๔๗ ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๒. ปฏบิ ัตติ นตนตามมารยาทไทย มารยาทไทย เชน่ การแสดงความเคารพ การยืน การเดิน การนงั่ การนอน การ ทักทาย การรบั ประทาน ๓. แสดงพฤติกรรมในการยอมรับความคิด การยอมรับความแตกตา่ งของคนในสงั คม ความเชอ่ื และการปฏบิ ัตขิ องบคุ คลอนื่ ทแ่ี ตกต่าง ในเรื่อง ความคิด ความเชอ่ื ความสามารถ กนั โดยปราศจากอคติ และการปฏิบัตติ นของบคุ คลอ่ืนท่ี แตกต่าง กัน เช่น - บคุ คลยอ่ มมีความคดิ ทีม่ ีเหตุผล - การปฏบิ ัติตนตามพิธีกรรมตามความเช่ือ ของบุคคล - บคุ คลย่อมมีความสามารถแตกต่างกนั - ไมพ่ ูดหรอื แสดงอาการดูถูกรงั เกียจผ้อู ่ืน ในเรือ่ งของรปู รา่ งหน้าตา สผี ม สี ผิว ท่แี ตกต่างกนั ๔. เคารพในสิทธิ เสรภี าพของผู้อนื่ สิทธิสว่ นบคุ คล เชน่ - สทิ ธแิ สดงความคิดเห็น - สทิ ธเิ สรีภาพในรา่ งกาย - สทิ ธิในทรพั ย์สนิ ป.๓ ๑. สรปุ ประโยชน์และปฏบิ ตั ิตนตามประเพณี ประเพณแี ละวฒั นธรรมในครอบครวั และวัฒนธรรมในครอบครัว และทอ้ งถ่ิน เช่น การแสดงความเคารพและการเชื่อฟัง ผู้ใหญ่ การกระทากจิ กรรมรว่ มกนั ใน ครอบครวั ประเพณแี ละวฒั นธรรมในท้องถน่ิ เช่น การ เขา้ รว่ มประเพณีทางศาสนา ประเพณี เก่ียวกับการดาเนนิ ชวี ติ ประโยชนข์ อง การปฏิบตั ิตนตามประเพณีและวัฒนธรรมใน ครอบครวั และท้องถน่ิ ๒. บอกพฤตกิ รรมการดาเนนิ ชีวติ ของตนเอง พฤตกิ รรมของตนเองและเพอื่ น ๆ และผอู้ น่ื ท่ีอยใู่ นกระแสวฒั นธรรม ท่ี ในชวี ติ ประจาวัน เช่น การทกั ทาย หลากหลาย การทาความเคารพ การปฏิบัตติ าม ศาสนพิธี การรับประทานอาหาร การใช้ ภาษา (ภาษาถ่ินกบั ภาษาราชการ และภาษา อนื่ ๆ ฯลฯ ) สาเหตุทีท่ าให้พฤติกรรมการดาเนนิ ชีวติ ใน ปจั จบุ ันของนักเรียน และผู้อื่นแตกต่างกนั หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๔๘ ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๓. อธิบายความสาคัญขอวนั หยดุ ราชการ วนั หยดุ ราชการทสี่ าคัญ เช่น ทส่ี าคัญ - วนั หยดุ เกี่ยวกับชาติและพระมหากษัตริย์ เชน่ วนั จักรี วันรฐั ธรรมนูญ วนั ฉตั รมงคล วนั เฉลิมพระ ชนมพรรษา - วันหยุดราชการเก่ียวกบั ศาสนา เช่น วนั มาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วนั เขา้ พรรษา - วันหยดุ ราชการเกี่ยวกบั ประเพณีและ วัฒนธรรม เชน่ วันสงกรานต์ วันพชื มงคล ๔. ยกตัวอยา่ งบุคคลซ่ึงมผี ลงานทเ่ี ป็นประโยชน์ บคุ คลทมี่ ีผลงานเป็นประโยชนแ์ กช่ ุมชนและ แกช่ มุ ชนและท้องถน่ิ ของตน ทอ้ งถน่ิ ของตน ลักษณะผลงานทีเ่ ปน็ ประโยชนแ์ ก่ชมุ ชน และท้องถิน่ ป.๔ ๑. ปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมอื งดตี ามวถิ ี การเขา้ ร่วมกิจกรรมประชาธิปไตยของ ประชาธปิ ไตยในฐานะสมาชิกท่ดี ีของชุมชน ชุมชน เชน่ การรณรงค์การเลือกตั้ง แนวทางการปฏิบตั ติ นเป็นสมาชกิ ที่ดีของ ชุมชน เช่น อนุรักษส์ ่ิงแวดล้อม สา ธารณสมบตั ิ โบราณวัตถุและโบราณสถาน การพัฒนาชมุ ชน ๒. ปฏิบตั ิตนในการเปน็ ผนู้ าและผตู้ ามท่ดี ี การเปน็ ผ้นู าและผตู้ ามทีด่ ี - บทบาทและความรับผดิ ชอบของผนู้ า - บทบาทและความรบั ผิดชอบของผู้ตาม หรอื สมาชิก - การทางานกล่มุ ใหม้ ีประสิทธผิ ลและ ประสิทธภิ าพ และประโยชน์ของการ ทางานเป็นกลุ่ม ๓. วเิ คราะห์สทิ ธพิ นื้ ฐานท่เี ด็กทุกคน สทิ ธิพื้นฐานของเด็ก เชน่ สิทธทิ ีจ่ ะมีชวี ิต พึงได้รับตามกฎหมาย สิทธิทีจ่ ะได้รับการปกปอ้ ง สทิ ธิ ทีจ่ ะ ไดร้ ับการพัฒนา สทิ ธิท่ีจะมี สว่ น ร่วม ๔. อธบิ ายความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม วฒั นธรรมในภาคต่าง ๆ ของไทย ของกล่มุ คนในทอ้ งถิ่น ท่แี ตกต่างกัน เชน่ การแต่งกาย ภาษา อาหาร หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๔๙ ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๕. เสนอวธิ กี ารท่จี ะอยูร่ ่วมกัน ปญั หาและสาเหตขุ องการเกดิ อย่าง สันติสขุ ในชวี ติ ประจาวัน ความขดั แย้งในชีวิตประจาวัน แนวทางการแกป้ ญั หาความขัดแย้ง ดว้ ยสนั ติวธิ ี ป.๕ ๑. ยกตวั อย่างและปฏิบัตติ นตามสถานภาพ สถานภาพ บทบาท สทิ ธิเสรภี าพ บทบาท สทิ ธิเสรภี าพ และหน้าท่ใี นฐานะ หนา้ ทข่ี องพลเมืองดี เชน่ เคารพ เทดิ ทนู พลเมืองดี สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ อนุรักษ์ ศิลปวฒั นธรรม ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย คุณลักษณะของพลเมืองดี เชน่ เห็นแก่ ประโยชนส์ ว่ นรวมมากกว่าประโยชนส์ ่วน ตน มคี วามรบั ผดิ ชอบ เสยี สละ ๒. เสนอวธิ ีการปกป้องคุ้มครองตนเอง เหตกุ ารณท์ ล่ี ะเมิดสิทธิเด็กในสงั คมไทย หรือผู้อื่นจากการละเมดิ สิทธิเด็ก แนวทางการปกป้องคุ้มครองตนเอง หรอื ผอู้ ืน่ จากการละเมดิ สิทธเิ ด็ก การปกป้องคุ้มครองสิทธเิ ด็กในสังคมไทย ๓. เห็นคณุ ค่าวัฒนธรรมไทยท่ีมีผล ตอ่ วัฒนธรรมไทย ทีม่ ีผลตอ่ การดาเนินชีวติ ของ การดาเนินชวี ติ ในสังคมไทย คนในสงั คมไทย คุณค่าของวัฒนธรรมกบั การดาเนินชวี ิต ๔. มีสว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษ์และเผยแพร่ ภมู ิ ความสาคัญของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน ปญั ญาท้องถ่ินของชุมชน ตัวอย่างภมู ิปญั ญาท้องถิ่นในชมุ ชน ของ ตน การอนรุ กั ษ์และเผยแพร่ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ของชุมชน ป.๖ ๑. ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กฎหมายท่เี กีย่ วข้องกบั ชวี ิตประจาวันเชน่ ชวี ิตประจาวนั ของครอบครวั และชุมชน - กฎหมายจราจร - กฎหมายทะเบยี นราษฎร - กฎหมายยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ - เทศบัญญตั ิ ข้อบญั ญัติ อบต. อบจ. ประโยชนข์ องการปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย ดังกล่าว ๒. วเิ คราะห์การเปล่ียนแปลงวฒั นธรรม ตาม ความหมายและประเภทของวฒั นธรรม กาลเวลาและธารงรักษาวฒั นธรรม อนั ดงี าม การเปล่ียนแปลงวฒั นธรรมตามกาลเวลาท่มี ี ผลต่อตนเองและสังคมไทย แนวทางการธารงรกั ษาวฒั นธรรมไทย หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๕๐ ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๓. แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสม ถูก ความหมายและสาคัญของมารยาทไทย กาลเทศะ มารยาทไทยและมารยาทสงั คม เชน่ การ แสดงความเคารพ การยนื การเดิน การนงั่ การนอน การรับของส่งของ การ รบั ประทานอาหาร การแสดงกิริยาอาการ การทักทาย การสนทนา การใช้ คาพูด ๔. อธบิ ายคณุ คา่ ทางวฒั นธรรมท่ีแตกต่างกนั ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าทางวัฒนธรรม ระหว่างกล่มุ คนในสังคมไทย ความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหวา่ งกลุม่ คน ภาคตา่ ง ๆ ในสงั คมไทย แนวทางการรักษาวฒั นธรรม ๕. ติดตามข้อมลู ขา่ วสาร เหตุการณต์ ่าง ๆ ใน ขอ้ มลู ข่าวสาร เหตุการณ์ตา่ ง ๆ เช่น วิทยุ ชีวติ ประจาวนั เลอื กรบั และใช้ขอ้ มลู ขา่ วสารใน โทรทัศน์ หนังสอื พมิ พ์ แหล่งขา่ วตา่ ง ๆ การเรยี นรู้ไดเ้ หมาะสม สถานการณ์จริง ประโยชน์จากการติดตามข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ตา่ ง ๆ หลกั การเลอื กรับและใชข้ ้อมูล ข่าวสารจาก สอื่ ตา่ ง ๆ รวมทัง้ สื่อทไี่ ร้พรมแดน ม.๑ ๑. ปฏิบตั ิตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธขิ อง บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนท่ีมีต่อสังคม บคุ คล และประเทศชาติ โดยเน้นจิตสาธารณะ เช่น เคารพกติกาสังคม ปฏิบัติตนตามกฎหมาย มี ๒. ระบุความสามารถของตนเองในการทา ประโยชนต์ ่อสงั คมและประเทศชาติ ส่วนร่วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม ๓.อภิปรายเกย่ี วกับคุณคา่ ทางวัฒนธรรมทเ่ี ปน็ อ นุ รั ก ษ์ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ รั ก ษ า ปจั จัยในการสร้างความสัมพันธ์ทด่ี ี หรืออาจ สาธารณประโยชน์ นาไปสคู่ วามเขา้ ใจผิดต่อกนั วิธปี ฏบิ ัติตนในการเคารพสทิ ธิเสรีภาพของ ตนเองและผู้อืน่ ๔. แสดงออก ถงึ การเคารพในสทิ ธิ เสรีภาพของ ผลที่ไดจ้ ากการเคารพในสิทธเิ สรีภาพของ ตนเองและผู้อืน่ ตนเองและผ้อู ่ืน กฎหมายในการคมุ้ ครองสิทธขิ องบุคคล เชน่ - กฎหมายคุ้มครองเด็ก - กฎหมายการศึกษา - กฎหมายคุ้มครองผ้บู รโิ ภค - กฎหมายลิขสิทธิ์ ประโยชน์ของการปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย ค้มุ ครองสทิ ธขิ องบุคคล หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๕๑ ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ความคลา้ ยคลงึ และความแตกต่างระหว่าง วฒั นธรรมไทยกบั วฒั นธรรมของประเทศใน ภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ วัฒนธรรมที่เป็นปจั จัยในการสรา้ ง ความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจนาไปสู่ความเข้าใจผิด ตอ่ กนั ม.๒ ๑. อธิบายและปฏิบตั ติ นตามกฎหมายท่ี กฎหมายที่เกย่ี วข้องกับตนเอง ครอบครัว เกีย่ วข้องกับตนเอง ครอบครัวชุมชนและ เชน่ ประเทศ - กฎหมายเกีย่ วกบั ความสามารถของผูเ้ ยาว์ ๒. เห็นคณุ คา่ ในการปฏิบัตติ นตามสถานภาพ บทบาท - กฎหมายบตั รประจาตัวประชาชน สิทธิ เสรภี าพ หน้าทีใ่ นฐานะพลเมอื งดีตามวิถี - กฎหมายแพ่งเก่ยี วกบั ครอบครวั เชน่ การหม้ัน การสมรส การรับรองบตุ ร การรับบุตรบุญธรรม ประชาธปิ ไตย กฎหมายทเี่ กยี่ วกับชุมชนและประเทศ ๓. วิเคราะห์บทบาทความสาคญั และ โดยสงั เขป ความสัมพันธ์ของสถาบนั ทางสังคม - กฎหมายเกยี่ วกบั การอนุรกั ษ์ธรรมชาติ ๔. อธิบายความคล้ายคลึงและความแตกตา่ ง - กฎหมายเกยี่ วกับภาษีอาการ และเน้นการ ของวฒั นธรรมไทยและวฒั นธรรมของ ประเทศ กรอกแบบแสดงรายการภาษเี งนิ ได้บคุ คล ในภมู ภิ าคเอเชีย เพ่ือนาไปสคู่ วามเข้าใจอันดี ธรรมดา ระหวา่ งกนั - กฎหมายแรงงาน - กฎหมายปกครอง สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรภี าพ หนา้ ที่ ในฐานะพลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย แนวทางส่งเสริมให้ปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมืองดี ตามวถิ ีประชาธปิ ไตย บทบาท ความสาคญั และความสมั พันธ์ของ สถาบนั ทางสงั คม เชน่ สถาบันครอบครัว สถาบนั การศึกษา สถาบนั ศาสนา สถาบัน เศรษฐกจิ สถาบันทางการเมืองการปกครอง ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของ วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศใน ภมู ภิ าคเอเชีย วฒั นธรรมท่เี ปน็ ปัจจัยสาคญั ใน การสรา้ งความเขา้ ใจอนั ดรี ะหว่างกัน ม.๓ ๑. อธบิ ายความแตกต่างของการกระทาความผดิ ลักษณะการกระทาความผิดทางอาญาและ ระหวา่ งคดีอาญาและคดีเพง่ โทษ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๕๒ ช้นั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. มสี ่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองผู้อ่นื ตาม ลกั ษณะการกระทาความผิดทางแพ่งและ หลกั สทิ ธมิ นุษยชน ความรับผดิ ทางแพ่ง ๓. อนุรกั ษ์วฒั นธรรมไทยและเลอื กรบั ตวั อย่างการกระทาความผิดทางอาญา เช่น วัฒนธรรมสากลท่เี หมาะสม ๔. วิเคราะห์ปัจจัยทก่ี ่อให้เกิด ปญั หาความ ความผดิ เกยี่ วกับทรัพย์ ขัดแยง้ ในประเทศและเสนอแนวคิดในการลด ตัวอยา่ งการกระทาความผดิ ทางแพ่ง เชน่ ความขดั แยง้ การทาผิดสัญญา การทาละเมิด ความหมายและความสาคัญของสทิ ธิ มนษุ ยชน ๕. เสนอแนวคดิ ในการดารงชีวิตอยา่ งมคี วามสุข การมีส่วนร่วมคุ้มครองสทิ ธิมนุษยชนตาม ในประเทศและสงั คมโลก รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยตามวาระและ โอกาสทีเ่ หมาะสม ความสาคญั ของวฒั นธรรมไทย ภูมิปญั ญา ไทย และวัฒนธรรมสากล การอนรุ ักษ์วัฒนธรรมไทยและภมู ปิ ญั ญา ไทยทเี่ หมาะสม การเลือกรับวัฒนธรรมสากลท่ีเหมาะสม ปัจจัยทก่ี อ่ ใหเ้ กิดความขัดแยง้ เชน่ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม ความ เชือ่ สาเหตุปญั หาทางสงั คม เชน่ ปัญหา สิง่ แวดลอ้ ม ปญั หายาเสพตดิ ปัญหาการทุจรติ ปญั หาอาชญากรรม แนวทางความร่วมมือในการลดความ ขัดแยง้ และการสร้างความสมานฉันท์ ปจั จยั ท่สี ง่ เสริมการดารงชวี ติ ใหม้ ีความสขุ เชน่ การอยู่รว่ มกนั อยา่ งมีขนั ติธรรม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เหน็ คณุ คา่ ใน ตนเอง ร้จู กั มองโลกในแงด่ ี สร้างทกั ษะทาง อารมณ์ รู้จักบริโภคด้วยปญั ญา เลอื กรบั -ปฏิเสธ ข่าวและวัตถุตา่ งๆ ปรบั ปรงุ ตนเองและส่ิงตา่ งๆ ใหด้ ขี ้ึนอยเู่ สมอ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๕๓ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวติ ในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจั จุบัน ยึดม่ัน ศรัทธาและธารงรักษา ไว้ซงึ่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. บอกโครงสร้าง บทบาทและหน้าที่ โครงสรา้ งของครอบครัวและความสมั พนั ธ์ ของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรยี น ของบทบาท หน้าที่ ของสมาชกิ ใน ครอบครัว โครงสรา้ งของโรงเรยี น ความสมั พนั ธข์ อง บทบาท หนา้ ท่ีของสมาชกิ ในโรงเรียน ๒. ระบบุ ทบาท สิทธิ หนา้ ที่ของตนเอง ความหมายและความแตกตา่ งของอานาจ ในครอบครวั และโรงเรยี น ตามบทบาท สทิ ธิ หน้าทใี่ นครอบครัวและ โรงเรยี น การใชอ้ านาจในครอบครัวตามบทบาท สิทธิ หนา้ ท่ี ๓. มสี ว่ นร่วมในการตดั สินใจ และ กิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยใน ทากิจกรรมในครอบครัวและโรงเรียนตาม ครอบครวั เช่น การแบ่งหน้าที่ ความ กระบวนการประชาธิปไตย รบั ผิดชอบในครอบครัว การรับฟงั และแสดง ความคดิ เหน็ กจิ กรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยใน โรงเรียน เชน่ เลอื กหัวหน้าหอ้ ง ประธาน ชุมนมุ ประธานนักเรียน ป.๒ ๑. อธบิ ายความสัมพันธ์ของตนเอง และสมาชกิ ความสมั พนั ธข์ องตนเอง และสมาชิก ใน ในครอบครวั ในฐานะเปน็ ส่วนหนง่ึ ของชุมชน ครอบครัวกับชุมชน เช่น การ ชว่ ยเหลือกจิ กรรมของชุมชน ๒. ระบุผู้มีบทบาท อานาจในการตัดสินใจใน ผมู้ ีบทบาท อานาจในการตดั สนิ ใจ โรงเรียน และชุมชน ในโรงเรียน และชมุ ชน เช่น ผบู้ รหิ าร สถานศึกษา ผนู้ าทอ้ งถ่ิน กานัน ผู้ใหญบ่ า้ น ป.๓ ๑. ระบบุ ทบาทหนา้ ท่ีของสมาชิกของชุมชนใน บทบาทหน้าท่ีของสมาชกิ ในชุมชน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ตาม การมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมต่าง ๆ กระบวนการประชาธิปไตย ตามกระบวนการประชาธิปไตย ๒. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของกระบวนการ การออกเสยี งโดยตรงและการเลือกตวั แทน การตัดสนิ ใจในชัน้ เรยี น/โรงเรียนและชุมชน ออกเสียง โดยวิธีการออกเสียงโดยตรงและการเลือก ตวั แทนออกเสียง หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๕๔ ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. ยกตัวอยา่ งการเปลย่ี นแปลงในช้นั เรียน/ การตัดสนิ ใจของบุคคลและกลุ่มทมี่ ผี ลตอ่ การ โรงเรียนและชมุ ชนท่เี ป็นผลจาก การ เปลี่ยนแปลงในชัน้ เรียน โรงเรียน และชมุ ชน ตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม - การเปล่ียนแปลงในชนั้ เรียน เชน่ การ เลอื กหวั หน้าห้อง การเลือกคณะกรรมการ หอ้ งเรียน - การเปลี่ยนแปลงในโรงเรยี น เช่น เลือก ประธานนกั เรียน เลอื ก คณะกรรมการนกั เรียน การเปลีย่ นแปลงในชมุ ชน เชน่ การเลอื ก ผใู้ หญบ่ า้ น กานนั สมาชิก อบต. อบจ. ป.๔ ๑. อธบิ ายอานาจอธปิ ไตยและความสาคัญของ อานาจอธิปไตย ระบอบประชาธปิ ไตย ความสาคญั ของการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตย ๒. อธิบายบทบาทหนา้ ท่ีของพลเมือง บทบาทหนา้ ที่ของพลเมืองในกระบวนการ ในกระบวนการเลือกตง้ั เลอื กต้งั ท้ังก่อนการเลือกต้ัง ระหวา่ งการ เลือกตัง้ หลังการเลอื กตัง้ ๓. อธิบายความสาคญั ของสถาบัน สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ในสงั คมไทย พระมหากษัตริยต์ ามระบอบประชาธิปไตยอนั มี ความสาคญั ของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ใน พระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข สังคมไทย ป.๕ ๑. อธิบายโครงสรา้ ง อานาจ หนา้ ทีแ่ ละ โครงสรา้ งการปกครองในท้องถ่ิน เชน่ อบต. ความสาคญั ของการปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น อบจ. เทศบาล และการปกครองพิเศษ เชน่ พทั ยา กทม. อานาจหนา้ ท่แี ละความสาคัญของ การปกครองสว่ นท้องถิ่น ๒. ระบบุ ทบาทหน้าที่ และวิธกี ารเข้าดารง บทบาทหน้าที่ และวิธีการเขา้ ดารงตาแหน่ง ตาแหน่งของผบู้ ริหารท้องถ่ิน ของผบู้ ริหารท้องถ่ิน เชน่ นายก อบต. นายกเทศมนตรี นายก อบจ. ผวู้ า่ ราชการ กทม. ๓. วิเคราะห์ประโยชน์ท่ีชุมชน จะได้รบั จาก องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ กับบรกิ าร องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ สาธารณประโยชนใ์ นชุมชน ป.๖ ๑. เปรียบเทยี บบทบาท หน้าท่ขี ององคก์ ร บทบาท หนา้ ท่ี ขององค์กรปกครอง ปกครองส่วนท้องถน่ิ และรฐั บาล สว่ นท้องถิ่นและรัฐบาล ๒. มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ที่สง่ เสรมิ กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสรมิ ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยในท้องถ่ินและประเทศ ในทอ้ งถน่ิ และประเทศ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๕๕ ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. อภิปรายบทบาท ความสาคญั ในการใช้สิทธิ การมสี ่วนในการออกกฎหมาย ระเบยี บ ออกเสยี งเลือกตง้ั ตามระบอบประชาธิปไตย กตกิ า การเลือกต้ัง สอดสอ่ งดูแลผู้มพี ฤติกรรมการกระทาผดิ การ เลือกตัง้ และแจง้ ต่อเจา้ หน้าที่ผู้รับผิดชอบ ตรวจสอบคุณสมบตั ิ การใชส้ ทิ ธอิ อกเสยี งเลือกตัง้ ตามระบอบ ประชาธิปไตย ม.๑ ๑.อธบิ ายหลกั การ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และ หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และ สาระสาคญั ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณา-จักร สาระสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทยฉบับปัจจุบนั ไทยฉบับปัจจุบนั โดยสังเขป การแบง่ อานาจและการถ่วงดลุ อานาจ ๒. วเิ คราะหบ์ ทบาท การถ่วงดลุ อานาจอธปิ ไตยใน อธิปไตยทั้ง 3 ฝา่ ย คือ นิตบิ ัญญญัติ บริหาร ตลุ า รัฐธรรมนูญแหง่ ราช-อาณาจักรไทยฉบับ ปัจจุบัน การ ตามท่รี ะบุในรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักร ๓. ปฏบิ ตั ิตนตามบทบญั ญัติของรัฐธรรมนญู ไทยฉบบั ปจั จบุ นั แหง่ ราชอาณา-จักรไทยฉบับปจั จุบันเก่ียวขอ้ ง การปฏบิ ัติตนตามบทบัญญตั ิของรฐั ธรรมนญู กับตนเอง แห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจบุ นั เกย่ี วกบั สทิ ธิ เสรภี าพ และหนา้ ที่ ม.๒ ๑. อธิบายกระบวนการ ในการตรากฎหมาย กระบวนการในการตรากฎหมาย ๒. วเิ คราะห์ข้อมูลข่าวสารทางการเมืองการ ปกครองท่ีมีผลกระทบต่อสงั คมไทยสมัย - ผมู้ สี ทิ ธิเสนอรา่ งกฎหมาย ปัจจบุ ัน - ขนั้ ตอนการตรากฎหมาย - การมสี ่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการ ตรากฎหมาย เหตุการณแ์ ละการเปล่ียนแปลงสาคญั ของ ระบอบการปกครองของไทย หลักการเลือกขอ้ มูล ข่าวสาร เพื่อนามา วเิ คราะห์ หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๕๖ ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.๓ ๑. อธบิ ายระบอบการปกครอง แบบต่าง ๆ ท่ีใช้ ระบอบการปกครองแบบตา่ งๆ ท่ใี ชใ้ นยุค ในยคุ ปัจจบุ ัน ปัจจุบัน เช่น การปกครองระบอบเผดจ็ การ การ ๒. วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบระบอบการปกครองของ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ไทยกับประเทศอื่นๆ ท่มี ีการปกครองระบอบ ความแตกตา่ ง ความคลา้ ยคลงึ ของการ ประชาธิปไตย ๓. วิเคราะห์รฐั ธรรมนูญฉบับปัจจบุ ันในมาตรา ปกครองของไทยกบั ประเทศอื่นๆ ท่ีมกี าร ตา่ ง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการเลือกตง้ั การมสี ว่ นร่วม ปกครองระบอบประชาธิปไตย บทบัญญตั ิของรฐั ธรรมนูญในมาตราต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกบั การเลอื กต้งั การมสี ่วนรว่ ม และการ และการตรวจสอบการใช้อานาจรฐั ตรวจสอบการใช้อานาจรฐั ๔. วเิ คราะหป์ ระเด็นปญั หาที่เปน็ อปุ สรรคตอ่ การ อานาจหน้าที่ของรัฐบาล พฒั นาประชาธปิ ไตยของประเทศไทยและเสนอแนว บทบาทสาคัญของรัฐบาลในการบรหิ าร ราชการแผน่ ดนิ ทางแก้ไข ความจาเปน็ ในการมีรัฐบาลตามระบอบ ประชาธปิ ไตย ประเด็น ปญั หา และผลกระทบท่เี ป็น อปุ สรรคต่อการพัฒนาประชาธปิ ไตยของประเทศ ไทย แนวทางการแก้ไขปัญหา สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ พอเพียง เพ่อื การดารงชวี ิตอย่างมีดุลยภาพ ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. ระบุสนิ คา้ และบรกิ ารท่ีใช้ประโยชน์ สินค้าและบริการท่ีใช้อยูใ่ นชวี ติ ประจาวนั เชน่ ในชีวติ ประจาวัน ดินสอ กระดาษ ยาสฟี ัน สินค้าและบรกิ ารทีไ่ ด้มาโดยไมใ่ ชเ้ งิน เชน่ มี ผใู้ ห้หรือการใช้ของแลกของ สินค้าและบรกิ ารท่ไี ด้มาจากการใช้เงนิ ซ้ือ ใชป้ ระโยชนจ์ ากสนิ ค้าและบรกิ ารให้ค้มุ ค่า ๒. ยกตัวอยา่ งการใชจ้ ่ายเงนิ ในชวี ิต ประจา การใชจ้ ่ายเงินในชวี ติ ประจาวันเพื่อซ้ือสินคา้ วนั ทีไ่ ม่เกินตวั และเห็นประโยชน์ของการออม และบรกิ าร ประโยชนข์ องการใช้จ่ายเงินที่ไม่เกินตวั ประโยชนข์ องการออม โทษของการใช้จา่ ยเงินเกินตัว หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๕๗ ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง วางแผนการใช้จ่าย ๓. ยกตวั อยา่ งการใช้ทรัพยากรใน ทรัพยากรท่ีใชใ้ นชีวิตประจาวนั เชน่ ดินสอ ชวี ิตประจาวันอย่างประหยัด กระดาษ เสอื้ ผ้า อาหาร ทรัพยากรส่วนรวม เชน่ โต๊ะ เกา้ อี้ นกั เรียน สาธารณปู โภคต่าง ๆ วิธกี ารใชท้ รัพยากรทงั้ ของส่วนตัว และส่วนรวมอยา่ งถูกต้อง และประหยัดและ ค้มุ ค่า ป.๒ ๑. ระบทุ รพั ยากรทน่ี ามาผลิตสินค้า ทรัพยากรทน่ี ามาใชใ้ นการผลติ สนิ ค้าและ และบรกิ ารที่ใชใ้ นชีวิตประจาวัน บรกิ ารท่ใี ชใ้ นครอบครัวและโรงเรียน เช่น ดนิ สอและกระดาษทีผ่ ลติ จากไม้ รวมท้งั เคร่ืองจักรและแรงงานการผลติ ผลของการใชท้ รัพยากรในการผลติ ที่ หลากหลายท่ีมตี ่อราคา คุณค่าและประโยชน์ ของสนิ ค้าและบริการ รวมท้งั สิ่งแวดลอ้ ม ๒. บอกทมี่ าของรายได้และรายจ่าย การประกอบอาชพี ของครอบครวั ของตนเองและครอบครวั การแสวงหารายไดท้ ่สี จุ ริตและเหมาะสม รายไดแ้ ละรายจ่ายในภาพรวมของครอบครวั รายไดแ้ ละรายจ่ายของตนเอง ๓. บันทึกรายรับรายจ่ายของตนเอง วธิ กี ารทาบญั ชรี ายรับรายจา่ ยของตนเองอยา่ ง งา่ ย ๆ รายการของรายรบั ท่ีเปน็ รายได้ที่เหมาะสม และไมเ่ หมาะสม รายการของรายจา่ ยทเี่ หมาะสมและ ไม่เหมาะสม ๔. สรุปผลดีของการใชจ้ า่ ยท่เี หมาะสม ทมี่ าของรายได้ท่สี จุ รติ กบั รายได้และการออม การใช้จ่ายท่เี หมาะสม ผลดขี องการใช้จา่ ยที่เหมาะสมกบั รายได้ การออมและผลดีของการออม การนาเงินท่ีเหลอื มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ เชน่ การชว่ ยเหลอื สาธารณกุศล ป.๓ ๑. จาแนกความต้องการและความจาเปน็ ใน สินค้าที่จาเป็นในการดารงชีวิตท่ี เรยี กว่า การใช้สินค้าและบรกิ าร ในการ ปจั จัย ๔ ดารงชวี ิต หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๕๘ ชั้น ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สนิ คา้ ทเ่ี ป็นความต้องการของมนุษย์ อาจเป็นสนิ คา้ ทจี่ าเปน็ หรือไม่จาเป็น ตอ่ การดารงชีวติ ประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบรกิ าร ท่ี สนองความต้องการของมนุษย์ หลักการเลอื กสนิ คา้ ทีจ่ าเป็น ความหมายของผ้ผู ลิตและผ้บู ริโภค ๒. วเิ คราะห์การใช้จา่ ยของตนเอง ใช้บญั ชีรบั จา่ ยวิเคราะหก์ ารใชจ้ ่าย ท่ีจาเป็นและเหมาะสม วางแผนการใชจ้ ่ายเงนิ ของตนเอง วางแผนการแสวงหารายไดท้ สี่ ุจรติ และเหมาะสม วางแผนการนาเงนิ ท่ีเหลือจ่ายมาใช้ อยา่ งเหมาะสม ๓.อธบิ ายไดว้ ่าทรัพยากรท่ีมอี ยู่จากัดมีผลตอ่ ความหมายของผผู้ ลติ และผบู้ รโิ ภค การผลิตและบริโภคสนิ ค้าและบรกิ าร ความหมายของสินค้าและบริการ ปญั หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ ท่ีเกดิ จาก ความหายากของทรัพยากรกับความต้องการของ มนุษย์ทม่ี ไี ม่จากัด ป.๔ ๑. ระบปุ ัจจยั ทม่ี ผี ลต่อการเลือกซื้อสนิ ค้าและ สินค้าและบริการที่มีอย่หู ลากหลาย บริการ ในตลาดทมี่ ีความแตกตา่ งด้านราคา และคุณภาพ ปัจจัยท่มี ีผลต่อการเลือกซ้ือสนิ คา้ และบริการ ทีม่ ีมากมาย ซึง่ ขึน้ อยู่กับผซู้ ือ้ ผ้ขู าย และ ตัว สินค้า เช่น ความพงึ พอใจของผซู้ อ้ื ราคา สินคา้ การโฆษณา คุณภาพของสนิ คา้ ๒. บอกสทิ ธพิ ื้นฐานและรักษาผลประโยชน์ สิทธพิ ้ืนฐานของผู้บริโภค ของตนเองในฐานะผู้บรโิ ภค สินค้าและบรกิ ารท่ีมเี คร่ืองหมายรับรอง คุณภาพ หลักการและวธิ กี ารเลือกบรโิ ภค ๓. อธบิ ายหลักการของเศรษฐกิจพอเพยี งและ หลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี ง นาไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเอง การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพยี ง ในการดารงชีวติ เชน่ การแตง่ กาย การกินอาหาร การใชจ้ ่าย หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๕๙ ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๕ ๑. อธิบายปัจจยั การผลิตสินค้าและบริการ ความหมายและประเภทของปัจจัยการผลิต ประกอบด้วย ที่ดิน แรงงาน ทุนและ ผปู้ ระกอบการ เทคโนโลยีในการผลติ สนิ คา้ และบริการ ปจั จยั อน่ื ๆ เชน่ ราคานา้ มัน วัตถดุ ิบ พฤติกรรมของผู้บรโิ ภค ตัวอยา่ งการผลิตสนิ คา้ และบรกิ ารท่ีมีอยู่ใน ทอ้ งถิ่นหรือแหล่งผลิตสินค้าและบรกิ ารใน ชุมชน ๒. ประยกุ ตใ์ ช้แนวคิดของปรัชญาของ หลกั การปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี งในการทากิจกรรม ต่าง ๆ การประยุกต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในครอบครัว โรงเรยี นและชุมชน ในกิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรยี นและ ชุมชน เชน่ การประหยัดพลงั งานและค่าใชจ้ ่าย ในบา้ น โรงเรียน การวางแผนการผลิตสินคา้ และบริการ เพอ่ื ลดความสูญเสยี ทุกประเภท การใช้ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ตัวอย่างการผลิตสนิ ค้าและบริการในชมุ ชน ๓. อธิบายหลักการสาคัญและประโยชน์ของ หลักการและประโยชน์ของสหกรณ์ สหกรณ์ ประเภทของสหกรณโ์ ดยสงั เขป สหกรณใ์ นโรงเรียน (เนน้ ฝึกปฏิบตั จิ ริง) การประยกุ ต์หลักการของสหกรณม์ าใช้ ในชีวิตประจาวัน ป.๖ ๑. อธิบายบทบาทของผูผ้ ลติ ท่มี ี บทบาทของผผู้ ลติ ทมี่ คี ณุ ภาพ เชน่ ความรับผิดชอบ คานึงถงึ ส่ิงแวดล้อม มีจรรยาบรรณ ความรบั ผิดชอบต่อสังคม วางแผนกอ่ นเริ่มลง มือทากิจกรรมตา่ ง ๆ เพ่ือลด ความ ผดิ พลาดและการสูญเสยี ฯลฯ ทศั นคตใิ นการใชท้ รัพยากรอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล ประโยชนข์ องการผลติ สนิ คา้ ทีม่ ีคุณภาพ ๒. อธบิ ายบทบาทของผู้บรโิ ภค คุณสมบตั ิของผบู้ รโิ ภคทด่ี ี ท่ีร้เู ท่าทนั พฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคทีบ่ กพร่อง คณุ ค่าและประโยชน์ของผบู้ ริโภคท่ีรู้เท่าทันท่ี มตี ่อตนเอง ครอบครวั และสงั คม หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๖๐ ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๓. บอกวธิ แี ละประโยชนข์ องการใช้ทรัพยากร ความหมาย และความจาเป็น อยา่ งยัง่ ยืน ของทรัพยากร หลกั การและวิธีใช้ทรัพยากรให้เกดิ ประโยชน์ สงู สดุ (ลดการสูญเสยี ทุกประเภท) วิธีการสร้างจิตสานึกใหค้ นในชาติรูค้ ุณค่าของ ทรพั ยากรทมี่ ีอย่จู ากัด วางแผนการใชท้ รัพยากร โดยประยุกต์เทคนิค และวิธกี ารใหม่ ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่สงั คมและ ประเทศชาติ และทันกับสภาพทางเศรษฐกจิ และ สังคม ม.๑ ๑. อธิบายความหมายและความสาคญั ของ ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เบ้อื งตน้ ๒. วเิ คราะหค์ า่ นิยมและพฤติกรรมการบริโภค ความหมายของคาวา่ ทรัพยากรมจี ากัดความ ของคนในสังคมซ่งึ สง่ ผลต่อเศรษฐกิจของชุมชน ตอ้ งการมีไมจ่ ากัด ความขาดแคลน การเลือกและ และประเทศ คา่ เสียโอกาส ๓. อธิบายความเป็นมา หลกั การและ ความหมายและความสาคัญของการบริโภค ความสาคญั ของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ตอ่ สงั คมไทย หลกั ในการบริโภคที่ดี ปัจจยั ทมี่ ีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรมการบรโิ ภค คา่ นยิ มและพฤติกรรมการบรโิ ภคของคนใน สังคมปจั จบุ นั รวมทั้งผลดีและผลเสยี ของ พฤติกรรมดงั กลา่ ว ความหมายและความเป็นมาของปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง ความเปน็ มาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และ หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระ ปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชรวมทง้ั โครงการ ตามพระราชดาริ หลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง การประยกุ ตใ์ ชป้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในการดารงชีวิต ความสาคัญ คณุ ค่า และประโยชน์ของปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงต่อสงั คมไทย หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๖๑ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.๒ ๑. วเิ คราะห์ปัจจัยที่มผี ลต่อการลงทนุ และการ ความหมายและความสาคัญของการลงทนุ ออม และการออมตอ่ ระบบเศรษฐกิจ ๒. อธิบายปจั จัยการผลิตสินคา้ และบริการ การบรหิ ารจดั การเงนิ ออมและการลงทุนภาค และปจั จัยที่มี อทิ ธิพลต่อการผลิตสินคา้ และ ครัวเรือน บรกิ าร ปัจจัยของการลงทนุ และการออม คือ อัตรา ดอกเบี้ย รวมท้ังปัจจยั อืน่ ๆ เช่น คา่ ของเงิน ๓. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในท้องถ่ิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกย่ี วกับอนาคต ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปัญหาของการลงทุนและการออมในสงั คมไทย ๔. อภปิ รายแนวทางการคุม้ ครองสิทธิ ของ ความหมาย ความสาคัญ และหลกั การผลติ ตนเองในฐานะผ้บู รโิ ภค สนิ ค้าและบรกิ ารอย่างมปี ระสิทธิภาพ สารวจการผลติ สนิ ค้าในท้องถ่นิ ว่า มีการผลิต อะไรบ้าง ใช้วธิ ีการผลิตอย่างไร มปี ัญหาด้าน ใดบา้ ง มกี ารนาเทคโนโลยีอะไรมาใชท้ ม่ี ีผลต่อการ ผลติ สนิ ค้าและบรกิ าร นาหลักการผลติ มาวเิ คราะห์การผลติ สนิ ค้า และบริการในทอ้ งถิ่นท้ังดา้ นเศรษฐกิจ สงั คมและ ส่งิ แวดล้อม หลกั การและเปา้ หมายปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง สารวจและวเิ คราะห์ปัญหาการผลิตสินคา้ และ บริการในท้องถิน่ ประยุกต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน การผลิตสนิ คา้ และบริการในท้องถ่ิน การรักษาและคมุ้ ครองสทิ ธปิ ระโยชน์ของ ผูบ้ ริโภค กฎหมายคุ้มครองสิทธิผบู้ รโิ ภคและหนว่ ยงาน ทเี่ ก่ยี วข้อง การดาเนินกจิ กรรมพิทักษ์สทิ ธิและ ผลประโยชน์ตามกฎหมายในฐานะผ้บู ริโภค แนวทางการปกป้องสิทธขิ องผ้บู ริโภค ม.๓ ๑. อธบิ ายกลไกราคาในระบบเศรษฐกจิ ความหมายและประเภทของตลาด ความหมายและตวั อยา่ งของอุปสงคแ์ ละ อุปทาน หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๖๒ ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๒. มสี ่วนร่วมในการแก้ไขปญั หาและพฒั นา ความหมายและความสาคัญของกลไกราคา ท้องถนิ่ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ ๓. วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งแนวคดิ หลกั การปรับและเปลย่ี นแปลงราคาสนิ คา้ และ เศรษฐกจิ พอเพียงกับระบบสหกรณ์ บริการ สารวจสภาพปจั จุบนั ปญั หาท้องถิน่ ทั้งทางดา้ น สังคม เศรษฐกิจ และสง่ิ แวดล้อม วิเคราะหป์ ญั หาของทอ้ งถิ่นโดยใช้ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการแก้ไขและพัฒนาทอ้ งถ่ินตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี งกบั การพฒั นา ในระดับตา่ งๆ หลกั การสาคัญของระบบสหกรณ์ ความสมั พันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียงกับหลักการและระบบของสหกรณ์เพ่ือ ประยกุ ต์ใช้ในการพฒั นาเศรษฐกิจชุมชน สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและ ความ จาเปน็ ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก ชนั้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. อธบิ ายเหตผุ ลความจาเป็นทค่ี น ความหมาย ประเภทและความสาคญั ต้องทางานอยา่ งสจุ ริต ของการทางาน ป.๒ ๑. อธบิ ายการแลกเปล่ยี นสินค้า เหตผุ ลของการทางาน บรกิ ารโดยวธิ ตี า่ ง ๆ ผลของการทางานประเภทต่าง ๆ ทีม่ ีต่อ ครอบครวั และสังคม การทางานอย่างสจุ ริตทาใหส้ งั คมสงบสุข และ ความหมายและความสาคัญ ของการแลกเปล่ยี นสนิ ค้าและบรกิ าร ลักษณะของการแลกเปลี่ยนสนิ ค้าและบริการ โดยไม่ใชเ้ งนิ รวมทงั้ การแบง่ ปนั การ ช่วยเหลอื หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๖๓ ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ลกั ษณะการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการโดย การใช้เงิน ๒. บอกความสัมพนั ธร์ ะหว่างผู้ซ้ือ ความหมายและบทบาทของผซู้ อ้ื และผู้ขาย และผู้ขาย ผูผ้ ลิตและผ้บู รโิ ภคพอสงั เขป ความสมั พนั ธร์ ะหว่างผู้ซ้ือและผู้ขาย ในการกาหนดราคาสินคา้ และบริการ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผู้ซื้อและผูข้ าย ทาให้ สังคมสงบสุข และประเทศม่ันคง ป.๓ ๑. บอกสนิ ค้าและบริการทร่ี ัฐจดั หา สินค้าและบริการท่ภี าครัฐทกุ ระดับจัดหาและ และใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน ให้บริการแก่ประชาชน เชน่ ถนน โรงเรียน สวนสาธารณะ การสาธารณสุข การบรรเทาสา ธารณภัย ๒. บอกความสาคัญของภาษีและบทบาทของ ความหมายและความสาคัญของภาษีทร่ี ฐั ประชาชนในการเสียภาษี นามาสรา้ งความเจรญิ และให้บรกิ ารแก่ ประชาชน ตัวอย่างของภาษี เช่นภาษีรายไดบ้ ุคคล ธรรมดา ภาษมี ลู ค่าเพม่ิ ฯลฯ บทบาทหนา้ ทีข่ องประชาชนในการเสยี ภาษี ๓. อธิบายเหตผุ ลการแข่งขันทางการคา้ ที่ ความสาคัญและผลกระทบของการแข่งขันทาง มผี ลทาให้ราคาสินค้าลดลง การคา้ ที่มีผลทาให้ราคาสินค้าลดลง ป.๔ ๑. อธิบายความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจ ของ อาชพี สินคา้ และบริการตา่ ง ๆ ท่ผี ลติ ใน คนในชุมชน ชมุ ชน การพง่ึ พาอาศัยกันภายในชมุ ชนทาง ด้าน เศรษฐกจิ เชน่ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างผซู้ ื้อ ผขู้ าย การกหู้ นย้ี ืมสิน การสร้างความเข้มแขง็ ให้ชมุ ชน ดว้ ยการใชส้ ง่ิ ของท่ีผลติ ในชุมชน ๒. อธบิ ายหน้าที่เบือ้ งตน้ ของเงิน ความหมายและประเภทของเงนิ หนา้ ท่ีเบื้องต้นของเงินในระบบเศรษฐกิจ สกุลเงินสาคญั ท่ีใช้ในการซ้อื ขายแลกเปลยี่ น ระหวา่ งประเทศ ป.๕ ๑. อธบิ ายบทบาทหน้าท่เี บ้ืองตน้ บทบาทหน้าที่ของธนาคารโดยสังเขป ของธนาคาร ดอกเบีย้ เงินฝาก และดอกเบ้ยี กูย้ มื การฝากเงนิ / การถอนเงิน หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๖๔ ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๒. จาแนกผลดีและผลเสียของการกู้ยืม ผลดแี ละผลเสียของการกู้ยืมเงินทง้ั นอกระบบ และในระบบทมี่ ตี ่อระบบเศรษฐกิจ เช่น การ เสยี ดอกเบีย้ การลงทุน การซือ้ ของอปุ โภค เพิ่มขึ้นท่นี าไปสู่ความฟุ้งเฟ้อ ฟ่มุ เฟอื ย เปน็ ตน้ ป.๖ ๑. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างผ้ผู ลิต ความสมั พันธร์ ะหว่างผูผ้ ลิต ผบู้ รโิ ภค ธนาคาร ผู้บรโิ ภค ธนาคาร และรฐั บาล และรฐั บาล ทม่ี ีต่อระบบเศรษฐกจิ อยา่ งสังเขป เชน่ การแลก เปลยี่ นสนิ คา้ และ บรกิ าร รายไดแ้ ละรายจา่ ย การออมกับ ธนาคาร การลงทุน แผนผังแสดงความสมั พนั ธ์ของ หนว่ ย เศรษฐกจิ ภาษแี ละหน่วยงานที่จัดเก็บภาษี สิทธิของผ้บู รโิ ภค และสทิ ธขิ องผ้ใู ชแ้ รงงานใน ประเทศไทย การหารายได้ รายจา่ ย การออม การลงทุน ซงึ่ แสดง ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ผ้ผู ลติ ผบู้ รโิ ภค และรฐั บาล ๒. ยกตวั อยา่ งการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ การรวมกลุม่ เชิงเศรษฐกจิ เพอ่ื ประสาน ภายในท้องถ่นิ ประโยชนใ์ นท้องถิ่น เช่น กลมุ่ ออมทรัพย์ กล่มุ แมบ่ า้ น กองทุนหมบู่ ้าน ม.๑ ๑. วเิ คราะหบ์ ทบาทหนา้ ที่และความแตกตา่ ง ความหมาย ประเภท และความสาคัญของ ของสถาบนั การเงินแตล่ ะประเภทและธนาคาร สถาบนั การเงนิ ท่มี ีต่อระบบเศรษฐกิจ กลาง บทบาท หน้าที่ และความสาคัญของธนาคาร ๒. ยกตวั อยา่ งทส่ี ะท้อนใหเ้ ห็นการพง่ึ พาอาศยั กลาง การหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทุน ซงึ่ กนั และการแข่งขนั กนั ทางเศรษฐกจิ ใน แสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บรโิ ภค และ ประเทศ สถาบนั การเงิน ๓. ระบุปจั จัยท่มี อี ทิ ธิพลต่อการกาหนดอปุ ยกตัวอยา่ งทสี่ ะท้อนใหเ้ ห็นการพงึ่ พาอาศยั กนั สงคแ์ ละอปุ ทาน และกนั และการแขง่ ขันกันทางเศรษฐกิจใน ๔. อภิปรายผลของการมีกฎหมายเกี่ยวกับ ประเทศ ทรพั ย์สินทางปัญญา ปญั หาเศรษฐกจิ ในชุมชน ประเทศ และ เสนอแนะแนวทางแก้ไข ความหมายและกฎอุปสงค์ อุปทาน หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๖๕ ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ปจั จัยทมี่ ีอิทธิพลต่อการกาหนดอปุ สงค์และ อุปทาน ความหมายและความสาคัญของทรพั ยส์ ินทาง ปญั ญา กฎหมายทีเ่ กย่ี วกบั การคุ้มครองทรัพยส์ นิ ทาง ปัญญาพอสงั เขป ตวั อย่างการละเมิดแหง่ ทรัพยส์ นิ ทางปัญญา แต่ละประเภท ม.๒ ๑. อภิปรายระบบเศรษฐกจิ แบบต่างๆ ระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ ๒. ยกตวั อยา่ งทีส่ ะท้อนให้เห็นการพึง่ พาอาศยั หลักการและผลกระทบการพงึ่ พาอาศยั กัน และการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคเอเชยี กนั และการแขง่ ขันกนั ทางเศรษฐกจิ ใน การกระจายของทรพั ยากรในโลกที่สง่ ผลตอ่ ภูมิภาคเอเชยี ๓. วเิ คราะห์การกระจายของทรพั ยากรในโลก ความสมั พันธ์ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ เช่น ที่ส่งผลต่อความ สัมพันธท์ างเศรษฐกิจระหวา่ ง ประเทศ น้ามนั ปา่ ไม้ ทองคา ถ่านหนิ แร่ เปน็ ต้น การแขง่ ขนั ทางการคา้ ในประเทศและ .๔. วเิ คราะห์การแข่งขันทางการค้าใน ต่างประเทศ ประเทศและต่างประเทศท่ีสง่ ผลต่อคณุ ภาพ สินค้าปรมิ าณการผลิตและราคาสนิ ค้า หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๖๖ ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.๓ ๑. อธบิ ายบทบาทหนา้ ที่ของรัฐบาลในระบบ บทบาทหนา้ ที่ของรัฐบาลในการพฒั นาประเทศ เศรษฐกจิ ในดา้ นต่างๆ ๒. แสดงความคิดเหน็ ต่อนโยบายและกจิ กรรม บทบาทและกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล เชน่ การผลิตสินค้าและบริการสาธารณะท่ีเอกชน ทางเศรษฐกิจของรฐั บาลที่มตี ่อบุคคล กลุ่มคน ไม่ดาเนนิ การ เชน่ ไฟฟ้า ถนน โรงเรียน และประเทศชาติ - บทบาทการเก็บภาษีเพื่อพัฒนาประเทศ ๓.อภิปรายบทบาทความสาคัญของการ ของรัฐในระดบั ตา่ งๆ รวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ - บทบาทการแทรกแซงราคาและการ ๔. อภิปรายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงนิ เฟอ้ ควบคมุ ราคา เพ่ือการแจกจ่ายและการจัดสรร ในทางเศรษฐกิจ เงนิ ฝดื บทบาทอนื่ ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจใน ๕.วิเคราะหผ์ ลเสียจากการวา่ งงานและ สังคมไทย แนวทางแกป้ ัญหา นโยบายและกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของรฐั บาล ๖. วเิ คราะหส์ าเหตแุ ละวธิ กี ารกีดกันทาง ผลกระทบทเี่ กดิ จากภาวะเงนิ เฟ้อ เงนิ ฝืด การคา้ ในการค้าระหวา่ งประเทศ ความหมาย สาเหตุ และแนวทางแก้ไขภาวะเงนิ เฟอ้ เงินฝืด สภาพและสาเหตุปญั หาการวา่ งงาน ผลกระทบจากปัญหาการว่างงาน แนวทางการแก้ไขปัญหาการว่างงาน การคา้ และการลงทุนระหว่างประเทสาเหตุและ วธิ ีการกีดกันทางการคา้ ในการค้าระหว่างประเทศ บทบาทความสาคัญของการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ลักษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ กลมุ่ ทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๖๗ สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใช้ วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ชัน้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑.บอกวัน เดอื น ปี และการนับช่วงเวลาตาม ชื่อ วนั เดือน ปี ตามระบบสรุ ยิ คติ ปฏิทนิ ท่ใี ชใ้ นชีวิตประจาวนั ท่ีปรากฏในปฏิทนิ ชอื่ วนั เดอื น ปี ตามระบบจันทรคติ ในปฏิทนิ ช่วงเวลาทใ่ี ช้ในชวี ติ ประจาวัน เชน่ เชา้ วันน้ี ตอนเยน็ ๒. เรยี งลาดบั เหตกุ ารณใ์ นชีวติ ประจาวนั เหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขึ้นในชีวิตประจาวันของ ตามวนั เวลาท่เี กดิ ข้นึ นกั เรียน เชน่ รบั ประทานอาหาร ตื่นนอน เข้านอน เรยี นหนงั สือ เลน่ กีฬา ฯลฯ ใช้คาบอกช่วงเวลา แสดงลาดบั เหตุการณ์ ท่ี เกิดข้นึ ได้ ๓. บอกประวตั ิความเปน็ มาของตนเองและ วิธกี ารสบื ค้นประวัติความเปน็ มา ครอบครัวโดยสอบถามผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง ของตนเองและครอบครัวอย่างงา่ ย ๆ การบอกเล่าประวัติความเป็นมา ของตนเองและครอบครวั อย่างส้นั ๆ ป.๒ ๑. ใชค้ าระบเุ วลาท่ีแสดงเหตุการณใ์ นอดตี คาท่แี สดงชว่ งเวลาในอดตี ปัจจุบัน ปัจจบุ นั และอนาคต และอนาคต เชน่ วันนี้ เมอื่ วานนี้ พรุ่งน้ี เดือนน้ี เดือนหน้า เดอื นกอ่ น วันสาคญั ท่ปี รากฏในปฏิทนิ ที่แสดงเหตกุ ารณ์ สาคญั ในอดีตและปจั จุบนั ใช้คาบอกช่วงเวลา อดตี ปจั จบุ นั อนาคต แสดงเหตุการณ์ได้ ๒. ลาดับเหตกุ ารณท์ เี่ กิดขนึ้ ในครอบครัวหรอื วธิ กี ารสืบคน้ เหตกุ ารณ์ท่ผี ่านมาแลว้ ท่ี ในชวี ิตของตนเองโดยใชห้ ลกั ฐาน เกิดขน้ึ กบั ตนเองและครอบครัว โดยใช้ ทีเ่ กีย่ วข้อง หลักฐานทเี่ ก่ยี วข้อง เช่น ภาพถา่ ย สตู ิบตั ร ทะเบยี นบา้ น ใช้คาท่บี อกช่วงเวลาแสดงเหตุการณ์ ท่เี กดิ ขึ้นในครอบครวั หรอื ในชีวติ ตนเอง ใช้เส้นเวลา (Time Line) ลาดับเหตกุ ารณ์ ที่ เกิดข้ึนได้ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๖๘ ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๓ ๑. เทยี บศกั ราชท่ีสาคัญตามปฏทิ ินทใี่ ช้ ท่ีมาของศักราชทป่ี รากฏในปฏทิ ิน เช่น ในชีวิตประจาวนั พทุ ธศักราช ครสิ ต์ศักราชอยา่ งสงั เขป (ถา้ เป็นมุสลิมควรเรยี นฮิจเราะหศ์ ักราช ) วิธกี ารเทยี บ พ.ศ. เป็น ค.ศ. หรอื ค.ศ. เป็น พ.ศ. ตัวอยา่ งการเทียบศักราช ในเหตุการณ์ ท่ี เกย่ี วขอ้ งกับนกั เรียน เชน่ ปีเกิดของนกั เรียน เปน็ ตน้ ๒. แสดงลาดบั เหตกุ ารณส์ าคัญของโรงเรยี น วธิ ีการสบื ค้นเหตุการณ์สาคัญของโรงเรยี น และชุมชนโดยระบุหลกั ฐาน และ และชมุ ชนโดยใชห้ ลักฐาน และ แหล่งขอ้ มลู ที่เก่ยี วข้อง แหลง่ ขอ้ มลู ทีเ่ กยี่ วข้อง ใชเ้ ส้นเวลา (Time Line) ลาดับเหตุการณ์ ท่ี เกดิ ขึ้นในโรงเรยี นและชมุ ชน ป.๔ ๑. นับชว่ ง เวลา เปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ และ ความหมายและช่วงเวลาของทศวรรษ สหัสวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ การใช้ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษเพื่อ ทาความเข้าใจชว่ งเวลาในเอกสารเช่น หนังสอื พมิ พ์ ๒. อธบิ ายยุคสมัยในการศึกษาประวตั ิ ของ เกณฑ์การแบง่ ยุคสมยั ในการศกึ ษา มนุษยชาติโดยสังเขป ประวตั ศิ าสตรท์ แี่ บง่ เป็นยคุ ก่อน ประวัติศาสตรแ์ ละยคุ ประวตั ศิ าสตร์ ยคุ สมัยทีใ่ ชใ้ นการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ไทย เช่นสมยั กอ่ นสุโขทัย สมยั สุโขทยั สมยั อยุธยา สมัยธนบรุ ี และสมัยรัตนโกสนิ ทร์ ๓. แยกแยะประเภทหลกั ฐานทีใ่ ช้ ใน ประเภทของหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ท่ี การศกึ ษาความเปน็ มาของทอ้ งถ่ิน แบง่ เป็นหลกั ฐานช้นั ต้น และหลักฐานช้นั รอง ตวั อย่างหลกั ฐานท่ใี ช้ในการศึกษา ความเปน็ มาของท้องถ่นิ ของตน การจาแนกหลักฐานของท้องถ่นิ เปน็ หลกั ฐาน ชนั้ ต้นและหลักฐานช้ันรอง ป.๕ ๑. สืบคน้ ความเปน็ มาของท้องถ่ิน โดย วิธกี ารสบื ค้นความเป็นมาของท้องถิ่น ใช้หลกั ฐานท่หี ลากหลาย หลกั ฐานทางประวัติศาสตรท์ ่ีมีอย่ใู นทอ้ งถ่นิ ที่ เกดิ ขน้ึ ตามช่วงเวลาตา่ ง ๆ เชน่ เครื่องมือ เครอื่ งใช้ อาวุธ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๖๙ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๒. รวบรวมข้อมลู จากแหล่งต่าง ๆ การนาเสนอความเป็นมาของทอ้ งถิน่ โดย เพ่อื ตอบคาถามทางประวัตศิ าสตร์ อย่างมเี หตุผล อ้างอิงหลักฐานที่หลากหลายด้วยวิธกี ารตา่ ง ๓. อธบิ ายความแตกต่างระหว่าง ๆ เชน่ การเลา่ เร่ืองการเขยี นอยา่ งง่าย ๆ การ ความจริงกับขอ้ เทจ็ จริงเกยี่ วกับเรื่องราว ในทอ้ งถ่นิ จัดนิทรรศการ ป.๖ ๑. อธบิ ายความสาคญั ของวิธีการทาง การตัง้ คาถามทางประวตั ิศาสตร์เก่ยี วกับ ประวัติศาสตรใ์ นการศึกษาเรื่องราวทาง ประวตั ศิ าสตรอ์ ย่างงา่ ย ๆ ความเป็นมาของท้องถ่ิน เชน่ มี ๒. นาเสนอข้อมูลจากหลักฐานทหี่ ลากหลาย เหตุการณใ์ ดเกดิ ขนึ้ ในชว่ งเวลาใด เพราะ ในการทาความเขา้ ใจเร่ืองราวสาคญั ในอดีต สาเหตุใดและมีผลกระทบอย่างไร แหลง่ ข้อมลู และหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ ในท้องถิ่นเพ่ือตอบคาถามดังกล่าว เชน่ เอกสาร เร่ืองเลา่ ตานานท้องถิ่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ ฯลฯ การใชข้ อ้ มูลที่พบเพ่ือตอบคาถามไดอ้ ยา่ งมี เหตผุ ล ตัวอย่างเรอ่ื งราวจากเอกสารต่าง ๆ ทีส่ ามารถแสดงนัยของความคิดเห็นกบั ข้อมูล เช่น หนังสอื พมิ พ์ บทความจากเอกสารตา่ ง ๆ เป็นตน้ ตัวอยา่ งข้อมลู จากหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ในทอ้ งถิ่นทแี่ สดงความจรงิ กับขอ้ เทจ็ จรงิ สรปุ ประเดน็ สาคัญเก่ยี วกบั ข้อมลู ในท้องถ่นิ ความหมายและความสาคญั ของวธิ ีการทาง ประวตั ิศาสตร์อย่างง่าย ๆ ท่ี เหมาะสมกบั นักเรียน การนาวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ไปใชศ้ ึกษา เรอื่ งราวในท้องถิ่น เชน่ ความเป็นมาของภูมิ นามของสถานท่ีในท้องถนิ่ ตัวอยา่ งหลกั ฐานท่ีเหมาะสมกับนักเรยี นท่ี นามาใชใ้ นการศกึ ษาเหตกุ ารณส์ าคญั ใน ประวตั ิศาสตรไ์ ทย สมัยรัตนโกสินทร์ เช่น พระราชหัตถเลขาของรัชกาลท่ี ๔ หรือ รัชกาลท่ี ๕ กฎหมายสาคญั ฯลฯ (เชอ่ื มโยงกบั มฐ. ส ๔.๓) สรปุ ขอ้ มูลที่ได้จากหลกั ฐานทั้งความจริงและ ขอ้ เทจ็ จริง หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๗๐ ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง การนาเสนอข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากหลักฐาน ทาง ประวตั ิศาสตรด์ ้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ การเลา่ เร่ือง การจัดนทิ รรศการ การเขียน รายงาน ม.๑ ๑. วเิ คราะหค์ วามสาคัญของเวลาในการศึกษา ความสาคัญของเวลาและชว่ งเวลาสาหรบั ประวตั ิศาสตร์ การศึกษาประวตั ิศาสตร์ ๒. เทยี บศกั ราชตามระบบตา่ งๆทใี่ ชศ้ ึกษา ความสมั พันธแ์ ละความสาคญั ของอดีตที่มีต่อ ประวตั ิศาสตร์ ปัจจบุ นั และอนาคต ๓. นาวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์มาใชศ้ ึกษา ตวั อยา่ งการใช้เวลา ช่วงเวลา และยุคสมยั ท่ี เหตกุ ารณท์ างประวัติศาสตร์ ปรากฏในเอกสารประวัตศิ าสตรไ์ ทย ท่มี าของศักราชที่ปรากฏในเอกสาร ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ได้แก่ จ.ศ./ม.ศ./ร.ศ./พ.ศ./ ค.ศ. และ ฮ.ศ. วธิ กี ารเทียบศกั ราชตา่ งๆ และตวั อยา่ งการ เทยี บ ตวั อยา่ งการใชศ้ กั ราชตา่ งๆ ท่ีปรากฏใน เอกสารประวัติศาสตรไ์ ทย ความหมายและความสาคัญของประวตั ิศาสตร์ และวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ที่มคี วามสัมพนั ธ์ เช่ือมโยงกนั ตัวอยา่ งหลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ ไทยสมยั สุโขทยั ท้ังหลกั ฐานชัน้ ต้น และ หลักฐาน ชนั้ รอง (เชือ่ มโยง มฐ. ส 4.3) เช่น ข้อความในศลิ าจารึกสมัยสโุ ขทยั นาวิธีการทางประวัติศาสตรไ์ ปใช้ศึกษา เรอื่ งราวของประวัติศาสตร์ไทยทมี่ ีอยู่ใน ทอ้ งถ่นิ ตนเอง ในสมัยใดก็ได้ (สมยั กอ่ น ประวัตศิ าสตร์ สมัยก่อนสโุ ขทัย สมยั สโุ ขทยั สมยั อยธุ ยา สมยั ธนบรุ ี สมัยรตั นโกสินทร)์ และเหตุการณส์ าคญั ในสมยั สุโขทัย ม.๒ ๑. ประเมินความนา่ เชื่อถือของหลกั ฐานทาง วิธีการประเมินความน่าเชือ่ ถือของหลักฐาน ประวัตศิ าสตร์ในลักษณะต่างๆ ทางประวัติศาสตร์ในลกั ษณะต่างๆ อย่างง่ายๆ ๒. วิเคราะห์ความแตกต่างระหวา่ งความจริง เช่น การศึกษาภูมหิ ลงั ของผ้ทู าหรือผ้เู กยี่ วข้อง กับข้อเท็จจรงิ ของเหตุการณท์ างประวตั ศิ าสตร์ สาเหตุ ช่วงระยะเวลา รปู ลกั ษณ์ของหลกั ฐานทาง ประวตั ศิ าสตร์ เปน็ ต้น หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๗๑ ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๓. เห็นความสาคัญของการตีความ หลกั ฐาน ตัวอยา่ งการประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือของ ทางประวตั ิศาสตรท์ ่นี า่ เช่อื ถือ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรไ์ ทยที่อยูใ่ นทอ้ งถน่ิ ของตนเองหรือหลกั ฐานสมยั อยธุ ยา (เชอ่ื มโยงกบั มฐ. ส 4.3) ตัวอย่างการวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากเอกสารต่างๆ ในสมัยอยธุ ยาและธนบรุ ี (เชือ่ มโยงกับ มฐ. ส 4.3) เชน่ ข้อความบางตอนในพระราชพงศาวดาร อยธุ ยา จดหมายเหตุชาวตา่ งชาติ การแยกแยะระหวา่ งข้อมูลกบั ความคิดเห็น รวมท้งั ความจรงิ กบั ข้อเทจ็ จริง จากหลกั ฐานทาง ประวตั ิศาสตร์ ตวั อย่างการตคี วามข้อมลู จากหลกั ฐานที่แสดง เหตกุ ารณส์ าคัญในสมยั อยุธยาและธนบุรี ความสาคญั ของการวิเคราะห์ข้อมลู และการ ตคี วามทางประวตั ิศาสตร์ ม.๓ ๑.วเิ คราะหเ์ รอ่ื งราว เหตุการณ์สาคัญทาง ขนั้ ตอนของวิธีการทางประวัตศิ าสตรส์ าหรบั ประวัติศาสตร์ได้อยา่ งมเี หตผุ ลตามวิธีการทาง การศึกษาเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตรท์ เี่ กิดขึ้นใน ประวัตศิ าสตร์ ทอ้ งถนิ่ ตนเอง ๒. ใช้วิธกี ารทางประวัติศาสตรใ์ นการศึกษา นาวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์มาใชใ้ นการศกึ ษา เรอ่ื งราวตา่ งๆ ท่ีตนสนใจ เรอ่ื งราวทีเ่ ก่ียวข้องกับตนเอง ครอบครัว และ ท้องถน่ิ ของตนเอง วเิ คราะหเ์ หตุการณ์สาคัญในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ โดยใชว้ ธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๗๒ สาระท่ี ๔ ประวตั ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพัฒนาการของมนษุ ยชาตจิ ากอดตี จนถงึ ปัจจุบนั ในดา้ นความสัมพนั ธ์และการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตระหนกั ถึงความสาคญั และสามารถวิเคราะห์ ผลกระทบทเี่ กิดขนึ้ ชัน้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๑ ๑. บอกความเปล่ยี นแปลงของสภาพ ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม แวดลอ้ ม สง่ิ ของ เครื่องใช้ หรอื การดาเนนิ สง่ิ ของ เครื่องใช้ หรือการดาเนนิ ชวี ิตของ ชวี ติ ของตนเองกบั สมยั ของพ่อแม่ ป่ยู า่ ตา อดีตกับปัจจุบันท่ีเป็นรูปธรรมและใกล้ตัว ยาย เด็ก เช่นการใช้ควาย ไถนา รถไถนา เตา รีด ถนน เกวยี น - รถอีแต๋น สาเหตุและผลของการเปลี่ยนแปลงของสิ่ง ตา่ ง ๆ ตามกาลเวลา ๒. บอกเหตุการณ์ที่เกิดข้นึ ในอดีตที่มี เหตกุ ารณส์ าคัญทเ่ี กดิ ขึ้นในครอบครัว เชน่ ผลกระทบต่อตนเองในปจั จบุ ัน การย้ายบ้าน การหย่ารา้ ง การสญู เสยี บคุ คลในครอบครัว ป.๒ ๑. สืบคน้ ถึงการเปลย่ี นแปลงในวิถี วิธีการสืบค้นขอ้ มูลอย่างง่าย ๆ เช่น การ ชีวิตประจาวันของคนในชุมชน ของตนจาก สอบถามพ่อแม่ ผู้รู้ อดตี ถงึ ปัจจบุ ัน วถิ ีชวี ิตของคนในชุมชน เชน่ การประกอบ อาชพี การแต่งกาย การสอ่ื สาร ประเพณี ใน ชุมชนจากอดตี ถึงปัจจบุ นั สาเหตขุ องการเปลยี่ นแปลงวิถชี วี ิตของคน ในชุมชน ๒. อธบิ ายผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง ท่ี การเปลยี่ นแปลงของวถิ ีชวี ิตของคนใน มตี อ่ วถิ ีชวี ติ ของคน ชมุ ชนทางดา้ นต่าง ๆ ในชุมชน ผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงทม่ี ีต่อวถิ ี ชวี ติ ของคนในชุมชน ป.๓ ๑. ระบุปจั จยั ทีม่ อี ทิ ธิพลตอ่ การตงั้ ถ่นิ ฐาน ปัจจัยการตง้ั ถิน่ ฐานของชุมชนซึง่ ขน้ึ อยู่กับ และพัฒนาการของชุมชน ปจั จยั ทางภมู ศิ าสตรแ์ ละปจั จัยทางสังคม เช่น ความเจริญทางเทคโนโลยีการคมนาคม ความปลอดภัย ปัจจยั ท่ีมีอิทธพิ ลต่อพัฒนาการของชุมชน ท้งั ปจั จยั ทางภมู ิศาสตร์ และปัจจัยทาง สงั คม หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๗๓ ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๒. สรุปลกั ษณะท่สี าคัญของขนบธรรมเนียม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีและวฒั นธรรม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน ชมุ ชนของตนที่เกิดจากปจั จยั ทางภูมศิ าสตร์ ๓. เปรียบเทยี บความเหมอื นและความต่าง และปัจจยั ทางสังคม ทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชมุ ชนอ่ืน ๆ ขนบธรรมเนียมประเพณี และวฒั นธรรม ของชมุ ชน อื่น ๆ ท่ีมีความเหมือนและ ความตา่ งกับชมุ ชนของตนเอง ป. ๔ ๑. อธบิ ายการตง้ั หลักแหลง่ และพฒั นาการ พฒั นาการของมนุษยย์ คุ ก่อนประวัติศาสตร์ ของมนุษย์ยุคก่อนประวัตศิ าสตร์และยุค และยุคประวัติศาสตร์ ในดนิ แดนไทย ประวัติศาสตรโ์ ดยสังเขป โดยสงั เขป หลักฐานการตั้งหลักแหลง่ ของมนษุ ย์ ยคุ ๒. ยกตวั อย่างหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ ี่ กอ่ นประวตั ิศาสตรใ์ นดนิ แดนไทยโดยสังเขป พบในท้องถิ่นที่แสดงพัฒนาการของ หลักฐานทางประวัตศิ าสตรท์ ่พี บในทอ้ งถน่ิ มนุษยชาติ ท่ีแสดงพัฒนาการของมนุษยชาตใิ นดนิ แดน ไทยโดยสงั เขป ป.๕ ๑. อธิบายอทิ ธิพลของอารยธรรมอนิ เดียและ การเขา้ มาของอารยธรรมอนิ เดียและจีนใน จีนท่ีมีตอ่ ไทย และเอเชยี ตะวันออกเฉียง ดนิ แดนไทยและภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก ใต้ โดยสังเขป เฉยี งใตโ้ ดยสงั เขป อิทธพิ ลของอารยธรรมอินเดียและจีน ท่ีมีต่อไทย และคนในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต้ เช่น ศาสนา และความ เช่ือ ภาษา การแตง่ กาย อาหาร ๒. อภปิ รายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติท่มี ี การเขา้ มาของวัฒนธรรมตา่ งชาติใน ตอ่ สังคมไทยปัจจบุ ันโดยสงั เขป สังคมไทย เชน่ อาหาร ภาษา การ แต่งกาย ดนตรี โดยระบุลักษณะ สาเหตุ และผล อิทธิพลที่หลากหลายในกระแสของ วัฒนธรรมตา่ งชาติตอ่ สังคมไทยในปจั จุบัน ป.๖ ๑. อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกจิ และ ใชแ้ ผนทีแ่ สดงท่ีต้งั และอาณาเขต การเมืองของประเทศเพื่อนบ้านในปจั จุบัน ของประเทศตา่ ง ๆ ในภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ สภาพสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของ ประเทศเพื่อนบา้ นของไทยโดยสังเขป หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๗๔ ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ตัวอยา่ งความเหมือนและ ความต่าง ระหวา่ งไทยกบั ประเทศเพ่ือนบ้าน เชน่ ภาษา ศาสนา การปกครอง ๒. บอกความสมั พันธ์ของกลุ่มอาเซียน ความเป็นมาของกลุ่มอาเซยี นโดยสังเขป โดยสังเขป สมาชิกของอาเซยี นในปัจจุบัน ความสัมพันธข์ องกล่มุ อาเซียนทาง เศรษฐกิจ และสงั คมในปัจจุบนั โดยสังเขป ม.๑ ๑. อธบิ ายพฒั นาการทางสงั คมเศรษฐกจิ และ ที่ตั้งและสภาพทางภูมศิ าสตร์ของประเทศ การเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคเอเชยี ตา่ งๆ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใตท้ ่ีมี ผลต่อพฒั นาการทางด้านต่างๆ ตะวนั ออกเฉียงใต้ พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม ๒. ระบุความสาคญั ของแหล่งอารยธรรม ใน เศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศต่างๆ ภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ความรว่ มมือผา่ นการรวมกล่มุ เป็นอาเซยี น ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออก เฉียงใต้ท่ีถอื ว่าเปน็ พฒั นาการของภมู ภิ าค ที่ตั้งและความสาคญั ของแหลง่ อารยธรรม ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เชน่ แหล่งมรดกโลกในประเทศตา่ งๆ ของเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (เช่ือมโยงกับ มฐ. ส 4.3) อทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณในดินแดน ไทยที่มีตอ่ พฒั นาการของสังคมไทยใน ปัจจบุ ัน ม.๒ ๑.อธบิ ายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ ทตี่ ้ังและสภาพทางภมู ศิ าสตร์ของภูมิภาค และการเมืองของภมู ิภาคเอเชยี ต่างๆ ในทวีปเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออก ๒. ระบคุ วามสาคญั ของแหล่งอารยธรรม เฉยี งใต้) ท่ีมีผลตอ่ พฒั นาการโดยสังเขป โบราณในภูมิภาคเอเชีย พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชยี (ยกเวน้ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้) ทต่ี ้ังและความสาคัญของแหล่งอารยธรรม ตะวันออกและแหลง่ มรดกโลกในประเทศตา่ งๆ ในภมู ภิ าคเอเชีย อทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณที่มตี ่อ ภมู ิภาคเอเชยี ในปจั จุบนั หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๗๕ ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.๓ ๑. อธิบายพัฒนาการทางสงั คมเศรษฐกิจและ ท่ตี ง้ั และสภาพทางภมู ิศาสตรข์ องภมู ิภาค การเมืองของภมู ิภาคตา่ ง ๆ ในโลกโดยสังเขป ต่างๆ ของโลก (ยกเวน้ เอเชยี ) ทม่ี ผี ลต่อ ๒. วเิ คราะหผ์ ลของการเปล่ยี นแปลงทนี่ าไปสู่ พฒั นาการโดยสังเขป ความร่วมมอื และความขัดแย้งใน พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สงั คม ครสิ ต์ศตวรรษท่ี ๒๐ ตลอดจนความพยายาม เศรษฐกจิ และการเมืองของภูมิภาคต่างๆ ของ โลก(ยกเว้นเอเชยี ) โดยสงั เขป ในการขจัดปัญหาความขดั แย้ง อทิ ธิพลของอารยธรรมตะวนั ตกทมี่ ผี ลต่อ พฒั นาการและการเปล่ยี นแปลงของสงั คมโลก โดยสงั เขป ความร่วมมือและความขัดแยง้ ใน ครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 เช่น สงครามโลกคร้ังที่ 1 สงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามเยน็ องค์การ ความรว่ มมือระหว่างประเทศ สาระที่ ๔ ประวตั ิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มคี วามรกั ความภมู ิใจและ ธารงความเปน็ ไทย ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. อธบิ ายความหมายและความสาคัญ ของ ความหมายและความสาคัญของสญั ลักษณ์ที่ สัญลกั ษณส์ าคัญของชาตไิ ทย และปฏิบตั ติ นได้ สาคญั ของชาติไทย ได้แก่ ชาติ ศาสนา ถกู ต้อง พระมหากษัตรยิ ์ (ธงชาติ เพลงชาติ พระพทุ ธรูป พระบรมฉายาลักษณ์) การเคารพธงชาติ การรอ้ งเพลงชาติ และ เพลงสรรเสริญพระบารมี เคารพ ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน เอกลกั ษณ์อนื่ ๆ เชน่ แผนทป่ี ระเทศไทย ประเพณไี ทย อาหารไทย (อาหาร ไทยท่ีต่างชาติยกย่อง เชน่ ต้มยากุง้ ผัดไทย) ทม่ี ีความภาคภูมิใจ และ มีสว่ น รว่ มทจี่ ะอนรุ ักษ์ไว้ ๒. บอกสถานทสี่ าคัญซึ่งเปน็ แหล่งวฒั นธรรม ตัวอย่างของแหลง่ วัฒนธรรมในชุมชน ในชมุ ชน ที่ใกลต้ วั นักเรยี น เชน่ วัด ตลาด พพิ ิธภณั ฑ์ มสั ยดิ โบสถค์ รสิ ต์ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๗๖ ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง คุณคา่ และความสาคัญของแหลง่ วฒั นธรรม ในชมุ ชนในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ เปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว เป็นแหล่งเรยี นรู้ ๓. ระบุสิง่ ทต่ี นรัก และภาคภูมิใจ ใน ตัวอย่างส่ิงท่เี ป็นความภาคภมู ใิ จในท้องถิ่น ทอ้ งถิน่ เช่น สงิ่ ของ สถานท่ี ภาษาถ่ิน ประเพณี และวฒั นธรรม ฯลฯ ท่ีเป็น ส่ิงทีใ่ กล้ ตัวนักเรียน และเปน็ รูปธรรมชดั เจน คณุ ค่าและประโยชนข์ องส่ิงต่าง ๆเหล่าน้ัน ป.๒ ๑. ระบุบคุ คลทีท่ าประโยชน์ตอ่ ท้องถ่ินหรือ บคุ คลในท้องถน่ิ ที่ทาคุณประโยชนต์ อ่ การ ประเทศชาติ สรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรม และความม่นั คงของ ท้องถนิ่ และประเทศชาติ ในอดีตที่ควร นาเปน็ แบบอย่าง ผลงานของบุคคลในท้องถ่ินท่ีน่าภาคภมู ใิ จ ๒. ยกตวั อย่างวฒั นธรรม ประเพณี ตวั อยา่ งของวัฒนธรรมประเพณีไทย เช่น และภูมิปญั ญาไทยท่ีภาคภูมใิ จ และ การทาความเคารพ อาหารไทย ภาษาไทย ควรอนรุ ักษ์ไว้ ประเพณีสงกรานต์ ฯลฯ คุณค่าของวฒั นธรรม และประเพณีไทย ท่ีมี ต่อสงั คมไทย ภมู ปิ ญั ญาของคนไทยในท้องถ่นิ ของนักเรียน ป.๓ ๑. ระบุพระนามและพระราชกรณียกิจ พระราชประวัติ พระราชกรณยี กิจ โดยสังเขปของพระมหากษัตริยไ์ ทย ท่ี โดยสงั เขปของพ่อขุนศรีอนิ ทราทติ ย์ สมเดจ็ เป็นผู้สถาปนาอาณาจักรไทย พระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจา้ อู่ทอง) สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช และ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก มหาราช ผูส้ ถาปนาอาณาจักรไทย สโุ ขทัย อยธุ ยา ธนบุรี และรัตนโกสินทรต์ ามลาดบั อาณาจักรไทยอ่ืน ๆ ที่ผนวกรวมเข้าเปน็ สว่ นหน่งึ ของชาติไทย เช่น ล้านนา นครศรีธรรมราช ๒. อธิบายพระราชประวตั แิ ละพระราชกรณีย พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของ กจิ ของพระมหากษตั รยิ ์ ใน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ภมู พิ ลอ รัชกาลปัจจุบัน โดยสงั เขป ดลุ ยเดช และสมเด็จพระบรมราชินนี าถ โดยสงั เขป หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๗๗ ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. เลา่ วีรกรรมของบรรพบรุ ุษไทย ที่มีส่วนปกปอ้ งประเทศชาติ วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยท่มี ีสว่ นปกปอ้ ง ป.๔ ๑. อธบิ ายพัฒนาการของอาณาจกั รสุโขทยั ประเทศชาติ เชน่ ทา้ วเทพสตรี ท้าวศรี โดยสงั เขป สนุ ทร ชาวบา้ นบางระจัน พระยา พิชยั ดาบหัก สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช การสถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั โดยสังเขป พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยทางดา้ น การเมืองการปกครอง และ เศรษฐกจิ โดยสังเขป ๒. บอกประวตั ิและผลงานของบุคคลสาคญั ประวัติ และผลงานของบุคคลสาคญั สมยั สโุ ขทยั สมัยสุโขทยั เช่น พอ่ ขุนศรอี ินทราทติ ย์ พ่อ ขุนรามคาแหงมหาราช พระมหาธรรมราชา ที่ ๑ (พระยาลิไทยโดยสังเขป) ๓. อธิบายภูมิปญั ญาไทยทส่ี าคัญ ภูมปิ ัญญาไทยในสมัยสโุ ขทัย เช่นภาษาไทย สมัยสุโขทัยท่ีน่าภาคภูมิใจ และควรค่า ศิลปกรรมสโุ ขทยั ท่ีไดร้ ับ การยก แก่การอนรุ ักษ์ ย่องเปน็ มรดกโลก เคร่ือง สังคมโลก คุณค่าของภมู ปิ ญั ญาไทยทสี่ บื ต่อถึงปจั จบุ นั ทน่ี า่ ภาคภมู ใิ จและควรคา่ แก่การ อนรุ กั ษ์ ป.๕ ๑. อธบิ ายพัฒนาการของอาณาจกั รอยุธยาและ การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา โดยสงั เขป ธนบุรีโดยสงั เขป ปจั จัยทีส่ ่งเสริมความเจริญร่งุ เรอื งทาง เศรษฐกิจ และการปกครองของอาณาจกั ร ๒. อธบิ ายปจั จัยทสี่ ง่ เสรมิ ความเจริญ รงุ่ เรือง อยุธยา ทางเศรษฐกจิ และการปกครอง ของ พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาการด้าน อาณาจักรอยุธยา การเมือง การปกครอง และเศรษฐกจิ ๓. บอกประวตั แิ ละผลงานของบคุ คลสาคญั สมยั อยุธยาและธนบุรที ่ีนา่ ภาคภมู ใิ จ โดยสังเขป ผลงานของบุคคลสาคญั ในสมัยอยธุ ยา เชน่ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี ๑ สมเดจ็ พระบรม ไตรโลกนาถ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ๔. อธิบายภูมิปญั ญาไทยทสี่ าคัญ สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ชาวบา้ น อยธุ ยาและธนบุรีทน่ี า่ ภาคภูมิใจและควรคา่ แก่ บางระจนั เป็นตน้ การอนุรักษไ์ ว้ ภูมปิ ัญญาไทยสมยั อยุธยาโดยสงั เขป เช่น ศลิ ปกรรม การคา้ วรรณกรรม หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๗๘ ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง การกอบกู้เอกราชและการสถาปนา อาณาจักรธนบรุ ีโดยสังเขป พระราชประวัติ และผลงานของ พระ เจ้าตากสนิ มหาราชโดยสงั เขป ภูมปิ ัญญาไทยสมยั ธนบรุ ีโดยสังเขป เช่น ศลิ ปกรรม การค้า วรรณกรรม ป.๖ ๑. อธบิ ายพฒั นาการของไทยสมยั รตั นโกสินทร์ การสถาปนาอาณาจักรรัตนโกสินทร์ โดยสงั เขป โดยสงั เขป ๒. อธบิ ายปัจจยั ที่ส่งเสรมิ ปจั จยั ที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรอื ง ความเจริญร่งุ เรอื งทางเศรษฐกจิ และ ทางเศรษฐกจิ และการปกครองของไทย การปกครองของไทยสมยั รัตนโกสินทร์ ในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ ๓. ยกตวั อยา่ งผลงานของบคุ คลสาคญั พัฒนาการของไทยสมยั รัตนโกสนิ ทร์ ด้านต่าง ๆ สมัยรตั นโกสินทร์ โดยสังเขป ตามช่วงเวลาตา่ ง ๆ เช่น สมยั ๔. อธิบายภมู ปิ ญั ญาไทยที่สาคญั สมยั รัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น สมยั ปฏิรูปประเทศ รัตนโกสินทรท์ ่นี ่าภาคภมู ใิ จ และควรคา่ แก่การ และสมัยประชาธปิ ไตย อนุรกั ษ์ไว้ ผลงานของบคุ คลสาคัญทางด้านตา่ ง ๆ ใน สมยั รัตนโกสนิ ทร์ เช่น พระบาทสมเด็จพระ พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเดจ็ พระ บวรราชเจา้ มหาสรุ สิงหนาท พระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ฯลฯ ภมู ปิ ญั ญาไทยสมัยรตั นโกสินทร์ เช่น ศิลปกรรม วรรณกรรม ม.๑ ๑. อธบิ ายเรื่องราวทางประวตั ิศาสตรส์ มยั ก่อน สมัยกอ่ นประวตั ิศาสตรใ์ นดนิ แดนไทย สโุ ขทัยในดนิ แดนไทยโดยสงั เขป โดยสังเขป ๒. วเิ คราะห์พฒั นาการของอาณาจกั รสโุ ขทัย รฐั โบราณในดนิ แดนไทย เชน่ ศรวี ิชัย ตาม ในดา้ นต่าง ๆ ๓. วเิ คราะห์อิทธพิ ลของวฒั นธรรมและภมู ิ พรลงิ ค์ ทวารวดี ปัญญาไทย สมยั สโุ ขทยั และสังคมไทยใน รฐั ไทยในดินแดนไทย เช่น ล้านนา ปัจจุบัน นครศรธี รรมราช สุพรรณภูมิ การสถาปนาอาณาจกั รสโุ ขทยั และปัจจยั ที่ เก่ียวข้อง (ปัจจยั ภายในและปัจจัยภายนอก) พัฒนาการของอาณาจักรสโุ ขทยั ในดา้ น การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๗๙ ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม.๒ ๑. วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจกั รอยธุ ยา วฒั นธรรมสมยั สโุ ขทัย เชน่ ภาษาไทย และธนบรุ ี ในด้านตา่ งๆ ๒. วเิ คราะหป์ ัจจยั ท่ีสง่ ผลต่อความมน่ั คงและ วรรณกรรม ประเพณสี าคัญ ศลิ ปกรรมไทย ความเจริญร่งุ เรอื งของอาณาจักรอยธุ ยา ภูมิปญั ญาไทยในสมัยสุโขทัย เชน่ การ ๓. ระบุภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทย สมยั อยุธยาและธนบุรีและอิทธิพลของภูมิ ชลประทาน เคร่อื งสงั คโลก ปญั ญาดงั กลา่ วต่อการพฒั นาชาติไทยในยุค ความเสือ่ มของอาณาจักรสุโขทัย ตอ่ มา การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา ปัจจัยทสี่ ่งผลตอ่ ความเจริญรงุ่ เรืองของ อาณาจักรอยธุ ยา พฒั นาการของอาณาจักรอยธุ ยาในด้าน การเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจและ ความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศ การเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ 1 และการกู้เอก ราช ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมยั อยุธยา เชน่ การควบคุมกาลงั คน และศิลปวัฒนธรรม การเสยี กรุงศรีอยุธยาคร้งั ท่ี 2 การกู้เอกราช การเสยี กรุงศรีอยธุ ยาคร้ังท่ี 2 การกเู้ อกราช และการสถาปนาอาณาจกั รธนบรุ ี ภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยสมยั ธนบรุ ี วรี กรรมของบรรพบรุ ุษไทย ผลงานของ บคุ คลสาคัญของไทยทมี่ ีส่วนสร้างสรรค์ชาติไทย เช่น - สมเดจ็ พระสรุ ิโยทยั - สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช - สมเด็จพระนเรศวรมหาราช - สมเดจ็ เจ้าพระยามหากษตั ริย์ศึก (ทองด้วง) - สมเด็จพระนารายณ์มหาราช - เจ้าพระยาสุรสหี ์ (บญุ มา) ม.๓ ๑. วเิ คราะห์พัฒนาการของไทยสมยั การสถาปนากรงุ เทพมหานครเปน็ ราชธานี รตั นโกสนิ ทร์ในด้านต่างๆ ของไทย ๒. วเิ คราะห์ปจั จัยท่สี ง่ ผลต่อความมั่นคงและ ปจั จยั ที่ส่งผลตอ่ ความมัน่ คงและความ ความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ๓. วเิ คราะห์ภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัย เจริญรุ่งเรืองของไทยในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ รตั นโกสินทร์และอิทธพิ ลต่อการพัฒนาชาติไทย บทบาทของพระมหากษัตรยิ ์ไทยในราชวงศ์ จกั รีในการสร้างสรรค์ความเจริญและความม่ันคง ของชาติ หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ช้ัน ตัวช้วี ัด ๘๐ ๔.วเิ คราะห์บทบาทของไทยในสมยั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ประชาธิปไตย พฒั นาการของไทยในสมยั รตั นโกสินทร์ ทางด้านการเมอื งการปกครอง สังคม เศรษฐกจิ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตามชว่ ง สมยั ตา่ งๆ เหตกุ ารณส์ าคัญสมัยรตั นโกสินทร์ทมี่ ผี ลต่อ การพัฒนาชาติไทย โดยวิเคราะห์สาเหตุ ปัจจยั และผลของเหตุการณ์ต่างๆ ปัจจยั ท่สี ง่ ผลต่อความมน่ั คงและความ เจริญรงุ่ เรืองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ บทบาทของพระมหากษตั รยิ ์ไทยในราชวงศ์ จกั รีในการสรา้ งสรรค์ความเจรญิ และความ มนั่ คงของชาติ พัฒนาการของไทยในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ทางดา้ นการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกจิ และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศตามช่วงสมยั ตา่ งๆ เหตุการณ์สาคัญสมยั รัตนโกสนิ ทร์ทม่ี ีผลต่อ การพัฒนาชาติไทย เช่น - การทาสนธสิ ัญญาเบาวร์ งิ ในสมัย รชั กาลที่ 4 - การปฏริ ปู ประเทศในสมยั รัชกาลที่ 5 - การเขา้ รว่ มสงครามโลกครัง้ ท่ี 1 โดย วิเคราะหส์ าเหตปุ ัจจยั และผลของเหตุการณ์ ต่างๆ ปัจจัยที่สง่ ผลต่อความม่ันคงและความ เจรญิ รุ่งเรอื งของไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร์ พฒั นาการของไทยในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ ทางดา้ นการเมอื งการปกครองตามชว่ งสมัย ต่างๆ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในสมยั รัตนโกสินทร์ทม่ี ีอทิ ธิพลต่อการพฒั นาชาติไทย จนถึงปัจจุบนั โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มหิตลาธเิ บศร รามาธิบดี จักรี-นฤบดนิ ทร สยามินทราธริ าช หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๘๑ ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง บรมนาถบพติ ร และสมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สาระท่ี ๕ ภมู ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพส่ิงซึ่งมผี ลต่อกันใช แผนที่และเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ในการคนหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตาม กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.๑ ๑. จาแนกส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัวทเ่ี กิดข้ึนเองตาม สิ่งแวดลอมท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและที่ ธรรมชาตแิ ละที่มนุษย์สร้างข้นึ มนุษยส์ ร้างขนึ้ ขึ้นทบี่ ้านและทโี่ รงเรยี น ๒. ระบุความสัมพนั ธ์ของตาแหนง่ ระยะ ทิศ ความสมั พนั ธ์ของตาแหน่ง ระยะ ทศิ ของสิ่งตา่ ง ๆ ของสิ่งต่าง ๆ รอบตวั เชน่ ที่อย่อู าศยั บ้าน ของเพอื่ นบา้ น ต้นไม้ ถนน ทุง่ นา ไร่ สวน ท่รี าบ ภเู ขา แหลง่ น้า ทศิ หลกั (เหนอื ตะวนั ออก ใต้ ตะวนั ตก) และ ทตี่ งั้ ของสง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัว ๓. ใชแ้ ผนผังง่าย ๆ ในการแสดงตาแหนง่ ของ แผนผังแสดงตาแหนง่ สง่ิ ต่าง ๆ สิ่งต่าง ๆ ในหอ้ งเรียน ในห้องเรียน ๔. สังเกตและบอกการเปล่ยี นแปลงของสภาพ การเปล่ยี นแปลงของสภาพอากาศ อากาศในรอบวนั ในรอบวัน เชน่ กลางวนั กลางคืน ความร้อนของอากาศ ฝน-เมฆ-ลม ป.๒ ๑. ระบสุ ่ิงแวดลอ้ มที่เป็นธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้าง กับที่มนุษยส์ รา้ งขน้ึ ซ่งึ ปรากฏระหวา่ ง ขนึ้ ซง่ึ ปรากฏระหวา่ งบ้านกบั โรงเรยี น โรงเรียนกบั บา้ น ๒. ระบตุ าแหนง่ และลักษณะทางกายภาพของสิง่ ตาแหน่งและลกั ษณะทางกายภาพของส่งิ ต่างๆท่ี ตา่ งๆทป่ี รากฏในแผนผงั แผนที่ รปู ถ่าย และ ปรากฏในลกู โลก แผนท่ี แผนผงั รูปถา่ ยและ ลูกโลก ลูกโลกเชน่ ภเู ขา ทีร่ าบ แม่น้า ต้นไม้ ทะเล ๓. สังเกตและแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างโลก ความสัมพันธ์ระหวา่ งโลก ดวงอาทิตยแ์ ละ ดวงอาทิตยแ์ ละดวงจันทร์ ท่ีทาใหเ้ กิด ดวงจันทร์ ที่ทาให้เกิดปรากฏการณ์เชน่ ปรากฏการณ์ ข้างขน้ึ ข้างแรม ฤดูกาลตา่ ง ๆ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๘๒ ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป.๓ ๑. สารวจข้อมลู ทางภูมศิ าสตรใ์ นโรงเรียนและ ขอ้ มูลทางภมู ิศาสตรใ์ นชุมชน ชมุ ชนโดยใช้แผนผัง แผนที่ และ รูปถ่าย แผนที่ แผนผัง และรปู ถา่ ย เพ่อื แสดงความสมั พนั ธ์ของตาแหนง่ ระยะ ความสมั พันธ์ของตาแหน่ง ระยะ ทิศทาง ทิศทาง ๒. วาดแผนผังเพ่อื แสดงตาแหน่งที่ตงั้ ของ ตาแหน่งทีต่ งั้ ของสถานที่สาคัญในบริเวณ สถานทีส่ าคญั ในบรเิ วณโรงเรยี นและชุมชน โรงเรียนและชุมชน เช่น สถานทีร่ าชการ ตลาด โรงพยาบาล ไปรษณยี ์ ป.๔ ๑. สบื คน้ และอธบิ ายข้อมลู ลักษณะทาง ลักษณะทางกายภาพของจังหวัดตนเอง กายภาพของจังหวัดตนเองดว้ ยแผนท่ี และ รูปถ่าย ๒. ระบแุ หล่งทรพั ยากรและสถานที่สาคัญใน ทรัพยากรและสถานท่ีสาคัญในจังหวัดของ จังหวดั ของตนด้วยแผนท่ีและรูปถา่ ย ตน ๓. อธบิ ายลักษณะทางกายภาพท่สี ่งผลตอ่ ลักษณะทางกายภาพทีส่ ่งผลต่อแหลง่ แหลง่ ทรพั ยากรและสถานทีส่ าคัญ ใน ทรัพยากรและสถานทีส่ าคญั ในจงั หวัด จังหวัด ป.๕ ๑. สืบคน้ และอธิบายข้อมลู ลักษณะทาง ลกั ษณะทางกายภาพของภมู ิภาคของตน กายภาพของภมู ิภาคของตนด้วยแผนท่ีและรปู ถา่ ย ๒. อธบิ ายลักษณะทางกายภาพที่สง่ ผลตอ่ ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลตอ่ แหล่ง แหล่งทรัพยากรและสถานท่ีสาคัญในภมู ิภาค ทรัพยากรและสถานทีส่ าคัญในภูมภิ าคของ ของตน ตน ป.๖ ๑. สบื ค้นและอธบิ ายข้อมูลลักษณะทาง เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ (แผนที่ รูปถ่ายทาง กายภาพของประเทศไทยด้วยแผนท่ี อากาศ ภาพจากดาวเทียม) ทแ่ี สดงลกั ษณะ รปู ถา่ ยทางอากาศและภาพจากดาวเทียม ทางกายภาพของประเทศไทย ๒. อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ งลักษณะทาง ความสมั พันธ์ระหวา่ งลกั ษณะทางกายภาพ กายภาพกับภยั พบิ ัตใิ นประเทศไทยเพื่อ กบั ภยั พบิ ตั ิในประเทศไทย เช่น อุทกภยั เตรียมพร้อมรบั มือภัยพิบตั ิ แผ่นดนิ ไหว วาตภยั สึนามิ ภัยแลง้ ดิน ถล่มและโคลนถล่ม การเตรยี มพรอ้ มรบั มือภยั พิบัติ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๘๓ ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.๑ ๑. วเิ คราะหล์ กั ษณะทางกายภาพของทวปี ที่ตั้ง ขนาด และอาณาเขตของทวีปเอเชยี เอเชียทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี โดยใช้ ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตรส์ ืบค้นขอ้ มูล การใชเ้ ครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ เชน่ แผนทร่ี ูป ถา่ ยทางอากาศ ภาพจากดาวเทียมในการสบื คน้ ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี เอเชียทวปี ๒. อธิบายพิกัดภูมิศาสตร์ (ละติจดู และ ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี ลองจิจดู )เสน้ แบ่งเวลา และเปรียบเทียบวนั เวลาของโลก พกิ ดั ภูมศิ าสตร์ (ละตจิ ูด และลองจจิ ดู ) ๓. วิเคราะห์สาเหตุการเกิดภัยพบิ ัตแิ ละ เสน้ แบ่งเวลา ผลกระทบในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลยี และ การเปรียบเทยี บวัน เวลาของโลก โอเชยี เนีย สาเหตกุ ารเกิดภัยพบิ ตั ิและผลกระทบในทวีป เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย ม.๒ ๑. วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวีป ท่ีตัง้ ขนาด และอาณาเขตของทวปี ยโุ รปและ ยโุ รปและทวปี แอฟรกิ า โดยใชเ้ คร่ืองมือทาง ทวีปแอฟรกิ า ภมู ศิ าสตร์สืบค้นข้อมูล การใชเ้ ครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์ เช่น แผนท่ีรูป ๒. อธบิ ายมาตราส่วน ทิศ และสญั ลักษณ์ ถา่ ยทางอากาศ ภาพจากดาวเทยี มในการสบื ค้น ๓. วเิ คราะห์สาเหตุการเกิดภัยพิบัตแิ ละ ลักษณะทางกายภาพของทวปี ยโุ รปและทวปี ผลกระทบในทวีปยโุ รป และทวีปแอฟริกา แอฟริกา การแปลความหมาย มาตราสว่ น ทิศ และ สญั ลกั ษณ์ในแผนที่ สาเหตกุ ารเกิดภยั พิบัตแิ ละผลกระทบในทวีป ยุโรป และทวปี แอฟรกิ า ม.๓ ๑. วิเคราะหล์ กั ษณะทางกายภาพของทวปี ท่ตี ั้ง ขนาด และอาณาเขตของทวีปอเมริกา อเมรกิ าเหนอื และทวีปอเมริกาใตโ้ ดยเลอื กใช้ เหนอื และทวปี อเมริกาใต้ แผนที่เฉพาะเรื่องและเคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ การเลือกใชแ้ ผนทเี่ ฉพาะเร่ืองและเคร่อื งมือ สืบค้นข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์สืบคน้ ขอ้ มลู ลักษณะทางกายภาพ ๒. วิเคราะหส์ าเหตุการเกดิ ภัยพบิ ตั แิ ละ ผลกระทบในทวปี อเมริกาเหนือ และทวีป ของทวปี อเมริกาเหนอื และทวีปอเมริกาใต้ อเมริกาใต้ สาเหตุการเกิดภยั พบิ ัตแิ ละผลกระทบในทวีป อเมริกาเหนอื และทวีปอเมริกาใต้ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๘๔ สาระที่ ๕ ภมู ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งมนุษยก์ ับสง่ิ แวดล้อมทางกายภาพที่กอ่ ให้เกดิ การสรา้ งสรรค์ วถิ ีการดาเนนิ ชีวติ มีจิตสานึกและมีส่วนรว่ มในการจดั การทรัพยากร และส่ิงแวดล้อม เพ่ือการพฒั นาท่ีย่งั ยืน ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป.๑ ๑. บอกสง่ิ ต่าง ๆ ทเ่ี กิดตามธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพที่มผี ลต่อ ทีส่ ่งผลต่อความเปน็ อย่ขู องมนษุ ย์ ความเป็นอยู่ของมนษุ ย์ เชน่ ภมู อิ ากาศมีผล ตอ่ ท่ีอย่อู าศัยและเครื่องแตง่ กาย ๒. สงั เกตและ เปรียบเทยี บการเปล่ียนแปลงของ การเปลยี่ นแปลงของสิง่ แวดลอ้ มท่อี ยู่รอบตัว สภาพแวดล้อมท่ีอยรู่ อบตัวเพอ่ื การปฏบิ ัติตนอย่าง อทิ ธพิ ลของสิ่งแวดลอ้ มทส่ี ง่ ผลตอ่ การปฏิบตั ติ น เหมาะสม อย่างเหมาะสม ๓. มีส่วนร่วมในการดแู ลสง่ิ แวดล้อมทีบ่ า้ นและ การปฏบิ ัตติ นในการรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มในบา้ นและ ช้นั เรียน หอ้ งเรยี น ป.๒ ๑. อธิบายความสาคญั ของสิ่งแวดลอ้ ม ทาง ความสาคญั ของสง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ ธรรมชาตแิ ละท่ีมนุษยส์ รา้ งขึ้น และส่ิงแวดลอ้ มทมี่ นุษย์ สรา้ งขน้ึ ใน การดาเนนิ ชวี ติ ๒. จาแนกและใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ใี ชแ้ ลว้ ประเภททรพั ยากรธรรมชาติ ไม่หมดไปและทีใ่ ช้แล้วหมดไปได้ อย่าง - ใช้แล้วไมห่ มดไป เชน่ อากาศ แสงอาทติ ย์ คุ้มคา่ - ใช้แลว้ หมดไป เช่น แร่ ถ่านหิน นา้ มนั กา๊ ซธรรมชาติ - สร้างทดแทนขึน้ มาใหม่ได้ เช่น นา้ ดิน ป่า ไม้ สตั ว์ปา่ การใช้ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า ๓. อธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งฤดกู าลกับ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งฤดูกาล กับ การดาเนินชวี ติ ของมนษุ ย์ การดาเนินชีวิตของมนษุ ย์ ๔. มีส่วนรว่ มในการจัดการสิง่ แวดล้อม ผลกระทบของการเปล่ียนแปลง ส่งิ ในโรงเรยี น แวดลอมท่ีมีต่อโรงเรียน การรกั ษาและฟื้นฟสู ่งิ แวดล้อม ในโรงเรียน ป.๓ ๑. เปรยี บเทียบการเปลย่ี นแปลงสิง่ แวดลอ้ ม สิ่งแวดล้อมของชมุ ชนในอดตี กับปจั จุบนั ของชุมชนในอดีตกบั ปจั จบุ ัน - สิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ - สงิ่ แวดล้อมท่ีมนุษย์สรา้ งขน้ึ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๘๕ ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๒. อธบิ ายการใช้ประโยชนจ์ ากสง่ิ แวดล้อม การใช้ประโยชน์จากส่ิงแวดล้อมในการ และทรัพยากรธรรมชาติ ในการสนอง ดาเนนิ ชวี ิตของมนุษย์ เช่น การคมนาคม ความต้องการพน้ื ฐาน ของมนุษยแ์ ละ บ้านเรือน และการประกอบอาชีพ การประกอบอาชพี ในชุมชน การประกอบอาชพี ทีเ่ ปน็ ผลมาจาก สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติในชมุ ชน ๓. อธิบายสาเหตุทที่ าให้เกิดมลพิษ ความหมายและประเภทของมลพิษ โดย โดยมนุษย์ มนษุ ย์ สาเหตขุ องการเกิดมลพษิ ท่เี กิดจาก การกระทาของมนษุ ย์ ๔. อธบิ ายความแตกต่างของลักษณะเมืองและ ลกั ษณะของเมืองและชนบท เชน่ สงิ่ ปลกู ชนบท สร้าง การใชท้ ีด่ ิน การประกอบอาชพี ๕. อธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างลกั ษณะทาง ภูมิประเทศ และภูมอิ ากาศทม่ี ีผลตอ การ กายภาพกับการดาเนินชวี ติ ของคน ใน ดาเนนิ ชวี ิตของคนในชุมชน ชมุ ชน ๖. มสี ่วนรว่ มในการจัดการสิง่ แวดลอ้ ม ใน ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง สงิ่ ชุมชน แวดลอมท่ีมีต่อชุมชน การจดั การสงิ่ แวดลอมในชุมชน ป.๔ ๑. วเิ คราะห์สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพทส่ี ่งผลต่อการ สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีส่งผลตอ่ ดาเนนิ ชวี ติ ของคนในจงั หวดั การดาเนนิ ชีวติ ของคนในจงั หวัด ๒. อธบิ ายการเปลย่ี นแปลงสิ่งแวดลอ้ มในจังหวดั และ การเปลี่ยนแปลงสง่ิ แวดล้อมในจงั หวดั และ ผลทเ่ี กดิ จากการเปลยี่ นแปลงนั้น ผลที่เกดิ จากการเปลย่ี นแปลง เชน่ การ ต้ังถนิ่ ฐาน การย้ายถนิ่ ๓. นาเสนอแนวทางการจัดการส่งิ แวดล้อมใน การจัดการสิ่งแวดลอมในจงั หวดั จงั หวดั ป.๕ ๑. วเิ คราะห์ส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพท่ีมี ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ีมีอิทธิพลตอ่ อิทธพิ ลต่อลกั ษณะการตัง้ ถิน่ ฐาน และ ลักษณะการต้ังถนิ่ ฐานและการยา้ ยถ่ินของ การยา้ ยถิ่นของประชากรในภูมิภาคของตน ประชากรในภูมภิ าคของตน ๒. วิเคราะหอ์ ทิ ธพิ ลของสง่ิ แวดล้อมทาง อิทธพิ ลของสง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ ธรรมชาตทิ ีก่ อ่ ใหเ้ กดิ วถิ ีการดาเนนิ ชวี ติ ใน ทกี่ ่อให้เกดิ วิถีการดาเนินชวี ติ ในภูมภิ าคของ ภูมภิ าคของตน ตน หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๘๖ ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๓. นาเสนอตวั อย่างทสี่ ะท้อนใหเ้ ห็นผลจากการรกั ษา ผลจากการรักษาและทาลายสงิ่ แวดล้อมใน และทาลายสง่ิ แวดลอ้ มและเสนอแนวทางในการ ภูมภิ าคของตน จัดการสิ่งแวดลอ้ มในภูมิภาคของตน แนวทางการจดั การส่งิ แวดล้อม ใน ภมู ิภาคของตน ป.๖ ๑. วเิ คราะห์ปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งสิง่ แวดล้อม ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพกับลกั ษณะกจิ กรรม ทางกายภาพกับลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม (ประชากร และสงั คม ในประเทศไทย เศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม) ปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษย์กับสง่ิ แวดล้อม ๒. วเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพของ การเปล่ียนแปลงทางกายภาพของประเทศ ประเทศไทยในอดตี กบั ปจั จุบัน และผลท่ี ไทย เกดิ ขึ้นจากการเปล่ยี นแปลงนั้น ผลจากการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ท่มี ีตอกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คม (ประชากร เศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรม) ของประเทศไทยในอดตี กบั ปจจบุ ัน ๓. นาเสนอตัวอย่างทสี่ ะท้อนใหเ้ หน็ ผลจาก ผลจากการรกั ษาและทาลายทรัพยากรและ การรกั ษาและทาลายทรพั ยากร และ สิ่งแวดลอมในประเทศไทย สงิ่ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทาง ในการ แนวทางในการจัดการทรัพยากร และ จดั การอย่างย่ังยืนในประเทศไทย สิ่งแวดลอมทย่ี ่งั ยืน มจี ิตสานึกรูคุณคา ม.๑ ๑. สารวจและระบทุ าเลทต่ี งั้ ของกิจกรรมทาง ทาเลทีต่ ้งั ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ เศรษฐกิจและสงั คมในทวปี เอเชยี ทวีป สงั คมเช่น พืน้ ทเ่ี พาะปลูกและเลีย้ งสตั ว์ แหล่ง ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี ประมงการกระจายของภาษาและศาสนาในทวปี ๒. วิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและปัจจยั ทาง เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนีย สังคมท่สี ง่ ผลตอ่ ทาเลท่ตี ง้ั ของกิจกรรมทาง ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางสังคมที่ เศรษฐกจิ และสงั คมในทวีปเอเชยี ทวปี สง่ ผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งทาง ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี ประชากร สง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ สังคมและ ๓. สืบค้น อภิปรายประเดน็ ปัญหาจาก วัฒนธรรมในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลียและโอ ปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพกับ เชยี เนยี มนษุ ยท์ เ่ี กดิ ขึ้นในทวปี เอเชียทวีปออสเตรเลีย ประเด็นปัญหาจากปฏสิ มั พันธ์ระหว่าง และโอเชียเนยี สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพกับมนษุ ยท์ ีเ่ กิดขึน้ ใน ๔. วิเคราะหแ์ นวทางการจัดการภัยพิบัติและ ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลียและโอเชยี เนีย การจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวีป แนวทางการจดั การภัยพบิ ัตแิ ละการจัดการ เอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนียท่ยี ัง่ ยนื การจดั การทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ มในทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี ท่ยี งั่ ยืน หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๘๗ ชัน้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.๒ ๑. สารวจและระบทุ าเลทต่ี ้ังของกิจกรรมทาง ทาเลทีต่ ัง้ ของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจและ เศรษฐกจิ และสังคมในทวีปยุโรป และทวีป สังคมเชน่ พนื้ ทเี่ พาะปลกู และเลี้ยงสัตว์ แหล่ง แอฟริกา ประมงการกระจายของภาษาและศาสนาในทวปี ๒. วเิ คราะห์ปจั จัยทางกายภาพและปัจจัยทาง ยุโรป และทวีปแอฟรกิ า สังคมที่ส่งผลต่อทาเลท่ตี ้ังของกิจกรรมทาง ปจั จยั ทางกายภาพและปัจจัยทางสงั คมท่ี เศรษฐกจิ และสังคมในทวีปยโุ รปและทวปี สง่ ผลตอ่ การเปล่ียนแปลงโครงสร้างทาง แอฟริกา ประชากร สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกิจ สังคมและ ๓. สบื คน้ อภิปรายประเด็นปัญหาจาก วัฒนธรรมในทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพกับ ประเด็นปัญหาจากปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ ง มนุษย์ที่เกิดขึ้นในทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกบั มนษุ ยท์ ่ีเกิดขึ้นใน ๔. วเิ คราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบัตแิ ละ ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา การจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวปี แนวทางการจดั การภยั พิบัติและการจดั การ ยโุ รป และทวปี แอฟริกาท่ียง่ั ยืน ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อมในทวีปยุโรปและทวีป แอฟริกาทย่ี ั่งยนื ม.๓ ๑. สารวจและระบทุ าเลทต่ี ั้งของกจิ กรรมทาง ทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกจิ และ เศรษฐกจิ และสังคมในทวปี อเมรกิ าเหนอื และ สงั คมเชน่ พ้นื ทเี่ พาะปลกู และเลี้ยงสัตว์ แหล่ง ทวีปอเมริกาใต้ ประมงการกระจายของภาษาและศาสนาในทวีป ๒. วิเคราะหป์ ัจจัยทางกายภาพและปจั จยั ทาง อเมริกาเหนือ และทวปี อเมริกาใต้ สังคมทีส่ ง่ ผลต่อทาเลท่ตี ั้งของกิจกรรมทาง ปัจจยั ทางกายภาพและปัจจยั ทางสงั คมท่ี เศรษฐกจิ และสงั คมในทวีปอเมริกาเหนอื และ ส่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงโครงสร้างทาง ทวปี อเมริกาใต้ ประชากร ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคมและ ๓. สืบคน้ อภิปรายประเด็นปัญหาจาก วฒั นธรรมในทวปี อเมรกิ าเหนือและทวีปอเมริกา ปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างส่ิงแวดล้อมทางกายภาพกับ ใต้ มนษุ ย์ที่เกิดขึ้นในทวปี อเมรกิ าเหนอื และทวีป ประเด็นปัญหาจากปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่าง อเมริกาใต้ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์ท่ีเกดิ ขน้ึ ใน ๔. วิเคราะหแ์ นวทางการจดั การภัยพิบัตแิ ละ ทวีปอเมริกาเหนอื และทวปี อเมริกาใต้ การจัดการทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อมในทวีป แนวทางการจดั การภัยพบิ ัติและการจัดการ อเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใตท้ ยี่ ่ังยืน ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ ๕. ระบคุ วามร่วมมอื ระหว่างประเทศท่ีมีผลตอ่ และทวีปอเมริกาใตท้ ่ียัง่ ยืน การจัดการทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม เปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ั่งยืนของโลก ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศท่ีมีผลต่อการ จดั การทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อม หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สว่ นท่ี ๓ โครงสร้างหลักสูตรกล่มุ สาระและคาอธิบายรายวชิ า หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๘๙ โครงสร้างหลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถงึ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ รายวิชาพืน้ ฐาน สงั คมศึกษาฯ ๑ ๔๐ ชว่ั โมง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ประวตั ิศาสตร์ ๑ ๔๐ ชัว่ โมง ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๒ ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๒ ๔๐ ช่ัวโมง ๑ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒ สังคมศึกษาฯ ๓ ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ส ๑๒๑๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๓ ๔๐ ชว่ั โมง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ส ๑๒๑๐๒ สังคมศึกษาฯ ๔ ๘๐ ชว่ั โมง ๒ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ ประวัตศิ าสตร์ ๔ ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ส ๑๓๑๐๑ ส ๑๓๑๐๒ สงั คมศึกษาฯ ๕ ๘๐ ชว่ั โมง ๒ ช่วั โมง/สปั ดาห์ ประวตั ิศาสตร์ ๕ ๔๐ ชว่ั โมง ๑ ช่วั โมง/สัปดาห์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๖ ๘๐ ชั่วโมง ๒ ชัว่ โมง/สัปดาห์ ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๖ ๔๐ ชัว่ โมง ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ สังคมศึกษาฯ ๑ ๖๐ ชว่ั โมง ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ส ๑๕๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ๒๐ ชว่ั โมง ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ส ๑๕๑๐๒ สงั คมศึกษาฯ ๒ ๖๐ ชั่วโมง ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ประวัติศาสตร์ ๒ ๒๐ ชว่ั โมง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ส ๑๖๑๐๑ ส ๑๖๑๐๒ สงั คมศึกษาฯ ๓ ๖๐ ช่ัวโมง ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ประวัตศิ าสตร์ ๓ ๒๐ ชั่วโมง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ส ๒๑๑๐๑ ส ๒๑๑๐๒ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ส ๒๒๑๐๑ ส ๒๒๑๐๒ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ส ๒๓๑๐๑ ส ๒๓๑๐๒ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๙๐ รายวิชาเพ่ิมเตมิ การปอ้ งกันการทจุ ริต ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ การป้องกนั การทุจรติ ๔๐ ชว่ั โมง ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ส ๑๑๒๐๑ การป้องกันการทุจรติ ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ส ๑๒๒๐๑ การปอ้ งกันการทจุ ริต ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชัว่ โมง/สัปดาห์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ การปอ้ งกนั การทุจริต ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ส ๑๓๒๐๑ การป้องกนั การทจุ ริต ๔๐ ช่ัวโมง ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ ส ๑๔๒๐๑ การปอ้ งกันการทจุ ริต ๒๐ ชวั่ โมง ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ การป้องกันการทุจรติ ๒๐ ชว่ั โมง ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ ส ๑๕๒๐๑ การปอ้ งกันการทุจรติ ๒๐ ชั่วโมง ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ การป้องกันการทุจรติ ๒๐ ชว่ั โมง ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ส ๑๖๒๐๑ การป้องกันการทุจรติ ๒๐ ชั่วโมง ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ การป้องกันการทจุ รติ ๒๐ ช่ัวโมง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ส ๒๑๒๐๑ ส ๒๑๒๐๒ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ส ๒๒๒๐๑ ส ๒๒๒๐๒ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ส ๒๓๒๐๑ ส ๒๓๒๐๒ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๙๑ คาอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๙๒ คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน (สังคมศกึ ษาฯ) ส ๑๑๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๑ กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ ช่วั โมง คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาค้นคว้า การรวบรวมข้อมูล อภิปรายประวัติของศาสดาท่ีตนนับถือ การดาเนินชีวิตและข้อคิด จากประวัติสาวก ชาดก/เร่ืองเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง ความสาคัญและหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เห็นคุณค่าขอการปฏิบัติตามหลักธรรม การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ การบาเพ็ญ ประโยชน์ต่อศาสนสถานของศาสนาท่ตี นนับถือ การแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนา ทต่ี นนับถือและศาสนา ของประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียน การปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสาคัญทางศาสนา ฝึก ปฏิบัติการบริหารจิต การเจริญปัญญาเบื้องต้น คุณลักษณะของการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย มี ความรับผิดชอบ ความซ่ือสัตย์ความกล้าหาญ ความเสียสละ การเคารพสิทธิ เสรีภาพ และหน้าท่ีของตนเอง และผู้อื่น วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น การดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ประโยชน์ของรายรับ- รายจ่าย ต้นทุน ผลประโยชน์ที่ได้รับทรัพยากรในท้องถิ่น ระบบเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพของครอบครัวและ ชุมชน การซ้ือขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการในชีวิตประจาวัน ส่ิงแวดล้อมรอบตัวโรงเรียนและชุมชนที่ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้างขึ้น ตาแหน่งทิศทางของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว การเขียนแผนผังแสดง ตาแหน่งของส่ิงต่าง ๆ ในห้องเรียน สภาพอากาศในรอบวัน ส่ิงแวดล้อมตามธรรมชาติกับการดาเนินชีวิตของ ตนเอง ครอบครัว และชุมชน การพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน ผลเสียการทาลายส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติ การ ดูแลอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมทีบ่ ้านและโรงเรยี น โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้น กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ แก้ปัญหา และกระบวนการพัฒนาค่านิยม ผ่านสถานการณ์จริง รวมทั้งใช้วิธีการสืบสอบหรือวิธีสอนแบบ โครงงาน (กระบวนการเรียนรู้ ๕ ข้ันตอน ๕ STEPs) การต้ังคาถาม การแสวงหาสารสนเทศ การสร้างความรู้ การสื่อสาร และการตอบแทนสังคม นาการเรียนรู้ไปรว่ มสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์ โดยบูรณาการกับสภาพ ภูมิสังคม เพื่อมุ่งสร้างพื้นฐานผู้เรียน ๔ ด้าน ได้แก่ มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตที่ม่ันคง-มี คุณธรรม มีงานทา-มีอาชีพ และเป็นพลเมืองดี ร่วมกับหลักสูตรต้านทุจริต การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG/จิตพอเพียงต่อต้านการ ทจุ ริต รู้หนา้ ท่ขี องพลเมอื งและรับผดิ ชอบตอ่ สังคมในการต่อตา้ นการทจุ รติ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ผูกพันตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รกั ความเปน็ ไทย เหน็ คณุ ค่าของวัฒนธรรม ไทย ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะ ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการป้องกัน การทุจริต ตลอดจนสามารถนาความรู้ ทักษะ/กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน การทางาน และอยู่ ร่วมกนั ในสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม ทนั กับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๙๓ มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด ส ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ ส ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ ส ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ส ๒.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ ส ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ ส ๓.๒ ป.๑/๑ ส ๕.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ ส ๕.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ รวม ๘ มาตรฐาน ๒๔ ตวั ชวี้ ัด หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๙๔ คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน (สงั คมศึกษาฯ) ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาค้นคว้า การรวบรวมข้อมูล อภิปรายความสาคัญศาสนา ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ การดาเนิน ชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เร่ืองเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง ความสาคัญของการปฏิบัติตาม หลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ ช่ืนชมการทาความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียน เห็น คุณค่าของการปฏิบัติธรรม พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ บอกช่ือศาสนา ศาสดา และ ความสาคญั ของคัมภรี ข์ องศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอื่น ๆของประเทศสมาคมอาเซยี น การปฏิบัติตนอยา่ ง เหมาะสมต่อสาวกของศาสนาที่ตนนับถือ และศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสาคัญทางศาสนา เข้าใจเห็นคุณค่า และปฏิบัติเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในฐานะสมาชิกท่ีดีของโรงเรียนและชุมชนท่ีอยู่อาศัย ปฏิบัติ ตามบทบาทสิทธิเสรีภาพหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น ยอมรับความเป็นอยู่ในครอบครัวและดารงชีวิตตามสิทธิ ของตนเอง ปฏิบตั ิตามกติการะเบยี บของชุมชน เคารพความคิดความเชื่อของบคุ คลอ่ืน รู้และเข้าใจโครงสร้าง การบริหารตามกระบวนการประชาธิปไตยในระดบั หมู่บา้ น บทบาทผนู้ าทอ้ งถิน่ มสี ่วนรว่ มปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตาม หลักประชาธิปไตย เคารพ กฎ กติกา ตามหลักรัฐธรรมนูญ เข้าใจการกระจายได้ รายรับ รายจ่ายของ ครอบครัว มีส่วนร่วมในการผลิตการบริโภคอย่างมีคุณค่าและคุณธรรม เข้าใจการใช้ทรัพยากรธรรมชาติแบบ เศรษฐกิจพอเพียง นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รู้และเข้าใจความหมายของการซ้ือขาย การแลกเปล่ียนสินค้า สิ่งแวดลอ้ มท่ีพบเห็นระหว่างบ้านและโรงเรียน ความสาคัญของส่ิงแวดล้อมตามธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้างขึ้น องค์ประกอบของแผนผัง แผนที่ ตาแหน่ง ระยะทิศทาง และลักษณะทางกายภาพของส่ิงต่าง ๆ ที่ปรากฏใน แผนผัง แผนที่ รูปถา่ ยและลกู โลก ปรากฏการณ์สรุ ยิ ปุ ราคาและจนั ทรปุ ราคา การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติอย่างรู้ รู้คณุ ค่า ฤดูกาลกับวิถชี วี ติ ของคนในชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ การมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้น กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ แก้ปัญหา และกระบวนการพัฒนาค่านิยม ผ่านสถานการณ์จริง รวมทั้งใช้วิธีการสืบสอบหรือวิธีสอนแบบ โครงงาน (กระบวนการเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน ๕ STEPs) การตั้งคาถาม การแสวงหาสารสนเทศ การสร้างความรู้ การสื่อสาร และการตอบแทนสังคม นาการเรียนรู้ไปร่วมสรา้ งผลงานอย่างสร้างสรรค์ โดยบูรณาการกับสภาพ ภูมิสังคม เพ่ือมุ่งสร้างพื้นฐานผู้เรียน ๔ ด้าน ได้แก่ มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตที่ม่ันคง-มี คุณธรรม มีงานทา-มีอาชีพ และเป็นพลเมืองดี ร่วมกับหลักสูตรต้านทุจริต การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG/จิตพอเพียงต่อต้านการ ทุจรติ ร้หู น้าทีข่ องพลเมืองและรบั ผิดชอบต่อสงั คมในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ผกู พันต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รักความเปน็ ไทย เห็นคุณคา่ ของวัฒนธรรม ไทย ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะ ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการป้องกัน การทุจริต ตลอดจนสามารถนาความรู้ ทักษะ/กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน การทางาน และอยู่ ร่วมกนั ในสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม ทันกบั การเปลยี่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๙๕ ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗ ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ รวม ๘ มาตรฐาน ๒๘ ตวั ช้ีวัด หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๙๖ คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน (สงั คมศึกษาฯ) ส ๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๔๐ ช่วั โมง คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล อภิปราย แสดงความคิดเห็น สรุปความสาคัญความสาคัญของศาสนาท่ี ตนนบั ถือ ในฐานะทเ่ี ป็นรากฐานสาคัญของวฒั นธรรมไทย ประวตั ิของศาสดาที่ตนนบั ถือ การดาเนนิ ชีวิตและ ข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง คัมภีร์ของศาสนาท่ีตนนับถือ หลักธรรมของ ศาสนาท่ตี นนบั ถอื เห็นคุณคา่ ของการสวดมนต์ การพฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถือ การปฏิบัติ ตนไดอ้ ย่างเหมาะสมตอ่ ศาสนสถาน ศาสนวตั ถุ ศาสนพธิ ีพิธีกรรม และวันสาคญั ทางศาสนา และการแสดงตน เป็นศาสนกิ ชนของศาสนาที่ตนนบั ถือ การเป็นพลเมืองดใี นสังคมประชาธิปไตย เคารพสทิ ธิ เสรีภาพของตนเอง และผู้อ่ืน การขัดเกลาของสงั คม ค่านิยม ความเช่อื ประเพณี การอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาของท้องถิ่น การปฏิบัติตนตามวิถีชีวิตของบุคคลที่มีผลงานที่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมในท้องถ่ิน มีส่วนร่วมประเพณี วัฒนธรรม ต่อโรงเรียน ครอบครัว ท้องถ่ิน และปฏิบัติตามกฎหมายรัฐธรรมนูญสูงสุดของประเทศ รายรับ– รายจ่ายของครอบครัวตนเอง ผลประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับการตัดสินใจเลือกอย่างเหมาะสม ระบบเศรษฐกิจ พอเพียง อาชีพในชุมชนการแลกเปล่ียน สินค้าและบริการ ความสาคัญของธนาคาร ภาษีท่ีเกี่ยวข้องใน ชีวิตประจาวัน การสารวจข้อมูลทางภูมิศาสตร์ตาแหน่ง ระยะ ทิศทาง ในโรงเรียนและชุมชนโดยใช้แผนผัง และแผนที่ การวาดภาพแผนผังแสดงตาแหน่งท่ีตั้งของสถานท่ีสาคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน การ เปล่ียนแปลงของสิ่งแวดล้อมของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน การใช้ประโยชน์ของส่ิงแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในการดาเนินชีวิต การประกอบอาชีพของมนุษย์ และมลพิษที่เกิดขึ้น ความแตกต่างของ สงิ่ แวดล้อมในเมืองและชนบท ความสัมพันธ์ทางกายภาพในการดาเนนิ ชวี ิตของคนในชมุ ชน และการมีส่วนรว่ ม ในการจดั การสิ่งแวดลอ้ มในชมุ ชน โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้น กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ แก้ปัญหา และกระบวนการพัฒนาค่านิยม ผ่านสถานการณ์จริง รวมท้ังใช้วิธีการสืบสอบหรือวิธีสอนแบบ โครงงาน (กระบวนการเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน ๕ STEPs) การต้ังคาถาม การแสวงหาสารสนเทศ การสร้างความรู้ การสื่อสาร และการตอบแทนสังคม นาการเรียนรู้ไปร่วมสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์ โดยบูรณาการกับสภาพ ภูมิสังคม เพ่ือมุ่งสร้างพ้ืนฐานผู้เรียน ๔ ด้าน ได้แก่ มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตท่ีมั่นคง-มี คุณธรรม มีงานทา-มีอาชีพ และเป็นพลเมืองดี ร่วมกับหลักสูตรต้านทุจริต การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG/จิตพอเพียงต่อต้านการ ทุจรติ รู้หนา้ ท่ขี องพลเมอื งและรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมในการต่อตา้ นการทุจรติ เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ผกู พนั ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รกั ความเปน็ ไทย เหน็ คณุ คา่ ของวัฒนธรรม ไทย ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะ ตระหนักและเห็นความสาคัญของการต่อต้านและการป้องกัน การทุจริต ตลอดจนสามารถนาความรู้ ทักษะ/กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน การทางาน และอยู่ รว่ มกนั ในสงั คมได้อย่างเหมาะสม ทนั กับการเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251