ภาคผนวก ข. การสังเคราะหข์ อ้ ค้นพบจาก 4 โครงการวจิ ยั ยอ่ ย ภารกิจส�ำคัญของชุดโครงการวิจัย “การดูแลครอบครัวเปราะบางในสถานการณ์การ เปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรและสงั คมไทย” คอื การเชอื่ มโยง และสงั เคราะหข์ อ้ คน้ พบจาก โครงการย่อยท้งั 4 โครงการวจิ ัยยอ่ ย โดยมจี ุดเชือ่ มโยงอยู่ท่ี “การดูแลครอบครัว” โดยกลไก ตา่ งๆ ตง้ั แตก่ ลไกภายในครอบครวั อนั ไดแ้ กส่ มาชกิ ครอบครวั กลไกชมุ ชนทแี่ วดลอ้ มครวั เรอื น กลไกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลไกนโยบายภาครัฐ กลไกบทบาทของเอกชน และกลไก ภาคประชาสังคม โดยเฉพาะการดำ� เนนิ กิจการเพอ่ื สงั คม รูปท่ี 1 แสดงใหเ้ ห็นถงึ หน่วยสงั คม (Social units) ตา่ งๆ ท่แี วดล้อมครอบครัวอนั เปน็ หน่วยยอ่ ยทสี่ ุดของสังคม ซง่ึ ประกอบดว้ ยสมาชกิ ครอบครัวในความหมายแคบทีส่ ดุ ประกอบ ดว้ ย พ่อ แม่ ลูก ปู่ยา่ ตายาย (ผ้สู ูงอายุในครอบครวั ) หนว่ ยสังคมท่อี ย่ใู กล้ชดิ กับครอบครัว ท่สี ดุ คือ ชมุ ชน ซงึ่ อาจหมายถงึ ชุมชนอย่างไมเ่ ปน็ ทางการในละแวกใกลเ้ คยี งกบั ท่ที ี่ครอบครัว ต้ังอยู่ และภาคเอกชนต่างๆ ทอ่ี ยู่ในพนื้ ทีแ่ ละส่วนทอ่ี ยู่ช้ันนอกสุด คือหน่วยงานภาครัฐ ทั้งที่ อยู่ภายในท้องถ่ิน และที่ก�ำหนดและก�ำกับนโยบาย ระดับมหภาค ในแผนภาพนี้แสดงให้ว่า โครงการย่อยทั้ง 4 มุ่งประเด็นการวิจัยไปยังแต่ละหน่วยสังคมอย่างครบถ้วน ท�ำให้เห็นภาพ รวมขององค์ประกอบตา่ งๆ ทส่ี ามารถชว่ ยบรรเทาความเปราะบางของครอบครัวไทย ไดแ้ ก่ โครงการวิจยั ยอ่ ยท่ี 1 มุง่ ประเด็นไปทหี่ น่วยครอบครวั โดยเฉพาะพอ่ แม่วยั ท�ำงานที่เริ่ม มีบุตร โครงการวิจยั ยอ่ ยท่ี 2 ม่งุ ประเด็นไปท่ีผ้สู งู อายุ และบทบาทของสมาชกิ คนื อืน่ ๆ ของ ครอบครวั ในการช่วยกนั ดแู ลผู้สูงอายุ 85ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
กำหนดคำคน้ จากฐานขอ้ มลู (Scopus, Jstore, Sege และวรรณกรรมในประเทศไทย) ท่ีเกี่ยวกับครอบครัว, รูปแบบการอยอู่ าศยั , ความเปราะบาง ฯลฯ คัดกโรคอรงงบกทาครววามจิ วัยจิ ยัย่อยที่ 3 มงุ่ ประเดน็ ไปท่ีกลไก และบทบาทขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ ง ถ่ิน ซง่ึ เปน็ องค์กรภาครัฐทอ่ี ยูใ่ กลช้ ดิ เชิงพ้นื ทก่ี ับครอบครวั วเิ คทรโาี่เคกะหร่ยี ์เงวนกกอื้ บัาหวราตับวถทิจุปคัยรวยะาส่อมงยวคจิทก์ัย่ี ใานร4ปวิจรมยัะเุ่ดงป็นระเด็นไปท่ี การร่วมเมืองกันของภาคเอกชน ภาคประชา สงั คม และองคก์ รภาครฐั ทง้ั ทอ่ี ยใู่ นทอ้ งถนิ่ และองคก์ รภาครฐั ระดบั ประเทศทำ� งานรว่ มกนั ใน ลักษสกังณาเรคะวรจิบายั ะรู เหณอเ์ กนาสื้อกาหราาร ดข้วอ้ ยควนิจ้นัยวพยัตบ่อกโคยรรทรงี่ ม1กเาชริงสขังอ้ คควมิจน้ ยัรพปูยบอ่ แโยคบทรบงี่ 2ตกา่ารงๆขอ้ ควิจน้ ยั พยบอ่ โยคทรงี่ 3การ ขอ้ ค้นพบโครงการ วจิ ัยย่อยท่ี 4 การสังเคราะหข์ อ้ ค้นพบจากทั้ง 4 โครงการย่อย จะทำ� ใหเ้ ห็นบทบาทของหนว่ ยสงั คม ตา่ งๆ ทแี่ วดลอ้ มครอบครวั ไปพรอ้ มๆ กนั เกดิ เปน็ ภาพทค่ี รบถว้ นและเปน็ องคร์ วม (Holistic) โดยเฉพาะเมื่อน�ำข้อค้นพบแจลาสะกขงั ้อแเคคตรน้ ่ลาพะะหบโ์รจความรกงเโนคกื้อราหงรากยจาา่อรกยยก่อมายราทวปิจั้งรยั 4ะเอชโคกุมรสงารกแาลระอภิปรายร่วมกัน ทั้งนี้การ สังเคราะห์จะท�ำทั้งในเชิงคุณลักษณะ (Qualitative synthesis) และสังเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative synthesis) ครัวเรือน ผู้สงู อายุ โครงการย่อยท่ี 2 ผสู้ งู อายุ “การดแู ลผูส้ งู อายุ ในรปู แบบการอยูอ่ าศยั ท่ีอยู่ ท่ีหลากหลายในสงั คมไทย” ตามลำพัง โครงการย่อยที่ 4 ครวั เรอื น ครวั เรือน “ระบบสนบั สนนุ ภาคเอกชน ขา้ มรุน่ ผู้สูงอายแุ บบบูรณาการ: การมีสว่ นรว่ ม ชุมชน และ เด็ก โครงการย่อยที่ 1 ของภาคเอกชนและ “การปรับวถิ ี กจิ กรรมเพอ่ื สังคม พอ่ แม่ การทำงานของ (Social enterprise)” วัยทำงาน ครอบครวั เมอ่ื มีบตุ ร” หน่วยงานภาครัฐ โครงการยอ่ ยที่ 3 “กลไกขององค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในการดูแล ครัวเรอื นเปราะบาง” รูปท่ี 1: หน่วยสังคม (Social units) ตา่ งๆ ท่เี ก่ียวข้องกับชดุ โครงการวิจัยและโครงการวิจยั ยอ่ ย ท้ัง 4 โครงการ ท่ีมา: รายงานชดุ โครงการวิจัยการดแู ลครอบครัวเปราะบางในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ประชากรและสงั คมไทย (สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ัย, 2561) 86 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ภาพววิ ัฒนาการของครอบครวั ไทยอดตี ถึงปจั จุบนั สะท้อนใหเ้ ห็นวา่ “ครอบครวั ” และ “ครัวเรือน” ไทยไม่ว่าจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร บทบาทและหน้าท่ีส�ำคัญในการดูแลสมาชิก ในบ้านใหเ้ ปน็ สมาชิกท่ดี มี ีคณุ ภาพ ก็ยังคงเหมือนเดิม ได้แก่ การดูแลด้านพฒั นาการรา่ งกาย อารมณ์-จติ ใจ เศรษฐกจิ -สังคม วฒั นธรรม-ประเพณฯี แตโ่ ครงสรา้ งครอบครัวและโครงสรา้ ง ประชากรที่เปล่ียนแปลงไป ท�ำให้ครอบครัวจ�ำนวนหนึ่งไม่สามารถท�ำบทหน้าท่ีในการอบรม เล้ยี งดูเด็ก เยาวชน ผสู้ ูงอายุ และสมาชกิ อ่ืนในครอบครัวได้อยา่ งเตม็ ท่ี เกดิ เป็นข้อจ�ำกัดของ สถานการณ์ครอบครวั ไทยในปจั จุบนั อาทิ ครอบครวั เดย่ี ว แบบทเ่ี ป็นครอบครวั พ่อ-แม่เลีย้ ง เดย่ี ว ครวั เรอื นทอ่ี ยคู่ นเดยี ว โดยเฉพาะครวั เรอื นทเ่ี ปน็ ผสู้ งู อายอุ ยคู่ นเดยี ว หรอื อยกู่ บั ผสู้ งู อายุ ด้วยกัน และครัวเรือนข้ามรุน่ ทมี่ ผี ู้สงู อายุอยูก่ บั เดก็ โดยเฉพาะทเ่ี ปน็ ผสู้ ูงอายุวยั ปลายกับเดก็ ที่ อายตุ ำ�่ กวา่ 15 ปี ครอบครัวไทยด้ังเดิมที่เคยเป็นครอบครัวขยาย และเคยได้รับการสนับสนุนจากสมาชิก ครอบครัวรุ่นก่อน เช่น ปู่-ย่า/ตา-ยาย ท่ีช่วยปลูกฝัง สืบทอดค่านิยมและหลักในการด�ำเนิน ชีวิต รวมท้ังการช่วยเลี้ยงดูหลานในเวลาท่ีพ่อ-แม่ไปท�ำงาน และหลานที่เติบโตข้ึนช่วยดูแลผู้ สงู อายทุ ช่ี ว่ ยเหลอื ตวั เองไมไ่ ด้ กลายเปน็ ตอ้ งใชก้ ารจา้ งแรงงานทไ่ี มใ่ ชญ่ าตพิ นี่ อ้ งมาเปน็ ผดู้ แู ล ซึง่ นบั วนั จะมรี าคาสูงขนึ้ รวมไปถึงการต้องพ่งึ สถานรับเลยี้ งเด็ก สถานสงเคราะห์ฯ แสดงให้ เหน็ วา่ การพฒั นาครอบครวั ไทยในระยะทผี่ า่ นมา แมว้ า่ จะทำ� ใหค้ รอบครวั ไทยมรี ายได้ และเขา้ ถึงทรัพยากรและบริการมากข้ึน แต่กลับมีความอบอุ่นน้อยลง โดยข้อมูลจากโครงการย่อยทั้ง 4 โครงการวิจัยยอ่ ย สามารถสกดั ประเด็นยอ่ ยๆ ไดด้ งั ตาราง 4.1 การนำ� ขอ้ คน้ พบจากโครงการวิจัยยอ่ ยท้งั 4 โครงการ มาสังเคราะห์เพอ่ื หาจดุ เชื่อมต่อ ทำ� ให้สามารถฉายประเดน็ ส�ำคญั เก่ียวกับการ “ดูแล” และ “ประคับประคอง” ครอบครวั ไทย ไดเ้ ปน็ องคร์ วม (Hollistic) ครบถว้ นและชดั เจนขนึ้ ทง้ั ยงั ทำ� ใหเ้ หน็ ปญั ญาตา่ งๆ เกยี่ วกบั ความ สมั พนั ธ์ และการอดุ หนนุ เกอ้ื กลู กนั ระหวา่ งสมาชกิ ในครอบครวั แมม้ อิ าจกลา่ วไดว้ า่ จะสามารถ สกัดประเด็นต่างๆ ได้ครบถ้วนทุกซอกทุกมุม แต่ก็นับว่าได้ท�ำให้เห็นประเด็นใหม่ท่ีมีความ ส�ำคญั เพ่มิ เตมิ ขนึ้ 4 ประเด็นใหญ่ๆ ดังนี้ 4.1 ศักด์ิศรขี อง “แม่” และ “ผูส้ ูงอาย”ุ 4.2 ฐานข้อมูลสะท้อนความเปราะบาง 4.3 ความรว่ มมอื จากในบ้าน ออกไปขา้ งบ้าน ถงึ ตลาดหลกั ทรัพย์ 4.4 การสรา้ งเสรมิ ทนุ ทางสังคมในการดแู ลผสู้ ูงอายใุ นรปู แบบการอย่อู าศัยที่เปราะบาง 87ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ข้อมลู สำ� คญั ท่คี น้ พบจาก 4 โครงการยอ่ ย 88 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม โครงการ โครงการ “การดแู ลผูส้ ูงอายุ โครงการ “กลไกของชุมชน โครงการ “ระบบการสนบั สนุน ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง “การปรบั วถิ กี ารท�ำงาน ในครัวเรือนซึ่งมรี ูปแบบการอยู่อาศัย และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ผู้สูงอายแุ บบบรู ณาการ: ของครอบครัวเมือ่ มีบตุ ร” ในการดแู ลครวั เรอื นเปราะบาง: ท่ีหลากหลายในสงั คมไทย กรณีศึกษาครวั เรือนข้ามรนุ่ และ การมสี ว่ นรว่ มของภาคเอกชน เพอื่ ประเมนิ ความเขม้ แขง็ และ ครวั เรอื นท่ีผสู้ ูงอายุทอ่ี ย่คู นเดียว” และกิจการเพื่อสงั คม” ความต้องการสนบั สนนุ ครัวเรือน” 1. การเปล่ียนแปลงแนวคิด 1. สังคมปัจจุบันพ้นจากความเปราะ 1. ความเข้มข้นและเอาจริงเอาจังขอ 1. รัฐบาลได้จัดท�ำนโยบายที่จะ ดา้ นครอบครวั จากการมอง บางอย่างหน่ึง สู่อีกอย่างหนึ่ง ทุก งอปท ในการดแู ลผู้สูงอายุ สะทอ้ น รองรบั การเขา้ สสู่ งั คมผอู้ ายอุ ยา่ ง บนฐานชายเป็นใหญ่ใน ยคุ สมัยมีความเปราะบาง ได้จาก ชดั เจน ครอบครัว หรือชายผู้หา 2. ในยุคปัจจุบันรูปแบบการอยู่อาศัย - ในปจั จบุ นั นยิ ามครวั เรอื นเปราะบาง แต่การพัฒนาประเทศท่ีผ่านมา เล้ียงครอบครัวเป็นหลัก สู่ ไม่ได้เป็นสาเหตุของความเปราะ มีความส�ำคัญอย่างมาก เนื่องจาก แม้ว่าจะท�ำให้ครอบครัวไทยมี ฐานคดิ หญงิ -ชายเปน็ ผสู้ รา้ ง บาง แตส่ ามารถนำ� ไปสคู่ วามเปราะ เช่อื มโยงกับสทิ ธปิ ระโยชน์ต่างๆ ที่ รายได้ และเขา้ ถงึ ทรพั ยากรและ รายได้ให้ครอบครัวร่วมกัน บางได้เมื่อมีสภาวะอ่ืนแทรกแซง ผู้สูงอายุในครัวเรือนเปราะบางพึง บริการมากขึ้น แต่กลับมีความ ทำ� ใหผ้ หู้ ญงิ ในครอบครวั คน เช่น ผู้สูงอายุอยู่ด้วยกัน ไม่ว่าจะ ได้รับจากหนว่ ยงานภาครฐั อบอุ่นน้อยลง สมาชิกครอบครัว รุ่นใหม่เกิดความขัดแย้ง เปน็ กบั คสู่ มรส, พ-ี่ นอ้ ง หรอื พอ่ แม่ - แต่นิยามครัวเรือนเปราะบางของ มคี วามหา่ งเหนิ กนั มากขนึ้ เพราะ ระหวา่ งการท�ำงาน กับการ ซ่ึงเป็นผู้สงู อายุดูแลกันเอง มคี วาม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน กับ ขาดการปฏิสัมพันธ์กันแบบการ เลยี้ งดลู กู ซง่ึ เปน็ สาเหตขุ อง เส่ียงต่อการไม่มีผู้ดูแล หรือได้รับ นิยามครัวเรือนเปราะบางท่ีเกิดขึ้น พบหนา้ คา่ ตากนั ความเปราะบาง การดูแลทไ่ี มถ่ ูกตอ้ ง จรงิ ในพน้ื ที่ ยงั มคี วามขดั แยง้ กนั อยู่ - ภายใต้รูปแบบการอยู่อาศัยท่ี - สงิ่ ทหี่ ายไปในยคุ นค้ี อื เวลารว่ มและ ในตัวเอง หลากหลาย เกดิ ชอ่ งวา่ งของการ พ้ืนท่ีร่วม เพราะย้ายถิ่นไปท�ำงาน - อปท มุ่งฉายภาพของครัวเรือนที่มี ด� ำ เ นิ น ก า ร ดู แ ล ค ร อ บ ค รั ว ซงึ่ สะทอ้ นว่า ครอบครัวนา่ จะมเี งนิ ความเสย่ี งในการดำ� รงชวี ติ ทงั้ ในแง่ เนือ่ งจากการด�ำเนนิ การโดยภาค มากขึน้ แตก่ ารสมั ผสั ใกลช้ ดิ ไม่มี เศรษฐกจิ สขุ ภาพ ร่างกาย ตลอด รฐั แตเ่ พยี งหนว่ ยงานเดยี วอาจสง่ - ครวั เรอื นผสู้ งู อายุ 4 แบบ ไมไ่ ดเ้ ปน็ จนการไร้ท่ีพกั พิง เปน็ สำ� คญั จาก ผลกระทบต่อระบบการเงินและ สาเหตุท่ีท�ำให้เปราะบางเสมอไป นนั้ จงึ จะมาพจิ ารณาถงึ ครวั เรอื นทมี่ ี การคลงั ของประเทศ แต่ที่เปราะบางเพราะการช่วยเหลือ ผู้สูงอายุท่ีอยู่คนเดียวท่ีไม่สามารถ จุนเจือกันทำ� ได้ยากกวา่ ในอดีต ดแู ลตนเองได้เป็นลำ� ดับถัดไป
โครงการ โครงการ “การดแู ลผูส้ งู อายุ โครงการ “กลไกของชุมชน โครงการ “ระบบการสนับสนุน “การปรบั วิถกี ารท�ำงาน ในครัวเรอื นซึ่งมีรปู แบบการอยอู่ าศยั และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ผ้สู ูงอายแุ บบบูรณาการ: ของครอบครัวเม่อื มีบุตร” ในการดแู ลครัวเรอื นเปราะบาง: ทหี่ ลากหลายในสังคมไทย กรณีศึกษาครวั เรือนขา้ มรุ่น และ การมีส่วนรว่ มของภาคเอกชน เพือ่ ประเมนิ ความเขม้ แขง็ และ ครัวเรอื นที่ผู้สูงอายุทอ่ี ยู่คนเดียว” และกิจการเพ่ือสงั คม” ความตอ้ งการสนบั สนุนครัวเรอื น” 2. ผู้หญิงต้องเผชิญกับการ 2. ครวั เรอื นทมี่ ผี สู้ งู อายทุ อ่ี ยตู่ ามลำ� พงั 2. การด�ำเนินนโยบายที่ขัดแย้งกับ 2. บทเรยี นจากหลายประเทศทเ่ี ขา้ สู่ ตัดสินใจเลือกระหว่าง คนเดียว ไม่ได้เปราะบางเสมอไป บรบิ ทในพนื้ ทจี่ รงิ จะทำ� ใหผ้ สู้ งู อายุ สังคมสูงอายุมาก่อน ท�ำให้ ศักดิ์ศรีจากการท�ำงาน หากมลี กู -หลาน-เครอื ญาตอิ าศยั อยู่ ในพื้นท่ีจริงตกขอบนิยามของการ ประเทศไทยต้องน�ำแนวทางมา พึ่งพาตนเอง กับการเป็น ในบริเวณ/พื้นท่ีใกล้เคียงกัน ใน ช่วยเหลือ หรืออาจกล่าวได้ว่านโย ปรับใช้ให้สอดคล้องกับสภาพ “แมเ่ ต็มเวลา”มาเลยี้ งดลู กู หมู่บ้านเดียวกันหรือต�ำบลเดียวกัน บายสังคมไม่ตอบสนองความ สังคม แนวทางหนึ่งท่ีน่าจะเกิด การลาออกจากงานเป็นการ เน่ืองจากจะได้รับการดูแล โดย ตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมายทแี่ ทจ้ รงิ ขน้ึ ไดจ้ รงิ ได้แก่ การด�ำเนนิ การ ครอบครวั “เปราะบาง” 89เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ลดคุณค่าในเชิงเศรษฐกิจ เฉพาะในเรอื่ งการจดั อาหารและการ โ ด ย ส ่ ง เ ส ริ ม แ น ว ท า ง ภ า คี ของผู้หญิง กระทบต่อ ดูแลเมือ่ เจบ็ ปว่ ย แตท่ ่ีน่าเปน็ กงั วล สวัสดิการสังคม โดยให้ทุกภาค ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง ศักดิ์ศรีของตนเอง เพราะ คือ ครัวเรือนท่ีมีผู้สูงอายุท่ีอยู่ตาม ส่วนในสังคมเข้ามามีส่วนร่วม ต้องขอเงินสามีใช้ ล�ำพังคนเดียว แม้ว่าส่วนใหญ่ และมบี ทบาทในการจดั หาบรกิ าร สามารถท�ำกิจวัตรประจ�ำวันได้เอง ในรูปแบบการ บูรณาการดูแล แต่ไม่มีลูก-หลาน-ญาติในหมู่บ้าน โดยการมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจ เดยี วกนั /ตำ� บลเดยี วกนั /อยหู่ า่ งไกล เอกชนและกจิ การเพอ่ื สงั คม เพอื่ จะมคี วามเปราะบางตอ่ การไมไ่ ดร้ บั สนบั สนนุ และใหก้ ารดแู ลผสู้ งู อายุ การดูแลในด้านต่างๆ โดยเฉพาะ ในสังคมอย่างเป็นองคร์ วม การดแู ลในวาระสดุ ทา้ ยของชวี ติ ซง่ึ เป็นส่ิงท่ีผู้สูงอายุอยู่ตามล�ำพังห่าง ไกลจาก ลูกหลาน-ญาติ-พ่ีน้อง กลวั อยใู่ นใจเสมอวา่ “ไมอ่ ยากตาย คนเดยี ว” หรือ “ตายโดดเดย่ี ว”
90 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม โครงการ โครงการ “การดูแลผ้สู ูงอายุ โครงการ “กลไกของชุมชน โครงการ “ระบบการสนับสนุน ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง “การปรับวถิ กี ารท�ำงาน ในครวั เรอื นซ่ึงมีรปู แบบการอยอู่ าศัย และองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ผูส้ งู อายแุ บบบูรณาการ: ของครอบครัวเมื่อมบี ุตร” ในการดูแลครัวเรือนเปราะบาง: ที่หลากหลายในสังคมไทย กรณศี กึ ษาครัวเรือนข้ามรุ่น และ การมีส่วนรว่ มของภาคเอกชน เพอ่ื ประเมนิ ความเขม้ แข็งและ ครัวเรือนที่ผสู้ ูงอายทุ ่อี ย่คู นเดียว” และกิจการเพื่อสงั คม” ความต้องการสนับสนนุ ครวั เรอื น” 3. ความย้อนแย้งของศักด์ิศรีผู้ 3. ผู้สูงอายุที่อยู่ตามล�ำพังกับคู่สมรส 3. รูปแบบการอยู่อาศัยที่ไม่ตรงกับ 3. ระบบสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุ หญงิ ทต่ี อ้ งแกรง่ หาเลยี้ งตวั เท่าน้ัน สามารถดูแลกันและกันได้ นิยาม เช่น กลางวันอยู่คนเดียว แบบบรู ณาการ เป็นการเชอ่ื มตอ่ เองได้ ไม่ด้อยกว่าชาย แต่ แตห่ ากครวั เรอื นใดมผี สู้ งู อายคุ นใด กลางคนื อยกู่ บั ลกู /หลาน หรอื กลาง ภาพการดแู ลครอบครวั ไทยตงั้ แต่ มีลูกได้ยากหรือลังเลที่จะมี คนหนึ่งเจ็บป่วย/ติดเตียงพิการ ผู้ วันอย่กู ับลกู /หลาน กลางคนื อยคู่ น “ในบ้าน” ออกไป “ข้างบ้าน” ลูก แล้วแก่มาไม่มีคนเล้ียง สูงอายุอีกคนจะต้องเป็นผู้ดูแลหลัก เดยี ว (ลกู หลานทำ� งานเขา้ กะ) หรอื จนถงึ ทอ้ งถน่ิ กลไกภาครฐั ภาค ซงึ่ สะท้อนว่ายคุ นี้ ลูกกเ็ ปน็ ซง่ึ นำ� ไปสคู่ วามเปราะบางซำ้� ซอ้ นยง่ิ การอยู่ในอาศัยในครัวเรือนข้ามรุ่น เอกชน ภาคประชาสังคม และ ภาระ ผู้สูงอายุก็เป็นภาระ ขน้ึ ซึ่งข้อมูลด้ังเดิมสะท้อนเพียงว่า “ตลาดหลักทรัพย์” เป็นการ ท�ำให้ผู้หญิงต้องแบกรับ สว่ นใหญค่ รวั เรอื นประเภทนม้ี คี วาม กระจายทรัพยากร เพ่ือให้การ ความเครยี ด และชะลอการ เปราะบางทางด้านเศรษฐกิจ แต่ คุ้มครองดูแลผู้สูงอายุให้มีความ มีลกู ข้อมูลใหม่จากโครงการสะท้อน เป็นอยู่ที่ดีไปตลอดวาระสุดท้าย - ศักดิ์ศรีของผู้หญิงจึงเป็น ความซับซ้อนและรุนแรงมากข้ึน ของชีวิต ทั้งในเร่ืองร่างกาย เรื่องที่อธิบายยากในสังคม หมายความว่าความเปราะบางทาง สงั คม สขุ ภาพ และ เศรษฐกจิ ไทย ด้านเศรษฐกิจก็ยังเป็นปัญหาอยู่ - ผู้ดูแล ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง ข ณ ะ ท่ี มี ป ั ญ ห า ใ ห ม ่ ท่ี ต ้ อ ง ร ่ ว ม ต้องท�ำหลายบทบาท อาทิ พิจารณาดว้ ย เช่น อายุหลาน-อายุ บ ท บ า ท เ ชิ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ผสู้ งู อายุ เนอื่ งจากอาจนำ� ไปสคู่ วาม บทบาทในการดูแลท้ังบุตร เปราะบางได้ และบพุ การี รวมทงั้ หลานไป พรอ้ มๆ กนั จงึ มคี วามยาก ลำ� บากมากขน้ึ
โครงการ โครงการ “การดแู ลผู้สงู อายุ โครงการ “กลไกของชุมชน โครงการ “ระบบการสนับสนุน “การปรับวถิ กี ารท�ำงาน ในครวั เรือนซ่ึงมรี ปู แบบการอยูอ่ าศยั และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ผสู้ งู อายแุ บบบูรณาการ: ของครอบครัวเมื่อมบี ตุ ร” ในการดูแลครัวเรอื นเปราะบาง: ที่หลากหลายในสังคมไทย กรณศี กึ ษาครัวเรอื นขา้ มรุ่น และ การมสี ว่ นร่วมของภาคเอกชน เพือ่ ประเมนิ ความเข้มแข็งและ ครวั เรือนทผี่ ้สู งู อายุทอ่ี ยู่คนเดียว” และกจิ การเพือ่ สังคม” ความต้องการสนบั สนุนครวั เรือน” 4. การมลี กู ทำ� ใหเ้ ปา้ หมายชวี ติ 4. ผสู้ งู อายเุ ลย้ี งหลาน ไมไ่ ดเ้ ปราะบาง 4. การจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู เกย่ี วกบั รปู แบบ 4. ขอ้ จำ� กดั ของผสู้ งู อายทุ ไ่ี มย่ า้ ยถน่ิ ของผ้หู ญิงเปลี่ยน ซึ่งส่งผล เสมอไป อย่างไรก็ตาม อาจจะ การอยู่อาศัยท่ีหลากหลายของผู้สูง อาจท�ำให้ SE ต้องเป็น com- ให้ผู้หญิงยคุ ปัจจบุ นั ตดั สนิ เปราะบางทางด้านเศรษฐกิจอย่าง อายุ มีความส�ำคัญที่จะช่วยท�ำให้ munity based ซึ่งแปลว่าต้อง ใจมลี กู นอ้ ยหรอื ลงั เลใจทจ่ี ะ มากได้ ถ้าหากเงินส่งกลับไม่เพียง มองเห็นภาพความจริงได้ใกล้เคียง มีผู้ประกอบการทางสังคมท่ีเป็น มีลูก พอและเกดิ เปน็ ภาระแกป่ ยู่ า่ ตายาย ความจริงมากท่ีสุด และน่าจะช่วย คนรุ่นใหม่ มีไอเดยี เข้าใจสงั คม ครอบครวั “เปราะบาง” 91เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม จนส่งผลกระทบต่อหลานที่ตนเอง ท�ำให้การก�ำหนดจังหวะก้าวเดินใน ผสู้ ูงอายุกลับบ้านไปทำ� เร่ืองนี้ เล้ียงไว้ ล�ำดับต่อไปของสังคมผู้สูงอายุให้มี - การสรา้ งผปู้ ระกอบการทางสงั คม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง ความแม่นยำ� มากย่ิงขึ้น ให้มีจ�ำนวนมากๆ อาจไปท�ำใน มหาวทิ ยาลัย ทก่ี ำ� ลังเรียนอยู่ ที่ เขา้ ใจปญั หาผสู้ งู อายุ เมอ่ื จบการ ศึกษา อยากท�ำธุรกิจด้วยและ อยากท�ำกิจการเพือ่ สังคมดว้ ย มี จติ สำ� นกึ รกั บา้ นเกดิ ดว้ ย ใหก้ ลบั มา พฒั นาและแกไ้ ขปญั หาสงั คม ผู้สูงอายใุ นบ้านเกดิ เพอื่ เป็นทาง เลือกหนึ่งในการแก้ปัญหาใน สังคมผู้สูงอายุในปัจจุบันและใน อนาคต
92 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม โครงการ โครงการ “การดแู ลผสู้ งู อายุ โครงการ “กลไกของชุมชน โครงการ “ระบบการสนับสนุน ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง “การปรบั วิถีการท�ำงาน ในครัวเรือนซึ่งมีรูปแบบการอยู่อาศัย และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ผสู้ งู อายแุ บบบรู ณาการ: ของครอบครัวเมือ่ มีบุตร” ในการดูแลครวั เรือนเปราะบาง: ท่ีหลากหลายในสังคมไทย กรณีศกึ ษาครัวเรือนข้ามร่นุ และ การมสี ว่ นร่วมของภาคเอกชน เพ่ือประเมินความเขม้ แขง็ และ ครัวเรือนท่ีผสู้ งู อายทุ ่ีอยู่คนเดยี ว” และกจิ การเพอ่ื สังคม” ความตอ้ งการสนับสนนุ ครวั เรอื น” 5. แม่ท่ีต้องดูแลลูก ควรจะมี 5. ศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุและการปรับ 5. ฐานขอ้ มูลประกอบดว้ ย 5. รัฐบาลท้องถ่ินสร้างผู้ประกอบ ทางเลือกหลายๆ ทางเลอื ก เปลย่ี นบทบาทของผสู้ งู อายุ เชน่ 1) เกณฑ์ในการจัดล�ำดับความ การทางสงั คม ใช้เงินจากรัฐบาล ท่ีลงตัวและเหมาะสมกับ - การท�ำงาน แหล่งรายได้ของผู้สูง เปราะบาง ซึ่งประกอบด้วยมิติ กลางส่วนหนึ่ง บริษัทใหญ่ส่วน แต่ละคน เพราะทุกวันน้ี อายุจากลูกลดลง ท�ำให้ผู้สูงอายุ รูปแบบการอยู่อาศัยท่ีหลาก หนง่ึ นกั ธรุ กจิ และกจิ การทอ้ งถนิ่ บทบาทในการท�ำงานของผู้ ตอ้ งทำ� งานพ่ึงตนเองมากขนึ้ หลาย มิติสุขภาพ มิติเวลา สว่ นหนง่ึ ความรว่ มมอื ในลกั ษณะ หญิงไม่ได้จ�ำกัดอยู่แค่ใน - ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ต้องต่อสู้เพื่อให้มี ระยะทางและระยะห่าง Ageing agency บา้ นอกี ต่อไป รายได้เพ่ือจะได้ไม่รบกวนลูกมาก 2) หนว่ ยงานเจา้ ภาพหลกั ในการจดั - ภาคสว่ นทที่ ำ� หนา้ ทรี่ ะดมทนุ เชน่ ดงั นนั้ “แม”่ ตอ้ งสรา้ งสมดลุ เกนิ ไป ท�ำฐานข้อมูล ตลาดหลกั ทรพั ย์ อาจตอ้ งรว่ มมอื อย่างดีท้ังในหน้าที่ภรรยา - ความยอ้ นแยง้ ของศกั ดศ์ิ รี ไมอ่ ยาก 3) ความถใ่ี นการส�ำรวจ กับรัฐบาลในการมีช่องทางการ แม่ และสะใภ้ เพ่ือการอยู่ พงึ่ ลูกแตไ่ มอ่ ยากตายตามลำ� พงั ระดมทุนพิเศษ ด้วยการสร้าง ร่วมชายคาอย่างมีศักด์ิศรี - ความแตกต่างระหว่างเมือง-ชนบท เง่ือนไขพิเศษเพ่ือจูงใจให้นัก ซึ่งเป็นความยากล�ำบากใน ในการดูแลผู้สูงอายุ สะท้อนเพื่อน ลงทุนแบ่งเงินลงทุนในการลงทุน การท�ำบทบาทหน้าที่ของผู้ บ้านคือคนสำ� คัญ ใ น กิ จ ก า ร ทั่ ว ไ ป ม า ล ง ทุ น ใ น หญิง กจิ การสงั คมบางสว่ น เชน่ การ จูงใจด้วยมาตรการภาษี การลด หย่อนอ่ืนๆ หรือเงื่อนไขต่างๆ เพ่ือให้เงินทุนไปถึงนักธุรกิจเพื่อ สังคมท่ปี รมิ าณทพ่ี อเพียง
ภาคผนวก ค. การน�ำเสนอผลการวจิ ยั ชุดโครงการวจิ ัย “การดแู ลครอบครัวเปราะบางในสถานการณ์การเปล่ยี นแปลง โครงสรา้ งประชากร และสังคมไทย” วันอังคารท่ี 18 กนั ยายน 2561 เวลา 08.30– 12.00 น. ณ ห้องบอลรูม 1 โรงแรมพลู แมน สขุ ุมวทิ 21 (อโศก) กรงุ เทพฯ 93ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
กำ� หนดการน�ำเสนอผลการวจิ ยั 8.30–9.00น. ลงทะเบียน 9.00–9.20น. กล่าวต้อนรับ: รองศาสตราจารย์ ดร.รศรินทร์ เกรย์ ผอู้ �ำนวยการสถาบันวจิ ยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลยั มหดิ ล กล่าวเปดิ การประชุม: รองศาสตราจารย์ ดร.เรณู สขุ ารมณ์ ผ้อู �ำนวยการฝา่ ย ฝ่ายชมุ ชนและสังคม ส�ำนักงานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ัย 9.20–9.50น. รายงานความเปน็ มาโครงการวิจัยการดแู ลครอบครัวเปราะบางใน สถานการณ์การเปลยี่ นแปลงโครงสร้างประชากรและสังคมไทย โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภเู บศร์ สมทุ รจกั ร หวั หนา้ ชดุ โครงการวจิ ยั ปาฐกถาพเิ ศษ “The Capstone Project” โดย Miss Emily Person หัวหน้าโครงการ The Capstone Project โรงเรียน International Community School 9.50–12.00น. น�ำเสนอผลงานชุดโครงการการดูแลครอบครวั เปราะบางฯ โครงการวจิ ยั การปรับวถิ ีการท�ำงานของครอบครวั เมอื่ มีบุตร: การศึกษาเชิงคุณภาพโดยใช้ข้อมูลสือ่ สังคมออนไลน์ โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนสิการ กาญจนะจติ รา โครงการวจิ ยั การดแู ลผสู้ งู อายใุ นครัวเรอื นซึ่งมรี ปู แบบการอยูอ่ าศยั ทหี่ ลากหลายในสังคมไทย เพือ่ ประเมนิ ความเขม้ แข็ง และความตอ้ งการสนบั สนนุ ของครวั เรือน โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิดา ชวนวนั โครงการวิจัยกลไกของชมุ ชนและองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ในการดูแล ครวั เรือนเปราะบางกรณีศกึ ษาครัวเรือนขา้ มร่นุ และครวั เรือนท่ีมีผสู้ ูงอายุ ท่อี ย่คู นเดยี ว โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยวัฒน์ เกตวุ งศา โครงการวิจยั ระบบสนับสนนุ ผสู้ ูงอายุแบบบูรณาการ: การมีส่วนรว่ มของภาคเอกชนและกิจการเพอื่ สังคม โดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธรี นงค์ สกุลศรี ประเดน็ จากการสังเคราะหช์ ุดโครงการวจิ ัย โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภเู บศร์ สมทุ รจกั ร อภปิ ราย ให้ขอ้ คิดเหน็ ใหข้ ้อเสนอแนะ ปิดการประชมุ 12.00–13.00น. รบั ประทานอาหารกลางวนั 95ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
อ.ภเู บศร์1 ถ้าเป็นภาษาทีวีปัจจุบัน ก็ต้องเรียกว่าเป็น Episode 2 ต่อจากโครงการ “ครอบครัวอยู่ดีมีสุข” นะครับ ซึ่งตอนน้ันได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดียิ่งทั้ง สภาพัฒน์ฯ และ สกว. ส�ำนักงานสนับสนุนการวิจัย ซ่ึงด�ำเนินเสร็จสิ้นไปแล้ว ตั้งแต่ปี 2557 ในการน�ำเสนอในครั้งน้ัน เราได้มีการพบมิติความบอบบางใน หลายประเด็น ของครอบครัวไทย ซ่ึงแมใ้ นภาพรวมเราสรุปไดว้ า่ ครอบครัวไทย ของเรายังอบอุ่น แต่ก็มีมิติบอบบางซ่อนอยู่หลายมิติที่ควรจะได้รับการขยายผล เป็นที่มาของชุดโครงการวิจัย “การดูแลครอบครัวเปราะบางในสถานการณ์ การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรและสงั คมไทย” ในครงั้ น้ี ภายใตช้ ดุ โครงการ วิจัยน้ีเรามี 4 โครงการย่อย โครงการแรกเป็นโครงการเกี่ยวกับการปรับวิถี การท�ำงานของครอบครัวเมอื่ พ่อแมเ่ รยี นจบ ทำ� งานและเรม่ิ มีลูก ซ่ึงครอบครัวก็ ตกอยูใ่ นสภาวะเปราะบางในระดบั หน่งึ ในโครงการทสี่ องเปน็ การศกึ ษาเกย่ี วกบั รปู แบบการอยอู่ าศยั หลากหลายรปู แบบของผสู้ งู อายซุ งึ่ แตเ่ ดมิ เราเหน็ การอยอู่ าศยั ของผู้สูงอายุนี้เป็นแบบภาพรวมๆ แบนๆ ไม่มีมิติ ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว การอยู่อาศัยของผู้สูงอายุไทยมีความหลากหลายอยู่มากและมีความซับซ้อน เรายังมีความรู้เก่ียวกับเร่ืองน้ีค่อนข้างน้อย โครงการท่ีสามเป็นเรื่องของกลไก การปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในการดแู ลครอบครวั เปราะบางตา่ งๆ ทอี่ ยทู่ ว่ั ประเทศไทย เขามีกลไกอย่างไร องค์กรส่วนท้องถิ่นซ่ึงมีความหลากหลายท้ังรูปแบบและ ขนาดน้ีเขาดูแลครอบครัวเปราะบางในพ้ืนที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร และ ส่วนสุดท้ายเป็นโครงการเก่ียวกับการศึกษาระบบการสนับสนุนผู้สูงอายุแบบ บูรณาการ ซ่ึงเป็นการศึกษาถึงกลไกอื่นที่นอกเหนือจากกลไกของภาครัฐที่จะ เข้ามาเสริมการท�ำงานของภาครัฐ เช่น การท�ำงานของภาคเอกชน และ ภาคประชาสังคม รวมท้ังกิจการเพอื่ สงั คมด้วย ในลำ� ดบั แรกผมใครข่ อเรยี นเชญิ ทา่ นผอู้ ำ� นวยการสถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.รศรินทร์ เกรย์ ในฐานะเจ้าบ้าน เป็นผู้กลา่ วตอ้ นรับผูร้ ว่ มงานในวนั นี้ครับ ขอเรียนเชญิ ครับ 1 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภเู บศร์ สมทุ รจกั ร รองผอู้ ำ� นวยการฝา่ ยวจิ ยั และวเิ ทศสมั พนั ธ์ สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหดิ ล หัวหนา้ ชุดโครงการวจิ ัย “การดแู ลครอบครัวเปราะบางในสถานการณก์ ารเปลีย่ นแปลงโครงสร้าง ประชากรและสงั คมไทย” 96 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ดร.รศรินทร์2 สวัสดี ท่านผู้ร่วมประชุมทุกท่านคะ รองศาสตราจารย์ ดร.เรณู สุขารมณ์ ท่านผู้อ�ำนวยฝ่ายชุมชนและสังคม ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย ทา่ นผทู้ รงคุณวุฒิผ้พู จิ ารณาผลการวจิ ัย ท่านผู้มีเกียรติในภาครฐั และภาคเอกชน ทุกท่าน ดิฉันในนามของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ขอตอ้ นรบั ทกุ ทา่ นเขา้ สกู่ ารประชมุ เพอื่ นำ� เสนอผลงานวจิ ยั ของชดุ โครงการวจิ ยั “การดแู ลครอบครวั บอบบางในสถานการณท์ เ่ี ปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรและ สงั คม” I would like to welcome Malee, or Emily and her family. Today she is going to give presentation on her interesting social project สว่ นในเรอ่ื งของชดุ โครงการนี้ ทา่ นหวั หนา้ โครงการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภูเบศร์ สมุทรจกั ร กไ็ ด้น�ำเสนอภาพรวมไปแลว้ ชุดโครงการวจิ ัยน้ี ทราบวา่ ทันต่อสถานการณ์เป็นอย่างย่ิง อย่างท่ีเราทราบกันว่าโครงสร้างประชากร เปล่ียนแปลงไปสู่สังคมผู้สูงอายุ มีผู้สูงอายุมากขึ้น ทั้งภาพโดยรวมและระดับ จังหวัด ซ่ึงต้องมีการดูแลการสวัสดิการด้านต่างๆ สังคมไทยก็เปลี่ยนแปลง ไปมาก ลูกเกิดน้อยลง มีสัดส่วนของผู้สูงอายุมากข้ึน เราก็ดูแลครอบครัวและ ผ้สู ูงอายกุ นั อย่างไร ใครข่ อเรยี นว่า สถาบันฯ ของเราให้ความสำ� คัญกบั ประเด็น ครอบครัวมาเป็นระดบั ตน้ ๆ เรามี โครงการวจิ ยั หลายโครงการที่ศกึ ษาเกี่ยวกบั เรอ่ื งครอบครัวโดยเฉพาะ ดว้ ยเหตนุ เ้ี ราจงึ สนับสนุนโครงการนอี้ ยา่ งเต็มท่ีนะคะ และก็ขออนุญาตทุกท่าน เชิญชวนนะคะว่า ท่านเป็นแฟนประจ�ำของสถาบันฯ คงทราบว่า เรามีงานประชุมวิชาการทุกปี ในกลางปี คือวันที่ 1 กรกฎาคม ปหี นา้ กเ็ ปน็ 1 กรกฎาคม 2562 กอ็ กี ไมก่ เี่ ดอื น เรากจ็ ะมกี ารประชมุ วชิ าการใหญ่ ในเรอ่ื งครอบครวั เปน็ Theme หลกั จงึ ขอเรยี นเชญิ ลว่ งหนา้ เลยนะคะ ในทส่ี ดุ นี้ นะคะ สถาบนั ฯ กข็ อบคณุ สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั เปน็ อยา่ งยงิ่ ทก่ี รณุ า สนนั สนนุ งบประมาณในการวจิ ยั ครงั้ นี้ และขอขอบคณุ รองศาสตราจารย์ ดร.เรณู สุขารมณ์ ท่านผู้อ�ำนวยการฝ่ายชุมชนและสังคม ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ปราโมทย์ ปราสาทกุล ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ ดร.อภชิ าต จ�ำรสั ฤทธริ งค์ คุณจริ ะพันธ์ กัลลประวิทย์ คณะที่ปรึกษากรอบประเด็นการวจิ ยั เชงิ ยทุ ธศาสตร์ ที่ 9 และท่านผู้ทรงคุณวุฒิ ทุกท่านนะคะ ท่ีกรุณาให้ค�ำชี้แนะที่เป็นประโยชน์ มาโดยตลอด จนโครงการส�ำเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี และสุดท้ายน้ีก็ขอขอบคุณ ทกุ ทา่ นทม่ี ารว่ มงาน และรว่ มแสดงความคดิ เหน็ ในการวจิ ยั ครงั้ นี้ ในลำ� ดบั ถดั ไป 2 รองศาสตราจารย์ ดร.รศรนิ ทร์ เกรย์ ผ้อู �ำนวยการสถาบนั วิจัยประชากรและสังคม มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล 97ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ดร.เรณู3 ดิฉันใคร่ขอเรียนเชิญ รองศาสตราจารย์ ดร.เรณู สุขารมณ์ ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายชุมชนและสงั คม กลา่ วเปดิ งานในล�ำดบั ต่อไปคะ ขอเรียนเชญิ คะ เรยี นท่านผ้อู ำ� นวยการ รองศาสตราจารย์ ดร.รศรนิ ทร์ เกรย์ และสวัสดีนักวิจัย นะคะ สวสั ดที า่ นผทู้ รงวฒุ ิ ทา่ นผเู้ กยี รตทิ กุ ทา่ น ชดุ โครงการวจิ ยั นถ้ี อื วา่ ฝา่ ย SRI 9 หรอื ฝา่ ยชมุ ชนสงั คม ถอื วา่ เปน็ ฝา่ ยทอ่ี อกทนุ วจิ ยั ให้ เพอ่ื การพฒั นา ศกั ยภาพ สมรรถภาพของทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ เป็นงานท่ีส�ำคัญมาก โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ชว่ งทเี่ ปน็ หวั เลยี้ วหวั ตอ่ ภายใตบ้ รบิ ทของหลายสงิ่ หลายอยา่ ง disruptive, digital technology ทั้งหลายกับการเปล่ียนแปลงท่ีมโหฬารและรวดเร็วมาก ตรงนี้เราจะรับมืออย่างไร เพราะฉะนั้นดิฉันต้องขอขอบคุณทางสถาบันวิจัย ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลมาก ที่กรุณาให้เกียรติ เราถือว่าเป็น เกยี รติ เราถอื วา่ เปน็ ภาคี เราถอื วา่ เปน็ เครอื ขา่ ย เพราะ สกว. ไมส่ ามารถทำ� งาน วิจัยได้เอง เราต้องมีภาคส่วนต่างๆ มาช่วยเรา มหิดลเป็นสถาบันการศึกษา ทม่ี เี กยี รติ จดั เปน็ อนั ดบั ตน้ ของประเทศไทย โดยเฉพาะดา้ นการวจิ ยั เพราะฉะนน้ั งานในวนั นถี้ อื วา่ สำ� คญั มาก ขอเรยี นเชญิ ทกุ ทา่ นใหค้ วามคดิ เหน็ ใหข้ อ้ เสนอแนะ อยา่ งเตม็ ท่ี ดฉิ นั ขอเรยี นวา่ จรงิ ๆ ชดุ โครงการวจิ ยั นี้ ภายใตก้ ารนำ� ของอาจารย์ ภูเบศรเ์ ปน็ ผูห้ น้าโครงการ มสี ่ีโครงการยอ่ ย เป็น Phase ทส่ี องแลว้ สืบเนื่อง มาต้ังแต่สมัย รองศาสตราจารย์ ดร.ปัทมาวดี โพชนุกุล ภายใต้ Theme ครอบครัวที่เปราะบาง ท่ามกลางกระแสบริบทที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ประชากร และสังคมไทย งานวนั นี้มี 4 โครงการย่อยด้วยกนั ซ่ึงครอบคลมุ มาก ออกแบบได้ดีมาก และชอบมาก น่าประทับใจเป็นอย่างยง่ิ ขอขอบพระคณุ เป็น อยา่ งยงิ่ ขอใหท้ มี งานเตม็ ทก่ี บั เรา แลว้ มบี างหวั ขอ้ ทข่ี อเรยี นวา่ สามารถตอ่ ยอด ไดอ้ กี เป็น Phase ทีส่ าม แต่ก็ต้องสะสางอันนี้ก่อน ในแง่ของรายละเอยี ดของ ผลการด�ำเนินงาน ซึ่งถือว่ามาสิ้นสุดในวันนี้ แล้วก็จะมีการแก้ใขรายงาน ฉบับสมบูรณ์กันอีกคร้ังหนึ่ง งานวันน้ีจึงต้องการความรู้ ประสบการณ์ของ ท่านท้ังหลายที่อยู่ในห้องนี้ เพ่ือช้ีแนะให้กับอาจารย์ ภูเบศร์และทีม เสร็จแล้ว อาจารย์ภูเบศร์ก็จะเอาไปสังเคราะห์ต่อ เพราะฉะน้ันท่านผู้เกียรติทั้งหลาย ดูในปกด้านหน้าของเล่มแรก ท่ีอาจารย์ภูเบศร์กับทีมท�ำขึ้นมาน้ัน จะเห็นได้ว่า มนั จะขาดงานอกี 10% ของการสงั เคราะห์ รวมทงั้ การจะตอ้ งแกใ้ ขเพมิ่ เตมิ หรอื อพั เดทขอ้ มลู หรอื ทำ� ขอ้ มลู ใหอ้ า่ นงา่ ยกวา่ น้ี กฝ็ ากงานสำ� คญั นไ้ี วก้ บั ทา่ นผเู้ กยี รติ 3 รองศาสตราจารย์ ดร.เรณู สุขารมณ์ ผอู้ ำ� นวยการฝา่ ยชมุ ชนและสังคม ส�ำนักงานกองทนุ สนบั สนุนการวจิ ยั 98 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ทกุ ทา่ นในหอ้ งนน้ี ะคะ บดั นถี้ งึ เวลาอนั สมควรแลว้ ขออนญุ าตเปดิ งานการประชมุ เพอื่ นำ� เสนอผลงาน ชดุ โครงการ วยั “การดแู ลครอบครวั เปราะบาง ในสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและสังคมไทย” และขออวยพรให้งานนี้ ประสบผลส�ำเร็จ ลลุ ว่ งตามเปา้ ประสงคต์ ามทท่ี มี วิจัยและมหดิ ลตอ้ งการ ขอให้ ท่านทเ่ี ดนิ จากต่างจังหวดั เดนิ ทางกลบั ด้วยปลอดภยั ขอบพระคณุ ค่ะ ดร.ภูเบศร์ กราบขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.เรณู และ รองศาสตราจารย์ ดร.รศรินทร์ เป็นอย่างย่ิงครับ ผมได้รับการท้วงติงว่าตั้งช่ือเปราะบาง เลยพา เอาคณะท�ำงานท้ังหลายเปราะบางไปกันหมด จนเม่ือคืนน้ีเราก็ไม่นึกว่าจะเกิด ปัญหาตอนประมาณส่ีทุ่มกว่า พบว่าที่มหาวิทยาลัยปิดไม่ให้รถเข้า ก็เน่ืองจาก จะต้องมีการซ้อมใหญ่ในงานพระราชทานปริญญาบัตรท่ีมหิดล รถที่จะเข้าไป ขนของกเ็ ขา้ ไมไ่ ด้ โทรหากองกายภาพ รวมไปถงึ ปญั หาเทคนคิ อกี มากมาย ฉะนน้ั จึงบอกทีมงานว่าคราวต่อไปจะตั้งชื่อให้ดูแข็งแรงข้ึนกว่าน้ี น่ีเป็นเรื่องของชื่อ ในล�ำดับต่อไป เป็นช่วงของ Keynote speaker ซ่ึงผมเชื่อว่าอาจจะเป็น Keynote speaker ทอ่ี ายนุ อ้ ยทส่ี ดุ เทา่ ทไ่ี ดเ้ คยจดั มา ผมตดั สนิ ใจเชญิ ผบู้ รรยาย พิเศษในวันนี้ ซึ่งเธอเป็นนักเรียนช้ัน ม.6 แต่ผมบังเอิญได้รับทราบงานของเธอ จากการที่ได้พบปะพูดคุย แล้วพบว่านักเรียนชั้น ม.6 คนน้ี ไม่ธรรมดาเลย เขาท�ำโครงการการช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนแออัด น่านับถือมาก เขาเป็น ชาวอเมริกันครับ ในขณะที่นักเรียนช้ัน ม.6 ของเราอาจจะก�ำลังวุ่นวายกับ การสอบเข้ามหาวิทยาลัย น้องคนนี้เขาท�ำโครงการเพื่อสังคม ซึ่งไม่ใช่เป็น โครงการแบบเอาของไปแจกแล้วเสร็จ เขาเร่ิมจากการท�ำ Research ก่อน ดคู วามตอ้ งการของกลมุ่ คนทเี่ ขาจะเขา้ ไปชว่ ยเหลอื แลว้ กด็ อู อกแบบการชว่ ยเหลอื ให้มคี วามยงั่ ยืน เป็นโครงการท่ีน่าประทับใจเป็นอยา่ งยิ่ง แล้วในส่วนตัวผมเห็น ว่าส่ิงที่เขาท�ำมีความเกี่ยวข้องกับชุดโครงการวิจัยท่ีเราก�ำลังท�ำอยู่ทั้งส่ีโครงการ ย่อยเป็นอยา่ งมาก หลายมิติ และท่สี �ำคัญคอื เป็นภาค Action คอื ไดล้ งมือท�ำ ด้วย เธอผู้น้ีเป็นชาว Texas เกิดที่เมือง Dalas ในครอบครัว Person และ ครอบครัว Anderson วันนี้ทั้งคุณพ่อคุณแม่ และคุณยาย มาให้ก�ำลังใจด้วย นะครับ คุณยายเดนิ ทางมาจากสหรัฐอเมรกิ า มาอยู่กบั ครอบครัวน้หี ลงั จากสามี เสยี ชวี ติ ผมค้นุ เคยกับครอบครวั นเี้ ป็นอย่างดี นับวา่ เป็นญาตขิ องผมเลยทีเดียว เธอเคยย้ายติดตามคุณพ่อคุณแม่ไปอยู่ที่หมู่บ้านชาวบิซู ที่เชียงรายตั้งแต่อายุ ไดห้ า้ เดอื น จนถงึ หา้ ขวบ หลงั จากนนั้ เธอกเ็ ขา้ ศกึ ษาทโี่ รงเรยี นจติ รลดา แลว้ เพงิ่ ย้ายจากจิตรลดามาเรียนต่อท่ีโรงเรียน International Community School 99ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
Emily4 ในระดับช้ัน ม.6 ที่บางนา ปีท่ีแล้วเธอได้รับรางวัล Outstanding Robotic Award เธอเร่ิมโครงการช่วยเหลือผู้สูงอายุนี้ ต้ังแต่ปี 2017 จนมาถึงปัจจุบัน พอผมทราบแลว้ ผมกร็ ้สู ึกวา่ จะตอ้ งเปน็ เรอื่ งทคี่ วรได้รบั การบอกต่อ การบรรยาย ของเธอในวันนีค้ งจะได้ใหค้ วามรู้ความคดิ กับเรามากมาย ผมขออนญุ าตแนะนำ� ผู้บรรยายพเิ ศษของเราในวันนี้ Miss Emily Person ขอเรยี นเชิญครบั สวัสดีคะท่านท้ังหลาย ดิฉันชื่อ Emily Person และเรียนอยู่ ม.6 ท่ีโรงเรียน ประชาคมนานาชาติ บางนา ดิฉนั รู้สกึ เป็นเกยี รติมากที่ได้มโี อกาสพูดวนั น้ี แล้ว ก็ก่อนเร่ิมอยากจะขอบคุณอาจารย์ภูเบศร์ และมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ให้เรา มโี อกาสน้ี ทโ่ี รงเรยี นของเรา เดก็ ม.5 และเดก็ ม.6 ทุกคนต้องทำ� The Cap- stone Project ในโปรเจค็ นน้ี กั เรยี นตอ้ งหาปญั หาในสงั คมของเรา แลว้ กพ็ ยายาม แกป้ ญั หานนั้ เราต้องอธบิ ายใหค้ นอนื่ เขา้ ใจปญั หานน้ั แลว้ ก็วิธแี กป้ ญั หาของเรา คณุ ครู Capstone ใหเ้ ราเรมิ่ หา P3 ตวั คอื people มนษุ ย,์ Problem ปญั หา, แล้วก็ Passion ส่งิ ท่ีเราชอบท�ำในใจ ตอนเราอยใู่ นตอน ป.6 โรงเรยี นพาเกรด ของฉนั ไปชว่ ยแจกอาหาร เกบ็ ขยะ ท�ำความสะอาดกบั Ruth Center, Ruth Center คือ NGO ที่ช่วยผู้สูงอายุที่สลัมในกรุงเทพฯ ฉันประทับใจมาก แล้วในใจคิดว่าชอบช่วยคนแบบน้ี สองปีหลังจากน้ัน คุณยายของเรามาอยู่ท่ี กรงุ เทพฯ กับครอบครวั ของเรา ตอนทเ่ี คา้ อยทู่ ีส่ หรฐั เคยหกลม้ กระดกู หักเยอะ แล้วคุณหมอบอกว่าจะเดินไม่ได้แล้ว ต้องอยู่ใน Wheelchair ตลอดชีวิต แตค่ ุณยายของเราโชคดมี าก มาที่กรุงเทพฯ ได้เจออาจารย์ปุย๋ อาจารย์ปุ๋ยเปน็ นักกายภาพบ�ำบัดที่มาบ้านเรา สองสามคร้ังทุกอาทิตย์ ช่วยคุณยายออกก�ำลัง กาย ถึงตอนนีเ้ ดินไดแ้ ลว้ ใช้ Walker จริงๆ แลว้ วนั นกี้ ็เปน็ วนั เกดิ ของคุณยาย อายุ 89 ปแี ลว้ แล้วก็อยู่ในน้ีด้วย (มีเสยี งปรบมือ) ดฉิ นั ไดเ้ หน็ ผลในชวี ติ ของคณุ ยาย แลว้ กค็ ดิ ถงึ คนทไี่ มไ่ ดม้ โี อกาสรจู้ กั นกั กายภาพ แบบนี้ ตอนทฉ่ี นั อยู่ ม.5 ไดม้ โี อกาสคยุ กบั พนี่ อ้ ย พนี่ อ้ ยเปน็ หวั หนา้ ท่ี The Ruth Center เราก็คยุ กันถามว่า ถ้ามนี ักกายภาพช่วยคนท่ีอยใู่ นสลมั แบบนี้ คดิ ว่าจะ มีผลไหม แล้วเค้าบอกว่า ใช่น่าจะมีผลมาก ต่อจากนี้มีค�ำท่ีเป็น Technical terms มาก กข็ ออนุญาตพดู ภาษาอังกฤษคะ่ (หวั เราะ) 4 MโคisรsงกEาmรilyThPeeCrsoanpsนtoกั nเรeยี นProมjธัeยcมt เ6พอ่ืโรชงว่ เยรยีเหนลอืInผaสู้ tงูeอrnายaใุtนioชnุมaชl นCแoอmอัดmเuขnตitปyระSเcวhศool ผู้ด�ำเนนิ 100 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
So, the first step of my project was finding with qualitative data in my preliminary research. So I conducted a series of interviews with the Ruth Center Director and other staffs at the Ruth Center. I also went to the slums and interviewed the elderly people in their homes, and got to just know more about them and also gain informeral contact with them through the Ruth Center’s Christmas party. From this research I found that about 40% of the people I talked to live on their own in the slums, and those who lived with the family, who’s often alone throughout the day because the family’s members were working and grand- children were off at the school. Some of them also did not have Thai identification card; so access to hospitals is more difficult. They don’t have the money to go to private hospitals so it’s re- ally difficult to get medical care. And that’s also a big problem because many of them had health’s issues such as diabetes, high blood pressure, heart decease and also many other things. Another issue that I found interesting concerning medical care was how difficult it is to travel to the hospitals even if they have Thai identification card and could go to a Thirty–bath hospital they will need somebody to take them there. They can’t just stand up and go to the bus by themselves, they need someone to help them to drive them to the hospital so that actually the biggest issue for many of them concerning the medical care. Another interesting finding was that they have a very literarcy rate and low knowledge of technology. So if I wanted to help them in some ways using technology whether it be an app, video or something it wouldn’t be of use to them. And lastly, their homes were constructed very poorly, so because in the slum they don’t own the land’s deed, and their houses are built on top of trash, muddy water, and just out piece of tent, carboard, anything they can find to put a roof over their head. Because of that they can’t have safety home to help them when they were standing up or to prevent them from falling. 101ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
From this preliminary research, I formed a research question, and that is, how might I prevent fall and build strength of low come elderly, improving their quality of life. So, I needed to plan out my project first; I started by getting more information both qualitative and quantitative data through surveys to find demo- graphic data and also a balanced-set scales which I talk about later on my presentation.Then I need to work with professional physical therapist to design exercises, that was simple, easy to teach and easy for anybody to participate in. And they needed the exercise we want to put them into group game so that it is more fun, and people want to get involved, and actually do the exercises it together. Then lastly for sustainability, I wanted to create an exercise guide so that they can take home with them that I could keep them at the Ruth Center for them continue to do there as well. So in the implementation of project I started off with the survey, gathering demographic data. I found a sample group of 20 females, aged fifty-three to eighty-seven who regularly come to the Ruth Center every Wednesday for the bible study. They agreed to come an hour earlier everyday to the the group game and exercise this together. So, I surveyed this group of people and found that 40% of them had high blood pressure, 21%had dia- betes, 35% had some other medical issues, whether it be cancer, broken bone, heart issues, all sort of things, and 65% of them said that they had follen in the recent past. For as living arrange- ment, I found that 25% these women actually lived with the family which would better than my original research in the slum themselves although those who did live with their family said that they were alone most of the time throughout the day and even for a few days of the time. Here you can see this’s Pa Lum-duan (ปา้ ล�ำดวน - Aunt Lumduan in Thai) this was me while I was conducting the survey. Because 102 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
of the iliiteracy I can’t just print out of the survey and handed out for everybody to fill out. So I needed to go and interview each person individually, find out more about the health history and here the survey form that I’ve made to use. As I started conducting the survey I found that some parts of it weren’t actually useful. They don’t have a real address because they were in the slums; many of them did not have telephone or did not know the phone’s number for emergency contract if they had any. Here’s the Tinetti Balance Assessment Tools which I used. So, this is a sort of test that is easy to administer where you observe someone balance when they are sitting and then have them stand up, see if they can close their eyes while standing without falling and without tilting or hesitating. Well, first this is sitting and standing balance and then there’s the gauge sections which is how they walk if they can walk out of a steady pace; if they can lean to one side or if they can’t walk at all. And so I was using these numbers to get to score each person and I can group everybody into high, moderate, and low risk of fall. So here you can see; this is Pa Lum-duan’s Tenetti Assessment Scale. She had a very high risk of fall. You can see she had trouble standing up without holding on to anything, and had trouble walking out of a steady pace, and tend to lean to one more side as she walked. Here’re the results of the Tenetti Balance Assessment Tool which was surprising because a group of 60% of the original group of 21 women into the low fall risk category, while 65% of them have said that they had fallen recently just in the past few years. So there were some inconsistencies here. It could be because while administering the test there were different people; it was both me and Khun Pui administering the test. So it could be some inconsistencies in that, or it could be the Tenetti Balance Assessment Tool itself, or the scale. 103ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
The next part of implementation was working with professional physical therapist to indemnify sample or exercises that can help with balance in just overall strengthening for the elderly. So, I work with Khun Pui many hours through research to think about what type of exercises would benefit with these people the most, such as reaching to pick something up of on the shelve for if they drop something and picking them up from the floor. Then we put these exercises into games and led six sessions on Wednes- day morning up at the center during my summer’s break. So the first session was led by Khun Pui while I observed in kind of help out on the side and then the next five sections I led and they grouped from the original twenty women who attended up to 40 participants, including some men who would come because words have spread and they were just really enjoy the time to- gether. We start off each sections with stretching and breathing exercises together and then we do some repetition of exercises and then we play a group game together, getting some fun in the family’s encouraging environment (Displaying VDO clip) You can hear we tried to make just really fun, encouraging environment, so people were cheering for each other. We splited them into the team for the game for their prizes to the winner and they’re just a lot of more motivating that way for them to really participate. Next part of implementation was making this sustainable. So I created these exercise charts to have to be easy for illiterate people to understand. Because they cann’t read I needed used symbols and or even just numbers and pictures to show what exercises they can do. So as you can see here, if they had to do somethings at a certain number of time, as I would put the number up there in red, and then if they need to hold the position for certain amount of time so I would pull a clock with 104 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
the number second so they can see here. And I also highlighted the part of the body; that is, being exercised, or stretched in red, so that they can tell easily if you’re doing it correctly or not. I laminated and passed out those exercise sheets to the elderly, and left them at the Ruth Center so that they can continue to do them at home and together on Wednesdays morning as well. And then I still haven’t fully complete my project yet. I still need to find the way to measure the impact. To do that I am plan- ning to use the Tenetti Balances Assessment Scale once again. So during my school October’s break I will be returning and for first surveying our participants if they satisfied with it?, if they think it’s too difficult, too easy for any suggestion they have how to improve the program. And then also I would do the Tenetti Balance Assessment Scale once again with the original 20 participants so I can see numerically if their fall risk was decreased or not. The last step of the Capstone project is to show what we’ve done. I shared with the Ruth Center staff and hopefully planned to show to other seniors at the Ruth Center. I left the exercise cards there and also materials for game, such as the basket, balloon, and ball you saw in the video. And I will also be working on the three parts research papers in the English class at my school. And then lastly I will be presenting at my school’s Capstone Fair, which is judged by outside experts who come to listen to our project, and explain how we are able to make dif- ferences in other people’s lives and how they affect our lives as well. There is always way to improve; some ideas I have for future research or actions for my project would be to revise the Tenetti Scale Classifications, whether that be just finding a way for to be less subjective, to be more consistent or even a different balance assessment scale altogether. Also it will be 105ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
amazing if someone could find ways to prevent fall in low- income housing; I don’t know if it is engineer or someone can design some ways to have it safety railing or ways to just help people stand up and help them to balance in low- income housing. And another issue would be the transportation issue to hospitals if there were some of sort of service that can take people to the hospital, if they needed to get there. That would be something down amazing as well. And lastly mobilize more high school students to invest in the elderly. เดก็ วัยรนุ่ ไม่คอ่ ยคิดถึงผสู้ งู อายุ เราแคค่ ิดอยากสนกุ สนานกบั มือถือ อยู่กบั เพอ่ื น อะไรอยา่ งน้ัน แต่จริงผู้สงู อายุก็สอนเราไดเ้ ยอะมาก แลว้ กเ็ ปน็ ตวั อย่างใหเ้ ราได้ ดิฉันได้เรียนรู้หลายสิ่งหลายอย่างจากคุณยายของเรา แล้วก็อยากให้คนอ่ืน มีโอกาสแบบนี้ ไดเ้ รยี นรมู้ าจากผู้สงู อายุเช่นกัน ขอบคณุ คะ ดร.ภเู บศร์ สว่ นหนงึ่ ที่เชญิ น้องมา ผมคิดว่าสิ่ง Emily ท�ำ เกย่ี วขอ้ งกบั เรื่องความเปราะบาง ของครอบครัวต้ังแต่เรื่องฐานข้อมูลในครัวเรือน ครัวเรือนเหล่านี้เป็นครัวเรือน ทอี่ ยแู่ บบเปน็ ครวั เรอื นขยาย เหมอื นจะมที รพั ยากรมคี นอยชู่ ว่ ยดแู ลและเกอ้ื หนนุ กันตลอดเวลา เพราะว่าเป็นการอยู่แบบครวั เรือนขยาย แตค่ รัวเรือนขยายน่เี อา จริงๆ แลว้ ขยายเปน็ แคบ่ างเวลา คือขยายเฉพาะเวลาตอนเยน็ ท่ีกลบั มารวมกนั แต่ตอนกลางวนั ไมข่ ยาย อย่แู บบครอบครวั เดยี่ ว หรอื แมแ้ ต่ครวั เรอื นคนเดียว ทีข่ าดการดูแล และขาดคนดูแลในชว่ งเวลากลางวนั เราอาจต้องการฐานข้อมูล ทล่ี ึกลงไปอีก นอกจากนี้งานของ Emily ก็เกี่ยวข้องกับกิจการของภาคเอกชน หรือว่าของ กิจกรรมเพ่ือสังคม รวมไปถึงภาคประชาสังคมท่ีได้เข้าไปช่วยเหลือเยียวยา เป็นการรวมคน Generation ใหม่ๆ ให้เข้ามาช่วยในประเด็นสังคมสูงวัย ในขณะที่คนวัยท�ำงานได้ออกไปท�ำงานข้างนอกกลางวัน ผมคิดว่าโครงการน้ี เกย่ี วขอ้ งกบั ทง้ั สโ่ี ครงการยอ่ ยทง้ั 4 โครงการของเราเปน็ อยา่ งมาก กเ็ ลยไดต้ ดิ ตอ่ แล้วเชิญน้องมา น้อง nervous พอสมควรเลยตลอดสัปดาห์ จรงิ ๆ แล้วนอ้ งสง่ Power points ก่อนทุกคนเลย รวมท้ัง Power points ของผมด้วย และ ทราบวา่ มกี ารซักซอ้ มเปน็ อยา่ งดี Our heartfelt thanks to Emily and her family. And Happy Birth Day to MarryAnn. May there be many 106 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
more of them. ในโอกาสนผี้ มใครข่ อเรยี นเชญิ รองศาสตราจารย์ ดร.รศรนิ ทร์ เกรย์ ผอู้ ำ� นวยการสถาบันได้มอบของขวัญท่ีระลกึ ให้กับ Emily ครบั ขอบพระคุณเป็นอย่างย่ิงครับ ลืมกราบเรียนไปว่าเรามีอาจารย์อีกสองคน จาก ICS ทง้ั สองท่านเปน็ Advisors ของ Capstone project น้ี ซึง่ มาร่วม การประชมุ ในวนั นดี้ ้วยครับ ในล�ำดับต่อไปจะเป็นการน�ำเสนอชุดโครงการครอบครัวเปราะบาง นักวิจัยของ เราวันนี้ไม่ได้กังวลกับเรื่องที่จะน�ำเสนอมากนัก แต่กังวลว่าจะปีนขึ้นไปบนเก้าอี้ ได้อย่างไร ซักซ้อมกันต้ังแต่เช้า ถามว่าจะเปลี่ยนหรือไม่ ก็ตกลงกันว่าจะไม่ เปลี่ยน เรากไ็ ม่นกึ ว่าเกา้ อที้ ี่เราขอจะสงู ขนาดน้ี ในโอกาสน้ผี มใคร่ขอเรียนเชญิ ผรู้ ว่ มคณะผจู้ ยั ของเราทงั้ 4ทา่ นครบั ขอเรยี นเชญิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนสกิ าร กาญจนะจิตรา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิดา ชวนวัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยวัฒน์ เกตุวงศา และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรนงค์ สกุลศรี ขอเรยี นเชิญครับ ในล�ำดับน้ีจะเป็นการน�ำเสนอโครงการ เราจะเริ่มที่ละโครงการไป และตอน สดุ ทา้ ยกจ็ ะเปน็ การสงั เคราะหโ์ ครงการความเปราะบาง ขออนญุ าตนำ� เสนอดงั น้ี นะครบั วา่ ชดุ โครงการวจิ ยั นเี้ ปน็ ชดุ โครงการวจิ ยั ทตี่ อ่ เนอ่ื งมาจากชดุ โครงการวจิ ยั “ครอบครัวอยู่ดีมีสุข” ซึง่ สนิ้ สดุ โครงการไปเม่ือปี 2557 ตอนนั้นเราได้ฉายภาพ หลายประเด็นออกไป แล้วตอนน�ำเสนอ คณะกรรมการก็บอกว่ามันมีหลาย ประเดน็ ทนี่ า่ เปน็ หว่ ง แมร้ ะดบั ความอยดู่ มี สี ขุ ในสงั คมไทยและของครอบครวั ไทย จะยังดีอยู่ ไม่อย่างนนั้ สังคมและสถาบันครอบครัวของเราคงจะล่มสลายไปหมด แล้ว แต่มันมปี ระเดน็ เปราะบางหลายอย่างทีเ่ กิดจากการเปลยี่ นแปลงของสงั คม โดยเฉพาะในโครงสร้างประชากรของเราที่เปล่ียนแปลงไป สภาพการอยู่อาศัย ท่ีไม่เหมือนเดิม สถาบันวิจัยประชากรและสังคมของเราก็ศึกษาในแง่การ เปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรอยแู่ ลว้ ซงึ่ คดิ วา่ อาจนำ� เราไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลง อีกหลายอย่างมาก กท็ �ำใหเ้ กิดชุดโครงการนี้ ชดุ โครงการวจิ ยั นอี้ อกแบบตง้ั แตแ่ รก ใหเ้ ชอ่ื มความเปลย่ี นแปลงตง้ั แตใ่ นบา้ นซงึ่ กลไกดแู ลกนั เองในครอบครัว จนไปถงึ ข้างนอกบา้ น ซึง่ ถดั ออกจากในบา้ นไปก็ จะเปน็ เรอ่ื งของชมุ ชนทอ่ี ยใู่ กลๆ้ กบั บา้ น รวมทงั้ กลไกของการปกครองสว่ นทอ้ ง ถน่ิ ซง่ึ อยใู่ กลม้ ากทส่ี ดุ จดุ สดุ ทา้ ยออกไปถงึ หนว่ ยงานภาครฐั บวกกบั ภาคเอกชน ซ่ึงมีก�ำลังและทรัพยากรอีกมาก แล้วอาจจะเข้ามามีส่วนรวม ช่วยเหลือในการ 107ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ดูแล โดยเฉพาะครวั เรอื นทเ่ี ปราะบาง ฉะนนั้ เราก็จะเหน็ ภาพทม่ี นั เชอ่ื มกนั ตงั้ แต่ ขา้ งในบา้ นจนถงึ ออกไปขา้ งนอกบา้ น ซง่ึ อยากเรยี กวา่ เปน็ การมองแบบครอบครวั นิเวศน์ เป็น Family ecology ในโครงการแรกเป็นโครงการของ อาจารย์มนสิการ และคณะ ซ่ึงเป็นโครงการ ทด่ี เู รอื่ งการเปลยี่ นแปลงของพอ่ แมท่ พี่ อเรม่ิ ทจี่ ะมลี กู เมอื่ กอ่ นกยงั จะมภี รรยาอยู่ บ้านคอยดูแลลูก แล้วก็สามีออกไปท�ำงานโดยไม่มีความกังวลใจ แต่ปัจจุบัน มกี ารเปลย่ี นแปลงเกดิ ขนึ้ ทที่ งั้ สามแี ละภรรยาออกไปทำ� งานนอกบา้ น และจะตอ้ ง แบ่งเวลาช่วยกันในบริหารจัดการภายในครัวเรือน ก็จะเป็นความเปราะบาง ลักษณะหนึ่ง และหากมผี ้สู งู อายทุ ่ตี อ้ งการการดูแลอยา่ งมาก กจ็ ะยง่ิ เปราะบาง ถดั จากนน้ั ไปกจ็ ะเปน็ โครงการของ อาจารยศ์ ทุ ธดิ า และคณะ อาจารยก์ จ็ ะศกึ ษา เกยี่ วกบั เรอื่ งผู้สูงอายอุ ยู่ในครัวเรือน ผู้สูงอายุกเ็ ปน็ กลุ่มหนึ่งทีม่ คี วามเปราะบาง ในครอบครัวเพราะว่าช่วยเหลือตัวเองได้ยาก และมีรายได้น้อยลง และในเวลา ที่ผ่านมา เราอาจมองครัวเรือนผู้สูงอายุแบบภาพแบนๆ โดยมองไม่เห็นมิติ ความหลากหลาย โดยเฉพาะความหลากหลายของรปู แบบการอยอู่ าศยั อาจารย์ อาจารย์ศุทธิดา ก็ได้ออกแบบให้งานสะท้อนออกมาว่า การอยู่อาศัยซึ่งเรา เรียกว่า Living arangement ของผู้สูงอายุมันมีความหลากหลาย แต่ละ รูปแบบเขาอยู่อย่างไร เขาดูแลกันอย่างไร มีความเปราะบางอย่างไร และ ควรเยียวยาอยา่ งไร ในส่วนของอาจารย์ ปิยวัฒน์ และคณะ อาจารย์ช่วยคลี่ภาพของกลไกของ การปกครองส่วนท้องถิ่นซ่ึงเป็นกลไกนอกบ้านท่ีอยู่ใกล้ชิดกับครัวเรือนมาก เขามกี ลไกการทำ� งานอยา่ งไร ความหลากหลายขององคก์ รสว่ นทอ้ งถน่ิ ในแงข่ อง นาด และการอยู่ในเมือง นอกเมืองมันท�ำให้มีผลอย่างไร หรือช่วยในการดูแล ครอบครวั เปราะบางเหลา่ นน้ั อยา่ งไร ใน ส่วนสุดท้ายเป็นส่วนของอาจารย์ ธีรนงค์ อาจารย์จับประเด็นความพยายามใน การหาทรพั ยากรอน่ื เขา้ มาชว่ ยดแู ลครวั เรอื นทมี่ ผี สู้ งู อายุ โดยเฉพาะรปู แบบทไ่ี มใ่ ช่ การสงเคราะหซ์ งึ่ ภาครฐั ทำ� อยแู่ ลว้ สำ� หรบั คนทขี่ ดั สนจรงิ ๆ กลไกชว่ ยเหลอื พเิ ศษ เหลา่ นี้ ไดแ้ ก่ กลุ่มท่ีเปน็ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม รวมทง้ั กิจการสังคม หรอื Social enterprise ซึ่งนบั ว่าเปน็ เรอื่ งใหม่มากที่จะเขา้ มาท�ำให้สังคมไทย ชว่ ยดูแลกันและกนั ไดด้ ีข้ึน 108 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ในลำ� ดบั แรกผมใคร่ขอเรยี นเชญิ อาจารย์มนสกิ าร ครบั ดร.มนสิการ5 สวัสดีค่ะ ส�ำหรับโครงการวิจัยย่อยโครงการแรก เป็นเร่ืองการปรับเปล่ียนวิถี การท�ำงานของครอบครัวเมื่อมีบุตร อย่างท่ีทราบกันว่าในปัจจุบันน้ี ท้ังผู้หญิง และผชู้ ายทำ� งานนอกบา้ นกนั มากขนึ้ และเมอื่ งานกบั บา้ นอยหู่ า่ งกนั กม็ กั จะเกดิ ความขดั แยง้ ในเรอ่ื งการจดั การเวลาขนึ้ ซงึ่ ความขดั แยง้ นยี้ ง่ิ ทวคี ณู เมอ่ื ครอบครวั มีลูก ซึ่งเราจะเห็นผลกระทบหลักๆ กับผู้หญิง เพราะฉะน้ันพอผู้หญิงมีลูก เราจะเห็นว่าผู้หญิงหลายคนจ�ำเป็นจะต้องปรับเปลี่ยนวิธีการท�ำงานหลังจากท่ี ตนเองมลี กู ไม่วา่ จะเปน็ การลาออกจากงานเพื่อมาเป็นแมเ่ ตม็ เวลา หรอื บางคน ก็อาจจะเปลี่ยนงานเพื่อท่ีจะได้มีงานอะไรที่เหมาะสมกับการเลี้ยงลูกไปด้วยและ ท�ำงานไปด้วยมากขึ้น หรือบางคนอาจจะไม่ได้ลาออกจากงาน อาจจะท�ำอยู่ งานเดิม แต่การมีลูกก็ส่งผลท�ำให้ประสิทธิภาพการท�ำงานของเขาลดลง ซ่ึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการท่ีจะต้องปรับเปล่ียนวิถีการท�ำงาน มันส่ง ผลกระทบต่อทั้งคุณภาพชีวิตของตนเอง คุณภาพการเลี้ยงลูก ความส�ำคัญใน ครอบครัว และก็ส่งผลกระทบต่อขนาดของก�ำลังแรงงานของประเทศชาติด้วย เพราะฉะน้นั วตั ถปุ ระสงค์ของงานวจิ ยั นี้ เราตอ้ งการทจ่ี ะศกึ ษาว่า มปี ัจจัยอะไร บ้างท่ีเก่ียวข้องและจ�ำเป็นท่ีท�ำให้ครอบครัวจะต้องปรับเปลี่ยนวิถีการท�ำงาน เมอ่ื มลี กู รวมถงึ วธิ กี ารตา่ งๆ ทคี่ รอบครวั เลอื กใชใ้ นการปรบั เปลย่ี นวถิ กี ารทำ� งาน และผลกระทบที่เกิดขน้ึ ในมติ ติ า่ งๆ ทั้งหมดน้ีก็เพอ่ื จะนำ� เสนอแนวนโยบายอะไร บางอยา่ งทสี่ ามารถจะชว่ ยสนบั สนนุ ครอบครวั ทีม่ ีลกู ได้ วธิ กี ารวจิ ยั ของเรานะคะ ใชว้ ธิ กี ารวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ ซง่ึ จะมมี าจากสองแหลง่ หลกั ๆ แหล่งแรกก็คือแหล่งข้อมูลออนไลน์ ซ่ึงปฏิเสธไม่ได้ว่าในปัจจุบันนี้ ข้อมูลบน อนิ เตอรเ์ นต็ เปน็ แหลง่ ขอ้ มลู ทใี่ หญ่ แลว้ กม็ คี วามหลากหลายมากทส่ี ดุ คนสมยั นี้ เวลามีปัญหา ไม่ได้ปรึกษาคนขา้ งตวั แตป่ รึกษาคนในอนิ เตอร์เนต็ กค็ อื ชมุ ชน เน็ต เพราะฉะน้ันในอินเตอร์เน็ต เราจะมีข้อมูลอะไรมากมายที่สามารถจะช่วย สรา้ งความเขา้ ใจในปญั หาตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในสงั คมไทยในปจั จบุ นั ได้ สำ� หรบั งาน วจิ ยั นเ้ี ราเลอื กแหลง่ ขอ้ มลู ออนไลนม์ าสองแหลง่ แหลง่ แรกกค็ อื พนั ทปิ (pantip. com) เพราะว่าพันทิปเป็นเวปบอร์ดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และอีกแหล่ง 5 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนสกิ าร กาญจนะจติ รา สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล หวั หนา้ โครงการ วจิ ยั “การปรบั วถิ กี ารท�ำงานของครอบครัวเมอื่ มบี ุตร: การศกึ ษาเชงิ คณุ ภาพโดยใชข้ ้อมูลสอ่ื สังคมออนไลน”์ 109ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
กค็ อื จากเฟสบคุ๊ เพราะวา่ เฟสบคุ๊ เปน็ โซเซยี ลทคี่ นไทยใชม้ ากทส่ี ดุ สง่ิ ทเี่ ราไดจ้ าก ข้อมูลออนไลน์ คือ ความเข้าใจในภาพกว้าง สภาพปัญหาของสังคมที่เกิดขึ้น ความหลากหลายของความคิดเห็น ความหลากหลายของสภาพปัญหา แต่ท่ี ยังขาดก็คือความเข้าใจในระดับลึก เพราะว่าเราไม่ได้เป็นคนไปสัมภาษณ์เขา เพราะฉะนนั้ ในสว่ นทส่ี องกค็ อื จะเปน็ การไปสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ ซง่ึ กจ็ ะมาเสรมิ ความ เข้าใจที่เราไดจ้ าก Part แรก แล้วก็เปน็ การชว่ ย Validate ด้วยวา่ ขอ้ มลู ทีเ่ รา ไดจ้ าก Part แรกนี้มคี วามน่าเชอ่ื ถือมากนอ้ ยแค่ไหน จะขอข้ามไปทีผ่ ลการวจิ ัย เลยนะคะ ส�ำหรับผลการวิจัยของเรา จะแบ่งเป็น 2 กลุ่มหลักๆ ผู้ให้ข้อมูลน้ีไม่ว่าจะมา จากอนิ เตอร์เนต็ หรอื วา่ การสัมภาษณ์ เราจะแบ่งเป็นสองกลุม่ หลกั ๆ กลุ่มแรก ก็คือกลุ่มแม่เต็มเวลา คือเป็นแม่ที่ไม่ได้ท�ำงาน หน้าท่ีหลักก็คือการเลี้ยงลูก แล้วกลุ่มท่ีสองก็คือเป็นกลุ่มแม่ท�ำงาน เราก็จะเปรียบเทียบกันว่าสองกลุ่มนี้ มีความแตกต่างกันอย่างไร ในส่วนแรกจะขอน�ำเสนอในเรื่องความส�ำคัญของ ค�ำทีส่ กดั ออกมาได้นะคะ จากค�ำทั้งหมดที่เราได้จากการเล่าเร่ือง ไม่ว่าจะทางอินเตอร์เน็ตหรือว่าทาง การสัมภาษณ์ เราได้ค�ำมาทั้งหมดมาเปน็ แสนๆ ค�ำ ทนี่ ้เี รากจ็ ะเลอื กเฉพาะค�ำ ที่มีความเก่ียวข้องจากค�ำท้ังหมด โดยเรามาดูว่าแต่ละค�ำมีความสัมพันธ์กัน อย่างไร ซึ่งหมายความว่าถ้าเราพูดค�ำน้ีแล้วก็มักจะมีค�ำน้ีปรากฏด้วยเสมอ เราก็เอามา Match กนั ได้จึงไดภ้ าพจริงๆ เปน็ แบบภาพใหญม่ ากๆ แตส่ �ำหรบั การน�ำเสนอในวันน้ี จะขอน�ำเสนออยู่สองค�ำซ่ึงเป็น Key ของงานเรา ก็คือ “เลยี้ งลูก” กับค�ำว่า “ท�ำงาน” ส�ำหรับแม่เต็มเวลา เวลาพูดค�ำว่าเล้ียงลูก มันจะมีค�ำอะไรปรากฏด้วยอยู่เสมอ พบวา่ มคี วามสมั พนั ธข์ องคำ� สงู แมเ่ ตม็ เวลา เวลาพดู ถงึ คำ� วา่ เลยี้ งลกู คำ� ทปี่ รากฏ บ่อยท่ีสุดคือค�ำว่า “เบื่อ” ซึ่งก็เป็นการสะท้อนให้เห็นว่าลักษณะของปัญหาของ แม่เต็มเวลาที่มาพูด เขาจะพูดถึงเร่ืองความเบื่อ แต่มันก็ไม่ใช่เบ่ืออย่างเดียว ก็มีค�ำอื่นๆ ท่ี Positive ด้วยอย่างเช่น “ความสุข” แล้วเราก็จะเห็นเขามี ความสขุ ด้วย และจะมีค�ำวา่ “ ลำ� บาก” ค�ำว่า “เหงา” ค�ำว่า “เป็นห่วง” อะไร อย่างน้ีเป็นต้น อันนค้ี อื ของแมเ่ ต็มเวลา และถ้าพูดถึงแม่เต็มเวลาแล้วพูดเรื่องการท�ำงาน ค�ำที่มักปรากฏด้วยเสมอ คือ ค�ำว่า“เครยี ด” หรอื ว่า “สงสาร” คอื อาจจะสงสาร เพราะไปทำ� งาน แล้วสงสาร 110 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ลูกอะไรอย่างน้ี เปรียบเทียบกับแม่ท�ำงาน แม่ท�ำงานเวลาพูดถึงเรื่องเล้ียงลูก คำ� ทป่ี รากฏใกลๆ้ ทมี่ คี วามสมั พนั ธส์ งู คอื คำ� วา่ “ขอโทษ” ซง่ึ ตรงนนี้ า่ สนใจมาก เพราะว่ามันตรงกับที่เราไปสัมภาษณ์ด้วยว่า แม่ท�ำงานจะรู้สึกผิดต่อลูก ท่ีไม่มี เวลาให้ลูกมากพอ มคี ำ� วา่ “เสยี ใจ” มคี �ำวา่ “คดิ ถึง” เป็นตน้ แล้วถ้าพดู ถงึ ค�ำ ว่าท�ำงาน ส่วนใหญ่ก็ค�ำ Negative ท้ังนั้นเลย เช่น ค�ำว่า “ท้อ” “อึดอัด” “ภาระ” “สงสาร” ก็คงสงสารลูกเช่นเดยี วกนั ทง้ั หมดนีก้ พ็ อใหเ้ ราได้เหน็ ภาพวา่ เหมอื น Mood ของแตล่ ะกล่มุ มนั เปน็ อยา่ งไร เสร็จแล้วเราก็เอาข้อมูลทงั้ หมด มาวิเคราะห์ตัวเน้ือหา ซ่ึงในประเด็นแรกก็ดูว่า สาเหตุของการเปล่ียนวิถีชีวิต การท�ำงานมันมีปัจจัยอะไรเก่ียวข้องบ้าง ซ่ึงในรายงานจะค่อนข้างวิเคราะห์ ที่ละเอยี ดมากกวา่ นี้ ส�ำหรบั วันนีข้ อยกมาเฉพาะตัว Highlight นะคะ ส�ำหรับแม่เต็มเวลาประเด็นหลักก็คือ อยากเลี้ยงลูกเอง สาเหตุที่ออก ก็คือเขา คิดว่าแม่เป็นคนที่ดีท่ีสุด เหมาะสมท่ีสุดท่ีจะเลี้ยงลูกได้ดีท่ีสุด ประเด็นท่ีสองท่ี ส�ำคัญมาก กค็ อื จริงๆ เคา้ ไมม่ ที างเลือกอืน่ ไม่มีคนทจ่ี ะช่วยเลย้ี งหรือทางเลือก ที่เหมาะสม ซึง่ ท่เี หมาะสมน้ีก็คือเหมาะสมทั้งในด้านคุณภาพ และในดา้ นราคา ส�ำหรบั แมท่ ำ� งาน เหตผุ ลหลักก็ชดั เจนแล้ว หนงึ่ กค็ อื เรื่องการมีรายได้ และส่วน ท่ีสองก็คือสามารถหาคนท่ีช่วยเล้ียงและไว้วางใจได้ จะขอยกตัวอย่างค�ำพูดนะ คะ อันน้ีไดม้ าจากคณุ แมเ่ ต็มเวลาในเฟสบุค๊ ซึ่งเขากล็ าออกจากงาน แล้วเขาก็ เคยคิดว่าอยากจะกลับไปท�ำงาน แต่เค้าก็มาคิดว่าถ้าเอาลูกๆ เข้า Nursery แลว้ ไปทำ� งาน เงนิ ทไ่ี ดม้ ากค็ งหมดไปกบั คา่ Nursery พอดี เหมอื นเสยี เวลาเปลา่ ซ่งึ ตรงนี้มันกส็ ะท้อนใหเ้ ห็น Choice ที่เขามใี นการท่จี ะฝากลูกระหวา่ งทเ่ี ขาไป ทำ� งาน ราคาของ Nursery เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั ราคาทเี่ ขาจะไดไ้ ป มนั ไมส่ มเหตุ สมผลกัน เพราะฉะน้ันเล้ียงลูกเองดีกว่า อันน้ีก็เป็นสาเหตุของแม่ท�ำงาน ซ่ึง สะท้อนให้เหน็ ถึงภาระคา่ ใช้จ่าย ส�ำหรบั อกี คนหนึง่ คนนีเ้ ปน็ แม่ในพันทิปนะคะ เขาก็บอกว่า จริงๆ สามอี ยาก ให้ออก แตว่ า่ ตวั เขาเองมีคา่ ใชจ้ า่ ยส่วนตัวท่จี ะต้องจา่ ยทกุ เดือน อยา่ งเช่น ต้อง จา่ ยคา่ ประกนั พอ่ สง่ เงนิ ใหพ้ อ่ ใช้ ประกนั อบุ ตั เิ หตใุ หพ้ อ่ ซงึ่ ตรงนส้ี ะทอ้ นวา่ ภาระ มนั ไมใ่ ชต่ วั เองเทา่ นนั้ แตว่ า่ มพี อ่ แมท่ ส่ี งู อายทุ จ่ี ะตอ้ งดแู ล ซงึ่ ตรงนก้ี เ็ ปน็ Trend หนึง่ ซ่งึ น่าจะมเี พิม่ ข้ึนเร่ือยๆ ส�ำหรับผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากการเปล่ียนวิถีชีวิตการท�ำงาน ส�ำหรับแม่ท�ำงาน ก็มีท้ังข้อดีและข้อเสีย ข้อดีก็คือการได้มีเวลาอยู่กับลูกเต็มที่ และแม่เต็มเวลา 111ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ทกุ คนจะรสู้ ึกภาคภูมิใจ และมคี วามสุขที่ไดเ้ ล้ียงลูกเอง สว่ นข้อเสยี ข้อหลกั กค็ อื การขาดความม่ันคงทางด้านรายได้ ต้องพ่ึงเงินจากสามี ซ่ึงมันไม่ใช่ปี สองปี สามปี ที่เขาลาออกมาแลว้ ถงึ จะเกดิ ความไม่มนั่ คง การทเ่ี ขาออกมามันส่งผลตอ่ เขาตลอดทั้งชว่ งชีวิตของเขาเลย บางทีเคา้ ตัง้ ใจว่าออกมาสามปี แล้วจะกลบั ไป ทำ� งานใหมห่ รอื หางานทำ� ปรากฏวา่ มนั ไมง่ า่ ยอยา่ งทคี่ ดิ หลายคนกต็ อ้ งไปทำ� งาน อะไรทไี่ ดเ้ งนิ เดอื นนดิ ๆ หนอ่ ยๆ แตว่ า่ ไมไ่ ดส้ รา้ งความมน่ั คงทางไดร้ ายได้ เพราะ ฉะน้ันส่งผลต่อความสามารถในการเก็บเงินตอนสูงอายุ และส่งผลต่อเก็บเงินไว้ ใช้ยามฉุกเฉิน หรืออะไรใดๆ ก็ตาม เพราะฉะนั้นการตัดสินใจลาออก ไม่ได้ สง่ ผลช่วงระยะเวลาสั้นๆ เทา่ นน้ั แตส่ ง่ ผลตอ่ ตลอดช่วงชวี ติ ของเคา้ ได้ นอกจากนี้ก็จะเป็นเร่ืองความรู้สึกการขาดคุณค่าในตนเอง ถึงจะรู้สึก Fulfill ในบทบาทแม่ แต่ชีวิตเค้ามีอยู่บทบาทเดียว โดยรวมเค้าก็จะรู้สึกว่าไม่สามารถ สรา้ งคณุ คา่ อะไรใหก้ บั มติ อิ น่ื ๆ ได้ และกอ็ กี อยา่ งหนง่ึ คอื ความสมั พนั ธก์ บั คสู่ มรส ท่ีหลายคนบอกวา่ ออกจากงานแล้ว แลว้ ต้องมาขอเงนิ สามใี ช้ คอื ก็ตอ้ งยอมสามี มีอะไรทะเลาะกต็ ้องทน เพราะวา่ ก็ตอ้ งขอเงนิ เขาอยู่ ส�ำหรับแม่ท�ำงานผลกระทบข้อดีแน่นอน คือเรื่องความม่ันคงและอิสระทาง การเงินที่มีมากกว่าแม่เต็มเวลา แล้วก็มิติชีวิตท่ีหลายหลาย สามารถเล่น ได้บทบาท ทั้งบทบาทแม่ บทบาทคนท�ำงาน โดยรวมของชีวิตก็จะรู้สึกมีความ Fulfill มากกว่า แตข่ ้อเสียหลักๆ กค็ ือความยากในการจดั การสมดลุ ชวี ิต เพราะ ว่างานบ้าน งานเรือน งานเล้ียงลูก หลักๆ คนก็ยังมองว่าเป็นงานของผู้หญิง เพราะฉะนั้นกลับมาจากท่ีท�ำงานแล้วก็ยังต้องล้างจาน ต้องซักผ้า แล้วก็ต้อง ดูแลลูก ซึ่งน�ำมาสู่ข้อที่สองก็คือทะเลาะกับสามีในเรื่องการแบ่งงานภายในบ้าน ถัดมาก็คือเรื่องความรู้สึกผิดกับลูกอันนี้ได้กล่าวไปแล้ว แล้วก็ประสิทธิภาพ ในการท�ำงานลดลง มีตัวอย่างค�ำพูด อันนี้ก็เป็นแม่เต็มเวลาจากเฟสบุ๊คนะคะ ซงึ่ เขาบอกวา่ สามเี นย่ี โอเคเลย เลยี้ งลกู ไดส้ บาย แตเ่ ราไมเ่ คยสบายใจเลย ทต่ี อ้ ง ใช้เงินเขา คิดถึงอนาคตเสมอ อันนี้ก็สะท้อนให้เห็นถึงความไม่ม่ันคง วันหน่ึง ถา้ เราเลกิ กนั เราจะทำ� อยา่ งไร แลว้ มนั ไมใ่ ชน่ กึ ถงึ ตวั เขาเอง แตน่ กึ ถงึ ลกู เปน็ หลกั คุณภาพชีวิตของลูก ลกู จะไดเ้ รยี นโรงเรียนดๆี อยา่ งนี้ไหม จะยังไดก้ ินอยู่อยา่ ง สบายเหมอื นทกุ วันน้ีหรอื เปล่า กค็ ืออย่ใู นความไม่แนน่ อน ส�ำหรับแม่ท�ำงานนะคะ เขาพูดถึงประสิทธิภาพการท�ำงานที่ลดลง ก่อนมีลูก ท�ำงานสามสี่ทุ่มได้สบาย แต่ตอนนี้พอมีลูก ห้าโมงเก็บของต้องรีบกลับบ้าน 112 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
สาเหตหุ ลักเพราะว่าแมส่ ามีโทรตามว่าลูกหวิ แลว้ กลบั บา้ นได้แลว้ ซง่ึ ตรงนมี้ ันก็ สะทอ้ นใหเ้ หน็ อกี อยา่ งหนง่ึ คอื ความสมั พนั ธก์ บั ญาตผิ ใู้ หญใ่ นบา้ นทเี่ ราจะตอ้ งไหว้ วานเขา โดยสรปุ แลว้ ปจั จยั ตา่ งๆ ทที่ ำ� ใหเ้ ราตดั สนิ ใจวา่ แตล่ ะครอบครวั ตดั สนิ ใจที่จะปรับเปล่ียนรูปแบบการท�ำงานไหม หรือว่าท�ำงานต่อดีหรือไม่ มันต้อง มีการชั่งกันระหว่างต้นทุนที่เกิดกับประโยชน์ที่จะได้รับในการที่จะท�ำงานต่อ ซงึ่ ตน้ ทนุ และประโยชนข์ องแตล่ ะครอบครวั มนั ไมเ่ ทา่ กนั ขนึ้ อยกู่ บั ปจั จยั แวดลอ้ ม ภายนอกอ่ืนๆ ท้งั ในระดับมหภาค ไมว่ ่าจะเปน็ เศรษฐกจิ สังคม ความเท่าเทียม นโยบายอะไรต่างๆ หรือระดับของครอบครัวเอง ว่าตัวผู้หญิงมีลักษณะงาน อยา่ งไร มีระดับการศึกษาเปน็ อยา่ งไร อยภู่ ูมิล�ำเนาเดิมทไี่ หน มีภาระค่าใชจ้ า่ ย เป็นอย่างไร เปน็ ตน้ ต้นทุนอันหน่ึงท่ีอยากจะพูดถึงก็คือค่าใช้จ่ายในการเล้ียงดูลูก แต่ละครอบครัว ต้นทุนไม่เท่ากัน ครอบครัวไหนมีปู่ย่าตายาย ครอบครัวน้ันต้นทุนลดลงอย่าง มหาศาล แต่ถา้ ไม่มปี ู่ย่าตายายก็คือต้องจา้ งพเี่ ลย้ี ง หรือไมก่ ็ Nursery ซ่ึงตรงนี้ ก็ต้องมีเปรียบเทียบกับประโยชน์ทีจ่ ะได้ ก็คือรายได้ เราไดไ้ ปทำ� งาน มนั คมุ้ คา่ กับค่าใช้จ่ายมากน้อยแค่ไหน ซ่ึงรายได้ก็ขึ้นอยู่กับว่าระดับการศึกษาของเขา เป็นอย่างไร ลกั ษณะงานเขาเปน็ อยา่ งไร เปน็ ต้น เพราะฉะนนั้ สำ� หรบั ขอเสนอแนะทางนโยบายเนยี่ ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ กค็ อื เรอื่ งการลงทนุ ในศนู ยก์ ารดูแลเด็กเล็ก ตรงนี้มนั เปน็ Key จากการทเ่ี ราเกบ็ ขอ้ มลู มา อย่างไร ก็คือมันจะต้องมีศูนย์ดูแลเด็กเล็กท่ีมีความท่ัวถึง โดยเฉพาะในเมืองที่เป็น ครอบครวั เดย่ี วทขี่ าดคนชว่ ยเลย้ี งดู ซง่ึ ตรงนก้ี ต็ อ้ งดทู ง้ั คณุ ภาพและราคาทส่ี มเหตุ สมผล โดยเฉพาะครอบครัวท่ีอยใู่ นระดบั รายไดต้ ำ่� หรอื ปานกลาง อนั นเ้ี ป็นกลุ่ม ทจ่ี ะตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั เปน็ พิเศษ เปน็ กลุ่มที่ถา้ คนหนึ่งจะต้องออกจากงานแล้ว จะเพิ่มความเปราะบางทางด้านการงานสูงมาก และเป็นกลุ่มท่ีมีข้อจ�ำกัดของ ทางเลือกในการดูแลลกู อันทสี่ องก็คอื การช่วยลดอุปสรรคในการท�ำงาน เท่าทีว่ เิ คราะหม์ า แมท่ อ่ี ยากจะ ทำ� งานไปดว้ ย และเลย้ี งลกู ไปดว้ ยใหม้ ี Balance เขากอ็ ยากจะไดง้ านทม่ี นั Flex- ible ซึ่งส่วนใหญ่เลยเป็นการขายของออนไลน์ แต่การขายของออนไลน์ ไม่ได้มีความม่ันคงแต่อย่างใดเลย ไม่มีการสร้างหลักประกันให้แก่ชีวิตเลย และก็ไม่ใช่ทุกคนจะขายได้ หลายคนท่ีมาเขียน เขาบอกว่าอยากจะขายของ ไปด้วย เล้ียงลกู ไปด้วย แต่ขายไมอ่ อก ทำ� อย่างไรถงึ จะขายได้ ต้องไปรบั ของ 113ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ทีไ่ หน ตอ้ งอะไรอย่างไร เพราะฉะนน้ั เราควรจะสนบั สนนุ ให้งานทม่ี คี วามม่ันคง มีช่ัวโมงการท�ำงานท่ีเหมาะสมกับแม่ท่ีมีลูกด้วย อย่างเช่น การมีช่ัวโมงที่ส้ันลง หรอื มเี วลาแนน่ อนรวู้ า่ จะไปเมอ่ื ไหร่ กลบั เมอ่ื ไร มหี ยดุ เสารอ์ าทติ ยม์ คี วามยดื หยนุ่ ตามความจ�ำเปน็ กไ็ มจ่ ำ� เปน็ ต้องมกี ารเดนิ ทางเยอะมาก อนั ทส่ี ามกค็ อื เราตอ้ งชว่ ยใหค้ นทอ่ี อกจากงานสามารถกลบั เขา้ มาทำ� งานไดง้ า่ ยขน้ึ บางที่อาจต้องมีมาตราการอะไรที่จะสามารถจูงใจให้ท้ังหน่วยงาน ทั้งภาครัฐ เอกชน รับคนท่ีออกมาเล้ียงลูกแล้วกลับไปท�ำงานได้มากข้ึน อาจจะเป็น การลดหย่อนภาษีหรืออะไรก็ตามแต่ แม้กระทั่งการมีวันลาคลอดที่เหมาะสม มันเป็นการป้องกันไม่ให้คนออกจากก�ำลังแรงงานต้ังแต่ต้น ส�ำหรับแม่ท่ีกลับมา ท�ำงานแล้ว ก็ต้องมีการอ�ำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสถานท่ี ใหป้ ม๊ั นมใหถ้ กู ตอ้ งตามสขุ ลกั ษณะ อนั นก้ี ไ็ ดป้ ระโยชนใ์ นดา้ นสขุ ภาพของเดก็ ดว้ ย แลว้ สดุ ทา้ ยการสง่ เสรมิ ความเทา่ เทยี มระหวา่ งชายหญงิ เพราะตอนนแ้ี มท่ ท่ี ำ� งาน Overload มากเป็นเพราะค่านิยมทางสังคมท่ีภาระการเลี้ยงลูกและดูแลบ้าน หลายอย่างเป็นของผู้หญิง เพราะฉะนั้นมาตราการอะไรที่มันจะช่วยส่งเสริม ตรงนี้ อยา่ งเชน่ การใหว้ นั ลาแก่ผชู้ ายเพ่ือดูแลลกู อันนี้เปน็ การส่ง Message ให้กับสังคมเห็นว่าหน้าท่ีการเล้ียงลูกไม่ใช่หน้าท่ีของผู้หญิงเท่าน้ัน แต่ผู้ชาย ก็ต้องมีส่วนร่วมด้วยซึ่งตรงนี้น่าท่ีจะเป็น Step ส�ำคัญที่ช่วยความเท่าเทียม ระหว่างชายหญิง แล้วก็ลดภาระต้นทุนท่ีเกิดขึ้นกับผู้หญิงให้มากขึ้น ในส่วนนี้ กเ็ ป็นส่วนของครอบครัวที่เปราะบาง ยงั ไมท่ ันตง้ั ตวั ต่อไปจะส่งขอต่อให้กบั ดร.ศุทธดิ า นะคะ ก็จะเป็นความเปราะบางในอกี กลมุ่ หนึ่ง คอื กลุ่มผู้สูงอายุ ดร.ศุทธดิ า6 กราบสวัสดีทุกท่านนะคะ จากท่ีทุกท่านได้เห็นว่า ใน Research brief มีกระต๊ิปข้าวหรือแอ๊บข้าวใช่ไหมคะ ท่ีเสมือนเป็นสัญลักษณะของการเปล่ียน โครงสร้างครัวเรือน จากแต่ก่อนน้ี สมาชิกในครัวเรือนมีหลายคน เราสามารถ กินข้าวร่วมกันได้แต่ตอนนี้ สมาชิกในครัวเรือนก็จะเหลืออยู่ประมาณสามคน มีพ่อ แม่ ลูก ก็ลองมาดูว่าโครงการน้ีจะสะท้อนอะไรให้เห็นบ้าง ในโครงการ 6 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิดา ชวนวนั สถาบนั วิจัยประชากรและสังคม มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล หัวหนา้ โครงการวจิ ัย “การดูแลผู้สูงอายุในครัวเรือนซึ่งมีรูปแบบการอยู่อาศัยท่ีหลากหลายในสังคมไทย เพื่อประเมินความเข้มแข็งและ ความตอ้ งการสนบั สนุนของครวั เรอื น” 114 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
วิจัยย่อยนี้เราศึกษาผู้สูงอายุที่อยู่ที่ครัวเรือนที่หลากหลาย เก็บข้อมูลโดยเฉพาะ ครัวเรือนเปราะบางตามชื่อชุดโครงการใหญ่ แล้วก็มาดูว่าครัวเรือนเปราะบาง ในงานวิจัยน้ีจะหมายถึงอะไรบ้าง ส�ำหรับการศึกษาน้ีเราก็ต้องการท่ีจะศึกษา รปู แบบการอยอู่ าศยั ของผสู้ งู อายไุ ทย นอกจากนแี้ ลว้ เรากจ็ ะดใู นเรอื่ ง Demand และ Supply ของผู้สูงอายุท่ีผู้สูงอายุได้รับการดูแลจากครอบครัว และส่ิงท่ี ผู้สูงอายุในแต่ละรูปแบบว่าเขามีความต้องการอะไรบ้าง ส�ำหรับระเบียบวิธีวิจัย ในการศึกษาน้ี เราก็ได้เก็บรวบรวมท้ังในเชิงวรรณกรรม และวิเคราะห์ข้อมูล จากขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ติ า่ งๆ เพอ่ื ดภู าพรวมของรปู แบบการอยอู่ าศยั ในระดบั ประเทศ รวมถึงการส�ำรวจภาคสนาม จึงนับว่าเป็นการเก็บข้อมูลท้ังเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ เราใช้กรอบในการเลือกพ้ืนที่ตัวอย่าง โดยใช้ข้อมูลการส�ำรวจ ประชากรผู้สูงอายุเป็นกรอบดูว่าควรเก็บพื้นท่ีไหน โดยท่ีดูก่อนว่าภาคไหน มีการอยู่อาศัยรูปแบบนั้นๆ มาก แล้วก็ลงไปเก็บในภาคน้ัน เพราะมีการเลือก จังหวัดในแต่ละภาคท่ีมีลักษณะรูปแบบการอาศัยน้ันๆ โดดเด่น ก็จะเห็นว่า ภาคเหนอื เรากไ็ ดจ้ งั หวดั เชยี งใหม่ ไดส้ องรปู แบบ คอื ตามลำ� พงั คนเดยี ว กบั อาศยั อยกู่ บั ผสู้ มรส ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดจ้ งั หวดั อดุ รธานี เปน็ ครวั เรอื นขา้ มรนุ่ ภาคใต้ได้จังหวัดสงขลา เป็นรูปแบบการอยู่อาศัยกับพ่อแม่ และอยู่กับคู่สมรส สว่ นภาคกลาง เนอ่ื งจากวา่ ไมล่ กั ษณะการอยอู่ าศยั ทโ่ี ดดเดน่ กเ็ ลยเกบ็ ทกุ รปู แบบ กระจายใหเ้ ทา่ ๆ กนั สำ� หรบั กรงุ เทพมหานคร เราพยายามจะดกู ลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี ปน็ ผู้สูงอายุท่ีอยู่กับบุคคลอ่ืนที่ไม่ใช่ญาติ เช่น พ่ีเลี้ยง หรือว่าเพื่อน หรือผู้รับจ้าง ดูแลคะ่ ส�ำหรับข้อมูลประชากรสูงอายุในประเทศไทย อันนี้เราก็ใช้ข้อมูลจากการส�ำรวจ ประชากรสูงอายุในประเทศไทย เราพบว่าในปี 2517 มีผู้สูงอายุประมาณ 10 ล้านคน โดยท่ีเราก็พยายามดูว่าผู้สูงอายุทั้งสิบล้านคน มีรูปแบบการอยู่อาศัย อย่างไรบ้าง ซงึ่ เราสามารถจำ� แนกได้ 70 รูปแบบด้วยกนั จาก 70 รูปแบบนัน้ เรามาเลือกเฉพาะครัวเรือนที่มีความเปราะบาง ซ่ึงมีอยู่ประมาณ 3.8 ล้านคน หรือประมาณ 38% ของผู้สูงอายุท้ังหมด มาดูกันว่าผู้สูงอายุที่มีการอยู่อาศัย ในรูปแบบท่เี ปราะบางเป็นใครบ้าง จากนิยามของโครงการนี้ เราจะหมายถึงผู้สูงอายุที่จะต้องรับหน้าท่ีดูแลตัวเอง ด้วย ดูแลท้ังคนที่อาศยั อย่ดู ว้ ยกัน ก็คอื ดแู ลทั้งหมดอยแู่ ล้ว ทงั้ ตวั เองและคนอืน่ ดว้ ยในครอบครวั แลว้ กเ็ ราไดแ้ บง่ มาเปน็ 5 รปู แบบ ไดแ้ กก่ ารอาศยั อยตู่ ามลำ� พงั 115ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
คนเดยี ว อยตู่ ามลำ� พงั กบั คสู่ มรสเทา่ นน้ั อยกู่ บั พอ่ แมห่ รอื คสู่ มรส แลว้ กอ็ าศยั อยู่ กับหลาน ในลักษณะครัวเรือนข้ามรุ่น แล้วก็อยู่กับคนอ่ืนๆ ท่ีไม่ใช่ญาติ อันน้ี เป็นกรอบของการวิเคราะห์ในเร่ืองครัวเรือนเปราะบาง ส�ำหรับข้อค้นพบในการ วจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ อนั นเ้ี ปน็ ภาพรวมระดบั ประเทศ แลว้ กพ็ บวา่ ผสู้ งู อายทุ อี่ ยใู่ นครวั เรือนบอบบาง ผู้ชายกบั ผ้หู ญงิ มีปรมิ าณพอๆ กัน และส่วนใหญ่ก็จะอย่ใู นชนบท ซึง่ อยูท่ ปี่ ระมาณ 63% สง่ิ ทีเ่ ปน็ Highlight การอยู่อาศัยของผูส้ งู อายุในระดบั ประเทศ ผสู้ งู อายทุ อี่ าศยั อยคู่ นเดยี วกจ็ ะมสี ถานภาพสมรส “โสด” มากทส่ี ดุ เมอื่ เทยี บกบั การอยู่อาศยั กับแบบอื่น และอยู่ในเขตเทศบาล และกพ็ บวา่ ไมป่ ระกอบ อาชพี มากทสี่ ดุ รวมถงึ การใชส้ วสั ดกิ ารของรฐั สำ� หรบั ผสู้ งู อายทุ อ่ี ยตู่ ามลำ� พงั กบั ค่สู มรส เราก็พบว่ามีภาระพึ่งพิงมากกวา่ รูปแบบอนื่ ๆ แตใ่ นทางกลบั กันเรากพ็ บ วา่ เขามคี วามสขุ มากกวา่ คสู่ มรสทอ่ี ยใู่ นรปู แบบอน่ื ๆ แลว้ มคี วามตอ้ งการผปู้ ฏบิ ตั ิ ดูแลมากที่สุด กลุ่มท่ีอยู่กับหลาน ส่วนใหญ่แล้วก็เป็นผู้สูงอายุวัยต้นๆ วัย 60-74 ปี เพราะว่าจะต้องรับภาระในการดูแลหลาน และอยู่นอกเขตเทศบาล มากท่ีสุด กลุ่มน้ีพบวา่ ไดร้ บั การดแู ลจติ ใจจากลกู หลานโดยการเยี่ยมเยอื น และ ไดร้ บั การตดิ ตอ่ ผา่ นทางโทรศพั ทม์ ากทส่ี ดุ รวมถงึ มแี หลง่ รายไดห้ ลกั มาจากบตุ ร นอกจากนแี้ ลว้ ผสู้ งู อายทุ อ่ี ยกู่ บั พอ่ แมเ่ ทา่ นนั้ เปน็ กลมุ่ ทม่ี คี วามสขุ นอ้ ยทส่ี ดุ เดย๋ี ว เราจะดไู ปในแตล่ ะรปู แบบนะคะวา่ เพราะอะไร แลว้ กลมุ่ ทอ่ี ยกู่ บั คนอน่ื ทไ่ี มใ่ ชญ่ าติ เราจะพบวา่ มกี ารทำ� งานมากทส่ี ดุ แลว้ กม็ คี วามตอ้ งการและกำ� ลงั ทำ� งานอยมู่ าก ทส่ี ุด ผลการศึกษาท่ีเราพบนี้ จะขอดงึ มาแต่ Highlight นะคะ ส�ำหรบั ผู้สงู อายทุ ่ีอยู่ ตามล�ำพงั คนเดียว ท่เี ราคิดวา่ เขาเปราะบางแนๆ่ แตจ่ ริงๆ แลว้ ถา้ หากเราลงไป ดูข้อมูลในรายละเอียดลึกเข้าไปอีก จะขออนุญาตแบ่งเป็นไฟเขียว ไฟแดง ไฟเหลืองนะคะ คนที่ดูเหมือนจะเปราะบางแต่ไม่เปราะบางก็คือ กลุ่มที่อยู่คน เดียวแต่มลี กู หลาน หรือญาติ อย่ใู นหมู่บา้ นเดียวกนั หรืออยู่ใกลๆ้ กนั ซึง่ เรา พบวา่ ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ นเ้ี ขารสู้ กึ เพยี งพอตอ่ การดแู ลแลว้ วา่ มลี กู หลานอยใู่ กลช้ ดิ ดว้ ย เขาเลยรู้สึกเพียงพอ ไม่ต้องการอะไรเพ่ิมเติม ในขณะท่ีอีกกลุ่มหน่ึงก็คือกลุ่มที่ อยู่คนเดียว แตว่ ่าลกู หลานญาติพน่ี อ้ งอยหู่ ่างไกล กค็ ล้ายๆ กับเฝ้าระวงั เขาก็ สามารถท่ีจะดูแลตัวเองได้ แต่ในขณะท่ีถ้าเขามีภาวะเจ็บป่วยหรือต้องการ ความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ลูกหลานอาจจะมาไม่ทันท่วงที ก็มีการติดต่อ ผา่ นทางโทรศพั ทก์ นั หรอื วา่ มาเยยี่ มเยอื นบา้ ง ในแตล่ ะเทศกาล สำ� หรบั ผสู้ งู อายุ ท่ีอยู่ตามล�ำพังคนเดียวที่เปราะบาง ก็คืออยู่คนเดียวอย่างไร้ญาติขาดมิตร 116 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
อยู่คนเดียวจริงๆ ซ่ึงเราพบว่าคนกลุ่มน้ีมักจะท�ำอะไรได้ด้วยตนเอง และก็ชอบ เข้าสังคม แต่ส่ิงหน่ึงท่ีเราพบว่าเขารู้สึกกังวลก็คือการที่เขาจะต้องตายคนเดียว อยใู่ นบา้ น เพราะว่าอยูค่ นเดียวไม่รู้วา่ วนั ใดวนั หนง่ึ มีอุบตั ิเหตุอะไรเกดิ ขน้ึ โดยท่ี ไม่มีใครดู เพราะอยู่คนเดียว อะไรอย่างนี้ นี่เป็นส่ิงท่ีเราค้นพบจากผู้สูงอายุ ท่ีอยู่ตามล�ำพังคนเดียวนะคะ เพราะฉะนั้นสิ่งที่เขาสะท้อนขึ้นมาว่าสิ่งท่ีเขา ต้องการก็คือการให้เพื่อนบ้าน หรือคนในชุมชนแวะเข้ามาหาเขาบ่อยๆ เพราะ เขาไม่รู้ว่าอะไรจะเกิดขึ้นวันไหน แล้วก็อีกประเด็นหน่ึงก็คือว่าเขาอยากจะมี สัญญาณอะไรก็แล้วแต่ เช่น มีกริ่งส�ำหรับขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินได้ แลว้ อกี ประเดน็ หนง่ึ กค็ อื เรอื่ งของการฝกึ อาชพี เพอ่ื สรา้ งรายได้ ขอ้ คน้ พบอกี อยา่ ง ที่ผู้สูงอายุในกลุ่มน้ีสะท้อนมา ก็คือว่าแม้เขาจะต้องอยู่คนเดียวแต่เค้าก็มีวิธีการ จัดการกับตัวเอง จัดการผู้ดูแล ก็คือมีการแลกเปลี่ยนการดูแลกับเพื่อนบ้าน คล้ายๆ กับเราอยู่ด้วยกันพ่ึงพาอาศัยกันและกัน อย่างกรณีที่ยกมาก็คือว่า ผู้สูงอายุเป็นผู้ให้เช่าบ้านเขาก็คาดหวังว่า ผู้เช่าบ้านนี้แหละจะมาช่วยดูแลเขา ในยามทม่ี อี ายมุ ากขนึ้ เคา้ กเ็ ลยลดคา่ เชา่ บา้ นให้ เปน็ การแลกเปลยี่ นพงึ่ พาซง่ึ กนั และกัน สำ� หรบั ประเดน็ ทผี่ สู้ งู อายทุ อี่ าศยั อยตู่ ามลำ� พงั ในเขตเมอื งและเขตชนบท ผสู้ งู อายุ ในเขตเมอื งเขาสะทอ้ นถึงเรื่องความยากล�ำบากในการเดนิ ทาง เขาอยากจะออก ไปไหนมาไหนด้วยตัวเอง แต่ว่าสภาพถนนไม่ดี ไม่สามารถขึ้นรถเมล์ได้เอง เขากเ็ ลยสะทอ้ นใหเ้ ราทราบวา่ ถา้ มนั มกี ารสนบั สนนุ เรอื่ งของการคมนาคมขนสง่ ให้กับผู้สูงอายุให้ไปไหนมาไหนสะดวกมากขึ้น ก็จะท�ำให้เขาสามารถ Active ไปไหนมาไหนได้ และอีกประเด็นหน่ึงคือเราพบว่า เขตชนบทก็จะมีกุศโลบาย อะไรต่างๆ ที่ให้คนไปเหย่ียมเยือนผู้สูงอายุได้ ประกอบกับการมีกิจกรรม ทางสังคม รูปแบบต่อไปเป็นรูปแบบผู้สูงอายุอาศัยอยู่ตามล�ำพังกับคู่สมรสนะคะ รูปแบบน้ี เป็นรูปแบบทมี่ ีความสขุ มากทส่ี ดุ เพราะว่ามสี ามแี ละภรรยาอยดู่ ว้ ยกัน กเ็ ลยได้ รับความรกั เอาใจใส่ซ่งึ กันและกนั แตก่ ็ลองนกึ ดนู ะคะวา่ หากวนั หน่งึ วนั ใดวนั ที่มี คนหนงึ่ เกดิ ภาวะเจบ็ ปว่ ย ไมส่ บาย หรอื พกิ ารขนึ้ ปญั หามนั กเ็ กดิ ขน้ึ แลว้ คะ แลว้ เขาก็จะรู้สึกมีความเปราะบางมากเพราะจะต้องท�ำหน้าท่ีเป็นคนดูแลอีกคนหน่ึง ทีอ่ ยู่ดว้ ยกนั เพราะฉะนน้ั ความต้องการทอี่ อกมา กจ็ ะเป็นความต้องการท่ีอย่ใู น เร่อื งการอ�ำนวยความสะดวกในการไปโรงพยาบาลหรือไปหาหมอ และเนอ่ื งจาก กลมุ่ นสี้ ว่ นใหญจ่ ะมลี กู ความตอ้ งการอกี อนั หนง่ึ กค็ อื เขาตอ้ งการทจ่ี ะใหล้ กู กลบั 117ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
มาหาบา้ ง คยุ ทางโทรศพั ทอ์ ยา่ งเดยี วมนั กพ็ อจะชว่ ยได้ แตว่ า่ อยากใหก้ ลบั มาเจอ มากกว่า อีกรูปแบบหน่ึงเป็นผู้สูงอายุที่อยู่ในครัวเรือนข้ามรุ่น รูปแบบนี้จะเป็นรูปแบบท่ี ผสู้ งู อายเุ องคาดหวงั วา่ จะไดร้ บั การดแู ลจากบตุ ร แตว่ า่ เขาจะตอ้ งกลบั ตอ้ งหนา้ ที่ เป็นผู้ดูแลหลาน ซ่ึงผู้สูงอายุถือว่าแม้การเล้ียงหลานจะเป็นภาระแต่กลับมองว่า เปน็ หนา้ ที่ แลว้ กต็ วั หลานเองนนั่ แหละคะเปน็ เสมอื นผชู้ ว่ ยประสานความสมั พนั ธ์ ระหว่างพ่อแม่สูงอายุและลูกที่ต้องไปท�ำงานไกลๆ และประเด็นที่ส�ำคัญคือเรา พบว่า ถ้าเปรียบเทียบในแต่ละรูปแบบแล้ว รูปแบบท่ีผู้สูงอายุอยู่กับหลานจะมี ความเปราะบางทางเศรษฐกิจมากกว่ารูปแบบอ่ืน เพราะเงินส่งกลับไม่เพียงพอ เราจงึ พบวา่ มผี สู้ งู อายทุ จี่ ะตอ้ งทำ� งานเพอื่ หารายไดม้ าเลย้ี งหลานทอ่ี ยดู่ ว้ ยกนั และ เนื่องจากผู้สูงอายุท่ีอยู่กับหลาน จะอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงท่ีภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื นเ้ี ขาจะมอี าชพี สว่ นใหญเ่ ปน็ เกษตรกรรม หรอื ปศสุ ตั วท์ เ่ี ปน็ ทุนในการด�ำเนินชีวิต เพราะฉะนั้นเราก็จะพบว่าผู้สูงอายุในภาคตะวันออก เฉยี งเหนอื และในภาคใตเ้ ขาจะไมค่ อ่ ยเปราะบางในดา้ นเศรษฐกจิ สกั เทา่ ไร เพราะ ว่าเขามที นุ ในการด�ำเนินชีวติ ดี สำ� หรบั ผสู้ งู อายทุ อี่ ยกู่ บั พอ่ แม่ หรอื คสู่ มรส เรามองวา่ อาจจะเปน็ รปู แบบอาศยั ใน อนาคต ถา้ ผูส้ ูงอายมุ ีอายุ 60 ปี พอ่ แม่ทอี่ ยดู่ ว้ ยกนั ก็ 80 ปี เพราะฉะน้นั เรา ก็จะมองเห็นถึงความเปราะบางท่ีผู้สูงอายุจะต้องรับหน้าท่ีดูแลผู้สูงอายุด้วยกัน ในบา้ น เราพบวา่ เขาเกิดความเปราะบางเพราะว่ามปี ญั หาเร่อื งทะเลาะเบาะแวง้ ซึ่งกันและกัน อาจจะมีความไม่เข้าใจกัน และเพ่ือนบ้านก็จะเป็นบุคคลส�ำคัญ ท่มี าดแู ลผสู้ ูงอายกุ ลมุ่ นี้ด้วย อกี ประเภทหนง่ึ คอื ผสู้ งู อายทุ อี่ ยกู่ บั ผอู้ นื่ ทไ่ี มใ่ ชญ่ าติ สำ� หรบั ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ นี้ เราก็ มีการเก็บข้อมูลจากเพ่ือน คนรับใช้หรือผู้ดูแล ซ่ึงเรามองว่าอาจจะเป็น Trend การอยู่อาศัยใหม่ของผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุกลุ่มน้ีส่ิงท่ีเขาต้องการก็คือ การดูแล ด้านจิตใจเพราะไปอยู่กับคนอื่นๆ ท่ีไม่ใช่ญาติ ฉะน้ันสิ่งท่ีเขาต้องการคือ ความรัก ความอบอุ่น และความสัมพันธ์อันดีกับครัวเรือนท่ีเขาไปอยู่ด้วย ในวันที่เค้าไม่มีเงินหรือว่าต้องเป็นภาระให้กับคนอื่นๆ ท่ีไม่ใช่ญาติเค้าก็จะรู้สึก ว่าตัวเองเป็นภาระ เพราะฉะนั้นความต้องการอันหน่ึงก็คือต้องการที่จะมีรายได้ เพราะว่าเชารู้สึกไม่มั่นคงทางด้านการเงิน ผู้สูงอายุก็ยังรู้สึกว่าเขาไม่อยากจะ พ่งึ พาใครนั่นเอง 118 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
นอกจากหา้ รปู แบบทบ่ี อบบางทเ่ี ราเกบ็ ขอ้ มลู มาแลว้ เรากไ็ ดพ้ บวา่ มนั กม็ รี ปู แบบ การอยูอ่ าศัยอื่นๆ ทเ่ี ปราะบาง เช่น การอย่กู บั ลูก แตผ่ ูส้ ูงอายุจะตอ้ งท�ำหนา้ ที่ ดูแลลูกนะคะ หรืออยู่กับหลานโต หรืออยู่กับบุคคลหลายรุ่นอายุในครัวเรือน เดียวกัน แล้วก็อีกอันหนึ่งคืออยู่กับพี่น้องที่เป็นผู้สูงอายุด้วยกัน เราก็จะเห็นว่า กลุ่มผสู้ งู อายกุ ลมุ่ นี้ เหมอื นเปน็ “ขัน้ กวา่ ” ของความเปราะบางท่นี อกจากต้อง ดแู ลตวั เองแลว้ ยงั ตอ้ งดแู ลคนอนื่ ในครวั เรอื นอยดู่ ว้ ย อนั นคี้ อื ความตอ้ งการทเี่ ขา สะท้อนออกมา ก็จะออกมาในเร่ืองของความต้องการให้มีคนดูแลอื่นๆ เพิ่ม เข้ามา หรอื ว่าการมาเหยย่ี มเยือน เขามองวา่ ถ้ามาเยี่ยมเยอื นรอบเดียว หรือมา วนั เทศกาล ดรู ูส้ กึ ห่างเหนิ ขอใหม้ าเปน็ ประจำ� เงินไมต่ อ้ งใหก้ ไ็ ด้ เขาตอ้ งการ อย่างน้ีมากกว่า เหล่านี้เป็น Highlight ของข้อค้นพบท่ีน�ำเสนอมาในแต่ละ รูปแบบ เราพบว่ารูปแบบการอยู่อาศัยโดยตัวมันเอง ไม่ได้เป็นตัวก�ำหนดให้ผู้สูงอายุ มคี วามเปราะบาง อยา่ งเชน่ เราจะคดิ วา่ ผู้สูงอายอุ ย่คู นเดียวคงเปราะบางแนๆ่ แต่จริงๆ แลว้ ไม่ใชน่ ะคะ จรงิ ๆ แลว้ มนั จะมีปจั จยั อืน่ ๆ ท่เี ข้ามา สนนั สนุนให้ เกดิ ความเปราะบางขน้ึ มา เชน่ ความสงู อายุ ความยากจน การมลี กู ทอี่ าศยั อยไู่ กล หรอื การมภี าวะเจบ็ ปว่ ย ทพุ ลภาพ หรอื มสี ขุ ภาพจติ ทไี่ มด่ ี รวมทงั้ การเปลย่ี นแปลง สถานภาพสมรส และความสัมพันธ์ในครัวเรือนนะคะ พวกน้ีล้วนเป็นปัจจัยให้ เกิดความเปราะบางข้นึ ในหมู่ผ้สู ูงอายุ นอกจากน้ีแล้วเรายังได้พบว่า 4 จิ๊กซอ ท่ีเป็นหัวใจในการดูแลผู้สูงอายุใน ครัวเรือน ได้แก่ เพื่อนบ้านท่ีดี ผู้น�ำชุมชนท่ีดี การมีความสัมพันธ์ในครัวเรือน ท่ดี ี แล้วกก็ ารมสี ิง่ แวดล้อมท่ีดี ทง้ั 4 จกิ๊ ซอนเี้ ป็นหัวใจท่ีส�ำคญั มากในการชว่ ย ดแู ลผ้สู ูงอายใุ นครวั เรือน เพราะฉะน้นั ในทา้ ยทส่ี ุด คณะผวู้ ิจัยกม็ าลองมองภาพ ดูว่าในช่วงบ้ันปลายชีวิต ผู้สูงอาจจะไม่ต้องอยู่คนเดียวตามล�ำพัง เขาอาจจะ มกี ารปรบั เปลย่ี นทอี่ ยอู่ าศยั โดยทอี่ ยกู่ บั ผดู้ แู ล ผรู้ บั จา้ ง กลบั ไปอยกู่ บั ลกู หรอื ญาติ พนี่ อ้ ง ในวันท่ีเขารู้สกึ ว่าสขุ ภาพร่างกายไม่แข็งแรงแล้ว ตอ้ งมคี นคอยดแู ล หรอื อยตู่ ามลำ� พงั กบั สตั วเ์ ลย้ี ง อกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื อาจจะอยคู่ นเดยี ว แตอ่ ยคู่ นเดยี วใน ชุมชนท่ีมีเพ่ือนบ้านคอยดูแล เหมือนกับโดดเด่ียวแต่ไม่เดียวดาย เพราะว่ายังมี คนดแู ลอยขู่ า้ งๆ เพราะฉะนน้ั โครงการนี้ เรากอ็ ยากสนบั สนนุ ใหม้ รี ะบบเครอื ขา่ ย เพ่ือนบา้ นใหเ้ กดิ ขน้ึ เพอื่ นบ้านสามารถพาไปโรงพยาบาลได้ สามารถเปน็ เพอื่ น พดู คยุ เมอ่ื ยามเหงา ใหค้ ำ� ปรกึ ษา ชวนทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ แบง่ ปนั อาหารเครอื่ งใช้ หรือให้ยืมเงิน และก็สามารถให้ความช่วยเหลือได้ทันที เพราะอยู่ใกล้นะคะ 119ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
เพื่อนบ้านอาจหมายถึง เพื่อนบ้านที่ติดกัน เพ่ือนบ้านในซอยเดียวกัน หรือ เราอาจจะมีผู้น�ำประจ�ำซอย และภายในซอยทุกบ้านก็น่าจะมีสัญญาณกริ่ง เพอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในยามฉุกเฉนิ อยากจะทง้ิ ทา้ ยไวว้ า่ เราจะท�ำอยา่ งไร ใหผ้ สู้ งู อายไุ มเ่ ปราะบาง สง่ิ ทอี่ ยากจะเนน้ กค็ อื การสง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ งู อายเุ กดิ ความรสู้ กึ มศี กั ดศ์ิ รใี นตวั เองในตวั เองนะคะ แลว้ กใ็ หเ้ ขาสามารถอยไู่ ดด้ ว้ ยตนเองโดยไมต่ อ้ งพง่ึ พาใคร แลว้ กพ็ ยายามใหผ้ สู้ งู อายุ คงอยใู่ นสภาพทสี่ ามารถดแู ลตวั เองไดเ้ ปน็ เวลานานทส่ี ดุ ถา้ ทำ� อยา่ งนไ้ี ดผ้ สู้ งู อายุ กจ็ ะไม่เปราะบาง อนั นีก้ ็จะเปน็ ภาพท้ังหมดของการดูแลผู้สูงอายุในบ้าน ทนี เ้ี รามกี ารพดู ถงึ โยงไปถงึ เรอื่ งชมุ ชนดว้ ยวา่ มรี ะบบชมุ ชนหรอื วา่ องคก์ รบรหิ าร ส่วนทอ้ งถ่ิน มาชว่ ยดูแลผ้สู ูงอายุอยา่ งไร ดฉิ นั ขอส่งตอ่ ให้ อาจารย์ปยิ วฒั น์ ค่ะ ดร.ปยิ วฒั น์7 ขอบคุณครับ อาจารย์ศุทธิดา ผมชวนทุกท่านขยับออกมาจากความเปราะบาง ทเ่ี กดิ ขนึ้ ภายในครวั เรอื น ภายในบา้ น ออกไปดทู บี่ ทบาทขององคก์ รสว่ นทอ้ งถน่ิ เป็นหน่วยท่ีได้รับทั้งความคาดหวังในเชิงนโยบายภาครัฐและความคาดหวังของ สงั คม ซง่ึ เราพบวา่ สงั คมไทยของเรามคี วามเปน็ สงั คมสงู วยั มากขนึ้ ทกุ วนั บทบาท ที่องค์กรส่วนท้องถิ่น เข้ามารับช่วงต่อไปก็คือเรื่องของการดูแลครัวเรือน เปราะบาง โดยในงานชนิ้ นน้ี ะครบั ผมและทมี วจิ ยั เนน้ ไปทค่ี รวั เรอื นสองลกั ษณะ ครัวเรือนลักษณะแรกคือครัวเรือนข้ามรุ่น ซ่ึงอาจารย์ศุทธิดาได้พูดไปบ้างแล้ว ครวั เรอื นอกี กลมุ่ หนง่ึ กค็ อื ครวั เรอื นทมี่ ผี สู้ งู อายทุ อี่ ยคู่ นเดยี ว เราไดร้ บั โจทยใ์ หญ่ ในการท�ำงาน คือการลงไปถอดบทเรียนแล้วก็สังเคราะห์ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับ ขบวนการท�ำงานขององค์กรส่วนท้องถ่ินท่ีท�ำหน้าท่ีดูแลครัวเรือนเปราะบางใน รูปแบบต่างๆ จุดเน้นของงานช้ินน้ีเราจะพยายามจ�ำแนกแยกแยะออกมาให้ชัด ว่าองค์กรส่วนท้องถิ่นแต่ละขนาดมีศักยภาพ หรือมีรูปแบบในการท�ำกิจกรรม อย่างไรบ้าง มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างเขตเมืองและเขตชนบท ขณะ เดยี วกนั กพ็ ยายามจะสะทอ้ นออกมานะครบั วา่ รปู แบบการอยอู่ าศยั ทง้ั ในครวั เรอื น ท่ีเป็นข้ามรุ่น และท่ีเป็นผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียว มีการท�ำงานอย่างไรบ้าง เราใช้ ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน ใช้ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณท่ีได้จากข้อมูลทุติยภูมิ 7 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยวฒั น์ เกตวุ งศา สถาบันวจิ ยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลยั มหิดล หวั หน้าโครงการวิจัย “กลไกของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการดูแลครัวเรือนเปราะบาง: กรณีศึกษาครัวเรือนข้ามรุ่น และ ครัวเรือนทมี่ ีผูส้ ูงอายุท่ีอยู่คนเดียว” 120 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
จากการส�ำรวจระดับประเทศมาเป็นตัวที่สะท้อนภาพรวมของสถานการณ์ แล้วก็ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการลงไปเจาะลึกข้อมูลท่ีอยู่ในพื้นที่โดยเราเช่ือว่า ปรากฏการณท์ อ่ี ยใู่ นพนื้ ทจ่ี ะสามารถสะทอ้ นภาพความจรงิ จากทขี่ อ้ มลู เปน็ อยใู่ ห้ กับเราได้ทราบ พื้นที่ในการรวบรวมข้อมูลครั้งน้ีเราลงไปท้ังหมดในพ้ืนท่ี 12 จังหวัด ในเขตรับผิดชอบท้ังหมด 46 องค์กรส่วนท้องถิ่นทุกๆ ขนาด ต้ังแต่ อบจ. เทศบาลนคร เทศบาลเมอื ง เทศบาลตำ� บล แลว้ ก็ อบต. ในแตล่ ะพ้ืนที่ เราก็เก็บข้อมูลในหลายๆ กลุ่ม ท้ังที่เป็นการสัมภาษณ์ผู้บริหารองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ การสนทนากลมุ่ แบบเจาะจงกบั กลมุ่ ผบู้ รหิ ารหรอื แมแ้ ตก่ ลมุ่ ผสู้ งู อายุ ผู้ดูแลเด็กเล็ก แล้วก็ตัวผู้สูงเอง โดยผมจะขออนุญาตไล่เรียงผลจากการวิจัย ของเราในสามประเดน็ หลกั ๆ เรอื่ งแรกผมจะชวนทกุ ทา่ นไปดวู า่ เวลาเราพดู ถงึ เรอื่ งครวั เรอื นเปราะบาง องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถ่ินมีความเข้าใจในค�ำนี้ เหมือนกันกับที่เราทุกท่านท่ีอยู่ในที่น้ี คิดหรือไม่อย่างไร แล้วมันเป็นต้นตอครับ เวลาท่ีเราดูว่าเขาคิดอย่างไร ก็จะ วางแผนมขี บวนการในการทำ� งาน ก�ำหนดกลไกต่างๆ รปู แบบกจิ กรรมตามส่งิ ที่ เขาคิด และสุดท้ายจะขออนุญาตเล่าเสียงสะท้อนที่เป็นข้อจ�ำกัดและก็ข้อเสนอ แนะเชงิ นโยบายท่ีสะท้อนมาจากพ้ืนที่โดยตรง ผมขออนุญาตเริ่มต้นทีก่ ารรบั รู้ของ อปท.ในเรอื่ งของครัวเรอื นเปราะบาง ถา้ เรา ดูตามค�ำนิยามของครัวเรือนเปราะบาง มันจะมีตัวแปรที่มาค่ันกลางอยู่ คือ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ทพี่ ดู ไปเมอ่ื สกั ครู่ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งของความไมม่ น่ั คงในการงาน อาจารย์มนสิการก็บอกว่า ถ้าคุณแม่ต้องลาออกจากงาน แล้วไม่มีเงินเดือน เป็นเหตุการณ์ท่อี าจจะกำ� หนดความเปราะบาง ทเ่ี ราเรยี กวา่ ครัวเรือนเปราะบาง คือเป็นครัวเรือนท่ีเดิมยังไม่ได้ประสบปัญหาที่เราพบว่าอยู่ในสภาวะที่เส่ียงต่อ การท่จี ะเกิดปญั หา และคาดว่าเมือ่ ปัญหาเกดิ ข้นึ ครัวเรือนเหล่าน้ีจะไมส่ ามารถ ดแู ลตวั เองได้ เราเรยี กครวั เรอื นกลมุ่ นวี้ า่ “ครวั เรอื นเปราะบาง” และกม็ คี รวั เรอื น อีกหนึ่งกลุม่ ท่แี ม้จะยังไมเ่ กิดเหตุการณ์ หมายถึงปจั จุบันน้ี เขากเ็ ปราะบางด้วย ตัวของเค้าอยู่แล้ว มีปัญหาของเขาอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเกิดเหตุการณ์หรือไม่เกิด เหตุการณ์ ครัวเรือนเหล่านี้จะประสบปัญหาอยู่เสมอ เราเรียกครัวเรือนเหล่าน้ี วา่ เปน็ “กลมุ่ ครัวเรอื นทีม่ คี วามยากไร”้ หรอื “กลุม่ ครวั เรอื นท่ดี ้อยโอกาส” ทีมวิจยั ของเราลงไปพูดคุยกับทา่ นผู้บริหารองคก์ รส่วนทอ้ งถนิ่ และพบว่าภาพท่ี สะท้อนออกมาส่วนใหญ่เวลาเราพูดคุยและถามความหมายในการรับรู้ของค�ำว่า 121ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
“ครวั เรอื นเปราะบาง” สว่ นใหญเ่ ขาสะทอ้ นอยใู่ นระดบั ทส่ี าม ครวั เรอื นเปราะบาง คอื ครัวเรือนทยี่ ากไร้ และครวั เรอื นท่ดี อ้ ยโอกาส ผมชวนทุกท่านดตู รงน้ี เพราะ มันจะเป็นตัวท่ีน�ำเร่ืองไปสู่การก�ำหนดรูปแบบต่างๆ ในการท�ำงานขององค์กร ส่วนท้องถิ่น ในความหมายท่ีจริงอยู่ท่ีช่องสีเขียว คือการพยายามที่จะสร้าง ภูมิคุ้มกัน ขยายโอกาสในกรณีท่ีเป็นครัวเรือนผู้สูงอายุนะครับ ขยายการเป็น ผู้สูงอายุที่เป็น Active aging ให้ยาวนานท่ีสุด สร้างความม่ันคงทางรายได้ ให้มากที่สุด เพื่อหลังจากเกิดเหตุการณ์เขาจะสามารถดูแลตนเองได้ กลายไป เปน็ ท่ี “ครวั เรอื นมนั่ คง” ดา้ นบน อนั นพ้ี อเราพดู คยุ ภายใตค้ ำ� นยิ ามวา่ ถา้ อปท. เช่อื วา่ ครวั เรอื นเปราะบางคือครวั เรือนท่ียากไรแ้ ละครัวเรอื นทดี่ ้อยโอกาส เวลาที่ เขาจัดสรรความช่วยเหลือลงไป หรือประเภทกิจกรรมต่างๆ ลงไป จะเริ่มต้น ต้ังแต่การจดั สรรไปผูพ้ ิการ ผู้ยากไร้ คนยากจน คนไร้บา้ น ไล่เรื่อยขึ้นไปครับ สีเขยี วคือกลุ่มที่ อปท. ให้ความเปน็ ห่วงน้อยทสี่ ุด ไม่ใช่ไม่ส�ำคัญ แต่มี priority อาจน้อยหน่อยท่ีต้องด�ำเนินการ อปท. ไม่สามารถท�ำทุกอย่างได้ในคราวเดียว เพราะฉะนั้น อปท. จ�ำเป็นต้องจัดล�ำดับความส�ำคัญ สีแดงที่อยู่ด้านล่าง คือ ประเภทครัวเรือน หรือบุคคลที่จะได้รับความช่วยเหลือในล�ำดับแรกๆ ในขณะ ครัวเรอื นเปราะบางที่เปน็ งานศกึ ษาในครง้ั น้ี จะอยู่ใน Tone สเี หลืองๆ ท่เี ขียน ว่าผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียว ผู้สูงอายุที่อยู่ด้วยกันตามล�ำพัง สองกลุ่มนี้เมื่อสักครู่ อาจารย์ศทุ ธดิ าช้ใี ห้เห็นว่า รวมกนั ได้ประมาณ 70-80% แล้ว แต่ว่าถูกจดั ล�ำดบั อยู่ในกล่มุ สีเหลอื ง และสีเขียว ถามว่าทำ� ไมจงึ เปน็ เช่นนนั้ ผมและทีมวิจยั เวลา คยุ ก็ถามครับ ทพ่ี ้นื ท่ีของท่านมผี พู้ กิ ารกีค่ น ท่านตอบได้ทา่ นมีตวั เลขใหผ้ มหมด เลย ผู้สงู อายมุ กี ีค่ น ติดบ้าน ติดเตียง ตดิ สังคมมกี ่ีคน ท่านตอบไดห้ มดเลย แต่ เวลาผมถามว่าแล้วมีผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวก่ีคนครับ ขบวนการในการได้มาซ่ึง ตวั เลขน้ี จะเป็นการนัง่ คยุ แลว้ ก็นบั นวิ้ แล้วถา้ มีเลขาหรือ อบต. ปลดั เทศบาล น่ังอยู่ด้วย ก็จะมีการแย้งกันว่า เอ๊!ไม่ใช่! ลูกหลานเขามา อยู่คนเดียวหรือ? พูดไปพูดมาอยู่อย่างนี้ครับ มันแสดงถึงความไม่แน่นอนในเรื่องฐานข้อมูลของ กลุ่มครัวเรือนบอบบางท่ีเราก�ำลังพูดถึงอยู่ เพราะฉะนั้นถ้าไม่มีฐานข้อมูล ส่ิงท่ี มันจะเกิดขึ้นก็คือว่า แล้วเขาจะตระหนักในเรื่องเหล่านี้ได้อย่างไร อันนี้ เป็นประเด็นหนงึ่ ท่เี ราพบ อยา่ งไรก็ดคี รับ เวลาเราคยุ ไปเร่ือย เราพยายามเจาะไปว่าแลว้ ถา้ เป็นผ้สู งู อายทุ ี่ อยูค่ นเดียวหรอื อยู่ดว้ ยกนั ตามล�ำพังล่ะ อปท. มวี ธิ ีการดูแลอยา่ งไรบา้ ง เราถอด กลไกทเ่ี ป็นโจทยห์ ลกั ของงานช้ินน้ีออกมา กลไกช้ินแรก เราพบว่า อปท. ส่วน 122 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ใหญใ่ ช้เรอื่ งของการส่งเสรมิ ให้เกิดการรวมกลมุ่ ของผสู้ งู อายคุ รับ ไมว่ า่ จะผา่ น กิจกรรมการรวมกล่มุ ทางสงั คม การมากจิ กรรมทางวัฒนธรรม หรอื อะไรตา่ งๆ แตเ่ ราพบวา่ มพี น้ื ทห่ี นง่ึ ซง่ึ เปน็ พนื้ ทท่ี มี่ คี วามโดดเดน่ ในการรวมกลมุ่ ผสู้ งู อายมุ าก คือ ศนู ยพ์ ัฒนาคณุ ภาพชีวติ และสง่ เสรมิ อาชพี ของผู้สูงอายุ ทำ� หนา้ ทตี่ อบสนอง กลไกหลักในเร่ืองการส่งเสริมการรวมกลุ่มในด้านน้ี ท�ำกิจกรรมในหกเรื่อง เราถอดบทเรียนจากพ้ืนท่ีที่มีทั้งการท�ำงานท่ีสมบูรณ์นะครับ มีทั้งการท�ำงานที่ รองลงมา แล้วก็เอากิจกรรมเหล่าน้ันมาถอดบทเรียนดู มีท้ังเร่ืองสุขภาพกาย สุขภาพจิต การรวมกลุ่มเพ่ือกิจกรรมทางสังคม ความมั่นคงทางรายได้กับ การรวมกลุ่มเพ่ืออาชีพในประเภทต่างๆ ท่ีเหมาะสมกับบริบทของท้องถิ่นนั้นๆ มีเร่ืองของการจัด และปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม ซึ่งในประเด็นนี้ถือว่ามีความ สำ� คญั มาก รวมทง้ั เรอื่ งสดุ ทา้ ยทเ่ี ราพบวา่ มกี ารท�ำกนั มากในปจั จบุ นั คอื เรอื่ งของ การรวมกลมุ่ เพอ่ื เรยี นรเู้ ทคโนโลยี สรา้ งความรอบรตู้ า่ งๆ เรมิ่ ไปตงั้ แตเ่ รอ่ื งงา่ ยๆ แล้วใกล้ตัวที่สุดคือเรื่องการท�ำเร่ืองพินัยกรรม จะเขียนพินัยกรรมอย่างไรไม่ให้ ลูกหลานทะเลาะกัน ยาวไปถึงเรื่องถ้าลูกหลานซื้อไมโครเวฟมาให้ ท่านจะใช้ อย่างไรเพ่ือไม่ให้บ้านท่านไฟไหม้ มีนะครับ ผู้สูงอายุท่านใช้ไม่เป็น แม้กระทั่ง สิ่งท่ีง่ายกว่านั้น คือหม้อหุงข้าวไฟฟ้า และกาต้มน�้ำไฟฟ้า มีการเรียนรู้พวกนี้ ไกลไปถึงการใช้ไลน์เป็นกลุ่ม ตอนเช้าก็ส่งข้อความบอกกันว่ายังมีชีวิตอยู่นะ เป็นกิจกรรมท่ีผู้สูงอายุเรียนรู้กันครับ ไม่ว่าจะผ่านในชื่อน้ี หรือช่ือศูนย์พัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ โรงเรยี นผสู้ งู อายุ หรอื ชมรมผสู้ งู อายุ กข็ นึ้ อยกู่ บั พน้ื ทนี่ นั้ ๆ ว่าจะสามารถด�ำเนินการได้ครอบคลุมได้มากน้อยเพียงใด แต่ในกลุ่มนี้ เวลาท่ี เราจ�ำแนกกลุ่มผู้สูงอายุออกมา เราพบว่า กลุ่มคนที่เข้าร่วมส่วนใหญ่จะอายุ ประมาณ 60-75 ปี หลงั จากน้ันไปไหน หลังจากนั้นจะเริ่มใชก้ ลไกท่ีสองเข้ามา กลไกที่สองคือกลไกช่วยเหลือ และฟื้นฟู อปท. จะลงไปท�ำกิจกรรมนี้ โดยใช้ นโยบาย Long-term care เป็นแกนกลางหลัก บางทีอาจจะเข้าใจว่า เอ๊ะ.. การมี Long-term care สามารถดแู ลผสู้ งู อายทุ ตี่ ดิ บา้ นและตดิ เตยี งอยเู่ ลยไหม ผมเรียนตามตรงนะครับว่าเอาไม่อยู่ สิ่งท่ีต้องเข้ามาประกอบด้วยคือกลไกของ ชุมชน เพอื่ นบ้านในการช่วยเหลือดูแล อย่างท่อี าจารย์ศุทธดิ าได้ให้รายละเอยี ด เมอ่ื สกั ครู่ แตก่ ลมุ่ ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ นเี้ ราพบวา่ โดยเฉลยี่ อายปุ ระมาณ 75 ปขี นึ้ ไป จะ เรมิ่ มคี วามเสย่ี งในภาวะตดิ เตยี ง เพราะฉะนน้ั อปท. จะลงไปทำ� ใน 3 เรอื่ งหลกั ๆ เร่อื งแรกคือการจัดสภาพแวดล้อม เตยี งจะต้องมี สภาพแวดล้อมจะต้องสะอาด เพอ่ื ลดความเสยี่ งในการตดิ เชอื้ ในโรคตา่ งๆ หลงั จากนนั้ แนน่ อนครบั มแี ผนการ ดแู ลเฉพาะบุคคล ซึ่งท�ำงานโดย CM (Care manager) และ CG (Care 123ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
giver) คอื ผบู้ รหิ ารแผนในการดแู ลผสู้ งู อายุ และผดู้ แู ล ทมี่ ภี าวะพพึ่ งิ แลว้ สดุ ทา้ ย สงิ่ ทต่ี อ้ งทำ� ควบคกู่ นั ไป คอื เรอ่ื งของการดแู ลสขุ ภาพจติ กลไกในตรงนม้ี ตี วั อยา่ ง ของกจิ กรรมตา่ งๆ ทเ่ี ราถอดออกมานะครบั เยอะมากมาย สงิ่ ทผี่ มจะสะทอ้ นให้ ท่านดูคือ ในภาคของครัวเรือนที่เป็นผู้สูงอายุท่ีอยู่คนเดียวและ ผู้สูงอายุที่อยู่ ด้วยกันโดยล�ำพัง กลไกสองตัวน้ีจะท�ำงานคล้ายเป็นบ้านสองช้ัน ช้ันล่างคือ ขบวนการฟื้นฟูแล้วก็ส่งคนเหล่ากลับน้ีให้ไปอยู่บ้านช้ันบนท่ีเป็นศูนย์พัฒนา คุณภาพชีวิต และสง่ เสริมอาชีพผูส้ งู อายุ ให้สามารถมีชีวิตให้ดอี ยเู่ ป็น Active aging ได้ โดยใชท้ นุ สามประการทสี่ ำ� คญั ทนุ ทห่ี นง่ึ คอื ทนุ ทางความคดิ ของผนู้ ำ� เชื่อมโยงกลับไปเร่ืองฐานข้อมูลนะครับ ผู้น�ำต้องการข้อมูลเพ่ิมในการตัดสินใจ และวางแผน ทุนทางด้านงบประมาณที่จะไปจากรัฐบาล เราก็ตามว่าเป็นการ ระดมในทางถ่ิน และแกนกลางที่อยู่ระหว่างชั้นท่ีหน่ึงและช้ันท่ีสองของบ้านคือ ชมุ ชน เราพบวา่ กจิ กรรมเหลา่ นจ้ี ะไมย่ ง่ั ยนื เลย ถา้ ไมม่ ที นุ ทสี่ าม คอื ทนุ ทางสงั คม และวฒั นธรรมของทอ้ งถนิ่ นน้ั ๆ อปท. จะตอ้ งเปดิ โอกาสใหเ้ กดิ การมสี ว่ นรว่ มให้ มากที่สุด แล้วก็ให้ชุมชนเข้ามาด�ำเนินกิจกรรมเหล่านี้ด้วยตนเอง ในขณะท่ี ครวั เรอื นขา้ มรนุ่ กลไกหลกั พน้ื ทห่ี ลกั ทจ่ี ะเขา้ มาชว่ ยเหลอื และทำ� งานอยา่ งหนกั คอื ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก ศนู ย์พฒั นาและสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กชื่อใดกไ็ ด้นะครับ ตอนท่หี ลานยงั เปน็ เดก็ ยงั เลก็ ๆ อยู่ ผสู้ ูงอายุอายุ 60 หรือประมาณ 70 กวา่ ปี ยังไม่ค่อยมีปัญหาครับตรงนี้ ความเปราะบางจะไปอยู่ท่ีเรื่องกิน การเติบโต ของเด็ก แตพ่ อชว่ งตรงกลาง ผม Highlight ใหญ่ๆ ไว้ว่าเปน็ ปญั หาเรอ่ื งของ ช่องว่างระหว่างวัย ต้องการความช่วยเหลือท้ังศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และก็สถานศึกษา เข้ามาท�ำงานร่วมกันนะครับ แล้วเม่ือเด็กๆ เหล่านี้โตเป็น วัยรุ่น แลว้ ผ่านขบวนการเหลา่ นีไ้ ปไดด้ ้วยดี เขาจะหนั กลับมาชว่ ยดูแลผู้สูงอายุ ไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ ปญั หาและอปุ สรรคทพี่ บในเทศบาลขนาดตา่ งๆ มีความหลากหลายครับ อปท. ท่ีมีขนาดท่ีใหญ่ข้ึน งบประมาณมีมากข้ึนท่ีจ�ำนวนคนที่ดูแลก็มีมากขึ้นด้วย ความเป็นเมืองมมี ากขึ้น กเ็ ขา้ ถึงเคสท�ำได้ยากยง่ิ ขน้ึ ระบบความเปน็ เพ่ือนบา้ น มนี อ้ ยลง ขบวนการเหลา่ นมี้ รี ายละเอยี ดทจ่ี ะตอ้ งวเิ คราะหเ์ ชงิ ลกึ ซง่ึ ปรากฏอยใู่ น รายงานฉบับสมบูรณ์แล้ว โดยสรุปผมน�ำเรียนอย่างนี้ครับ จากการที่เราไปเก็บ ขอ้ มูลเราพบวา่ ณ ปจั จุบนั น้ี อปท. มีความกา้ วหนา้ ในการดแู ลผู้สูงอายุอยูใ่ น 4 ระดับ ระดับทห่ี นง่ึ คอื ระดบั ทีน่ ้อยหรอื ต่�ำกว่ามาตรฐาน ระดับท่ีสองคอื ระดับที่ อยู่ในเกณฑ์มาตราฐาน ระดับท่ีสาม สีส้มๆ คือเริ่มที่จะยกระดับกิจกรรมของ 124 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ตนเอง แลว้ กร็ ะดบั ทีส่ ี่ คอื ระดบั ที่สามารถสร้างสรรคแ์ ละกต็ อ่ ยอด และก็สร้าง อตั ลักษณใ์ นการท�ำงานของตนเองได้แลว้ ผมไมท่ ราบขอ้ มลู วา่ ณ ตอนน้ี เรามีระดับทเ่ี ท่าไหร่มากกว่ากัน เนอื่ งจากการ ศึกษานเ้ี ปน็ การศึกษาเชงิ คุณภาพ เราจ�ำเปน็ ต้อง Verify ข้อมูลตรงน้ี วา่ เราอยู่ ในสถานนะใดเรอื่ งการดแู ลครวั เรอื นบอบบาง แตจ่ ากขอ้ มลู ทเ่ี ราไดม้ าหลากหลาย มติ ิ ผมจะขออนญุ าตนำ� เสนอขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การขบั เคลอ่ื นเชงิ นโยบาย ตวั แรก เป็น Best buy ซ้อื ทันที ได้ประโยชน์สดุ คมุ้ เปน็ Quick win คือการจัดท�ำ ฐานข้อมูลครัวเรือนเปราะบางระดับท้องถ่ิน ซ่ึงจะต้องไม่เก็บเพียงแค่จ�ำนวน ผสู้ ูงอายทุ ี่อยูค่ นเดยี ว จ�ำนวนผูส้ งู อายทุ ี่อยใู่ นครวั เรอื นข้ามรุ่นเท่านนั้ แตจ่ ะต้อง เก็บข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการของผู้สูงอายุคนนั้น มีปัญหาเร่ืองอะไร และท่ี ส�ำคัญเขามีญาตอิ ยู่ที่ไหนบ้าง ขอ้ มลู จะต้องถูกจัดเกบ็ อย่างเปน็ ระบบ ผมคดิ ว่า มีความท้าทายอยู่เร่ืองเดียว คืออาจจะเพิ่มภาระงานให้กับคนในท้องถ่ิน แต่ว่า ถ้าเทียบกบั ฐานข้อมูลอ่นื ๆ ทมี่ ีอยแู่ ล้ว ผมคดิ ว่าเราสามารถท�ำควบคูไ่ ปกันได้ ถดั มาคอื good buy ครบั กเ็ สนอใหก้ ระทรวงพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของ มนุษย์ ซึ่งมีแผนอยู่แล้วในการท่ีจะขยายจ�ำนวน แล้วก็ของศูนย์พัฒนาคุณภาพ ชีวิต ส่งเสริมอาชีพผสู้ ูงอายุ ผมมโี อกาสไดอ้ า่ นข้อมูลแล้ว ท่านใสจ่ ดุ เนน้ เหลา่ นี้ ไว้อยู่แล้ว แต่ว่าเวลาไปด�ำเนินงานจริง ทางท้องถิ่นยังเน้นไปในเรื่องของ นันทนาการ เรื่องของสุขภาพจิตด้านเดียวเท่าน้ัน แต่ต้องการให้เกิดภาวะ ผ้สู งู อายทุ ี่เปน็ Active aging อาจจะต้องก�ำหนดจุดเนน้ ให้ครบทกุ ดา้ น เช่น เดียวกันครับกับเรื่องศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มองว่าเป็น Good buy policy อีกหนึ่งอย่างนะครับ ที่ส�ำคัญคือเราพบว่าเด็กเล็กเน่ีย ที่อยู่ในครัวเรือนข้ามรุ่น เวลากลบั ไปบา้ นแลว้ ผสู้ งู อายสุ อนหนงั สอื ไมไ่ ด้ สอนการบา้ นใหเ้ ดก็ ไมไ่ ด้ ไมร่ จู้ ะ ทำ� อย่างไร แต่มที าง อปท. ทจ่ี งั หวัดหนึ่งในทางภาคเหนอื กระซบิ มาว่า มนั จะมี การเพม่ิ ภาระเขา้ ไปในศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ใหด้ แู ลกลมุ่ เดก็ พวกนโ้ี ดยเฉพาะ แตว่ า่ เพิ่มตรงนมี้ นั เก่ยี วข้องกบั งบประมาณโดยตรง อนั นี้เลยจดั ใหเ้ ป็น Good buy และข้อเสนอแนะอีกสองข้อที่เป็นข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ที่ผมยังหาผู้รับผิดชอบที่ ชัดเจนไม่ได้ คือเรื่องหน่ึงคือลดความเปราะบางในการส่งเสริมสภาพแวดล้อม ต้งั แต่ในบ้านไปจนถึงสถานทีส่ าธารณะต่างๆ ใหผ้ สู้ งู อายสุ ามารถมีอิสระในการ เคลอ่ื นไหว มอี สิ ระในการใชช้ วี ติ ทมี่ ากขน้ึ แลว้ สดุ ทา้ ยเปน็ ขอ้ ทฝี่ ากมาจาก อปท. จรงิ ๆ เวลาเขาจะใชเ้ งนิ มนั ลำ� บากในหลายๆ เรอื่ ง เนอ่ื งจากความขดั กนั ในเรอ่ื ง 125ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ของกฏหมายและอ�ำนาจบทบาทในการใช้เงิน ผมไม่ค่อยมีความรู้เร่ืองนี้นะครับ แต่ข้อเสนอของผมก็คืออาจจะต้องเกิดเวทีประสานงานการพูดคุยให้เกิดความ เขา้ ใจในเรอื่ งน้ี เพอื่ สดุ ทา้ ยมนั จะสามารถนำ� ไปสกู่ ารทำ� งานทต่ี รงตามยทุ ธศาสตร์ ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของเราได้ น่ีคือข้อมูลท้ังหมดท่ีผมพบจาก การท�ำงานของ อปท. ซึ่งพบว่าในทุกวนั นม้ี ีบทบาททีเ่ ด่นมากๆ และผมก็คดิ วา่ เป็นองค์กรหรือหน่วยงานที่มีความหวังมากที่สุดท่ีจะดูแลครัวเรือนเปราะบาง ของเราได้ แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม เราพบว่า นอกจากการท�ำงานของ อปท. แลว้ ยังมีภาคี ทีเ่ ข้า มาเก่ียวขอ้ ง เครือขา่ ยทเ่ี ขา้ มาเกี่ยวขอ้ งคือหน่วยงานภาคเอกชน แล้วกต็ ัวที่เปน็ กิจการเพือ่ สงั คมซึ่ง อาจารย์ธรี นงค์ จะเปน็ ผู้น�ำเสนอข้อมลู ต่อไปครบั ดร.ธรี นงค์8 สวัสดีทุกท่านนะคะ และก็ขอบคุณอาจารย์ปิยวัฒน์นะคะ วันน้ีค่อนข้างตื่นเต้น เพราะว่ามีท่านผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่าน แล้วก็มีผู้ให้ข้อมูลมาร่วมน่ังฟังด้วย ในสว่ นของอาจารย์ท้ังสามทา่ นแรก เปน็ เรอื่ งในระดับครอบครวั ในระดับชุมชน แต่ว่าในโครงการที่ส่ีน้ีจะเน้นไปเรื่องของนโยบาย โดยวัตถุประสงค์หลักของ โครงการวิจัยย่อยที่สี่เราอยากจะเห็นภาพรวมท้ังหมดของระบบสนับสนุน ที่เรา เรียกวา่ ระบบสนบั สนนุ จรงิ ๆ ก็คอื ระบบสวสั ดกิ ารใหก้ บั คนในสงั คม ซึ่งโจทย์ท่ี รบั คือการไปดวู ่า ในประเทศของเรานี้ มใี นสว่ นท่ภี าครัฐท�ำอยู่ และส่วนไหนที่มี อยใู่ นภาคประชาสังคม ในภาคเอกชน และสว่ นทที่ ่ีเราเรียกวา่ กิจการเพื่อสงั คม หรือ Social enterprise อยากฉายภาพให้เห็นว่าตอนนีม้ กี ารเคลื่อนไปถึงไหน แล้ว แล้วกแ็ นวทางทีจ่ ะท�ำใหภ้ าคสว่ นต่างๆ เข้ามาจับมอื กนั เราจะท�ำอยา่ งไร ได้บ้าง ในส่วนที่สองจะศึกษาข้อมูลจากต่างประเทศ ร่วมทั้งข้อมูลจากท่าน ผู้ทรงคณุ วฒุ ิทที่ �ำมาบ้างแล้ว การด�ำเนินการวิจัยก็จะแบ่งเป็นสองส่วนหลักๆ ก็คือการทบทวนวรรณกรรม ในประเทศและกต็ ่างประเทศ จากน้ันก็มกี ารสมั ภาษณค์ รัวเรือนผสู้ งู อายุ เพอ่ื จะ ทราบความตอ้ งการนะคะ และกม็ กี ารจดั ประชมุ กลมุ่ ผใู้ หข้ อ้ มลู นะคะ โดยทง้ั หมด ที่จะอยากจะได้คือภาพรวมของระบบสนับสนุน และแนวทางการพัฒนาเพ่ือจะ ท�ำให้มันเป็นบริบทของนโยบาย ของการที่ท�ำให้เกิดความร่วมมือของภาคส่วน 8 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธรี นงค์ สกลุ ศรี สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลยั มหดิ ล หัวหนา้ โครงการวิจัย “ระบบสนบั สนนุ ผสู้ งู อายแุ บบบรู ณาการ: การมสี ว่ นรว่ มของภาคเอกชนและกจิ การเพอื่ สงั คม” 126 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ต่างๆ ในการเข้ามาจัดสวัสดิการให้กับคนในประเทศของเรานั่นเอง ข้อมูลท่ีใช้ ส่วนหนึ่งเป็นขอ้ มูลทีส่ ถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คมท�ำขึน้ ด้วยนะคะ เราก็จะเห็นว่าครัวเรือนไทยของเราอยู่ไปเรื่อยๆ เราก็จะเร่ิมเหงาไปเร่ือยๆ คือ คนในบา้ นเรากจ็ ะนอ้ ยลงไปเรอ่ื ยๆ ซงึ่ นอกจากความเหงาในบา้ นแลว้ เรายงั เหงา ในนโยบายดว้ ย เพราะวา่ นโยบายกจ็ ะทำ� ใหเ้ ราเหงาในเชงิ ทไี่ มค่ อ่ ยจะใหภ้ าคสว่ น ตา่ งๆ มาจบั มอื กนั สกั เทา่ ไหร่ จากขอ้ มลู ทเี่ ราพบในประเดน็ สถานการณผ์ สู้ งู อายุ ซงึ่ ทกุ ทา่ นจะทราบอยแู่ ลว้ มนั นำ� ไปสคู่ วามทเี่ ราพยายามจะขยายความครอบคลมุ ของความช่วยเหลือให้กับคนในสังคม ซึ่งส่วนหนึ่งท่ีชัดเจนที่สุด มันท�ำให้เกิด ภาระค่าใช้จ่ายที่อาจจะสูงมากข้ึนแน่นอน เพราะว่าฐานของความต้องการ มันสูงข้นึ ในขณะทฐี่ านของคนท่ีเติมเงนิ เข้าไปในระบบมันกลับแคบลงไปเรอ่ื ยๆ เพราะว่ากำ� ลังแรงงานในประเทศของเราลดลง ท่ีน้ีขอเล่าในเชิงหลักการของแนวคิดการให้ความช่วยเหลือของประเทศต่างๆ ก่อนนะคะ ท่จี รงิ แล้ว ในประเทศทวั่ โลก วมท้งั ประเทศไทยมนั มีหลกั ของการให้ ความช่วยเหลือที่ต่างกันไปในแต่ละประเทศ เราถึงพบว่าในแต่ละประเทศ มีการให้ความช่วยเหลือต่างกัน ทั้งรูปแบบและการออกนโยบาย หรือมาตรการ ต่างๆ ท่ีนี้ในกลุม่ ประเทศที่เรามักจะมองเขา แลว้ ก็แอบอิจฉาเขา คอื สวีเดนซึ่ง เปน็ ประเทศทเ่ี ขามแี นวคดิ หลกั ตง้ั แตแ่ รกเลยวา่ ตอ้ งการจะจดั สรรใหแ้ กป่ ระชากร ทง้ั หมด แตว่ า่ โดยระบบของสวเี ดนทเี่ ปน็ การชว่ ยเหลอื ทง้ั หมด มนั เกดิ ขน้ึ บนฐาน ของประชากรที่จ่ายภาษีร้อยละ 60 เพราะฉะน้ันการที่เราจะไปถึงตรงนั้นได้ เราอาจจะเหนื่อยข้ึนหน่อยกับการท่ีจัดให้สรรให้ได้ท้ังหมดอย่างกลุ่มประเทศ Scandinavian และมันจะต้องมีมาตรการหลายอย่าง ที่ท�ำให้คนในสังคม ขยบั รว่ มกนั ดว้ ย เพอ่ื ทจ่ี ะไปตรงนั้น ส่วนเยอรมันนีเป็นการจัดแนวคิดท่ีเราก็ดูเขาเป็นตัวอย่างหลายเรื่อง และก็ส่วน ใหญ่ระบบสวัสดิการจะขึ้นต่อการทำ� งาน เพราะฉะน้ันรายไดข้ องรัฐ ก็จะมาจาก ลูกจ้าง เรียกได้ว่าเป็นระบบแรงงานทีอ่ ย่ใู นระบบ เพราะฉะนั้นหากมองหันไปใน ประเทศเรา ภาคแรงงานทีอ่ ยู่ในระบบ เราเรม่ิ น้อยลงไปเรื่อยๆ การน�ำรปู แบบนี้ มาก็อาจจะเป็นอีกประเด็นหน่ึงที่จะต้องคิดถึงอยู่พอสมควร ส่วนในอังกฤษ เขาเป็นโมเดลที่เรานำ� เข้ามาแรกๆ เลย ในสมัย จอมพล ป. ซึ่งเข้ามาในรปู แบบ การสงเคราะห์ให้กับผู้ด้อยโอกาสในสังคม ซึ่งถ้ามองว่า ในตอนแรกๆ ท่ีเรา จัดระบบความช่วยเหลือ เรายังไม่ได้เฉพาะลงไปที่กลุ่มผู้สูงอายุนะคะ เพิ่งจะ 127ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
มาเฉพาะในระยะหลังๆ น่ีเองที่มีการพัฒนาการมาเร่ือยๆ ในกลุ่มการให้ ความช่วยเหลือ เพราะฉะน้ันเวลาที่เราดูความช่วยเหลือท่ีถูกจัดผ่านนโยบายนี่ เราจะเห็นว่ามีประชากรท่ีอยู่ในระบบความช่วยเหลือมีหลายกลุ่ม ก็เลยท�ำให้ใน โมเดลของการให้ความช่วยเหลือจะค่อนข้างกว้าง แต่อันนี้ก็เข้าใจในส่วนของ ประเทศ และก็การให้นโยบายมันก็ต้องเป็นภาพใหญ่ ท่ีพยายามครอบคลุมคน ให้ได้มากทส่ี ุด ท่ีนี้ในของอังกฤษนี้เขาเป็นระบบของการสงเคราะห์ แต่ว่าโดยตัวของประชาชน เองที่อยู่ในสังคม ก็จะเป็นลักษณะก่ึงเสรี คือสามารถสนับสนุนตัวเองได้ซึ่งก็จะ คล้ายกับอเมริกาซ่ึงเป็นเมืองข้ึนของอังกฤษช่วงหนึ่ง อเมริการับแนวคิดของ ความช่วยเหลือไป แต่ว่าความเป็นหลักคิดเสรีนิยมของเชาท�ำให้รูปแบบของ อเมริกาซ่ึงเราก็ไปมองเขาอยู่เหมือนกันนะ จะเน้นในปัจเจกบุคคลเป็นหลัก คือรัฐจะเข้าไปแทรกแซงน้อย แต่ว่าการไม่เข้าไปแทรกแซงท�ำให้ประชาชนต้อง รบั ผดิ ชอบตวั เองสงู เพราะฉะนนั้ สว่ นใหญก่ จ็ ะเปน็ ระบบประกนั ทเี่ ราอาจจะไปดู เขาอยูบ่ า้ ง ส่วนในฝรั่งเศสเป็นเร่ืองของการมองคนในสังคมกับประเด็นเรื่องความเสี่ยง ก็คือการมองกลุ่มคนจากลักษณะของความเส่ียง เช่น มองเร่ืองความเจ็บป่วย การต้ังครรภ์ ความชราภาพ ความพกิ าร และการว่างงาน เพราะฉะน้นั โมเดล ระบบความช่วยเหลือในฝรั่งเศสก็จะเป็นเรื่องการ Target ของคนท่ีมี ความเปราะบางตง้ั แตแ่ รก ส่วนญี่ปุ่นเริ่มตั้งต้นการสงเคราะห์จากภัยสงคราม เพราะฉะน้ันโมเดลก็จะเป็น ลกั ษณะสงเคราะห์ และใหค้ วามชว่ ยเหลอื มาตง้ั แตแ่ รกๆ ไทยมคี วามคลา้ ยญปี่ นุ่ อยรู่ ะดบั หนง่ึ นะคะ แตว่ า่ การทสี่ งเคราะหไ์ ปเรอื่ ยๆ ทำ� ใหช้ ว่ งหนงึ่ ญป่ี นุ่ ลม่ สลาย ในเชิงนโยบายอยู่เหมือนกัน ก็เลยท�ำให้ญี่ปุ่นเริ่มปรับนโยบาย มาเป็น ความช่วยเหลือแบบท่ีต้องการผ่านภาคีมากขึ้น ภาคีในน้ันรวมถึงกลุ่มท่ีเป็น ประชากร ท่ีต้องการความช่วยเหลือด้วย ซึ่งก็รวมไปถึงผู้สูงอายุท่ีจะต้องมี การสนับสนนุ เงินสว่ นหนึ่งในการช่วยตัวเองอนั น้ดี ้วย ที่น้ีส่วนในประเทศไทยอย่างท่ีเล่าไปแล้ว ในระยะแรกเรามาในเชิงของ การสงเคราะห์ เรากพ็ ยายามจะใหค้ วามชว่ ยเหลือในลักษณะทอ่ี ย่อู าศัย เพราะ ฉะนน้ั ประเทศเรากจ็ ะเรมิ่ จากบา้ นบางแค แลว้ กเ็ รากม็ กี ารขยบั ขยาย จรงิ ๆ แลว้ โมเดลของประเทศไทย เร่ิมในระยะสักปีประมาณ 25 เร่ิมมีการเปิดโอกาสให้ 128 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
นักการเมืองหรือคนที่มีช่ือเสียงในสังคมสามารถจัดท่ีพักอาศัยให้กับคนในสังคม ได้ด้วย ช่วงนั้นเปน็ ชว่ งท่ีมีบา้ นพกั คนชราเต็มไปหมดเลย แล้วกม็ ีการเปดิ โอกาส ของนโยบายในยคุ แรกๆ ชว่ งหนงึ่ ทม่ี กี ารทำ� สถานสงเคราะหใ์ นวดั มนั กจ็ ะมชี ว่ ง หนึ่งที่กิจการสถานสงเคราะห์กระจายลงไปสู่ความร่วมมือจากคนในชุมชน แล้วก็จัดรูปแบบในวัด มีถึงประมาณสองร้อยในช่วงนั้น แล้วก็เราก็เริ่มขยับ ในปี 34 จรงิ ๆ แลว้ นโยบายประเทศไทยเปน็ แบบผสมๆ กนั นะคะ ระหวา่ งการสงเคราะห์ กับในเชิงของระบบเสรี มีอยู่ช่วงหน่ึงท่ีเราเปลี่ยนมาจากเริ่มสงเคราะห์เนี่ย พอเราเร่ิมมีการพัฒนาแผนเศรษฐกิจแห่งชาติในช่วงแผน 1-7 แล้วก็มีนโยบาย ประชากรทเ่ี รามงุ่ เนน้ เศรษฐกจิ มากๆ เลย เพราะฉะนน้ั กลมุ่ ประชากรสำ� คญั ของ ประเทศก็คือกลุ่มแรงงาน ในยุคนั้นเราจะเห็นได้ว่าระบบบ�ำนาญ เกษียณอายุ ราชการ Pension ต่างๆ ของประเทศไทยท่ีช่วยคนในระบบเกษียณ จะเทไปที่ กลมุ่ แรงงานหมดเลย ดงั นนั้ เวลาทเี่ รามองถงึ ความครอบคลมุ เรากจ็ ะเหน็ วา่ คนที่ อยู่ในระบบกลับเป็นคนที่ได้รับการดูแลเยอะเลย เพราะว่าช่วงหน่ึงก็ตกค้าง มาจากแผน 1-7 ที่เราออกมาตรการต่างๆ ในเรื่องของความช่วยเหลือของคน ในระบบ ทน่ี ตี้ อ่ มา พอประเทศเราเรม่ิ เกดิ วกิ ฤต ราวปี 40 เราเรมิ่ หนั มามองเงนิ ในกระเปา๋ ส่วนหนึ่ง แล้วเราก็เริ่มมองว่า ความม่ันคงทางสังคมของเราอยู่ที่ไหน แล้วก็ คนที่อยู่ในระบบแรงงาน จริงๆ แล้วก็จะมีความเปราะบางอยู่ด้วย พอปี 40 เราก็เรมิ่ ขยายทนุ ไปในสังคม เพราะฉะนั้น แผน 8-12 เนย่ี จะให้ความสำ� คัญ กับคนแลว้ ก็การพัฒนาคนเปน็ ศูนย์กลาง และ Concept ก็เริ่มเปลี่ยนมาจนถงึ ปี 53 เราเร่ิมมกี ารมองในเรอ่ื งของ Social partnership จรงิ ๆ แลว้ ถา้ อา่ นดอู าจารยร์ ะพพี รรณ9 ทธี่ รรมศาสตร์ จะเปน็ ทา่ นแรกๆ ทพ่ี ดู เรอ่ื งของสวสั ดกิ ารพหรุ ฐั กค็ อื เปน็ เชงิ ของการจดั สวสั ดกิ ารทดี่ งึ คนอน่ื เขา้ มาชว่ ย สนบั สนุนผสู้ งู อายุดว้ ย เรากจ็ ะเจอวา่ ในหลายประเทศ พอเริม่ มกี ารขยายระบบ สวัสดิการออกไป มีการจับมือกับคนอ่ืนมากข้ึนแล้ว Trend ของโลกเริ่มไปใน แนวทางน้นั มีองค์กรอาสาสมคั ร อาสาสมัครเอกชน แล้วกภ็ าคเศรษฐกิจธุรกิจ เรมิ่ เขา้ มาจดั บรกิ ารมากขนึ้ แตว่ า่ การเปน็ Social partnership ในความหมายน้ี 9 ศาสตราจารย์ ระพพี รรณ คำ� หอม คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 129ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ไม่ได้หมายความว่าให้รัฐยุติการจัด แต่ว่าให้ลดการผูกขาดบทบาทในเชิงของ การสนับสนุนเงิน และการจัดบริการ เพราะฉะน้ัน Social partnership ในความหมายนจี้ ึงครอบคลุมไปในเชงิ นน้ั นะคะ ที่น้ีเราจะเห็นว่าบริบทของนโยบายของเขาเริ่มเปลี่ยนไปเร่ือยๆ แล้วก็แนวคิดท่ี สรา้ งภาคสี งั คม เรม่ิ เขา้ มาเปน็ มบี ทบาทสำ� คญั ในทวั่ โลก เชน่ ในองั กฤษเราเรยี ก วา่ ขอ้ ตกลงการท�ำโครงการเพื่อประโยชนต์ ่อสังคม หรือ SIB (Social Impact Bond) ในอเมริกาเรายงั เรียกว่า Pay for success ในออสเตรเลยี จะเรียกวา่ Social Impact Investment ในญี่ปุ่นจะเรียกว่า Socially Responsible Investment เพราะฉะนนั้ ใน 4 Concepts ท้ังหมดนี้ มจี ดุ เดน่ กค็ อื วา่ รัฐอาจ ไมต่ อ้ งรบั ผดิ ชอบคา่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนนิ การทงั้ หมด แลว้ กอ็ าจจะเปน็ การลงทนุ ระหว่างเอกชนกับภาครัฐร่วมกันในการแบ่งรับความเสี่ยงที่อาจจะเกิดข้ึนกับ กจิ การ และศักยภาพของเอกชนท่เี ค้ามปี ระสิทธิภาพในการบริหาร จะช่วยเติม เตม็ ระบบใหม้ คี วามเขม้ แขง็ มากขนึ้ เพราะฉะนนั้ ตวั นโยบายของ Social Impact Partnership นี้ จะเป็นแกนหลักที่ให้เกิดการจับมือของภาคส่วนต่างๆ ได้ ซง่ึ เป็น Trend ทท่ี ว่ั โลกเรม่ิ ขยายออกไป ทน่ี ค้ี นทจี่ ะเกย่ี วขอ้ งกม็ ตี ามโครงสรา้ ง คอื จะมภี าครฐั ภาคเอกชน แลว้ กม็ ผี ลู้ งทนุ มผี ู้ใหบ้ รกิ าร และกม็ ีคนกลาง จุดส�ำคญั คือคนกลางที่ทำ� หนา้ ทใ่ี นการจัดบรกิ าร แล้วก็ประเมิน ติดตามตรวจสอบด้วยว่าคุณภาพของการจัดบริการท่ีให้แก่คน ในสังคมน้ันเป็นอย่างไรบ้าง มีค�ำถามว่าตัวกลางของเราจะเป็นใครดี ใครควร จะเป็นคนกลาง คนกลางจะกลางไหม อันนีก้ เ็ ปน็ โมเดลท่อี ยู่ในเลม่ รายงานแลว้ กจ็ ะขอขา้ มไป ประเด็นที่ส�ำคัญคือถ้าเราดูในระบบของอเมริกา เราจะเห็นว่าเส้นประ จะให้ ความหมายถึงเร่ืองผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และก็มีเส้นสีเขียว ก็จะเป็นการให้ บทบาทท่ีอาจจะไม่มากนัก และก็เป็นการสนับสนุนเร่ืองเงิน และก็เส้นประสี น้�ำตาล หรือสแี ดง จะเป็นแหลง่ เงินช่วยเหลือ ที่นเ้ี ราดูวา่ คนท่ีมีบทบาทหลักอยู่ ในอเมริกา ในภาคส่วนส�ำคัญก็คือจะมีภาครัฐ เอกชน ตัวผู้สูงอายุ องค์กร การกศุ ลและครอบครวั ที่นเ้ี ราจะเหน็ วา่ รฐั เนีย่ ใหก้ ารสนับสนนุ เชน่ แหลง่ เงิน หรือการช่วยเหลอื ตา่ งๆ ลงไปผา่ นองค์กรการกศุ ล ผ่านภาคเอกชน แลว้ กม็ สี ว่ น หนึ่งท่ีลงตรงไปท่ีผู้สูงอายุ และก็ครอบครัวในเส้นสีเขียว เช่น การสนับสนุน นโยบายต่างๆ เช่น การลางาน ก็อาจจะไปตอบโจทย์ของอาจารย์มนสิการ 130 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ในส่วนที่สนับสนุนครอบครัวให้มีความเข้มแข็งมากข้ึน หรือว่าในเชิงของ การจดั บริการชว่ ยเหลอื ภาครฐั จะไมส่ นับสนนุ ตรงไปทผี่ สู้ งู อายุ แต่ว่าจะทำ� งาน ผ่านภาคเอกชนกับองค์กรที่ไม่แสวงหาก�ำไร ส่วนรัฐน้ันก็จะให้บริการข้ันต�่ำเพื่อ ตอบสนองให้สามารถมีชีวิตได้ ส่วนในอังกฤษ เราจะเห็นว่าเส้นของเขา มีความ มีความม่ันคงเพราะว่าตัวภาครัฐและภาคเอกชนแล้วก็ตัวผู้สูงอายุเอง สามารถไดร้ บั การสนบั สนนุ ทงั้ จากตวั รฐั เอกชน แลว้ กอ็ งคก์ รการกศุ ล แมก้ ระทง่ั ตวั ครอบครวั เอง รฐั กส็ นบั สนนุ ใหค้ รอบครวั สามารถมบี ทบาทในการดแู ลผสู้ งู อายุ ได้ท้ังเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และก็มีการประกันสุขภาพถ้วนหน้าด้วย ผ่านจากภาครัฐลงมาท่ีตัวผู้สูงอายุ แล้วก็ส่วนภาครัฐก็จะให้เป็นเบ้ียสงเคราะห์ และมกี ารให้บริการผา่ นตวั ผ้สู ูงอายุเอง ท่ีน้ีเราขออนุญาตกลับมาท่ีไทย ตามที่วิเคราะห์อย่างนี้นะคะ ท่ีสวัสดิการ ลงไปที่ครอบครัวและถึงตัวผู้สูงอายุ ตรงองค์กรเอกชน ลงไปในลักษณะให้ ความช่วยเหลือกิจกรรม หรือการบริจาคเช่นเดียวกับตัวภาคเอกชนเอง ท่ีลงไป ในเชงิ ใหบ้ รกิ ารกบั การรว่ มสนบั สนนุ เพราะฉะนนั้ ภาคเอกชนกบั องคก์ รการกศุ ล เองอาจจะได้ทุนจากภายนอก ตรงนี้มันยังไม่มีรอยต่อ ท่ีท�ำให้สามารถไปได้ ระหว่างภาครัฐผ่านไปท่ีองค์กรการกุศลกับภาคเอกชน เพราะฉะน้ันเราอาจจะ ต้องต่อเส้นตรงนี้ เราจะท�ำให้เส้นต่อของภาครัฐ ต่อไปที่องค์กรอิสระ หรือ ภาคเอกชน หรือผู้สูงอายุ องคก์ รการกุศลอย่างไร ซง่ึ เส้นสีเหลืองท่ีคิดว่ามนั นา่ จะตอ้ งมี มนั กต็ อ้ งผา่ นกลไกตา่ งๆ ทไี่ ดศ้ กึ ษาของตา่ งประเทศมาตามโครงสรา้ ง ต่างๆ ท่ีเขามี แล้วก็จะน�ำไปสู่การที่จะมีระบบการประเมินผลอย่างไร มีการ สนับสนนุ เงนิ อยา่ งไร และควรมีการจดั การบริการ หรือให้บริการอยา่ งไร ทนี่ ใี้ น ส่วนอยากจะเสนอ คิดว่ามันน่าจะเป็นทางที่เป็นไปได้ก็คือว่าภาครัฐอาจจะปรับ บทบาท ซง่ึ อาจจะดเู ปน็ นามธรรมสกั หนอ่ ยในเชงิ มาตรการตา่ งๆ แตห่ ากเราเพม่ิ ในเชงิ Concept ได้ มนั จะออกมาในแนวทางทที่ ำ� งานได้ เชน่ การปรบั บทบาท จากภาครัฐ จากผใู้ ห้บรกิ ารมาเปน็ ผ้เู สรมิ หรอื สนบั สนุน คือลดจากการที่ใหต้ รง มาเปน็ การ Support ผ่านสว่ นงานอ่นื ทเี่ ก่ียวข้อง แลว้ ก็อาจจะดำ� เนนิ การผ่าน องค์กรกลาง และมีการสนับสนุนงบประมาณ และการติดตามประเมินผล ในส่วนขอ้ มลู ทอี่ าจารย์ปยิ วฒั น์พดู ถงึ เมอื่ สักครใู่ นเชงิ ของระบบในชมุ ชน อาจจะ ต้องมีชุดข้อมูลส่วนหนึ่งท่ีรัฐจะต้องรวบมาทั้งหมด ทั้งในเชิงของตัวผู้สูงอายุเอง และก็เชิงกิจการต่างๆ ที่ด�ำเนินการอยู่ในสังคมนี้ เพ่ือที่ท�ำหน้าที่เป็นคนจ่าย 131ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
เหมือนลักษณะการจ่ายงานให้ถูกคนเช่น เราอาจจะรู้ว่าภาคเอกชนท�ำอะไรอยู่ และก็มีบริการอะไร ที่สามารถน�ำส่งได้อย่างเหมาะสมกับความต้องการ เพราะ วา่ คดิ วา่ สว่ นของรฐั นม้ี ขี อ้ มลู หลกั ทสี่ ำ� คญั อยแู่ ลว้ ของประเทศ และในกจิ การขนาด เล็กอาจจะช่วยสนับสนุนเพราะว่าคิดว่าในกิจกรรมต่างๆ ตอนน้ีเรากระจาย อ�ำนาจล่งสู่ชุมชนแล้ว และก็ขยายให้ชุมชนมีบทบาทมากขึ้น มันจะท�ำให้เกิด กิจกรรมต่างๆ ที่สนับสนุนผู้สูงอายุอยู่แล้ว เพียงแต่ว่าเขาอาจจะต้องไปหาเงิน เองมนั ทำ� ใหอ้ าจจะเหนอ่ื ยขน้ึ เงนิ กไ็ มม่ อี กี ดว้ ย แลว้ กต็ อ้ งท�ำกจิ กรรมดว้ ย เพราะ ฉะน้ันการสนบั สนนุ กิจกรรมเล็กๆ มนั อาจจะไปชว่ ยเติมเต็มให้ระบบมันสมบรู ณ์ ข้ึนเช่นกัน ส่วนองค์กรการกุศล จะเป็นทางออกหนึ่งในการท่ีมีองค์กลางในการ ระดมทุน เพราะว่ามันอาจจะมีช่องของเงินท่ีระบบการเบิกจ่ายไม่คล่อง หรือ ข้อจ�ำกัดของระบบงบประมาณของประเทศ ซ่ึงเราไม่สามารถจ่ายตรงไปได้ ฉะน้ันอาจจะตอ้ งมีองค์กรหรืออะไรบางอย่างทท่ี �ำตรงนี้ ส่วนตัวโครงสร้างซึ่งถ้าลองเทียบตัวโครงสร้างกลไกของระบบและตัวคณะ กรรมการ และหลกั เกณฑแ์ ลว้ เราดงึ มาหลกั ๆ สามตวั กจ็ ะพบวา่ ในตา่ งประเทศ จะมี Aid Care Committee เป็นตวั คณะกรรมการดูแลระบบซึง่ ประเทศไทย อาจจะเรยี กเปน็ “คณะกรรมผสู้ งู อายแุ หง่ ชาต”ิ หรอื “สภาผสู้ งู อายแุ หง่ ชาต”ิ ซง่ึ ตรงนใ้ี นเชงิ ของตา่ งประเทศ คนทเ่ี ปน็ Aid Care Committee เขาจะมบี ทบาท ในการท่ีเป็นคนสะท้อนกลับว่ามีปัญหาอะไร และสามารถทบทวนนโยบายได้ สว่ นองคป์ ระกอบของคนทเี่ ปน็ คณะกรรมจะประกอบดว้ ยหลายภาคสว่ นทไี่ มจ่ ำ� กดั เฉพาะภาครัฐ แต่ว่ามีภาคเอกชนหรือว่าชุมชนเข้าไปร่วมอยู่ในโครงสร้างนี้ด้วย ส่วนในระบบเกณฑ์การคัดกรองของการเข้าบริการในต่างประเทศจะเรียกว่า Aid Care Approval Round คืออาจจะมีชุดท่ีต้องประเมินเฉยๆ ประเมิน ประสิทธิภาพแล้ว จะมีการประเมินประสิทธิผล เพ่ือน�ำไปสู่ทุนสนับสนุน ของรัฐบาล จากรัฐบาลไปสู่องค์กรอ่ืนๆ ด้วย ในส่วนเกณฑ์ของผู้ให้รับบริการ เด๋ียวเราอาจจะเร่ิมคิด คิดให้มันเฉพาะมากขึ้น เช่น ตอนน้ีเรามีเกณฑ์ในเร่ือง Occupational based Public Pension System หรือการใช้ประชาคม ในการท่ีเลือกผู้รับบริการท่ีเข้ามาในระบบของการรับบ�ำนาญ ส่วนรูปแบบอื่นๆ ที่เป็นโมเดลส�ำหรับการให้ภาคเอกชนเข้ามาจะอยู่ในเล่มรายงานสมบูรณ์ค่ะ ขอบคณุ มากค่ะ ดร.ภูเบศร์ ในส่วนของผมท�ำหน้าท่ีเป็นผู้สังเคราะห์งานวิจัยท้ัง 4 ชิ้น เพ่ือให้เห็น การเช่อื มโยงเป็นภาพใหญซ่ ง่ึ เป็นภารกิจของชุดโครงการวจิ ัยหลัก 132 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
ทุกท่านที่มาร่วมฟังในวันนี้ไม่ต้องตกใจนะครับ หากท่านจะความรู้สึกว่า การน�ำเสนอของพวกเราห่างออกไปจากบ้านไปทุกที จากอาจารย์มนสิการ พ่อแม่ลูก มาถึงผู้สูงอายุของอาจารย์ศุทธิดา ซ่ึงอาจอยู่กันคนละท่ีคนละบ้าน แลว้ ออกไปถึงกลไกส่วนท้องถน่ิ ของอาจารย์ปยิ วัฒน์ แล้วก็หลุดออกไป ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คมของอาจารยธ์ รี นงค์ ทง้ั นตี้ อนออกแบบชดุ โครงการ ก็มีความต้ังใจที่จะท�ำให้เห็นว่า เราต้องใช้กลไกทั้งประเทศและทุกภาคส่วน ในการทจี่ ะดแู ลครอบครวั หนว่ ยทเี่ ลก็ ทส่ี ดุ แตส่ ำ� คญั ทสี่ ดุ ในการพฒั นาทรพั ยากร มนุษย์ของประเทศไทย ถ้าเราไม่สามารถท�ำให้หน่วยน้ีแข็งแรงได้ ก็คิดว่า หน่วยอื่นกค็ งจะอ่อนเปลี้ยไปตามๆ กัน ในชุดโครงการวิจัยน้ีถ้าถามว่าเราเห็นอะไร ผมคิดว่าอยากเริ่มจากประเด็นแรก ซึ่งได้น�ำเสนอไว้ใน Research brieft ท่ีเร่ิมจากเร่ือง “แอ๊บข้าวท่ีหายไป” แอ๊บข้าวในภาษาเหนือหรือกระต๊ิบข้าวในภาษาอีสาน แต่ด้วยความท่ีตัวเอง เป็นคนเหนือ ก็เลยเรียกแอ๊บข้าว ซ่ึงมันหายไปจริงๆ มันหายไปจากบ้านไทย ครัวไทย เวลาแอ๊บข้าวมันมีขนาดเล็กลง หรือมันหายไป มันสะท้อน การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรอยา่ งนา่ มหศั จรรย์ แอบ๊ ขา้ วทห่ี ายไปสะทอ้ น ว่าจากแต่เดิมครัวเรือนไทยขนาดใหญ่ที่มีคนน่ังล้อมวงกินข้าวกันสี่ห้าคน และ แต่ละคนก็มีเวลามาน่ังกินข้าวร่วมกัน เพราะฉะน้ันในครัวเรือนไทยสมัยก่อน แต่ละบ้านจะก็มีแอ๊บข้าวหรือกระต๊ิบข้าวขนาดใหญ่ใหญ่ท่ีพอส�ำหรับสมาชิก ในบา้ นกนิ ขา้ วรว่ มกนั แตว่ นั นม้ี นั หายไปเพราะคนในครวั เรอื นอยกู่ ระจดั กระจาย กันไปหมด การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากร บวกกับการพัฒนาความเป็น เมือง ท�ำให้ลักษณะครัวเรือนที่แต่เดิมน้ีมีความเป็นครัวเรือนขยาย กลายเป็น ครวั เรอื นในลกั ษณะใหมๆ่ เลก็ ๆ ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั ขอ้ มลู ครวั เรอื นทมี่ ามกี ย็ งั ไมแ่ สดง ภาพที่ชัดเจนอย่างเต็มท่ี ไม่ทันตามท่ีน้อง Emily และอาจารย์ศุทธิดา ไปพบ คือแม้จะรายงานว่าเปน็ ครัวเรือนขยาย แตข่ ยายเปน็ บางเวลา ขยายเฉพาะเวลา กลางคนื กลางวนั เปน็ ครวั เรอื นผสู้ งู อายอุ ยลู่ ำ� พงั หรอื อยเู่ ลยี้ งหลายเปน็ ครวั เรอื น แบบข้ามรุน่ ตอนนีแ้ อบ๊ ขา้ วไปอย่ตามร้านอาหาร และขนาดกย็ อ่ มลงมาเหลอื แอบ๊ ละสบิ บาท ส�ำหรับหน่ึงคนกิน ก่อนจะเอาข้าวเหนียวใส่ในแอ๊บ ต้องเอาข้าวเหนียวใส่ในถุง พลาสตกิ กอ่ นจะไดส้ ะดวกตอ่ การทำ� ความสะอาด และการเกบ็ ไวอ้ นุ่ ใหมเ่ วลาขาย ไมห่ มด ตัวแอ๊บข้าวท่เี ปน็ เครอ่ื งจักสานเลยไม่ตอ้ งทำ� หน้าทีร่ ะบายอากาศตามที่ ควรจะเปน็ 133ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202