๙๗ มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั ส ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗ ส ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ ส ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ ส ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ ส ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ ส ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ ส ๕.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ ส ๕.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ รวม ๘ มาตรฐาน ๓๑ ตวั ช้ีวัด หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๙๘ คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน (สังคมศกึ ษาฯ) ส ๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๔ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาค้นคว้า อภิปราย สรุปเก่ียวกับความสาคัญทางศาสนา และศาสดาของศาสนาพุทธ คัมภีร์ทาง ศาสนาท่ีตนนับถือ หลักธรรมของศาสนา การบริหารจิตและเจริญปัญญา ชื่นชมการทาความดีของบุคลากรใน สังคม แปลความหมายในคัมภีร์ของศาสนา การมีสว่ นร่วมในการบารุงรักษาศาสนสถานของศาสนาท่ตี นนับถือ มรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี การปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมและวันสาคัญทางศาสนา รวมทั้ ง ศาสนาต่าง ๆ ในประเทศสมาชกิ อาเซยี น การปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมืองดตี ามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดี ของชุมชนการเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี สิทธิเด็กเพ่ือป้องกันตัวเอง ความแตกต่างของวัฒนธรรมในท้องถ่ิน การ ยอมรับคุณค่าของกันและกัน ช่ืนชมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การ รวมกลุ่มภาครัฐและเอกชนเพ่ือพัฒนาท้องถ่ิน การปฏิบัติตามกฎหมายในชีวิตประจาวัน ปัจจัยท่ีมีผลต่อการ เลือกซื้อสินค้าและบริการ สิทธิพ้ืนฐานและรักษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะผู้บริโภค หลักการของ เศรษฐกิจพอเพียงและนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันของตนเอง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน หน้าที่ เบ้ืองต้นของเงินในระบบเศรษฐกิจ การธนาคาร สถาบันการเงินอ่ืน ๆ ภาษีที่เก่ียวข้องในชีวิตประจาวัน การ พ่ึงพา การแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจ การอ่านแผนที่ สัญลักษณ์ ข้อมูลที่ต้ัง สภาพพ้ืนท่ี และลักษณะอากาศ ของจงั หวัดตน ลกั ษณะทางภูมศิ าสตร์และทรัพยากรทางธรรมชาติ แม่นา้ ลาคลอง ป่าไม้ ทส่ี ง่ ผลตอ่ การดาเนิน ชีวิตของชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดของตน การเปล่ียนของสิ่งแวดล้อมในชุมชน ผลกระทบ และแนวทางการ จัดการสิง่ แวดล้อม โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้ น กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ แก้ปัญหา และกระบวนการพัฒนาค่านิยม ผ่านสถานการณ์จริง รวมท้ังใช้วิธีการสืบสอบหรือวิธีสอนแบบ โครงงาน (กระบวนการเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน ๕ STEPs) การต้ังคาถาม การแสวงหาสารสนเทศ การสร้างความรู้ การส่ือสาร และการตอบแทนสังคม นาการเรียนรู้ไปร่วมสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์ โดยบูรณาการกับสภาพ ภูมิสังคม เพื่อมุ่งสร้างพื้นฐานผู้เรียน ๔ ด้าน ได้แก่ มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตท่ีมั่นคง-มี คุณธรรม มีงานทา-มีอาชีพ และเป็นพลเมืองดี ร่วมกับหลักสูตรต้านทุจริต การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG/จิตพอเพียงต่อต้านการ ทุจริต ร้หู นา้ ทขี่ องพลเมอื งและรับผดิ ชอบต่อสงั คมในการต่อตา้ นการทจุ รติ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ผูกพันตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ รกั ความเปน็ ไทย เหน็ คุณคา่ ของวัฒนธรรม ไทย ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมในท้องถ่ินของตนเอง มีจิตสาธารณะ ตระหนักและ เห็นความสาคัญของการ ต่อต้านและการปอ้ งกนั การทจุ รติ ตลอดจนสามารถนาความรู้ ทกั ษะกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน การทางาน และอยรู่ ว่ มกันในสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ทันกบั การเปล่ียนแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๙๙ มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ัด ส ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗, ป.๔/๘ ส ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ ส ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ ส ๕.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ ส ๕.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ รวม ๘ มาตรฐาน ๓๐ ตัวชีว้ ัด หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๐๐ คาอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน (สังคมศึกษาฯ) ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๕ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๘๐ ช่วั โมง คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษา วิเคราะห์ อภิปรายความสาคัญและประวัติของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจาชาติ หรือของศาสนาที่ตนนับถือ การดาเนินชีวติ และข้อคิดจากประวตั ิสาวก ชาดก เร่ืองเล่าและศาสนกิ ชนตัวอย่าง องค์ประกอบและความสาคัญของพระไตรปิฎกหรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตน นับถือ หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาและศานาสนาอ่ืนที่นับถือ การสวดมนต์ แผ่เมตตา ทาสมาธิ การปฏิบัติตนเพ่ือการพัฒนา ตนเองและสิ่งแวดล้อม พิธีกรรมทางศาสนาและการปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนพิธี ประโยชน์จากการเข้าร่วม กิจกรรมหรือพิธีกรรมทางศาสนา บทบาทหน้าท่ีและสิทธิ เสรีภาพของตนเองในฐานะเป็นพลเมืองที่ดีใน ครอบครวั โรงเรยี น ชุมชน และสงั คม การปกปอ้ งคมุ้ ครองตนเองและผู้อน่ื จากการละเมิดสิทธิเดก็ การดาเนิน ชีวิตและความแตกต่างของวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ินของกลุ่มคนในภูมิภาค แนวทางในการอนุรักษ์และ เผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถ่ินของชุมชน การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ความสาคัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น โครงสร้าง อานาจ หน้าท่ี ดารงตาแหน่งของผู้บริหารท้องถ่ิน ความหมายและประเภทของปัจจัยการผลิตประกอบด้วย ท่ีดิน แรงงาน ทุนและผู้ประกอบการ แหล่งผลิต สินค้าและบริการในชุมชน หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการนาไปประยุกต์ใช้ในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ระบบสหกรณ์ หลักการสาคัญและประโยชน์ของสหกรณ์ การประยุกต์หลักการของ สหกรณ์มาใช้ในชีวิตประจาวัน บทบาทหน้าที่ของธนาคาร ดอกเบ้ียเงินฝากและดอกเบี้ยกู้ยืม การฝากเงิน / การถอนเงิน ผลเสียของการกู้ยืมเงินที่นาไปสู่ความฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย การอ่านแผนที่ สัญลักษณ์ ข้อมูลท่ีตั้ง สภาพพ้ืนที่ และลักษณะอากาศในภูมิภาคของตน ลักษณะทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรทางธรรมชาติ แม่น้า ลาคลอง ป่าไม้ และสถานท่ีสาคัญในภาคกลางหรือภูมิภาคของตน ความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพทาง ภูมิศาสตร์กับลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม และวิถีชีวิตในภูมิภาคต่าง ๆ ของไทย สภาพแวดล้อมทาง กายภาพท่ีมีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถ่นิ ฐานและการย้ายถ่ินของประชากรในภูมิภาค อิทธพิ ลของสิ่งแวดล้อม ทางธรรมชาติท่มี ีต่อวิถชี ีวิตและการสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมในชมุ ชนท้องถ่ิน ผลกระทบจากการกระทาของมนุษย์ ท่มี ีต่อสิง่ แวดลอ้ มและแนวทางการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้น กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ แก้ปัญหา และกระบวนการพัฒนาค่านิยม ผ่านสถานการณ์จริง รวมทั้งใช้วิธีการสืบสอบหรือวิธีสอนแบบ โครงงาน (กระบวนการเรียนรู้ ๕ ข้ันตอน ๕ STEPs) การต้ังคาถาม การแสวงหาสารสนเทศ การสร้างความรู้ การส่ือสาร และการตอบแทนสังคม นาการเรียนรู้ไปรว่ มสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์ โดยบูรณาการกับสภาพ ภูมิสังคม เพื่อมุ่งสร้างพื้นฐานผู้เรียน ๔ ด้าน ได้แก่ มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพ้ืนฐานชีวิตท่ีม่ันคง-มี คุณธรรม มีงานทา-มีอาชีพ และเป็นพลเมืองดี ร่วมกับหลักสูตรต้านทุจริต การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG/จิตพอเพียงต่อต้านการ ทจุ ริต รหู้ นา้ ทีข่ องพลเมอื งและรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมในการต่อต้านการทุจริต เพอื่ ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนาไปปฏิบตั ิในการดาเนนิ ชวี ิต มคี ุณธรรม จริยธรรม มี คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ผกู พนั ตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รกั ความเปน็ ไทย เห็นคุณค่าของวัฒนธรรม ไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมในท้องถ่ินของตนเอง มีจิตสาธารณะ ตระหนักและเห็น หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๐๑ ความสาคัญของการต่อต้านและการป้องกันการทุจริต ตลอดจนสามารถนาความรู้ ทักษะกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน การทางาน และอยูร่ ว่ มกันในสังคมได้อย่างเหมาะสม ทันกับการเปลีย่ นแปลงของสังคม และสภาพแวดลอ้ ม มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ส ๑.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗ ส ๑.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ ส ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป. ๕/๔ ส ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ ส.๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ ส ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ ส ๕.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ ส ๕.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ รวม ๘ มาตรฐาน ๒๘ ตัวชวี้ ดั หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๐๒ คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน (สงั คมศึกษาฯ) ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจาชาติ พุทธ ประวัติ ปลงอายุสังขาร ปัจฉิมสาวก ปรินิพพาน ถวายพระเพลิง แจกพระบรมสารีริกธาตุ สังเวชนียสถาน ๔ และประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เร่ือง เล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง ความสาคัญหลักธรรม พระรัตนตรัย ไตรสิกขา หลักธรรมโอวาท ๓ พุทธศาสน สุภาษิต การทาความดีของบุคคลในประเทศ การสวดมนต์ แผ่เมตตา ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และการ นอนอย่างมีสติ ฝกึ ใหม้ สี มาธิในการฟัง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน หรือการพฒั นาจิตตามแนวทาง ของศาสนาที่ตนนับถือ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา อริยสัจ ๔ หลักกรรม โอวาท ๓ เบญจศีลเบญจธรรม อบายมุข ๖ อกุศลมูล ๓ กุศลมูล ๓ และหลักธรรมสาคัญของศาสนาต่าง ๆ ศาสนพิธีที่เก่ียวเน่ืองกับ พระพุทธศาสนา บรรพชา อุปสมบท ทาบุญพิธีเนื่องในวันสาคัญทางศาสนา และพิธีกรรมของศาสนาอ่ืน ๆ การละหมาด การถือศีลอด ศีลล้างบาป ศีลอภัยบาป ศีลกาลัง ศีลมหาสนิท พิธีศราทธ์ พิธีบูชาเทวดา การ ปฏิบัติตนท่ีเหมาะสมภายในสถานท่ีต่าง ๆ ในศาสนสถาน การถวายของแก่พระภิกษุและมรรยาทในขณะ ฟังธรรม การอาราธนาศีล อาราธนาธรรม และอาราธนาพระปริตร พิธีทอดผ้าป่า พิธีทอดกฐิน และกิจกรรม และประโยชน์ของการเข้าร่วมกิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนา การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ กฎหมาย ใน ชีวิตประจาวันและประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมาย วัฒนธรรมและการเปล่ียนแปลงตามกาลเวลาทีม่ ี ผลต่อตนเองและสังคมไทย มารยาทไทยและมารยาทสังคม การแสดงความเคารพ การยืน การเดิน การน่ัง การนอน การรบั ของส่งของ การรับประทานอาหาร การแสดงกริ ิยาอาการ การทักทาย การสนทนา การใช้ คาพูด ความแตกต่างทางวัฒนธรรม อกลักษณ์ ค่านิยม ประเพณี ในท้องถิ่น ระหว่างกลุ่มคนภาคต่าง ๆ การ เลือกรับและใช้ข้อมูล ข่าวสารจากวิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ แหล่งข่าวต่าง ๆ ในการเรียนรู้ บทบาท หน้าท่ี ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐบาล การมีกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน บทบาทของผู้ผลิตท่ีมีคุณภาพ และประโยชน์ของการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ บทบาทและพฤติกรรมของ ผบู้ ริโภคท่รี เู้ ท่าทันท่ีมีต่อตนเอง ครอบครวั และสงั คม การใชท้ รพั ยากรในการผลิตและบรโิ ภคให้เกดิ ประโยชน์ แก่สังคมและประเทศชาติ และทันกับสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค ธนาคาร และรฐั บาล ทีม่ ีต่อระบบเศรษฐกจิ การแลกเปลี่ยนสนิ คา้ และบรกิ าร รายไดแ้ ละรายจา่ ย การออมกับ ธนาคาร การลงทุน ภาษีและหน่วยงานท่ีจัดเก็บภาษี สิทธิของผู้บริโภค และสิทธิของผู้ใช้แรงงาน ประโยชน์ ของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ภายในท้องถ่นิ กลุ่มออมทรัพย์ กล่มุ แมบ่ า้ น กองทนุ หมบู่ ้านการกระทาที่ส่งผล ดแี ละผลเสยี ตอ่ สิ่งแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม รวมท้ังผลกระทบจากการทม่ี นุษย์เปล่ียนแปลงสงิ่ แวดล้อมใน ด้านบวกและด้านลบ การกระทาที่มีส่วนช่วยแก้ปัญหาและเสริมสภาพแวดล้อมในชุมชนท้องถ่ิน แผนที่และ การใช้แผนทร่ี ะบลุ ักษณะสาคญั ทางกายภาพและสังคมของประเทศ ความสมั พันธข์ องลักษณะทางกายภาพกับ ภัยพิบัติ อุทกภัย แผ่นดินไหว และวาตภัยในประเทศไทย ภูมิลักษณ์ที่มีต่อภูมิสังคมของประเทศไทย การ เปล่ียนแปลงทางส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาตใิ นท้องถนิ่ ภูมิภาค และประเทศไทย ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติท่ีมีต่อสิ่งแวดล้อมทางสังคม ประชากร เศรษฐกิจ สังคม อาชีพ วัฒนธรรม และแนวทางการจัดการ ทรัพยากรทางธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มทย่ี ัง่ ยืน โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้น กระบวนการปฏิบัติ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๐๓ กระบวนการทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ แก้ปัญหา และกระบวนการพัฒนาค่านิยม ผ่านสถานการณ์จริง รวมท้ังใช้วิธีการสืบสอบหรือวิธีสอนแบบ โครงงาน (กระบวนการเรียนรู้ ๕ ข้ันตอน ๕ STEPs) การต้ังคาถาม การแสวงหาสารสนเทศ การสร้างความรู้ การส่ือสาร และการตอบแทนสังคม นาการเรียนรู้ไปรว่ มสรา้ งผลงานอย่างสร้างสรรค์ โดยบูรณาการกับสภาพ ภูมิสังคม เพ่ือมุ่งสร้างพ้ืนฐานผู้เรียน ๔ ด้าน ได้แก่ มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตท่ีม่ันคง-มี คุณธรรม มีงานทา-มีอาชีพ และเป็นพลเมืองดี ร่วมกับหลักสูตรต้านทุจริต การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG/จิตพอเพียงต่อต้านการ ทุจรติ รูห้ นา้ ที่ของพลเมอื งและรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมในการตอ่ ต้านการทุจริต เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ผกู พนั ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รกั ความเปน็ ไทย เหน็ คณุ คา่ ของวัฒนธรรม ไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะ ตระหนักและเห็นความสาคัญของการ ต่อต้านและการป้องกันการทุจริต ตลอดจนสามารถนาความรู้ ทักษะ/กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน การทางาน และอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างเหมาะสม ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและ สภาพแวดลอ้ ม มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด ส ๑.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ , ป.๖/๙ ส ๑.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ ส ๒.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ ส ๒.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ ส ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ ส ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ ส ๕.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ ส ๕.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ รวม ๘ มาตรฐาน ๓๑ ตวั ชีว้ ัด หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๐๔ รหัสวชิ า ส๒๑๑๐๑ คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน (สังคมศกึ ษาฯ) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 รายวิชาสงั คมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เวลา 60 ชว่ั โมง/ปี ศึกษา วิเคราะห์ การสังคายนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย ความสาคัญของ พระพุทธศาสนาท่ีมีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย รวมท้ังการพัฒนาตนและครอบครัว พุทธประวัติต้ังแต่ ประสูติจนถึงบาเพ็ญทุกกรกิริยา ประวัติพระมหากัสสปะ พระอุบาลี อนาถบิณฑิกะ นางวิสาขา พระเจ้าอโศก มหาราช พระโสณะและพระอุตตระ บุคคลที่เป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์ ชาดกในเรื่อง อัมพชาดก ติตติร ชาดก ประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เร่ืองเล่าและศาสนิกชน ตัวอย่าง ความจาเป็นที่ทุกคนต้องเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอ่ืนในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่าง เหมาะสม วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมและนาไปพัฒนา แก้ปัญหาของตนและครอบครัวในการ ดารงชีวิตแบบพอเพียงและดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมเพ่ือการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข การพัฒนาจิตเพ่ือการ เรียนรู้และการดาเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (วิธีคิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม วิธีคิดแบบคุณ- โทษ และทางออก) สวดมนต์ แผ่เมตตา บรหิ ารจิตและเจรญิ ปัญญาดว้ ยอานาปานสติ ศึกษา วิเคราะห์ บทบาทหน้าท่ีของเยาวชนท่ีมีต่อสังคมและประเทศชาติ เคารพสิทธิ เสรีภาพของ ตนเองและผู้อื่น หลักการ เจตนารมณ์โครงสร้างและสาระสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ ปัจจุบันโดยสังเขป บทบาทการถ่วงดุลของอานาจอธิปไตยจากรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ความคล้ายคลึงและ ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ท่ีดี หรืออาจนาไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน ปฏิบัติตนเป็น ประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองเด็ก กฎหมายการศึกษา กฎหมายคุ้มครอง ผู้บริโภค กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันที่เก่ียวข้องกับตนเองโดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญ สถานการณ์และแก้ปัญหาเพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความ เป็นไทย มีจติ สาธารณะ สามารถดาเนินชวี ติ อย่างสนั ตสิ ขุ ในสงั คมไทยและสงั คมโลก วเิ คราะหแ์ ละปฏบิ ตั ิตนเก่ียวกับการบาเพ็ญประโยชน์ตอ่ ศาสนสถาน วิถชี วี ิตของพระภิกษุ บทบาทของ พระภกิ ษุในการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ปฏิบตั ติ นอย่างเหมาะสมต่อบุคคลตา่ งๆ การจดั โตะ๊ หมูบ่ ชู า การจดุ ธปู เทียน การจัดเครื่องประกอบโตะ๊ หม่บู ูชา ปฏิบตั ติ นในศาสนพิธีและพธิ ีกรรมในเรื่องคาอาราธนาต่างๆ ประวตั ิ ความสาคัญ และการปฏบิ ตั ิตนในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสบื คน้ ขอ้ มูล กระบวนการทางสงั คม กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแก้ปัญหา เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ สามารถนาไปปฏิบตั ิในการดาเนินชีวิต นาไปพัฒนาแก้ปญั หาของตนเอง และครอบครวั รักษาสง่ิ แวดล้อม มคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคใ์ นด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซือ่ สัตย์ สุจริต มี หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๐๕ วินยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มงุ่ มนั่ ในการทางาน รกั ความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ และสามารถอยู่ ร่วมกันได้อย่างสันตสิ ขุ ตวั ช้วี ดั ส 1.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ม.1/11 ส 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ส 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ส 2.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 รวม 23 ตัวชวี้ ัด หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๐๖ คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน (สังคมศึกษาฯ) รหสั วิชา ส๒๑๑๐๓รายวชิ าสงั คมศึกษาฯ ลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 60 ชวั่ โมง/ปี ศึกษา วิเคราะห์ ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของ คนใน สังคม ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ ความเป็นมา หลักการและความสาคัญของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย บทบาทหน้าท่ีและความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและ ธนาคารกลาง การพ่งึ พาอาศยั กนั และการแขง่ ขันกันทางเศรษฐกจิ ในประเทศ ปัจจยั ท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การกาหนด อุปสงค์และอุปทาน และกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้น ข้อมูล กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การร่วมมือทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการ ผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่าและนาหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใ์ ช้ ศกึ ษาการใชเ้ ครื่องมือทางภมู ิศาสตรส์ ารวจ สบื ค้น พกิ ดั ภมู ศิ าสตร์ (ละติจดู และลองจจิ ดู ) เสน้ แบง่ เวลา และเปรียบเทียบวันเวลาของโลก ลักษณะทางกายภาพ ทาเลที่ต้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึง ปจั จัยทางกายภาพ ปจั จยั ทางสงั คมที่มีผลต่อทาเลท่ีต้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คมในทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย และ โอเชียเนีย สาเหตุการเกิดภัยพิบัติ ประเด็นปัญหาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อม ทางกายภาพกับมนุษย์ รวมถึงแนวทางการจัดการภัยพิบัติ การจัดการทางทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมในทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนียโดยใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการสืบค้น วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ใชท้ ักษะทางภูมิศาสตร์ด้านการสังเกต การ แปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์ การคิดเชิงพ้ืนท่ี การคิดแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยี การใช้เทคนิคและ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ การคิดเชิงภูมิสัมพันธ์ การใช้สถิติพื้นฐาน รวมถึงทักษะด้านการสื่อสาร การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทาง ภมู ิศาสตร์ ทักษะทางภูมศิ าสตร์ และมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้านการสอ่ื สาร การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ความสามารถในการคดิ และแก้ปัญหา มีคุณลกั ษณะด้านจติ สาธารณะ มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ มุง่ มนั่ ในการทางาน มี สว่ นรว่ มในการจัดการภัยพิบัติและการอนุรักษ์สงิ่ แวดล้อมในประเทศไทย ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย และโอ เชียเนีย โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการกลุม่ กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปัญหา เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ความเขา้ ใจ สามารถนาไปปฏิบัตใิ นการดาเนินชวี ติ นาไปพฒั นาแก้ปัญหาของตนเอง และครอบครวั รักษาส่ิงแวดล้อม มคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นด้านรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต มี วินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพียง มงุ่ มั่นในการทางาน รักความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ และสามารถอยู่ รว่ มกนั ได้อยา่ งสันติสุข หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๐๗ ตัวชว้ี ดั ส 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ส 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ส 5.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ส 5.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 รวม 14 ตัวชวี้ ัด หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๐๘ คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน (สงั คมศกึ ษาฯ) รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ รายวชิ าสังคมศึกษาฯ กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 60 ชว่ั โมง/ปี ศกึ ษา วเิ คราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศเพื่อนบ้าน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาทช่ี ว่ ย เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน เปน็ รากฐานของวฒั นธรรม เอกลกั ษณ์ของชาติ และมรดก ของชาติ การพฒั นาชมุ ชนและการจดั ระเบยี บสงั คม พุทธประวัติ ตอนผจญมาร การตรสั รู้ การส่งั สอน ประวตั ิ พระสารีบตุ ร พระโมคคลั ลานะ นางขชุ ชุตตรา พระเจา้ พมิ พสิ าร มิตตวนิ ทุกชาดก ราโชวาทชาดก พระมหา ธรรม-ราชาลไิ ทย สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส โครงสรา้ งและสาระสงั เขปของพระวนิ ยั ปิฎก พระสุตตนั ตปฎิ ก และพระอภิธรรมปิฎก อธบิ ายและปฏิบตั ติ นตามธรรมคณุ และปฏบิ ตั ิตนตามข้อธรรม สาคญั การพัฒนาจติ เพื่อการเรยี นร้แู ละดาเนินชีวิตด้วยวิธคี ิดแบบอุบายปลุกเรา้ คุณธรรม และวิธคี ดิ แบบอรรถ ธรรมสัมพนั ธ์ สวดมนต์แปล แผ่เมตตา บรหิ ารจติ และเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ มีมรรยาทของความ เป็นศาสนกิ ชนท่ดี ี ปฏบิ ัตติ นในศาสนพธิ ี พิธีกรรม และหลักคาสอนท่ีเก่ียวเนอ่ื งกบั วันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา ศกึ ษา วเิ คราะหบ์ ทบาท ความสาคัญ และความสมั พนั ธข์ องสถาบันทางสงั คม ความคล้ายคลงึ และความ แตกตา่ งของวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพ่ือนาไปสู่ความเข้าใจอนั ดีระหวา่ ง กนั ขอ้ มูลขา่ วสารทางการเมืองการปกครองท่มี ผี ลกระทบต่อสงั คมไทยสมยั ปจั จุบัน กระบวนการในการตรา กฎหมายการปกปอ้ งคุม้ ครองผอู้ ่นื ตามหลักสิทธมิ นุษยชน การปฏบิ ัติตนตามสถานภาพ บทบาท สทิ ธิเสรภี าพ และหนา้ ท่ีในฐานะพลเมืองดี โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสบื คน้ ขอ้ มูล กระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแกป้ ัญหา กระบวนการปฏบิ ัติ และกระบวนการกลุ่ม เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ และปฏิบัติตนตามหนา้ ท่ขี องการเป็นพลเมืองดี ดารงชวี ติ ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่าง สนั ตสิ ขุ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม และมีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซอ่ื สตั ย์สุจรติ มี วนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มนั่ ในการทางาน มีจิตสาธารณะ รักความเป็นไทย โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแกป้ ญั หา เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบตั ใิ นการดาเนนิ ชีวิต นาไปพฒั นาและแก้ปัญหาของชมุ ชน และสงั คม มีคณุ ลักษณะอันพึงประสงคใ์ นด้านรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต มีวินัย ใฝ่เรยี นรูอ้ ยูอ่ ย่าง พอเพยี ง มงุ่ มั่นในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ สามารถดาเนินชวี ติ อยรู่ ่วมกันได้อย่างสันติสุข ตวั ชี้วัด ส 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10 ม.2/11 ส 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ส 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ส 2.2 ม.2/1 ม.2/2 รวม 22 ตวั ชวี้ ดั หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๐๙ คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน (สงั คมศกึ ษาฯ) รหสั วิชา ส๒๒๑๐๓ รายวิชาสงั คมศึกษาฯ กลุม่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลา 60 ชว่ั โมง/ปี ศึกษา วิเคราะห์ ระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ การพง่ึ พาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจใน ภูมภิ าคเอเชยี การกระจายของทรัพยากรในโลกที่ส่งผลต่อความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ การ แขง่ ขนั ทางการคา้ ในประเทศและต่างประเทศทีส่ ง่ ผลตอ่ คุณภาพสนิ คา้ ปรมิ าณการผลิตและราคาสนิ ค้าปัจจยั ที่มีผลตอ่ การลงทุนและการออม ปัจจัยการผลิตสนิ ค้าและบรกิ าร และปจั จัยท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ การผลติ สินคา้ และ บริการเสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในท้องถน่ิ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การคุ้มครองสิทธิของ ตนเองในฐานะผบู้ ริโภค โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมลู กระบวนการทางสังคม กระบวนการ เผชิญสถานการณแ์ ละแก้ปญั หา กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการกลมุ่ เพื่อใหม้ ีความร้คู วามเข้าใจ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ สามารถใช้ทรัพยากรท่ีมีอยจู่ ากัดได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและค้มุ คา่ เข้าใจหลกั การ ของเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ือการดารงชีวติ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีคุณธรรมจรยิ ธรรม และมีคุณลักษณะอนั พึงประสงคใ์ นดา้ นมีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มน่ั ในการทางาน มีจติ สาธารณะ อยูอ่ ยา่ งพอเพียง ศกึ ษาการใชเ้ คร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์สารวจ สบื ค้น มาตราส่วน ทศิ และสัญลักษณ์ ลักษณะทาง กายภาพ ทาเลที่ตง้ั ของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ สังคม รวมถึงปัจจยั ทางกายภาพ ปจั จยั ทางสังคมที่มีผลตอ่ ทาเล ทตี่ ้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คมในทวปี ยโุ รปและทวีปแอฟริกา สาเหตุการเกดิ ภัยพิบตั ิ ประเด็น ปัญหาจากปฏิสัมพันธร์ ะหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับมนษุ ย์ รวมถงึ แนวทางการจัดการภัยพิบตั ิ การ จดั การทางทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อมในทวปี ยุโรปและทวีปแอฟริกา โดยใช้เคร่ืองมือทางภูมศิ าสตรใ์ นการ สืบค้น วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ใช้ทกั ษะทาง ภมู ิศาสตรด์ า้ นการสงั เกต การแปลความข้อมลู ทางภมู ศิ าสตร์ การคดิ เชิงพืน้ ท่ี การคิดแบบองคร์ วม การใช้ เทคโนโลยี การใชเ้ ทคนคิ และเครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ การคิดเชิงภูมสิ มั พนั ธ์ การใช้สถติ ิพ้ืนฐาน รวมถงึ ทักษะ ด้านการสอ่ื สาร การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ ให้เกิดความรคู้ วามเข้าใจ มีความสามารถทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ทักษะทางภมู ิศาสตร์ และมีทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ด้านการสื่อสาร การใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ความสามารถในการคดิ และแก้ปัญหา มคี ณุ ลกั ษณะด้านจิตสาธารณะ มวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ ม่นั ในการทางาน มสี ว่ นร่วมในการจดั การภยั พิบตั ิและการอนุรกั ษ์ส่งิ แวดล้อมในทวปี ยุโรปและทวีปแอฟรกิ า โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการสบื คน้ ข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแก้ปญั หา เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต นาไปพฒั นาและแก้ปญั หาของ ชมุ ชนและสังคม มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ นด้านรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซื่อสตั ย์สุจริต มวี ินัย ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง มงุ่ ม่นั ในการทางาน รักความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ สามารถดาเนนิ ชวี ิตอยรู่ ่วมกนั ได้อย่าง สันตสิ ขุ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๑๐ ตวั ชี้วัด ส 3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ส 3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ส 5.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ส 5.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 รวม 15 ตัวชวี้ ัด หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๑๑ คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน (สงั คมศกึ ษาฯ) รหัสวชิ า ส๒๓๑๐๑ รายวชิ าสังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 เวลา 60 ชว่ั โมง/ปี ศึกษา วเิ คราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาส่ปู ระเทศต่างๆ ทั่วโลก ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา ในฐานะที่ช่วยสร้างสรรคอ์ ารยธรรมและความสงบสขุ แกโ่ ลก ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่างยัง่ ยนื พทุ ธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่างๆ การประพฤตติ นตาม แบบอย่างการดาเนนิ ชวี ิตและขอ้ คิดจากประวตั ิพุทธสาวก พุทธสาวิกา (พระอญั ญาโกณฑัญญะ พระนางมหาป ชาบดโี คตมีเถรี พระเขมาเถรี พระเจา้ ปเสนทโิ กศล) ชาดก (นันทิวิสาลชาดก สุวัณณหังสชาดก) ศาสนิกชน ตวั อย่าง (หม่อมเจ้าหญิงพนู พิศมัย ดิศกลุ ศาสตราจารย์สญั ญา ธรรมศกั ด)ิ์ อธบิ ายสังฆคุณและข้อธรรมสาคัญ การปฏิบัติตนตามหลกั ธรรม ในการพฒั นาตน เพ่ือเตรียมความพร้อมสาหรับการทางานและการมีครอบครวั การพฒั นาจติ เพ่ือการเรยี นรู้และดาเนนิ ชวี ิตด้วยวธิ ีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (วธิ ีคดิ แบบอรยิ สจั วิธคี ิดแบบสืบ สาวเหตปุ จั จัย สวดมนต์แปล แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปญั ญาด้วยอานาปานสติ) หน้าท่ีและบทบาทของ สาวกและการปฏิบตั ติ นต่อสาวกไดถ้ ูกต้อง ปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสมต่อบุคคลตา่ งๆ ตามหลักศาสนา ตาม หน้าท่ีของศาสนกิ ชนที่ดี ศาสนพธิ ี พิธีกรรม ประวัตวิ นั สาคัญทางพระพทุ ธศาสนา การแสดงตนเป็นพุทธมาม กะ การเสนอแนวทางในการธารงรักษาศาสนาท่ตี นนบั ถือ การยอมรับความแตกตา่ งและวถิ ีการดาเนนิ ชวี ิต ของศาสนิกชนในศาสนาอืน่ ศึกษาวิเคราะห์ความแตกต่างของการกระทาความผิดระหว่างคดีอาญาและคดีแพ่ง การมีส่วนร่วมใน การปกป้องคุ้มครองผู้อื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลท่ี เหมาะสม ปัจจัยท่ีก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศ และเสนอแนวคิดในการลดความขัดแย้ง การ ดารงชีวติ อยา่ งมคี วามสุขในประเทศและสงั คมโลก ระบอบการปกครองต่าง ๆ ที่ใช้ในปจั จบุ นั เปรียบเทียบการ ปกครองของไทยกับประเทศอื่น ๆ ท่ีมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันในมาตรา ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการเลือกต้ัง การมีส่วนร่วมและการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อ การพัฒนาประชาธิปไตยและแนวทางแก้ไข โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการ ปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา เพ่ือให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบตั ิในการดาเนินชีวติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในด้านการรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซื่อสตั ย์ สจุ รติ มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ รักความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ เป็นสมาชิก ทด่ี ีของสังคม สามารถดาเนนิ ชีวิตอยา่ งสันติสขุ ในสังคมไทยและสังคมโลก โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบคน้ ข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแกป้ ัญหา กระบวนการกลุ่ม เพื่อใหเ้ กิดความรคู้ วามเข้าใจ สามารถนาไป ปฏิบัติในการดาเนนิ ชีวติ นาไปพฒั นาและแกป้ ัญหาของชมุ ชนและสงั คม มีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ในด้าน รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซื่อสตั ยส์ ุจริต มวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง มงุ่ ม่ันในการทางาน รักความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ สมารถดาเนินชวี ิตอยูร่ ่วมกันได้อย่างสนั ตสิ ุข หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๑๒ ตัวชวี้ ัด ส 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ส 1.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ส 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ส 2.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 รวม 26 ตวั ชวี้ ดั หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๑๓ คาอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน (สงั คมศึกษาฯ) รหสั วิชา ส๒๓๑๐๓ รายวิชาสังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 เวลา 60 ชวั่ โมง/ปี ศึกษา วเิ คราะหก์ ลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ นโยบายและ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจของรฐั ทมี่ ีต่อบุคคล กลมุ่ คนและประเทศชาติ ความสาคัญของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด ผลเสียจากการว่างงานและแนวทางการแก้ปัญหา สาเหตุและวิธกี ารกีดกันทางการค้าในการค้าระหวา่ งประเทศ การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนา ท้องถ่ินตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ แก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เห็นความสาคัญและสามารถ นาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถ่ินตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มคี ุณธรรม จริยธรรม และมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ในดา้ นวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ ซ่อื สตั ย์สจุ รติ มุ่มนั่ ในการ ทางาน มีจิตสาธารณะ อยู่อยา่ งพอเพยี ง ศึกษาการใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ สารวจ สืบค้น ลักษณะทางกายภาพ ทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัจจัยทางกายภาพ ปัจจัยทางสังคมท่ีมีผลต่อทาเลที่ต้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ สังคมในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ สาเหตุการเกิดภัยพิบัติ ประเด็นปัญหาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์ รวมถึงแนวทางการจัดการภัยพิบัติ การจัดการทรัพยากรและ ส่ิงแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ โดยใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการสืบค้น วิเคราะห์ และสรปุ ข้อมูลตามกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ใช้ทักษะทางภมู ิศาสตรด์ ้านการ สังเกต การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์ การคิดเชิงพื้นท่ี การคิดแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยี การใช้ เทคนิคและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ การคิดเชิงภูมิสัมพันธ์ การใช้สถิติพื้นฐาน รวมถึงทักษะด้านการส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสรเทศ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ความเขา้ ใจ มีความสามารถทางภมู ิศาสตร์ กระบวนการทาง ภูมิศาสตร์ ทักษะทางภูมิศาสตร์ และมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้านการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความสามารถในการคิดและแก้ปัญหา มีคุณลักษณะด้านจิตสาธารณะ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มี ส่วนรว่ มในการจัดการภยั พิบัติ และการอนุรักษ์สิง่ แวดลอ้ มในทวปี อเมรกิ าเหนือและทวปี อเมรกิ าใต้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสบื คน้ ข้อมลู กระบวนการทางสงั คม กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแกป้ ัญหา กระบวนการกลมุ่ เพ่ือใหเ้ กิดความรคู้ วามเขา้ ใจ สามารถนาไป ปฏบิ ัตใิ นการดาเนนิ ชวี ติ นาไปพัฒนาและแกป้ ญั หาของชุมชนและสงั คม มีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ นด้าน รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซื่อสัตย์สจุ ริต มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ อยู่อยา่ งพอเพียง ม่งุ ม่นั ในการทางาน รักความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ สมารถดาเนนิ ชีวติ อย่รู ่วมกนั ได้อยา่ งสันติสุข หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๑๔ ตัวชว้ี ัด ส 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ส 3.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ส 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ส 5.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 รวม 16 ตวั ชี้วัด หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๑๕ คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน (ประวัติศาสตร์) ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๑ กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและใช้ปฏิทินในการบอกวัน เดือน ปี ท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน ซึ่งมีทั้งระบบสุริยคติ และจันทรคติ คาท่ีแสดงช่วงเวลาเพ่ือใช้เล่าเหตุการณ์ปัจจุบัน วันน้ี เดือนนี้ ตอนเช้า ตอนกลางวัน ตอนเย็น ตอนค่า และ เรียงลาดับเหตุการณ์ในชีวิตประจาวันตามวันเวลาท่ีเกิดขึ้น โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการ สังเกต การบอกเล่า การเชื่อมโยง เพ่ือให้สามารถใช้เวลาตามปฏทิ ินแสดงเหตุการณ์ในปัจจบุ ันและใช้คาแสดง ชว่ งเวลาเรยี งลาดบั เหตุการณท์ ี่เกดิ ข้นึ ได้ รู้วิธีสืบค้นประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัวอย่างง่ายๆโดยสอบถามผู้เก่ียวข้องและการ บอกเล่าเรื่องราวท่ีสืบค้นได้ โดยใช้การเรียนรู้เชงิ รุกผา่ นทักษะ/กระบวนการสอบถาม การรวบรวมข้อมูล การ สรุปความ การเล่าเร่ือง เพ่ือฝึกทักษะพื้นฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นเร่ืองราวจาก แหล่งข้อมูล (เชน่ บคุ คล) และบอกเลา่ ขอ้ เทจ็ จริงที่คน้ พบได้อยา่ งน่าสนใจ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมส่ิงของเครื่องใช้หรือการดาเนินชี วิตของตนเองในสมัย ปัจจุบัน กับสมัยของพ่อแม่ ปู่ย่า ตายายท่ีเป็นรปู ธรรมและใกล้ตวั ผู้เรียน เตารีด (การรีดผ้าด้วยเตาถ่านกับเตา ไฟฟ้า) หม้อหงุ ขา้ ว (การหุงขา้ วทีเ่ ช็ดนา้ ดว้ ยฟืนหรือถา่ นกับหม้อหุงขา้ วไฟฟ้า) เกวียนกบั รถยนต์ (การเดินทาง) ถนน บ้านเรือน การใช้ควายไถนากับรถไถนา รวมท้ังเหตุการณ์สาคัญของครอบครัวที่เกิดขึ้นในอดีตท่ีมี ผลกระทบต่อตนเอง ในปัจจุบัน ( การย้ายบ้าน การย้ายโรงเรียน การเลื่อนช้ันเรียน การได้รับรางวัล การ สูญเสียบุคคลสาคัญของครอบครัว) เกิดข้ึน โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการสังเกต การใช้ เหตุผล การเปรียบเทียบ การแยกแยะ การยกตัวอย่าง และการบอกเล่า เพื่อให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงตาม กาลเวลาและความสาคญั ของอดีตท่ีมตี ่อปจั จุบนั และอนาคต สามารถปรับตัวใหเ้ ขา้ กบั วิถชี วี ติ ปจั จุบนั ไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ ศกึ ษาความหมายและความสาคัญของสญั ลักษณ์ของชาติไทย ได้แก่ ธงชาติ เพลงชาติ เพลงสรรเสริญ พระบารมี ภาษาไทย อกั ษรไทย มารยาทไทย อาหารไทย การแต่งกายแบบไทย วฒั นธรรมและขนบธรรมเนยี ม ประเพณีไทย และการปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกาลเทศะ รวมท้ังรู้จักสถานท่ีสาคัญซ่ึงเป็นแหล่งวัฒนธรรมใน ชุมชน ศาสนสถาน ตลาด พิพิธภัณฑ์ และส่ิงที่เป็นความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ท่ีใกล้ตัวผู้เรียนและเห็นเป็น รูปธรรม เกิดขึ้น โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการสังเกต การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล การอธิบาย การปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง เพ่ือก่อให้เกิดความรักและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ท้องถิ่น และประเทศชาติ ภูมใิ จในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ตระหนักและเห็นคุณค่าที่จะธารงรักษา และสืบทอดตอ่ ไป มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั ส ๔.๑ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓ ส ๔.๒ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ ส ๔.๓ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓ รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตวั ชวี้ ัด หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๑๖ คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน (ประวตั ศิ าสตร์) ส ๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง คาอธบิ ายรายวิชา รู้จักวันเวลาตามระบบสุริยคติและจันทรคติที่ปรากฏในปฏิทินที่แสดงเหตุการณ์สาคัญในอดีตและ ปัจจุบัน รวมท้ัง การใช้คาที่แสดงช่วงเวลาในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต วันน้ี เมื่อวานนี้ พรุ่งนี้, เดือนน้ี เดือน ก่อน เดือนหน้า, ปีน้ี ปีก่อน ปีหน้า ในการอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/ กระบวนการการสังเกต การสอบถาม เชือ่ มโยง เรียงลาดบั การเล่าเร่ือง การรวบรวมข้อมูล การอธบิ าย เพ่อื ให้ สามารถใช้วันเวลาเรยี งลาดับเหตุการณ์สาคัญได้ถกู ต้อง วา่ เหตุการณ์ใดเกดิ ก่อน เหตกุ ารณ์ใดเกิดหลัง รู้วิธีสืบค้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในครอบครัวโดยใช้หลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาพถ่าย สูติบัตร ทะเบียนบ้าน เคร่ืองมือเครื่องใช้ มาอธิบายเร่ืองราวต่าง ๆ และวิธีสืบค้นข้อมูลในชุมชนอย่างง่าย ๆ ในเร่ือง เก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตของคนในชุมชนในด้านต่างๆ จากอดีตถึงปัจจุบัน ทางด้านการประกอบ อาชีพ การแต่งกาย การสื่อสาร ขนบธรรมเนียมประเพณีในชุมชน เข้าใจสาเหตุและผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลงที่มีต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน สามารถเรียงลาดับเหตุการณ์ท่ีสืบค้นได้โดยใช้เส้นเวลา ด้วยการ เรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการสอบถาม การสังเกต การวิเคราะห์ การอธิบายอย่างมีเหตุมีผล ทาผัง ความคิด และการจัดนิทรรศการ เพ่ือให้เข้าใจวิธีการทางประวัติศาสตร์ใน เรื่องเกี่ยวกับการใช้หลักฐานทาง ประวตั ิศาสตร์สบื ค้นเร่ืองราวในอดีต และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนตามกาลเวลา อยา่ งต่อเนื่อง มีความ เขา้ ใจชุมชนทมี่ คี วามแตกต่างและสามารถปรบั ตัวอยูใ่ นชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ศึกษา สืบค้นประวัติและผลงานของบุคคลที่ทาประโยชน์ต่อท้องถิ่นหรือประเทศชาติ ในด้านการ สรา้ งสรรค์วัฒนธรรม /การสร้างความเจริญรงุ่ เรืองและความมน่ั คงโดยสังเขป รวมทงั้ วัฒนธรรมไทย ประเพณี ไทย และภูมิปัญญาไทยท่ีภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ การทาความเคารพแบบไทย ประเพณีไทย ศิลปะไทย ดนตรีไทย โดยใชก้ ารเรยี นรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการสืบค้น การสังเกต การอา่ น การรวบรวมข้อมูล การ วิเคราะห์ การใช้เหตุผล การอธิบาย และการนาเสนอ เพื่อให้เห็นคุณค่าและแบบอย่างการกระทาความดขี อง บรรพบุรุษที่ได้สร้างประโยชน์ให้ท้องถิ่นและประเทศ เกิดความรัก และความภาคภูมิใจในความเป็นไทย วัฒนธรรมไทย ภมู ิปัญญาไทย และธารงความเปน็ ไทย มาตรฐานการเรียนร้/ู ระดบั ชัน้ /ตัวชี้วัด ส ๔.๑ ป ๒/๑ , ป ๒/๒ ส ๔.๒ ป ๒/๑ , ป ๒/๒ ส ๔.๓ ป ๒/๑ , ป ๒/๒ รวม ๓ มาตรฐาน ๖ ตวั ชวี้ ดั หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๑๗ คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน (ประวตั ิศาสตร์) ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาความหมายและท่ีมาของศักราชที่ปรากฏในปฏิทิน ได้แก่ พุทธศักราช คริสต์ศักราช (ถ้าเป็นชาวมุสลิม ให้ศึกษาฮิจเราะห์ศักราชด้วย) วิธีการเทียบคริสต์ศักราชกับพุทธศักราช และใช้ศักราชใน การบันทึกเหตุการณ์สาคัญท่ีเก่ียวข้องกับตนเองและครอบครัว ปีเกิดของผู้เรียน เหตุการณ์สาคัญของตนเอง และครอบครัว โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการเปรียบเทียบ การคานวณ การเชื่อมโยง การ อธิบาย เพื่อให้มีพื้นฐานในการศึกษาเอกสารท่ีแสดงเหตุการณ์ตามกาลเวลา สามารถเรียง ลาดับเหตุการณ์ได้ ถกู ตอ้ ง ว่าเหตกุ ารณ์ใดเกดิ กอ่ น เหตกุ ารณ์ใดเกดิ หลงั อันเป็นทักษะที่จาเป็นในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ รวู้ ิธสี บื ค้นเหตุการณส์ าคัญของโรงเรยี นและชุมชนโดยใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลทเ่ี ก่ียวข้อง รูปภาพ แผนผงั โรงเรียน แผนท่ีชุมชน หอ้ งสมดุ โรงเรียน แหลง่ โบราณคดี – ประวตั ศิ าสตร์ในท้องถิ่น สามารถใชเ้ ส้น เวลา (Timeline) ลาดับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในโรงเรียนและชุมชน โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/ กระบวนการสารวจ การสังเกต การสอบถาม การอ่าน การฟัง การเล่าเร่ือง การสรุปความ เพื่อฝึก ทักษะพ้ืนฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นเรื่องราวรอบตัวอย่างง่าย ๆ โดยการใช้หลักฐานและ แหล่งข้อมูลทเี่ ก่ยี วขอ้ ง สามารถนาเสนอเรอื่ งราวที่คน้ พบได้ตามลาดบั เวลา ศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการต้ังถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน ปัจจัยที่ทาให้เกิดวัฒนธรรมและ ประเพณีในชุมชน ซ่ึงประกอบด้วย ปัจจัยทางภูมิศาสตร์( ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากร) และปัจจัยทาง สังคม (ความเจริญทางเทคโนโลยี เช้ือชาติ ศาสนา ความเชื่อ การคมนาคม ความปลอดภัย) ศึกษาและ เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง ของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนตนเอง และชุมชนใกล้เคียง ในเรื่องความเช่อื และการนับถือศาสนา อาหาร ภาษาถิ่น การแต่งกาย โดยใช้การเรยี นรู้ เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การสอบถาม การสังเกต การสารวจ การฟัง การสรุปความ เพื่อให้เกิด ความเข้าใจและภูมิใจในชุมชนของตนเอง ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม เข้าใจพัฒนาการของชุมชน สามารถดาเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสันติสุข ร่วมอนุรักษ์สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี และ วัฒนธรรมไทย ศึกษาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ โดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ผู้สถาปนาอาณาจักร สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ ตามลาดับ ได้แก่ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ศึกษา พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๑๐ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โดยสังเขป และศึกษาวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยท่ีมี ส่วนปกป้องประเทศชาติ ได้แก่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ท้าวเทพกระษัตรี – ท้าวศรีสุนทร ชาวบ้าน บางระจัน พระยาพิชัยดาบหัก ท้าวสุรนารี เป็นต้น โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน และ สอบถาม การฟัง การสรุปความ การเขียน การเล่าเร่ือง เพ่ือให้เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย เกิดความรัก ความภมู ใิ จและเหน็ แบบอย่างการเสียสละเพื่อชาติ และธารงความเปน็ ไทย หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๑๘ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ระดับช้นั /ตวั ชวี้ ดั ส ๔.๑ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓ ส ๔.๒ ป ๓/๑, ป ๓/๒ ส ๔.๓ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓ รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตวั ชี้วัด หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๑๙ คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน (ประวตั ิศาสตร)์ ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาความหมาย วิธีการนับ และการใช้ช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เกณฑ์ การแบ่งยุคสมัยในทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติที่แบ่งเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ รวมท้ังช่วงสมัยในการศึกษาประวัตศิ าสตรไ์ ทย สมัยก่อนสุโขทยั สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และสมัย รัตนโกสินทร์ ตัวอย่างการใช้ช่วงเวลาในเอกสารต่าง ๆ โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การสารวจ การวิเคราะห์ การคานวณ เพ่ือให้ใช้ช่วงเวลาในการบอกเล่าเรื่องราวได้ถูกต้อง และเข้าใจ เหตุการณท์ เี่ กดิ ขึ้นตามชว่ งเวลาทป่ี รากฏในเอกสารทางประวตั ิศาสตร์ ศึกษาลักษณะสาคัญ และเกณฑ์การจาแนกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีใช้ในการศึกษาความเป็นมา ของท้องถ่ิน อย่างง่าย ๆ ตัวอย่างของหลักฐานที่พบในท้องถ่ินท้ัง หลักฐานชั้นต้นกับช้ันรอง หลักฐานท่ีเป็น ลายลักษณ์อักษร กับไม่เป็น ลายลักษณ์อักษร โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการสารวจ การ วิเคราะห์ การตรวจสอบข้อมูล การจาแนก การตีความ เพื่อฝึกทักษะการสืบค้นข้อมูลด้วยวิธี การทาง ประวตั ศิ าสตร์ ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปัจจัย การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของมนุษยชาติใน สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยโดยสังเขป การก่อต้ังอาณาจักรโบราณใน ดินแดนไทย ได้แก่ ทวารวดี ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ เป็นต้น โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการ สารวจ การวิเคราะห์ การตีความ การสรุปความ เพื่อให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติท่ีมีการเปลี่ยนแปลง อยา่ งตอ่ เนื่องจากอดตี จนถงึ ปจั จุบัน ศึกษาประวัติศาสตร์เป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทัยโดยสังเขป ในเร่ืองเก่ียวกับการสถาปนา อาณาจักร พัฒนาการทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ประวัติและผลงานของบุคคลสาคัญ ได้แก่ พ่อ ขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไทย) และภูมิปัญญาไทยใน สมัยสุโขทัยท่ีน่าภาคภูมิใจ ซึ่งเป็นผลให้อุทยานประวัติศาสตร์ในสุโขทัยและศรีสัชนาลัยได้รับการยกย่องเป็น มรดกโลก โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การสารวจ การสืบค้น การวิเคราะห์การ ตีความ เพื่อเข้าใจความเป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทัย รวมท้ังวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และบุคคล สาคัญในสมัยสุโขทัย เกิดความรักและความภูมิใจในความเป็นไทย ตระหนักถึงความพากเพียรพยายามของ บรรพบุรุษไทยท่ีได้ปกป้อง และสร้างสรรค์ความเจริญให้บ้านเมือง ตกทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบต่อถึง ปัจจบุ นั มาตรฐานการเรยี นรู/้ ระดบั ชนั้ /ตัวช้วี ัด ส ๔.๑ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓ ส ๔.๒ ป ๔/๑, ป ๔/๒ ส ๔.๓ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓ รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตวั ชว้ี ัด หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๒๐ คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน (ประวัตศิ าสตร)์ ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕ กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง คาอธบิ ายรายวิชา สืบค้นความเป็นมาของท้องถ่ินโดยใช้หลักฐานหลากหลาย ด้วยการตั้งประเด็นคาถามทาง ประวัติศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับท้องถ่ิน ความเป็นมาของช่ือหมู่บ้าน ชื่อตาบล ชื่อถนน ความเป็นมาของสถานที่ สาคญั ความเป็นมาของขนบธรรมเนียมประเพณีในท้องถ่นิ ร้จู ักแหล่งข้อมูลหลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ่ีอยู่ใน ทอ้ งถิน่ สามารถรวบรวมขอ้ มลู จากหลักฐานทเ่ี กีย่ วข้อง รู้จกั วิเคราะหต์ รวจสอบข้อมูลอย่างงา่ ย ๆ เขา้ ใจความ แตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงท่ีปรากฏในข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ แยกแยะความคิดเห็นกับ ข้อเท็จจริงท่ีอยู่ในข้อมูลได้ โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการสังเกต การสอบถาม การสารวจ การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การเชื่อมโยง และการสังเคราะห์อย่างง่าย ๆ เพื่อฝึกฝนทักษะวิธีการทาง ประวัติศาสตร์วิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในท้องถ่ินอย่างเป็นระบบ สามารถใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ศึกษาการเข้ามาและอิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย และจีน ในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้โดยสังเขป ได้แก่ การปกครอง การนับถือศาสนา ความเช่ือ วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา อาหาร และการแต่งกาย ศึกษาอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ ท้ังตะวันตกและตะวันออกที่มีต่อสังคมไทยใน ปัจจุบันโดยสังเขป โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ เปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การเช่ือมโยง เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมไทยในสังคมปัจจุบัน และ วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีมีทั้งความคล้ายคลึงและความแตกต่าง เพอ่ื ให้เกดิ การยอมรับในความแตกต่างทางวัฒนธรรมและอยรู่ ่วมกนั ได้อยา่ งสนั ติสุข ศึกษาพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรี ในเร่ืองเก่ียวกับการสถาปนาอาณาจักร ปัจจัยท่ี ส่งเสริมความเจรญิ รุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พัฒนาการทางการเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจ โดยสังเขป ประวัติและผลงานบุคคลสาคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี ได้แก่ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ สมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณม์ หาราช ชาวบ้านบางระจนั สมเด็จพระ เจา้ ตากสนิ มหาราช และภมู ิปญั ญาไทยในสมัยอยธุ ยา และธนบรุ ี ท่ีน่าภาคภูมิใจ ควรคา่ แก่การอนุรักษ์ไว้ ซง่ึ เปน็ ผลใหพ้ ระนครศรอี ยุธยาไดร้ บั การยกย่องเป็นมรดกโลก ไดแ้ ก่ ทางดา้ น ศิลปกรรม วรรณกรรม และการค้า โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผา่ นทักษะ/กระบวนการอ่าน การสืบค้นข้อมูล การเชื่อมโยง การวิเคราะห์ การอธิบาย การสรุปความ การเรียงความ เพื่อให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนักและเห็น ความสาคญั ท่จี ะธารงรักษาความเป็นไทยสืบตอ่ ไป มาตรฐานการเรยี นรู/้ ระดับชนั้ /ตวั ช้ีวัด ส ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ส ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ส ๔.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป ๕/๓, ป.๕/๔ รวม ๓ มาตรฐาน ๙ ตวั ชีว้ ดั หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๒๑ คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน (ประวตั ศิ าสตร)์ ส ๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาความหมายและความสาคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ และใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ในการศึกษาเร่ืองราว หรือเหตุการณ์สาคัญตามลาดับขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ได้แก่ การตั้ง ประเด็นศึกษาเร่ืองราวที่ตนสนใจ การสารวจแหล่งข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง การรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานที่ หลากหลาย การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูล การตีความ การเรียบเรียงและนาเสนอความรู้ท่ีค้นพบได้ อย่างน่าสนใจ โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการสารวจ การอ่าน การเปรียบเทียบ การ วิเคราะห์ การสังเคราะห์ การอธิบาย การสรุปความ การเขียนเรียงความ การจัดทาโครงงานและการจัด นทิ รรศการ เพ่ือฝกึ ทักษะการสืบค้นเหตุการณ์สาคัญดว้ ยวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ ศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของประเทศเพ่ือนบ้านในปัจจุบันโดยสังเขป เช่ือมโยง และ เปรียบเทียบกับประเทศไทย ศึกษาความเป็นมา และความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนโดยสังเขป โดยใช้การ เรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การสารวจ การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ เพื่อให้เข้าใจพัฒนาการ ของประเทศเพ่ือนบ้านที่มีความสัมพันธ์กับประเทศไทย เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ ยอมรับความ แตกตา่ งทางวฒั นธรรม และอย่รู ว่ มกนั ได้อยา่ งสันติสุข ศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชาติไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ ในเรื่องเก่ียวกับการสถาปนา อาณาจักร ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พัฒนาการทางด้านต่าง ๆ โดยสังเขป ผลงานของบุคคลสาคัญ ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบวร ราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และภูมิปัญญาไทยท่ีสาคัญที่น่าภาคภูมิใจ ควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การสืบค้นข้อมูล การเชื่อมโยง การวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนักถึงความพากเพียรพยายามของ บรรพบุรุษที่ได้ปกป้อง และสร้างสรรค์ความเจริญให้บ้านเมืองตกทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบต่อถึง ปัจจุบัน มาตรฐานการเรยี นร้/ู ระดับชนั้ /ตัวชวี้ ัด ส ๔.๑ ป ๖/๑, ป ๖/๒ ส ๔.๒ ป ๖/๑, ป ๖/๒ ส ๔.๓ ป ๖/๑, ป ๖/๒, ป ๖/๓, ป ๖/๔ รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตัวช้วี ัด หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๒๒ คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน (ประวตั ิศาสตร์) รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1-2 รหสั วิชา ส๒๑๑๐๒-ส๒๑๑๐๔ เวลา 40 ชวั่ โมง/ปี ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาการของอาณาจกั รสุโขทัยในด้านการเมอื งการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาไทยสมัยสโุ ขทัย ความเส่อื มของอาณาจักรสโุ ขทยั ทีต่ ั้ง และสภาพภูมิศาสตร์ทมี่ ผี ลต่อพฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศต่างๆ ในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ความรว่ มมือผ่านการรวมกล่มุ เปน็ อาเซยี นที่ถอื ว่าเปน็ พฒั นาการของ ภูมภิ าคที่ตั้งและความสาคัญของแหล่งอารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อิทธิพลของอารยธรรม โบราณในดนิ แดนไทยท่ีมพี ฒั นาการของสงั คมไทยสมัยปัจจุบัน โดยใชก้ ระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวน การเรยี นรู้แบบบูรณาการ กระบวนการแกป้ ญั หา และวิธีการทางประวัติศาสตร์ เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจถึงความสาคัญของเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้วธิ ีการทาง ประวัตศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ เขา้ ใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย พฒั นาการด้าน ต่างๆ วฒั นธรรมไทย ภมู ปิ ญั ญาไทย มีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคด์ ้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอื่ สัตย์สจุ ริต มี วนิ ัยใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มัน่ ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย และมีจิตสาธารณะ ตวั ชี้วัด ส 4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ส 4.2 ม.1/1 ม.1/2 ส 4.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 รวม 8 ตัวชว้ี ดั หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๒๓ คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน (ประวัตศิ าสตร์) รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1-2 รหัสวชิ า ส๒๒๑๐๒-ส๒๒๑๐๔ เวลา 40 ชวั่ โมง/ปี ศกึ ษาวเิ คราะห์การประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถือของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ และความสาคญั ของการ ตคี วามหลักฐานทางประวัติศาสตรท์ ่ีนา่ เชอื่ ถือ ตลอดจนวิเคราะห์ความแตกต่างระหวา่ งความจริงกับ ขอ้ เทจ็ จรงิ ของเหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตร์ การพัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื งของภูมภิ าค เอเชีย ความสาคญั ของแหลง่ อารยธรรมโบราณในภมู ิภาคเอเชีย พัฒนาการของอาณาจักรอยธุ ยา และ อาณาจักรธนบุรีในด้านตา่ งๆ ปจั จยั ทส่ี ่งผลตอ่ ความมน่ั คงและความเจรญิ รงุ่ เรืองของอาณาจักรอยธุ ยา อทิ ธิพล ของภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยธุ ยาและธนบุรีทม่ี ีต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา โดยใช้วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ กระบวนการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และกระบวนการแกป้ ญั หา เพ่อื ให้เกดิ ความร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกบั พฒั นาการของมนุษยชาตใิ นภูมภิ าคตา่ งๆ ในทวปี เอเชยี จากอดตี จนถึงปัจจุบนั ให้ตระหนักถึงความสาคญั และผลกระทบท่ีเกิดขนึ้ มีคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคใ์ นดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัย ซ่ือสตั ย์สุจรติ มีความรกั ความภมู ิใจและธารงความเป็น ไทย ตวั ช้วี ัด ส 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ส 4.2 ม.2/1 ม.2/2 ส 4.3 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 รวม 8 ตวั ช้ีวัด หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๒๔ คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน (ประวัตศิ าสตร์) รายวิชา ประวตั ิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1-2 รหัสวิชา ส๒๓๑๐๒-ส๒๓๑๐๔ เวลา 40 ชวั่ โมง/ปี ศึกษา วิเคราะห์ เรื่องราวเหตกุ ารณส์ าคัญทางประวัตศิ าสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวธิ ีการทาง ประวัตศิ าสตรใ์ ชว้ ิธีการทางประวัติศาสตรใ์ นการศึกษาเร่ืองราวตา่ งๆ ท่ีตนสนใจ พฒั นาการของไทยสมยั รัตนโกสินทรใ์ นด้านตา่ งๆ ปจั จัยท่สี ง่ ผลต่อความม่นั คงและความเจริญรงุ่ เรอื งของไทยในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ บทบาทของพระมหากษัตรยิ ์ในราชวงศจ์ กั รใี นการสร้างสรรคค์ วามเจริญและความม่นั คงของชาติ พฒั นาการ ของไทยในสมัยรัตนโกสินทรท์ างด้านการเมอื งการปกครอง สงั คม เศรษฐกจิ และความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ประเทศตามช่วงสมยั ต่างๆ เหตกุ ารณส์ าคัญสมยั รัตนโกสนิ ทรท์ ่มี ีผลต่อการพฒั นาชาติไทย โดยวเิ คราะห์ สาเหตุ ปจั จัย และผลของเหตุการณ์ ภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์ และอิทธพิ ลต่อการพัฒนา ชาตไิ ทย และบทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย พัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกจิ และการเมืองของภูมภิ าค ต่างๆ ในโลกโดยสงั เขป ผลของการเปลีย่ นแปลงที่นาไปสคู่ วามรว่ มมือ และความขัดแย้งในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20 ตลอดจนความพยายาม ในการขจัดปญั หาความขดั แย้ง โดยใชว้ ิธีการทางประวตั ิศาสตร์ กระบวนการคิด กระบวนการสืบคน้ ข้อมลู กระบวนการทางสงั คม กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปญั หา กระบวนการกลมุ่ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ความ เข้าใจในการนาวิธีการทางประวตั ศิ าสตรม์ าใช้ศกึ ษาเรอื่ งราวทเ่ี กยี่ วข้องกบั ตนเอง ครอบครัว ท้องถิ่นของ ตนเอง และประวตั ศิ าสตรส์ มัยรัตนโกสินทร์ ตลอดจนพัฒนาการในภมู ภิ าคตา่ งๆ ของโลก เกดิ ความรกั ความ ภาคภูมใิ จในความเป็นไทย ตระหนกั ถึงความสาคัญของการเปล่ยี นแปลงในภูมภิ าคต่างๆ ของโลกและ ผลกระทบทเ่ี กิดข้นึ จากความเปลี่ยนแปลงดงั กลา่ ว มคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ในดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อย่อู ยา่ งพอเพียง มงุ่ มน่ั ในการทางาน รกั ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถ ดาเนินชีวติ อย่รู ่วมกนั ได้อยา่ งสนั ตสิ ุข ตัวชวี้ ัด ส 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ส 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ส 4.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 รวม 8 ตวั ชวี้ ัด หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๒๕ คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ส ๑๑๒๐1 รายวชิ าตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มีการคิดแยกแยะ โดยระบบคิดฐาน ๒ และระบบคิดฐาน ๑๐ ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต เกีย่ วกับการทาการบ้าน การทาเวร การสอบและกิจกรรมนักเรียน STRONG จิตพอเพียงต่อการต่อตา้ นการทุจริต ได้แก่ความพอเพียง ความโปร่งใส ต้านทุจริตและความเอื้ออาทร รู้หน้าที่ของพลเมืองและรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมในการต่อต้านทุจรติ การเคารพสิทธิหน้าที่ตนเองและผู้อื่น ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ กติกาและกฎหมาย และคุณลักษณะของ พลเมอื งที่ดี หน้าที่ของพลเมืองทีด่ ี โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทาโครงงานกระบวนการ เรียนรู้ ๕ ข้ันตอน ( 5 STEPs) การอภิปราย การสืบสวน การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน เพื่อให้มี ความตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและการป้องกนั การทุจริต ผลการเรยี นรู้ ๑. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๒. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ ๓. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ STRONG จติ พอเพียงตอ่ การต่อต้านการทุจริต ๔. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั พลเมืองและมรี ับผิดชอบต่อสงั คม ๕.สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๖. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ ทุกรูปแบบ ๗. ปฏิบัติตนเป็นผู้ STRONG จติ พอเพยี งต่อการต่อตา้ นการทจุ ริต ๘. ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าทีพ่ ลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ๙. ตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันทุจริต รวม ๙ ผลการเรยี นรู้ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๒๖ คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ส ๑๒๒๐1 รายวชิ าต้านทจุ รติ ศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มีการคิดแยกแยะ โดยระบบคิดฐาน ๒ และระบบคิดฐาน ๑๐ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต เกยี่ วกบั การทาการบ้าน การทาเวร การสอบและกิจกรรมนักเรียน STRONG จิตพอเพียงต่อการต่อต้านการทุจริต ไดแ้ กค่ วามพอเพียง ความโปร่งใส ต้านทุจริตและความเอ้ืออาทร รู้หน้าท่ีของพลเมอื งและรบั ผิดชอบต่อสังคมในการต่อต้านทจุ ริต การเคารพสิทธหิ น้าท่ตี ่อชมุ ชนและสังคม ปฏบิ ัติตนตามกฎ ระเบยี บ กติกาและกฎหมาย โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทาโครงงานกระบวนการ เรียนรู้ ๕ ข้ันตอน ( 5 STEPs) การอภิปราย การสืบสวน การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน เพื่อให้มี ความตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อตา้ นและการป้องกนั การทุจรติ ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๒. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ๓. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ STRONG จิตพอเพยี งต่อการต่อต้านการทุจริต ๔. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับพลเมืองและมรี ับผดิ ชอบต่อสังคม ๕.สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๖. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริตทุกรูปแบบ ๗. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผู้ STRONG จิตพอเพยี งต่อการต่อต้านการทจุ รติ ๘. ปฏิบัติตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ๙. ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันทจุ ริต รวม ๙ ผลการเรียนรู้ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๒๗ คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม ส ๑๓๒๐1 รายวชิ าตา้ นทุจรติ ศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มีการคิดแยกแยะ โดยระบบคดิ ฐาน ๒ และระบบคดิ ฐาน ๑๐ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต เก่ยี วกับการทาการบ้าน การทาเวร การสอบ การแต่งกายและกิจกรรมนักเรียน STRONG จิตพอเพียงต่อการต่อต้านการทุจริต ได้แก่ ความพอเพียง ความโปร่งใส ต้านทุจริตและความเอื้ออาทร รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมใน การต่อต้านทุจริต การเคารพสิทธิหน้าท่ีตนเองและผู้อื่นการเคารพสิทธิหน้าท่ีต่อชุมชนและสังคม ปฏิบัติตน ตามกฎ ระเบยี บ กติกาและกฎหมาย โดยใชก้ ระบวนการคิด วเิ คราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบตั ิจรงิ การทาโครงงานกระบวนการ เรยี นรู้ ๕ ข้ันตอน ( 5 STEPs) การอภิปราย การสบื สวน การแกป้ ญั หา ทักษะการอา่ นและการเขยี น เพื่อให้มี ความตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกันการทจุ ริต ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กับผลประโยชน์สว่ นรวม ๒. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต ๓. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั STRONG จิตพอเพยี งตอ่ การตอ่ ต้านการทจุ รติ ๔. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับพลเมืองและมีรับผดิ ชอบต่อสังคม ๕.สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ ๖. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผู้ละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ ทุกรูปแบบ ๗. ปฏิบตั ติ นเป็นผู้ STRONG จติ พอเพียงต่อการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ๘. ปฏิบัติตนตามหน้าท่ีพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสังคม ๙. ตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันทุจริต รวม ๙ ผลการเรยี นรู้ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๒๘ คาอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ ส ๑๔๒๐1 รายวิชาตา้ นทจุ ริตศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มีการคิดแยกแยะ โดยระบบคิดฐาน ๒ และระบบคิดฐาน ๑๐ ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต ความละอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต เกี่ยวกับการทาการบ้าน การทาเวร การสอบ การแต่งกายและกิจกรรมนักเรียน ภายในโรงเรยี น STRONG จิตพอเพียงต่อการต่อต้านการทจุ ริต ได้แกก่ ารดารงชีวติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพียง ความโปร่งใส ความต่ืนรู้และต้านทุจริต การมุ่งไปข้างหน้าและความเอ้ืออาทร รู้หน้าท่ีของพลเมือง และรับผิดชอบต่อสังคมในการต่อต้านทุจริต การเคารพสิทธิหน้าที่ตนเองและผู้อ่ืนการเคารพสิทธิหน้าท่ีต่อ ชุมชนและสงั คม ปฏบิ ัตติ นตามกฎ ระเบียบ กตกิ าและกฎหมาย ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมและพลเมอื งท่ีดี โดยใช้กระบวนการคิด วเิ คราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏบิ ตั ิจริง การทาโครงงานกระบวนการ เรยี นรู้ ๕ ข้นั ตอน ( 5 STEPs) การอภปิ ราย การสบื สวน การแก้ปัญหา ทักษะการอา่ นและการเขียน เพื่อให้มี ความตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกันการทจุ รติ ผลการเรยี นรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม ๒. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ ๓. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั STRONG จิตพอเพยี งตอ่ การตอ่ ต้านการทจุ ริต ๔. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั พลเมืองและมีรับผิดชอบต่อสงั คม ๕.สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๖. ปฏิบัตติ นเป็นผูล้ ะอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ ทกุ รูปแบบ ๗. ปฏิบตั ติ นเป็นผู้ STRONG จิตพอเพียงต่อการต่อต้านการทุจรติ ๘. ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ทพ่ี ลเมืองและมคี วามรับผิดชอบต่อสังคม ๙. ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันทุจรติ รวม ๙ ผลการเรียนรู้ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๒๙ คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม ส ๑๕๒๐๒ รายวชิ าตา้ นทุจริตศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มีการคิดแยกแยะ โดยระบบคิดฐาน ๒ และระบบคิดฐาน ๑๐ ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต การขัดกนั ระหว่าง ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ผลประโยชน์ทับซ้อนและรูปแบบของประโยชน์ทับซ้อน ความ ละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต เกี่ยวกับการทาการบ้าน การทาเวร การสอบ การแต่งกายและกิจกรรม นักเรียนภายในห้องเรียน โรงเรียน ชุมชนและสังคม การสร้างจิตสานึกความพอเพียงต่อการต้านทุจริต STRONG จิตพอเพียงต่อการต่อต้านการทุจริต การดารงชีวิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความโปรง่ ใส ความตื่นรู้และต้านทุจริต การมุ่งไปข้างหน้าและความเอ้ืออาทร รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคม ในการต่อต้านทุจริต การเคารพสิทธิหน้าที่ตนเองและผู้อ่ืนการเคารพสิทธิหน้าที่ต่อชุมชนและสังคม ปฏิบัติตน ตามกฎ ระเบยี บ กตกิ าและกฎหมาย ความรับผดิ ชอบต่อสังคมและพลเมอื งทด่ี ี โดยใชก้ ระบวนการคิด วเิ คราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏบิ ตั ิจริง การทาโครงงานกระบวนการ เรยี นรู้ ๕ ข้ันตอน ( 5 STEPs) การอภปิ ราย การสืบสวน การแก้ปญั หา ทักษะการอ่านและการเขยี น เพือ่ ใหม้ ี ความตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อตา้ นและการป้องกันการทุจริต ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน กับผลประโยชนส์ ่วนรวม ๒. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ๓. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ STRONG จติ พอเพียงต่อการต่อต้านการทจุ รติ ๔. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั พลเมืองและมีรับผดิ ชอบต่อสังคม ๕.สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๖. ปฏบิ ัตติ นเป็นผลู้ ะอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริตทกุ รูปแบบ ๗. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผู้ STRONG จิตพอเพยี งต่อการต่อต้านการทุจริต ๘. ปฏิบัติตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ๙. ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันทจุ ริต รวม ๙ ผลการเรยี นรู้ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๓๐ คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม ส ๑๖๒๐๒ รายวชิ าตา้ นทุจรติ ศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มีการคิดแยกแยะ โดยระบบคิดฐาน ๒ และระบบคิดฐาน ๑๐ ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต การขดั กนั ระหว่าง ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ผลประโยชน์ทับซ้อนและรูปแบบของประโยชน์ทับซ้อน ความ ละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต เกี่ยวกับการทาการบ้าน การทาเวร การสอบ การแต่งกายและกิจกรรม นักเรียนภายในห้องเรียน โรงเรียน ชุมชนและสังคม การสร้างจิตสานึกความพอเพียงต่อการต้านทุจริต STRONG จิตพอเพียงต่อการต่อต้านการทุจริต การดารงชีวิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความโปร่งใส ความตื่นรู้และต้านทุจริต การมุ่งไปข้างหน้าและความเอื้ออาทร รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคม ในการต่อต้านทุจริต การเคารพสิทธิหนา้ ที่ตนเองและผอู้ ่ืนการเคารพสิทธิหน้าที่ต่อชุมชนและสงั คม ปฏิบัติตน ตามกฎ ระเบียบ กตกิ าและกฎหมาย ความรับผดิ ชอบต่อสงั คมและพลเมืองท่ดี ี โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏบิ ตั ิจรงิ การทาโครงงานกระบวนการ เรยี นรู้ ๕ ขน้ั ตอน ( 5 STEPs) การอภปิ ราย การสบื สวน การแก้ปญั หา ทักษะการอา่ นและการเขยี น เพื่อให้มี ความตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและการปอ้ งกนั การทจุ ริต ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์สว่ นรวม ๒. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ ๓. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับ STRONG จิตพอเพียงต่อการตอ่ ต้านการทจุ รติ ๔. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั พลเมืองและมรี ับผดิ ชอบต่อสงั คม ๕.สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ ๖. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผลู้ ะอายและความไม่ทนต่อการทุจริตทุกรูปแบบ ๗. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ STRONG จิตพอเพียงต่อการตอ่ ต้านการทุจรติ ๘. ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมคี วามรับผิดชอบตอ่ สังคม ๙. ตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันทจุ ริต รวม ๙ ผลการเรยี นรู้ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๓๑ คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ รหัสวิชา ส21201 การป้องกนั การทจุ ริต กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา ๒๐ ชว่ั โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกยี่ วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ ความไม่ ทนต่อการทุจริต STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ตา้ นการทจุ รติ รู้หน้าท่ขี องพลเมืองและรับผิดชอบต่อ สังคมในการ ต่อต้านการทจุ ริตโดยใช้กระบวนการคดิ วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบตั ิจริง การทา โครงงานกระบวนการ เรียนรู้ 5 ข้นั ตอน (5 STEPs) การอภปิ ราย การสืบสอบ การแกป้ ัญหา ทักษะการอา่ น และการเขยี น เพื่อให้มีความ ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อตา้ นและการป้องกันการทุจริต ผลการเรยี นรู้ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวม 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต 3. มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับ STRONG / จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทจุ รติ 4. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับพลเมืองและมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม 5. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ 6. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผูล้ ะอายและไม่ทนต่อการทจุ รติ ทุกรูปแบบ 7. ปฏิบตั ติ นเป็นผทู้ ี่ STRONG / จิตพอเพยี งตอ่ ตา้ นการทุจรติ 8. ปฏิบัตติ นตามหนา้ ที่พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 9. ตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทุจริต รวมท้ังหมด 9 ผลการเรียนรู้ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๓๒ คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ รหสั วิชา ส21202 การป้องกันการทุจริต กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา ๒๐ ชว่ั โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาเก่ยี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม ความละอายและ ความไม่ ทนต่อการทุจริต STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทจุ รติ รหู้ นา้ ทขี่ องพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อ สงั คมในการ ตอ่ ตา้ นการทจุ ริตโดยใช้กระบวนการคิด วเิ คราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏิบตั จิ รงิ การทา โครงงานกระบวนการ เรยี นรู้ 5 ข้นั ตอน (5 STEPs) การอภปิ ราย การสบื สอบ การแกป้ ัญหา ทกั ษะการอ่าน และการเขียน เพื่อให้มีความ ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและการป้องกันการทุจริต ผลการเรยี นรู้ 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ่วนรวม 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต 3. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับ STRONG / จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ ริต 4. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม 5. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 6. ปฏบิ ัตติ นเป็นผูล้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรูปแบบ 7. ปฏิบัติตนเป็นผู้ท่ี STRONG / จิตพอเพียงต่อตา้ นการทุจรติ 8. ปฏบิ ตั ติ นตามหน้าทีพ่ ลเมืองและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม 9. ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ รติ รวมทัง้ หมด 9 ผลการเรียนรู้ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๓๓ คาอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ รหสั วิชา ส22201 การป้องกันการทจุ รติ กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา ๒๐ ชว่ั โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกติ คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาเกยี่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม ความละอายและ ความไม่ ทนตอ่ การทจุ ริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทจุ ริต รูห้ น้าท่ีของพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อ สังคมในการ ตอ่ ต้านการทุจริตโดยใช้กระบวนการคดิ วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝึกปฏบิ ตั ิจรงิ การทา โครงงานกระบวนการ เรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอา่ น และการเขียน เพ่ือใหม้ ีความ ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อตา้ นและการป้องกันการทจุ รติ ผลการเรียนรู้ 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ 3. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับ STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต 4. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม 5. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 6. ปฏบิ ัติตนเป็นผู้ละอายและไมท่ นต่อการทจุ ริตทุกรูปแบบ 7. ปฏิบตั ติ นเป็นผทู้ ี่ STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต 8. ปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม 9. ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทุจริต รวมทัง้ หมด 9 ผลการเรยี นรู้ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๓๔ คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ รหัสวชิ า ส22202 การป้องกันการทุจริต กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา ๒๐ ชวั่ โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกติ คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาเกีย่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม ความละอายและ ความไม่ ทนตอ่ การทจุ ริต STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ รติ รูห้ น้าทข่ี องพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อ สังคมในการ ต่อตา้ นการทุจริตโดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏบิ ตั ิจรงิ การทา โครงงานกระบวนการ เรียนรู้ 5 ข้นั ตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแกป้ ัญหา ทักษะการอา่ น และการเขยี น เพื่อใหม้ ีความ ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการตอ่ ตา้ นและการป้องกันการทุจรติ ผลการเรยี นรู้ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ 3. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับ STRONG / จติ พอเพียงต่อต้านการทจุ ริต 4. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม 5. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 6. ปฏบิ ัตติ นเป็นผู้ละอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรูปแบบ 7. ปฏบิ ตั ิตนเป็นผทู้ ี่ STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต 8. ปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรบั ผิดชอบต่อสังคม 9. ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต รวมทั้งหมด 9 ผลการเรยี นรู้ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๓๕ คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ รหสั วิชา ส23201 การป้องกันการทจุ รติ กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา ๒๐ ชวั่ โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกติ คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาเกยี่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม ความละอายและ ความไม่ ทนตอ่ การทจุ ริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทจุ รติ รหู้ นา้ ที่ของพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อ สังคมในการ ตอ่ ต้านการทุจริตโดยใช้กระบวนการคดิ วิเคราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏบิ ตั ิจรงิ การทา โครงงานกระบวนการ เรียนรู้ 5 ข้นั ตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสบื สอบ การแกป้ ัญหา ทักษะการอา่ น และการเขียน เพ่ือใหม้ ีความ ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการตอ่ ต้านและการป้องกันการทุจรติ ผลการเรียนรู้ 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ 3. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับ STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจริต 4. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม 5. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ 6. ปฏบิ ัติตนเป็นผู้ละอายและไมท่ นต่อการทจุ ริตทุกรูปแบบ 7. ปฏิบตั ติ นเป็นผทู้ ี่ STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจรติ 8. ปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 9. ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทุจริต รวมทัง้ หมด 9 ผลการเรยี นรู้ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๑๓๖ คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวชิ า ส23202 การป้องกันการทจุ ริต กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา ๒๐ ชวั่ โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกติ คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาเกีย่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม ความละอายและ ความไม่ ทนตอ่ การทจุ ริต STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทุจริต รูห้ น้าทข่ี องพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อ สังคมในการ ต่อตา้ นการทุจริตโดยใช้กระบวนการคิด วเิ คราะห์ จาแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏบิ ตั ิจรงิ การทา โครงงานกระบวนการ เรียนรู้ 5 ข้นั ตอน (5 STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแกป้ ัญหา ทักษะการอา่ น และการเขยี น เพื่อใหม้ ีความ ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการตอ่ ตา้ นและการป้องกันการทุจรติ ผลการเรยี นรู้ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ 3. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับ STRONG / จติ พอเพียงต่อต้านการทจุ ริต 4. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 5. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 6. ปฏบิ ัตติ นเป็นผู้ละอายและไมท่ นต่อการทุจรติ ทุกรูปแบบ 7. ปฏบิ ตั ิตนเป็นผทู้ ี่ STRONG / จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริต 8. ปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม 9. ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต รวมทั้งหมด 9 ผลการเรยี นรู้ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
สว่ นท่ี ๔ โครงสรา้ งรายวิชาหนว่ ยการเรยี นรู้ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๓๘ โครงสรา้ งรายวชิ าพ้ืนฐาน หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๓๙ โครงสรา้ งรายวชิ าพนื้ ฐาน รายวชิ า ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง หนว่ ยที่ ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนร/ู้ สาระสาคญั เวลา สดั สว่ น การเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน ๑ พระพุทธศาสนา ส ๑.๑ ป.๑/๑ การศกึ ษาพทุ ธประวตั ิ หรือประวตั ขิ อง ๒ ๕ และศาสนาอื่น ๆ ศาสดาทตี่ นนบั ถือทาให้เกิดความ ศรัทธาและเหน็ แบบอยา่ งท่ดี ี ซงึ่ สามารถนาไปใช้เปน็ แบบอยา่ งในการ ดาเนนิ ชีวิต ๒ แบบอย่างที่ดี ส ๑.๑ ป.๑/๒ แบบอยา่ งการดาเนนิ ชีวติ และข้อคิดที่ ๒ ๔ ไดจ้ ากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และ ศาสนกิ ชนตัวอย่าง ท่เี คารพ ศรัทธา สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการ ประพฤตปิ ฏิบัติตน ๓ หลกั ธรรม ส ๑.๑ ป.๑/๓ หลกั ธรรมของศาสนาและการเหน็ ๔๘ นาความสขุ ป.๑/๔ คุณคา่ ของการสวดมนต์แผ่เมตตา ก่อให้เกดิ ความศรัทธาสามารถยึดถือ เป็นแนวทางในการดาเนนิ ชวี ิต และ พฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ตี น นับถอื ๔ ชาวพุทธท่ีดี ส ๑.๒ ป.๑/๒ การประพฤตติ นอยา่ งถูกต้องตาม ๒๕ ป.๑/๒ หลักการของศาสนาและการบาเพญ็ ป.๑/๓ ประโยชนต์ ่อวดั หรือศาสนสถาน การแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ และ การปฏิบัติตนในศาสนพิธแี ละวันสาคญั ทางศาสนาถอื เป็นการสง่ เสริมจติ สาธารณะของตนเองและเป็นการธารง ไว้ของศาสนาท่ตี นนับถอื หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๔๐ หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั สาระการเรียนร/ู้ สาระสาคญั เวลา สัดสว่ น การเรียนรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน ๕ ความสัมพันธข์ อง ส ๒.๒ ป.๑/๑ สมาชกิ ทุกคนในครอบครัวและโรงเรียน ๒ ๕ สมาชิก ป.๑/๒ ปฏบิ ตั ิตนตามบทบาท สิทธิ และหน้าท่ี ในครอบครัว ของตนด้วยความผิดชอบ ย่อมส่งผลตอ่ และโรงเรยี น การอย่รู ่วมกันอยา่ งสงบสุข และมีความสัมพนั ธ์ทีด่ รี ะหว่างกัน ๖ สมาชิกที่ดีของ ส ๒.๑ ป.๑/๑ การเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของครอบครวั และ ๓ ๖ ครอบครัวและ โรงเรยี น การมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมของ โรงเรียน ครอบครวั และโรงเรียน และการมี เหตผุ ลยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อน่ื เปน็ สิง่ ท่เี ราควรปฏบิ ตั ิ เพ่ือให้สามารถ อยู่รว่ มกับคนอนื่ ในครอบครวั และ โรงเรียนไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ๗ การทาความดี ส ๒.๑ ป.๑/๒ บคุ คลย่อมมีความสามารถแตกต่างกัน ๒ ๔ แตก่ ส็ ามารถทาความดีทเี่ ป็นประโยชน์ ต่อสังคม ส่งผลให้ผู้ปฏิบัตแิ ละผทู้ อ่ี ยูช่ ิด ใกล้มคี วามภาคภูมใิ จและมีความสุข ๘ ประชาธิปไตย ส ๒.๒ ป.๑/๓ สมาชิกในครอบครัวและโรงเรยี น ย่อมมี ๓ ๖ ในครอบครวั สว่ นร่วมในการตัดสินใจและทากิจกรรม และโรงเรยี น ตามกระบวนการประชาธิปไตย ซง่ึ จะ ส่งผลตอ่ การปลูกฝังพ้นื ฐานสาคัญของ ประชาธิปไตยต่อเยาวชน ๙ สนิ คา้ และบริการ ส ๓.๑ ป.๑/๑ สินคา้ และบริการที่ใชอ้ ยู่ใน ๓๖ ในชีวติ ประจาวนั ป.๑/๓ ชีวิตประจาวันนน้ั มีจานวนมากและ ของเรา หลากหลาย เราจงึ ควรเลือกใช้ ทรัพยากรในชวี ติ ประจาวนั อย่าง ประหยดั ๑๐ จ่ายเป็น ออมได้ ส ๓.๑ ป.๑/๒ การใชจ้ ่ายเงนิ ในชีวิตประจาวันเพือ่ ซื้อ ๓ ๖ ไม่ขัดสน สินค้าและบรกิ ารที่ไม่เกนิ ตัวและคมุ้ คา่ และรู้จกั เกบ็ ออม ไวย้ อ่ มส่งผลดีต่อ สภาพความเปน็ อยู่ในการ ดาเนนิ ชวี ิต ๑๑ ทางานดี ส ๓.๒ ป.๑/๑ การทางานทีก่ ่อให้เกดิ รายได้อย่างสจุ รติ ๓ ๖ มคี วามสขุ ยอ่ มสง่ ผลดตี ่อความสงบสขุ ของ ครอบครวั และสังคม ๑๒ สงิ่ ต่าง ๆ รอบตวั ส ๕.๑ ป.๑/๑ สิ่งแวดลอ้ มรอบตัวมที ัง้ ท่ีเกิดตาม ๒๕ ส ๕.๒ ป.๑/๑ ธรรมชาตแิ ละทีม่ นุษยส์ ร้างขึ้น หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๔๑ หน่วยที่ ชอื่ หนว่ ย มาตรฐาน/ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้/สาระสาคัญ เวลา สัดส่วน การเรยี นรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน สง่ิ แวดล้อมมผี ลต่อความเป็นอยู่ ๓๖ ของมนุษย์ ๔๘ ๑๓ ตาแหน่ง ระยะ ส ๕.๑ ป.๑/๒ การใชแ้ ผนผงั ท่แี สดงความสมั พนั ธ์ของ ๓๘ ๘๐ ๒ ๒๐ ทศิ และแผนผงั ป.๑/๓ ตาแหน่ง ระยะทาง และทิศของสง่ิ ต่าง ๔๐ ๑๐๐ ๆ รอบตวั ท้ังทเี่ กดิ จากธรรมชาติและ มนุษยส์ รา้ งข้นึ ๑๔ สง่ิ แวดลอ้ มกับ ส ๕.๑ ป.๑/๔ การเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศ การเปล่ยี นแปลง ส ๕.๒ ป.๑/๒ ในรอบวันมผี ลตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม ป.๑/๓ การเปลี่ยนแปลงส่งิ แวดล้อมมีผลต่อ การดาเนนิ ชวี ิต ดงั นนั้ การมีส่วนรว่ ม ในการดแู ลสิง่ แวดล้อมที่บา้ น และห้องเรยี นเป็นหน้าทีข่ องทกุ คน รวมคะแนนระหวา่ งเรยี น คะแนนทดสอบปลายปี รวมคะแนนทงั้ ปี หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๔๒ โครงสรา้ งรายวชิ าพื้นฐาน รายวชิ า ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง หน่วยท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู/้ สาระสาคญั เวลา สดั สว่ น การเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน ๑ เรียนรศู้ าสนา ส ๑.๑ ป.๒/๑ ศาสนาทุกศาสนาล้วนแตม่ คี วามสาคญั ๒ ๖ ป.๒/๒ และเป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยวจติ ใจใหก้ ระทา ป.๒/๗ ความดี ซง่ึ ศาสนิกชนทกุ คนพึงศกึ ษา ประวัติศาสดาของศาสนาทตี่ นนบั ถือ และนาแบบอยา่ งทีด่ ีไปเป็นแนวปฏบิ ัติ ตน ๒ หลักธรรม ส ๑.๑ ป.๒/๔ การเคารพพระรตั นตรยั ปฏิบัตติ าม ๔๘ นาความสขุ หลักธรรมโอวาท 3 ด้วยการไมท่ าชัว่ ๓ เราทาความดี ทาความดี ทาจติ ใจให้ผ่องใสบรสิ ทุ ธิ์ ย่อมทาใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิดาเนินชีวติ ไปในทาง ท่ถี กู ต้อง ส ๑.๑ ป.๒/๓ การปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรมคาสอนของ ๒ ๖ ป.๒/๕ ศาสนาทต่ี นนับถือ และการศึกษาการ ทาความดีของบุคคลจากตัวอยา่ งตา่ ง ๆ รวมท้ังเห็นคุณค่าของการทาความดี เหล่านั้น ชว่ ยให้พฒั นาตนเพ่ือการอยู่ ร่วมกนั ได้อยา่ งสงบสขุ ในสงั คม ๔ ชาวพทุ ธท่ดี ี ส ๑.๑ ป.๒/๖ ชาวพุทธที่ดีพงึ ปฏบิ ัติตนตามมรรยาท ๒ ๔ ส ๑.๒ ป.๒/๑ ชาวพุทธ ศาสนพิธี พีธีกรรม และ ป.๑/๒ วันสาคญั ทางศาสนาได้ถูกต้อง และ สวดมนต์ แผ่เมตตา มสี ติท่ีเป็นพน้ื ฐาน ของสมาธิ หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๔๓ หนว่ ยที่ ชือ่ หนว่ ย มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู/้ สาระสาคัญ เวลา สัดสว่ น การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน ๕ กฎของการอยู่ ส ๒.๑ ป.๒/๑ ข้อตกลง กฎระเบยี บ กฎหมาย เป็นสิง่ ๔ ๘ รว่ มกนั ป.๒/๓ ที่กาหนดขึน้ เป็นข้อปฏบิ ตั หิ รอื ข้อบังคบั ป.๒/๔ ในการอยูร่ ว่ มกัน เพื่อให้คนจานวนมาก สามารถอยู่รว่ มกันได้โดยไมข่ ัดแย้งกัน โดยจะตอ้ งยอมรบั ความคดิ ความเชอื่ และการปฏิบัติของบุคคลอ่นื ที่แตกต่าง กนั โดยปราศจากอคติ ตลอดทั้ง ตอ้ งเคารพในสทิ ธิเสรภี าพของตนเอง และผู้อ่ืน ๖ เด็กดีมมี รรยาท ส ๒.๑ ป.๒/๒ การปฏิบัตติ นตามมรรยาทไทยเกีย่ วกับ ๓ ๖ ความเคารพ การยืน การเดนิ การฟงั การทักทาย การพูด การแตง่ กาย อย่างเหมาะสม ย่อมทาใหเ้ ป็นผู้ท่ีมี บคุ ลกิ ภาพทด่ี ี เปน็ ท่ียอมรบั ของสงั คม ๗ ชุมชนของเรา ส ๒.๒ ป.๒/๑ สมาชกิ ทุกคนในชมุ ชนมีความสมั พนั ธท์ ี่ ๓ ๖ ป.๒/๒ ดตี ่อกัน มีการช่วยเหลือในกิจกรรม ของชุมชน การดาเนนิ งานในโรงเรยี น และชมุ ชนจะเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยผมู้ ีอานาจในการ ตดั สินใจ ๘ สนิ คา้ และบริการ ส ๓.๑ ป.๒/๑ สินค้าและบริการลว้ นมาจากทรัพยากร ๖ ๑๐ กบั การใชจ้ า่ ย ป.๒/๒ จงึ ควรใชใ้ ห้เกิดประโยชนท์ ่ีคุ้มคา่ มาก ป.๒/๓ ทส่ี ุด การรู้ท่มี าของรายได้และรู้จัก ป.๒/๔ บนั ทึกรายรบั และรายจา่ ยของครอบครวั ทาให้วางแผนการใช้จ่ายได้อย่าง เหมาะสมกับรายได้ รวมท้งั สามารถเกบ็ ออมเงนิ เพ่ือใชจ้ ่ายในยามจาเป็น ๙ การแลกเปล่ยี น ส ๓.๒ ป.๒/๑ การแลกเปล่ยี นสนิ คา้ และบริการ ๓๖ สินค้าและบริการ ป.๒/๒ สามารถทาไดท้ ง้ั ใชเ้ งินเปน็ สอ่ื กลางและ ไม่ใชเ้ งนิ ทั้งผซู้ ้ือและผูข้ ายตา่ งก็มี บทบาทสาคัญ และมีความสมั พนั ธก์ ัน หลากหลาย เราจึงควรเลอื กใช้ ทรพั ยากรในชวี ติ ประจาวันอย่าง ประหยดั ๑๐ ส่งิ แวดล้อม ส ๕.๑ ป.๒/๑ สิ่งแวดล้อมระหว่างบ้านกบั โรงเรียน ๔๘ รอบตัว ประกอบดว้ ย สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๔๔ หนว่ ยท่ี ชื่อหนว่ ย มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้/สาระสาคญั เวลา สัดส่วน การเรียนรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน ส ๕.๒ ป.๒/๑ และสิง่ แวดล้อมที่มนุษยส์ ร้างขึน้ ๑๑ เครอ่ื งมอื ป.๒/๒ สิ่งแวดลอ้ มทางธรรมชาติและ ๒๖ ทางภูมศิ าสตร์ ป.๒/๔ ส่ิงแวดลอ้ มทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขึน้ มีผลต่อ ๓๖ การดาเนนิ ชีวติ ของมนุษย์ ๑๒ ความสัมพนั ธ์ มนษุ ยต์ ้องการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ ๓๘ ๘๐ ระหว่างโลก อย่างคุ้มค่า เนื่องจากมีอยู่อย่างจากดั ๒ ๒๐ ดวงอาทติ ย์ การมีส่วนรว่ มในการจัดการสิ่งแวดลอ้ ม ๔๐ ๑๐๐ และ ดวงจันทร์ ในโรงเรียนเปน็ หน้าที่ของทุกคน ส ๕.๒ ป.๒/๒ ลกู โลก แผนผงั แผนท่ี และรูปถา่ ย สามารถใชแ้ สดงตาแหน่งและลักษณะ ทางกายภาพของสงิ่ ต่าง ๆ ได้ ส ๕.๑ ป.๒/๓ โลก ดวงอาทิตย์ และดวงจันทรม์ คี วาม ส ๕.๒ ป.๒/๓ สัมพนั ธก์ นั ทาให้เกดิ ปรากฏการณท์ าง ธรรมชาตติ ่างๆ เช่น กลางวนั -กลางคืน ขา้ งขึน้ -ขา้ งแรม น้าข้นึ -น้าลง ฤดูกาล เป็นตน้ ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวล้วนมี ผลต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ รวมคะแนนระหวา่ งเรยี น คะแนนทดสอบปลายปี รวมคะแนนทง้ั ปี หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๔๕ โครงสรา้ งรายวชิ าพ้นื ฐาน รายวิชา ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๓ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ เวลา ๔๐ ชั่วโมง หน่วยที่ ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้/สาระสาคญั เวลา สดั ส่วน การเรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน ๑ พระพุทธศาสนา ส ๑.๑ ป.๓/๑ พระพุทธศาสนาความสาคญั ต่อ ๒๖ น่ารู้ ป.๓/๒ การสรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรมอนั เกิดจาก ความศรัทธา การศกึ ษาพุทธประวัติ และย่อมทาให้ได้คุณธรรมอันเป็น แบบอย่าง ไปประยุกต์ปฏิบัติ ๒ เคร่อื งยึดเหนีย่ ว ส ๑.๑ ป.๓/๔ การแสดงความเคารพพระรตั นตรัยและ ๔ ๘ จติ ใจ ป.๓/๕ การปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรมโอวาท ๓ ป.๓/๗ ในพระพุทธศาสนาย่อมทาให้การดาเนนิ ชวี ิตไปในทางท่ีถกู ต้อง ศาสนิกชนทุก คนพึงปฏบิ ัตติ นต่อศาสนวัตถุ ศาสน สถาน และศาสนบุคคลของศาสนาอื่น อย่างเหมาะสม ๓ แบบอย่างท่ดี ี ส ๑.๑ ป.๓/๓ การศึกษาประวัติสาวก ชาดก และ ๒๕ ศาสนกิ ชนตวั อย่างทาให้ได้ข้อคิดและ คตธิ รรมทเี่ ปน็ แบบอย่างที่ดี สามารถ นามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวติ ได้ ๔ ชาวพุทธทดี่ ี ส ๑.๑ ป.๓/๖ พทุ ธศาสนิกชนทุกคนพึงปฏบิ ัติตน ๔๘ ส ๑.๒ ป.๓/๑ อยา่ งเหมาะสมต่อสาวก ศาสนสถาน ป.๓/๒ ศาสนวัตถขุ องศาสนา ปฏิบัติตนในศา ป.๓/๓ สนพธิ ี พธิ ีกรรม วนั สาคัญทางศาสนา และแสดงตนเปน็ พุทธ-มามกะ การสวด มนต์ แผเ่ มตตา การมีสติเปน็ พ้ืนฐาน ของสมาธิ หน่วยท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั สาระการเรียนร้/ู สาระสาคญั เวลา สดั ส่วน การเรียนรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน ๕ กระบวนการ ส ๒.๒ ป.๓/๑ การเปลยี่ นแปลงในช้นั เรียน โรงเรยี น ๔ ๘ ประชาธิปไตย ป.๓/๒ และชมุ ชน เปน็ ผลจากการตัดสนิ ใจของ ป.๓/๓ บคุ คลและกลุ่มคน โดยวธิ ีการออกเสยี ง โดยตรงและตัวแทนออกเสยี ง หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๑๔๖ หน่วยท่ี ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั สาระการเรียนร/ู้ สาระสาคญั เวลา สดั สว่ น การเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน นอกจากนน้ั สมาชกิ ในชุมชนตอ้ งมี บทบาทหน้าท่ีในการเข้าร่วมกิจกรรม ตามกระบวนการประชาธปิ ไตย ๖ การดาเนินชีวิต ส ๒.๑ ป.๓/๑ การศกึ ษาประเพณแี ละวัฒนธรรมใน ๔ ๘ ในครอบครัว ป.๓/๒ ครอบครัว ท้องถน่ิ การดาเนินชีวิตของ และท้องถ่ิน ป.๓/๓ ผคู้ นในแตล่ ะวฒั นธรรม ความสาคญั ป.๓/๔ ของวนั หยดุ ราชการ ตลอดจนประวตั ิ และผลงานของบุคคลท่ีทาประโยชน์ ใหก้ ับท้องถิน่ และคุณค่าของการทา ความดยี ่อมเป็นประโยชน์ตอ่ การดาเนนิ ชวี ิตและการอยรู่ ่วมกนั ในสังคม ๗ สนิ ค้าและบรกิ าร ส ๓.๑ ป.๓/๑ สินค้าและบรกิ ารท่ตี อบสนองความ ๒๔ กบั การดารงชวี ิต ตอ้ งการของมนษุ ย์มีอยหู่ ลายประเภท ซ่ึงจะต้องรู้หลกั การเลือกซ้ือสินค้า และบรกิ ารทีจ่ าเป็นก่อนตัดสินใจ เลือกซ้ือสินคา้ ๘ การวางแผน ส ๓.๑ ป.๓/๒ ประชาชนทุกคนต้องร้จู ักวางแผนการใช้ ๔ ๘ การใชจ้ า่ ยเงนิ ส ๓.๒ ป.๓/๑ จา่ ยเงินของตน และมีหน้าท่ีเสียภาษี ของตนเอง ป.๒/๒ ให้แกร่ ฐั ทง้ั ทางตรงและทางอ้อม เพื่อรัฐ จะได้นามาเป็นค่าใช้จา่ ยในการพัฒนา ประเทศ ๙ การผลิตและการ ส ๓.๑ ป.๓/๓ ทรพั ยากรท่ีเรานามาใช้ในการผลิต ๓๖ แขง่ ขันทาง ส ๓.๒ ป.๓/๓ สินคา้ และบริการมีอยู่อย่างจากัด การ การค้า แขง่ ขนั ทางการค้ามผี ลทาใหร้ าคาสินค้า ลดลง ๑๐ เครื่องมือ ส ๕.๑ ป.๓/๑ แผนที่ แผนผงั และรูปถ่ายมี ๓๖ ทางภมู ศิ าสตร์ ป.๓/๒ ความสาคญั ในการใชห้ าข้อมลู ทาง ภูมศิ าสตร์ ในชุมชน แสดงทต่ี ง้ั ของสถานท่ีสาคัญ ในบริเวณ โรงเรยี นและชุมชน ๑๑ ชุมชน ส ๕.๒ ป.๓/๑ สภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดตี ถึง ๔๘ ของเรา ป.๓/๒ ปจั จบุ ันมกี ารเปล่ยี นแปลง ป.๓/๔ ความสัมพนั ธข์ องลักษณะทางกายภาพ ป.๓/๕ กบั ลกั ษณะทางสังคมของชมุ ชน มีการ พง่ึ พาสิง่ แวดลอ้ มและ ทรัพยากรธรรมชาติในการสนองความ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251