสฏโ ... ... ... เอเสว มคโฺ ค นตถฺ ญโฺ ฺ ทสฺสนสฺส วสิ ทุ ธฺ ิยา. ทางมีองค์ ๘ เป็นประเสรฐิ สุดแหง่ ทางทง้ั หลาย ... ทางนน่ั แลไมม่ ีทางอน่ื เพอ่ื ความหมดจดแหง่ ทัสสนะ อธบิ าย ทางมอี งค์ ๘ เรยี กวา่ อรยิ มรรค แปลวา่ ทางอนั ประเสรฐิ ทางอนั ท�ำ บคุ คลใหเ้ ปน็ อรยิ ะ ทางอนั ท�ำ ผ้ปู ฏบิ ตั ิให้ห่างไกลจากกิเลส เรียกเต็มวา่ อริยอัฏฐังคิกมรรค แปลว่า ทางประกอบด้วยองค์ ๘ อันประเสริฐ หมายความวา่ ทางน้มี ีสว่ นประกอบ ๘ อย่าง เปน็ ขอ้ สดุ ท้ายของอริยสัจ ๔ เรยี กวา่ ทุกขนิโรธคามนิ ปี ฏิปทา อริยสัจ อริยสัจคือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์หรือมัคคสัจจ์ เรียกอีกอย่างว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ข้อปฏิบัติอันมีในท่ามกลางหรือทางสายกลาง หมายถึง ข้อปฏิบัติ วิธีการ หรือทางดำ�เนินชีวิตที่เป็นกลาง สอดคลอ้ งกับกฎธรรมชาติ ไมเ่ อียงเข้าไปหาทางสดุ โต่งท้งั สองทาง คอื กามสขุ ัลลกิ านุโยค การประกอบตนให้ หมกมนุ่ อยใู่ นกามสขุ และอตั ตกลิ มถานโุ ยค การประกอบตนใหล้ �ำ บากเดอื ดรอ้ น โดยคดิ วา่ เปน็ หนทางพน้ ทกุ ข์ ในธมั มจักกัปปวัตตนสูตร (พระไตรปิฎก เล่มท่ี ๔) พระพทุ ธองค์ทรงแสดงอรยิ มรรคมีองค์ ๘ ไว้ มีอธิบายดังนี้ ๑. สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ หมายถึง ความเห็นถกู ตอ้ งใน ๒ ระดับ คอื ๑) ความเหน็ ชอบระดบั โลกยิ ะ ไดแ้ ก่ ความเหน็ ถกู ตอ้ งตามคลองธรรม คอื เหน็ วา่ บญุ บาปมจี รงิ ผลแห่งทานที่ให้แล้วมีจริง มารดาบิดามีบุญคุณจริง เป็นต้น ความเห็นชอบในระดับน้ีเป็นการเตรียมจิต ให้พร้อมทจี่ ะพัฒนาตนเข้าสู่การฝึกอบรมตามหลกั ศีลธรรม แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

61 ๒) ความเห็นชอบระดับโลกุตตระ ได้แก่ ความเห็นถูกต้องตามความเป็นจริงตามสภาวะ ตามเหตุปจั จยั คอื ปัญญาอันเหน็ ชอบในอริยสจั ๔ คือ เหน็ ทกุ ข์ สมทุ ัย นิโรธ มรรค เหน็ ไตรลกั ษณ์ หรอื เห็นปฏจิ จสมุปบาท คือเห็นวา่ สภาวธรรมทั้งปวงอาศยั กันและกันเกิดขน้ึ สรรพสง่ิ เปน็ เหตุเป็นผลกนั เกดิ ขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป เม่อื มีสง่ิ น้เี ปน็ เหตุ จึงมีสิง่ น้ีเป็นผลตามมาดังนี้ เปน็ ตน้ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำ�ริชอบ หมายถึง ความนึกตรึกตรองในทางท่ีถูกต้องเป็นกุศล ประกอบด้วยมโนสจุ ริต หรอื ความคดิ นึกท่เี ปน็ ไปในกศุ ลวิตก ๓ อย่าง คือ ๑) ความคดิ นึกทปี่ ลอดจากกาม หรือความคิดในทางเสียสละ ๒) ความคิดนึกที่ปลอดจากพยาบาท หรือความคิดที่ประกอบด้วยเมตตา ๓) ความคดิ นึกท่ีปลอดจากการเบยี ดเบียน หรือความคดิ ทป่ี ระกอบด้วยกรณุ า ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ หมายถึง การใช้วาจาติดต่อส่ือสารเก่ียวข้องกับผู้อื่นอย่างถูกต้อง หรือการใช้คำ�พูดตามหลัก วจีสุจริต ๔ คือ ๑) ละเว้นจากการพูดเท็จ ๒) ละเว้นจากการพูดส่อเสียด ๓) ละเว้นจากการพูดคำ�หยาบ ๔) ละเวน้ จากการพูดเพ้อเจอ้ ๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ หมายถึง การมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกทางกายอย่างถูกต้อง หรือการปฏิบัติตามหลัก กายสุจริต ๓ คือ ๑) ละเว้นจากการผลาญชีวิต ๒) ละเว้นจากการลักทรัพย์ ๓) ละเวน้ จากการประพฤตผิ ดิ ในกาม ๕. สัมมาอาชีวะ เล้ียงชีวิตชอบ หมายถึง การประกอบอาชีพสุจริต โดยเว้นวิธีเลี้ยงชีพที่ผิด เชน่ การหลอกลวง การใชเ้ ลห่ เ์ หล่ยี ม การใช้กลโกง การขดู รีด การฉอ้ ฉล หรอื การค้าก�ำ ไรเกนิ ควร เป็นตน้ รวมถงึ การเวน้ จากการค้าขายที่ผิดธรรมกอ่ ให้เกดิ โทษ ๕ อยา่ ง ไดแ้ ก่ การคา้ เครือ่ งประหาร การค้ามนษุ ย์ การค้าสตั ว์มชี ีวิต การค้าสิง่ เสพตดิ มึนเมาใหโ้ ทษ และการคา้ ยาพษิ ๖. สัมมาวายามะ พยายามชอบ หมายถึง การมีความเพียรพยายามที่ถูกต้อง โดยเพียร ละความชั่ว สร้างและรักษาความดีตามหลักการสร้างความเพียรชอบท่ีเรียกว่า สัมมัปปธาน ๔ คือ ๑) เพียรระวังไม่ให้ความช่ัวเกิดข้ึน ๒) เพียรละกำ�จัดความชั่วที่เกิดขึ้นแล้ว ๓) เพียรบำ�เพ็ญกุศลท่ียังไม่เกิด ให้เกิดมขี ึน้ ๔) เพียรรักษากุศลท่เี กิดแลว้ ใหต้ ัง้ ม่ันเจริญยง่ิ ขึ้นไป ๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ หมายถึง การต้ังสติกำ�หนดพิจารณาส่ิงทั้งหลายให้รู้เห็นตามความ เปน็ จรงิ ซงึ่ เรยี กวา่ การเจรญิ สตปิ ฏั ฐาน ๔ คอื การตงั้ สตกิ �ำ หนดพจิ ารณาในเรอื่ งภายในตวั ของคนเราทส่ี �ำ คญั ๔ เรอ่ื ง อนั ได้แก่ กาย เวทนา จติ ธรรม วา่ เป็นแต่เพยี งกาย เวทนา จิต ธรรม ไม่ใชส่ ัตว์ บคุ คล ตัวตนเราเขา ๘. สัมมาสมาธิ ตั้งใจม่ันชอบ หมายถึง การทำ�จิตให้แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียวที่แสดงออกมา ในทางกุศลโดยส่วนเดียว และสามารถข่มระงับกิเลสเคร่ืองกั้นจิตมิให้บรรลุคุณธรรมความดีไว้ได้ ด้วยหลกั การฝกึ จติ ใหเ้ ป็นสมาธิท่จี ัดลำ�ดบั เปน็ ขน้ั ๆ ตง้ั แต่ข้นั หยาบไปจนถึงขนั้ ละเอยี ด ทเี่ รยี กวา่ ฌาน ๔ คอื ปฐมฌาน ทุตยิ ฌาน ตตยิ ฌาน และจตุตถฌาน อรยิ มรรคเป็นยอดทางปฏบิ ตั ิ ในอคั คปั ปสาทสูตร (พระไตรปิฎก เลม่ ที่ ๒๑) พระพุทธองค์ตรัสยกย่อง มรรคมีองค์ ๘ วา่ เป็น ยอดแห่งสังขตธรรม คือธรรมท่ีปัจจัยปรุงแต่งหรือเกิดจากเหตุปัจจัย เช่นเดียวกับที่ตรัสยกย่องว่าเป็นทาง ประเสริฐสุดแห่งทางท้ังหลายตามอุทเทสที่ยกมาแสดงน้ัน ทั้งนี้เพราะองค์ธรรมท้ัง ๘ แห่งอริยมรรคนั้น นับเป็นสทั ธรรมอนั ดี จัดเปน็ กศุ ลธรรม เมือ่ รวมกนั เข้าทัง้ ๘ ประการ ยอ่ มเปน็ องคธ์ รรมทดี่ เี ยย่ี ม แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศึกษา ช้นั เอก วชิ าธรรม

62 อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ สมั พันธก์ บั วิสุทธิ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ เป็นเหตุให้ถึงความหมดจดแห่งทัสสนะคือปัญญา โดยมีความสัมพันธ์กับ วสิ ทุ ธิ ๗ คอื ทางแหง่ ความหมดจดดว้ ยปญั ญาทอ่ี ดุ หนนุ สง่ เสรมิ กนั ใหส้ งู ขนึ้ ไปเปน็ ขนั้ ๆ ไปตามล�ำ ดบั ๗ ขนั้ ดงั นี้ ๑. สลี วสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ ศลี หมายถงึ การรกั ษาศลี ตามภมู ชิ นั้ ของตนใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ และใหเ้ ปน็ ไปเพื่อสมาธิ สัมมาวาจา สัมมากัมมนั ตะ สัมมาอาชีวะ สงเคราะห์เข้าในข้อนี้ ๒. จติ ตวสิ ุทธิ ความหมดจดแหง่ จติ หมายถงึ ความหมดจดแห่งจติ ที่เกดิ จากการบำ�เพ็ญสมาธจิ ติ จนไดบ้ รรลฌุ านสมาบตั ิ สมั มาวายามะ สมั มาสติ สมั มาสมาธิ สงเคราะห์เข้าในข้อนี้ ๓. ทิฏฐวิ ิสุทธิ ความหมดจดแห่งทฏิ ฐิ หมายถงึ ความหมดจดแห่งความคิดเห็นทเ่ี กิดจากความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถมองเห็นนามรูปหรือเบญจขนั ธต์ ามทเี่ ป็นจรงิ ๔. กงั ขาวติ รณวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ ญาณเปน็ เหตขุ ้ามพน้ ความสงสยั หมายถงึ ความหมดจด แหง่ ปญั ญาทพ่ี จิ ารณาเหน็ ความเปน็ ไปแหง่ สงั ขารอนั เนอื่ งมาจากเหตปุ จั จยั ปรงุ แตง่ ดงั ความในพระไตรปฎิ ก เล่มที่ ๑๕ (สํ.ส. ๑๕/๑๙๗) ว่า “พืชอย่างใดอย่างหน่ึงท่ีบุคคลหว่านในนาย่อมงอกขึ้นได้ เพราะอาศัย เหตุ ๒ อยา่ ง คอื รสในแผน่ ดนิ และยางในพชื ฉนั ใด ขนั ธ์ ธาตุ และอายตนะ ๖ เหลา่ น้ี กเ็ กดิ ขนึ้ เพราะอาศยั เหตุ ปัจจัย ดับไปเพราะเหตปุ จั จยั ดบั ฉนั นน้ั ” แลว้ ก�ำ จัดความสงสัยทงั้ ปวงในนามรูปเสยี ได้ ๕. มคั คามคั คญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ ญาณทร่ี เู้ หน็ วา่ เปน็ ทางหรอื มใิ ชท่ าง หมายถงึ ความหมดจดดว้ ยการเรม่ิ เจรญิ วปิ สั สนาพจิ ารณาสง่ิ ทรี่ วมกนั อยเู่ ปน็ กลมุ่ กอ้ น จนเหน็ ความเกดิ ขนึ้ และความเสอ่ื มไป แห่งสังขารทั้งหลาย แล้วเกิดวิปัสสนูปกิเลส (สิ่งที่เป็นอุปสรรคขัดขวางมิให้การเจริญวิปัสสนารุดหน้าไป) ๑๐ ประการ คอื โอภาส แสงสว่าง, ญาณ ความรู้, ปีติ ความอิ่มใจ, ปัสสทั ธิ ความสงบ, สขุ ความสบาย, อธิโมกข์ ความน้อมใจเชื่อ, ปัคคาหะ ความเพียรประคองจิต, อุปัฏฐาน ความปรากฏชัดแห่งสติ, อุเบกขา ความวางจติ เปน็ กลาง และนกิ นั ติ ความพอใจในวปิ สั สนา เมอื่ วปิ สั สนปู กเิ ลส ๑๐ ประการนเ้ี กดิ ขน้ึ กใ็ ชโ้ ยนโิ ส มนสิการกำ�หนดได้ว่ามิใช่ทาง ส่วนวิปัสสนาท่ีเร่ิมดำ�เนินเข้าสู่วิถีน่ันแหละเป็นทางถูกต้อง แล้วเตรียมที่จะ ประคองจิตไวใ้ นวิปสั สนาญาณน้ันตอ่ ไป ๖. ปฏปิ ทาญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ ญาณอนั รเู้ หน็ ทางด�ำ เนนิ หมายถงึ ความหมดจด แห่งความรู้เห็นชัดในข้อปฏิบัติด้วยการประกอบความเพียรในวิปัสสนาญาณ ๙ ดังกล่าว โดยเร่ิมตั้งแต่ อุทยพั พยานุปัสสนาญาณท่ีพน้ จากอุปกิเลสด�ำ เนินเข้าส่วู ถิ ีทางน้ันเป็นต้นไปจนถงึ สัจจานุโลมกิ ญาณ อนั เปน็ ทสี่ ดุ แห่งวิปัสสนา ตอ่ จากนัน้ กจ็ ะเกิดโคตรภูญาณคน่ั ระหว่างวสิ ทุ ธขิ อ้ นี้กับขอ้ สุดทา้ ย เป็นรอยต่อแห่งความ เป็นปุถชุ นกับความเป็นอรยิ บคุ คล ๗. ญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ ญาณทัสสนะ หมายถึง ความหมดจดท่ีเกิดจากความรู้ เหน็ ด้วยปญั ญาในอรยิ มรรค ๔ มีโสดาปตั ตมิ รรค เป็นตน้ อันเกิดถดั จากโคตรภูญาณเปน็ ต้นไป เมื่อมรรคจิต เกดิ ขน้ึ แล้ว ผลจติ ยอ่ มเกิดขน้ึ เปน็ อนั บรรลจุ ุดหมายสูงสุดในพระพทุ ธศาสนา สัมมาทฏิ ฐิ สัมมาสงั กัปปะ สงเคราะหเ์ ขา้ ในวสิ ุทธทิ งั้ ๕ ขอ้ ดงั กลา่ วมาน้ี คือข้อ ๓ ถึง ข้อ ๗ โดยสมั มาสงั กัปปะท�ำ กิจพจิ ารณา สมั มาทิฏฐิทำ�กิจสนั นษิ ฐาน คอื ความตกลงใจ การปฏิบัติ การดำ�เนินชีวิตที่พอเหมาะพอดี โดยสร้างเสริมหลักไตรสิกขาคือ ศีล สมาธิ ปัญญา ทส่ี ามารถท�ำ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั เิ ข้าถงึ ความบรสิ ทุ ธห์ิ มดจดและบรรลนุ พิ พานอนั เปน็ จดุ หมายสงู สดุ ของพระพทุ ธศาสนา แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษา ช้นั เอก วชิ าธรรม

63 ใบความร้ทู ่ี ๔ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นปรมตั ถปฏิปทา วสิ ทุ ธิ ความหมดจด ๑. ปญฺาย ปริสุชฺฌติ. : ย่อมหมดจดดว้ ยปัญญา. ๒. เอส มคโฺ ค วสิ ุทฺธิยา. : นนั่ (คอื นิพพิทา) เป็นทางแหง่ วสิ ุทธิ. อธิบาย วิสุทธิ ความหมดจด หมายถึง ความบริสุทธ์ิ คือการชำ�ระจิตของตนให้หมดจดบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว จากกิเลสาสวะท้งั ปวง ความหมดจดนยี้ อ่ มเกิดได้ดว้ ยปญั ญา หลักความหมดจดในลัทธิศาสนาอ่ืน : ลัทธิศาสนาพราหมณ์ถือว่า ความหมดจดจะมีได้ด้วย การชำ�ระบาป โดยทำ�พิธีลอยบาปท้ิงเสียในแม่นํ้าคงคา (หรือเรียกว่าอาบนํ้าชำ�ระบาปได้) ลัทธิศาสนาอื่นๆ เช่นคริสต์ศาสนา ถอื วา่ ความหมดจดจะมีไดด้ ว้ ยการสวดมนต์ออ้ นวอนพระผู้เป็นเจ้าใหท้ รงยกโทษให้ หลกั ความหมดจดในพระพทุ ธศาสนา : พระพุทธศาสนาถือว่า ความหมดจดจะมไี ดด้ ้วยปัญญา เทา่ นนั้ จะมดี ว้ ยเหตอุ น่ื หาไดไ้ ม่ นน่ั หมายความวา่ บญุ -บาปจะมไี ดเ้ พราะตนเองเปน็ ผทู้ �ำ ไมม่ ใี ครมาชว่ ยท�ำ ให้ บรสิ ทุ ธ์หิ รือไมบ่ ริสุทธ์ิได้ ดังพระบาลีในธรรมบท ขทุ ทกนกิ าย (พระไตรปฎิ ก เลม่ ที่ ๒๕/๓๗) วา่ “ทำ�บาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง ไม่ทำ�บาปเอง ย่อมหมดจดเอง ความหมดจดและ ความเศรา้ หมอง เปน็ ของเฉพาะตน คนอ่นื ยังคนอ่นื ให้หมดจดและเศรา้ หมองหาไดไ้ ม่” อธิบายความ : บคุ คลทท่ี ำ�บาปอกุศลหรือความชัว่ ใดๆ ย่อมไดช้ ื่อวา่ เปน็ คนชวั่ บาปอกุศลท่เี ขาท�ำ ก็อำ�นวยผลกรรมให้เศร้าหมอง เปรียบเหมือนเขม่าหรือของโสโครกท่ีบุคคลจับต้องก็พลอยเป้ือนไปด้วย ส่วนผู้ไมก่ ระท�ำ บาปอกศุ ล ทำ�แต่บญุ กุศล ย่อมบริสุทธ์หิ มดจด เปรียบเหมอื นผา้ ขาวที่สะอาด ฉะนัน้ เพราะ ในโลกนี้ไม่มีใครสามารถทำ�ให้ผู้อ่ืนบริสุทธ์ิหมดจดหรือเศร้าหมองได้ ข้อนี้พึงเห็นได้ในบทพระธรรมคุณว่า “ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ : พระธรรม อันวิญญูชนท้ังหลายพึงรู้ได้เฉพาะตน” จึงสรุปความได้ว่า ความเศรา้ หมองเกดิ จากการท�ำ บาป ความหมดจดเกิดจากการไมท่ ำ�บาป ความบริสทุ ธิ์ภายในยอ่ มมดี ้วยปญั ญา กล่าวคอื ความหมดจดจากกิเลสาสวะ อันนอนเน่อื งอยู่ ภายในขันธสนั ดาน จะต้องอาศยั ปัญญาพจิ ารณาตามความเปน็ จรงิ เรยี กว่า วิปัสสนาญาณ ๙ ซึ่งจัดเป็นขัน้ ๆ สงู ขน้ึ ไปตามลำ�ดับ ๙ ข้นั ดงั นี้ ๑. อุทยัพพยญาณ หรือ อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ญาณหย่ังเห็นความเกิดและความดับ คือปัญญาพิจารณาความเกิดข้ึนและความดับไปแห่งสังขารหรือเบญจขันธ์ จนเห็นประจักษ์ชัดว่าสังขาร ทงั้ หลายทง้ั ปวง เกิดขนึ้ แลว้ ก็ตอ้ งดับไป ๒. ภังคญาณ หรือ ภังคานุปัสสนาญาณ ญาณหยั่งเห็นความเสื่อมสลาย คือปัญญาพิจารณา เหน็ ว่า สังขารท้งั หลายท้งั ปวง มกี ารแตกสลายยอ่ ยยับไป แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ชัน้ เอก วิชาธรรม

64 ๓. อาทนี วญาณ หรอื อาทนี วานปุ สั สนาญาณ ญาณหยงั่ เหน็ โทษ คอื ปญั ญาพจิ ารณาเหน็ สงั ขาร ท้ังหลายท้งั ปวงวา่ เปน็ โทษ มีความบกพรอ่ ง เจือปนด้วยทุกข์ ๔. ภยตูปัฏฐานญาณ ญาณหยั่งเห็นสังขารปรากฏโดยเป็นของนา่ กลัว คือปัญญาพิจารณาเห็น สงั ขารท้งั หลายทงั้ ปวง ท้งั ทีเ่ ปน็ ไปในอดตี ปัจจบุ ัน และอนาคต ลว้ นปรากฏเป็นของน่าสะพรงึ กลวั ๕. นพิ พิทาญาณ หรอื นิพพิทานปุ สั สนาญาณ ญาณหยงั่ เห็นความหนา่ ย คอื ปัญญาพจิ ารณา เหน็ สงั ขารว่าเป็นโทษน่ากลัวเช่นน้ันแล้ว จึงเกดิ ความหน่ายในสังขาร ๖. มุญจิตุกัมยตาญาณ หรือ มุญจิตุกามยตาญาณ ญาณหยั่งเห็นด้วยใคร่จะพ้นไปเสีย คือ ปัญญาพจิ ารณาจนเกิดความหน่ายสังขารท้งั หลายแล้วเกิดความปรารถนาทจ่ี ะพ้นไปเสยี จากสงั ขารเหลา่ นั้น ๗. ปฏสิ งั ขาญาณหรอื ปฏสิ งั ขานปุ สั สนาญาณญาณพจิ ารณาหาทางคอื ปญั ญาพจิ ารณาสงั ขารทง้ั หลาย โดยยกขึน้ สไู่ ตรลักษณ์ เพือ่ หาอุบายทีจ่ ะปลดเปลือ้ งจติ ออกไปจากความหนา่ ยนนั้ ๘. สังขารุเปกขาญาณ ญาณวางเฉยในสังขาร คือปัญญาพิจารณารู้เห็นสังขารตามความ เปน็ จริงว่า มคี วามเปน็ อยู่ เปน็ ไปอย่างนั้นเป็นธรรมดา จงึ วางจิตเปน็ กลางในสงั ขารทั้งหลาย จากน้ันจงึ ละ ความเกยี่ วเกาะในสงั ขารเสยี ได้ ๙. สัจจานุโลมิกญาณ หรือ อนุโลมญาณ ญาณอันเป็นไปโดยอนุโลมแก่การหยั่งรู้อริยสัจ คือ เมือ่ เกดิ สงั ขารุเปกขาญาณ จิตก็เปน็ กลางต่อสงั ขารท้งั หลาย และญาณน้นั มุ่งตรงตอ่ นิพพาน จึงเกิดปัญญาทีส่ ูงขน้ึ อีกขั้นหนึ่ง เป็นข้ันสุดท้ายของวิปัสสนาญาณ คือญาณอันคล้อยต่อการตรัสรู้อริยสัจ ย่อมเกิดข้ึนเป็นลำ�ดับ ถดั มา จากนั้นก็จะเกดิ โคตรภญู าณ ญาณครอบโคตร คือปัญญาที่อยูใ่ นลำ�ดบั กอ่ นถึงอริยมรรค ซ่งึ ขา้ มพ้น ความเป็นปถุ ุชนข้นึ สู่ความเป็นอริยบคุ คล แลว้ เกิดมรรคญาณให้ส�ำ เร็จความเป็นพระอริยบุคคลตอ่ ไป วิสุทธิ ความหมดจด (อีกบรรยายหน่ึง) ๓. มคฺคานฏฺ งฺคิโก เสฏโ ... ... ... เอเสว มคฺโค นตถฺ ญโฺ  ทสฺสนสฺส วิสุทธฺ ยิ า. ทางมอี งค์ ๘ เป็นประเสริฐสุดแหง่ ทางท้ังหลาย ... ทางนนั่ แลไม่มีทางอน่ื เพือ่ ความหมดจดแหง่ ทัสสนะ. อธบิ าย ทางมอี งค์ ๘ เรยี กวา่ อรยิ มรรค แปลวา่ ทางอนั ประเสรฐิ ทางอนั ท�ำ บคุ คลใหเ้ ปน็ อรยิ ะ ทางอนั ท�ำ ผปู้ ฏิบัตใิ ห้หา่ งไกลจากกิเลส เรียกเตม็ วา่ อริยอัฏฐงั คกิ มรรค แปลว่า ทางประกอบดว้ ยองค์ ๘ อนั ประเสริฐ หมายความว่า ทางนีม้ สี ว่ นประกอบ ๘ อย่าง เปน็ ขอ้ สดุ ทา้ ยของอรยิ สจั ๔ เรียกว่า ทกุ ขนโิ รธคามินีปฏิปทา อริยสัจ อริยสัจคือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์หรือมัคคสัจจ์ เรียกอีกอย่างว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ข้อปฏิบัติอันมีในท่ามกลางหรือทางสายกลาง หมายถึง ข้อปฏิบัติ วิธีการ หรือทางดำ�เนินชีวิตที่เป็นกลาง สอดคลอ้ งกับกฎธรรมชาติ ไม่เอียงเข้าไปหาทางสุดโต่งท้งั สองทาง คือ กามสุขลั ลิกานุโยค การประกอบตนให้ หมกมนุ่ อยใู่ นกามสขุ และอตั ตกลิ มถานโุ ยค การประกอบตนใหล้ �ำ บากเดอื ดรอ้ น โดยคดิ วา่ เปน็ หนทางพน้ ทกุ ข์ ในธัมมจกั กปั ปวัตตนสูตร (พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔) พระพทุ ธองคท์ รงแสดงอริยมรรคมอี งค์ ๘ ไว้ มีอธบิ ายดังนี้ แนวทางการจัดการเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ชนั้ เอก วิชาธรรม

65 ๑. สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ หมายถึง ความเห็นถกู ตอ้ งใน ๒ ระดับ คือ ๑) ความเหน็ ชอบระดบั โลกยิ ะ ได้แก่ ความเหน็ ถูกตอ้ งตามคลองธรรม คือเห็นว่าบญุ บาปมจี รงิ ผลแห่งทานท่ีให้แล้วมีจริง มารดาบิดามีบุญคุณจริง เป็นต้น ความเห็นชอบในระดับน้ีเป็นการเตรียมจิต ใหพ้ รอ้ มทจี่ ะพฒั นาตนเขา้ สกู่ ารฝกึ อบรมตามหลกั ศลี ธรรม และ ๒) ความเหน็ ชอบระดบั โลกตุ ตระ ไดแ้ ก่ ความ เห็นถกู ตอ้ งตามความเปน็ จริงตามสภาวะ ตามเหตุปัจจยั คอื ปญั ญาอนั เห็นชอบในอรยิ สจั ๔ คือ เหน็ ทุกข์ สมทุ ยั นโิ รธ มรรค เหน็ ไตรลกั ษณ์ หรอื เหน็ ปฏจิ จสมปุ บาท คอื เหน็ วา่ สภาวธรรมทงั้ ปวงอาศยั กนั และกนั เกดิ ขน้ึ สรรพสิ่งเป็นเหตุเป็นผลกัน เกดิ ข้ึน ตง้ั อยู่ และดบั ไป เมื่อมสี ่ิงน้ีเป็นเหตุ จึงมสี งิ่ นเี้ ปน็ ผลตามมาดงั น้ี เปน็ ตน้ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำ�ริชอบ หมายถึง ความนึกตรึกตรองในทางท่ีถูกต้องเป็นกุศล ประกอบดว้ ยมโนสจุ รติ หรือความคดิ นึกทเี่ ปน็ ไปในกศุ ลวติ ก ๓ อย่าง คือ ๑) ความคิดนกึ ท่ีปลอดจากกาม หรือความคิดในทางเสียสละ ๒) ความคิดนึกท่ีปลอดจากพยาบาท หรือความคิดท่ีประกอบด้วยเมตตา ๓) ความคิดนกึ ทป่ี ลอดจากการเบยี ดเบยี น หรอื ความคิดทป่ี ระกอบด้วยกรุณา ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ หมายถึง การใช้วาจาติดต่อส่ือสารเกี่ยวข้องกับผู้อื่นอย่างถูกต้อง หรือการใช้คำ�พูดตามหลักวจีสุจริต ๔ คือ ๑) ละเว้นจากการพูดเท็จ ๒) ละเว้นจากการพูดส่อเสียด ๓) ละเวน้ จากการพูดค�ำ หยาบ ๔) ละเว้นจากการพดู เพ้อเจ้อ ๔. สมั มากมั มนั ตะ การงานชอบ หมายถงึ การมพี ฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกทางกายอยา่ งถกู ตอ้ ง หรอื การปฏิบตั ิตามหลกั กายสุจรติ ๓ คือ ๑) ละเว้นจากการผลาญชีวิต ๒) ละเว้นจากการลกั ทรพั ย์ ๓) ละเว้นจาก การประพฤติผดิ ในกาม ๕. สัมมาอาชีวะ เล้ียงชีวิตชอบ หมายถึงการประกอบอาชีพสุจริต โดยเว้นวิธีเล้ียงชีพท่ีผิด เชน่ การหลอกลวง การใชเ้ ลห่ เ์ หลย่ี ม การใชก้ ลโกง การขูดรดี การฉ้อฉล หรือการคา้ กำ�ไรเกินควร เป็นตน้ รวมถึงการเว้นจากการคา้ ขายท่ีผดิ ธรรมก่อให้เกิดโทษ ๕ อย่าง ได้แก่ การคา้ เคร่อื งประหาร การคา้ มนุษย์ การค้าสัตวม์ ชี ีวิต การค้าส่งิ เสพตดิ มึนเมาให้โทษ และการคา้ ยาพิษ ๖. สัมมาวายามะ พยายามชอบ หมายถึง การมีความเพียรพยายามท่ีถูกต้องโดยเพียร ละความช่ัว สร้างและรักษาความดี ตามหลักการสร้างความเพียรชอบท่ีเรียกว่า สัมมัปปธาน ๔ คือ ๑) เพยี รระวังไม่ใหค้ วามชว่ั เกดิ ขนึ้ ๒) เพยี รละกำ�จดั ความช่ัวที่เกดิ ขึ้นแลว้ ๓) เพียรบำ�เพญ็ กุศลทย่ี งั ไม่เกิดให้ เกดิ มขี ึ้น (๔) เพียรรกั ษากุศลที่เกดิ แล้วใหต้ งั้ มั่นเจริญยิ่งขึน้ ไป ๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ หมายถึง การตั้งสติกำ�หนดพิจารณาส่ิงท้ังหลายให้รู้เห็นตามความ เปน็ จรงิ ซง่ึ เรยี กวา่ การเจรญิ สตปิ ฏั ฐาน ๔ คอื การตง้ั สตกิ �ำ หนดพจิ ารณาในเรอื่ งภายในตวั ของคนเราทส่ี �ำ คญั ๔ เรือ่ ง อันได้แก่ กาย เวทนา จติ ธรรม ว่าเป็นแตเ่ พียงกาย เวทนา จติ ธรรม ไม่ใชส่ ตั ว์ บคุ คล ตัวตนเราเขา ๘. สัมมาสมาธิ ต้ังใจมั่นชอบ หมายถึง การทำ�จิตให้แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียวท่ีแสดงออกมา ในทางกุศลโดยส่วนเดียว และสามารถข่มระงับกิเลสเคร่ืองก้ันจิตมิให้บรรลุคุณธรรมความดีไว้ได้ ดว้ ยหลกั การฝกึ จิตให้เป็นสมาธทิ ี่จัดลำ�ดบั เปน็ ขน้ั ๆ ตัง้ แตข่ น้ั หยาบไปจนถงึ ข้นั ละเอยี ด ทเ่ี รียกวา่ ฌาน ๔ คือ ปฐมฌาน ทตุ ิยฌาน ตตยิ ฌาน และจตุตถฌาน แนวทางการจัดการเรียนรธู้ รรมศกึ ษา ชัน้ เอก วชิ าธรรม

66 อรยิ มรรคเป็นยอดทางปฏิบัติ ในอคั คัปปสาทสูตร (พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑) พระพทุ ธองค์ตรสั ยกยอ่ ง มรรคมีองค์ ๘ ว่าเป็น ยอดแห่งสังขตธรรม คือธรรมท่ีปัจจัยปรุงแต่งหรือเกิดจากเหตุปัจจัย เช่นเดียวกับที่ตรัสยกย่องวา่ เป็นทาง ประเสริฐสุดแห่งทางท้ังหลายตามอุทเทสที่ยกมาแสดงน้ัน ท้ังน้ีเพราะองค์ธรรมท้ัง ๘ แห่งอริยมรรคน้ัน นบั เปน็ สัทธรรมอันดี จดั เป็นกุศลธรรม เมื่อรวมกันเข้าทั้ง ๘ ประการ ยอ่ มเปน็ องคธ์ รรมท่ดี เี ย่ยี ม อรยิ มรรคมีองค์ ๘ สมั พันธ์กบั วิสุทธิ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ เป็นเหตุให้ถึงความหมดจดแห่งทัสสนะคือปัญญา โดยมีความสัมพันธ์กับ วสิ ทุ ธิ ๗ คอื ทางแหง่ ความหมดจดดว้ ยปญั ญาทอ่ี ดุ หนนุ สง่ เสรมิ กนั ใหส้ งู ขน้ึ ไปเปน็ ขน้ั ๆ ไปตามล�ำ ดบั ๗ ขนั้ ดงั น้ี ๑. สีลวิสุทธิ ความหมดจดแห่งศีล หมายถึง การรักษาศีลตามภูมิชั้นของตนให้บริสุทธิ์ และใหเ้ ป็นไปเพือ่ สมาธิ สมั มาวาจา สมั มากัมมนั ตะ สมั มาอาชีวะ สงเคราะหเ์ ข้าในข้อนี้ ๒. จติ ตวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ จติ หมายถงึ ความหมดจดแหง่ จติ ทเี่ กดิ จากการบ�ำ เพญ็ สมาธจิ ติ จนได้บรรลฌุ านสมาบตั ิ สมั มาวายามะ สมั มาสติ สัมมาสมาธิ สงเคราะห์เขา้ ในขอ้ นี้ ๓. ทิฏฐิวสิ ุทธิ ความหมดจดแหง่ ทิฏฐิ หมายถึง ความหมดจดแห่งความคิดเหน็ ที่เกดิ จากความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถมองเหน็ นามรูปหรือเบญจขันธต์ ามท่ีเปน็ จริง ๔. กงั ขาวติ รณวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ ญาณเปน็ เหตขุ ้ามพน้ ความสงสยั หมายถงึ ความหมดจด แหง่ ปญั ญาทพ่ี จิ ารณาเหน็ ความเปน็ ไปแหง่ สงั ขารอนั เนอ่ื งมาจากเหตปุ จั จยั ปรงุ แตง่ ดงั ความในพระไตรปฎิ ก เล่มท่ี ๑๕ (สํ.ส. ๑๕/๑๙๗) ว่า “พืชอย่างใดอย่างหน่ึงท่ีบุคคลหว่านในนาย่อมงอกขึ้นได้ เพราะอาศัย เหตุ ๒ อยา่ ง คอื รสในแผน่ ดนิ และยางในพืช ฉนั ใด ขันธ์ ธาตุ และอายตนะ ๖ เหล่านี้ ก็เกดิ ขึ้นเพราะอาศัย เหตปุ ัจจยั ดับไปเพราะเหตุปัจจยั ดับฉันน้ัน” แลว้ กำ�จัดความสงสัยท้งั ปวงในนามรปู เสยี ได้ ๕. มคั คามคั คญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ ญาณทรี่ เู้ หน็ วา่ เปน็ ทางหรอื มใิ ชท่ าง หมายถงึ ความหมดจดดว้ ยการเรม่ิ เจรญิ วปิ สั สนาพจิ ารณาสง่ิ ทร่ี วมกนั อยเู่ ปน็ กลมุ่ กอ้ น จนเหน็ ความเกดิ ขนึ้ และความเสอ่ื มไป แห่งสังขารทั้งหลาย แล้วเกิดวิปัสสนูปกิเลส (ส่ิงท่ีเป็นอุปสรรคขัดขวางมิให้การเจริญวิปัสสนารุดหน้าไป) ๑๐ ประการ คือ โอภาส แสงสว่าง, ญาณ ความร,ู้ ปีติ ความอมิ่ ใจ, ปัสสัทธิ ความสงบ, สุข ความสบาย, อธิโมกข์ ความน้อมใจเชื่อ, ปัคคาหะ ความเพียรประคองจิต, อุปัฏฐาน ความปรากฏชัดแห่งสติ, อุเบกขา ความวางจติ เปน็ กลาง และนกิ นั ติ ความพอใจในวปิ สั สนา เมอื่ วปิ สั สนปู กเิ ลส ๑๐ ประการนเี้ กดิ ขน้ึ กใ็ ชโ้ ยนโิ ส มนสิการกำ�หนดได้ว่ามิใช่ทาง ส่วนวิปัสสนาท่ีเริ่มดำ�เนินเข้าสู่วิถีนั่นแหละเป็นทางถูกต้อง แล้วเตรียมที่จะ ประคองจิตไวใ้ นวปิ ัสสนาญาณนน้ั ตอ่ ไป ๖. ปฏปิ ทาญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง่ ญาณอนั รเู้ หน็ ทางด�ำ เนนิ หมายถงึ ความหมดจด แห่งความรู้เห็นชัดในข้อปฏิบัติด้วยการประกอบความเพียรในวิปัสสนาญาณ ๙ ดังกล่าว โดยเริ่มต้ังแต่ อทุ ยัพพยานปุ สั สนาญาณทพ่ี ้นจากอปุ กเิ ลสดำ�เนินเขา้ สูว่ ถิ ีทางนั้นเปน็ ตน้ ไปจนถงึ สจั จานุโลมิกญาณ อันเปน็ ทส่ี ุดแห่งวปิ ัสสนา ตอ่ จากนัน้ ก็จะเกดิ โคตรภูญาณคัน่ ระหว่างวสิ ทุ ธิข้อนี้กบั ขอ้ สดุ ทา้ ย เป็นรอยต่อแห่งความ เปน็ ปุถุชนกบั ความเป็นอรยิ บคุ คล แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศึกษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

67 ๗. ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหง่ ญาณทสั สนะ หมายถึง ความหมดจดท่เี กิดจากความรู้ เห็นด้วยปัญญาในอริยมรรค ๔ มโี สดาปัตตมิ รรค เปน็ ตน้ อนั เกดิ ถดั จากโคตรภญู าณเปน็ ต้นไป เมื่อมรรคจิต เกิดขึ้นแล้ว ผลจติ ย่อมเกดิ ข้ึน เปน็ อันบรรลุจุดหมายสงู สุดในพระพุทธศาสนา สมั มาทฏิ ฐิ สัมมาสงั กปั ปะ สงเคราะหเ์ ขา้ ในวิสทุ ธิทง้ั ๕ ขอ้ ดงั กล่าวมาน้ี คอื ข้อ ๓ ถึงข้อ ๗ โดยสมั มาสงั กัปปะท�ำ กจิ พิจารณา สัมมาทฏิ ฐิทำ�กจิ สนั นษิ ฐาน คือ ความตกลงใจ สรปุ ความ สมัยท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาโปรดปัญจวัคคีย์ ทรงยกทางสุดโต่งสองทาง คือ กามสขุ ลั ลกิ านโุ ยค และอตั ตกลิ มถานโุ ยคขนึ้ แสดงกอ่ นวา่ เปน็ ทางทบ่ี รรพชติ ไมค่ วรประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ เพราะไม่ ทำ�ให้ถึงความดับทุกข์ ทางมีองค์ ๘ น้ีเท่าน้ันเป็นทางประเสริฐ เป็นทางสายกลางท่ีจะนำ�ผู้ปฏิบัติไปสู่ ความดับทุกข์ได้อย่างแท้จริง ดังน้ัน มรรคมีองค์ ๘ จึงเป็นยอดทางปฏิบัติในพระพุทธศาสนา ส่งผลให้มี การด�ำ เนินชีวิตท่พี อเหมาะพอดี โดยสรา้ งเสรมิ หลกั ไตรสิกขา คือ ศลี สมาธิ ปัญญา ทีส่ ามารถท�ำ ให้ผูป้ ฏบิ ัติ เขา้ ถงึ ความบริสุทธิ์หมดจดและบรรลนุ ิพพานอันเป็นจุดหมายสูงสุดของพระพทุ ธศาสนา วิสุทธิ ๗ น้ัน เป็นหลักความบริสุทธ์ิหมดจดที่สูงขึ้นไปตามลำ�ดับ หรือทำ�ไตรสิกขาให้บริบูรณ์ เป็นขั้นๆ ไปโดยลำ�ดับจนบรรลุจุดหมายสูงสุดคือพระนิพพาน เปรียบเหมือนรถเจ็ดผลัดส่งต่อกันให้บุคคล ถึงทห่ี มายปลายทางฉะน้นั อริยมรรคมอี งค์ ๘ และวสิ ทุ ธิ ๗ นี้ เปน็ หมวดธรรมท่ีรวมหลกั การศกึ ษาปฏบิ ัตใิ นพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่า ไตรสิกขา ไว้อย่างครบถ้วน กล่าวได้ว่า หมวดธรรมทั้งสองหมวดนี้มีคุณลักษณะคล้ายกัน ดังนั้น จงึ สามารถสงเคราะหเ์ ขา้ กันได้ อนึ่ง ในวสิ ทุ ธิ ๗ น้ี มวี สิ ทุ ธทิ ่ีจัดเป็นโลกุตตระ เพราะภาวะทีเ่ ป็นอรยิ มรรคและอรยิ ผลอยู่ ๒ ขอ้ คือ ปฏิปทาญาณทัสสนวสิ ทุ ธิ และญาณทสั สนวสิ ุทธิ แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษา ชั้นเอก วิชาธรรม

68 เวลา..............ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๕ ธรรมศึกษาชน้ั เอก สาระการเรยี นรู้วิชาธรรม เรือ่ ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏิปทา ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ธศ ๑ รูแ้ ละเข้าใจหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา มีศรทั ธาทีถ่ ูกตอ้ ง ยึดมน่ั และปฏบิ ตั ิ ตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข ๒. ผลการเรียนรู้ รูแ้ ละเข้าใจหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นปรมตั ถปฏิปทา ๓. สาระสำ�คัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทา เป็นหลักธรรมที่ว่าด้วยสันติ ความสงบ หากบุคคลยดึ ม่ันและปฏิบตั ิไดจ้ ะอยูใ่ นสงั คมด้วยความเปน็ สุข ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ นักเรียนอธบิ ายหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทาได้ ๕. สาระการเรียนร้/ู เนื้อหา - สนั ติ ความสงบ ๖. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขั้นสบื คน้ และเช่ือมโยง ๑. ครูและนักเรียนสนทนาเก่ียวกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทา โดยใช้ คำ�ถามเพ่อื พฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดและเชือ่ มโยงไปสู่การเรียนรู้ - นักเรียนเคยเรียนเร่ืองหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นปรมัตถปฏิปทาบ้างหรอื ไม่ - หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏปิ ทามีอะไรบ้าง - นกั เรียนเคยไดย้ ินได้เหน็ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏิปทาจากทไี่ หนบา้ ง ขัน้ ฝกึ ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา สว่ นปรมัตถปฏปิ ทา สันติ ความสงบ จากใบความรทู้ ี่ ๕ ๓. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มจัดเตรียมการเสนอผลงานหน้าชั้นเรยี น แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศึกษา ชั้นเอก วิชาธรรม

69 ขน้ั ประยกุ ต์ ๔. ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุม่ ออกมาน�ำ เสนอตามหัวข้อที่ตนเองได้รับมอบหมายเพอื่ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ๕. นักเรียนในแตล่ ะกลมุ่ ตอบค�ำ ถามตามใบกิจกรรมท่ี ๕ ๖. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ ในแตล่ ะหัวขอ้ ๗. ภาระงาน/ชิน้ งาน ที่ ภาระงาน ชิน้ งาน ๑ ตอบคำ�ถามเกยี่ วกบั หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏปิ ทา ใบกจิ กรรมท่ี ๕ ๘. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. ใบความรทู้ ่ี ๕ เรื่อง หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นปรมัตถปฏปิ ทา ๒. ใบกจิ กรรมท่ี ๕ ๙. การวัดผลและประเมนิ ผล สิ่งท่ตี อ้ งการวัด วิธวี ัด เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน อธิบายหลกั ธรรมของ พระพุทธศาสนา - ตรวจผลงาน - แบบประเมิน ผ่าน = ไดค้ ะแนนตง้ั แต่รอ้ ยละ ๖๐ ขนึ้ ไป ส่วนปรมัตถปฏปิ ทาได้ ผลงาน ไม่ผา่ น = ได้คะแนนต่ํากว่าร้อยละ ๖๐ แนวทางการจดั การเรียนรูธ้ รรมศกึ ษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

70 ขอ้ ท่ี แบบประเมินผลงาน ๑ คะแนน ๔ - ๕ คะแนน ใบกจิ กรรมท่ี ๕ ตอบค�ำ ถามถกู ต้องและ ๑ - ๑๐ ตอบคำ�ถามถูกตอ้ ง ตรงประเดน็ น้อย ตรงประเดน็ ระดบั คะแนน ๒ - ๓ คะแนน ตอบค�ำ ถามถกู ตอ้ ง ตรงประเดน็ สว่ นใหญ ่ เกณฑ์ เกณฑก์ ารตัดสนิ คะแนน ผา่ น ๓ คะแนนขนึ้ ไป ไมผ่ ่าน รอ้ ยละ ๒ คะแนนลงมา ๖๐ ขึน้ ไป ต่ํากว่า ๖๐ หมายเหต ุ เกณฑ์การตดั สนิ สามารถปรับใชต้ ามความเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศึกษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

71 ใบกิจกรรมท่ี ๕ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นปรมตั ถปฏิปทา ชือ่ กลุม่ .................... ช่อื .........................................................................................ชนั้ .....................เลขที.่ .......................... ช่อื .........................................................................................ชั้น.....................เลขที่........................... ชอื่ .........................................................................................ช้นั .....................เลขท.่ี .......................... คำ�ชแี้ จง ให้นกั เรียนตอบค�ำ ถามต่อไปน้ี จำ�นวน ๑ ขอ้ (๕ คะแนน) ๑. อธิบายถงึ ความหมายและการปฏบิ ตั ิตนของสนั ติ ความสงบ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศึกษา ชัน้ เอก วิชาธรรม

72 เฉลยใบกจิ กรรมท่ี ๕ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมัตถปฏปิ ทา ๑. อธบิ ายถงึ ความหมายและการปฏบิ ัตติ นของสนั ติ ความสงบ ตอบ สนั ติ ความสงบ หมายถึง ความสงบกาย สงบวาจา และสงบใจ ในท่ีนจี้ �ำ แนกเป็น ๒ คือ ความสงบภายนอก ไดแ้ ก่ สงบกายและสงบวาจา และความสงบภายใน ได้แก่ สงบใจ ในอุทเทสที่ ๑ พระพุทธองค์ทรงสอนให้พอกพูนทางแห่งสันติ อันเป็นไปทางไตรทวาร คือ กายทวาร วจที วาร มโนทวาร ทเี่ ป็นไปโดยสจุ รติ คือเว้นจากพฤติกรรมทเ่ี บียดเบียนตนและผู้อ่ืนใหเ้ ดอื ดรอ้ น โดยการไมป่ ระทษุ รา้ ยการไมก่ ลา่ วรา้ ยและการไมค่ ดิ รา้ ยเปน็ ตน้ ดงั ทต่ี รสั ไวใ้ นสหสั สวรรคธรรมบทขทุ ทกนกิ าย (พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕) ว่า “ผู้หลุดพ้นแล้วเพราะรู้ชอบ ผู้สงบระงับแล้ว ผู้คงท่ีน้ัน ย่อมมีใจสงบแล้ว วาจาและการกระท�ำ กส็ งบแล้ว” จิตทปี่ ระกอบดว้ ยมโนสุจริต ๓ คอื ไม่คดิ โลภอยากได้ ไมค่ ิดพยาบาทปองรา้ ย มีความเห็นชอบ ตามคลองธรรม จัดเปน็ ความสงบภายใน ประกอบด้วย กายสจุ ริต ๓ วจีสุจริต ๔ จดั เปน็ ความสงบภายนอก คำ�ว่า พูน ในอุทเทสท่ี ๑ หมายถึง ทำ�ให้มากขึ้น ทำ�ให้เจริญข้ึน ในท่ีนี้มุ่งถึงพูนทางที่ทำ�ให้ถึง ความดบั ทกุ ข์ อนั เปน็ ทางแห่งสนั ตทิ ่ีแทจ้ รงิ ได้แก่ อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ คำ�ว่า ความสงบ ในอุทเทสท่ี ๒ ได้แก่ พระนิพพาน มีอธิบายว่า ความสุขอย่างอื่น แม้จะเป็น ความสขุ เหมอื นกนั แตก่ ไ็ มใ่ ชค่ วามสขุ ทแ่ี ทจ้ รงิ สว่ นความสขุ ทเ่ี กดิ จากการละกเิ ลสไดเ้ ดด็ ขาด จดั เปน็ ความสขุ ที่แท้จริง คำ�ว่า อามิส ในอุทเทสที่ ๓ หมายถึง เครือ่ งลอ่ ใจใหต้ ิดอยู่ในโลก ดุจเหยื่อทีเ่ บด็ เกย่ี วไวส้ �ำ หรบั ลอ่ ปลา ไดแ้ ก่ กามคณุ ๕ (ปญั จพธิ กามคณุ ) คอื รปู เสยี ง กลนิ่ รส โผฏฐพั พะ ทน่ี า่ ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ การทำ�ใจมิให้ติดอยู่ในกามคุณ ๕ จัดเป็นปฏิปทาของผู้รู้ ผู้สงบดีแล้ว ดังท่ีตรัสไว้ในชราสูตร สุตตนบิ าต ขทุ ทกนกิ าย สตุ ตันตปฎิ ก (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๔๙๓) วา่ “หยาดแห่งน้าํ ยอ่ มไม่ตดิ ในใบบวั แม้ฉนั ใด วารีย่อมไม่ก�ำ ซาบในดอกปทมุ ฉันใด มุนยี ่อมไมเ่ ข้าไปติด ในอารมณ์อันเห็นแล้วกด็ ี อันฟังแลว้ ก็ดี อนั ทราบแลว้ ก็ดฉี นั น้นั ” ดังนน้ั ผู้มงุ่ สันตอิ ันเปน็ สุขอยา่ งแท้จริง พงึ ละโลกามิสเสยี การปฏบิ ตั ิ ไมค่ ดิ โลภอยากได้ ไมค่ ิดพยาบาทปองรา้ ย มคี วามเหน็ ชอบตามคลองธรรม แนวทางการจัดการเรียนรูธ้ รรมศกึ ษา ช้นั เอก วิชาธรรม

73 ใบความรูท้ ี่ ๕ หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นปรมัตถปฏิปทา ๕. สนั ติ ความสงบ ๑. สนตฺ ิมคคฺ เมว พฺรหู ย. : สจู งพูนทางแห่งความสงบนน่ั แล. ๒. นตถฺ ิ สนฺติปรํ สุข.ํ : สขุ อื่นจากความสงบ ย่อมไมม่ .ี ๓. โลกามิสํ ปชเห สนตฺ เิ ปกโฺ ข. : ผเู้ พ่งความสงบ พึงละอามสิ ในโลกเสีย. อธิบาย สันติ ความสงบ หมายถึงความสงบกาย สงบวาจา และสงบใจ ในท่ีน้ีจำ�แนกเป็น ๒ คือ ความสงบภายนอก ไดแ้ ก่ สงบกายและสงบวาจา และ ความสงบภายใน ไดแ้ ก่ สงบใจ ในอุทเทสท่ี ๑ พระพุทธองค์ทรงสอนให้พอกพูนทางแห่งสันติ อันเป็นไปทางไตรทวาร คือ กายทวาร วจที วาร มโนทวาร ทเ่ี ปน็ ไปโดยสจุ รติ คอื เวน้ จากพฤตกิ รรมทเ่ี บยี ดเบยี นตนและผอู้ นื่ ใหเ้ ดอื ดรอ้ น โดย การไมป่ ระทษุ รา้ ย การไมก่ ลา่ วรา้ ย และการไมค่ ดิ รา้ ย เปน็ ตน้ ดงั ทตี่ รสั ไวใ้ นสหสั สวรรค ธรรมบท ขทุ ทกนกิ าย (พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕) ว่า “ผู้หลุดพ้นแล้วเพราะรู้ชอบ ผู้สงบระงับแล้ว ผู้คงท่ีน้ัน ย่อมมีใจสงบแล้ว วาจาและการกระทำ�กส็ งบแล้ว” จติ ทปี่ ระกอบด้วยมโนสุจริต ๓ คือ ไมค่ ดิ โลภอยากได้ ไมค่ ดิ พยาบาทปองรา้ ย มคี วามเห็นชอบ ตามคลองธรรม จัดเป็นความสงบภายใน ประกอบดว้ ย กายสุจริต ๓ วจีสจุ ริต ๔ จัดเป็นความสงบภายนอก คำ�ว่า พูน ในอุทเทสที่ ๑ หมายถึงทำ�ให้มากขึ้น ทำ�ให้เจริญขึ้น ในที่นี้มุ่งถึงพูนทางท่ีทำ�ให้ถึง ความดบั ทุกข์ อนั เปน็ ทางแหง่ สนั ตทิ ี่แท้จริง ไดแ้ ก่ อริยมรรคมอี งค์ ๘ คำ�ว่า ความสงบ ในอุทเทสท่ี ๒ ได้แก่ พระนิพพาน มีอธิบายว่า ความสุขอย่างอื่น แม้จะเป็น ความสุขเหมือนกัน แต่ก็ไม่ใช่ความสุขที่แท้จริง ส่วนความสุขที่เกิดจากการละกิเลสได้เด็ดขาด จัดเป็น ความสขุ ที่แท้จรงิ คำ�ว่า อามิส ในอุทเทสที่ ๓ หมายถึงเคร่ืองล่อใจให้ติดอยู่ในโลก ดุจเหย่ือที่เบ็ดเกี่ยวไว้สำ�หรับ ลอ่ ปลา ไดแ้ ก่ กามคณุ ๕ (ปญั จพธิ กามคณุ ) คอื รปู เสยี ง กลน่ิ รส โผฎฐพั พะ ทน่ี า่ ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ การทำ�ใจมิให้ติดอยู่ในกามคุณ ๕ จัดเป็นปฏิปทาของผู้รู้ ผู้สงบดีแล้ว ดังท่ีตรัสไว้ในชราสูตร สตุ ตนิบาต ขทุ ทกนิกาย สุตตันตปฎิ ก (พระไตรปฎิ ก เลม่ ท่ี ๒๕/๔๙๓) ว่า “หยาดแห่งนํา้ ยอ่ มไมต่ ิดในใบบัว แม้ฉันใด วารีย่อมไม่กำ�ซาบในดอกปทุมฉันใด มุนีย่อมไม่เขา้ ไปติด ในอารมณ์อันเห็นแล้วก็ดี อันฟังแล้วก็ดี อันทราบแล้วก็ดี ฉันน้ัน” ดังนนั้ ผ้มู งุ่ สันติอันเป็นสุขอย่างแทจ้ รงิ พึงละโลกามสิ เสีย แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศึกษา ช้นั เอก วชิ าธรรม

74 สรปุ ความ สันติ ความสงบ เป็นได้ทัง้ โลกิยะและโลกุตตระ ท่ีเปน็ โลกยิ ะ ตรงกับพระบาลวี ่า น หิ รุณฺเณน โสเกน สนตฺ ึ ปปฺโปติ เจตโส. บคุ คลยอ่ มถึงความสงบแหง่ จิต ดว้ ยรอ้ งไห้ ดว้ ยเศรา้ โศก กห็ าไม.่ ทเ่ี ปน็ โลกตุ ตระ ตรงกับพระบาลีว่า โลกามสิ ํ ปชเห สนฺติเปกโฺ ข. : ผ้เู พ่งสนั ติ พงึ ละโลกามสิ เสีย. พระพุทธองค์ตรัสสอนให้พูนทางแห่งสันติ คือการปฏิบัติตามอริยมรรคมีองค์ ๘ และวิสุทธิ ๗ เมอื่ ปฏิบตั ิไดเ้ ชน่ น้ี ยอ่ มเปน็ การพอกพูนทางแหง่ สันติอยา่ งถกู ตอ้ ง ทำ�ให้บรรลุถงึ ความสงบสุขอย่างแท้จรงิ แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ช้ันเอก วชิ าธรรม

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๖ 75 ธรรมศกึ ษาชั้นเอก สาระการเรยี นรวู้ ิชาธรรม เวลา..............ชั่วโมง เรอื่ ง หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาสว่ นปรมตั ถปฏปิ ทา ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ธศ ๑ รู้และเข้าใจหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา มีศรัทธาทถ่ี ูกตอ้ ง ยดึ ม่ันและปฏิบัติ ตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกนั อย่างสนั ตสิ ขุ ๒. ผลการเรียนรู้ รแู้ ละเข้าใจหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏปิ ทา ๓. สาระสำ�คญั หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นปรมตั ถปฏิปทา เปน็ หลักธรรมที่ว่าด้วยนพิ พาน ความดบั ทกุ ข์ หากบุคคลยึดมน่ั และปฏบิ ตั ไิ ดจ้ ะอยใู่ นสงั คมด้วยความเปน็ สุข ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนอธบิ ายหลักธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นปรมัตถปฏปิ ทาได ้ ๕. สาระการเรียนรู้/เนอื้ หา - นิพพาน ความดบั ทกุ ข์ ๖. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้ันสบื ค้นและเช่ือมโยง ๑. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏิปทา โดยใช้ คำ�ถามเพ่อื พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและเชอ่ื มโยงไปสู่การเรียนรู้ - นักเรยี นเคยเรียนเรอ่ื งหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏปิ ทาบา้ งหรือไม่ - หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมัตถปฏปิ ทามีอะไรบา้ ง - นกั เรยี นเคยไดย้ นิ ไดเ้ หน็ หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏิปทาจากท่ีไหนบา้ ง ขน้ั ฝึก ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา สว่ นปรมัตถปฏปิ ทา นิพพาน ความดับทุกข์ จากใบความร้ทู ี่ ๖ ๓. นักเรยี นแต่ละกลุ่มจดั เตรียมการเสนอผลงานหน้าช้นั เรยี น แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศึกษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

76 ขน้ั ประยกุ ต์ ๔. ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานำ�เสนอตามหัวขอ้ ทต่ี นเองไดร้ บั มอบหมายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๕. นักเรยี นในแต่ละกลมุ่ ตอบคำ�ถามตามใบกจิ กรรมท่ี ๖ ๖. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปในแตล่ ะหวั ข้อ ๗. ภาระงาน/ชิน้ งาน ท่ ี ภาระงาน ชิ้นงาน ๑ ตอบค�ำ ถามเกี่ยวกบั หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏปิ ทา ใบกจิ กรรมท่ี ๖ ๘. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ ๑. ใบความรู้ที่ ๖ เรื่อง หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นปรมตั ถปฏปิ ทา ๒. ใบกิจกรรมท่ี ๖ ๙. การวัดผลและประเมนิ ผล สิ่งท่ตี ้องการวดั วธิ ีวัด เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน อธิบายหลกั ธรรม ของพระพุทธศาสนา - ตรวจผลงาน - แบบประเมิน ผา่ น = ได้คะแนนต้ังแต่ร้อยละ ๖๐ ข้ึนไป ส่วนปรมัตถปฏิปทาได้ ผลงาน ไม่ผ่าน = ไดค้ ะแนนตา่ํ กวา่ รอ้ ยละ ๖๐ แนวทางการจดั การเรยี นรูธ้ รรมศึกษา ชั้นเอก วิชาธรรม

ขอ้ ท่ี แบบประเมินผลงาน 77 ๔ - ๕ คะแนน ใบกิจกรรมที่ ๖ ๑ คะแนน ๑ - ๑๐ ตอบค�ำ ถามถูกตอ้ ง ตอบคำ�ถามถูกตอ้ งและ ตรงประเด็น ระดบั คะแนน ตรงประเดน็ นอ้ ย ๒ - ๓ คะแนน ตอบค�ำ ถามถกู ต้อง ตรงประเดน็ ส่วนใหญ ่ เกณฑ์ เกณฑก์ ารตัดสิน คะแนน ผ่าน ๓ คะแนนขึน้ ไป ไมผ่ า่ น รอ้ ยละ ๒ คะแนนลงมา ๖๐ ข้นึ ไป ตา่ํ กวา่ ๖๐ หมายเหตุ เกณฑก์ ารตดั สนิ สามารถปรับใช้ตามความเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย แนวทางการจดั การเรยี นรู้ธรรมศกึ ษา ช้ันเอก วชิ าธรรม

78 ใบกจิ กรรมท่ี ๖ หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมัตถปฏปิ ทา ช่ือกลุ่ม.................... ชอื่ .........................................................................................ชนั้ .....................เลขที่........................... ช่อื .........................................................................................ชั้น.....................เลขท่ี........................... ชอื่ .........................................................................................ช้นั .....................เลขท.ี่ .......................... คำ�ชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนตอบค�ำ ถามต่อไปน้ี จำ�นวน ๑ ข้อ (๕ คะแนน) ๑. อธบิ ายถึงความหมายและการปฏิบตั ิตนของนิพพาน ความดบั ทุกข์ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ช้นั เอก วิชาธรรม

79 เฉลยใบกจิ กรรมท่ี ๖ หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนปรมตั ถปฏปิ ทา ๑. อธิบายถงึ ความหมายและการปฏบิ ัติตนของนพิ พาน ความดบั ทุกข์ ตอบ คำ�ว่า นพิ พาน สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงแสดงพระมตไิ ว้ ๒ นยั ดังนี้ ๑) นพิ พฺ าน แปลวา่ ดบั มาจาก วา ธาต,ุ มี นี เปน็ บทหนา้ , ยุ ปจั จยั , แปลง ยุ เปน็ อน, แปลง ว เปน็ พ สำ�เร็จรูปเปน็ นิพฺพาน ๒) นิพฺพาน แปลว่า หาของเสียบแทงมิได้ ออกจาก วาน ศัพท์ อันเป็นชื่อของลูกศร มี นี เปน็ บทหนา้ ในความหมายปฏเิ สธ เขา้ รปู เปน็ ปญั จมหี รอื ฉฏั ฐพี หพุ พหิ สิ มาส เทยี บไดก้ บั บทวา่ “อพพฺ ฬุ หฺ สลโฺ ล : ผมู้ ลี กู ศรอนั ถอนแลว้ ” เป็นคุณบทของพระอรหันต์ นพิ พาน มคี วามหมาย ๒ นยั คอื นยั ท่ี ๑ นิพพาน แปลว่า ธรรมหาเคร่ืองเสียบแทงมิได้ หมายถึง ภาวะที่จิตปราศจากตัณหา เคร่ืองเสียบแทง นิพพานตามความหมายน้ี ตรงกับคำ�วา่ สอปุ าทเิ สสนพิ พาน คือภาวะท่ีจติ ดบั กเิ ลสตณั หาได้ แต่ยงั มเี บญจขนั ธ์อยู่ หรอื ภาวะจติ ของบคุ คลที่สิ้นกิเลสแล้วแต่ยงั มชี ีวิตอยู่ นยั ที่ ๒ นิพพาน แปลว่า ความดับ หมายถึง ภาวะที่ดับกิเลส คือ ราคะ โทสะ และโมหะ ไดอ้ ย่างเดด็ ขาด หรอื สภาพทดี่ ับกองทกุ ขใ์ นวัฏฏะทง้ั มวลอันมีชาติ ความเกดิ ชรา ความแก่ มรณะ ความตาย เปน็ ตน้ ได้อย่างส้ินเชิง นิพพานตามความหมายน้ี ตรงกับค�ำ ว่า อนุปาทเิ สสนพิ พาน คือภาวะทีด่ บั กเิ ลสไม่มี เบญจขันธ์เหลือ หรอื ภาวะที่สน้ิ ทัง้ กิเลสทั้งชีวิต ดุจประทปี ส้นิ เชื้อดบั ไป ฉะน้ัน จดุ ประสงค์ของการแสดงอทุ เทสแหง่ นพิ พาน สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงประมวลพระพุทธภาษิตเป็นอุทเทส แห่งนิพพานน้ีไวด้ ้วยพระประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑) เพือ่ ทรงแสดงอดุ มการณ์หรอื จดุ หมายสูงสุดแหง่ พระพุทธศาสนา คอื นิพพาน ๒) เพื่อทรงแสดงเหตโุ ดยชักชวนพุทธบรษิ ทั ใหแ้ ผ้วถางทางไปนพิ พาน ๓) เพอ่ื ทรงพรรณนาผลวา่ นพิ พานเปน็ สขุ อยา่ งย่งิ หลกั การส้ินสุดการเวียนวา่ ยตายเกดิ ในศาสนาต่างๆ สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงประมวลมติเกี่ยวกับหลักการส้ินสุดแห่งการเวียนว่ายตายเกิด อนั เป็นจุดหมายสงู สดุ ของศาสนาพราหมณแ์ ละศาสนาครสิ ตไ์ วด้ งั นี้ ๑) ศาสนาพราหมณ์ หรือฮินดู ถือว่า มีต้นเดิมอย่างหนึ่งเรียกว่า ปรมาตมัน แบ่งภาคออกไป เขา้ สงิ รปู กายทีเ่ รียกวา่ อาตมนั ซ่ึงตกอยู่ในคตแิ ห่งกรรม ถ้าท�ำ บาปหนัก ยอ่ มตกนรกไม่มีกำ�หนด ถ้าทำ�บาป ไม่มากนัก ย่อมตกนรกช่ัวคราวบ้าง เกิดเป็นสัตว์ดิรัจฉาน ปีศาจ ยักษ์ และมนุษย์ช้ันเลวบ้าง ส่วนที่ทำ�ดี พอประมาณ ย่อมเกิดในสวรรค์ชั้นตํ่า หรือเกิดในมนุษยโลก เป็นคนชั้นดี ทำ�ดีมากขึ้น คติย่อมดีมากขึ้น แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

80 ความดีย่อมผลัดเปล่ียนคติให้ดีข้ึน เมื่อท่องเที่ยวไปอย่างนี้แล้ว ในท่ีสุดย่อมถึงความบริสุทธ์ิจากบาปท้ังปวง ได้ชื่อว่า มหาตมัน มหาตมันน้ันจุติจากร่างที่สุดแล้ว ย่อมกลับเข้าสู่ปรมาตมันตามเดิม แล้วเป็นอยู่คงท่ี ไม่จุติอีก ตามที่กล่าวมาน้ีเป็นท่ีสุดแห่งสังสารวัฏ หรือการเวียนว่ายตายเกิดของศาสนาพราหมณ์ เรียกว่า นริ วาณมฺ ๒) ศาสนาครสิ ต์ มกี ารบญั ญตั ทิ สี่ ดุ การเวยี นวา่ ยตายเกดิ เชน่ เดยี วกนั กบั ศาสนาพราหมณ์ แตเ่ นน้ บคุ ลาธษิ ฐาน กลา่ วคอื นกั บญุ หลงั จากตายยอ่ มขน้ึ สวรรคไ์ ปอยกู่ บั พระเจ้าเปน็ นริ นั ดร ปฏเิ สธการกลบั มาเกดิ เป็นมนษุ ย์และเปน็ สตั ว์ดิรัจฉานสลบั กัน ในหนงั สอื ศาสนาเปรยี บเทยี บ ทา่ นอาจารยส์ ชุ พี ปญุ ญานภุ าพ ไดป้ ระมวลหลกั จดุ หมายปลายทาง แห่งสังสารวฏั ของศาสนาเด่นๆ ของโลกไว้ โดยสรุปความดงั น้ี ๑) ศาสนาพราหมณ์ มจี ดุ หมายปลายทาง คอื ความเปน็ พรหม โดยกลมกลนื เปน็ อนั หนงึ่ เดยี วกบั พระพรหม (ปรมาตมนั ) มวี ธิ ปี ฏบิ ตั โิ ดยบ�ำ เพญ็ โยคะ ปลกู ฝงั ใหเ้ กดิ ความรเู้ กยี่ วกบั พระพรหม ถอื วา่ ชวี ติ ในโลกนี้ มหี ลายคร้งั มีการเวียนว่ายตายเกิด ๒) ศาสนาคริสต์ มีจุดหมายปลายทาง คือสวรรค์ โดยคนเราเมื่อตายแล้วได้ไปอยู่กับพระเจ้า ในสวรรค์ มวี ิธีปฏบิ ัตโิ ดยทำ�ตามบญั ญัติของพระเจ้า และถอื ว่าชีวิตในโลกน้มี ีเพยี งครั้งเดยี ว ๓) ศาสนาอิสลาม มีจุดหมายปลายทาง คือสวรรค์ แต่ไม่ไปอยู่กับพระเจ้า มีวิธีปฏิบัติ คือ ๑) มีความเชื่อในพระอัลเลาะห์และทูตของพระองค์ คือ พระนะบีมูฮัมหมัด ๒) ทำ�ละหมาด คือสวดมนต์ หันหน้าไปทางเมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย (๓) ให้ทาน (๔) อดอาหารกลางวันในเดือนรอมฎอน กลางคนื ไม่ห้าม ๔) พระพทุ ธศาสนา มจี ดุ หมายปลายทาง คอื พระนพิ พาน โดยดบั กเิ ลสทเี่ ปน็ ตน้ เหตแุ หง่ ความทกุ ข์ ความเดือดร้อนได้สิ้นเชิง มีวิธีปฏิบัติเพื่อดับกิเลส คือ ดำ�เนินตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา อันได้แก่อริยมรรค มอี งค์ ๘ ประการ ถอื ว่าชีวติ ในโลกนมี้ ีหลายครงั้ มกี ารเวียนวา่ ยตายเกดิ จนกว่าจะส้นิ กเิ ลส นพิ พาน : จุดหมายสงู สดุ ในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาถือเหตุปัจจัยอันปรุงแต่งสังขาร คือ อวิชชาเป็นต้นสาย นิพพานเป็นปลายสาย และปฏเิ สธอตั ตา แตย่ อมรบั ความเชอื่ มถงึ กนั แหง่ จตุ จิ ติ กบั ปฏสิ นธจิ ติ ในภพหน้า ยอมรบั การเวยี นวา่ ยตายเกดิ ในภพภูมิตา่ งๆ เชน่ ตกนรก เปน็ เปรต เปน็ อสรู กาย เป็นสตั วด์ ริ ัจฉาน เกิดเป็นมนษุ ย์ เปน็ เทวดาในสวรรคช์ นั้ ต่างๆ ด้วยอำ�นาจกรรม แตก่ ารตกนรกนัน้ มีระยะกาลส้นิ สุดเมื่อชดใช้กรรมจนหมด พระพทุ ธศาสนาปฏเิ สธ ความบริสุทธิ์แห่งจิตด้วยการรอคอยโชคชะตาวาสนา หรือเกิดจากส่ิงอื่นดลบันดาล แต่รับรองความบริสุทธ์ิ แหง่ จติ ดว้ ยการบ�ำ เพญ็ วิปสั สนากัมมัฏฐานจนบรรลอุ รหตั ตผล พระพุทธศาสนายกย่องนพิ พานว่าเป็นอมตธรรม คอื ธรรมทไ่ี มต่ าย ดังพระบาลีวา่ อปฺปมาโท อมตํ ปท.ํ : ความไม่ประมาท เป็นทางไม่ตาย และวา่ เปน็ สถานท่ีอันไมจ่ ตุ ิ ไม่มคี วามเศรา้ โศก ดงั พระบาลีว่า เต ยนฺติ อจจฺ ตุ ํ าน ํ ยตถฺ คนตฺ ฺวา น โสจเร. มนุ ีเหลา่ นัน้ ย่อมไปส่สู ถานไม่จตุ ิ ทีไ่ ปแลว้ ไม่เศรา้ โศก แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ชัน้ เอก วิชาธรรม

81 โดยนัยนี้ นิพพานอันเปน็ ปลายสาย จดั เป็นวิสงั ขาร คือ ภาวะทตี่ รงขา้ มกับสงั ขาร เป็นอสงั ขตะ คอื สง่ิ ท่ปี จั จยั มไิ ด้ปรุงแตง่ เพราะพน้ จากความเปน็ สังขาร และอนั ปัจจยั มไิ ดป้ รุงแต่งใหเ้ กิดอกี นิพพานธาตุ ๒ พระพุทธองค์ตรัสนิพพานธาตุไว้ในทุกนิบาต อิติวุตตกะ ขุททกนิกาย (พระไตรปิฎกเล่มท่ี ๒๕/ ๒๕๘-๒๕๙) ๒ ประเภท คอื ๑) สอปุ าทเิ สสนพิ พานธาตุ นพิ พานธาตยุ งั มอี ปุ าทเิ หลอื ไดแ้ ก่ ภาวะทดี่ บั กเิ ลส มเี บญจขนั ธเ์ หลอื คอื สิ้นกเิ ลส แต่ยงั มีชีวติ อยู่ เรยี กวา่ กิเลสปรนิ พิ พาน ๒) อนปุ าทเิ สสนพิ พานธาตุ นพิ พานธาตไุ มม่ อี ปุ าทเิ หลอื ไดแ้ ก่ภาวะทดี่ บั กเิ ลสไมม่ เี บญจขนั ธเ์ หลอื คือส้ินทงั้ กเิ ลสและชีวติ เรียกวา่ ขันธปรินิพพาน ค�ำ วา่ อปุ าทิ ในนพิ พานธาตทุ ง้ั สองนน้ั ไดแ้ ก่ เบญจขนั ธ์ คอื รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ ทีถ่ ูกกรรมกิเลสเข้าถือมั่น หรอื ยดึ ครองไวม้ ่ัน บาลีแสดงปฏิปทาแห่งนิพพาน พระพุทธพจนท์ ่แี สดงปฏปิ ทาแห่งนิพพาน มนี ยั ดังน้ี ภกิ ษุยนิ ดีในความไม่ประมาทแล้ว หรอื เหน็ ภัยในความประมาทโดยปกติ ยอ่ มเป็นผู้ไม่พอเพือ่ เสือ่ มรอบ ย่อมปฏบิ ตั ใิ กลน้ พิ พานเทียว. ความไม่ประมาท ในท่ีนี้ คือ การอยู่ไม่ปราศจากสติ เจริญสติปัฏฐาน ๔ อยู่เสมอ ซึ่งเป็น หลักธรรมส�ำ คญั ท่ที �ำ ผู้ปฏบิ ัติใหบ้ รรลุนพิ พานได้ ภิกษุหนักในพระศาสดา หนักในพระธรรม มีความเคารพกล้าในพระสงฆ์ มีความเพียร หนักในสมาธิ มีความเคารพกล้าในสิกขา หนักในความไม่ประมาท และเคารพในปฏิสนั ถาร ยอ่ มเปน็ ผู้ไมพ่ อเพอื่ เสอื่ มรอบ ย่อมปฏิบตั ิใกลน้ พิ พานเทยี ว. ความเคารพ ในที่น้ี คือ ความเอื้อเฟื้อตระหนักในพระรัตนตรัย ในการบำ�เพ็ญสมาธิ ในการ ปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา ในความไม่ประมาทต่อการเจริญสติปัฏฐาน ๔ และในธรรมปฏิสันถาร เมื่อผู้ใด มคี วามเคารพดังกลา่ วมาน้ี ชือ่ วา่ ปฏบิ ัติตนเพอ่ื ความเจริญ มุ่งตรงต่อการบรรลนุ ิพพานอย่างแน่แท้ ฌานและปัญญามใี นผใู้ ด ผนู้ ัน้ ปฏบิ ัตใิ กลน้ ิพพาน. ฌานและปัญญา ในท่ีนี้ คือ ฌาน ได้แก่ จิตทเ่ี ปน็ สมาธแิ น่วแน่ สงบจากนิวรณธรรม ในภาคปฏบิ ตั ิ ได้แก่ การเจรญิ สมถกัมมฏั ฐาน ส่วนปญั ญา ไดแ้ ก่ จิตที่รู้เทา่ ทันความเป็นไปของสรรพสง่ิ ตามความเปน็ จริง ในภาคปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ การเจรญิ วปิ ัสสนากัมมัฏฐาน ภิกษุ เธอจงวิดเรือนี้ เรืออันเธอวดิ แลว้ จักพลนั ถึง เธอตดั ราคะและโทสะแล้ว แตน่ ้ันจักถงึ นพิ พาน. ค�ำ ว่า เรอื หมายถงึ อัตภาพร่างกายของคนเรา อนั ลอยอยใู่ นแมน่ ํ้าคือสงั สารวฏั เรอื อนั เธอวิดแล้ว หมายถึง การบรรเทากิเลสและบาปธรรมให้เบาบางลงจนตัดได้เด็ดขาด เมื่อตัดกิเลสและบาปธรรมได้แล้ว เรือคืออัตภาพนกี้ ็จักแล่นไปถึงท่าคอื พระนพิ พานได้ในท่สี ุด แนวทางการจดั การเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ชั้นเอก วิชาธรรม

82 บาลีแสดงสอุปาทเิ สสนพิ พาน พระพทุ ธพจนท์ ่ีแสดงสอุปาทิเสสนพิ พาน มดี ังน้ี เพราะละตณั หาเสีย ท่านกล่าววา่ นพิ พาน. ความดับด้วยสำ�รอกโดยไมเ่ หลอื เพราะสนิ้ แหง่ ตัณหาท้งั หลาย ด้วยประการทงั้ ปวง เปน็ นิพพาน. ธาตอุ นั หน่ึงแลเปน็ ไปในธรรมอันแลเหน็ แลว้ ในโลกน้ี เปน็ นิพพานธาตุ มอี ปุ าทิยงั เหลอื เพราะส้ินธรรมชาติผู้น�ำ ไปสู่ภพ (คือตณั หา). ไวพจน์แห่งวิราคะ มีคำ�ว่า “มทนิมฺมทโน ธรรมยังความเมาให้สร่าง” เป็นต้น ดังท่ีกล่าวแล้ว ในหวั ขอ้ แหง่ วริ าคะ พึงทราบวา่ หมายถึง สอปุ าทเิ สสนิพพาน บาลีแสดงอนปุ าทเิ สสนิพพาน พระพทุ ธพจนท์ ่ีแสดงอนุปาทเิ สสนพิ พาน มดี งั น้ี เรากล่าวทวปี นัน่ มใิ ชอ่ ่นื หาห่วงมไิ ด้ หาเคร่ืองยดึ มไิ ด้ เปน็ ท่สี ิน้ รอบแหง่ ชราและมจั จวุ า่ นพิ พาน. ส่วนธาตุเปน็ ไปในธรรมอันจะพึงถงึ ขา้ งหน้า ทีภ่ พท้งั ปวงดับ ดว้ ยประการท้ังปวง เปน็ นิพพานธาตุหาอปุ าทเิ หลือมไิ ด.้ ความเขา้ ไปสงบแห่งสงั ขารเหล่านน้ั ยอ่ มเปน็ สุข. ภิกษทุ ง้ั หลาย อายตนะน้นั มีอยู่ ท่ีดนิ น้ํา ไฟ ลมไมม่ เี ลย อากาสานัญจายตนะ วิญญานัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็มิใช่ โลกน้ีก็มิใช่ โลกอ่ืน ก็มิใช่ ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ทั้งสองก็มิใช่ อน่ึง ภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล่าวเลย ซึ่งอายตนะน้ันว่า เป็นการมา เป็นการไป เป็นการยืน เป็นการจุติ เป็นการเกิด อายตนะนั้นหาที่ตั้งอาศัยมิได้ มิได้เป็นไป หาอารมณ์มิได้ น่ันแลทส่ี ดุ แหง่ ทุกข.์ ในพระสูตรน้ี พระพุทธองค์ตรัสเรียกนิพพานว่า อายตนะ ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรง ตั้งข้อสังเกตว่า น่าจะได้แก่ธัมมายตนะ และทรงอาศัยใจความแห่งพระสูตรน้ีสรุปลักษณะของนิพพานไว้ ๖ ประเดน็ คอื (๑) การทต่ี รสั วา่ ดนิ นาํ้ ไฟ ลมไมม่ ใี นอายตนะนนั้ แสดงวา่ นพิ พานมใิ ชร่ ปู ขนั ธ์ (๒) การทต่ี รสั วา่ อากาสานัญจายตนะเป็นต้นไม่ใช่อายตนะน้ัน แสดงว่านิพพานมิใช่นามขันธ์ (๓) การท่ีตรัสว่าโลกน้ีก็มิใช่ โลกอื่นก็มิใช่ เป็นต้น แสดงว่านิพพานมิใช่โลกอย่างใดอย่างหน่ึงในทางโหราศาสตร์ (๔) การที่ไม่ตรัสว่า อายตนะน้ัน เป็นการมา เป็นการไป เป็นต้น แสดงว่านพิ พานไมม่ กี ารตดิ ต่อสมั พนั ธก์ ับโลกอน่ื (๕) การที่ตรสั ว่าอายตนะนั้นหาที่ต้ังอาศัยมไิ ด้ เปน็ ต้น แสดงว่านิพพานมใิ ช่เป็นโลกเองพรอ้ มท้งั สัตวโ์ ลก (๖) การทต่ี รสั ว่า นั่นแลทส่ี ดุ แหง่ ทุกข์ แสดงว่านพิ พานเปน็ ปลายสายแห่งกองทุกขท์ ่ีสนิ้ สดุ ลง ภกิ ษทุ ้ังหลาย อายตนะอันไมเ่ กิดแล้ว ไม่เปน็ แลว้ อนั ปจั จัยไม่กระท�ำ แล้วไมแ่ ต่งแล้วมีอยู่. แนวทางการจัดการเรยี นรู้ธรรมศึกษา ช้ันเอก วิชาธรรม

83 บาลีแสดงนิพพานธาตุทั้ง ๒ พระพทุ ธพจน์ท่แี สดงนพิ พานธาตทุ ั้ง ๒ มีดงั นี้ ธรรมชาตนิ นั่ สงบแลว้ ธรรมชาตนิ น่ั ประณตี ธรรมชาตไิ รเลา่ เปน็ ทส่ี งบแหง่ สงั ขารทง้ั ปวง เป็นที่สละคนื อุปธทิ ้งั ปวง เปน็ ทีส่ ้นิ แห่งตัณหา เปน็ ทีส่ ิน้ กำ�หนัด เป็นทดี่ ับ คือนพิ พาน. อุปธิ ในคำ�นี้ เป็นชื่อแห่งกิเลสก็ว่า ด้วยอรรถว่าเข้าไปทรงคือเข้าครอง ได้ในคำ�ว่า อุปธิวิเวโก เป็นชื่อแห่งปัญจขันธ์ก็ว่า ด้วยอรรถว่าเข้าไปทรงคือหอบไว้ซ่ึงทุกข์ ได้ในคำ�ว่า ยัญทั้งหลายย่อมกล่าว ยกย่องรูป เสียง รส กาม และสตรีทั้งหลาย ข้าพเจ้ารู้ว่า นั่นมลทินในอุปธิท้ังหลายแล้ว เหตุนั้น จงึ ไมย่ ินดีแลว้ ในการเซน่ ไม่ยนิ ดแี ล้วในการบวงสรวง. อุปธิ ในที่น้ี ได้แก่ ปัญจขันธ์ คำ�ว่า เป็นที่สงบแห่งสังขารท้ังปวง และคำ�ว่า เป็นที่สละคืน อุปธิทั้งปวง หมายถึง อนุปาทิเสสนิพพาน ส่วน ๓ คำ�หลังว่า เป็นท่ีส้ินตัณหา เป็นต้น หมายถึง สอปุ าทิเสสนิพพาน การปฏิบัติ ดำ�เนินตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา อันได้แก่อริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ ถือว่าชีวิต ในโลกน้ีมีหลายครั้ง มีการเวยี นว่ายตายเกิดจนกวา่ จะส้ินกิเลส แนวทางการจัดการเรยี นรธู้ รรมศกึ ษา ชั้นเอก วิชาธรรม

84 ใบความร้ทู ี่ ๖ หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นปรมัตถปฏิปทา นิพพาน ความดับทุกข์ ๑. นิพพฺ านํ ปรมํ วทนฺติ พทุ ฺธา. : พระพทุ ธเจา้ ท้ังหลาย ยอ่ มกล่าวนพิ พานวา่ ยวดยงิ่ . ๒. นพิ ฺพานคมนํ มคฺคํ ขปิ ปฺ เมว วิโสธเย. : พงึ รีบรัดชำ�ระทางไปนพิ พาน. ๓. นิพพฺ านํ ปรมํ สุขํ. : นพิ พานเป็นสขุ อย่างยิ่ง. อธบิ าย ค�ำ ว่า นพิ พาน สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ ฯ ทรงแสดงพระมตไิ ว้ ๒ นยั ดงั น้ี ๑) นิพฺพาน แปลว่า ดับ มาจาก วา ธาตุ, มี นี เป็นบทหน้า, ยุ ปัจจัย, แปลง ยุ เป็น อน, แปลง ว เป็น พ ส�ำ เร็จรูปเป็น นิพพฺ าน ๒) นพิ พฺ าน แปลวา่ หาของเสยี บแทงมไิ ด้ ออกจาก วาน ศพั ท์ อนั เปน็ ชอ่ื ของลกู ศร มี นี เปน็ บทหนา้ ในความหมายปฏิเสธ เข้ารูปเป็นปญั จมหี รอื ฉัฏฐีพหพุ พหิ ิสมาส เทยี บไดก้ ับบทว่า “อพฺพฬุ ฺหสลฺโล : ผู้มลี ูกศร อันถอนแลว้ ” เปน็ คณุ บทของพระอรหันต์ นิพพาน มีความหมาย ๒ นัย คือ นัยท่ี ๑ นิพพาน แปลว่า ธรรมหาเครื่องเสียบแทงมิได้ หมายถึง ภาวะท่ีจิตปราศจากตัณหา เคร่ืองเสียบแทง นิพพานตามความหมายนี้ ตรงกับค�ำ ว่า สอปุ าทเิ สสนิพพาน คอื ภาวะท่จี ิตดบั กิเลสตณั หาได้ แต่ยังมีเบญจขนั ธ์อยู่ หรือภาวะจิตของบุคคลที่สน้ิ กเิ ลสแลว้ แต่ยังมชี ีวติ อยู่ นัยที่ ๒ นิพพาน แปลว่า ความดับ หมายถึง ภาวะที่ดับกิเลส คือ ราคะ โทสะ และโมหะ ไดอ้ ยา่ งเดด็ ขาด หรอื สภาพทด่ี บั กองทกุ ขใ์ นวฏั ฏะทง้ั มวลอนั มี ชาติ ความเกดิ ชรา ความแก่ มรณะ ความตาย เป็นต้น ได้อย่างสิ้นเชิง นิพพานตามความหมายน้ี ตรงกับคำ�ว่า อนุปาทิเสสนิพพาน คือภาวะท่ีดับกิเลส ไมม่ เี บญจขนั ธ์เหลือ หรอื ภาวะทส่ี ิ้นทงั้ กเิ ลสทัง้ ชวี ิต ดุจประทปี สน้ิ เชอื้ ดับไป ฉะนัน้ จดุ ประสงคข์ องการแสดงอุทเทสแห่งนิพพาน สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงประมวลพระพุทธภาษิตเป็นอุทเทส แหง่ นพิ พานน้ไี ว้ดว้ ยพระประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑) เพอ่ื ทรงแสดงอุดมการณห์ รือจุดหมายสงู สุดแหง่ พระพทุ ธศาสนา คอื นพิ พาน ๒) เพ่อื ทรงแสดงเหตุโดยชกั ชวนพทุ ธบรษิ ทั ให้แผว้ ถางทางไปนพิ พาน ๓) เพือ่ ทรงพรรณนาผลว่านิพพานเป็นสขุ อย่างย่งิ หลักการสน้ิ สดุ การเวยี นว่ายตายเกดิ ในศาสนาตา่ งๆ สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงประมวลมติเกี่ยวกับหลักการส้ินสุดแห่งการเวียนว่ายตายเกิด อนั เป็นจุดหมายสงู สุดของศาสนาพราหมณแ์ ละศาสนาคริสต์ไวด้ งั นี้ แนวทางการจดั การเรียนรูธ้ รรมศกึ ษา ชัน้ เอก วชิ าธรรม

85 ๑) ศาสนาพราหมณ์ หรือฮินดู ถือว่า มีต้นเดิมอย่างหนึ่งเรียกว่า ปรมาตมัน แบ่งภาคออกไป เขา้ สิงรปู กายทีเ่ รยี กวา่ อาตมนั ซึ่งตกอย่ใู นคติแหง่ กรรม ถ้าท�ำ บาปหนัก ย่อมตกนรกไมม่ กี �ำ หนด ถ้าทำ�บาป ไม่มากนัก ย่อมตกนรกช่ัวคราวบ้าง เกิดเป็นสัตว์ดิรัจฉาน ปีศาจ ยักษ์ และมนุษย์ชั้นเลวบ้าง ส่วนท่ีทำ�ดี พอประมาณ ย่อมเกิดในสวรรค์ชั้นต่ํา หรือเกิดในมนุษย์โลก เป็นคนช้ันดี ทำ�ดีมากข้ึน คติย่อมดีมากข้ึน ความดีย่อมผลัดเปล่ียนคติให้ดีขึ้น เมื่อท่องเท่ียวไปอย่างน้ีแล้ว ในที่สุดย่อมถึงความบริสุทธ์ิจากบาปท้ัง ปวง ได้ช่ือวา่ มหาตมัน มหาตมนั นั้นจตุ ิจากร่างทส่ี ุดแลว้ ยอ่ มกลบั เข้าส่ปู รมาตมนั ตามเดิม แลว้ เปน็ อยคู่ งที่ ไม่จุติอีก ตามท่ีกล่าวมานี้เป็นท่ีสุดแห่งสังสารวัฏ หรือการเวียนว่ายตายเกิดของศาสนาพราหมณ์ เรียกว่า นิรวาณมฺ ๒) ศาสนาครสิ ต์ มกี ารบญั ญตั ทิ ส่ี ดุ การเวยี นวา่ ยตายเกดิ เชน่ เดยี วกนั กบั ศาสนาพราหมณ์ แตเ่ นน้ บคุ ลาธษิ ฐาน กลา่ วคอื นกั บญุ หลงั จากตายยอ่ มขน้ึ สวรรคไ์ ปอยกู่ บั พระเจ้าเปน็ นริ นั ดร ปฏเิ สธการกลบั มาเกดิ เปน็ มนษุ ยแ์ ละเป็นสัตวด์ ริ จั ฉานสลับกนั ในหนังสือศาสนาเปรียบเทียบ ท่านอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ได้ประมวลหลักจุดหมาย ปลายทางแหง่ สังสารวัฏของศาสนาเดน่ ๆ ของโลกไว้ โดยสรุปความดังนี้ ๑) ศาสนาพราหมณ์ มจี ดุ หมายปลายทาง คอื ความเปน็ พรหม โดยกลมกลนื เปน็ อนั หนง่ึ เดยี วกบั พระพรหม (ปรมาตมนั ) มวี ธิ ปี ฏบิ ตั โิ ดยบ�ำ เพญ็ โยคะ ปลกู ฝงั ใหเ้ กดิ ความรเู้ กย่ี วกบั พระพรหม ถอื วา่ ชวี ติ ในโลกน้ี มหี ลายครง้ั มีการเวยี นว่ายตายเกดิ ๒) ศาสนาคริสต์ มีจุดหมายปลายทาง คือสวรรค์ โดยคนเราเม่ือตายแล้วได้ไปอยู่กับพระเจ้า ในสวรรค์ มวี ธิ ปี ฏิบตั โิ ดยทำ�ตามบญั ญตั ิของพระเจ้า และถือวา่ ชวี ิตในโลกนม้ี ีเพยี งคร้งั เดียว ๓) ศาสนาอิสลาม มีจุดหมายปลายทาง คือสวรรค์ แต่ไม่ไปอยู่กับพระเจ้า มีวิธีปฏิบัติ คือ ๑) มคี วามเช่ือในพระอัลเลาะหแ์ ละทตู ของพระองค์ คือ พระนะบมี ูฮัมหมัด (๒) ท�ำ ละหมาด คือ สวดมนต์ หันหน้าไปทางเมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย (๓) ให้ทาน (๔) อดอาหารกลางวันในเดือนรอมฎอน กลางคนื ไม่ห้าม ๔) พระพุทธศาสนา มจี ดุ หมายปลายทาง คอื พระนิพพาน โดยดบั กเิ ลสทีเ่ ป็นต้นเหตุแห่งความ ทกุ ขค์ วามเดอื ดรอ้ นไดส้ นิ้ เชงิ มวี ธิ ปี ฏบิ ตั เิ พอื่ ดบั กเิ ลส คอื ด�ำ เนนิ ตามหลกั มชั ฌมิ าปฏปิ ทา อนั ไดแ้ กอ่ รยิ มรรค มีองค์ ๘ ประการ ถอื ว่าชีวิตในโลกนมี้ ีหลายครั้ง มกี ารเวยี นว่ายตายเกดิ จนกว่าจะสิน้ กเิ ลส นิพพาน : จดุ หมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาถือเหตุปัจจัยอันปรุงแต่งสังขาร คือ อวิชชาเป็นต้นสาย นิพพานเป็นปลายสาย และปฏเิ สธอตั ตา แตย่ อมรบั ความเชอ่ื มถงึ กนั แหง่ จตุ จิ ติ กบั ปฏสิ นธจิ ติ ในภพหน้า ยอมรบั การเวยี นวา่ ยตายเกดิ ในภพภมู ติ า่ งๆ เชน่ ตกนรก เปน็ เปรต เปน็ อสรู กาย เปน็ สตั วด์ ริ ัจฉาน เกิดเป็นมนุษย์ เปน็ เทวดาในสวรรคช์ ั้น ต่างๆ ดว้ ยอ�ำ นาจกรรม แต่การตกนรกนน้ั มีระยะกาลส้นิ สุดเม่ือชดใช้กรรมจนหมด พระพทุ ธศาสนาปฏเิ สธ ความบริสุทธ์ิแห่งจิตด้วยการรอคอยโชคชะตาวาสนา หรือเกิดจากส่ิงอื่นดลบันดาล แต่รับรองความบริสุทธ์ิ แหง่ จติ ด้วยการบำ�เพ็ญวิปัสสนากมั มฏั ฐานจนบรรลอุ รหตั ตผล พระพุทธศาสนายกยอ่ งนิพพานว่าเป็นอมตธรรม คือ ธรรมทไ่ี มต่ าย ดังพระบาลีวา่ อปฺปมาโท อมตํ ปท.ํ : ความไมป่ ระมาท เป็นทางไม่ตาย และว่า เป็นสถานทอ่ี นั ไมจ่ ตุ ิ ไม่มีความเศร้าโศก ดงั พระบาลีว่า แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศกึ ษา ชัน้ เอก วชิ าธรรม

86 เต ยนฺติ อจฺจุตํ าน ํ ยตฺถ คนตฺ ฺวา น โสจเร. มนุ เี หลา่ น้ัน ย่อมไปสู่สถานไมจ่ ุติ ท่ไี ปแล้วไมเ่ ศร้าโศก โดยนยั นี้ นิพพานอันเปน็ ปลายสาย จดั เปน็ วสิ ังขาร คือ ภาวะท่ตี รงข้ามกับสงั ขาร เป็นอสงั ขตะ คือ ส่ิงที่ปจั จยั มไิ ด้ปรุงแตง่ เพราะพน้ จากความเป็นสงั ขาร และอนั ปจั จยั มิได้ปรุงแต่งให้เกดิ อีก นพิ พานธาตุ ๒ พระพุทธองค์ตรัสนิพพานธาตุไว้ในทุกนิบาต อิติวุตตกะ ขุททกนิกาย (พระไตรปิฎกเล่มท่ี ๒๕/ ๒๕๘-๒๕๙) ๒ ประเภท คือ ๑) สอปุ าทเิ สสนพิ พานธาตุ นพิ พานธาตยุ งั มอี ปุ าทเิ หลอื ไดแ้ ก่ ภาวะทดี่ บั กเิ ลส มเี บญจขนั ธเ์ หลอื คือสิ้นกิเลส แต่ยงั มชี ีวติ อยู่ เรยี กว่า กเิ ลสปรนิ ิพพาน ๒) อนปุ าทเิ สสนพิ พานธาตุ นพิ พานธาตไุ มม่ อี ปุ าทเิ หลอื ไดแ้ ก่ภาวะทด่ี บั กเิ ลสไมม่ เี บญจขนั ธเ์ หลอื คือสิน้ ทัง้ กเิ ลสและชวี ติ เรยี กวา่ ขันธปรนิ ิพพาน ค�ำ วา่ อปุ าทิ ในนพิ พานธาตทุ ง้ั สองนน้ั ไดแ้ ก่ เบญจขนั ธ์ คอื รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ ทถ่ี กู กรรมกิเลสเข้าถอื มน่ั หรอื ยึดครองไวม้ ่นั บาลีแสดงปฏิปทาแหง่ นพิ พาน พระพทุ ธพจน์ทีแ่ สดงปฏปิ ทาแหง่ นิพพาน มนี ัยดงั นี้ ภิกษุยนิ ดใี นความไมป่ ระมาทแล้ว หรอื เหน็ ภยั ในความประมาทโดยปกติ ยอ่ มเป็นผ้ไู ม่พอเพือ่ เสอื่ มรอบ ย่อมปฏบิ ตั ใิ กล้นิพพานเทียว. ความไม่ประมาท ในที่น้ี คือ การอยู่ไม่ปราศจากสติ เจริญสติปัฏฐาน ๔ อยู่เสมอ ซ่ึงเป็น หลกั ธรรมส�ำ คัญทท่ี ำ�ผปู้ ฏบิ ัติใหบ้ รรลนุ พิ พานได้ ภิกษุหนักในพระศาสดา หนักในพระธรรม มีความเคารพกล้าในพระสงฆ์ มีความเพียร หนักในสมาธิ มีความเคารพกล้าในสิกขา หนักในความไม่ประมาท และเคารพในปฏสิ ันถาร ย่อมเปน็ ผ้ไู ม่พอเพอ่ื เสื่อมรอบ ยอ่ มปฏิบัติใกลน้ พิ พานเทยี ว. ความเคารพ ในท่ีน้ี คือ ความเอ้ือเฟื้อตระหนักในพระรัตนตรัย ในการบำ�เพ็ญสมาธิ ในการ ปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา ในความไม่ประมาทต่อการเจริญสติปัฏฐาน ๔ และในธรรมปฏิสันถาร เมื่อผู้ใด มคี วามเคารพดังกล่าวมาน้ี ช่อื ว่าปฏิบัตติ นเพ่อื ความเจริญ มุ่งตรงต่อการบรรลุนิพพานอย่างแนแ่ ท้ ฌานและปญั ญามใี นผู้ใด ผนู้ นั้ ปฏิบตั ใิ กลน้ พิ พาน. ฌานและปัญญา ในที่น้ี คือ ฌาน ไดแ้ ก่ จติ ที่เปน็ สมาธิแนว่ แน่ สงบจากนิวรณธรรม ในภาคปฏิบัติ ได้แก่ การเจรญิ สมถกมั มัฏฐาน ส่วนปัญญา ได้แก่ จิตท่ีร้เู ท่าทันความเป็นไปของสรรพส่ิงตามความเปน็ จรงิ ในภาคปฏบิ ตั ิ ได้แก่ การเจรญิ วปิ ัสสนากัมมัฏฐาน ภิกษุ เธอจงวดิ เรอื นี้ เรอื อันเธอวิดแล้ว จักพลันถึง เธอตดั ราคะและโทสะแล้ว แต่นั้นจักถึงนพิ พาน. คำ�ว่า เรอื หมายถงึ อตั ภาพรา่ งกายของคนเรา อันลอยอยูใ่ นแม่น้าํ คือสังสารวฏั เรอื อันเธอวิดแล้ว หมายถึง การบรรเทากิเลสและบาปธรรมให้เบาบางลงจนตัดได้เด็ดขาด เม่ือตัดกิเลสและบาปธรรมได้แล้ว เรือคืออตั ภาพน้กี ็จกั แลน่ ไปถงึ ท่าคอื พระนพิ พานไดใ้ นทส่ี ุด แนวทางการจดั การเรียนรธู้ รรมศึกษา ชน้ั เอก วชิ าธรรม

87 บาลีแสดงสอปุ าทเิ สสนพิ พาน พระพทุ ธพจน์ท่แี สดงสอปุ าทิเสสนพิ พาน มีดังนี้ เพราะละตัณหาเสยี ทา่ นกลา่ ววา่ นพิ พาน. ความดบั ดว้ ยส�ำ รอกโดยไมเ่ หลือ เพราะสน้ิ แห่งตณั หาทงั้ หลาย ด้วยประการทั้งปวง เป็นนิพพาน. ธาตอุ ันหนึ่งแลเปน็ ไปในธรรมอันแลเห็นแล้วในโลกน้ี เปน็ นพิ พานธาตุ มอี ุปาทิยงั เหลือ เพราะส้ินธรรมชาติผู้นำ�ไปสภู่ พ (คือตณั หา). ไวพจน์แห่งวิราคะ มีคำ�ว่า “มทนิมฺมทโน ธรรมยังความเมาให้สร่าง” เป็นต้น ดังที่กล่าวแล้ว ในหัวข้อแห่งวิราคะ พงึ ทราบวา่ หมายถึง สอุปาทเิ สสนพิ พาน บาลแี สดงอนุปาทิเสสนิพพาน พระพทุ ธพจนท์ แี่ สดงอนุปาทเิ สสนิพพาน มีดังนี้ เรากลา่ วทวีปนนั่ มิใชอ่ ืน่ หาห่วงมิได้ หาเครื่องยึดมิได้ เปน็ ท่ีสน้ิ รอบแห่งชราและมจั จวุ า่ นพิ พาน. สว่ นธาตเุ ปน็ ไปในธรรมอนั จะพึงถงึ ข้างหนา้ ที่ภพทงั้ ปวงดับ ด้วยประการทง้ั ปวง เปน็ นิพพานธาตหุ าอปุ าทิเหลือมิได้. ความเขา้ ไปสงบแหง่ สังขารเหลา่ น้นั ย่อมเป็นสขุ . ภกิ ษุทัง้ หลาย อายตนะนนั้ มีอยู่ ทด่ี ิน นํา้ ไฟ ลมไม่มเี ลย อากาสานัญจายตนะ วิญญานัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็มิใช่ โลกน้ีก็มิใช่ โลกอ่ืน ก็มิใช่ ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ท้ังสองก็มิใช่ อน่ึง ภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล่าวเลย ซึ่งอายตนะนั้นว่า เป็นการมา เป็นการไป เป็นการยืน เป็นการจุติ เป็นการเกิด อายตนะนั้นหาที่ต้ังอาศัยมิได้ มิได้เป็นไป หาอารมณม์ ไิ ด้ น่ันแลทสี่ ดุ แห่งทกุ ข.์ ในพระสูตรน้ี พระพุทธองค์ตรัสเรียกนิพพานว่า อายตนะ ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรง ต้ังข้อสังเกตว่า น่าจะได้แก่ธัมมายตนะ และทรงอาศัยใจความแห่งพระสูตรนี้สรุปลักษณะของนิพพานไว้ ๖ ประเดน็ คอื (๑) การทต่ี รสั วา่ ดนิ นา้ํ ไฟ ลมไมม่ ใี นอายตนะนนั้ แสดงวา่ นพิ พานมใิ ชร่ ปู ขนั ธ์ (๒) การทต่ี รสั วา่ อากาสานัญจายตนะเป็นต้นไม่ใช่อายตนะน้ัน แสดงว่านิพพานมิใช่นามขันธ์ (๓) การท่ีตรัสว่าโลกนี้ก็มิใช่ โลกอื่นก็มิใช่ เป็นต้น แสดงว่านิพพานมิใช่โลกอย่างใดอย่างหน่ึงในทางโหราศาสตร์ (๔) การที่ไม่ตรัสว่า อายตนะนัน้ เป็นการมา เป็นการไป เป็นต้น แสดงว่านพิ พานไม่มีการตดิ ตอ่ สมั พนั ธก์ ับโลกอ่นื (๕) การที่ตรัส ว่าอายตนะนน้ั หาท่ตี งั้ อาศัยมไิ ด้ เปน็ ตน้ แสดงวา่ นิพพานมใิ ช่เปน็ โลกเองพรอ้ มทง้ั สตั วโ์ ลก (๖) การทต่ี รสั วา่ นน่ั แลทส่ี ุดแหง่ ทกุ ข์ แสดงว่านิพพานเป็นปลายสายแห่งกองทุกขท์ ส่ี ิน้ สุดลง ภกิ ษทุ ั้งหลาย อายตนะอันไมเ่ กิดแลว้ ไม่เปน็ แลว้ อันปจั จยั ไม่กระท�ำ แล้วไม่แต่งแล้วมอี ย.ู่ แนวทางการจัดการเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ช้ันเอก วชิ าธรรม

88 บาลแี สดงนพิ พานธาตุทัง้ ๒ พระพุทธพจนท์ แี่ สดงนพิ พานธาตทุ ้ัง ๒ มีดังน้ี ธรรมชาตนิ น่ั สงบแลว้ ธรรมชาตนิ น่ั ประณตี ธรรมชาตไิ รเลา่ เปน็ ทส่ี งบแหง่ สงั ขารทงั้ ปวง เป็นที่สละคืนอปุ ธิทัง้ ปวง เปน็ ที่ส้นิ แหง่ ตัณหา เปน็ ทส่ี นิ้ กำ�หนัด เป็นทด่ี บั คือนิพพาน. อุปธิ ในคำ�น้ี เป็นช่ือแห่งกิเลสก็ว่า ด้วยอรรถว่าเข้าไปทรงคือเข้าครอง ได้ในคำ�ว่า อุปธิวิเวโก เป็นชื่อแห่งปัญจขันธ์ก็ว่า ด้วยอรรถว่าเข้าไปทรงคือหอบไว้ซ่ึงทุกข์ ได้ในคำ�ว่า ยัญทั้งหลายย่อมกล่าว ยกย่องรูป เสียง รส กาม และสตรีท้ังหลาย ข้าพเจ้ารู้ว่า นั่นมลทินในอุปธิทั้งหลายแล้ว เหตุนั้น จงึ ไมย่ นิ ดีแลว้ ในการเซ่น ไม่ยินดแี ล้วในการบวงสรวง. อุปธิ ในท่ีนี้ ได้แก่ ปัญจขันธ์ คำ�ว่า เป็นที่สงบแห่งสังขารท้ังปวง และคำ�ว่า เป็นที่สละคืน อุปธิท้ังปวง หมายถึง อนุปาทิเสสนิพพาน ส่วน ๓ คำ�หลังว่า เป็นท่ีส้ินตัณหา เป็นต้น หมายถึง สอุปาทเิ สสนพิ พาน สรปุ ความ พระพุทธองค์ตรัสให้รีบรัดชำ�ระทางไปพระนิพพาน เพราะทางไปนิพพานนั้น ย่อมเป็นไปเพ่ือ ความเขา้ ไปสงบ เพอื่ ความรยู้ ง่ิ เพอื่ นพิ พาน ทต่ี รสั ว่า นพิ พานเปน็ สขุ อย่างยวดยงิ่ เพราะนพิ พานเปน็ ความสขุ สงบ เย็น เช่นนํา้ ระงบั ดับกระหาย สำ�หรบั ผปู้ ฏบิ ตั ิ การฝึกอบรมจิตไปตามทางแห่งนิพพาน เป็นการดำ�เนนิ ใกลน้ พิ พานไปทกุ ขณะ ดังในพระบาลีว่า “นิพพฺ านสฺเสว สนตฺ ิเก : ย่อมปฏิบัติใกล้นพิ พานเทียว” จติ อันเคยกำ�หนัดในอารมณ์อนั ชวนใหก้ ำ�หนดั มวั เมาในอารมณ์อนั ชวนใหเ้ มา ภายหลงั มาหนา่ ย โดยโยนโิ สมนสกิ ารแลว้ ยอ่ มสน้ิ ก�ำ หนดั ยอ่ มหลดุ พน้ ยอ่ มถงึ ความหมดจดผอ่ งใส ยอ่ มสงบ ยอ่ มเปน็ จรมิ กจติ ดบั สนทิ ในอวสาน นิพพิทา วริ าคะ วมิ ตุ ติ วิสุทธิ สนั ติ และนพิ พาน เป็นธรรมเนอ่ื งถึงกันดว้ ยประการฉะนี้ แนวทางการจดั การเรียนร้ธู รรมศกึ ษา ชั้นเอก วชิ าธรรม

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๗ 89 ธรรมศกึ ษาช้นั เอก สาระการเรยี นรวู้ ิชาธรรม เวลา..............ชั่วโมง เรื่อง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ธศ ๑ รแู้ ละเข้าใจหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา มีศรทั ธาที่ถูกตอ้ ง ยึดมัน่ และปฏิบัติ ตามหลกั ธรรม เพื่ออย่รู ว่ มกันอยา่ งสันติสุข ๒. ผลการเรยี นรู้ รแู้ ละเข้าใจหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ ๓. สาระสำ�คญั หลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ เป็นหลักธรรมท่ีว่าด้วยคติ ประกอบด้วย ทุคติ และสคุ ติ หากบคุ คลยดึ มน่ั และปฏบิ ัตไิ ดจ้ ะอยู่ในสงั คมด้วยความเปน็ สุข ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ นกั เรียนอธิบายหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสงั สารวัฏได ้ ๕. สาระการเรียนรู้/เนอ้ื หา - ทุคติ - สุคติ ๖. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ข้นั สืบค้นและเชอื่ มโยง ๑. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสังสารวัฏ โดยใช้คำ�ถาม เพ่ือพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดและเชื่อมโยงไปสกู่ ารเรียนรู้ - นักเรยี นเคยเรยี นเร่ืองหลักธรรมของพระพุทธศาสนาส่วนสงั สารวฏั บ้างหรอื ไม่ - หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสว่ นสงั สารวัฏมอี ะไรบา้ ง - นักเรยี นเคยไดย้ นิ ได้เหน็ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสงั สารวัฏจากทไ่ี หนบ้าง ข้ันฝกึ ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา สว่ นสงั สารวัฏ คติ ประกอบดว้ ย ทคุ ติ และสคุ ติ จากใบความรูท้ ่ี ๗ ๓. นกั เรียนแต่ละกลุ่มจัดเตรยี มการเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรียน แนวทางการจดั การเรียนรู้ธรรมศึกษา ชัน้ เอก วิชาธรรม

90 ขน้ั ประยุกต์ ๔. ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำ�เสนอตามหัวขอ้ ท่ีตนเองไดร้ บั มอบหมายเพือ่ แลกเปล่ียนเรียนรู้ ๕. นกั เรียนในแต่ละกล่มุ ตอบค�ำ ถามตามใบกิจกรรมที่ ๗ ๖. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ในแตล่ ะหัวข้อ ๗. ภาระงาน/ชิน้ งาน ท่ี ภาระงาน ชิ้นงาน ใบกิจกรรมที่ ๗ ๑ ตอบคำ�ถามเก่ยี วกบั หลักธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั ๘. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ ๑. ใบความรูท้ ่ี ๗ เร่อื ง หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาส่วนสังสารวฏั ๒. ใบกจิ กรรมที่ ๗ ๙. การวดั ผลและประเมินผล สิง่ ท่ีต้องการวัด วิธวี ัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมิน อธิบายหลกั ธรรมของ - ตรวจผลงาน - แบบประเมนิ ผา่ น = ไดค้ ะแนนตง้ั แต่รอ้ ยละ ๖๐ ข้ึนไป พระพุทธศาสนา ผลงาน ไมผ่ ่าน = ไดค้ ะแนนตํ่ากว่ารอ้ ยละ ๖๐ สว่ นสงั สารวฏั ได้ แนวทางการจัดการเรยี นรูธ้ รรมศกึ ษา ชน้ั เอก วิชาธรรม

ข้อ ที่ แบบประเมินผลงาน 91 ๔ - ๕ คะแนน ใบกิจกรรมที่ ๗ ๑ คะแนน ๑ - ๒ ตอบคำ�ถามถูกตอ้ ง ตอบคำ�ถามถูกตอ้ งและ ตรงประเด็น ระดบั คะแนน ตรงประเดน็ นอ้ ย ๒ - ๓ คะแนน ตอบค�ำ ถามถกู ต้อง ตรงประเดน็ ส่วนใหญ ่ เกณฑ์ เกณฑก์ ารตัดสิน คะแนน ผ่าน ๓ คะแนนขึน้ ไป ไม่ผ่าน รอ้ ยละ ๒ คะแนนลงมา ๖๐ ข้นึ ไป ตา่ํ กวา่ ๖๐ หมายเหตุ เกณฑก์ ารตดั สินสามารถปรับใช้ตามความเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย แนวทางการจัดการเรียนรู้ธรรมศกึ ษา ช้ันเอก วชิ าธรรม

92 ใบกจิ กรรมท่ี ๗ หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสงั สารวฏั ช่อื กล่มุ .................... ช่ือ.........................................................................................ชนั้ .....................เลขท่ี........................... ชือ่ .........................................................................................ช้ัน.....................เลขท.่ี .......................... ช่อื .........................................................................................ช้ัน.....................เลขท.ี่ .......................... คำ�ชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามต่อไปน้ี จำ�นวน ๒ ขอ้ (๑๐ คะแนน) ๑. อธบิ ายถงึ ความหมายและการปฏิบัตติ นของทุคติ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ๒. อธบิ ายถึงความหมายและการปฏบิ ตั ติ นของสคุ ติ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. แนวทางการจัดการเรยี นรูธ้ รรมศกึ ษา ชั้นเอก วิชาธรรม

93 เฉลยใบกิจกรรมที่ ๗ หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาสว่ นสังสารวัฏ ๑. อธบิ ายถึงความหมายและการปฏบิ ตั ิตนของทคุ ติ ตอบ ทุคติ คือ คติชั่ว ภูมิเป็นที่ไปข้างชั่ว สถานที่ไปเกิดไม่ดี ในบางสูตรแจกเป็น ๒ คอื ๑) นริ ยะ คอื นรก โลกอนั หาความเจรญิ มไิ ด้ ๒) ตริ จั ฉานโยนิ ก�ำ เนดิ สตั วด์ ริ จั ฉาน (สตั วเ์ จรญิ โดยขวางหรอื ไป ตามยาว)บางสตู รเพมิ่ ปติ ตวิ สิ ยะ แดนแหง่ เปรต เขา้ ไปเปน็ ๓ ดว้ ยกนั อกี อยา่ งหนง่ึ วา่ อบาย โลกอนั ปราศจาก ความเจริญ ทุคติ ภูมิเป็นที่ไปข้างชั่ว วินิบาต โลกท่ีทำ�ให้สัตว์ผู้ตกอยู่ไร้อำ�นาจ ในสูตรโดยมากเพ่ิมนิรยะ ไว้ตอนทา้ ย จึงรวมเปน็ ๔ การปฏบิ ตั ิ เราต้องปฏิบัติดี ไมป่ ฏิบัตชิ ่วั หลกี เลย่ี งทางช่ัว ๒. อธบิ ายถงึ ความหมายและการปฏิบัตติ นของสคุ ติ ตอบ สุคติ คือ คตดิ ี ภูมิเปน็ ทไ่ี ปขา้ งดี สถานที่ไปเกดิ อยู่สุขสบาย ภมู ิอนั เปน็ ที่เกิดของผู้ประกอบ กศุ ลกรรม มี ๒ อยา่ ง คอื (๑) มนุษยโลก โลกของมนุษย์ หมายถงึ ภมู ิทอี่ ยขู่ องสตั ว์ทม่ี ีจิตใจสูง เปน็ ผูร้ ูจ้ ัก ใช้เหตุผล (๒) เทวโลก โลกของเทวดาและพรหม หมายถึง ภูมิที่อยู่ของเทวดาในสวรรค์ชั้นกามาพจร ๖ และพรหมผู้สถติ อย่ใู นพรหมโลก การปฏิบัติ เราตอ้ งปฏบิ ัตดิ ี ไมป่ ฏบิ ัตชิ ั่ว พงึ ปฏิบัติแตท่ างดี แนวทางการจดั การเรียนรูธ้ รรมศึกษา ชัน้ เอก วชิ าธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook