Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครอบครัวเปราะบาง

ครอบครัวเปราะบาง

Published by paktholibrary, 2020-04-10 03:38:46

Description: ครอบครัวเปราะบาง

Search

Read the Text Version

เจริญพันธุท์ ี่ตำ�่ กวา่ ระดบั ทดแทน (ชาย โพธสิ ติ า, 2552; ภูเบศร์ สมุทรจกั ร, ธีรนชุ ก้อนแกว้ , และ ริฎวัน อุเดน็ , 2560) การเปลยี่ นแปลงทางประชากรท�ำให้โครงสรา้ งประชากรเปล่ยี นไป ทั้งทางอายุและการกระจายตัวของประชากรในพื้นท่ีต่างๆ ประชากรอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป มีจ�ำนวนเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว แต่ประชากรวัยแรงงานท่ีมีอายุระหว่าง 30-64 ปีจะเติบโตอีก ในระยะเวลาหน่ึงและจะเร่ิมลดลง ในขณะเดียวกันกับการเกิดท่ีลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยจะมี จำ� นวนเดก็ เกดิ ลดลงนอ้ ยกวา่ 500,000 คนในอกี 30 ปขี า้ งหนา้ การลดลงของจำ� นวนประชากร วัยแรงงาน ซ่ึงปรากฏการณ์นี้สะท้อนให้เห็นว่า จ�ำเป็นจะต้องเร่งให้มีการพัฒนาทุนมนุษย์ ของแรงงานไทย เพื่อขับเคล่ือนเศรษฐกิจประเทศ ในขณะท่ีต้องเผชิญกับจ�ำนวนแรงงาน ที่ลดลงและอายุของคนวัยแรงงานเพ่ิมขึ้นเร่ือยๆ นอกจากนี้ ผลการช้ีวัดด้านการศึกษาของ เดก็ ไทยยงั มผี ลสมั ฤทธใ์ิ นระดบั ทไ่ี มส่ งู มาก มเี ดก็ สว่ นหนงึ่ ทไี่ มม่ โี อกาสไดร้ บั การศกึ ษาและตอ้ ง เผชญิ กบั ความเหลอ่ื มลำ้� ทางโอกาสในการเขา้ ศกึ ษา ซงึ่ แตกตา่ งกนั ออกไปตามพนื้ ทแี่ ละบรบิ ท ทางสงั คมของพน้ื ทนี่ น้ั ๆ การมปี ระชากรสงู วยั มากขน้ึ การอาศยั อยใู่ นครวั เรอื นเดยี วกบั ลกู ของ ผู้สูงอายุมีแนวโน้มลดลง แม้สัดส่วนการมีลูกอาศัยอยู่ด้วยกันในบริเวณใกล้เคียงจะอยู่ใน ระดับสูง และการดูแลพ่อแม่ของลูกลดลงเพียงเล็กน้อย แต่ในอนาคตจะลดลงมากกว่าเดิม เพราะครอบครัวของผู้สูงอายุในอนาคตมีขนาดท่ีเล็กลง และผู้สูงอายุท่ีไม่มีลูกจะมีจ�ำนวน เพ่มิ ข้นึ อย่างชดั เจน (กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติประจำ� ประเทศไทย, 2554) ส่วนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างครอบครัว เร่ิมจากค่านิยมเกี่ยวกับครอบครัวและ การแต่งงานเริ่มเปล่ียนไป จากอดีตการแต่งงานและการสร้างครอบครัวขึ้นอยู่กับบรรทัดฐาน และขนบธรรมเนียมประเพณี ปัจจุบันการแต่งงานและการสร้างครอบครัวเป็นเร่ืองของ ความพึงพอใจของแต่ละบุคคล และยังคงจะมีแนวโน้มเช่นน้ีต่อไปในอนาคต ซ่ึงค่านิยม ท่ีเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลต่อรูปแบบการอยู่อาศัย การสร้างครอบครัว ตลอดจนบทบาทหน้าที่ รวมถึงความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว ท�ำให้เกิดการอยู่อาศัยหลากหลายรูปแบบ ซงึ่ บางรปู แบบมคี วามเปราะบางทเ่ี กยี่ วเนอ่ื งโดยตรงกบั การพงึ่ พาอาศยั และการดแู ลซง่ึ กนั และ กนั ระหวา่ งสมาชกิ ในครอบครวั เปลย่ี นไปจากทเ่ี คยเปน็ ครอบครวั ขนาดใหญก่ ลายเปน็ ครอบครวั ทมี่ ขี นาดเลก็ ลงและมคี วามหลากหลายมากขนึ้ เชน่ คสู่ ามภี รรยาอาศยั อยดู่ ว้ ยกนั โดยไมม่ บี ตุ ร ครัวเรือนท่ีอยู่คนเดียว ครอบครัวเพศเดียวกัน เป็นต้น ครอบครัวเด่ียวที่มีจ�ำนวนมากท่ีสุด แตก่ ม็ แี นวโนม้ ลดลง ขณะทค่ี รอบครวั ขยายมแี นวโนม้ ทจี่ ะเพม่ิ ขนึ้ นอกจากนคี้ นไมม่ ลี กู กนั มาก ข้ึนเน่ืองจากข้อจ�ำกัดทางด้านเศรษฐกิจและความไม่สะดวกในชีวิตประจ�ำวัน และวัยท�ำงาน มกี ารยา้ ยเขา้ สเู่ มอื งมากขน้ึ ทำ� ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ รปู แบบการอยอู่ าศยั อยา่ งชดั เจน ในชนบท การอยู่อาศัยแบบครอบครัวข้ามรุ่นมีผลกระทบต่อผู้หญิงอย่างมาก โดยเฉพาะผู้หญิงที่อยู่ 34 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ในสถานะย่าหรือยาย อาจจะเกิดความเปราะบางในมิติของสุขภาพและเศรษฐกิจที่ส่งผล ให้เกิดความเครียดในการดูแลหลาน หรือครัวเรือนที่อยู่คนเดียวทั้งท่ีสมัครใจและไม่สมัครใจ มีจำ� นวนเพ่มิ ขึน้ ก็มขี อ้ จ�ำกัดดา้ นเงินออมและสวัสดกิ ารสงั คม และการทผี่ ู้หญงิ มกี ารศกึ ษาสูง ทำ� ใหส้ ามารถเขา้ สตู่ ลาดแรงงานไดม้ ากขึ้น วิถชี วี ติ ของผ้หู ญิงจึงเปลี่ยนไป จากในอดีตการมี ครอบครัวของผู้หญิงถือเป็นประเพณีและบรรทัดฐานของสังคม แต่ในปัจจุบันการมีครอบครัว เปน็ ทางเลอื กของบคุ คลทคี่ ำ� นงึ ถงึ สภาวะทางเศรษฐกจิ การงาน การศกึ ษาและความหลากหลาย ในการเลอื กใชช้ วี ติ คู่ (กองทนุ ประชากรแหง่ สหประชาชาตปิ ระจำ� ประเทศไทย, 2559) ดว้ ยเหตผุ ล ที่กล่าวมาน้ันมีส่วนท�ำให้เกิดผลกระทบต่อรูปแบบการอยู่อาศัยท่ีเปล่ียนแปลงไป ซ่ึงรูปแบบ การอยู่อาศัยในแบบต่างๆ ก็มีความเปราะบางท่ีแตกต่างกันไป โดยผลการศึกษาจากชุด โครงการวิจัยครอบครัวเปราะบางสะท้อนให้เห็นว่า ผู้สูงอายุและผู้หญิงเป็นผู้ที่เปราะบาง มากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงอายุในอนาคตจะมีจ�ำนวนมากขึ้นตามการเปล่ียนแปลง ของโครงสร้างประชากร ดงั น้นั จงึ ขอเสนอความเปราะบางของครวั เรือนผู้สูงอายจุ ากรูปแบบ การอยู่อาศัยแบบต่างๆ ดังตารางท่ี 1 เพ่ือเป็นแนวทางไว้ให้สังเกต ว่าครัวเรือนผู้สูงอายุ รูปแบบใดที่เขา้ ข่ายความเปราะบางและสามารถเขา้ ไปดูแลไดอ้ ย่างทนั ท่วงที อย่างไรก็ดี การเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางประชากรอันเป็นส่วนหน่ึงท่ีก่อให้เกิดความ เปราะบางยงั ไมไ่ ดถ้ กู พดู ถงึ มากนกั เนอ่ื งจากมผี ลกระทบตอ่ การอยรู่ ว่ มกนั ความสมั พนั ธ์ และ การเก้ือกลู กนั ภายในครอบครัว ท่ีอาจทำ� ให้เกิดค�ำถามหรอื ขอ้ ถกเถยี งกันภายหลงั ว่า ต้องท�ำ อยา่ งไร สงั คมไทยจงึ จะเปราะบางนอ้ ยทสี่ ดุ ทา่ มกลางการเปลยี่ นแปลงของโครงสรา้ งประชากร ท่ีควบคุมได้ยาก หากมองความเปราะบางของครัวเรือนเป็นเสมือนภาชนะที่มีรอยร้าว พรอ้ มจะแตกไดท้ กุ เมอื่ แตใ่ นเมอื่ ครอบครวั เปน็ สว่ นสำ� คญั ทสี่ ดุ ของสงั คม การละเลยรอยรา้ วนน้ั ไมอ่ าจทำ� ไดด้ ว้ ยเหตผุ ลทงั้ ปวง จงึ ตอ้ งหาวธิ แี กไ้ ขทเี่ หมาะสมในการจดั การกบั ความเปราะบาง ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซ่ึงการที่จะประคองความเปราะบางไม่ให้แตกหักน้ัน จำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั ความรหู้ ลายศาสตร์ และนำ� มาผนวกเพอื่ เปน็ แนวทางหรอื นโยบายแกไ้ ขปญั หา อย่างเหมาะสม ซ่ึงการแก้ไขหรือเฝ้าระวังปัญหาที่ดีควรจะต้องเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาอย่าง ตรงจดุ โดยอาจจะเร่มิ จากการมองหาวา่ ณ ขณะนี้ใครคอื ผู้ทเ่ี ปราะบางทสี่ ดุ ในครอบครวั ไทย ท่ีควรได้รับการดูแล? ได้กล่าวไปบ้างแล้ว ซ่ึงผู้เขียนจะได้กล่าวรายละเอียดเพิ่มเติมในล�ำดับ ต่อไป 35ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ตารางที่ 1 ลกั ษณะของความเปราะบาง จ�ำแนกตามรูปแบบการอยอู่ าศัยของครวั เรือนผู้สงู อายุ รปู แบบการอยอู่ าศัย ลักษณะของความเปราะบาง 1. อยู่คนเดยี ว/อยู่คนเดียว 1. ไมม่ ผี ้ดู ูแล/มผี ู้ดแู ลเป็นบางเวลา เปน็ บางเวลา 2. รายได้ไมพ่ อเพียงในการดำ� รงชวี ติ 3. เป็นผ้สู งู อายวุ ัยปลาย 4. ขอ้ จำ� กดั ทางดา้ นระเบยี บราชการ ไมไ่ ดร้ บั การดแู ลระยะยาว 5. ไมป่ ฏิสังสรรคก์ ับคนรอบขา้ ง/สงั คม 6. ไมม่ ลี ูกอยู่ภายในหมบู่ ้านหรอื ตำ� บลเดยี วกัน 2. อยู่กบั หลานเทา่ นั้น 1. รายได้ไมพ่ อเพยี งในการดำ� รงชีวติ 2. ประสบความเครยี ด 3. เปน็ ผูส้ ูงอายตุ ดิ บ้าน 4. เป็นผู้สงู อายุวยั กลาง (70-79 ปี) อย่กู บั หลานอายุ 14-17 ปี (ช่องว่างระหวา่ งวัย) 5. ตอ้ งรบั ภาระดแู ลหลานทีม่ ปี ัญหาสขุ ภาพกาย/จติ 6. ขอ้ จำ� กดั ทางดา้ นระเบยี บราชการ ไมไ่ ดร้ บั การดแู ลระยะยาว 3. อยู่กับค่สู มรสเทา่ น้นั 1. คนใดคนหนงึ่ ตดิ เตยี ง/เสียชีวิต 2. รายได้ไม่พอเพียง 3. มีความเครยี ด 4. ลูกหลานทอดทงิ้ /ไมม่ าดูแล 4. ขอ้ จำ� กดั ทางดา้ นระเบยี บราชการ ไมไ่ ดร้ บั การดแู ลระยะยาว 4. อยู่กับพ่ีน้องสูงอายุ 1. ผู้สูงอายดุ ูแลกันเอง เท่าน้นั 2. คนใดคนหน่ึงหรอื หลายคนมปี ัญหาสขุ ภาพกาย/จิต 3. มรี ายได้ไมพ่ อเพียง 4. ไมไ่ ดท้ ำ� งาน 36 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

รปู แบบการอยู่อาศัย ลกั ษณะของความเปราะบาง 5. อยกู่ บั คนที่ไมใ่ ชญ่ าติ 1. ผสู้ งู อายไุ ดร้ บั การดแู ลไมเ่ หมาะสม 2. ผู้สงู อายมุ ีรายได้ไม่พอเพยี ง 6. อยกู่ ับพ่อแม่สูงอายุ 1. ผสู้ งู อายุวัยต้นดแู ลผู้สงู อายุวัยปลาย 2. ผสู้ งู อายยุ ากจน 3. คนใดคนหน่ึงหรือหลายคนมปี ญั หาสุขภาพกาย/จติ 4. ไม่มีลูก/หลาน (ไม่เป็นผู้สูงอายุ) อยู่ในหมู่บ้านหรือต�ำบล เดยี วกัน 37ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

เอกสารอา้ งองิ กองทนุ ประชากรแหง่ สหประชาชาตปิ ระจำ� ประเทศไทย (UNFPA Thailand). (2559). รายงานสถานการณ์ ประชากรไทย พ.ศ. 2558 โฉมหน้าครอบครวั ไทย ยุคเกดิ น้อย อายุยืน. เข้าถึงเม่อื 3 มกราคม 2562, จาก http://thailand.unfpa.org/th/publications/รายงานสถานการณป์ ระชากรไทย- พศ2558-โฉมหนา้ ครอบครวั ไทย-ยุคเกิดนอ้ ย-อายยุ ืน. กองทนุ ประชากรแหง่ สหประชาชาตปิ ระจำ� ประเทศไทย (UNFPA Thailand). (2559). รายงานสถานการณ์ ประชากรไทย พ.ศ. 2558 โฉมหน้าครอบครัวไทย ยุคเกดิ นอ้ ย อายุยืน. เขา้ ถงึ เมื่อ 3 มกราคม 2562, จาก http://thailand.unfpa.org/th/publications/รายงานสถานการณป์ ระชากรไทย- พศ2558-โฉมหนา้ ครอบครัวไทย-ยคุ เกิดนอ้ ย-อายยุ ืน. ชาย โพธิสิตา. (2552). บทโหมโรง เกิดอะไรขึ้นกับครอบครัว. ใน ชาย โพธิสิตา และ สุชาดา ทวีสิทธิ์(บรรณาธิการ), ประชากรและสังคม 2552: ครอบครัวไทยในสถานการณ์เปล่ียนผ่าน ทางสงั คมและประชากร. นครปฐม :สถาบันวจิ ยั ประชากรและสังคม. ภูเบศร์ สมุทรจักร ธีรนุช ก้อนแก้ว และริฏวัน อุเด็น. (2560). ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย, นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหิดล. 38 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ผู้หญิงย่อมมีคณุ ค่าของความ เปน็ มนุษยเ์ ทียบเท่าผู้ชาย การเลี้ยงดบู ุตร การท�ำงาน บ้าน ไมจ่ ำ� เป็นต้องเป็นเร่อื ง ของผู้หญิงเสมอไป



4 สองคนในครอบครวั ไทยที่เปราะบาง การพฒั นาประเทศทใี่ หค้ วามส�ำคญั กบั “เงิน” มากกวา่ “เวลา” และ” พ้ืนที”่ ทำ� ให้ ผหู้ ญงิ วยั ทำ� งานทเี่ รม่ิ มลี กู และผสู้ งู อายทุ ม่ี รี ปู แบบการอยอู่ าศยั หลากหลายในปจั จบุ นั เปราะบาง ตอ่ การดูแลจริงหรอื ??........” ท่ีเกริ่นน�ำเช่นนี้เพียงเพราะต้องการจะส่ือให้ทราบว่า หากเม่ือพิจารณาความหมายของ “ผหู้ ญงิ วยั ทำ� งานทเ่ี รมิ่ มลี กู ” และ“ ผสู้ งู อายใุ นรปู แบบการอยอู่ าศยั ทหี่ ลากหลาย” อยา่ งผวิ เผนิ โดยไมใ่ สใ่ จกบั ความหมายทแ่ี ทจ้ รงิ ดว้ ยความคนุ้ ชนิ กับความคิดท่วี า่ ส่งิ ใดกต็ าม ถ้าไมส่ ง่ ผลก ระทบตอ่ การด�ำรงชวี ติ การกนิ อยู่ หลบั นอน หรือทำ� ใหผ้ เู้ ขยี นรำ�่ รวย - ยากจน กไ็ มม่ ปี ระโยชน์ อะไรทจี่ ะตอ้ งไปใสใ่ จใหเ้ สยี เวลา กบั การมองกนั อกี มมุ หนงึ่ ซง่ึ ตอ้ งพจิ ารณากนั อยา่ งถอ่ งแท้ กจ็ ะ 41ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ทำ� ใหไ้ ดเ้ ขา้ ใจวา่ มอี ะไรคลาดเคลอ่ื นไปจากความหมายที่แท้จริงมาก และหากยังใช้วิธีการมอง เห็นเพียงเพื่อการด�ำรงชีวิตไปวันๆ โดยไม่ใส่ใจว่าความหมายท่ีแท้จริงน้ัน จะถูกสร้างมาจาก ความเชอื่ ชดุ ใด ตรงกนั ขา้ มเปดิ ใจยอมรบั อยา่ งเตม็ อกเตม็ ใจกบั ความหมายทรี่ บั รู้ อยา่ งไมเ่ ขา้ ใจ ที่มาท่ีไปสิ่งน้ีอาจเป็นเคร่ืองสะท้อนว่า เราอาจหลงทางติดกับดักของมายาคติที่สังคมสร้างไว้ อย่างถอนตวั ไมข่ นึ้ มนษุ ยเ์ กดิ มามคี วามแตกตา่ งกนั โดยธรรมชาติ ไมว่ า่ จะเปน็ เพศ เชอ้ื ชาติ ภมู หิ ลงั ครอบครวั ฯลฯ และมีความแตกตา่ งกนั โดยสังคม หรือการใหค้ ณุ คา่ ทแี่ ตกต่างกนั ทางสังคม เช่น อำ� นาจ เกยี รตยิ ศชอื่ เสยี ง ความรำ่� รวยความจน ฯลฯ ความแตกตา่ งดงั กลา่ วมสี ว่ นสรา้ งความไมเ่ ทา่ เทยี ม ใหเ้ กดิ ขน้ึ ในสงั คม ขณะทขี่ อ้ เทจ็ จรงิ ประจกั ษช์ ดั เจนวา่ ความไมเ่ ทา่ เทยี มนน้ั มคี วามเชอื่ มโยง กับความเปราะบาง โดยสงั คมทีม่ สี มาชิกครอบครวั เปราะบางจ�ำนวนมาก ก็คอื สังคมท่มี คี วาม ไมเ่ ทา่ เทียมกันมาก และสังคมที่มีความไม่เท่าเทียมกนั มาก จะท�ำใหส้ มาชกิ ครอบครวั จำ� นวน มากออ่ นแอในทกุ ดา้ น ขาดกำ� ลงั ความสามารถ และประสบการณ์ รวมทง้ั ความพรอ้ มจะรบั มอื กบั ปญั หาทมี่ ากระทบ รสู้ กึ วา่ เปน็ ผเู้ สยี เปรยี บ ถกู เอาเปรยี บ ถกู เลอื กปฏบิ ตั ิ และถกู กดี กนั ทาง สงั คมในรปู แบบตา่ งๆ (โครงการสขุ ภาพคนไทย, 2560) นำ� ไปสกู่ ารตง้ั คำ� ถามในบทนวี้ า่ ความ ไมเ่ ทา่ เทยี มทเ่ี กิดขน้ึ ในสงั คมน้ัน ถูกท�ำให้ชอบธรรมภายใตโ้ ครงสรา้ งของสังคมได้อยา่ งไร?.. วัตถุประสงค์หลักของบทน้ี คือการน�ำเสนอประเด็นความเปราะบางในมิติของเพศ (ผหู้ ญงิ ) และวยั (ผสู้ งู อาย)ุ ซง่ึ มคี วามเกยี่ วโยงกบั มติ อิ นื่ ๆ ทา่ มกลางการเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ ง ทางประชากรและครอบครวั ภายใตก้ รอบแนวคดิ “intersectionality” หรอื ความสลบั ซบั ซอ้ น ความไม่เท่าเทียมที่เก่ียวข้องกับ “ผู้หญิง” และ “ผู้สูงอายุ” ซ่ึงมีภูมิหลังของครอบครัว แตกตา่ งกนั ในแตล่ ะบคุ คล ทง้ั ในเรอ่ื งเพศ วยั สถานะทางเศรษฐกจิ สงั คม รปู แบบการอยอู่ าศยั การได้รับการสนับสนุนจากครอบครวั สังคม สถานะทางสขุ ภาพ ฯลฯ เพอื่ ชี้ใหค้ นในสังคมเหน็ ถึงการด�ำรงอยู่ของความไม่เท่าเทียมทางเพศและวัย ท่ีคนสองคนในครอบครัวปัจจุบันก�ำลัง ประสบอยู่ ในลักษณะของการทับซ้อนกันของความไม่เท่าเทียมใน 2 ลักษณะ ได้แก่ 1) ความไม่เท่าเทียมจากบทบาทหน้าที่ของ “ผู้หญิง”ในสถานะต่างๆ เช่น แม่ เมีย สะใภ้ ลกู สาว และความไมเ่ ทา่ เทยี มอนั เนอื่ งมาจากรปู แบบการอยอู่ าศยั ของ “ผสู้ งู อาย”ุ ไดแ้ ก่ รูปแบบการอยู่อาศัยที่ผู้สูงอายุต้องดูแลตนเอง (อยู่คนเดียวตามล�ำพังเท่านั้น) ดูแลผู้สูงอายุ ด้วยกัน (อยู่กับคู่สมรสเท่าน้ัน อยู่กับพ่อ-แม่สูงอายุเท่านั้น และอยู่กับพ่ี-น้องสูงอายุเท่าน้ัน) และดูแลหลาน (อยู่กับหลานเท่านั้น) และ 2) ความไม่เท่าเทียมจากโอกาสแห่งชีวิต หรือ ชาตกิ ำ� เนดิ ทตี่ ิดตัวมาตง้ั แตเ่ กดิ จนทำ� ให้ “ผู้สงู อายุ” และ “ผ้หู ญิง” แต่ละคนไม่เท่าเทยี มกนั 42 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ซึ่งล้วนส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของท้ังสองคน อย่างไรก็ตามโอกาสแห่งชีวิตของ “ผหู้ ญิง” และ “ผู้สงู อาย”ุ แต่ละคนสามารถเปลี่ยนแปลงไดด้ ว้ ยการศึกษาหรือประสบการณ์ ชีวติ มติ ิเพศ ปฏิบตั กิ ารทางสังคมของวิธคี ิดในมติ ิเพศ คอื กระบวนการขัดเกลา เพ่อื ปลกู ฝงั ความคิด ความเชื่อและวิธีปฏิบัติต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับเร่ืองเพศ และบอกกันต่อๆ มาว่าอะไรดี เหมาะสม ควรทำ� หรอื อะไรเลวไมค่ วรทำ� จนถงึ หา้ มทำ� เดด็ ขาด ซงึ่ ลว้ นมรี ะบบคดิ กำ� กบั อยทู่ งั้ สน้ิ (กฤตยา อาชวนิชกุลและ กาญจนา ตงั้ ชลทพิ ย,์ 2551) ระบบคิดดงั กล่าว สามารถอธบิ ายมติ เิ พศจาก ภูมิทศั นค์ วามร้ทู ม่ี าจากสาขาต่างๆ อยา่ งหลากหลาย วิธีคิดทางวิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยา อธิบายความแตกต่างทางร่างกายผู้หญิง-ผู้ชาย เป็นส่ิงท่ีถูกก�ำหนดมาตามธรรมชาติ นอกจากน้ัน ยังอธิบายสัญชาติญาณทางเพศ เชื่อว่า เพศชายแขง็ แรง มพี ลงั ส่วนเพศหญงิ ออ่ นแอ เช่อื งช้า ชอบแสดงอารมณ์ คำ� อธิบายนีท้ ำ� ให้ เกิดการแบ่งแยกอย่างถาวร จนน�ำไปสู่การแบ่งแยกพ้ืนที่ทางสังคมของหญิงและชายออก จากกัน รวมท้ังมีการส่ังสอนคุณสมบัติและมารยาททางสังคมให้กับชาย-หญิง เพ่ือให้เกิด การแบ่งแยกข้วั ทีต่ า่ งกนั อยา่ งชดั เจน (Gorton: 2004) วิธีคิดทางสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม เป็นมุมมองเรื่องเพศท่ีตรงข้ามกับวิธีคิด วิทยาศาสตร์ โดยมุ่งเน้นอธิบายความแตกต่างและความหลากหลายในมิติเพศ ท่ีมีมากกว่า ชาย-หญิง เพอื่ แสดงให้เหน็ วา่ กรอบความคดิ ที่ยึดมนั่ เพยี งความเปน็ ชาย-หญงิ เท่านน้ั ส่งผล ต่อการแยกพ้ืนท่ีทางสังคมระหว่างหญิง-ชาย ท่ีเป็นต้นตอให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันในเชิง ของการให้คุณค่า โดยเฉพาะในสังคมทุนนิยม ที่ให้อ�ำนาจผู้ชายเป็นใหญ่ (Dunne, 2003) ท�ำให้การจัดสรร และการเข้าถึงอ�ำนาจ ทรัพยากร และบริการในตลาดเสรีแตกต่างกันตาม บทบาทหน้าท่ี ในความหมายน้ีเพศจึงเปน็ ส่งิ ที่สงั คมสรา้ งขึน้ และเป็นผลผลิตทางวัฒนธรรม 43ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

คงไม่ผดิ จากความจริงไปมากนัก หากจะกลา่ ววา่ การท�ำความเขา้ ใจความหลากหลาย ในมติ เิ พศ จะตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจระบบความหมายทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายใตบ้ รบิ ทความสมั พนั ธท์ ซี่ บั ซอ้ น เพื่อท่ีจะจ�ำแนกสิ่งที่เป็นเงื่อนไข ออกจากสิ่งท่ีเป็นพฤติกรรม การชี้วัดและตัดสินให้ผู้หญิง อย่ใู นชว่ งชั้นทางเพศทต่ี ำ�่ กว่าผชู้ าย เปน็ เร่ืองทางสงั คม วัฒนธรรมก�ำหนดสรา้ งความรู้ภายใต้ ความสมั พนั ธเ์ ชงิ อำ� นาจ การเมอื ง และบรบิ ททที่ ำ� ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมนนั้ ๆ ขณะทใี่ นสถานการณ์ ปจั จบุ นั มิติเพศต้ังอย่บู นฐานคิด “ความแตกต่าง” และ “ความหลากหลาย” แต่บรรทดั ฐาน หรือระบบคิดของคนในสังคมไทยที่ก�ำกับวิธีคิดในมิติเพศน้ัน ได้เลือกปฏิบัติกดทับศักยภาพ และทางเลอื กในการด�ำเนนิ ชวี ติ ของผู้หญงิ สงู กว่าผชู้ ายมากมายยิง่ นกั ศักด์ิศรขี อง “มนุษยแ์ ม”่ “มนุษย์แม่” เป็นค�ำท่ีได้ยินบ่อยครั้งในวาทกรรมปัจจุบันของผู้หญิงท�ำงานท่ีเป็นแม่ โดยเฉพาะแม่ลกู อ่อน สะทอ้ นความเข้มแขง้ (สตรอง: strong) เสียสละ อดทน ท�ำทกุ อย่าง เพ่ือความสุข และความก้าวหน้าของลูก แฝงความบีบคั้นของสภาพสังคมในปัจจุบัน แต่ความนัยลึกๆ ฉายความภาคภูมิใจที่ได้ท�ำหน้าที่อันยากล�ำบากน้ี แว่วค�ำว่า “มนุษย์แม่” ถ่ีข้ึนและดังข้ึน อาจสะท้อนความจริงว่า การเลี้ยงลูกในปัจจุบันเป็นความยากเย็นแสนเข็ญ กว่าในอดีตหลายเท่านัก แม้จ�ำนวนลูกจะน้อยลงกว่าในอดีต ท้ังยังแวดล้อมด้วยส่ิงอ�ำนวย ความสะดวก พร้อมกบั บริการทค่ี รบครัน แตเ่ สียงในสังคมกย็ ังได้ยนิ สะทอ้ นวา่ “เลี้ยงลูกวนั น้ี ยากเยน็ ” การปรับฐานความคิดเร่ืองครอบครัวในปัจจุบัน จากการมองบนฐานชายเป็นใหญ่ใน ครอบครวั หรือชายผหู้ าเลีย้ งครอบครัวเป็นหลกั และเป็น “ช้างเทา้ หน้า” สฐู่ านคิดหญิง-ชาย เปน็ ผสู้ รา้ งรายไดใ้ หค้ รอบครวั รว่ มกนั แบบ “ชว่ ยกนั ทำ� มาหากนิ ” ทำ� ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ระหวา่ ง การทำ� งานกบั การเลยี้ งดลู กู ของผหู้ ญงิ ในครอบครวั คนรนุ่ ใหมใ่ นหลายๆ ดา้ น เชน่ ความมนั่ คง ทางการเงิน ความก้าวหน้าในการท�ำงาน และการเลี้ยงดูลูก ซ่ึงน�ำไปสู่ความเปราะบางของ ครอบครวั เพราะอยา่ งไรเสยี เรอ่ื งดแู ลความเรยี บรอ้ ยในบา้ น การดแู ลลกู และผสู้ งู อายใุ นบา้ น 44 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ยังเป็นบรรทัดฐานทางสังคม รวมท้ังความคาดหวังให้ผู้หญิงมีความเพียบพร้อมในบทบาทนี้ โดยน�ำเร่ืองการตัง้ ครรภแ์ ละการดูแลลูกมากำ� หนดนยิ ามของ “แม่ทดี่ ี” การปรบั ฐานคดิ เชน่ นี้ ท�ำให้ “ชา้ งเทา้ หนา้ ” และ “ช้างเทา้ หลงั ” เปลีย่ นไปในศตวรรษ ที่ 21 เมอ่ื ศักยภาพของผหู้ ญิงไม่ไดด้ ้อยไปกว่าผ้ชู าย อยู่ที่วา่ จะไดร้ บั โอกาสตา่ งๆ จากสงั คม มากน้อยแค่ไหน เช่น โอกาสในการศึกษา การบริหารประเทศ การบริหารบริษัท และ หนว่ ยงานต่างๆ ฯลฯ ขณะท่ใี นมุมมองของการพฒั นาประเทศแบบอตุ สาหกรรม ซงึ่ ตอ้ งการ กำ� ลังคนที่สามารถใช้กำ� ลงั กายและกำ� ลงั สตปิ ัญญาในการทำ� งาน ดังน้ัน กำ� ลังคนทีม่ ีคุณภาพ จงึ เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ตอ่ การพฒั นาประเทศแบบอตุ สาหกรรม “คน” ทมี่ คี ณุ ภาพจงึ เปน็ เปา้ หมาย หลักของการพัฒนา ตัวอย่างเช่น คนไทยต้องเรียนหนังสือภาคบังคับเป็นอย่างน้อย คนไทย ควรต้องฝึกอาชีพและพัฒนาทักษะในการท�ำงาน คนท�ำงานควรต้องมีก�ำลังกายที่แข็งแรง สมบูรณ์ นอกจากนี้ค�ำว่า “คุณภาพ” ตามมาตรฐานอุตสาหกรรมยังหมายรวมไปถึง ความสามารถในการท�ำงานแบบเต็มเม็ดเต็มหน่วย เต็มเวลา และท�ำงานล่วงเวลาได้ตามที่ ผ้ปู ระกอบการตอ้ งการ ค�ำวา่ “คุณภาพ” ตามมาตรฐานอุตสาหกรรมจึงขยายความครอบคลมุ ไปถงึ ความสามารถของแรงงานในการ “ใหเ้ วลา” แกก่ ระบวนการผลติ ใหม้ ากที่สุดด้วย ท�ำให้ ผู้หญิงที่ก�ำลังตั้งครรภ์ และ/หรือ มีภาระครอบครัว เช่น มีลูกเล็กท่ีต้องดูแล และแม้จะยัง ไม่ได้ตั้งครรภ์ในขณะน้ัน แต่อาจต้ังครรภ์ในอนาคต จึงมักเป็นแรงงานที่ถูกกีดกันไม่ให้ เข้าทำ� งาน ทง้ั น้ี เพราะผหู้ ญงิ ทีต่ ั้งครรภ์ และ/หรอื ต้องดแู ลลูกเลก็ เป็นแรงงานที่ไม่สามารถ ทุ่มเทเวลาให้กับการท�ำงานได้อย่างเต็มที่ ผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานหญิง จึงมักนิยม ประกาศรับสมัครหญงิ ท่ไี ม่มภี าระตอ้ งต้งั ครรภแ์ ละดูแลลกู เช่น นิยมประกาศรับสมคั รผูห้ ญิง ทม่ี สี ถานภาพโสดเข้าทำ� งาน หรอื สร้างกฎระเบียบการปฏบิ ัติงานว่าจะต้องไม่ต้ังครรภ์ ไมม่ ีลูก ต้องดูแล เป็นต้น ประเด็นน้ีเกิดเป็นกรณีร้ายแรงเมื่อเดือนสิงหาคม 2561 ท่ีคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยโตเกียวออกมารับผิด และขอโทษท่ีแอบลดคะแนนผู้สมัครเข้าเรียนคณะ แพทย์ศาสตร์เพศหญิง เพื่อจงใจกีดกันให้มีแพทย์หญิงน้อยลง เป็นการลดปัญหาการท่ีแพทย์ หญงิ ลาออกหลงั จากการต้งั ครรภ์ 45ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

การสรา้ งสมดลุ ระหวา่ งการเลี้ยงดลู กู และการท�ำงาน การทบี่ ทบาทของผหู้ ญงิ ปจั จบุ นั เปลย่ี นไปจากเดมิ คอื ผหู้ ญงิ ตอ้ งออกมาทำ� งานนอกบา้ น เพ่ือร่วมรับผิดชอบภาระด้านเศรษฐกิจในครอบครัวเช่นเดียวกับผู้ชาย ท�ำให้ผู้หญิงได้รับ ความเทา่ เทยี มทางเพศมากขนึ้ ในเรอื่ งการทำ� งานนอกบา้ น แตก่ เ็ ปน็ สาเหตใุ หเ้ กดิ ความขดั แยง้ ระหว่างการท�ำงานกับการเล้ียงดูลูก เน่ืองจากบรรทัดฐานทางสังคม ได้จ�ำกัดให้ผู้หญิง เป็นผู้รับภาระในครัวเรือน การท�ำหน้าท่ี “แม่” ตามความคาดหวังของสังคม เป็น ความอิหลักอิเหล่ือที่ “แม่” ต้องตัดสินใจเลือกระหว่างศักดิ์ศรีของลูกผู้หญิง ด้วยการท�ำงาน พงึ่ พาตนเอง (Independent) กับการเปน็ “แม”่ และ “เมีย” ทด่ี ี ทำ� ใหผ้ ูห้ ญิงต้องเผชญิ กบั การตดั สินใจคร้งั ส�ำคญั ในชีวติ และไมว่ ่าทางออกจะเป็นทางใด ลว้ นมคี วาม “เปราะบาง” อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ แฝงอย่ดู ้วยเสมอ การเลือกการลาออกจากงาน เพื่อมาท�ำหน้าที่ “แม่เต็มเวลา” แม้จะท�ำให้แม่รู้สึก อิ่มเอมใจที่ได้ให้เวลากับลูกอย่างเต็มท่ี ขจัดความพะวักพะวงที่จะท้ิงลูกไว้ให้คนอื่นใดดูแล ได้เฝ้ามองดูพัฒนาการของลูกทุกนาที แต่ก็อาจมีความเครียด ท่ีต้องดูแลลูกอยู่ตลอดเวลา ไม่ได้ท�ำกิจกรรมอย่างอื่น เพราะส�ำหรับผู้หญิงหลายคน โดยเฉพาะที่มีความสามารถและมี การศึกษา การท�ำงานอย่างอ่ืนที่ไม่ใช่งานในบ้านเป็นการเติมเต็มที่ส�ำคัญอย่างหน่ึงของชีวิต และขณะเดียวกันการลาออกจากงานเป็นการลดคุณค่าในเชิงเศรษฐกิจของผู้หญิง กระทบ ตอ่ ศกั ดศิ์ รขี องตนเอง เพราะตอ้ งขอเงนิ สามี หรอื ครอบครวั ใช้ และยงั ตอ้ งเผชญิ กบั สายตาและ ความรสู้ กึ ของพอ่ แม่ และอาจรวมถงึ ญาตฝิ า่ ยสามที อ่ี าจมองวา่ “เกาะสามกี นิ ” ซำ้� ในบางกรณี อาจคิดมากไปถึงว่า หากวันหนึ่งต้องแยกทางกันจะหาเล้ียงตัวเองได้อย่างไร แม้ว่าอาจมีแม่ เต็มเวลาหลายๆ คน มีความสามารถในการหารายได้เสริมจากการท�ำงานออนไลน์ หรือ ทำ� อาชีพอิสระเล็กๆ น้อยๆ อย่กู ับบ้าน แต่ก็มีขอ้ จำ� กัดในเร่อื งความเพยี งพอและความมนั่ คง ของรายได้ กรณีเลอื กที่จะท�ำงานตอ่ ไป ซึ่งกจ็ ะประสบปัญหาการไม่สามารถทมุ่ เทเวลาใหก้ บั การท�ำงานได้อย่างเต็มที่ และกรณีเปล่ียนงานมาเป็นงานท่ีมีความท้าทายน้อยลง ก็จะส่งผล ให้สูญเสียรายได้ ดังน้ันสังคมต้องสร้างทางเลือกให้แม่ท่ีท�ำงานและเล้ียงดูลูก ให้สามารถ ปรับวถิ ีการท�ำงานและสามารถเลีย้ งดบู ุตรได้ควบคูก่ นั 46 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ความคับขันของในการตัดสินใจครั้งส�ำคัญของมนุษย์แม่น้ี สะท้อนให้เห็นว่า การมีลูก ทำ� ใหเ้ ปา้ หมายชวี ติ ของแมเ่ ปลยี่ น ซง่ึ สง่ ผลใหก้ ารตดั สนิ ใจมลี กู ของผหู้ ญงิ ยคุ ปจั จบุ นั ตอ้ งผา่ น กระบวนการกล่ันกรองทางความคิดอย่างมาก และอาจเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้สามี-ภรรยา ยุคปัจจุบันรีรอ และลังเลมากกว่าในอดีต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการมีลูก หรือกระท่ังเพียงแค่ การใช้ชีวิตร่วมกัน ทางเลือกของการสร้างครอบครัวและการเลี้ยงดูลูกแม้จะมีมากขึ้นกว่า แต่ก่อน แต่การตัดสินใจก็ยากขึ้น เช่น หากเลือกการท�ำงาน ซึ่งแปลว่าต้องทุ่มเทเวลาให้ กับการท�ำงานอย่างมาก จนอาจไม่เหลือเวลาในการดูแลลูก แต่ถ้าเลือกเป็นแม่เต็มเวลา มาเล้ียงดูลูก ก็แปลว่าต้องลดศักด์ิศรีของตัวเองลงในแง่ของการยืนบนล�ำแข้งของตนเอง ถึงแม้ว่าจะไตร่ตรอง กล่ันกรอง และเตรียมการอย่างดีเพียงใด ความรู้สึกและประสบการณ์ ทีไ่ ด้รบั เมอื่ ลูกเกิดขึ้นมาแลว้ จริงๆ มคี วามพิเศษและซับซอ้ นกว่าทีเ่ คยคิดไวเ้ สมอ แมส่ ่วนใหญ่ จึงยอมรับว่า “เมื่อมีลูกแล้วเป้าหมายชีวิตของแม่เปลี่ยน” และต้องการที่จะให้เวลากับ การเลยี้ งลกู และอยกู่ บั ลกู ท�ำให้ผู้หญิงจ�ำนวนมาก ไม่อยากลดบทบาทและศักดิ์ศรีของตัวเอง โดยเฉพาะท่ีเกี่ยวกับงาน การเปล่ียนงาน การเปลี่ยนทัศนคติต่อการท�ำงาน การลดโอกาส ในความกา้ วหนา้ ในงาน การลดความทา้ ทายของงาน และอน่ื ๆ ทสี่ รปุ แลว้ เปน็ การลดศกั ยภาพ อย่างต้ังใจ เพ่ือมีเวลาให้กับลูกและครอบครัวมากข้ึน ท�ำให้ความคิดท่ีอยากจะ “ลาออก มาเล้ียงลูก” จึงไม่ใช่ทางเลือกที่เป็นไปได้ง่ายนักในสภาพเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน และ เป็นเร่ืองไม่ต้องแปลกใจที่เพดานจ�ำนวนลูกส�ำหรับครอบครัวสมัยใหม่พอจะรับไหวเพ่ือให้ ท้งั ครอบครัว และสถานะทางเศรษฐกจิ ของครอบครวั ดำ� เนนิ คกู่ ันไปได้มอี ยู่เพียงแค่ 1 หรือ 2 คนเท่าน้ัน ขึ้นอยู่กับความพร้อมของทุนทางสังคมในแต่ละครอบครัว ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากร บคุ คลทีเ่ ปน็ ตวั ชว่ ยในการเลี้ยงลกู เงนิ ทุน เวลา อาชีพ และอ่ืนๆ ด้านการตัดสินใจของแม่ในการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับอาชีพ โดยเฉพาะที่รับรายได้เป็น เงินเดือนเม่ือมีลูก เผชิญกับความเปราะบางในการกลับมาสู่ที่น่ังเดิม และต�ำแหน่งหน้าท่ีเดิม ซึ่งมีความเป็นไปได้น้อย หรือแทบจะไม่มีเลย ผู้บริหารองค์กรตกอยู่ในภาวะที่ต้องตัดสินใจ เพื่อให้องค์กรด�ำเนินต่อไปโดยไม่สะดุด และแม่เองก็ตกอยู่ในภาวะที่ต้องตัดสินใจว่าจะเลือก การมีลูก การดูแลลูก หรือความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ซ่ึงต่างมีความหมายในระยะยาว ต่อตัวแม่และครอบครัวเช่นเดียวกัน ไม่เพียงเท่าน้ัน ความก้าวหน้าและความมั่นคงในอาชีพ ยงั หมายถงึ ความมนั่ คงของอนาคตของตวั แมเ่ อง ทหี่ ลายคนรสู้ กึ ดว้ ยซำ้� ไปวา่ มน่ั คงและแนน่ อน กวา่ ชวี ติ สมรส หากวนั หนึง่ เกดิ เหตุการณท์ ต่ี ้องอยู่เพียงลำ� พงั การมีอาชพี และรายได้จะเป็นส่งิ ทรี่ ับประกันการด�ำเนนิ ตอ่ ไปของชีวติ ตนเองและชวี ติ ลกู 47ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

นอกจากน้ี ความคาดหวังจากครอบครัว โดยเฉพาะฝั่งสามีท่ีมีต่อสะใภ้ในปัจจุบัน ไดเ้ ปลยี่ นแปลงไปจากอดตี จากความคาดหวงั ใหช้ ว่ ยดแู ลจดั ระเบยี บบา้ นชอ่ งใหม้ คี วามเรยี บรอ้ ย และดแู ลสมาชกิ ใหม้ คี วามสขุ สมบรู ณ์ ในปจั จบุ นั ยงั คาดหวงั ให้ “ชว่ ยกนั ทำ� มาหากนิ ” เนอื่ งจาก ความจ�ำเป็นทางเศรษฐกิจ รวมไปจนถึงความมีหน้ามีตาที่ลูกสะใภ้มีหน้าที่การงานท่ีทัดเทียม การลาออกจากงานเพ่ือมาดูแลลูกจึงอาจไม่ใช่บทบาทในอุดมคติของครอบครัวไทยในปัจจุบัน แม้จะพบเห็นอยู่บา้ งในสังคมท่ชี ายเปน็ ผูน้ ำ� สูง เชน่ เกาหลี หรือกลุ่มเอเชยี ใต้ ความอดึ อัดต่อ สายตาพอ่ แม่ และญาตฝิ ง่ั สามี ทำ� ใหภ้ รรยาตอ้ งสรา้ งสมดลุ อยา่ งดที ง้ั ในหนา้ ทภ่ี รรยา แม่ และ สะใภ้ เพื่อการอยู่ร่วมชายคาอย่างมีศักด์ิศรี ซ่ึงเป็นความยากล�ำบากในการท�ำบทบาทหน้าที่ ของผ้หู ญงิ หากมองในมมุ ของสตรนี ิยม (Feminism) ตามหลกั การศกั ด์ิศรคี วามเปน็ มนษุ ย์ ผหู้ ญิง ย่อมมีคุณค่าของความเป็นมนุษย์เทียบเท่าผู้ชาย ซ่ึงแปลว่าในยุคนี้การท�ำงานในบ้าน เช่น การเลยี้ งดบู ตุ ร การชว่ ยงานบา้ นตา่ งๆ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเปน็ เรอื่ งของผหู้ ญงิ เสมอไป เพราะผชู้ าย หรือพ่อสามารถเป็นตัวแทนของครอบครัวในการดูแลและเลี้ยงดูบุตร ก็จะท�ำให้ผู้หญิงได้รับ โอกาสทเี่ ทา่ เทียม สงั คมจงึ ควรความตระหนักเรอื่ งความเทา่ เทียมระหวา่ งบทบาทหญงิ -ชายใน ประเดน็ การทำ� งานในบา้ น ซง่ึ จะนำ� ไปสคู่ วามความเทา่ เทยี มทางเพศมากขนึ้ นอกจากน้ี ควร ตอ้ งรณรงคน์ ายจา้ งหรอื ผปู้ ระกอบการในการใหโ้ อกาสแมท่ ต่ี อ้ งดแู ลลกู กลบั เขา้ สตู่ ลาดแรงงาน โดยมที างเลอื กใหท้ ำ� งานแบบไมเ่ ตม็ เวลา หรอื มเี วลาการทำ� งานทย่ี ดื หยนุ่ ได้ ทส่ี ำ� คญั สงิ่ ทตี่ อ้ ง ปรับเปลี่ยนควบคู่ไปด้วยคือการปรับทัศนคติของคนไทย และให้ข้อมูลว่าไม่ใช่ผู้หญิงเท่านั้นท่ี มหี นา้ ท่เี ล้ียงลกู และดแู ลบา้ น เพราะในยุโรปพอ่ บา้ นกท็ ำ� หน้าที่หลักในการเลีย้ งดบู ุตร ขณะที่ ภรรยากลบั ไปท�ำงานก็มีตัวอยา่ งใหเ้ หน็ ไม่นอ้ ย ซงึ่ เร่อื งนน้ี า่ จะเป็นทางเลอื กของครอบครวั เอง วา่ ใครจะเปน็ คนหารายไดเ้ ขา้ บา้ น และใครจะทำ� หนา้ ทด่ี แู ลบา้ น เพราะทกุ วนั นบ้ี ทบาทในการ ทำ� งานของผู้หญิงไม่ไดจ้ ำ� กัดอยู่แคใ่ นบา้ นอกี ตอ่ ไปแลว้ ถงึ ทีส่ ดุ แล้ว “แม่” ควรจะมที างเลือก หลายๆ ทางเลอื กที่ลงตวั และเหมาะสมกบั แต่ละคน 48 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ผู้หญิงวัยทำงานเรม่ิ มีลูก เปราะบางตอ่ การปรับตัว เพอ่ื สรา้ งสมดุลชีวติ ครอบครัว กบั การทำงาน - บทบาทคนทำงาน - บทบาทแม่-เมยี - มีศักด์ิศรพี งึ่ ตนเองได้ - บทบาทผดู้ ูแลงานในบา้ น - บทบาทผ้ดู ูแลบพุ การี ผลกระทบ - ลาออกจากงาน (ขอเงนิ สามใี ช)้ - เปลีย่ นงาน (สูญเสยี รายได)้ - ลดบทบาทคนทำงาน (ความมัน่ คงของรายได)้ แนวทาง - สงั คมตอ้ งสรา้ งความตระหนกั ในเร่อื งความเท่าเทียม บทบาทชาย-หญงิ ในงานในบา้ น - นายจา้ งให้โอกาสแมท่ ี่ดแู ลลูกกลับเข้าสู่ตลาดแรงงาน รปู ที่ 4 ความเปราะบางของผหู้ ญงิ วยั ท�ำงานท่ีเรม่ิ มลี กู ท่ีมา: รายงานชุดโครงการวิจัยการดูแลครอบครัวเปราะบางในสถานการณ์การเปล่ียนแปลงโครงสร้าง ประชากร และสังคมไทย (สำ� นักงานกองทุนสนับสนนุ การวจิ ยั , 2561) 69.7% 30.2% 57.0% 43.0% รปู ท่ี 4 ฉายภาพให้เหน็ วา่ ผหู้ ญิงวัยท�ำงานเริ่มมีลกู มีความเปราะบางในมติ สิ มดลุ ชีวิต กับการท�ำงานและการดูแลบุคคลหลายช่วงอายุ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อศักดิ์ศรีของแม่ในการพึ่ง ตนเองในระยะยาว อยา่ งไรกต็ าม การเปน็ แมว่ ยั ทำ� งานเรม่ิ มบี ตุ รไมไ่ ดเ้ ลวรา้ ยอยา่ งทส่ี งั คมสมยั ใหม่ รบั รหู้ รอื ใหค้ วามหมายเสมอไป ทงั้ น้ี เนอ่ื งจากภมู หิ ลงั ของแมแ่ ตล่ ะคนมคี วามแตกตา่ งกนั ดงั นนั้ จงึ ทำ� ให้เผชญิ กบั เหตกุ ารณ์วุ่นวายทม่ี ากระทบแตกตา่ งกนั ดว้ ย 49ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

มติ ิแหง่ วยั การเปลยี่ นผา่ นทางประชากร เศรษฐกจิ และสงั คม จนเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายใุ นยคุ ปจั จบุ นั (ศตวรรษที่ 21) สะท้อนภาพความเข้าใจของผู้เขียนว่า การท�ำความเข้าใจความหมายของ ผสู้ งู อายใุ นสถานการณเ์ ปลยี่ นผา่ นจากประชากรวยั เดก็ สวู่ ยั ผสู้ งู อายุ จากเดมิ เศรษฐกจิ ทนุ นยิ ม ก�ำหนดให้ผู้สูงอายุต้องเกษียณอายุจากการท�ำงานในภาคอุตสาหกรรม เน่ืองจากไม่สามารถ แข่งขนั กบั วยั หนุ่มสาวได้ ตอ่ มาเปลย่ี นเป็นการให้ผสู้ งู อายเุ ปน็ สว่ นหน่ึงของแรงงานใหม่ หรอื การขยายอายุเกษียณ เน่ืองจากมองผู้สูงอายุว่า เป็นผู้มีศักยภาพและมีความรู้ความสามารถ ซ่ึงท�ำให้ผู้สูงอายุสามารถพ่ึงพาตนเองได้อย่างมีคุณค่า (ศศิพัฒน์ ยอดเพชร, 2549; บรรลุ ศิริพานิช, 2550; ศิริวรรณ อุทัยทิพย์ไพฑูรย์ และคณะ, 2552) เหมือนกับการน�ำความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ (จำ� นวน ขนาด สถานการณ์ แนวโนม้ ผ้สู ูงอายุ และอตั ราส่วนพ่ึงพิง ฯลฯ) มาบรู ณาการกบั ความรทู้ างดา้ นสงั คมศาสตร์ เพอื่ มองเหน็ ความมคี ณุ คา่ ของผสู้ งู อายทุ เี่ กย่ี วกบั ความรสู้ กึ และอารมณ์ ซง่ึ ซบั ซอ้ นเกนิ กวา่ จะอธบิ ายไดด้ ว้ ยวธิ กี ารวเิ คราะหท์ างสถติ ทิ เี่ ปน็ ตวั เลข หรอื ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์เพยี งอยา่ งเดยี ว ส่ิงดังกล่าวสะท้อนว่า การแสวงหาความรู้ความจริงภายใต้แนวคิดวิทยาศาสตร์ ยังไม่สามารถน�ำมาใช้ในการแสวงหาความรู้ความจริงได้อย่างสมบูรณ์ โดยเฉพาะในโลกแห่ง ความเปน็ จรงิ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั มนษุ ยใ์ นศตวรรษที่ 21 ทมี่ คี วามแตกตา่ งหลากหลาย และในสภาพ สงั คมทมี่ คี วามเสย่ี งทเ่ี ปน็ ผลจากการพฒั นาในยคุ ทผ่ี า่ นมา ทน่ี ำ� ไปสปู่ ญั หาสงั คมทท่ี บั ซอ้ นและ ซับซ้อนมากขึ้น เชน่ อคตติ ่อผสู้ ูงอายุ ไมไ่ ด้เกิดจากปจั จัยดา้ นอายุเพียงอย่างเดยี ว บ่อยครั้ง ที่ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยที่ซับซ้อน เช่น เป็นผู้สูงอายุ มีปัญหาสุขภาพ ยากจนด้วย และอยู่ กบั หลานในคราวเดยี วกันด้วย จนท�ำให้ไมส่ ามารถอธบิ ายไดช้ ดั เจนด้วยศาสตร์ใดศาสตรห์ นึง่ เน่ืองจากความหมายของผู้สูงอายุในรูปแบบการอยู่อาศัยที่หลากหลาย แม้จะมอง ความหมายของผสู้ งู อายทุ ห่ี ลากหลายขนึ้ แตผ่ สู้ งู อายกุ ย็ งั คงถกู ทอดทงิ้ ใหอ้ ยตู่ ามล�ำพงั มากขน้ึ การที่ผู้สูงอายุต้องอยู่ตามล�ำพัง ถูกน�ำมาเช่ือมโยงกับการเป็นผู้พ่ึงพิงที่ต้องการการดูแล จากคนในครอบครวั และสงั คม การใหค้ วามหมายผสู้ งู อายเุ ชน่ น้ี เปน็ การมองผสู้ งู อายใุ นลกั ษณะ เป็นกลุ่มก้อนเดียวกัน ทั้งๆ ท่ีภูมิหลังของประชากรกลุ่มนี้มีความแตกต่างหลากหลาย เช่น กลมุ่ ผสู้ งู อายวุ ยั ตน้ กลมุ่ ผสู้ งู อายวุ ยั กลาง และกลมุ่ ผสู้ งู อายวุ ยั ปลาย หรอื กลมุ่ ผสู้ งู อายตุ ดิ บา้ น ติดสังคม และติดเตียง ความแตกต่างเหล่านี้มีผลต่อศักยภาพของผู้สูงอายุในการดูแลตนเอง และความตอ้ งการของผสู้ งู อายใุ นการไดร้ บั การดแู ลทแี่ ตกตา่ งกนั ขณะทว่ี ธิ คี ดิ แบบวทิ ยาศาสตร์ ที่มองว่า ผู้สูงอายุในรูปแบบการอยู่อาศัยท่ีหลากหลาย โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่อยู่ตามล�ำพัง 50 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

(สญู เสยี รายได้) - ลดบทบาทคนทำงาน (ความมัน่ คงของรายได้) คนเดียว ตามล�ำพังกับคู่สมรส ตามล�ำพังกับพ่อแแนมวท่ าตงามล�ำพังกับพี่น้อง หรือตามล�ำพัง กับหลาน เปน็ วัยพึง่ พงิ และต้องการการดแู ลทัง้ หมดน้นั ได้สร้าง “วิกฤตแหง่ ความหมาย” ที่มี ผลต่อความเปราะบางของผ-สู้ สบงู อังทาคบยมาุทตอชอ้ างยส-รหา้ ญงคงิ วในามงตานระในหบนา้ักนในเรือ่ งความเท่าเทยี ม นอกจากน้ี ข้อมูลจ-านกากยาจรา้ สง�ำใหรโ้วอจกทาสัศแนมคท่ ตด่ี ิขูแอลงลปกู รกะลชับาเชขน้าสทู่ตี่มลีตาด่อแผรู้สงูงงอาานยุ ยืนยันว่า ประชาชนส่วนใหญ่ยังคงมีทัศนคติต่อผู้สูงอายุเชิงบวกหรือมีคุณค่า โดยประชาชนส่วนน้อย เทา่ นน้ั ท่ีมีทศั นคตเิ ชิงลบหรอื ไมเ่ ห็นคุณคา่ ของผู้สงู อายุ (ดรูปที่ 5) 69.7% 30.2% 57.0% 43.0% ท่ีมา: นดิ ้าโพล์, 2556 ท่ีมา: สำ� นกั งานสถติ แิ ห่งชาติ, 2555 รปู ที่ 5 ทศั นคติของประชาชนและคนหนุม่ สาวท่มี ตี ่อผสู้ ูงอายุ แมผ้ ลการสำ� รวจจะออกมาเชน่ น้ี แตส่ งิ่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จรงิ กบั ผลการศกึ ษา ยงั เปน็ สง่ิ ทสี่ ะทอ้ น ไดว้ า่ การทค่ี นในสงั คมมที ัศนคตทิ ีด่ ีตอ่ ผู้สงู อายนุ ้นั ไมไ่ ดเ้ ปน็ สงิ่ ยนื ยันได้วา่ ผสู้ ูงอายุจะไดร้ ับ การปฏิบัติท่ีดีเสมอไป เนื่องจากสถานการณ์ผู้สูงอายุถูกกระท�ำความรุนแรงและแนวโน้ม ผูส้ งู อายุถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำ� พงั ยงั คงมปี รากฏให้เห็นอยู่เสมอ การผลิตชุดความรู้ผู้สงู อายุ ด้วยมุมมองเช่นนี้ ส่งผลให้ผลการศึกษากับสถานการณ์จริงท่ีเกิดขึ้น มีความย้อนแย้งกัน อยมู่ าก ซง่ึ หากจะตอบคำ� ถามใหช้ ดั เจนวา่ คนในสงั คมปฏบิ ตั ติ อ่ ผสู้ งู อายอุ ยา่ งไร ตอ้ งกลบั มาสู่ การท�ำความเข้าใจว่าวิธีวิทยาที่ใช้แบบสอบถามส�ำรวจความคิดเห็น แล้วน�ำวิธีการวิเคราะห์ ทางสถิติมาใช้น้ัน แม้ว่าจะท�ำให้ได้ข้อสรุปเก่ียวกับสถานการณ์ของผู้สูงอายุในระดับภาพรวม ของประเทศไดก้ จ็ รงิ แตก่ ต็ อ้ งยอมรบั วา่ สงิ่ ทผ่ี ตู้ อบแบบสอบถามปฏบิ ตั ติ อ่ ผสู้ งู อายนุ น้ั สะทอ้ น ความจรงิ เพยี งบางส่วนเท่าน้นั 51ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

นัยน้ีส่ือความได้ว่า ความหมายของสูงอายุ เป็นสิ่งกีดกันให้ผู้สูงอายุต้องกลายมาเป็น ผพู้ ง่ึ พงิ สถาบนั ทางสงั คมตา่ งๆ อาทิ รฐั ชมุ ชน ครอบครวั องคก์ รอสิ ระ และองคก์ รภาคเอกชน ท้ังในด้านสินค้าและบริการทางสังคม แต่ด้วยข้อจ�ำกัดด้านงบประมาณและทรัพยากรของ สถาบนั ทางสังคม ประกอบกับคา่ นยิ มทางสังคมที่เปลีย่ นแปลงไป ส่งผลให้ผูส้ ูงอายใุ นอนาคต จะไมส่ ามารถพ่ึงพิงสถาบันไดอ้ ยา่ งปจั จุบนั ศักด์ิศรแี ละความจำ� เปน็ ในการพ่ึงพาของผู้สูงอายุ ความหลากหลายของรูปแบบการอยู่อาศัยร่วมกัน (Living arrangement) เป็นส่ิงที่ สะท้อนความจริง 4 เร่ืองที่เช่ือมโยงกัน ได้แก่ 1) เวลา (อดีต-ปัจจุบัน) 2) ระยะทาง (ใกล-้ ไกล) 3) ระยะหา่ ง (ความสมั พนั ธอ์ บอนุ่ -หา่ งเหนิ ) และ 4) ความเปราะบาง (สถานการณ์ ทบ่ี คุ คลไมส่ ามารถชว่ ยเหลือตนเองได้เมื่อมีการเปล่ยี นแปลง หรือมีวิกฤตการณเ์ กดิ ข้ึน ทำ� ให้ สูญเสียเสถียรภาพ และอาจท�ำให้ไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติได้ ซึ่งมิติต่างๆ บ่ันทอน ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัว) โดยพบว่าสัดส่วนของรูปแบบการอยู่อาศัยประเภทต่างๆ เป็นลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะยุค อาทิ ครอบครวั ไทยในอดตี อาจมลี กั ษณะการอยูร่ ว่ มกนั แบบ 3 เจเนอเรชัน ซ่ึงเรียกว่าครัวเรือนขยาย มีสัดส่วนมากกว่าการอยู่อาศัยในรูปแบบอ่ืนๆ แต่ การเปลย่ี นแปลงทางโครงสรา้ งประชากร เศรษฐกจิ และสงั คม ท�ำใหย้ คุ ปจั จบุ นั ครวั เรอื นเดย่ี ว ซงึ่ มี 2 เจเนอเรชัน ไม่เพียงแต่มีสัดส่วนเพ่มิ มากข้นึ แต่ยังมคี วามหลากหลายมากข้นึ จ�ำนวน สมาชิกในครัวเรือนมีจ�ำนวนน้อยลง อีกทั้งการย้ายถิ่น และการพัฒนาเป็นสังคมเมือง ท�ำให้ เกิดครัวเรือนเล้ียงเดี่ยว ครัวเรือนท่ีอยู่คนเดียว ครัวเรือนข้ามรุ่น และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ทา่ มกลางการเปลย่ี นแปลงเหลา่ นี้ ครอบครวั กย็ งั คงเปน็ ครอบครวั อยเู่ หมอื นเดมิ มสี มาชกิ ตา่ งๆ อยู่ครบ แต่ทว่าอยู่อาศัยกันคนละท่ี คนละครัวเรือน มีระยะทางคั่นกลางที่ส่งผลต่อเวลา การอยู่ร่วมกัน และอาจส่งผลถึงระยะห่างของความสัมพันธ์อันเน่ืองจากการมีเวลาอยู่ร่วมกัน และช่วยเหลือเก้ือกูลกันน้อยลง แม้ในปัจจุบันเคร่ืองมือสื่อสารยุคดิจิทัลที่ช่วยให้การส่ือสาร ระหว่างสมาชิกครอบครัวได้อย่างฉับพลันตลอดเวลา ท้ังภาพและเสียงในราคาที่แสนถูก แต่ความสัมพันธ์ที่เกิดจากการสัมผัสอย่างใกล้ชิด ถูกพรากไปจากระยะทางที่ต้องใช้เวลา ในการเดินทางมาพบปะกันนานยาวขึ้น สภาพการณ์นี้ไม่ได้เกิดแต่เพียงในกรณีที่สมาชิก ครอบครวั อยู่คนละจังหวดั หรือคนละประเทศเทา่ นัน้ แม้แต่ในมหานครและเมอื งใหญ่ท่รี ะยะ ทางห่างกันเพียงไม่ก่ีกิโลเมตรอาจต้องใช้เวลายาวนานในการเดินทางมาพบปะกัน นอกจากน้ี 52 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ยงั พบอกี ว่า แม้ในบางครัวเรือนท่ีสมาชิกทง้ั 3 รุน่ อาศัยอยูร่ ่วมกันแบบครวั เรือนขยายกจ็ รงิ แตก่ ารใชช้ วี ติ ทม่ี รี ปู แบบแตกตา่ งกนั ความเขม้ ขน้ ในการทำ� มาหากนิ และการเดนิ ทางระหวา่ ง บา้ นกบั ท่อี น่ื ๆ นอกบ้านไม่วา่ จะเป็นท่ีท�ำงาน หรือโรงเรียน ทนี่ บั วนั จะใช้เวลานานขนึ้ ท�ำให้ สมาชกิ ทง้ั 3 รนุ่ แทบจะไมไ่ ดพ้ บเจอกนั แมใ้ นทางสถติ คิ รวั เรอื นจะแสดงชดั เจนวา่ เปน็ ครวั เรอื น ขยาย แต่ในบางเวลากลับอยู่กันเหมือนครัวเรือนคนเดียว ซึ่งพบท้ังในชนบทและในเมือง ซ่ึงไม่ว่าจะเป็นบริบทใด ผู้สูงอายุมักเป็นกลุ่มท่ีถูกทิ้งให้อยู่โดยล�ำพังเป็นส่วนใหญ่ อีกทั้ง มิติความเป็นเมืองท่ีก�ำลังขยายตัวอยู่ตลอดเวลาเพ่ือนบ้านล้วนเป็นคนแปลกหน้าที่ เหนิ หา่ ง ทง้ั “ไมไ่ วใ้ จ” และ “ไมก่ ลา้ ” ทจ่ี ะรบกวน หรอื “อบั อาย” ทจ่ี ะเขา้ ไปขอความชว่ ยเหลอื อันที่จริงแล้ว รูปแบบการอยู่อาศัยในปัจจุบัน ไม่ได้เป็นสาเหตุของความเปราะบาง โดยตวั ของมนั เอง แตส่ ามารถนำ� ไปสคู่ วามเปราะบางไดเ้ มอื่ มสี ภาวะอน่ื แทรกแซง เชน่ สขุ ภาพ เศรษฐานะ ระดับความเป็นเมืองและอ่ืนๆ ด้วยเหตุนี้รูปแบบการอยู่อาศัยจึงยังคงถูกรวมไว้ ในสาเหตุของความเปราะบางของครอบครัว เพื่อให้เกิดการเฝ้าระวังผู้สูงอายุในรูปแบบ การอย่อู าศยั ทหี่ ลากหลายบางรปู แบบ เชน่ ผูส้ ูงอายุอยู่ด้วยกนั ไม่ว่าจะเปน็ กบั ค่สู มรส หรือ กับพ่อแม่ซ่ึงก็เป็นผู้สูงอายุเช่นเดียวกัน มีความเสี่ยงต่อการไม่มีผู้ดูแล หรือได้รับการดูแล ทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง ในหลายๆ กรณี เช่น ผสู้ ูงอายคุ นใดคนหน่ึงมภี าวะเจ็บป่วยตดิ เตยี งทพุ พลภาพ หรอื มลี กู อาศยั อยใู่ นหมบู่ า้ นเดยี วกนั แตไ่ มไ่ ดอ้ ยรู่ ว่ มบา้ นเดยี วกนั หรอื การสญู เสยี คสู่ มรส ฯลฯ เปน็ ต้น อย่างไรก็ตาม ครัวเรือนท่ีมีผู้สูงอายุท่ีอยู่ตามล�ำพังคนเดียว อาจไม่ได้เป็นครัวเรือน เปราะบางเสมอไป หากมีลูก-หลาน-เครือญาติอาศัยอยู่ในบริเวณพ้ืนท่ีใกล้เคียงกัน อาจอยู่ ในหมู่บ้านเดียวกันหรือต�ำบลเดียวกันก็ได้ เนื่องจากจะได้รับการดูแล โดยเฉพาะในเรื่อง การจดั อาหารและการดแู ลเมอ่ื เจบ็ ปว่ ย รวมทง้ั การมาเยยี่ มเปน็ ครงั้ คราวแตบ่ อ่ ยครง้ั เพราะการ เดนิ ทางไปมาหาสสู่ ะดวก แตท่ นี่ า่ กงั วลคอื ครวั เรอื นทม่ี ผี สู้ งู อายทุ อี่ ยตู่ ามลำ� พงั คนเดยี ว แมว้ า่ ส่วนใหญ่สามารถท�ำกิจวัตรประจ�ำวันได้เอง แต่ไม่มีลูก-หลาน-ญาติในหมู่บ้านเดียวกันต�ำบล เดียวกันหรืออยู่ห่างไกล จะมีความเปราะบางต่อการไม่ได้รับการดูแลในด้านต่างๆ โดยเฉพาะการดูแลในวาระสุดท้ายของชีวิต ซึ่งเป็นสิ่งท่ีผู้สูงอายุอยู่ตามล�ำพังห่างไกลจาก ลูกหลาน หรือญาติพี่น้อง กลัวอยู่ในใจเสมอว่า “ไม่อยากตายคนเดียว” หรือ “ตายอย่าง โดดเด่ียว” ที่ไร้ญาติขาดมิตร ซ่ึงมีความหมายเป็นอย่างยิ่งต่อผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในทาง พุทธศาสนาท่ีถือว่า การตายอย่างสงบ เป็นการตายท่ีจิตอยู่กับสิ่งที่ดี นึกถึงบุญกุศล มีการปล่อยวาง มีความสุขสงบท่ามกลางลูกหลานและบุคคลที่รัก (พระไพศาล, 2553) โดยการตายอย่างสงบ คือเป้าหมายการตายของมนุษย์ ซ่ึงให้ความส�ำคัญกับการดูแลด้าน 53ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

จิตวิญญาณ และมีพิธีกรรมทางศาสนาเพ่ือช่วยให้มีความสงบและจากไปด้วยจิตที่ผ่องแผ้ว (พระมโน เมตตฺ านนฺโท, 2548) สว่ นผสู้ งู อายทุ อี่ ยตู่ ามลำ� พงั กบั คสู่ มรสเทา่ นน้ั แมว้ า่ จะมคี วามเปราะบาง แตก่ ย็ งั สามารถ ดูแลกันและกันได้ พร้อมจะร่วงโรยไปด้วยกัน แต่หากครัวเรือนใดมีผู้สูงอายุคนใดคนหน่ึง เจ็บป่วย/ติดเตียงพิการ ผู้สูงอายุอีกคนจะต้องเป็นผู้ดูแลหลัก ก็จะน�ำไปสู่ความเปราะบางซ้�ำ ซ้อนย่ิงขน้ึ นอกจากน้ีประเดน็ ส�ำคญั ทส่ี ะท้อนออกมา สามารถสรุปได้ว่า ผสู้ ูงอายุทีอ่ ยใู่ นครวั เรือนข้ามรุ่นยังคงเปน็ ประเดน็ ถกเถียงในเรือ่ งการไดร้ ับการดูแล และในบางกรณผี สู้ ูงอายเุ ลีย้ ง หลาน ไม่ไดเ้ ป็นภาระเสมอไป ปู่ย่า ตายายสว่ นใหญ่กลับเหน็ ว่า เป็นการแบง่ เบาภาระของลูก อย่างเต็มใจ ภมู ิใจทส่ี ามารถช่วยเหลอื ลกู ในการดูแลหลานได้ เม่ือพอ่ แมต่ ้องย้ายถิ่นไปท�ำงาน หาความกา้ วหนา้ ทางเศรษฐกจิ และสถานภาพทางสงั คม และสง่ เงนิ กลบั มาใหท้ บ่ี า้ น อยา่ งไรกต็ าม อาจจะเปราะบางทางด้านเศรษฐกิจอย่างมากได้ ถ้าหากเงินส่งกลับไม่เพียงพอ และเกิดเป็น ภาระแก่ปู่ย่าตายายจนส่งผลกระทบต่อหลานท่ีตนเองเล้ียงไว้ ครัวเรือนข้ามรุ่นมีความอบอุ่น มากกว่าครัวเรือนผู้สูงอายุอยู่คนเดียว หรือครัวเรือนผู้สูงอายุอยู่กับคนอื่นที่ไม่ใช่ญาติ อาจ เนอ่ื งจากการมหี ลานอยดู่ ว้ ยเปน็ ความอนุ่ ใจทอ่ี ยา่ งนอ้ ยมใี ครอยดู่ ว้ ยตลอดเวลา หรอื สขุ ใจทไ่ี ด้ ดแู ลหลานซ่งึ เป็นตวั แทนของลกู หรอื การทีห่ ลานทำ� ใหป้ ยู่ า่ ตายายได้คุยกบั พ่อแมม่ ากข้นึ เปน็ ตัวเช่อื มและสอื่ กลางในการส่ือสาร และไปมาหาส่รู ะหวา่ งพ่อแมก่ ับป่ยู า่ ตายาย อยา่ งไรกต็ าม พบวา่ เมอ่ื เวลาผา่ นไป บรบิ ทครอบครวั ไทยไดเ้ ปลยี่ นแปลงความคาดหวงั ของผู้สูงอายุจากการให้ลูกเลี้ยงดูยามแก่เฒ่า มาเป็นการพ่ึงพาลูกแต่เพียงยามจ�ำเป็น เพราะ เหน็ แกค่ วามจำ� เปน็ ในการอยหู่ า่ งไกลเพอื่ ความกา้ วหนา้ ในการดำ� เนนิ ชวี ติ ของลกู ในหลายกรณี การพลดั พรากและอยตู่ า่ งถน่ิ หรอื แมแ้ ตใ่ นจงั หวดั เดยี วกนั กลบั ดหู า่ งไกลเนอ่ื งจากการคมนาคม ใช้เวลานาน ดังเช่นการใช้ชีวิตในเมืองใหญ่ๆ เป็นประสบการณ์ที่กลายเป็นเรื่องธรรมดาของ ชวี ติ ครอบครวั ไทยมากข้ึน ความคดิ แบบ “แกม่ าแลว้ กินกับลูก” หรือใหล้ ูกเลี้ยงดยู ามแก่เฒ่า อาจไม่ใช่แนวคิดของคนสมัยปัจจุบัน ผู้สูงอายุต้องต่อสู้ต่อเพ่ือให้มีรายได้เพ่ือจะได้ไม่รบกวน ลกู มากเกนิ ไป เพราะลกู เองกม็ ภี าระคา่ ใชจ้ า่ ยมากอยแู่ ลว้ ตามความเฟอ้ ของคา่ เงนิ และมาตรฐาน การครองชพี สมัยใหมท่ ีน่ บั วนั มีแต่จะแพงขนึ้ การอย่ไู กลกันท�ำให้ต้องดูแลตวั เองมากข้ึน และ ต้องอยู่ได้อย่างมีศักด์ิศรีและมีค่า ไม่ให้ได้ชื่อว่า “แบมือขอเงินลูก” แต่ในธรรมดาของการ สูงวัยท่ีชีวิตมีอะไรเหลือให้ท�ำไม่มาก กิจกรรมต่างๆ นอกบ้านลดลงเนื่องจากการยุติภาระ การทำ� งาน สงั ขารท่ีถดถอย และรายได้ท่ลี ดลง ท�ำให้ “ย่ิงแกก่ ย็ ิ่งคิดถึงลกู ” และมีความกลัว ติดอยู่ในใจเสมอว่า “ไม่อยากตายคนเดียว” เป็นสภาวะละล�่ำละลักท่ีซ้�ำเติมความร่วงโรย ของวยั ในหลายครอบครวั ทผ่ี สู้ งู วยั มลี กู หลายคน อาจโชคดที ม่ี ลี กู บางคนอยใู่ นครวั เรอื นเดยี วกนั 54 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

หรอื อยใู่ นละแวกใกลเ้ คยี ง เชน่ ในหมบู่ า้ นเดยี วกนั หรอื ในอำ� เภอเดยี วกนั แตเ่ มอ่ื มองแนวโนม้ ของสังคมท่ีต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่อัตราการเกิดลดอย่างต่อเนื่อง ชวนให้คิดว่า ครอบครัวทจ่ี ะโชคดีมีลูกอย่ใู กลๆ้ จะเหลืออยู่สักกค่ี รอบครวั ขอ้ มลู รปู แบบการอยอู่ าศยั ตกผลกึ เปน็ ความรใู้ หมว่ า่ ครอบครวั ไทยในอนาคตจะมคี วาม เปราะบางในเรอ่ื งบทบาทหนา้ ทแ่ี ละความสมั พนั ธNใ์ นครอบครวั มากขน้ึ อนั เนอ่ื งมาจากเหตผุ ล สำ� คญั หลายประการทม่ี องเหน็ ชดั เจน ไดแ้ ก่ ความไมส่ มดลุ ของลกู หลานกบั ผสู้ งู อายุ เนอื่ งจาก ผสู้ งู อายสุ ว่ นใหญไ่ มไ่ ดเ้ ตรยี มวางแผนการเงนิ ระยะยาวไวล้ ว่ งหนา้ เมอื่ ถงึ เวลาหนงึ่ จงึ ตอ้ งกลาย เปน็ ผพู้ ง่ึ พงิ ดงั ทเ่ี ปน็ กงั วลกนั ทว่ั ไปวา่ “สงั คมไทยเปน็ สงั คมแกก่ อ่ นรวย” ดงั นนั้ ภาระในการดแู ล ผสู้ งู อายใุ นอนาคต สว่ นหนงึ่ จงึ ตกไปอยกู่ บั ลกู หลานในครอบครวั และดว้ ยคา่ นยิ ม “ลกู กตญั ญ”ู ท่ีลูกหลานรับรู้อยู่เต็มอก แต่ไม่สามารถท�ำได้จริงในทุกครอบครัว เช่น บางครอบครัวเป็น ครอบครวั ขนาดใหญ่ ผดู้ แู ลตอ้ งทำ� หลายบทบาท อาทิ บทบาทในทางเศรษฐกจิ (การทำ� งาน) บทบาทในการดแู ลทง้ั บตุ รและบพุ การี รวมทง้ั หลานไปพรอ้ มๆ กนั นอกจากนยี้ งั ตอ้ งทำ� บทบาท ในการดูแลสามีในคราวเดยี วกนั ซึง่ เปน็ บทบาทเชงิ ซ้อนท่ลี ูกผู้หญิงคนหนึ่งตอ้ งท�ำ ท่ีเป็นภาระ ในการดูแลบุคคลหลายช่วงอายุ (Intergenerational) จึงเป็นประเด็นคับขัน น�ำไปสู่ความ วติ กกงั วลของลกู หลานทเี่ ปน็ คนรนุ่ ใหม่ เนอื่ งจากตอ้ งการสรา้ งความกา้ วหนา้ และสรา้ งเนอ้ื สรา้ ง ตัว แต่ขณะเดียวกันก็ยังห่วงหน้าพะวงหลัง กระอักกระอ่วนใจเพราะเป็นเรื่องท่ีไม่สามารถ หลกี เลย่ี งได้ บทบาทในการดแู ลบคุ คลหลายชว่ งอายุ จะเปน็ บทบาททพี่ บเหน็ ไดใ้ นปจั จบุ นั และ ในอนาคต ซ่ึงแนวโน้มผู้ดูแลผู้สูงอายุจะต้องท�ำหลายบทบาทที่มีความยากล�ำบากมากขึ้น ดังน้ัน จึงต้องเร่งเตรียมการเพ่ือก้าวให้ทันกับสถานการณ์ปัญหาท่ีแซงหน้านโยบายไปแล้ว และยงั เปน็ ช่องวา่ งของงานวจิ ัยด้านประชากรศาสตร์ ทสี่ ำ� คญั ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ ครอบครวั ไทยยงั ตดิ กบั ดกั ความคดิ เรอื่ ง “สถานสงเคราะหค์ นชรา” ซ่ึงถูกมองว่าเป็นสถานท่ีส�ำหรับผู้สูงอายุที่ลูกหลานไม่สามารถเล้ียงดูได้ การไปอยู่ในสถานที่ เหล่านี้ไม่ว่าจะตั้งช่ือหรูหราเพียงใด หรือมีความสะดวกครบครันมากแค่ไหน การตัดสินใจ ไปใชบ้ รกิ ารสถานทเ่ี หล่านเ้ี ป็นความคบั ขอ้ งใจของผสู้ ูงอายุ ลกู หลาน และญาตพิ ่ีนอ้ ง สง่ ผล ใหม้ ผี สู้ งู อายจุ ำ� นวนมากทอ่ี ยใู่ นเขตเมอื ง ยงั อยใู่ นบา้ นโดยไมม่ ใี ครดแู ล เนอื่ งจากลกู หลานตอ้ ง ไปทำ� งาน กลายเปน็ ผสู้ งู อายโุ ดดเดยี่ ว เดยี วดายทน่ี า่ เปน็ กงั วลในหลายๆ เรอื่ ง โดยเฉพาะเรอ่ื ง สขุ ภาพทเ่ี ปน็ ความเปราะบางในมติ แิ รกของผสู้ งู อายุ ซง่ึ อาจนำ� ไปสคู่ วามเปราะบางในมติ อิ นื่ ๆ ขณะที่การดำ� เนนิ การของหนว่ ยงานภาครฐั ซงึ่ ได้รบั อิทธิพลจากต่างประเทศ ในเรอ่ื ง สวสั ดกิ ารสงั คมและประชาสงเคราะห์ เพอ่ื สนบั สนนุ ใหผ้ สู้ งู อายมุ คี วามเปน็ อยทู่ ด่ี แี ละด�ำรงชวี ติ 55ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ในสงั คมไดอ้ ยา่ งสงบสขุ ในชว่ งแรกจงึ ไดจ้ ดั ตง้ั สถานสงเคราะหค์ นชราขนึ้ เพอ่ื ใหก้ ารสงเคราะห์ ชว่ ยเหลอื ผสู้ งู อายทุ ยี่ ากจน ไมม่ ที อ่ี ยู่ หรอื ถกู ทอดทง้ิ สว่ นผสู้ งู อายยุ ากจนในพน้ื ทชี่ นบท ใหก้ าร สงเคราะห์ชว่ ยเหลือผ่านนโยบายเบยี้ ยงั ชพี โดยในช่วงแรกเน้นการสงเคราะหด์ ูแลแบบเกบ็ ตก หรอื คดั เลอื กเฉพาะผสู้ งู อายทุ ย่ี ากจนดอ้ ยโอกาสจรงิ ๆ ซงึ่ ภาครฐั ไมต่ อ้ งเสยี ทรพั ยากรในกลมุ่ ท่ี ไม่จ�ำเป็น และไม่ต้องเก็บภาษีมาก แต่ท�ำให้ผู้สูงอายุยิ่งดูน่าเวทนาด้อยศักด์ิศรี และมักเกิด ปญั หาเรอื่ งการเขา้ ไมถ่ งึ บรกิ าร กอ่ ใหเ้ กดิ ความเหลอ่ื มลำ�้ ตอ่ มาภาครฐั จงึ เนน้ ใหก้ ารสงเคราะห์ ดูแลแบบถ้วนหน้า ค�ำนึงถึงความเป็นธรรมและความท่ัวถึง โดยให้การสงเคราะห์ช่วยเหลือ ผสู้ งู อายทุ กุ คน สง่ ผลใหภ้ าครฐั มคี า่ ใชจ้ า่ ยสงู ตามจำ� นวนผสู้ งู อายทุ เ่ี พม่ิ ขนึ้ ดว้ ย ซง่ึ สง่ ผลกระทบ ต่อการเพ่ิมขึ้นของภาระทางการเงิน การคลังของรัฐบาลและมีผลต่อความย่ังยืนของนโยบาย ดงั กลา่ ว และอาจกระทบตอ่ สถานการณด์ า้ นการคลงั ของรฐั บาลทจี่ ะตอ้ งใชง้ บประมาณจำ� นวนมาก และเปน็ งบประมาณผกู พนั ระยะยาว โดยเฉพาะเมอื่ สงั คมไทยจะเขา้ สงู สงั คมสงู วยั ระดบั สมบรู ณ์ และระดบั สุดยอด กลยุทธ์การสร้างครอบครัวอบอุ่น จึงเป็นหน่ึงในวิสัยทัศน์เพ่ือการพัฒนาประเทศของ ภาครัฐ เนื่องจากสถาบันครอบครัวเป็นเป้าหมายหลักของประเทศที่ต้องได้รับการพัฒนาให้มี ความอบอนุ่ เขม้ แขง็ ทำ� หนา้ ทไ่ี ดอ้ ยา่ งเหมาะสม สมาชกิ สามารถดแู ลพงึ่ พากนั ได้ แตม่ ปี ระเดน็ ท้าทายและน่าเป็นห่วงหลายประเด็นซ่ึงสังคมไทยต้องระมัดระวังเพราะเป็นจุด “เปราะบาง” ถา้ หากไมไ่ ดร้ บั การดแู ลและซอ่ มเสรมิ อาจทำ� ใหเ้ ส่ยี งตอ่ การแตกสลายได้ โดยเฉพาะในสภาวะ การเปล่ียนแปลงต่างๆ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วตามความฉับไวของเทคโนโลยีและการเช่ือมต่อ ท่ีแทบจะไร้รอยตะเข็บของโลกยุคดิจิทัล รวมท้ังการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ส่งผลต่อบทบาท/ การท�ำหน้าที่ของครอบครัว และรูปแบบการอยู่อาศัยที่หลากหลายของผู้สูงอายุ และสะท้อน ใหเ้ หน็ วา่ ครอบครวั ไทยก�ำลังเปลย่ี นแปลงในหลายมิตซิ ึ่งอาจน�ำไปสคู่ วามเปราะบาง จนทำ� ให้ ผู้สูงอายุในอนาคตมีความเส่ียงในการด�ำรงชีวิตทั้งในแง่เศรษฐกิจ สุขภาพร่างกายและจิตใจ ท่ีพักพงิ และผดู้ แู ล อยา่ งไรกต็ าม ในสถานการณจ์ รงิ การเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายรุ ะดบั สดุ ยอด ไมใ่ ชเ่ รอื่ งเลวรา้ ย อย่างที่สังคมสมัยใหม่รับรู้หรือให้ความหมาย เนื่องจากผู้สูงอายุมีศักด์ิศรีและมีคุณค่า ซ่ึง เป็นส่ิงท่ีมีความหมายส�ำหรับผู้สูงอายุ นอกจากศักด์ิศรีในความเป็นมนุษย์แล้ว ผู้สูงอายุ ยงั มีศกั ดศ์ิ รใี นตัวเองทีเ่ กดิ จากการไดท้ ำ� งาน พึ่งตนเองด้วย การใชก้ รอบแนวคดิ “intersectionality” จะท�ำใหค้ นในสังคม มองภาพความทับซอ้ น และซอ้ นทบั ของความไมเ่ ทา่ เทยี มในมติ ติ า่ งๆ ซง่ึ คนสองคนในครอบครวั ไทยทเ่ี ปราะบางประสบ 56 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

และความซับซ้อนของแต่ละบุคคลที่แตกต่างกันได้ชัดเจนข้ึน เพ่ือค้นหาแนวทางในการสร้าง ความเป็นธรรมได้ชัดเจนย่ิงขึ้น โดยการน�ำเสนอในส่วนน้ี ต้องการส่ือความหมายให้คน ในสังคมรับรู้ว่า แนวทางในการแก้ไขปัญหาที่ใช้หลักความเท่าเทียม (Equality) จะท�ำให้ “ผหู้ ญิง” และ “ผสู้ งู อาย”ุ ทกุ คนไดร้ ับในสง่ิ เดยี วกนั อาจจะยงั ไมเ่ พยี งพอ หากแตต่ อ้ งใชห้ ลกั ความเปน็ ธรรม (Equity) หมายถงึ “ผ้หู ญงิ ” และ “ผูส้ ูงอาย”ุ ทเี่ ปราะบางทีส่ ุดต้องไดร้ บั มาก ที่สุด เพราะในความเป็นจริง “ผู้หญงิ ” และ “ผูส้ ูงอายุ” ทกุ คน ไม่ไดเ้ ร่มิ ต้นจากจดุ เดยี วกัน ดังน้ัน แนวทางในการให้ความช่วยเหลือ เพ่ือสร้างความเท่าเทียม จึงอาจจะไม่ใช่ให้ ในสงิ่ เดยี วกนั แตค่ วรจะเปน็ การใหใ้ นสงิ่ ท่ี “ผหู้ ญงิ ” และ “ผสู้ งู อาย”ุ นน้ั ตอ้ งการอยา่ งแทจ้ รงิ อย่างไรกต็ าม การพัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกิจบบี คน้ั เช่นน้ี ยงั มีค�ำถามท่ีต้องกลบั มาฉกุ คิด อีกว่า นอกจาก “ผู้หญิงวัยท�ำงานท่ีเร่ิมมีลูก” และ “ผู้สูงอายุในรูปแบบการอยู่อาศัย ทเี่ ปราะบาง” จะมคี วามสมุ่ เสยี่ งทจี่ ะเปราะบางทง้ั ในมติ ิ เวลา สขุ ภาพ และ เงิน....แล้ว ใคร? จะเป็นตกอยใู่ นสภาพเปราะบางเปน็ คนตอ่ ไป ? 57ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

เอกสารอา้ งองิ ภาษาไทย กฤตยา อาชวนชิ กลุ และ กาญจนา ตงั้ ชลทพิ ย.์ (2551). บทโหมโรง มติ ิ “เพศ” ในประชากรและสงั คม. ใน กฤตยา อาชวนิชกลุ และ กาญจนา ตั้งชลทพิ ย์ (บรรณาธกิ าร), ประชากรและสังคม 2551: มติ เิ พศในประชากรและสังคม. นครปฐม :สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม. โครงการสุขภาพคนไทย. (2560). เสริมพลังกลุ่มเปราะบาง สร้างสังคมที่ไม่ทอดท้ิงกัน. สุขภาพ คนไทย 2560. นครปฐม: สถาบันวจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลัยมหิดล. นิด้าโพล์. (2556). ผู้สูงอายุกับคนรุ่นใหม่. สืบค้นจาก http://nidapoll.nida.ac.th/index. php?op=polls-detail&id=302 สบื คน้ เม่ือวนั ที่ 10 มีนาคม 2561. บรรลุ ศิริพานิช. (2550). คู่มือผู้สูงอายุ: ฉบับเตรียมตัวก่อนสูงอายุ (เตรียมตัวก่อนเกษียณการงาน). (พมิ พค์ รง้ั ที่ 1). กรงุ เทพมหานคร: หมอชาวบา้ น. พระไพศาล วสิ าโล. (2553). เผชญิ ความตายอยา่ งสงบ เลม่ 1. กรงุ เทพมหานคร: หา้ งหนุ้ สว่ นสามลดา. พระมโน เมตฺตานนฺโท. (2548). ธรรมะในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย. ใน เมตฺตานนฺโท ภิกขุ (บรรณาธกิ าร), ธรรมะ 4 ศาสนาในการดแู ลผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ย (หนา้ 11-107). กรงุ เทพมหานคร: ท.ี เอน็ .พี พรน้ิ ต้ิงจำ� กดั . ศศิพัฒน์ ยอดเพชร.  (2549).  รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว.  (พมิ พ์คร้ังที่ 2).  กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์   ศิริวรรณ อุทัยทิพไพฑูรย์ และคณะ. 2552. ก�ำรดูแลและสวัสดิก�ำรผู้สูงอ�ำยุ. ใน สมศกัดิ์ชณุ หรัศม์ิ (บรรณ�ำธกิ �ำร), ร�ำยง�ำนประจ ำปี ผสู้ ูงอ�ำยุไทย 2551. กรงุ เทพฯ : ทคี ิวพ.ี ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). การส�ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความรู้และทัศนคติ ทม่ี ตี อ่ ผ้สู ูงอายุ พ.ศ.2554. ส�ำนักงานสถิติพยากรณ์ ส�ำนกั งานสถติ ิแห่งชาติ. ภาษาองั กฤษ Dune, Gillian A. (2003). “A Passion for Sameness? Sexuality and Gender Account- ability.” in Weeks, Jeffrey; Holland, Janet and Waites, Matthew. (eds.) Sexu- alities and Society. Cambridge, Polity Press. pp.57-68. Garton, Stephen. (2004). Histories of Sexuality. New York, Routledge. 58 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

”เงนิ ” กลายเปน็ สิ่งที่มคี า่ ไปในทันที จนคนทว่ั ไปในสังคมยดึ ถอื เอาเงนิ เปน็ จุดหมายปลายทางของการด�ำเนิน ชวี ติ ...



5 ทนุ นิยม กลไกตลาด กับการมสี ่วนรว่ มของภาคเอกชน และกิจการเพ่ือสังคม “....การพฒั นาประเทศทผี่ า่ นมา มจี ดุ มงุ่ หมายเพอื่ การบรรลเุ ปา้ หมายความอยดู่ มี สี ขุ ของ ประชากร โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั มติ ติ วั เงนิ เปน็ หลกั นนั้ เปน็ ระบบคดิ ของระบบเศรษฐกจิ ทนุ นยิ ม ท่ีทกุ สง่ิ ทุกอยา่ งตอ้ งใช้ “เงนิ ” เป็นตัวช้วี ัด ส่งผลให้ “เงิน” ซ่งึ โดยตวั ของมนั เองแล้วเปน็ ของ สมมตุ ิ ทอี่ ุปโลกนเ์ พอ่ื ให้การแลกเปลย่ี นแรงงานและส่งิ ของทำ� ไดง้ ่ายและสะดวกรวดเรว็ ดังคำ� เปรียบเทียบท่วี ่าเงนิ ทองเปน็ ของมายา ขา้ วปลาเป็นของจริง เทา่ กับ “เงิน” ไมม่ ีค่าอะไร แต่ ผลจากการพัฒนาประเทศตามแนวทางน้ี ท�ำให้ “เงิน” กลายเป็นสิ่งที่มีค่าไปในทันที จนคนท่ัวไปในสังคมยึดถือเอาเงินเป็นจุดหมายปลายทางของการด�ำเนินชีวิต ที่เป็นเป้าหมาย ของความอยู่ดีมีสุข ท่ีน�ำไปสู่การบริโภควัตถุนิยมจนหลงลืมการพัฒนาจิต และเป็นสาเหตุ ของความเปราะบางภายใต้รูปแบบการอยู่อาศัยที่หลากหลายในปัจจุบัน ขณะเดียวกัน กลบั พบวา่ ความสขุ ทแ่ี ทจ้ รงิ ไมไ่ ดข้ นึ้ อยกู่ บั เงนิ เพยี งมติ เิ ดยี ว ดงั นนั้ แนวทางในการแกไ้ ขปญั หา 61ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

โดยใช้กลไกตลาดผ่านการท�ำกิจการเพ่ือสังคมจึงน่าจะเป็นทางออกท่ีมาถูกที่ถูกเวลามากท่ีสุด ในยคุ สมยั น้.ี ...” (วรชัย ทองไทย และชาย โพธสิ ติ า, 2551) ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม มงุ่ เนน้ การกระจายผา่ นตลาดเสรี และลดบทบาทของภาครฐั ในการจัดสวัสดิการให้เหลือน้อยท่ีสุด โดยกลไกตลาด จะเป็นกุญแจส�ำคัญท�ำหน้าที่เป็นกฎ เกณฑ์ทางสงั คม ทำ� ให้ความตอ้ งการของปัจเจกบุคคลไดร้ บั การตอบสนอง และควบคมุ ราคา และปริมาณสินค้าให้เพิ่มข้ึนหรือลดลงตามธรรมชาติ แต่ก็เป็นการเปิดช่องว่างให้มีการเอารัด เอาเปรยี บของผทู้ ม่ี อี ำ� นาจทางเศรษฐกจิ ตอ่ ผดู้ อ้ ยกวา่ เปน็ การสรา้ งความไมเ่ ปน็ ธรรมใหเ้ กดิ ขน้ึ แตข่ ณะเดยี วกนั กเ็ กดิ การสะสมทนุ ทเ่ี ปน็ ตน้ กำ� เนดิ ของทนุ นยิ มและบรโิ ภคนยิ ม และชนชน้ั ทาง สงั คมซึง่ ให้คุณค่ากับคนรวยมากกวา่ คนจน จนนำ� ไปสคู่ วามเปราะบางในครอบครัว อยา่ งไรกต็ าม สถานการณค์ วามเปราะบางในครอบครวั ไดฉ้ ายภาพใหเ้ ขา้ ใจไดว้ า่ ปญั หา ความเปราะบางในมิติต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจแบบบริโภคนิยม ทุนนิยม และให้คุณค่ากับ ปัจเจกนยิ ม ส่งผลใหเ้ กิดปัญหาต่างๆ ในปัจจุบันน้ีเปน็ เรื่องท่ีมนุษย์ทกุ คนต่างมสี ่วนร่วมทำ� ให้ เกิดข้ึน ซึ่งเป็นไปตามกฎธรรมชาติว่า “เหตุต้องเกิดก่อนผลเสมอ ไม่สามารถเกิดขึ้น ไดเ้ องลอยๆ โดยไม่มีสาเหต”ุ และอาจจะไมไ่ ดเ้ กิดจากสาเหตใุ ดสาเหตุหนึ่งเพียงสาเหตุเดยี ว อีกด้วย ขณะท่ีความตอ้ งการเอาชนะธรรมชาติเป็นตน้ กำ� เนดิ ของวทิ ยาศาสตร์ และกอ่ ใหเ้ กดิ ความเจริญทางวัตถุอย่างมากมายในปัจจุบัน นอกจากน้ีวิทยาศาสตร์ยังให้ความสนใจ ความเปราะบางของ “ผู้หญิงวัยท�ำงานเร่ิมมีลูก” และ “ผู้สูงอายุ” ในเชิงกายภาพเท่าน้ัน ไม่ได้สนใจในมติ ิจิตวญิ ญาณที่แสดงถงึ ความมคี ณุ คา่ และศกั ดศ์ิ รีของความเปน็ มนุษย์ ศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ เป็นแนวคิดการพัฒนามนุษย์นอกเหนือจากการพัฒนา กระแสหลกั ทเี่ นน้ การพฒั นาวตั ถนุ ยิ ม จนหลงลมื การพฒั นาจติ ทจี่ ะเปน็ การยกระดบั จติ ใจของ มนุษย์ให้สูงข้ึน ซึ่งเป็นส่ิงจ�ำเป็นท่ีจะช่วยให้มนุษย์ตระหนักและพัฒนาความสามารถอันสูงส่ง ของมนุษย์ในด้านความคิดสร้างสรรค์ ความเห็นอกเห็นใจ จริยธรรม ความมีน�้ำใจและ เอกลกั ษณอ์ น่ื ๆ อนั เปน็ ลกั ษณะพเิ ศษของมนษุ ย์ ทเ่ี นน้ ใหเ้ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของประสบการณ์ ที่ปัจเจกบุคคลมีอยู่ และใช้ก�ำหนดการรับรู้สภาพความเป็นจริง เพ่ือเป็นแนวทางช้ีน�ำ การท�ำความเข้าใจพฤติกรรม หากไม่สามารถมองเห็นสาระส�ำคัญของมนุษย์อย่างถูกต้อง ตามความเปน็ จรงิ แลว้ นโยบายทางสงั คมและโครงการพฒั นาตา่ งๆ สำ� หรบั ครอบครวั เปราะบาง ทีม่ ีลักษณะแบบแยกสว่ นและไร้ประสทิ ธิภาพในปจั จุบนั จะยังคงไมไ่ ด้รบั การแก้ไข (กิติพฒั น์ นนทปัมทะดุลย์, 2553) ดงั นนั้ การบูรณาการระหวา่ งกลไกตลาดและกจิ การเพอื่ สงั คม จึงน่า จะเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาความเปราะบางของครอบครัว เนื่องจากการด�ำเนิน 62 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

กิจการเพ่ือสังคม สามารถปิดช่องโหว่ของกลไกตลาดในประเด็นของการเอารัดเอาเปรียบผู้ที่ ดอ้ ยกวา่ ขณะทกี่ ารดำ� เนินการของภาครัฐเพยี งอย่างเดยี วล้วนมีขอ้ จ�ำกัดมากมาย ขณะท่ีการเปล่ยี นผา่ นโครงสร้างทางประชากรและสังคม ได้บ่นั ทอนความอยูด่ ีมีสขุ ของ สมาชกิ ในครอบครวั ไทยใหก้ ลายเปน็ ความเปราะบาง ภายใตร้ ปู แบบการอยอู่ าศยั ทหี่ ลากหลาย ขณะที่ช่องว่างของการด�ำเนินการจากการที่ผู้สูงอายุเพ่ิมจ�ำนวนข้ึนเกือบทุกภูมิภาคทั่วโลก ได้ท�ำให้รัฐบาลในทุกประเทศ หาทางรับมือกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในรูปแบบต่างๆ เพื่อดูแลให้ผู้สูงวัยห่างไกลจากความเปราะบางไปตลอดจนวาระสุดท้ายของชีวิต ท้ังในเร่ือง รา่ งกาย จติ ใจ สังคม สุขภาพ และเศรษฐกิจ ซง่ึ ในหลายประเทศเริม่ พบว่า การด�ำเนนิ การ โดยภาครัฐแต่เพียงอย่างเดียวอาจส่งผลกระทบต่อระบบการเงินและการคลังของประเทศ โดยบทเรยี นจากหลายประเทศทเ่ี ขา้ ส่สู งั คมสงู อายุมาก่อน ไดจ้ ดั การกับปญั หาโดยการสง่ เสริม แนวทางภาคีสวัสดิการสังคม โดยให้ทุกภาคส่วนในสังคมเข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาท ในการจัดหาบริการ เพื่อสนับสนุนให้การดูแลผู้สูงอายุในสังคมมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น โดยในการด�ำเนินการของแต่ละประเทศ ก็จะมีแนวทางในการท่ีมีท้ังข้อดี ข้อเสียที่แตกต่าง กนั ไป โดยทว่ั ไปมจี ดุ มงุ่ หมายในการดำ� เนนิ การเปน็ ไปเพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการในการดำ� รง ชวี ิตขัน้ พนื้ ฐานเป็นส�ำคัญ ในสังคมไทยดั้งเดิมการดูแลผู้สูงอายุเริ่มท่ีบ้านหรือครอบครัวขยายไปสู่เครือญาติ เพ่ือนบ้าน จนถึงพระสงฆ์ รัฐบาลท้องถ่ิน รัฐบาลกลาง นักลงทุนทางสังคม ผู้ประกอบการ ทางสังคม บริษัทเอกชน นักธุรกิจในท้องถิ่น แต่เม่ือผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นจ�ำเป็นต้องอาศัย ภาคสว่ นตา่ งๆ ในการดแู ลผสู้ งู อายุ เปน็ การระดมทรพั ยากรเพอ่ื จดั บรกิ ารใหก้ บั ประชาชนทกุ คน อย่างเท่าเทียมและเป็นธรรมในรูปแบบของบริการทางสังคม การประกันรายได้ หรือการ สงเคราะห์ประชาชน ท้ังน้ีเพ่ือให้การคุ้มครองดูแลผู้สูงอายุให้มีความเป็นอยู่ที่ดีไปตลอดวาระ สุดทา้ ยของชีวติ ทงั้ ในเรือ่ งรา่ งกาย สงั คม สขุ ภาพ และ เศรษฐกิจ ระบบสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ จึงเป็นแนวทางในการด�ำเนินการ เพ่ือส่งเสริมภาคีสวัสดิการสังคมจากการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและกิจการเพื่อสังคม เพอื่ สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ ระบบหรอื กลไกในการดแู ลผสู้ งู อายรุ ว่ มกนั ระหวา่ งภาครฐั ภาคเอกชนและ กจิ การเพอื่ สงั คมในการดแู ลผสู้ งู อายทุ เ่ี หมาะสมกบั บรบิ ทของประเทศไทย เปน็ การเชอื่ มตอ่ ภาพ การดแู ลสมาชกิ คนอน่ื ๆ ในครอบครวั ไทยตง้ั แต่ “ในบา้ น” ออกไป “ขา้ งบ้าน” จนถงึ ท้องถิ่น กลไกภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และ “ตลาดหลกั ทรพั ย์” เปน็ การส่งสัญญาณให้ เหน็ วา่ เรอื่ งของครอบครวั ไมใ่ ชเ่ รอื่ งของเฉพาะครอบครวั แตเ่ ปน็ เรอื่ งทที่ กุ ภาคสว่ นตอ้ งระดม 63ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ก�ำลังและทรัพยากรเพ่ือสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครอบครัวไทย แม้ว่าสภาพเศรษฐกิจ สังคม และโครงสร้างประชากรจะเปล่ียนแปลงไปอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้เช่นนี้ เพ่ือให้ครอบครัวไทย และสงั คมไทยดำ� เนินไปได้อยา่ งเขม้ แขง็ ความท้าทายท่ีเป็นไปได้อย่างหนึ่ง ได้แก่ การสร้างแรงจูงใจให้ภาคเอกชนและ กิจการเพื่อสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดบริการการดูแลในระยะส้ัน หรือระยะกลาง ในสถานประกอบการ หรอื ในสถานทใ่ี กลก้ บั สถานประกอบการ เพอ่ื ชว่ ยใหว้ ยั แรงงานสามารถ ท�ำงานเชิงเศรษฐกิจได้อย่างเต็มท่ีในระหว่างวัน หรือการจัดการดูแลระยะยาวท่ีปรากฎ ในรปู แบบของสถานบรบิ าล บา้ นพกั คนชรา หรอื โรงพยาบาลทใี่ หบ้ รกิ ารดแู ลระยะยาว เปน็ ตน้ เนื่องจากประเทศไทยการหวังให้ภาครัฐเป็นตัวแสดงหลักในการแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดจาก สถานการณ์เปล่ียนผ่านน้ี คงเป็นไปได้ยากเช่นเดียวกัน เนื่องจากการท�ำงานของภาครัฐ ไม่มีความคล่องตัว และไม่มีความต่อเน่ือง ขณะท่ีการคาดหวังให้ภาคธุรกิจเป็นตัวขับเคลื่อน ในการแก้ไขปัญหา ก็มีความเป็นไปได้ยากเช่นเดียวกัน เนื่องจากเป้าหมายของการท�ำธุรกิจ คือการแสวงหาก�ำไรสูงสุด ไม่ใช่แก้ไขปัญหาสังคม แม้ว่าภาคธุรกิจจะแสดงความรับผิดชอบ ต่อสังคม โดยการท�ำกิจกรรมแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate social responsibility: CSR) ก็ตาม แต่เปา้ หมายของการท�ำ CSR มักเปน็ ไปเพอ่ื สร้างภาพลกั ษณ์ ขององค์กรมากกว่าแก้ไขปัญหาสังคม ส่วนภาคประชาสังคมหรือองค์กรพัฒนาเอกชน ก็มี ความเปน็ ไปไดย้ ากไมแ่ ตกตา่ งกนั เนอื่ งจากภาคประชาสงั คมของประเทศไทยยงั ไมเ่ ขม้ แขง็ นกั ไมส่ ามารถเลยี้ งตวั เองใหด้ ำ� เนนิ การแบบยง่ั ยนื ได้ เนอ่ื งจากขาดแหลง่ ทนุ สนบั สนนุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ขณะทอ่ี งคก์ รพฒั นาเอกชนบางแหง่ ทไี่ ดร้ บั งบประมาณสนบั สนนุ จากตา่ งประเทศ กม็ เี ปา้ หมาย ตามวตั ถปุ ระสงค์ของผู้ให้ทุนมากกวา่ ช่วยแก้ไขปญั หาสังคมอยา่ งแทจ้ ริง ในการแก้ไขปัญหาสังคมในสถานการณ์เปลี่ยนผ่านน้ี ได้แก่ การเช่ือมต่อระหว่าง ภาคธรุ กจิ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม ใหอ้ ยใู่ นหว่ งโซค่ ณุ คา่ (Value chain) การสรา้ งผปู้ ระกอบ การทางสังคมให้มีจ�ำนวนมากๆ เพื่อให้ผู้ประกอบการทางสังคม ท�ำหน้าท่ีสะสมความม่ังค่ัง ทางสงั คมโดยการทำ� งานแบบธรุ กจิ แตม่ เี ปา้ หมายเพอ่ื ประโยชนข์ องสงั คม ไมห่ วงั ผลกำ� ไรเปน็ เม็ดเงิน แต่หวังผลก�ำไรเป็นการสร้างการเปล่ียนแปลงทางสังคมในระดับนวัตกรรมทางสังคม เป็นการรวมธุรกิจแบบไม่หวังผลก�ำไร (สังคมและส่ิงแวดล้อม) เข้ากับธรุกิจหลักของบริษัท ซงึ่ ผปู้ ระกอบการทางสงั คม คอื คนรนุ่ ใหมไ่ ดเ้ ขา้ ใจปญั หาผสู้ งู อายุ เมอื่ จบการศกึ ษา มจี ติ สำ� นกึ รักบ้านเกิด จึงต้องการกลับมาพัฒนาและแก้ไขปัญหาสังคมผู้สูงอายุในบ้านเกิด แต่ขณะน้ี มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสตู รผ้ปู ระกอบการทางสงั คมยงั มจี �ำนวนนอ้ ยมาก ดังน้ัน แนวทาง หนง่ึ คือ ภาครฐั ทเี่ กยี่ วขอ้ งตอ้ งสนบั สนนุ สง่ เสรมิ มหาวทิ ยาลยั ใหม้ หี ลกั สตู รผปู้ ระกอบการทาง 64 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

สงั คม สนบั สนนุ ทงั้ ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ และผปู้ ระกอบการทางสงั คม ดงึ ความสนใจของนกั ศกึ ษา ท่ีตอ้ งการท�ำธุรกิจ หรืออยากเปน็ ผปู้ ระกอบการใหห้ นั ไปสนใจการแกไ้ ขปญั หาสงั คม เพอื่ เปน็ ทางเลอื กหนงึ่ ในการแก้ปญั หาในสังคมสูงวยั ใุ นปจั จุบันและในอนาคต ซ่งึ สามารถสรา้ งผลกระ ทบท่ีใหญ่ข้ึนมากกว่าภาครัฐหรือภาคประชาสังคมท�ำเพียงล�ำพัง ท้ังนี้ กลไกในการระดมทุน เพอ่ื มาดำ� เนนิ กจิ การเพอ่ื สงั คมเหลา่ นมี้ คี วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งยง่ิ เนอ่ื งจากธรรมชาตขิ องกจิ กรรม เพื่อสังคมจะมีโอกาสสร้างก�ำไรหรือขยายกิจการให้มากพอที่จะด�ำเนินกิจการได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพอาจทำ� ไมไ่ ดโ้ ดยง่าย ภาคสว่ นทีท่ �ำหน้าที่ระดมทนุ เช่น ตลาดหลักทรัพย์ อาจ ตอ้ งรว่ มมอื กบั รฐั บาลในการมชี อ่ งทางการระดมทนุ ดว้ ยการสรา้ งเงอื่ นไขพเิ ศษเพอ่ื จงู ใจใหน้ กั ลงทนุ แบง่ เงนิ ลงทนุ ในการลงทนุ ในกจิ การทวั่ ไปมาลงทนุ ในกจิ การสงั คมบางสว่ น เชน่ การจงู ใจ ดว้ ยมาตรการภาษี การลดหยอ่ นอนื่ ๆ หรอื เงอื่ นไขตา่ งๆ เพอ่ื ใหเ้ งนิ ทนุ ไปถงึ นกั ธรุ กจิ เพอ่ื สงั คม ทปี่ รมิ าณทพี่ อเพยี ง 65ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

เอกสารอา้ งองิ ภาษาไทย กิตพิ ัฒน์ นนทปทั มดุล. (2550). แนวคดิ ทฤษฎรี ฐั สวัสดกิ ารเพื่อนโยบายสาธารณะ : รัฐสวสั ดิการจาก ขวาใหมถ่ ึงซา้ ยใหม่. เอกสารประกอบการเสวนา เรอื่ งรฐั สวัสดิการเครื่องมือสรา้ งความเป็นธรรม ในสังคม จัดโดยภาควชิ าสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วนั พฤหสั บดที ี่ 20 ธนั วาคม 2550 หอ้ ง สค. 103. วรชยั ทองไทย และ ชาย โพธสิ ติ า. (2551). “เพศศกึ ษาควรสอนอะไร”. ใน ประชากรและสงั คม 2551: มติ ิ “เพศ” ในประชากรและสงั คม,  บรรณาธกิ าร กฤตยา อาชวนจิ กลุ และกาญจนา ตงั้ ชลทพิ ย.์ นครปฐม: ส�ำนักพมิ พป์ ระชากรและสงั คม.(หน้า 98-115). 66 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

เรา..จะต้องรู้ทันและเข้าใจความ เปราะบางที่เกิดข้นึ ในปจั จบุ นั และหา หนทางที่สอดคล้องกับยุคสมัยเพ่ ื อ สมานความเปราะบางใหก้ ลับมาแขง็ แรงในบริบทของยุคสมัย ไม่ปล่อย ให้เปราะบางซ้�ำลงไป จนแตกสลาย ไปอยา่ งน่าเสียดาย



ส่งท้าย...ถึงครอบครวั ไทย ผลึกความคิด และนวัตกรรมของมนุษยชาติกลั่นและก่อตัวในอัตราเร่งตลอดเวลา ความรแู้ ละความกา้ วหนา้ ในอดตี สง่ั สมเพม่ิ พนู ทำ� ใหค้ วามรคู้ วามกา้ วหนา้ ในวนั นแ้ี ตกตวั เรว็ ขนึ้ ทำ� ให้โลกวันนเ้ี ปลย่ี นแปลงเร็วกวา่ โลกเมอ่ื วาน และโลกวนั พรุ่งนี้ กค็ งจะเปลี่ยนแปลงเร็วกว่าที่ เปน็ ย่ใู นวันน้ี แน่นอนอยแู่ ลว้ ทีก่ ารเปลยี่ นแปลงทั้งหลายย่อมเปน็ ไปเพือ่ การแกป้ ัญหาบางอยา่ ง แต่ กเ็ ปน็ ทแ่ี นน่ อนเชน่ กนั ทก่ี ารเปลย่ี นแปลงเหลา่ นน้ั จะสง่ ผลขา้ งเคยี งตอ่ สง่ิ อน่ื และยงิ่ เมอ่ื สง่ิ ตา่ งๆ ในโลกมีความเก่ียวข้องเช่ือมโยงมากข้ึนกว่าในอดีต อันเป็นลักษณะพิเศษอย่างหนึ่งของ ปรากฏการณ์โลกาภิวฒั น์โดยเฉพาะในยคุ ดิจทิ ลั ก็ยง่ิ ทำ� ให้ผลข้างเคียงทว่ี ่านัน้ กวา้ งขวาง และ ล้�ำลกึ มากย่ิงขึ้น เราคงหยุดการพัฒนาไม่ได้ เพราะการพัฒนาลว้ นเปน็ ไปเพอื่ การทำ� ใหส้ ิ่งต่างๆ ดีข้นึ และเราก็คงหยุดการใช้เทคโนโลยีท่ีเราคิดค้นขึ้นให้มาช่วยเหลือการพัฒนาในมิติต่างๆ ไม่ได้ เชน่ กัน เพียงแต่เราตอ้ งมองใหอ้ อกว่าการพัฒนาท้ังทางเศรษฐกิจและสงั คม รวมทั้งเทคโนโลยี แห่งปัจจุบันและอนาคตทง้ั หลายจะสง่ ผลขา้ งเคยี งอยา่ งไร และทสี่ ำ� คญั ทส่ี ดุ คอื เราตอ้ งรบั มอื อยา่ งไรเพอื่ ปะทะปะทงั และเยียวยาใหเ้ กดิ สมดลุ ทด่ี ใี นทุกๆ ด้าน ความตอ้ งการทจี่ ะ “อยดู่ กี นิ ด”ี ในฐานคตทิ างเศรษฐกจิ และสงั คมในปจั จบุ นั เรง่ เรา้ ให้ สมาชกิ ในบา้ นทกุ คนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการผลติ อยา่ งหลกี เลยี่ งไมไ่ ด้ การเปลย่ี นแปลง ในศตวรรษท่ี 18-19 ไดด้ งึ เอาแรงงานสตรที เี่ คยชว่ ยเหลอื แตง่ านในบา้ น ใหอ้ อกมาทำ� งานนอก บา้ นอย่างเปน็ ระบบ อยา่ งเข้มขน้ ขนึ้ เพ่ือชว่ ยเหลือคชู่ ีวิต จนกระท่ังถึงจุดท่ไี ม่มีเวลาพอที่จะ ดแู ลงานในบา้ นดว้ ยตนเอง รวมทัง้ ถงึ จุดท่ีไม่มเี วลาและทรัพยากรอืน่ ๆ มากเพียงพอ (แม้โลก จะพัฒนาไปอย่างกา้ วกระโดด) ทจี่ ะมลี กู หรอื มเี วลาใหก้ บั ลกู การเลยี้ งลกู ดจู ะเปน็ สง่ิ ที่ “ยาก” และ “แพง” ขนึ้ กวา่ แตก่ อ่ น พอ่ แมว่ นั นน้ี ึกไมอ่ อกว่าร่นุ ทวด และรุ่นปยู่ ่าตายายมีลกู บ้านละ 5-6 คน ไดอ้ ยา่ งไร 69ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ในศตวรรษท่ี 21 เรมิ่ มกี ารพดู ถงึ การทผี่ สู้ งู อายอุ าจไมม่ วี นั เกษยี ณอายเุ หมอื นในสมยั กอ่ น ด้วยความจ�ำเป็นทางเศรษฐกิจและค่าครองชีพที่นับวันจะสูงข้ึน จนท�ำให้ทรัพย์สินท่ีส่ังสมมา ตลอดวยั หนมุ่ สาวถงึ วยั กลางคนไมเ่ พยี งพอ อกี ทงั้ กลไกทางสงั คมทงั้ หลายทเี่ คยอดุ หนนุ ผสู้ งู อายุ เส่อื มคลาย หรือกระท่งั สูญสลายไป ทำ� ใหผ้ เู้ ฒ่าแห่งศตวรรษที่ 21 ยังตอ้ ง “แอค๊ ทีฟ” ในทาง เศรษฐกิจ เพอื่ หาเล้ยี งและดแู ลตวั เองให้ได้นานทสี่ ุด ผูเ้ ฒ่าทม่ี ฐี านะดีคงไมส่ ู้กระไร อาจตอ้ ง เผชญิ กบั ความเงยี บเหงาบา้ งเพราะลกู หลานทมี่ จี ำ� นวนนอ้ ยลง และมแี นวโนม้ จะอยหู่ า่ งไกลกนั มากขนึ้ อยา่ งอนื่ ยงั สมบรู ณพ์ นู สขุ อยแู่ ละอาจหาเทคโนโลยลี ำ้� ยคุ มาชว่ ยเปน็ ตวั ชว่ ยไดอ้ ยา่ งมากมาย แตผ่ ู้เฒ่าฐานรากคงตอ้ งเผชญิ กับความทา้ ทายในปจั ฉิมวัยไม่ใช่น้อย ส่ิงต่างๆ เหลา่ น้ีชวนให้คดิ วา่ นคี้ อื ปลายทางของการพัฒนาหรอื ? และหากไม่ใชท่ าง ปลายทาง เป็นแตผ่ ลข้างเคยี งทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการพัฒนา เราจะทำ� ใหด้ ขี นึ้ ได้อยา่ งไร อยา่ งไรก็ตาม ครอบครวั ไทย แมจ้ ะมีบางมิตทิ ่ีเปราะบางไปบา้ ง แต่ก็ยงั หา่ งไกลจาก คำ� วา่ “ล่มสลาย” หรอื “แตกกระจาย” คนในครอบครัวยังรัก ผกู พัน ห่วงใย และดูแลกนั ครอบครัวยังเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาท่ีมหัศจรรย์ท่ีสุดอย่างหน่ึงที่ บนั ดาลให้เกดิ ส่ิงดีงามตา่ งๆ มากมาย และสรา้ งรากฐานอันมั่นคงทางจิตใจใหแ้ กค่ นในสังคม การนกึ ถงึ วนั ดๆี ในอดตี และคดิ เปรยี บเทยี บวา่ อดตี นนั้ ดกี วา่ ปจั จบุ นั เปน็ เพราะความไมส่ บายใจ ท่ีตอ้ งเผชญิ กับปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นในปัจจุบัน และคิดไปวา่ ในอดีตน้ันดีกว่า แท้จริงแล้วแตล่ ะจุด เวลามที ั้งแงท่ ด่ี ี และแง่ดอ้ ยท่แี ตกตา่ งกัน สิง่ สำ� คัญคือ วนั ดีๆ ที่คดิ ถึงจะไมก่ ลบั มาเปน็ เช่น นั้นอกี เพียงแตเ่ ราจะต้องรทู้ ันและเขา้ ใจความเปราะบางท่เี กิดขนึ้ ในปัจจบุ ัน และหาหนทางท่ี สอดคลอ้ งกบั ยคุ สมยั เพอื่ สมานความเปราะบางใหก้ ลบั มาแขง็ แรงในบรบิ ทของยคุ สมยั ไมป่ ลอ่ ย ใหเ้ ปราะบางซำ้� ลงไป จนแตกสลายไปอยา่ งน่าเสยี ดาย 70 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

บรรณานุกรม ภาษาไทย กมลชนก ขำ� สวุ รรณ. (2560 ก). ความหมายของผู้สูงอายุในระบอบของความเป็นจรงิ : ข้อถกเถียงเชงิ ทฤษฎแี ละปรัชญาสงั คมศาสตร.์ วารสารประชากรและสังคม, 5(1): 23-52. ----------. (2560 ข). สวัสดิการสังคมในบริบทความมั่นคงของครอบครัว เอกสารประกอบ การประชุมสมชั ชาครอบครัวระดับชาติ ประจำ� ปี พ.ศ. 2560 ครอบครัวตอ้ งมากอ่ น วันองั คาร ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2560 ณ อาคาร อิมแพค ฟอรัม่ เมืองทองธานี จังหวัดนนทบรุ ี. กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั . (2559). นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาครอบครวั พ.ศ. 2560- 2564. กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์. กฤตยา อาชวนชิ กลุ และ กาญจนา ตงั้ ชลทพิ ย.์ (2551). บทโหมโรง มติ ิ “เพศ” ในประชากรและสงั คม. ใน กฤตยา อาชวนชิ กลุ และ กาญจนา ตง้ั ชลทิพย์ (บรรณาธกิ าร), ประชากรและสังคม 2551: มติ เิ พศในประชากรและสงั คม. นครปฐม :สถาบนั วจิ ัยประชากรและสังคม. กฤษณ์ ปทั มะโรจน.์ (2556). โครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นโลจสิ ตกิ สข์ องไทยในบรบิ ทประชาคมอาเซยี น. วารสาร ธรรมศาสตร์, 32(2): 36-54. กองทนุ ประชากรแหง่ สหประชาชาตปิ ระจำ� ประเทศไทย (UNFPA Thailand). (2559). รายงานสถานการณ์ ประชากรไทย พ.ศ. 2558 โฉมหนา้ ครอบครวั ไทย ยคุ เกดิ นอ้ ย อายุยืน. เขา้ ถึงเมอ่ื 3 มกราคม 2562, จาก http://thailand.unfpa.org/th/publications/รายงานสถานการณป์ ระชากรไทย- พศ2558-โฉมหนา้ ครอบครวั ไทย-ยุคเกดิ น้อย-อายุยืน. กิตพิ ฒั น์ นนทปัทมดุล. (2550). แนวคิด ทฤษฎรี ัฐสวสั ดกิ ารเพือ่ นโยบายสาธารณะ : รัฐสวสั ดกิ ารจาก ขวาใหมถ่ งึ ซา้ ยใหม.่ เอกสารประกอบการเสวนา เรือ่ งรัฐสวัสดิการเครอ่ื งมือสรา้ งความเป็นธรรม ในสังคม จดั โดยภาควชิ าสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันพฤหัสบดที ่ี 20 ธันวาคม 2550 ห้อง สค. 103. คณะกรรมการสง่ เสรมิ และประสานงานสตรแี หง่ ชาต.ิ (2537). เอกสารประกอบการประชมุ สมชั ชาแหง่ ชาติ ด้านครอบครัว “ร่างนโยบายและแผนงานในการพัฒนาสถาบันครอบครัว”.วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2537 ณ ตึกสนั ตไิ มตรี ทำ� เนียบรฐั บาล. โครงการสขุ ภาพคนไทย. (2560). เสรมิ พลังกลุม่ เปราะบาง สรา้ งสงั คมที่ไม่ทอดทงิ้ กัน. สุขภาพคนไทย 2560. นครปฐม: สถาบนั วจิ ัยประชากรและสังคม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. จงจติ ต์ ฤทธริ งค์ และ สุภรต์ จรสั สิทธิ์. (2560). สถานเล้ยี งเดก็ ในบรบิ ทสังคมเมือง: พัฒนาการเพอ่ื ความมัน่ คงของชาต,ิ นครปฐม, สถาบันวิจยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหดิ ล. ชาย โพธสิ ิตา. (2552). บทโหมโรง เกิดอะไรข้ึนกบั ครอบครัว. ใน ชาย โพธิสิตา และ สชุ าดา ทวีสิทธิ์ (บรรณาธกิ าร), ประชากรและสังคม 2552: ครอบครัวไทยในสถานการณเ์ ปล่ยี นผา่ นทางสังคม และประชากร. นครปฐม :สถาบนั วจิ ัยประชากรและสังคม. ทัศนียา บริพศิ . (2557). วฒั นธรรมบริโภคนยิ ม ทุนนิยมและสญั ญะ. สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลกั ษณ์. 1(1): 39-42. 71ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ธนาคารโลก. (2558). การพัฒนาเขตเมืองในประเทศไทยกระจกุ ตวั อยใู่ นพน้ื ท่กี รุงเทพฯ. http://www. worldbank.org/th/news/feature/2015/01/26/urbanization-in-thailand-is-dominated- by-the-bangkok-urban-area. สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ 1 มนี าคม 2562. ----------. (2559). ปดิ ชอ่ งวา่ งการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางสขุ ภาพของผสู้ งู อายุ ความเปน็ ธรรมทางสขุ ภาพ และ ความครอบคลมุ ทางสงั คมของประเทศไทย เวลิ ดแ์ บงคก์ รปุ๊ สำ� นกั งานภมู ภิ าคเอเชยี และแปซพิ กิ . นิด้าโพล์. (2556). ผู้สูงอายุกับคนรุ่นใหม่. สืบค้นจาก http://nidapoll.nida.ac.th/index. php?op=polls-detail&id=302 สบื คน้ เม่ือวันที่ 10 มนี าคม 2561. บรรลุ ศิริพานิช. (2550). คู่มือผู้สูงอายุ: ฉบับเตรียมตัวก่อนสูงอายุ (เตรียมตัวก่อนเกษียณการงาน). (พิมพค์ ร้ังที่ 1). กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบ้าน. บงั อร เทพเทยี น และคณะ. (2008). ปจั จยั ทสี่ มั พนั ธก์ บั ครอบครวั เขม้ แขง็ . Journal of Public Health and Development, 6(2), 25-38. เบญจา ยอดด�ำเนนิ แอตตกิ จ์. (2561). การสงั เคราะห์งานวิจยั เพอ่ื วิเคราะหส์ ถานการณ:์ ทฤษฎแี ละ ตวั อย่าง. นครปฐม: สถาบนั วิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหดิ ล. ปยิ กร หวังมหาพร. (2546). นโยบายผู้สงู อายขุ องประเทศไทย. วิทยานพิ นธ์ปริญญาดษุ ฎีบัณฑิต, สาขา วชิ ารฐั ศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ปิยวัฒน์ เกตุวงศา และคณะ. (2561). กลไกของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดูแล ครวั เรอื นเปราะบาง: กรณศี กึ ษาครวั เรอื นขา้ มรนุ่ และครวั เรอื นทผ่ี สู้ งู อายทุ อี่ ยคู่ นเดยี ว. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหดิ ล. ผู้จัดการออนไลน์. (2561). ศูนย์ข้อมูลฯ หนุนผ่าน กม.ท่ีดินและส่ิงปลูกสร้าง ลดความร้อนแรงราคา ทีด่ นิ . เผยแพร:่ 16 พ.ย. 2561 ปรบั ปรงุ : 17 พ.ย. 2561 โดย: ผจู้ ัดการออนไลน์ https:// mgronline.com/stockmarket/detail/9610000114671 สบื ค้นเม่อื วนั ที่ 4 ก.พ. 2562 พระไพศาล วสิ าโล. (2553). เผชญิ ความตายอยา่ งสงบ เลม่ 1. กรงุ เทพมหานคร: หา้ งหนุ้ สว่ นสามลดา. พระมโน เมตฺตานนฺโท. (2548). ธรรมะในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย. ใน เมตฺตานนฺโท ภิกขุ (บรรณาธกิ าร), ธรรมะ 4 ศาสนาในการดแู ลผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ย (หนา้ 11-107). กรงุ เทพมหานคร: ที.เอ็น.พี พรน้ิ ตง้ิ จำ� กดั . ภูเบศร์ สมุทรจักร, ธีรนุช ก้อนแก้ว และ ริฏวัน อุเด็น. (2560). ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย, นครปฐม: สถาบนั วิจยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหดิ ล. มนสกิ าร กาญจนะจิตรา, ทรงพันธ์ เจิมประยงค,์ กัญญาพัชร สุทธิเกษม และ รีนา ตะ๊ ดี (2561). ราคา ของการมีลกู . นครปฐม: สถาบันวจิ ัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลยั มหิดล. ระพพี รรณ คำ� หอม และ ทพิ าภรณ์ โพธถ์ิ วลิ . (2557). การสังเคราะห์องค์รู้ครอบครัวเปราะบางในสังคม ไทยกบั ระบบคมุ้ ครอง. การสมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา สงั คมศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ าร สงั คมระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 4 ประจ�ำปี 2557. วันที่ 20 กรกฎาคม 2558 ณ ห้องประชมุ ประกอบ หุตะสิงห์ ตึกเอนกประสงค์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์. วรชยั ทองไทย และ ชาย โพธสิ ติ า. (2551). “เพศศึกษาควรสอนอะไร”. ใน กฤตยา อาชวนิจกลุ และ กาญจนา ตั้งชลทิพย์ (บรรณาธกิ าร), ประชากรและสงั คม 2551: มิติ “เพศ, (หนา้ 98-115). นครปฐม: ส�ำนกั พมิ พป์ ระชากรและสงั คม. วิเชียร ตีรสุภาพกุล. (2011). เสริมศักยภาพบริหารงานให้แกร่ง. เทคนิคสู่ความส�ำเร็จ, TPA News, No. 176 August 2011. 72 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

วิระดา สมสวัสดิ์. (2546). กฎหมายครอบครัว. พิมพ์คร้งั ที่ 2. กรุงเทพฯ: คบไฟ. ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2549). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว. (พมิ พค์ ร้ังที่ 2). กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. ศริ ิกุล อศิ รานรุ กั ษ์. (2542). หลกั การวางแผนงานอนามัยครอบครอบครัว. กรงุ เทพมหานคร: เจริญดี การพมิ พ์. ศิริวรรณ อุทัยทิพไพฑูรย์ และคณะ. (2552).การดูแลและสวัสดิการผู้สูงอายุ. ใน สมศักดิ์ ชุณหรัศ ม์ิ(บรรณาธกิ าร), รายงานประจ�ำปี ผ้สู ูงอายไุ ทย 2551. กรงุ เทพฯ : ทคี วิ พ.ี ศทุ ธดิ า ชวนวนั และ ปยิ วฒั น์ เกตวุ งศา. (2557). ทำ� ไมผหู้ ญงิ ไมแ่ ตง่ งาน: ผชู้ ายหายไปไหน ใน ยพุ นิ วรสริ อมร, จงจติ ต์ ฤทธริ งค,์ ศทุ ธดิ า ชวนวนั และ พจนา หนั จางสทิ ธิ์ (บรรณาธกิ าร). ประชากร และสงั คม 2557: การเกดิ กบั ความมนั่ คงในประชากรและสงั คม. สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. ศุทธดิ า ชวนวัน, กัญญา อภิพรชัยสกุล, กาญจนา เทียนลาย และ ภทั ราพร ตาสิงห์. (2561). ผูส้ งู อายุ โดดเดี่ยว แต่ (ไม)่ เดียวดาย. นครปฐม: สถาบนั วิจัยประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหดิ ล. ศุภชัย ปิติกุลตัง. (2552). สถานการณ์และแนวโน้มของครอบครัวไทย. การประชุมวิชาการอนามัย ครอบครวั แหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 6. วนั ที่ค้นข้อมลู 19 มนี าคม 2559, เข้าถงึ ไดจ้ าก http://ns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/__21.pdf ศูนยข์ อ้ มูลฯ หนุนผา่ น กม.ท่ดี ินและสง่ิ ปลูกสร้าง ลดความรอ้ นแรงราคาท่ดี นิ . เผยแพร่: 16 พ.ย. 2561 ปรบั ปรุง: 17 พ.ย. 2561 07.28 โดย: ผูจ้ ดั การออนไลน์ https://mgronline.com/stockmar- ket/detail/9610000114671 สืบค้นเมื่อวนั ท่ี 4 ก.พ. 2562. สถาบันวจิ ยั ประชากรและสังคม มหาวทิ ยาลัยมหิดล. (2560). สขุ ภาพคนไทย 2560 : เสริมพลังกลุ่ม เปราะบาง สรา้ งสังคมท่ีไม่ทอดทิ้งกัน. นครปฐม : สถาบันวจิ ัยประชากรและสงั คม. สถาบนั วิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย. (2549). รายงานฉบับสมบรู ณก์ ารประเมินความเส่ียงและความ เปราะบางทางสังคม: การวดั ภาวะความยากไร้และความเปราะบางสงั คม สแู่ นวทางนำ� ไปปฏิบัติ ได้ในประเทศไทย. วนั ท่คี ้นขอ้ มูล 18 มีนาคม 2559, เข้าถึงไดจ้ าก สำ� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต.ิ (2560). ดัชนคี วามกา้ วหนา้ ของคน ปี 2560. สบื คน้ 10 มกราคม 2561, จาก http://social.nesdb.go.th/social/Portals/0/HAI%20 2560%20Web%20NESDB.pdf ----------. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. สำ� นักนายก รฐั มนตร.ี สบื คน้ เมอ่ื วนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2561 จาก http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link. php?nid=6422. สำ� นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส.์ (2560). ETDA เปดิ พฤตกิ รรมผู้ใช้อินเทอรเ์ นต็ ปี 61 คน ไทยใช้เน็ตเพ่ิม 10 ชั่วโมง 5 นาทีต่อวัน. สืบค้นจาก https://www.etda.or.th/content/ etda-reveals-thailand-internet-user-profile-2018.html สบื ค้นเมอื่ วนั ที่ 5 มีนาคม 2562 สำ� นกั งานสถิติแห่งชาต.ิ (2555). การสำ� รวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความรแู้ ละทศั นคติทมี่ ี ตอ่ ผ้สู ูงอายุ พ.ศ.2554. สำ� นกั งานสถิติพยากรณ์ สำ� นกั งานสถิตแิ ห่งชาติ. ----------. (2560). ปี 59 คนไทยใชจ้ ่ายกบั อะไรบา้ ง?. เข้าถึงเมอ่ื วันที่ 3 มกราคม 2561, จาก http:// www.nso.go.th/sites/2014/DocLib14/2560/25-08-60/คนไทยใช้จ่ายกับอะไรบ้าง.pdf. สืบคน้ เมอ่ื วันท่ี 5 มีนาคม 2562. 73ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

สรุ ียพ์ ร พนั พึ่ง. (2554). บทโหมโรง จุดเปลี่ยนประชากร จดุ เปลีย่ นสังคมไทย. ใน สุรยี พ์ ร พนั พง่ึ และ มาลี สนั ภูวรรณ (บรรณาธกิ าร). ประชากรและสงั คม 2554, (หนา้ 1-9). นครปฐม, สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. อนนั ต์ ภาวสทุ ธไิ พศฐิ . (2558). ผลกระทบของปจั จยั ประชากรตอ่ สถาบนั ครอบครวั และชมุ ชนในอนาคต. กรงุ เทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. ภาษาอังกฤษ Ansley J. C., et .al. (1965). Principles and Recommendations for the 1970 Population Censuses. Princeton University Press. Auslander, P. (2008). Theory for Performance Studies: A Students Guide. London: Routledge Taylor & Francis Group. Carter, E. A., & McGoldrick, M. (1980). The family life cycle and family therapy: An overview. The family life cycle: A framework for family therapy, 3-20. Chambers, Deborah. (2012). A sociology of family life. Cambridge: Polity Press. Chesnais, J. C. (1996). Fertility, family, and social policy in contemporary Western. Europe. Population and Development review, 729-739. Cook, D. J., Mulrow, C. D., & Haynes, R. B. (1997). Systematic reviews: synthesis of best evidence for clinical decisions. Annals of internal medicine, 126(5), 376- 380. CRBE Research and Capital Markets-Investment & Land (2018). Bangkok land price increase 1000% in 30 years. https://cdn.cbre.co.th/media/research_lang_file/2674/ Thailand_Viewpoint-30_Years_of_the_Bangkok_Land_Market-July_2018_EN.pdf. Re- trieved 31 March 2019. Dune, Gillian A. “A Passion for Sameness? Sexuality and Gender Accountability.” in Weeks, Jeffrey; Holland, Janet and Waites, Matthew. (eds.) Sexualities and Society. Cambridge, Polity Press. 2003. pp.57-68. Eazy Thai cooking. (2549). กรงุ เทพฯ: Health & Cuisine: http://guru.sanook.com/ency- clopedia/ประเพณกี ารรับประทานอาหารของคนไทย เข้าถงึ เม่ือ: 7 กุมภาพันธ์ 2562. Garton, Stephen. (2004). Histories of Sexuality. New York, Routledge. Gauthier, A. H. (1998). The state and the family: A comparative analysis of family policies in industrialized countries. OUP Catalogue. Giddens, A. (1984). The construction of society. Cambridge: Polity. Hallett, H. S. (1890). A thousand miles on an elephant in the Shan States. W. Black- wood and sons. Hantrais, L. (2004). Family policy matters: Responding to family change in Europe. Policy Press. Kamerman, S. B., & Kahn, A. J. (Eds.). (1997). Family Change and Family Policies in Great Britain. 74 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

Lefebvre, Hennri. (1991). Translated by Donald Nicholson-Smitch. The Production of Space. Blackwell Publishing. UK. Monge, P. (1998). Communication Structures and Processes in Globalization. Journal of Communication, 48(4), 142-153. Sarfati, H. (2016). OECD. Integrating social services for vulnerable groups–Bridging sectors for better service delivery. Paris, Organisation for Economic Co-operation and Development, 2015. 210 pp. ISBN 978-92-64-23376-8. International Social Security Review, 69(2), 137-140. Sprunger, L.W., Boyce, W. T., & Gaines, J. A. (1985). Family-infant congruence: Routines and Rhythmicity in family adaptations to a young infant. Child Development, 56: 564–572. Toffler, A. (2016). The Third Wave: Entrepreneur’s Vision of the Future. New York: Simon and Schuster. Trost, j. (1990). Do we mean the same thing by the concept of the family? Communication Research, 17(4), 431. United Nation. (1970). Principles and Recommendations for the 1970 Population Census. National publication No 67. 75ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง



ภาคผนวก ภาคผนวก ก. การทบทวนวรรณกรรมอยา่ งเปน็ ระบบในประเดน็ ภาคผนวก ข. “ครอบครวั เปราะบาง” การสงั เคราะห์ขอ้ คน้ พบจาก 4 โครงการวิจยั ย่อย ภาคผนวก ค. การนำ�เสนอผลการวจิ ยั ภาคผนวก ง. Reseach Brief 77ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลย่ี นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และท้ิงใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง



ภาคผนวก ก. การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ ในประเด็น “ครอบครวั เปราะบาง” 2.1 การทบทวนงานวจิ ยั อยา่ งเปน็ ระบบ (Systematic reviews) การทบทวนอยา่ งเป็นระบบ หมายถึง การสังเคราะห์องค์ความรู้ใหมจ่ ากความรเู้ ดมิ ทมี่ ี อยู่ โดยใช้วิธีการทบทวนอย่างเป็นข้ันตอน มีการจ�ำกัดอคติ และเป็นระบบในการสืบค้นหา ข้อมูลท่ีมีอยู่ ประเมินคุณภาพและสังเคราะห์ให้เป็นข้อมูลใหม่ เพื่อตอบค�ำถามเฉพาะเร่ือง (Cook et al., 1997) การทบทวนอย่างเป็นระบบ จงึ เป็นวธิ ีการท่ผี มู้ ีความร้มู าชว่ ยรวบรวม ขอ้ มลู หลกั ฐานเฉพาะเรอ่ื งดว้ ยวธิ กี ารทนี่ า่ เชอื่ ถอื และสะดวกตอ่ การใชป้ ระโยชนห์ รอื ชว่ ยในการ ตดั สนิ ใจในการท�ำวจิ ยั ซง่ึ ประกอบดว้ ย 2 ขนั้ ตอนหลกั คอื (1) การรวบรวมงานวจิ ยั และหลกั ฐานอา้ งองิ ทางวชิ าการเพอื่ การทบทวน และ (2) การวเิ คราะห-์ สงั เคราะหง์ านวจิ ยั และหลกั ฐาน อ้างองิ ทางวิชาการ การรวบรวมงานวิจยั และหลักฐานอ้างอิงทางวิชาการเพื่อการทบทวน 2.1.1 การสืบคน้ งานวิจัย การศึกษาน้ี ด�ำเนินการตามกรอบแนวคิดเร่ืองความเปราะบางของครอบครัวไทย ในสถานการณเ์ ปลี่ยนผา่ นทางประชากรและสงั คม ซึ่งประกอบด้วยความเปราะบางในด้านรูป แบบการอยู่อาศัย เศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ ความต้องการการดูแลจากภาคีเครือข่ายทั้งใน ครอบครวั และนอกครอบครวั ไดแ้ ก่ คนในครอบครวั ญาติ คนขา้ งบา้ น รฐั บาลทอ้ งถน่ิ รฐั บาล กลาง ผู้ประกอบการทางสังคม นักลงทุนทางสังคม นักธุรกิจท้องถ่ิน มีความเช่ือมโยงไปถึง ตลาดหลักทรพั ย์ โดยคณะวจิ ัย ได้ใชอ้ งค์ประกอบดังกล่าวนี้ เปน็ เกณฑ์ในการสบื คน้ ซ่ึงใช้ค�ำ ส�ำคญั เหล่าน้ีเป็นเกณฑใ์ นการสืบค้น ได้แก่ ครอบครัว รปู แบบการอยูอ่ าศยั ความเปราะบาง 79ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ครวั เรือนไทย สถานการณค์ รอบครัว ปญั หาครอบครัว families in Thailand Redefinition of family, Type of Family, Living Arrangement, Vulnerable Family, Risk Family, Marginal Family, Vulnerable index สำรวจและคัดเลอื กฐานขอ้ มูล กำหนดคำคน้ จากฐานข้อมูล (Scopus, Jstore, Sege และวรรณกรรมในประเทศไทย) ท่เี กี่ยวกบั ครอบครัว, รูปแบบการอยู่อาศัย, ความเปราะบาง ฯลฯ คดั กรองบทความวิจัย วเิ คราะหเ์ นื้อหาบทความวิจยั ในประเด็น ทเ่ี ก่ยี วกบั วตั ถปุ ระสงค์การวิจยั สังเคราะห์เนื้อหา ขอ้ ค้นพบโครงการ ข้อค้นพบโครงการ ข้อคน้ พบโครงการ ข้อค้นพบโครงการ วิจัยย่อยท่ี 1 วจิ ยั ย่อยท่ี 2 วิจัยย่อยท่ี 3 วจิ ยั ย่อยท่ี 4 การวิจัยเอกสาร สังเคราะห์รวมเน้อื หาจากการวิจัยเอกสาร และข้อค้นพบจากโครงการย่อยทัง้ 4 โครงการ 2.1.2 การกำ� หนดฐานขอ้ มลู ในการสบื คน้ งานวิจยั ฐานขอ้ มลู ในการสบื คน้ งานวจิ ยั และหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษอ์ น่ื ๆสบื คน้ จากระบบฐานขอ้ มลู ต่างๆดงั นี้  สรJSะืบTดคOบั ้นRนหEาล,นักSาฐAชาาGนตเEิชไิงฯดปล้แรฯกะ่จฐักาษน์จขาอ้ กมงูลาอนิเวตลคผิจารคู้สมทัยวั งูทลอ่ีเทรอำยรือาพ่ีตู่ ยอนังีพุ นิมิคพผสู้ส์จค์ งู ารอกะายรดุ ะับบนบาท“โใฐนคนก่หี ารราาลปูงรนชาดกแกขาแูบาหร้อลตบลยผมกาิไอ่ ู้สยาดูลยรงูใทนอแ้ออส่ียาก2ิเยงัู่อล่ ุคา็กศSมัยทCไทรOยอ”PนUิกSส,์ โ“ครระบงบก สารฐวนยับิจา่อสนัยยนขไทนุ ท่ี้อ4ยมูล(อTNเิ ลRคRท),รอOนEิคCคสรDร์ วั ะเ,รดอื Uับนnชitาeตdิ ได้แก่ Tคhขรา้aวั มเรiรอื่นุ LนIS, TCI, Thaijo, คลงั ข้อมูลงาน Nเดaก็ tions, Statistics Division ผสู้ งู อายแุ บบบรู ณาการ: โครงการย่อยท่ี 1 ชุมชน และ การมสี ่วนรว่ ม “การปรับวถิ ี ของภาคเอกชนและ พ่อแม่ การทำงานของ 80 กจิ กรรมเพือ่ สงั คม เม่อื การเภปาคลเยี่ อนกแชปนลงของสวังัยคทมำงาน ครอบครัวเมื่อมบี ตุ ร” (Social enterprise)” ครอบครวั “เปราะบาง” โครงการยอ่ ยท่ี 3 ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง “กลไกขององค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ หน่วยงานภาครัฐ ในการดแู ล ครัวเรอื นเปราะบาง”

 งานวิจัยจากฐานข้อมูลของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น กระทรวง พม. กระทรวง มหาดไทย, กระทรวงเกษตรและสหกรณ,์ TDRI, UNFPA Thailand, สสส. สำ� นกั งาน สถิติแห่งชาติ, UNFPA Thailand, สถาบนั วิจยั พฤตกิ รรมศาสตร์ มศว. ฯลฯ โดยก�ำหนดระยะเวลาสืบค้น ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา (2550-2560) ซ่ึงจะท�ำการ สงั เคราะห์ 3 ประเดน็ หลกั ดงั น้ี นยิ ามของครอบครวั ในบรบิ ทสากล-ไทย 2) นยิ ามความเปราะ บางในบรบิ ทสากล-ไทย 3) ความเปราะบางในรูปแบบการอย่อู าศยั ต่างๆ 2.1.3 เกณฑ์ในการคัดเลอื กงานวจิ ยั เกณฑใ์ นการคดั เลอื กงานวจิ ยั ใชเ้ กณฑ์ Critical appraisal of evidences ของ Earl- Slater (2002) กำ� หนดเป็น 3 เกณฑ์ดังนี้ 1. พจิ ารณาความถกู ตอ้ งเท่ยี งตรง (validity) ของขอ้ มูล 2. พจิ ารณาความส�ำคญั น้�ำหนัก และข้อมูลหลกั ฐาน 3. พจิ ารณาจากความสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ ผลการทบทวนอยา่ งเปน็ ระบบ พบวา่ มงี านวจิ ยั ทผ่ี า่ นเกณฑแ์ สดงตามตารางท่ี 3.2 โดย ผลการสังเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมสามารถก�ำหนดค�ำนิยามของครอบครัว และเกณฑ์หรือตัว ช้ีวัดความเปราะบาง ดงั นี้ 81ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ตารางแสดง จ�ำนวนงานวจิ ัยท่ีผ่านเกณฑ์คดั เลือก ฐานขอ้ มูล ค�ำส�ำคญั จำ� นวน จ�ำนวน ในการสบื คน้ การศึกษาวจิ ยั การศึกษาวจิ ัย Hard copy ครอบครัว ทสี่ บื ค้นได้ ทต่ี รงตามเกณฑ์ รปู แบบการอยู่อาศัย JSTOR ครอบครวั ไทย 1,010 1 ครัวเรือนไทย 1,830 2 OECD เปราะบาง 777 15 SAGE Journals Vulnerable family 27 1 Living arrangement 1,895 1 SCOPUS Vulnerable family 679 3 2010 - 2017 148 1 Risk family 113 10 2010 - 2017 342 Marginal family 4 2010 - 2017 Vulnerable family 1 Vulnerable family 1 2010 - 2017 20 Living arrangement 2010 – 2017 6 Risk family 2010 -2017 3 Vulnerable family 2010 - 2017 16 Marginal family 2010 - 2017 1 82 ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง

ฐานข้อมูล ค�ำส�ำคญั จำ� นวน จ�ำนวน TCI ในการสืบคน้ การศึกษาวจิ ยั การศึกษาวิจยั ครอบครวั ไทย ท่ีสืบค้นได้ ทต่ี รงตามเกณฑ์ TCI Thaijo ปญั หาครอบครวั TDRI ความเปราะบาง 12 1 Demographic and 886 3 United Nations Social Statistics 12 1 Statistics Division Publications 1 1 UNFPA Thailand ครอบครวั 22 2 สถาบันวิจัยพฤติกรรม สถานการณ์ 18 1 ครอบครวั ไทย ศาสตร์ มศว. เอกสารเผยแพร่ 30 1 ส�ำนกั งานกองทุนสนับสนนุ Master Plan ครอบครัวไทย 16 1 การสรา้ งเสริมสุขภาพ (บทความเด่น) ส�ำนักงานกิจการสตรี ครอบครวั 57 1 และสถาบันครอบครัว ส�ำมะโนประชากร คลงั ขอ้ มลู งานวจิ ยั ไทย 5 1 1 1 (TNRR) 7,881 100 สำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ รวม โดยผลของการทบทวนอย่างเป็นระบบ จ�ำนวนงานวิจัยท่ีผ่านเกณฑ์คัดเลือก ส่วนราย ละเอียดการสบื ค้น ดูไดจ้ ากภาคผนวก 83ครอบครวั “เปราะบาง” เม่อื การเปลยี่ นแปลงของสังคม ท�ำรา้ ยครอบครวั ไทย และทิ้งใครหลายคนไวเ้ บ้ืองหลัง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook