Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้

Published by krujee2104, 2022-08-29 13:52:18

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

๒ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบรุ ี พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560) กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษานนทบรี สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

๓ คำนำ หลักสูตรโรงเรยี นนวมินทราชินทู ศิ หอวัง นนทบรุ ี พุทธศักราช 2563 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คม ศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 เล่มน้ี ได้จัดทำขึ้นโดยยดึ ตาม หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขั้น พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560) ซงึ่ มรี ายเอียดของหลักสูตร คอื ทำไมต้อง เรยี นสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรียนรู้อะไรในสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระและ มาตรฐานการเรยี นรู้ คณุ ภาพผเู้ รยี น ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง โครงสร้างเวลาเรียน คำอธบิ าย รายวิชา โครงสร้างรายวชิ า หลกั สูตรโรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ูทิศ หอวงั นนทบรุ ีนี้ มีรายละเอียดและเน้ือหาสาระสำคัญเพียงพอที่ สามารถจะนำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ให้บรรลุเป้าหมายตามมาตรฐานและตัวชี้วัดที่ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560) กำหนดไว้ คณะผ้จู ดั ทำ

สารบญั ๔ เรอื่ ง หน้า คำนำ ก สารบญั ข ทำไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1 เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น 2 มาตรฐานและตวั ชีว้ ัดแกนกลาง 3 5 สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม 8 สาระท่ี 2 หน้าทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม 10 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 12 สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ 14 ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง 14 สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม 30 สาระท่ี 2 หนา้ ทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ติ ในสงั คม 37 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 43 สาระที่ 5 ภมู ิศาสตร์ 48 กรอบสาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่ 49 โครงสรา้ งเวลาเรียน ระดับประถมศกึ ษา 5๖ คำอธบิ ายรายวิชา 6๙ โครงสร้างรายวิชา 8๔ อภิธานศัพท์ 10๙ ภาคผนวก

๕ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทำไมตอ้ งเรียนสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สงั คมโลกมกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ ความเข้าใจ วา่ มนษุ ย์ดำรงชีวติ อย่างไร ทัง้ ในฐานะปัจเจกบุคคล และการ อยรู่ ่วมกันในสังคม การปรบั ตัวตามสภาพแวดลอ้ ม การจดั การทรพั ยากรที่มีอยู่อยา่ งจำกัด นอกจากน้ี ยงั ชว่ ย ใหผ้ ูเ้ รียนเข้าใจถงึ การพฒั นา เปลี่ยนแปลงตามยคุ สมยั กาลเวลา ตามเหตปุ จั จัยต่างๆ ทำให้เกิดความเขา้ ใจใน ตนเอง และผู้อนื่ มีความอดทน อดกล้ัน ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ ในการดำเนนิ ชีวติ เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก เรยี นร้อู ะไรในสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสงั คม ที่มีความเชื่อม สัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เปน็ พลเมอื งดี มีความรบั ผดิ ชอบ มคี วามรู้ ทักษะ คุณธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม โดยได้กำหนดสาระต่างๆ ไว้ ดังน้ี • ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรม ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ รว่ มกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมท้ังบำเพ็ญประโยชน์ต่อ สงั คมและส่วนรวม • หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสำคัญ การเป็น พลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเช่ือ ปลูกฝังค่านิยมด้าน ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าท่ี เสรีภาพการดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขใน สังคมไทยและสงั คมโลก • เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ในชวี ิตประจำวัน • ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจาก เหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย แหลง่ อารยธรรมทส่ี ำคัญของโลก • ภมู ิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภมู ิอากาศ ของประเทศไทย และภูมิภาคตา่ งๆ ของโลก การใชแ้ ผนท่ีและเคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ ความสัมพันธก์ ันของสิ่ง ต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสมั พันธข์ องมนษุ ยก์ บั สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และส่งิ ที่มนษุ ย์สร้างขึน้ การ นำเสนอขอ้ มลู ภูมสิ ารสนเทศ การอนุรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ มเพ่ือการพฒั นาทีย่ ัง่ ยืน

๖ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรม เพ่ืออยู่ ร่วมกันอย่างสันตสิ ุข มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ สาระท่ี 2 หน้าท่พี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสงั คม มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏบิ ัตติ นตามหนา้ ที่ของการเปน็ พลเมืองดี มคี ่านยิ มที่ดงี าม และ ธำรงรักษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ิตอยู่รว่ มกันในสังคมไทย และ สังคม โลกอยา่ งสนั ติสุข มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษา ไวซ้ ่งึ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.3.1 เข้าใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภคการใช้ ทรพั ยากรทมี่ อี ยูจ่ ำกดั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและคมุ้ คา่ รวมท้ังเขา้ ใจ หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดำรงชวี ิตอย่างมดี ลุ ยภาพ มาตรฐาน ส.3.2 เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็นของการร่วมมอื กนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก สาระท่ี 4 ประวตั ิศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วธิ กี ารทางประวัติศาสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณต์ ่างๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบท่เี กดิ ข้นึ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒ นธรรม ภูมิปัญ ญ าไทย มีความรัก ความภมู ใิ จและธำรงความเปน็ ไทย สาระท่ี 5 ภมู ศิ าสตร์ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผล ต่อกัน มาตรฐาน ส 5.1 และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา วเิ คราะห์ สรปุ และใช้ขอ้ มูลภูมสิ ารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างมนษุ ยก์ บั สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่กอ่ ให้เกดิ การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนกึ และมีสว่ นร่วมในการอนรุ กั ษ์ ทรัพยากรและ สิง่ แวดลอ้ ม เพื่อการพฒั นาท่ีย่ังยืน

๗ คณุ ภาพผู้เรยี น จบช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 • ได้เรียนรู้เร่ืองเกี่ยวกับตนเองและผู้ท่ีอยู่รอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ที่อยู่อาศัย และเชอื่ งโยงประสบการณไ์ ปสูโ่ ลกกว้าง • ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาให้เป็น ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็นพลเมืองดี มี ความรับผิดชอบ การอยู่ร่วมกันและการทำงานกับผู้อน่ื มีสว่ นร่วมในกิจกรรมของห้องเรียน และได้ฝึกหดั ใน การตัดสินใจ • ได้ศึกษาเรื่องราวเก่ียวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ ผู้เรียนได้เข้าใจแนวคิดเก่ียวกับปัจจุบันและอดีต มีความรู้พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจได้ข้อคิดเกี่ยวกับรายรับ- รายจ่ายของครอบครัว เขา้ ใจถึงการเป็นผผู้ ลิต ผู้บริโภค รจู้ กั การออมข้ันต้นและวธิ กี ารเศรษฐกจิ พอเพียง • ได้รบั การพัฒนาแนวคิดพื้นฐานเก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ และภูมปิ ัญญา เพื่อเปน็ พื้นฐานในการทำความเข้าใจในข้ันท่สี งู ต่อไป จบช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 • ได้เรียนรู้เรื่องของจังหวัด ภาค และประทศของตนเอง ท้งั เชิงประวัตศิ าสตร์ ลักษณะทางกายภาพ สังคม ประเพณี และวฒั นธรรม รวมทง้ั การเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกจิ โดยเน้นความเป็นประเทศไทย • ได้รบั การพัฒนาความรู้และความเข้าใจ ในเร่ืองศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลักคำ สอนของศาสนาทีต่ นนับถือ รวมทง้ั มีสว่ นรว่ มศาสนพิธี และพิธีกรรมทางศาสนามากย่งิ ขนึ้ • ได้ศึกษาและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหน้าท่ีในฐานะพลเมืองดีของท้องถ่ิน จังหวัด ภาค และประเทศ รวมท้ังได้มสี ่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ของท้องถิ่นตนเอง มากยิ่งขนึ้ • ได้ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าท่ีพลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่การทำความเข้าใจ ในภูมิภาค ซีกโลกตะวันออก และตะวันตกเก่ียวกับศาสนา คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมความเชอื่ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรม การ ดำเนนิ ชีวิต การจัดระเบยี บทางสังคม และการเปลีย่ นแปลงทางสงั คมจากอดตี สูป่ จั จบุ นั จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 • ได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ กับประเทศในภูมิภาคต่างๆในโลก เพ่อื พัฒนาแนวคิด เรือ่ งการอยู่รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ขุ • ได้เรียนรู้และพัฒนาให้มีทักษะท่ีจำเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนา แนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนอื อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม ความ

๘ เช่อื ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรม การเมอื งการปกครอง ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ ด้วยวธิ ีการทาง ประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์ • ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนำมาใช้เป็นประโย ชน์ ในการดำเนนิ ชีวิตและวางแผนการดำเนินงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม จบชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 • ได้เรยี นรูแ้ ละศึกษาความเปน็ ไปของโลกอยา่ งกวา้ งขวางและลึกซึง้ ย่งิ ขึน้ • ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตาม หลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ รวมทั้งมีค่านิยมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นและอยู่ในสังคมได้ อยา่ งมีความสขุ รวมทัง้ มีศกั ยภาพเพอื่ การศึกษาต่อในช้ันสงู ตามความประสงค์ได้ • ได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย ยดึ มั่นในวิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ • ได้รับการส่งเสริมให้มนี ิสัยท่ีดีในการบรโิ ภค เลือกและตดั สินใจบริโภคไดอ้ ย่างเหมาะสม มี จิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประเพณีวัฒนธรรมไทย และสิ่งแวดล้อม มีความรักท้ องถ่ินและ ประเทศชาติ มงุ่ ทำประโยชน์ และสร้างส่ิงทีด่ ีงามให้กับสังคม • เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นำตนเองได้ และสามารถแสวงหา ความรู้จากแหล่งการเรยี นร้ตู ่างๆในสังคมไดต้ ลอดชีวิต

๙ ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนบั ถือและศาสนาอนื่ มศี รัทธาทถ่ี กู ต้อง ยดึ ม่นั และปฏิบัติตามหลกั ธรรม เพอ่ื อยรู่ ่วมกนั อย่างสันติสุข ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 1. บอกพุทธประวัติ หรอื ประวัตขิ อง ➢ พทุ ธประวัติ ศาสดาทต่ี นนบั ถอื โดยสังเขป  ประสูติ  ตรัสรู้  ปรินพิ พาน 2. ชนื่ ชมและบอกแบบอย่างการดำเนนิ  สามเณรบณั ฑติ ชวี ิตและข้อคิดจากประวตั ิสาวก ชาดก/  วณั ณปุ ถชาดก เรื่องเล่าและศาสนกิ ชนตวั อย่างตามที่  สวุ ณั ณสามชาดก กำหนด  พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยู่หวั ภมู ิพลอดลุ ยเดช  เจ้าพระยาสธุ รรมมนตรี (หนูพรอ้ ม) 3. บอกความหมาย ความสำคัญ และ ➢ พระรัตนตรยั เคารพพระรัตนตรัย ปฏิบตั ิตามหลกั ธรรม  ศรทั ธา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ โอวาท 3ในพระพุทธศาสนา หรือ ➢ โอวาท 3 หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถอื ตามท่ี  ไมท่ ำชวั่ กำหนด o เบญจศีล  ทำความดี ° เบญจธรรม ° สงั คหวัตถุ 4 ° กตัญญูกตเวทตี อ่ พ่อแม่ และ ครอบครวั ° มงคล 38 - ทำตวั ดี - วา่ งา่ ย - รบั ใชพ้ อ่ แม่  ทำจติ ใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ (บริหารจิตและเจรญิ ปัญญา) ➢ พุทธศาสนสุภาษติ  อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ ตนแลเป็นท่พี ง่ึ ของตน  มาตา มิตฺตํ สเก ฆเร

๑๐ ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง มารดาเป็นมติ รในเรือนของตน 4. เห็นคณุ คา่ และสวดมนต์ แผเ่ มตตา ➢ ฝกึ สวดมนตแ์ ละแผ่เมตตา มสี ตทิ เี่ ปน็ พนื้ ฐานของสมาธใิ น  รคู้ วามหมายและประโยชนข์ องสติ พระพุทธศาสนา หรอื การพัฒนาจติ ตาม  ฟังเพลงและรอ้ งเพลงอยา่ งมีสติ แนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถือ  เล่นและทำงานอยา่ งมีสติ ตามท่ีกำหนด  ฝึกใหม้ ีสติในการฟัง การอ่าน การคดิ การถามและการเขยี น ป.2 1. บอกความสำคัญของพระพุทธศาสนา  พระพุทธศาสนาเป็นเอกลักษณ์ของ หรอื ศาสนาทต่ี นนับถือ ชาติไทย 2. สรุปพทุ ธประวัตติ ั้งแตป่ ระสูตจิ นถึงการ ➢ สรปุ พุทธประวัติ ออกผนวชหรือประวตั ิศาสดาท่ีตนนับถือ  ประสตู ิ ตามท่กี ำหนด o เหตกุ ารณห์ ลังประสูติ o แรกนาขวัญ o การศกึ ษา o การอภิเษกสมรส o เทวทตู 4 o การออกผนวช 3. ชนื่ ชมและบอกแบบอย่างการดำเนนิ  สามเณรราหุล ชีวติ และข้อคิดจากประวตั ิสาวก ชาดก/  วรณุ ชาดก เรื่องเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อย่างตามท่ี  วานรนิ ทชาดก กำหนด  สมเดจ็ พระญาณสังวร (ศขุ ไกเ่ ถื่อน)  สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเดจ็ พระสงั ฆราช (เจริญ สวุ ฑฺฒโน) 4. บอกความหมาย ความสำคัญ และ ➢ พระรตั นตรยั เคารพพระรัตนตรยั ปฏิบัตติ ามหลักธรรม  ศรทั ธา โอวาท 3 ในพระพทุ ธศาสนา หรือ ➢ โอวาท 3 หลกั ธรรมของศาสนาท่ีตน  ไม่ทำชัว่ นับถอื ตามท่ีกำหนด ° เบญจศีล  ทำความดี ° เบญจธรรม ° หิริ-โอตตัปปะ ° สังคหวตั ถุ 4 ° ฆราวาสธรรม 4 ° กตัญญูกตเวทีตอ่ ครู อาจารย์ และ โรงเรียน ° มงคล 38 - กตญั ญู

๑๑ ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - สงเคราะหญ์ าติพ่นี ้อง  ทำจติ ให้บริสทุ ธิ์ (บริหารจติ และเจรญิ ปญั ญา) ➢ พุทธศาสนสภุ าษิต  นมิ ิตฺตํ สาธุรูปานํ กตญญฺ กตเวทติ า ความกตัญญ กตเวทเี ปน็ เครือ่ งหมาย ของคนดี  พฺรหฺมาติ มาตาปติ โร มารดาบิดาเปน็ พรหมของบตุ ร 5. ช่ืนชมการทำความดขี องตนเอง บุคคล ◆ ตวั อย่างการกระทำความดีของตนเอง ในครอบครัวและในโรงเรยี น ตามหลกั และบคุ คลในครอบครวั และในโรงเรียน ศาสนา (ตามสาระในข้อ 4) 6. เห็นคณุ ค่าและสวดมนต์ แผเ่ มตตา ◆ ฝึกสวดมนต์ไหวพ้ ระและแผ่เมตตา มีสตทิ ี่เปน็ พื้นฐานของสมาธิในพระพทุ ธ-  รู้ความหมายและประโยชน์ของสตแิ ละ ศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง สมาธิ ของศาสนาท่ีตนนับถอื ตามท่ีกำหนด  ฝกึ สมาธิเบ้อื งต้น  ฝึกสติเบ้ืองต้นด้วยกจิ กรรมการ เคลื่อนไหวอย่างมีสติ  ฝกึ ใหม้ ีสมาธใิ นการฟัง การอา่ น การคิด การถาม และการเขยี น 7. บอกชือ่ ศาสนา ศาสดา และ ➢ ชอ่ื ศาสนา ศาสดา และคมั ภีรข์ อง ความสำคญั ของคมั ภรี ์ของศาสนาท่ีตนนับ ศาสนาตา่ ง ๆ ถือและศาสนาอื่นๆ ◆ พระพุทธศาสนา o ศาสดา : พระพทุ ธเจา้ o คัมภีร์ : พระไตรปฎิ ก  ศาสนาอิสลาม o ศาสดา : มฮุ มั มัด o คมั ภีร์ : อัลกรุ อาน  ครสิ ต์ศาสนา o ศาสดา : พระเยซู o คมั ภีร์ : ไบเบลิ  ศาสนาฮินดู o ศาสดา : ไมม่ ศี าสดา o คัมภรี ์ : พระเวท พราหมณะ อปุ นษิ ัท อารณั ยกะ

ช้นั ตวั ช้ีวดั ๑๒ ป.3 1. อธิบายความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา สาระการเรียนรู้แกนกลาง หรือศาสนาทตี่ นนับถือ ในฐานะท่เี ปน็  ความสัมพันธข์ องพระพุทธศาสนากับการ รากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทย ดำเนินชวี ติ ประจำวัน เช่น การสวดมนต์ การทำบญุ ใส่บาตร การแสดงความเคารพ การใช้ภาษา  พระพุทธศาสนามีอทิ ธิพลต่อการ สร้างสรรค์ผลงานทางวฒั นธรรมไทยอนั เกิดจากความศรัทธา เช่น วดั ภาพวาด พระพทุ ธรปู วรรณคดี สถาปัตยกรรมไทย 2. สรุปพุทธประวตั ติ ง้ั แต่การบำเพญ็ เพยี ร  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน) จนถึงปรินพิ พาน หรอื ประวัติของศาสดาท่ี  การบำเพ็ญเพยี ร ตนนบั ถือตามที่กำหนด  ผจญมาร  ตรัสรู้ 3. ช่ืนชมและบอกแบบอย่างการดำเนนิ  ปฐมเทศนา ชวี ติ และข้อคิดจากประวตั ิสาวก ชาดก/  ปรนิ พิ พาน เร่อื งเล่าและศาสนกิ ชนตัวอย่าง ตามที่ กำหนด  สามเณรสงั กจิ จะ  อารามทูสกชาดก 4. บอกความหมาย ความสำคญั ของ  มหาวาณิชชาดก พระไตรปฎิ ก หรอื คมั ภีร์ของศาสนาทต่ี น  สมเด็จพระพฒุ าจารย์ (โต พรฺ หฺมรสํ ี) นบั ถอื  สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช  ความสำคัญของพระไตรปิฎก เชน่ เป็น แหลง่ อา้ งองิ ของหลกั ธรรมคำสอน

๑๓ ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 5. แสดงความเคารพพระรัตนตรยั และ ➢ พระรัตนตรัย ปฏบิ ัตติ ามหลักธรรมโอวาท 3 ใน  ศรัทธา พระพทุ ธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนา ➢ โอวาท 3 ท่ีตนนบั ถือตามที่กำหนด  ไมท่ ำชวั่ ° เบญจศลี  ทำความดี ° เบญจธรรม ° สติ-สมั ปชญั ญะ ° สงั คหวัตถุ 4 ° ฆราวาสธรรม 4 ° อตั ถะ 3 (อัตตัตถะ, ปรตั ถะ, อุภยตั ถะ) ° กตญั ญูกตเวทตี ่อชุมชน, ส่ิงแวดลอ้ ม ° มงคล 38 - รจู้ กั ให้ - พูดไพเราะ - อยูใ่ นสิง่ แวดลอ้ มทีด่ ี  ทำจติ ให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญ ปัญญา) ➢ พุทธศาสนสุภาษติ  ททมาโน ปโิ ย โหติ ผูใ้ หย้ อ่ มเป็นทร่ี กั  โมกฺโข กลยฺ าณิยา สาธุ 6. เห็นคณุ ค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา เปลง่ วาจาไพเราะใหส้ ำเร็จประโยชน์ มีสตทิ ่ีเป็นพื้นฐานของสมาธิใน พระพทุ ธศาสนา หรือการพัฒนาจติ ◆ ฝึกสวดมนต์ ไหวพ้ ระ สรรเสรญิ คณุ ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถอื พระรตั นตรัยและแผเ่ มตตา ตามทกี่ ำหนด  รูค้ วามหมายและประโยชน์ของสตแิ ละ สมาธิ  ร้ปู ระโยชน์ของการฝึกสติ  ฝกึ สมาธิเบอื้ งตน้ ดว้ ยการนับลมหายใจ  ฝกึ การยนื การเดนิ การน่งั และ การนอน อย่างมสี ติ ◆ ฝึกให้มสี มาธิในการฟงั การอ่าน การคดิ การถาม และการเขียน

ช้นั ตวั ชวี้ ดั ๑๔ 7. บอกช่อื ความสำคัญและปฏบิ ัติตน ได้อย่างเหมาะสมต่อศาสนวตั ถุ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ศาสนสถาน และศาสนบคุ คลของศาสนา ◆ ชือ่ และความสำคัญของศาสนวตั ถุ อน่ื ๆ ศาสนสถานและ ศาสนบุคคล ป.4 1. อธบิ ายความสำคัญของพระพุทธศาสนา ในพระพทุ ธศาสนา ศาสนาอิสลาม หรอื ศาสนาท่ีตนนับถือ ในฐานะเป็นศนู ย์ ครสิ ตศ์ าสนา ศาสนาฮนิ ดู รวมจิตใจของศาสนิกชน ◆ การปฏิบัตติ นทีเ่ หมาะสมต่อศาสนวตั ถุ ศาสนสถานและศาสนบคุ คลในศาสนา อ่นื ๆ  พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เปน็ เครือ่ งยดึ เหนี่ยวจติ ใจ  เป็นศูนยร์ วมการทำความดี และพัฒนา จติ ใจ เชน่ ฝึกสมาธิ สวดมนต์ ศึกษาหลักธรรม  เปน็ ท่ปี ระกอบศาสนพธิ ี (การทอดกฐนิ การทอดผ้าป่า การเวยี นเทียน การทำบญุ )  เปน็ แหล่งทำกจิ กรรมทางสงั คม เช่น การจดั ประเพณีท้องถ่ิน การเผยแพร่ ข้อมูลขา่ วสารชมุ ชน และ การส่งเสรมิ พฒั นาชมุ ชน 2. สรุปพุทธประวตั ติ ้ังแต่บรรลธุ รรมจนถงึ  สรุปพทุ ธประวัติ (ทบทวน) ประกาศธรรม หรอื ประวัตศิ าสดาที่ตนนับ  ตรัสรู้ ถือตามท่ีกำหนด  ประกาศธรรม ได้แก่ 3. เหน็ คณุ ค่า และปฏบิ ตั ิตนตาม ° โปรดชฎลิ แบบอย่างการดำเนินชีวิตและขอ้ คิดจาก ° โปรดพระเจ้าพิมพสิ าร ประวัติสาวก ชาดก/เรอื่ งเล่าและ ° พระอัครสาวก ศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง ตามทก่ี ำหนด ° แสดงโอวาทปาฏโิ มกข์  พระอรุ ุเวลกัสสปะ 4. แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย  กฏุ ทิ สู กชาดก ปฏิบัตติ ามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท  มหาอุกกสุ ชาดก 3 ในพระพุทธศาสนา หรอื หลกั ธรรมของ  สมเด็จพระมหติ ลาธเิ บศร อดุลยเดช ศาสนาทตี่ นนบั ถือตามทกี่ ำหนด วกิ รม พระบรมราชชนก  สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี ➢ พระรตั นตรัย o ศรัทธา 4  พระพุทธ ° พุทธคณุ 3

๑๕ ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง  พระธรรม ° หลกั กรรม  พระสงฆ์ ➢ ไตรสกิ ขา  ศีล สมาธิ ปญั ญา ➢ โอวาท 3  ไมท่ ำชวั่ o เบญจศลี o ทุจริต 3  ทำความดี o เบญจธรรม o สุจริต 3 o พรหมวหิ าร 4 o กตัญญูกตเวทีตอ่ ประเทศชาติ o มงคล 38 - เคารพ - ถ่อมคน - ทำความดใี หพ้ ร้อมไวก้ ่อน  ทำจติ ให้บรสิ ุทธ์ิ (บริหารจติ และเจริญปญั ญา) ➢ พุทธศาสนสภุ าษิต  สขุ า สงฆฺ สฺส สามคฺคี ความพร้อมเพรียงของหมู่ให้เกิดสุข  โลโกปตฺถมภฺ กิ า เมตตฺ า เมตตาธรรม คำ้ จนุ โลก 5. ชน่ื ชมการทำความดีของตนเอง บุคคล ◆ ตวั อย่างการกระทำความดีของตนเองและ ในครอบครัว โรงเรยี นและชมุ ชนตามหลกั บุคคลในครอบครัว ในโรงเรยี น และใน ศาสนา พร้อมท้ังบอกแนวปฏบิ ัติในการ ชมุ ชน ดำเนนิ ชวี ติ 6. เหน็ คณุ ค่าและสวดมนต์ แผเ่ มตตา ◆ สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ มสี ตทิ ี่เปน็ พื้นฐานของสมาธิใน คุณพระรตั นตรัยและแผ่เมตตา พระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิต  รคู้ วามหมายของสตสิ มั ปชญั ญะ สมาธิ ตามแนวทางของศาสนาท่ตี นนับถือ และปญั ญา ตามที่กำหนด  รวู้ ิธปี ฏบิ ตั ิของการบรหิ ารจติ และเจริญ

๑๖ ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ปญั ญา  ฝกึ การยืน การเดิน การน่งั และการนอน อย่างมสี ติ  ฝึกการกำหนดรู้ความรูส้ กึ เมื่อตาเห็นรูป หฟู งั เสียง จมกู ดมกลิน่ ล้นิ ล้ิมรส กาย สมั ผัสสงิ่ ทม่ี ากระทบ ใจรับรู้ธรรมารมณ์  ฝกึ ให้มสี มาธใิ นการฟงั การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน 7. ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมของศาสนาที่ ◆ หลักธรรมเพอ่ื การอยู่รว่ มกนั อยา่ ง ตนนบั ถือ เพื่อการอยู่ร่วมกนั เปน็ ชาตไิ ด้ สมานฉนั ท์ อยา่ งสมานฉนั ท์ o เบญจศีล – เบญจธรรม o ทจุ รติ 3 – สุจริต 3 o พรหมวิหาร 4 o มงคล 38 - เคารพ - ถอ่ มตน - ทำความดใี ห้พรอ้ มไวก้ ่อน o พุทธศาสนสภุ าษิต : ความพร้อมเพรียง ของหมู่ให้เกดิ สุข เมตตาธรรมค้ำจุน โลก  กตญั ญูกตเวทตี ่อประเทศชาติ 8. อธบิ ายประวัตศิ าสดาของศาสนาอื่นๆ  ประวัติศาสดา โดยสงั เขป o พระพุทธเจา้ o มุฮัมมัด o พระเยซู ป.5 1. วิเคราะหค์ วามสำคญั ของ ➢ มรดกทางวัฒนธรรมท่ไี ด้รับจาก พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถอื ใน พระพุทธศาสนา ฐานะท่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรมและหลกั o มรดกทางด้านรปู ธรรม เชน่ ในการพฒั นาชาติไทย ศาสนสถาน โบราณวตั ถุ สถาปัตยกรรม o มรดกทางด้านจิตใจ เช่น หลักธรรม คำส่งั สอน ความเช่ือ และคุณธรรม

๑๗ ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตา่ ง ๆ  การนำพระพทุ ธศาสนาไปใช้เป็นแนวทาง ในการพฒั นาชาติไทย o พัฒนาดา้ นกายภาพ และสงิ่ แวดล้อม เช่น ภาวนา 4 (กาย ศีล จิต ปัญญา) ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) และอรยิ สจั ส่ี o พฒั นาจติ ใจ เช่น หลกั โอวาท 3 (ละความชว่ั ทำดี ทำจิตใจให้ บริสุทธ)์ิ และการบรหิ ารจิตและเจริญ ปัญญา 2. สรุปพุทธประวตั ติ ้งั แต่เสด็จ  สรปุ พุทธประวัติ (ทบทวน) กรุงกบิลพัสด์จุ นถึงพุทธกิจสำคัญ  โปรดพระพุทธบิดา (เสด็จกรุงกบิลพสั ด์ุ) หรือประวตั ิศาสดาที่ตนนบั ถือตามที่  พทุ ธกจิ สำคญั ได้แก่ โลกัตถจรยิ า กำหนด 3. เหน็ คุณคา่ และประพฤตติ นตาม ญาตตั ถจรยิ า และพุทธัตถจริยา แบบอย่างการดำเนนิ ชีวิตและขอ้ คิดจาก ประวตั ิสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและ  พระโสณโกฬวิ ิสะ ศาสนิกชนตวั อย่าง ตามท่กี ำหนด  จฬู เสฏฐชิ าดก  วัณณาโรหชาดก 4. อธิบายองค์ประกอบ และความสำคัญ  สมเดจ็ พระสังฆราช (สา) ของพระไตรปฎิ ก หรอื คมั ภรี ์ของศาสนาท่ี  อาจารย์เสถียร โพธินันทะ ตนนบั ถอื ➢ องค์ประกอบของพระไตรปิฎก 5. แสดงความเคารพพระรตั นตรยั  พระสตุ ตนั ตปฎิ ก และปฏบิ ตั ิตามไตรสิกขาและหลกั ธรรม  พระวินัยปฎิ ก โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนาหรือ  พระอภิธรรมปฎิ ก หลกั ธรรมของศาสนาท่ตี นนบั ถือ ตามทก่ี ำหนด ➢ ความสำคญั ของพระไตรปิฎก ➢ พระรตั นตรัย o ศรทั ธา 4  พระพุทธ o พทุ ธจริยา 3  พระธรรม o อริยสัจ 4 o หลักกรรม  พระสงฆ์ ➢ ไตรสิกขา  ศีล สมาธิ ปญั ญา

๑๘ ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ➢ โอวาท 3  ไม่ทำชั่ว o เบญจศลี o อบายมุข 4  ทำความดี o เบญจธรรม o บุญกิริยาวัตถุ 3 o อคติ 4 o อิทธบิ าท 4 o กตัญญูกตเวทีตอ่ พระพุทธศาสนา o มงคล 38 - ใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น - การงานไม่อากลู - อดทน  ทำจิตใหบ้ ริสทุ ธิ์ (บรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญา) ➢ พทุ ธศาสนสุภาษิต  วริ เิ ยน ทกุ ฺขมจฺเจติ คนจะล่วงทกุ ขไ์ ด้เพราะความเพียร  ปญฺญา โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต ปัญญา คอื แสงสว่างในโลก 6. เหน็ คณุ คา่ และสวดมนต์แผ่เมตตา ➢ สวดมนตไ์ หว้พระ สรรเสริญ มีสติทเี่ ปน็ พ้นื ฐานของสมาธิใน คณุ พระรัตนตรยั และแผ่เมตตา พระพทุ ธศาสนา หรือการพัฒนาจติ ตาม  รคู้ วามหมายของสติสัมปชญั ญะ แนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถือตามท่ี สมาธแิ ละปญั ญา กำหนด  รวู้ ิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ การบริหารจิตและเจริญปัญญา  ฝกึ การยนื การเดิน การน่งั และ การนอน อย่างมีสติ  ฝกึ การกำหนดรคู้ วามรูส้ ึก เมอื่ ตา เหน็ รูป หฟู ังเสียง จมูกดมกลิ่น ลิน้ ล้ิมรส กายสัมผสั สง่ิ ที่มากระทบใจรบั รู้ ธรรมารมณ์  ฝกึ ให้มสี มาธิในการฟัง การอ่าน การคิด การถามและการเขยี น ◆ โอวาท 3 (ตามสาระการเรยี นรูข้ ้อ 5) 7. ปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมของศาสนาท่ี ตนนับถอื เพื่อการพฒั นาตนเองและ ส่ิงแวดล้อม

๑๙ ช้นั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.6 1. วเิ คราะห์ความสำคญั ของพระพุทธ- ◆ พระพทุ ธศาสนาในฐานะเป็นศาสนา ศาสนาในฐานะเปน็ ศาสนาประจำชาติ ประจำชาติ เชน่ เป็นเอกลักษณ์ของ หรอื ความสำคัญของศาสนาท่ีตนนับถือ ชาติไทย เปน็ รากฐานทางวัฒนธรรม ไทย เปน็ ศนู ยร์ วมจติ ใจ เปน็ มรดก ทางวัฒนธรรมไทย และเปน็ หลัก ในการพัฒนาชาติไทย 2. สรปุ พทุ ธประวตั ติ ง้ั แต่ปลงอายสุ ังขาร  สรปุ พุทธประวตั ิ (ทบทวน) จนถึงสงั เวชนยี สถาน หรอื ประวตั ิศาสดาท่ี  ปลงอายสุ ังขาร  ปัจฉิมสาวก ตนนับถอื ตามที่กำหนด  ปรนิ ิพพาน  การถวายพระเพลิง  แจกพระบรมสารรี กิ ธาตุ  สงั เวชนียสถาน 4 3. เห็นคณุ คา่ และประพฤติตนตาม  พระราธะ แบบอย่างการดำเนินชีวติ และขอ้ คิดจาก  ทีฆีตโิ กสลชาดก ประวัติสาวก ชาดก/เรอ่ื งเล่า และ  สัพพทาฐิชาดก ศาสนิกชนตัวอยา่ งตามท่ีกำหนด  พ่อขนุ รามคำแหงมหาราช  สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรม-พระปรมา นชุ ติ ชโิ นรส ➢ พระรัตนตรยั 4. วเิ คราะหค์ วามสำคญั และเคารพ o ศรัทธา 4 พระรัตนตรัย ปฏบิ ตั ิตามไตรสิกขาและ หลกั ธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา  พระพทุ ธ หรอื หลักธรรมของศาสนาทต่ี น o พุทธกิจ 5 นับถอื ตามที่กำหนด  พระธรรม o อริยสัจ 4 o หลกั กรรม  พระสงฆ์ ➢ ไตรสิกขา  ศลี สมาธิ ปญั ญา ➢ โอวาท 3  ไมท่ ำชว่ั o เบญจศลี o อบายมขุ 6 o อกุศลมูล 3  ทำความดี o เบญจธรรม o กศุ ลมลู 3 o พละ 4 o คารวะ 6 o กตญั ญูกตเวทตี ่อพระมหากษัตริย์ o มงคล 38

๒๐ ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - มีวนิ ัย - การงานไม่มีโทษ - ไม่ประมาทในธรรม  ทำจติ ใหบ้ รสิ ุทธ์ิ (บริหารจิตและเจริญ ปัญญา) ➢ พทุ ธศาสนสุภาษติ  สจฺเจน กิตฺตึ ปปฺโปติ คนจะไดเ้ กียรติดว้ ยสจั จะ  ยถาวาที ตถาการี พูดเช่นไร ทำเช่นน้ัน 5. ช่นื ชมการทำความดขี องบุคคลใน  ตวั อยา่ งการกระทำความดขี องบุคคล ประเทศตามหลกั ศาสนา พร้อมท้ังบอก ในประเทศ แนวปฏบิ ัติในการดำเนนิ ชีวติ 6. เหน็ คุณคา่ และสวดมนต์แผเ่ มตตา และ  สวดมนตไ์ หว้พระ สรรเสริญ บรหิ ารจติ เจริญปัญญา มีสตทิ ี่เป็นพน้ื ฐาน คณุ พระรัตนตรยั และแผเ่ มตตา ของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรอื การ พฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนา  รูค้ วามหมายของสตสิ มั ปชัญญะ ทีต่ นนบั ถือ ตามท่ีกำหนด สมาธิและปัญญา  รู้วธิ ีปฏิบัตแิ ละประโยชนข์ อง การบริหารจิตและเจรญิ ปัญญา  ฝึกการยนื การเดนิ การนง่ั และ การนอนอย่างมีสติ  ฝึกการกำหนดรูค้ วามรู้สึกเมือ่ ตาเห็น รปู หฟู ังเสยี ง จมกู ดมกล่นิ ลน้ิ ล้มิ รส กายสัมผัสส่งิ ท่ีมากระทบ ใจรับรู้ ธรรมารมณ์ ◆ ฝึกใหม้ ีสมาธใิ นการฟัง การอ่าน การคดิ การถาม และการเขียน 7. ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรมของศาสนา ◆ หลกั ธรรม : อรยิ สจั 4 หลกั กรรม ทต่ี นนับถือ เพื่อแกป้ ัญหาอบายมุขและ สิง่ ◆ โอวาท 3 : เบญจศีล – เบญจธรรม เสพติด อบายมุข 6 อกศุ ลมลู 3 กุศลมูล 3 8. อธิบายหลกั ธรรมสำคญั ของศาสนาอ่ืนๆ ➢ หลักธรรมสำคญั ของศาสนาตา่ ง ๆ โดยสังเขป ◆ พระพทุ ธศาสนา : อริยสัจ 4 โอวาท 3 ฯลฯ ◆ ศาสนาอสิ ลาม : หลักศรทั ธา หลกั ปฏบิ ัติ หลักจรยิ ธรรม

๒๑ ช้นั ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ◆ คริสตศ์ าสนา : บญั ญตั ิ 10 ประการ 9. อธบิ ายลักษณะสำคญั ของศาสนพธิ ี ➢ ศาสนพธิ ีของศาสนาตา่ ง ๆ พธิ ีกรรมของศาสนาอน่ื ๆ และปฏบิ ตั ิตนได้ ◆ พระพุทธศาสนา อยา่ งเหมาะสมเม่อื ต้องเขา้ ร่วมพิธี o ศาสนพิธีท่ีเป็นพุทธบัญญัติ เช่น บรรพชา อุปสมบท o ศาสนพธิ ที ่เี กีย่ วเน่ืองกบั พระพุทธศาสนา เชน่ ทำบุญพิธีเนอื่ งใน วันสำคญั ทางศาสนา o ศาสนาอิสลาม เช่น การละหมาด การถือศีลอด การบำเพญ็ ฮัจญ์ ฯลฯ o ครสิ ต์ศาสนา เช่น ศลี ล้างบาป ศลี อภยั บาป ศีลกำลงั ศลี มหาสนทิ ฯลฯ o ศาสนาฮินดู เชน่ พธิ ศี ราทธ์ พธิ บี ชู า เทวดา ม.1 1. อธบิ ายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรอื  การสังคายนา ศาสนาทตี่ นนับถือสูป่ ระเทศไทย  การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ ประเทศไทย 2. วิเคราะห์ความสำคญั ของ ➢ ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนาต่อ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ ที่ มตี อ่ สภาพแวดลอ้ มในสังคมไทย รวมทัง้ สังคมไทยในฐานะเปน็ การพัฒนาตนและครอบครวั  ศาสนาประจำชาติ  สถาบนั หลกั ของสังคมไทย 3. วเิ คราะห์พุทธประวัตติ ้ังแต่ประสูติ  สภาพแวดลอ้ มทีก่ ว้างขวาง และ จนถึงบำเพ็ญทกุ รกริ ยิ า หรอื ประวตั ิ ศาสดาที่ตนนบั ถอื ตามท่ีกำหนด ครอบคลุมสังคมไทย  การพัฒนาตนและครอบครวั 4. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม  สรปุ และวเิ คราะห์ พุทธประวัติ แบบอย่างการดำเนนิ ชวี ิตและขอ้ คิดจาก ประวัตสิ าวก ชาดก/เร่ืองเลา่ และศาสนิก  ประสตู ิ ชนตวั อยา่ งตามท่ีกำหนด  เทวทตู 4  การแสวงหาความรู้  การบำเพ็ญทุกรกิรยิ า ➢ พุทธสาวก พุทธสาวิกา  พระมหากัสสปะ  พระอบุ าลี  อนาถบณิ ฑิกะ  นางวิสาขา

๒๒ ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ➢ ชาดก  อัมพชาดก  ตติ ติรชาดก ➢ พระรัตนตรยั 5. อธบิ ายพุทธคุณ และข้อธรรมสำคญั ใน  พุทธคุณ 9 กรอบอรยิ สจั 4 หรอื หลักธรรมของ ศาสนาทตี่ นนับถือ ตามทกี่ ำหนด เหน็ ➢ อรยิ สัจ 4 คุณค่าและนำไปพัฒนาแกป้ ญั หาของ  ทุกข์ (ธรรมที่ควรร)ู้ ตนเองและครอบครัว o ขันธ์ 5 - ธาตุ 4  สมทุ ยั (ธรรมท่คี วรละ) o หลกั กรรม - ความหมายและคุณคา่ o อบายมุข 6  นโิ รธ (ธรรมท่คี วรบรรล)ุ o สุข 2 (กายกิ , เจตสิก) o คิหสิ ขุ 6. เห็นคณุ ค่าของการพฒั นาจติ เพอื่ การ  มรรค (ธรรมท่คี วรเจริญ) เรียนรู้และการดำเนินชีวิต ดว้ ยวธิ ีคิดแบบ โยนิโสมนสิการคอื วธิ คี ดิ แบบคณุ ค่าแท้ – o ไตรสกิ ขา o กรรมฐาน 2 o ปธาน 4 o โกศล 3 o มงคล 38 -ไมค่ บคนพาล - คบบัณฑิต - บชู าผคู้ วรบูชา ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษิต  ยํ เว เสวติ ตาทิโส คบคนเชน่ ใดเปน็ คนเชน่ น้ัน  อตฺตนา โจทยตตฺ านํ จงเตอื นตน ด้วยตน  นสิ มมฺ กรณํ เสยฺโย ใคร่ครวญก่อนทำจึงดี  ทรุ าวาสา ฆรา ทกุ ฺขา เรือนท่ีครองไมด่ ีนำทกุ ข์มาให้ ➢ โยนโิ สมนสกิ าร  วธิ ีคดิ แบบคณุ คา่ แท้ – คุณคา่ เทยี ม  วธิ ีคดิ แบบคุณ - โทษและทางออก

๒๓ ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง คณุ คา่ เทยี ม และวธิ คี ิดแบบคุณ – โทษ และทางออก หรือการพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนาทีต่ นนับถือ 7. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหารจิตและ  สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา เจริญปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรือตาม  วธิ ปี ฏิบัตแิ ละประโยชนข์ องการบริหารจติ และเจริญปัญญา การฝึกบริหารจติ และ แนวทางของศาสนาทีต่ นบั ถือตามท่ี เจรญิ ปญั ญาตามหลักสติปฎั ฐานเนน้ กำหนด อานาปานสติ  นำวิธีการบริหารจติ และเจรญิ ปญั ญาไปใช้ ในชีวติ ประจำวัน 8. วเิ คราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรม  หลกั ธรรม (ตามสาระการเรียนรู้ขอ้ 5) ทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ในการดำรงชวี ิต แบบพอเพียง และดูแลรักษาสิง่ แวดลอ้ ม ◆ ศาสนกิ ชนของศาสนาตา่ ง ๆ มกี าร เพื่อการอยูร่ ว่ มกันได้อยา่ งสนั ติสุข ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นและวถิ กี ารดำเนนิ ชีวิต 9. วเิ คราะห์เหตผุ ลความจำเป็นทท่ี กุ คน แตกต่างกนั ตามหลักความเชื่อและคำสอน ตอ้ งศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ ของศาสนาท่ีตนนบั ถอื 10. ปฏิบตั ิตนตอ่ ศาสนกิ ชนอ่ืนใน ◆ การปฏบิ ตั ิอยา่ งเหมาะสมต่อศาสนกิ ชนอืน่ สถานการณ์ต่างๆไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ในสถานการณต์ ่างๆ 11. วเิ คราะห์การกระทำของบคุ คลทีเ่ ป็น ◆ ตวั อย่างบุคคลในท้องถ่นิ หรือประเทศที่ แบบอยา่ งด้านศาสนสัมพนั ธ์ และนำเสนอ ปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์ หรอื มผี ลงานดา้ นศาสนสมั พันธ์ แนวทางการปฏบิ ัติของตนเอง ม.2 1. อธิบายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือ  การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาเข้าสู่ประเทศ ศาสนาทต่ี นนับถือส่ปู ระเทศ เพ่ือนบา้ นและการนบั ถือพระพุทธ -ศาสนา เพือ่ นบ้าน ของประเทศเพื่อนบา้ นในปัจจุบัน 2. วิเคราะหค์ วามสำคญั ของพระพทุ ธ-  ความสำคญั ของพระพุทธศาสนาท่ีช่วย ศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือทีช่ ว่ ย เสริมสร้างความเขา้ ใจอนั ดีกบั ประเทศ เสรมิ สร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศ เพ่อื นบา้ น เพ่ือนบา้ น 3. วิเคราะห์ความสำคญั ของ ➢ ความสำคัญของพระพุทธศาสนาตอ่ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนับถือใน สังคมไทยในฐานะเป็น ฐานะท่เี ป็นรากฐานของวฒั นธรรม  รากฐานของวัฒนธรรม เอกลกั ษณ์ของชาติและมรดกของชาติ  เอกลักษณแ์ ละ มรดกของชาติ 4. อภิปรายความสำคญั ของพระพทุ ธ -  ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับ

๒๔ ช้ัน ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถือกับ การพัฒนาชมุ ชนและการจัดระเบียบสังคม การพัฒนาชุมชนและการจดั ระเบียบสังคม 5. วเิ คราะห์พุทธประวตั ิหรือประวตั ิ  สรุปและวเิ คราะห์ พทุ ธประวัติ ศาสดาของศาสนาทตี่ นนบั ถือตามท่ี  การผจญมาร กำหนด  การตรัสรู้ 6. วเิ คราะหแ์ ละประพฤติตนตาม  การส่ังสอน  พระสารีบุตร แบบอยา่ งการดำเนนิ ชวี ติ และขอ้ คิดจาก  พระโมคคลั ลานะ ประวตั สิ าวก ชาดก/เร่ืองเลา่ และ  นางขชุ ชตุ ตรา ศาสนิกชนตวั อย่างตามที่กำหนด  พระเจา้ พิมพิสาร  มติ ตวนิ ทุกชาดก  ราโชวาทชาดก 7. อธิบายโครงสรา้ ง และสาระสังเขปของ  โครงสรา้ ง และสาระสังเขปของ พระไตรปฎิ ก หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตน พระวินัยปฎิ ก พระสตุ ตันตปิฎก นบั ถอื และพระอภิธรรมปฎิ ก 8. อธบิ ายธรรมคุณ และข้อธรรมสำคัญใน ➢ พระรัตนตรยั กรอบอริยสจั 4 หรือหลักธรรมของศาสนา  ธรรมคณุ 6 ท่ตี นนับถือ ตามท่ีกำหนด เหน็ คุณคา่ และนำไปพัฒนา แกป้ ัญหาของชมุ ชนและ ➢ อรยิ สัจ 4 สังคม  ทุกข์ (ธรรมท่ีควรรู้) o ขันธ์ 5 - อายตนะ  สมุทยั (ธรรมท่คี วรละ) o หลกั กรรม - สมบัติ 4 - วิบัติ 4 o อกุศลกรรมบถ 10 o อบายมุข 6  นิโรธ (ธรรมทคี่ วรบรรลุ) o สขุ 2 (สามสิ , นิรามิส)  มรรค (ธรรมท่ีควรเจริญ) o บุพพนิมติ ของมัชฌิมาปฏิปทา o ดรุณธรรม 6 o กุลจิรัฏฐติ ิธรรม 4 o กศุ ลกรรมบถ 10 o สตปิ ฏั ฐาน 4 o มงคล 38 - ประพฤติธรรม

๒๕ ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - เวน้ จากความชว่ั - เวน้ จากการดืม่ น้ำเมา ➢ พุทธศาสนสภุ าษติ  กมมฺ นุ า วตฺตตี โลโก สตั ว์โลกยอ่ มเปน็ ไปตามกรรม  กลฺยาณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปกํ ทำดีไดด้ ี ทำชัว่ ไดช้ วั่  สุโข ปญุ ฺญสฺส อจุ ฺจโย การสั่งสม บุญนำสุขมาให้  ปชู โก ลภเต ปชู ํ วนฺทโก ปฏวิ นฺทนํ ผ้บู ชู าเขา ยอ่ มได้รับการบชู า ตอบ ผูไ้ หวเ้ ขาย่อมไดร้ บั การไหว้ตอบ 9. เห็นคุณคา่ ของการพฒั นาจิตเพอ่ื การ ➢ พฒั นาการเรยี นร้ดู ้วยวธิ ีคิดแบบโยนโิ ส- เรยี นรู้และดำเนินชีวิต ด้วยวิธคี ิดแบบ มนสิการ 2 วธิ ี คอื วิธีคดิ แบบอุบายปลุก โยนิโสมนสิการคือ วิธีคดิ แบบอบุ ายปลุก เรา้ คณุ ธรรม และวิธคี ิดแบบอรรถธรรม เร้าคุณธรรม และวิธคี ิดแบบอรรถธรรม สัมพันธ์ สมั พนั ธ์ หรอื การพฒั นาจติ ตามแนวทาง ของศาสนาที่ตนนับถอื 10. สวดมนต์ แผ่เมตตา บรหิ ารจิตและ  สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา เจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรอื ตาม  ร้แู ละเขา้ ใจวิธปี ฏิบตั แิ ละประโยชนข์ อง แนวทางของศาสนาทต่ี นนบั ถือ การบริหารจิตและเจริญปัญญา  ฝึกการบริหารจติ และเจริญปัญญาตามหลัก สติปัฎฐาน เน้นอานาปานสติ  นำวิธกี ารบรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญา ไปใช้ ในชีวติ ประจำวนั 11.วิเคราะหก์ ารปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ธรรม ➢ การปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรม (ตามสาระ ทางศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการดำรงตน การเรยี นรู้ ข้อ 8.) อยา่ งเหมาะสมในกระแสความเปล่ยี นแปลง ของโลก และการอยู่ร่วมกันอยา่ งสนั ติสุข ม. 3 1. อธิบายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือ  การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเข้าส่ปู ระเทศ ศาสนาท่ีตนนบั ถือสู่ประเทศต่างๆ ท่ัวโลก ต่าง ๆ ท่วั โลก และการนับถอื พระพุทธศาสนาของประเทศเหลา่ น้ัน ในปัจจบุ ัน 2. วิเคราะห์ความสำคญั ของ  ความสำคญั ของพระพุทธศาสนาในฐานะท่ี พระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถือใน ชว่ ยสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมและความสงบสุข ฐานะทชี่ ว่ ยสรา้ งสรรค์อารยธรรม และ ให้แกโ่ ลก

๒๖ ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ความสงบสุขแก่โลก 3. อภิปรายความสำคญั ของ  สัมมนาพระพทุ ธศาสนากบั ปรชั ญาของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่าง กบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ ยัง่ ยืน (ทส่ี อดคล้องกบั หลักธรรมในสาระ การพฒั นาอยา่ งยั่งยนื การเรยี นรู้ ข้อ 6 ) 4. วิเคราะห์พทุ ธประวตั ิจากพระพุทธรูป  ศกึ ษาพุทธประวตั ิจากพระพุทธรูปปาง ปางต่างๆ หรอื ประวัตศิ าสดาที่ตนนบั ถือ ตา่ ง ๆ เช่น ตามที่กำหนด o ปางมารวชิ ัย o ปางปฐมเทศนา 5. วเิ คราะห์และประพฤติตนตาม o ปางลีลา แบบอย่างการดำเนนิ ชีวิตและข้อคิดจาก o ปางประจำวนั เกิด ประวัติสาวก ชาดก/เร่อื งเลา่ และ ศาสนิกชนตัวอยา่ ง ตามทก่ี ำหนด  สรปุ และวิเคราะห์พุทธประวัติ  ปฐมเทศนา 6. อธิบายสังฆคณุ และขอ้ ธรรมสำคญั ใน  โอวาทปาฏิโมกข์ กรอบอรยิ สัจ 4 หรอื หลกั ธรรมของ ศาสนาทตี่ นนับถือตามท่ีกำหนด  พระอัญญาโกณฑญั ญะ  พระมหาปชาบดีเถรี  พระเขมาเถรี  พระเจา้ ปเสนทโิ กศล  นันทวิ สิ าลชาดก  สุวณั ณหงั สชาดก ➢ พระรตั นตรัย  สังฆคุณ 9 ➢ อรยิ สจั 4  ทุกข์ (ธรรมทค่ี วรรู้) o ขนั ธ์ 5 -ไตรลักษณ์  สมุทัย (ธรรมทคี่ วรละ) o หลักกรรม -วัฏฏะ 3 -ปปญั จธรรม 3 (ตัณหา มานะ ทฎิ ฐิ)  นิโรธ (ธรรมทค่ี วรบรรลุ) o อัตถะ 3  มรรค (ธรรมทคี่ วรเจริญ) o มรรคมีองค์ 8 o ปญั ญา 3 o สปั ปรุ ิสธรรม 7 o บญุ กริ ยิ าวัตถุ 10 o อบุ าสกธรรม 7

๒๗ ช้ัน ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง o มงคล 38 - มีศลิ ปวิทยา - พบสมณะ - ฟังธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล ➢ พทุ ธศาสนสุภาษติ  อตฺตา หเว ชิตํ เสยโฺ ย ชนะตนนนั่ แลดีกว่า  ธมมฺ จารี สุขํ เสติ ผ้ปู ระพฤติธรรมย่อมอย่เู ป็นสุข  ปมาโท มจฺจโุ น ปทํ ความประมาทเปน็ ทางแห่งความตาย  สสุ ฺสสู ํ ลภเต ปญญฺ ํ ผู้ฟงั ดว้ ยดยี อ่ มไดป้ ัญญา  เรอื่ งน่ารจู้ ากพระไตรปิฎก : พทุ ธ ปณิธาน 4 ในมหาปรนิ พิ พานสูตร 7. เหน็ คุณค่า และวเิ คราะห์การปฏิบตั ติ น  การปฏิบตั ติ นตามหลักธรรม (ตามสาระ ตามหลักธรรมในการพัฒนาตน การเรียนรู้ ข้อ 6.) เพือ่ เตรยี มพร้อมสำหรับการทำงาน และการมคี รอบครัว 8. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจติ เพอื่ การ  พัฒนาการเรยี นรูด้ ้วยวิธีคดิ แบบ โยนโิ สมนสกิ าร 2 วธิ ี คือ วิธคี ิดแบบ เรียนรแู้ ละดำเนินชีวติ ด้วยวธิ คี ิดแบบ โยนิโสมนสิการคือ วธิ ีคิดแบบอริยสัจ และ อริยสจั และวิธคี ดิ แบบสบื สาวเหตุปัจจัย วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจยั หรือ การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาทตี่ น นบั ถือ 9. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจติ และ  สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา เจรญิ ปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตาม  รู้และเขา้ ใจวธิ ีปฏิบัติและประโยชน์ของการ แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ บรหิ ารจิตและเจริญปญั ญา  ฝึกการบริหารจติ และเจรญิ ปัญญาตามหลกั สติปัฎฐานเนน้ อานาปานสติ  นำวิธกี ารบริหารจติ และเจรญิ ปัญญา ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน 10. วเิ คราะห์ความแตกต่างและยอมรบั  วิถีการดำเนนิ ชวี ติ ของศาสนกิ ชนศาสนา วถิ ีการดำเนนิ ชวี ิตของศาสนิกชนในศาสนา อนื่ ๆ อื่นๆ

๒๘ ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง  ลกั ษณะของสงั คมชมพูทวปี และคติความ ม.4-ม.6 1.วเิ คราะหส์ ังคมชมพทู วปี และคติความ เช่ือทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า เชอื่ ทางศาสนาสมยั ก่อนพระพทุ ธเจ้า หรือสังคมสมัยของศาสดาท่ตี นนับถอื 2. วเิ คราะห์ พระพุทธเจ้าในฐานะเป็น  พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ ผฝู้ ึกตนได้ มนษุ ย์ผู้ฝกึ ตนไดอ้ ยา่ งสูงสดุ ในการตรัสรู้ อย่างสงู สดุ (การตรสั รู้) การก่อตั้ง วธิ ีการสอนและการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนา หรือวเิ คราะห์ประวตั ิ  การก่อตั้งพระพุทธศาสนา วธิ กี ารสอน ศาสดาทตี่ นนบั ถือ ตามที่กำหนด และการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาตามแนว พทุ ธจรยิ า 3.วิเคราะห์พทุ ธประวัติด้านการบรหิ าร และการธำรงรักษาศาสนา หรอื วิเคราะห์  พทุ ธประวัติดา้ นการบรหิ ารและการธำรง ประวัตศิ าสดาท่ีตนนับถือ ตามท่กี ำหนด รักษาพระพุทธศาสนา 4. วเิ คราะห์ข้อปฏิบัตทิ างสายกลางใน  พระพทุ ธศาสนามีทฤษฎีและวธิ ีการท่เี ป็น พระพทุ ธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาท่ี สากลและมีข้อปฏบิ ตั ิท่ียึดทางสายกลาง ตนนับถอื ตามท่ีกำหนด 5. วเิ คราะห์การพัฒนาศรัทธา และปัญญาที่  พระพทุ ธศาสนาเนน้ การพฒั นาศรทั ธาและ ถกู ต้องในพระพทุ ธศาสนา หรือแนวคิดของ ปญั ญาท่ถี ูกต้อง ศาสนาที่ตนนับถือ ตามท่ีกำหนด 6. วิเคราะหล์ ักษณะประชาธิปไตยใน  ลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธ- ศาสนา พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ ตนนับถอื ตามที่กำหนด 7. วเิ คราะหห์ ลักการของพระพุทธศาสนา  หลกั การของพระพุทธศาสนากับหลกั กบั หลกั วทิ ยาศาสตร์ หรือแนวคดิ ของ วทิ ยาศาสตร์ ศาสนาทตี่ นนับถือ ตามทกี่ ำหนด  การคิดตามนยั แห่งพระพทุ ธศาสนาและ การคิดแบบวทิ ยาศาสตร์ 8. วิเคราะหก์ ารฝึกฝนและพัฒนาตนเอง  พระพทุ ธศาสนาเนน้ การฝึกหัดอบรมตน การพึง่ ตนเอง และการมุ่งอิสรภาพใน การพึ่งตนเอง และการมงุ่ อสิ รภาพ พระพทุ ธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ ตนนบั ถือตามทีก่ ำหนด 9. วิเคราะหพ์ ระพุทธศาสนาวา่  พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสตร์แหง่ การศึกษา เป็นศาสตรแ์ ห่งการศึกษาซ่งึ เนน้  พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสมั พนั ธ์ ความสัมพนั ธ์ของเหตุปัจจยั กับ ของเหตปุ จั จยั และวิธกี ารแกป้ ัญหา วิธกี ารแก้ปัญหา หรือแนวคดิ ของศาสนาท่ี ตนนบั ถือตามท่ีกำหนด

๒๙ ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 10. วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึก  พระพุทธศาสนาฝึกตนไม่ใหป้ ระมาท ตนไม่ใหป้ ระมาท มงุ่ ประโยชนแ์ ละ  พระพทุ ธศาสนามุ่งประโยชน์สุขและ สนั ติภาพบคุ คล สงั คมและโลก หรอื สันตภิ าพแก่บุคคล สังคมและโลก แนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามท่ี กำหนด 11. วเิ คราะห์พระพุทธศาสนากับปรชั ญา  พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ของเศรษฐกิจพอเพียงและการพฒั นา พอเพียงและการพฒั นาแบบยั่งยืน ประเทศแบบยั่งยืน หรอื แนวคิดของ ศาสนาที่ตนนบั ถือตามท่กี ำหนด 12. วิเคราะห์ความสำคญั ของ  ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับ พระพุทธศาสนาเกย่ี วกับการศกึ ษา การศึกษาทสี่ มบูรณ์ ท่สี มบูรณ์ การเมืองและสนั ติภาพ  ความสำคัญของพระพุทธศาสนากบั การเมือง หรอื แนวคดิ ของศาสนาท่ีตนนับถอื  ความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนากับ ตามทกี่ ำหนด สนั ติภาพ 13. วเิ คราะห์หลกั ธรรมในกรอบ อรยิ สัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนา ➢ พระรัตนตรยั ทต่ี นนบั ถือ  วิเคราะห์ความหมายและคณุ คา่ ของ พุทธะ ธรรมะ สงั ฆะ ➢ อริยสัจ 4  ทุกข์ (ธรรมท่ีควรรู้) o ขันธ์ 5 - นามรปู - โลกธรรม 8 - จติ , เจตสกิ  สมุทยั (ธรรมทค่ี วรละ) o หลกั กรรม - นยิ าม 5 - กรรมนยิ าม ( กรรม 12) - ธรรมนยิ าม(ปฏิจจสมุปบาท) o วิตก 3 o มจิ ฉาวณชิ ชา 5 o นวิ รณ์ 5 o อุปาทาน 4

๓๐ ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง  นโิ รธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o ภาวนา 4 o วิมตุ ติ 5 o นิพพาน  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o พระสทั ธรรม 3 o ปญั ญาวฒุ ิธรรม 4 o พละ 5 o อบุ าสกธรรม 5 o อปริหานยิ ธรรม 7 o ปาปณิกธรรม 3 o ทฏิ ฐธมั มกิ ัตถสงั วตั ตนกิ ธรรม 4 o โภคอาทิยะ 5 o อรยิ วฑั ฒิ 5 o อธปิ ไตย 3 o สาราณียธรรม 6 o ทศพิธราชธรรม 10 o วิปสั สนาญาณ 9 o มงคล 38 - สงเคราะห์บุตร - สงเคราะหภ์ รรยา - สนั โดษ - ถกู โลกธรรมจิตไม่หวั่นไหว - จิตไม่เศร้าโศก - จิตไมม่ วั หมอง - จิตเกษม - ความเพยี รเผากเิ ลส - ประพฤติพรหมจรรย์ - เห็นอริยสจั - บรรลนุ พิ พาน ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษติ  จติ ฺตํ ทนตฺ ํ สุขาวหํ จติ ทฝี่ กึ ดีแลว้ นำสุขมาให้  นอจุ จฺ าวจํ ปณฑฺ ิตา ทสสฺ ยนตฺ ิ

๓๑ ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขนึ้ ๆ ลง ๆ  นตถฺ ิ โลเก อนินทฺ ิโต คนทไ่ี ม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก  โกธํ ฆตวฺ า สขุ ํ เสติ ฆ่าความโกรธได้ย่อมอยเู่ ป็นสุข  ปฏิรูปการี ธรุ วา อุฎฐฺ าตา วินทฺ เต ธนํ คนขยนั เอาการเอางาน กระทำ เหมาะสม ย่อมหาทรัพย์ได้  วายเมถว ปุรโิ ส ยาว อตถฺ สสฺ นิปฺปทา เกดิ เป็นคนควรจะพยายามจนกวา่ จะ ประสบความสำเรจ็  สนฺตฎฐฺ ี ปรมํ ธนํ ความสนั โดษเป็นทรัพย์อยา่ งยงิ่ 14. วิเคราะหข์ อ้ คดิ และแบบอย่าง  อิณาทานํ ทุกขฺ ํ โลเก การดำเนินชวี ิตจากประวัติสาวก ชาดก เร่ืองเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง ตามที่ การเป็นหนเี้ ปน็ ทุกข์ในโลก กำหนด  ราชา มขุ ํ มนสุ สฺ านํ พระราชาเป็นประมุขของประชาชน  สติ โลกสมฺ ิ ชาคโร สติเป็นเคร่ืองต่ืนในโลก  นตฺถิ สนตฺ ิปรํ สขุ ํ สุขอ่ืนยิ่งกวา่ ความสงบไมม่ ี  นิพฺพานํ ปรมํ สขุ ํ นิพพานเปน็ สุข อยา่ งยิ่ง ➢ พุทธสาวก พุทธสาวิก  พระอัสสชิ  พระกสี าโคตมีเถรี  พระนางมัลลกิ า  หมอชีวก โกมารภจั  พระอนรุ ุทธะ  พระองคุลมิ าล  พระธมั มทินนาเถรี  จติ ตคหบดี  พระอานนท์  พระปฏาจาราเถรี

๓๒ ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง  จฬู สภุ ทั ทา  สมุ นมาลาการ ➢ ชาดก  เวสสันดรชาดก  มโหสธชาดก  มหาชนกชาดก ➢ ชาวพุทธตัวอยา่ ง  พระนาคเสน - พระยามิลนิ ท์  สมเดจ็ พระวนั รัต (เฮง เขมจารี)  พระอาจารย์ม่นั ภรู ทิ ตโฺ ต  สุชพี ปุญญานุภาพ  สมเด็จพระนารายณ์มหาราช  พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)  พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานนั ท ภิกขุ)  ดร.เอ็มเบดการ์  พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้า เจ้าอย่หู วั  พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทโฺ ท)  พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต)  อนาคารกิ ธรรมปาละ 15. วเิ คราะหค์ ุณคา่ และความสำคัญของ  วธิ ีการศึกษาและคน้ คว้าพระไตรปิฏก และ การสงั คายนา พระไตรปฎิ ก หรอื คมั ภีร์ คัมภีรข์ องศาสนาอ่นื ๆ การสังคายนาและ ของศาสนาที่ตนนับถือ และการเผยแผ่ การเผยแผ่พระไตรปิฏก  ความสำคัญและคณุ ค่าของพระไตรปฏิ ก 16. เชื่อมั่นตอ่ ผลของการทำความดี ความ  ตัวอยา่ งผลทเ่ี กดิ จากการทำความดี ชวั่ สามารถวเิ คราะหส์ ถานการณ์ที่ต้อง ความชัว่ เผชิญ และตดั สนิ ใจเลือกดำเนนิ การหรอื  โยนิโสมนสิการดว้ ยวิธคี ิดแบบอรยิ สจั ปฏบิ ตั ติ นไดอ้ ย่างมเี หตุผลถูกตอ้ งตาม  หลกั ธรรมตามสาระการเรยี นรู้ขอ้ 13 หลกั ธรรม จรยิ ธรรม และกำหนด เปา้ หมาย บทบาทการดำเนนิ ชีวิตเพ่ือการ อยรู่ ว่ มกันอย่างสนั ติสขุ และอยู่รว่ มกนั เปน็ ชาตอิ ย่างสมานฉันท์ 17. อธบิ ายประวตั ิศาสดาของศาสนาอนื่ ๆ ◆ ประวัตพิ ระพทุ ธเจ้า มุฮัมมัด พระเยซู โดยสังเขป

๓๓ ช้ัน ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 18.ตระหนักในคุณคา่ และความสำคญั ของ ◆ คณุ คา่ และความสำคัญของคา่ นิยมและ ค่านยิ ม จรยิ ธรรมท่เี ปน็ ตวั กำหนดความ จรยิ ธรรม เชือ่ และพฤติกรรมทแ่ี ตกตา่ งกนั ของศา ◆ การขจัดความขดั แย้งเพ่ืออยูร่ ่วมกนั อยา่ ง สนกิ ชนศาสนาต่างๆ เพือ่ ขจดั ความขดั แย้ง สนั ติสขุ และอยูร่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งสนั ติสขุ 19. เหน็ คณุ ค่า เชอื่ มั่น และมุ่งมน่ั พฒั นา  พัฒนาการเรยี นรู้ด้วยวิธคี ิดแบบโยนโิ ส ชีวิตด้วยการพฒั นาจิตและพัฒนาการ มนสิการ 10 วธิ ี (เน้น วิธีคดิ แบบแยกแยะ เรยี นรดู้ ้วยวธิ คี ดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร สว่ นประกอบ แบบสามญั ญลักษณะ หรอื การพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนา แบบเป็นอยู่ในขณะปัจจุบนั และแบบ ทีต่ นนบั ถือ วิภชั ชวาท ) 1) วธิ ีคดิ แบบสบื สาวเหตปุ ัจจยั 2) วธิ คี ิดแบบแยกแยะสว่ นประกอบ 3) วธิ คี ดิ แบบสามญั ลักษณะ 4) วธิ คี ดิ แบบอริยสัจ 5) วธิ คี ิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ 6) วธิ คี ดิ แบบคุณคา่ แท้- คณุ คา่ เทยี ม 7) วิธคี ิดแบบคณุ -โทษ และทางออก 8) วิธคี ดิ แบบอุบาย ปลุกเรา้ คณุ ธรรม 9) วิธีคดิ แบบเปน็ อยใู่ นขณะปจั จุบนั 10) วิธคี ิดแบบวภิ ัชชวาท 20. สวดมนต์ แผ่เมตตา และบริหารจิต ➢ สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา และเจริญปญั ญาตามหลกั สติปัฏฐาน หรือ รู้และเข้าใจวธิ ีปฏบิ ัติและประโยชนข์ องการ บรหิ ารจิตและเจรญิ ปญั ญา ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือ  ฝกึ การบริหารจิตและเจริญปัญญาตาม หลกั สติปฎั ฐาน  นำวิธกี ารบริหารจิตและเจริญปัญญา ไปใชใ้ นการพัฒนาการเรียนรู้ คุณภาพ ชีวิตและสงั คม 21. วิเคราะห์หลักธรรมสำคญั ในการอยู่ ◆ หลักธรรมสำคญั ในการอยู่ร่วมกันอย่าง ร่วมกนั อย่างสนั ตสิ ุขของศาสนาอน่ื ๆ และ สันติสขุ ชกั ชวน ส่งเสริม สนับสนุนใหบ้ ุคคลอ่ืนเห็น o หลักธรรมในพระพุทธศาสนา เช่น ความสำคัญของการทำความดี ต่อกัน สาราณยี ธรรม 6 อธปิ ไตย 3 มิจฉาวณิชชา 5 อริยวัฑฆิ 5 โภคอาทิยะ 5 ◆ คริสต์ศาสนา ได้แก่ บัญญตั ิ 10 ประการ (เฉพาะทีเ่ กีย่ วข้อง) ◆ ศาสนาอิสลาม ไดแ้ ก่ หลักจริยธรรม

๓๔ ชนั้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (เฉพาะทเ่ี กีย่ วข้อง) 22. เสนอแนวทางการจัดกจิ กรรม ความ ◆ สภาพปญั หาในชุมชน และสังคม รว่ มมือของทุกศาสนาในการแก้ปญั หาและ พฒั นาสังคม สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนกั และปฏิบตั ติ นเป็นศาสนกิ ชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถือ ช้นั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.1 1. บำเพญ็ ประโยชนต์ ่อวัด หรือศาสน ➢ การบำเพ็ญประโยชนต์ ่อวัด หรือศาสน สถานของศาสนาที่ตนนับถือ สถาน  การพัฒนาทำความสะอาด  การบรจิ าค  การร่วมกิจกรรมทางศาสนา 2. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรอื แสดงตน ➢ การแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ เป็นศาสนกิ ชนของศาสนาท่ตี นนับถือ  ขัน้ เตรียมการ  ขน้ั พิธีการ 3. ปฏิบัติตนในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม และวัน ➢ ประวตั ิโดยสังเขปของวนั สำคัญทาง สำคัญทางศาสนา ตามที่กำหนดได้ถูกตอ้ ง พระพุทธศาสนา  วนั มาฆบูชา  วนั วสิ าขบชู า  วันอาสาฬหบูชา  วนั อฏั ฐมีบชู า ➢ การบูชาพระรตั นตรัย ป.2 1. ปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของ ➢ การฝกึ ปฏิบตั มิ รรยาทชาวพุทธ ศาสนาทต่ี นนับถือ ตามทก่ี ำหนดไดถ้ ูกตอ้ ง  การพนมมอื  การไหว้  การกราบ  การน่งั  การยืน การเดนิ 2. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธกี รรม และ  การเขา้ ร่วมกิจกรรมและพิธกี รรม ที่ วันสำคัญทางศาสนา ตามท่ีกำหนดได้ เก่ยี วเนื่องกบั วนั สำคัญทางพุทธศาสนา ถกู ต้อง  ระเบียบพธิ ีการบูชาพระรัตนตรัย  การทำบุญตักบาตร ป.3 1. ปฏบิ ตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อสาวก ➢ ฝกึ ปฏบิ ตั ิมรรยาทชาวพทุ ธ

๓๕ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ศาสนสถาน ศาสนวตั ถขุ องศาสนาทต่ี นนบั  การลกุ ขึ้นยืนรับ ถือ ตามทก่ี ำหนดได้ถูกต้อง  การต้อนรบั  การรบั – ส่งสิ่งของแกพ่ ระภิกษุ  มรรยาทในการสนทนา  การสำรวมกริ ยิ ามารยาท การแตง่ กายทเ่ี หมาะสมเม่ือ  อยูใ่ นวดั และพุทธสถาน  การดูแลรักษาศาสนวัตถุและ ศาสนสถาน 2. เห็นคุณค่า และปฏิบัตติ นในศาสนพิธี  การอาราธนาศีล พิธีกรรม และวนั สำคัญทางศาสนา ตามท่ี  การสมาทานศลี กำหนดได้ถกู ต้อง  เครือ่ งประกอบโต๊ะหม่บู ูชา การจดั โตะ๊ หมูบ่ ูชา 3. แสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ หรอื แสดงตน ➢ ความเป็นมาของการแสดงตนเป็น เปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนาที่ตนนับถือ พทุ ธมามกะ ➢ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ  ข้ันเตรียมการ  ข้ันพิธกี าร ป.4 1. อภิปรายความสำคญั และมีส่วนรว่ มใน  ความร้เู บื้องต้นและความสำคัญของ การบำรงุ รักษาศาสนสถานของศาสนาที่ ศาสนสถาน ตนนบั ถอื  การแสดงความเคารพต่อศาสนสถาน  การบำรงุ รกั ษาศาสนสถาน 2. มีมรรยาทของความเปน็ ศาสนกิ ชนทดี่ ี  การปฏิบัติตนทเี่ หมาะสมต่อพระภิกษุ ตามท่กี ำหนด  การยนื การเดิน และการน่ังทีเ่ หมาะสม ในโอกาสตา่ ง ๆ 3. ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพธิ ี พธิ กี รรมและวนั  การอาราธนาศลี สำคัญทางศาสนา ตามท่ีกำหนดไดถ้ ูกตอ้ ง  การอาราธนาธรรม  การอาราธนาพระปรติ ร  ระเบียบพธิ ีและการปฏิบัตติ นในวันธรรม สวนะ ป.5 1. จัดพธิ กี รรมตามศาสนาทีต่ นนับถอื  การจดั พิธีกรรมทเ่ี รียบงา่ ย ประหยัด อยา่ งเรียบง่าย มปี ระโยชน์ และปฏบิ ัติตน มีประโยชน์ และถูกตอ้ งตามหลักทาง ถกู ต้อง ศาสนาท่ีตนนับถือ

๓๖ ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 2. ปฏบิ ัติตนในศาสนพิธี พธิ กี รรม และวนั  การมสี ่วนร่วมในการจดั เตรยี มสถานท่ี สำคญั ทางศาสนา ตามที่กำหนด และ ประกอบศาสนพธิ ี พธิ กี รรมทางศาสนา อภิปรายประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการเขา้ ร่วม  พิธีถวายสังฆทาน เคร่ืองสังฆทาน กิจกรรม  ระเบียบพิธีในการทำบุญงานมงคล  ประโยชน์ของ การเขา้ รว่ มศาสนพธิ ี พธิ กี รรมทางศาสนา หรอื กจิ กรรม ในวนั สำคัญทางศาสนา 3. มีมรรยาทของความเปน็ ศาสนิกชนท่ดี ี  การกราบพระรตั นตรยั ตามทก่ี ำหนด  การไหว้บิดา มารดา คร/ู อาจารย์ ผทู้ เี่ คารพนับถือ  การกราบศพ ป.6 1. อธบิ ายความรเู้ ก่ยี วกบั สถานทตี่ า่ งๆ  ความรู้เบอื้ งต้นเกี่ยวกบั สถานที่ต่าง ๆ ในศาสนสถาน และปฏิบัตติ นไดอ้ ย่าง ภายในวดั เชน่ เขตพุทธาวาส สังฆาวาส เหมาะสม  การปฏบิ ตั ิตนท่ีเหมาะสมภายในวดั 2. มมี รรยาทของความเปน็ ศาสนกิ ชนท่ีดี  การถวายของแก่พระภิกษุ ตามที่กำหนด  การปฏิบตั ิตนในขณะฟงั ธรรม  การปฏบิ ตั ิตนตามแนวทางของ พุทธศาสนกิ ชน เพ่ือประโยชน์ต่อ ศาสนา 3. อธบิ ายประโยชนข์ องการเขา้ ร่วมใน  ทบทวนการอาราธนาศีล อาราธนาธรรม ศาสนพธิ ี พิธีกรรม และกิจกรรมใน และอาราธนาพระปรติ ร วันสำคญั ทางศาสนา ตามที่กำหนด และ  พิธที อดผา้ ป่า ปฏิบัติตนไดถ้ ูกต้อง  พิธีทอดกฐนิ  ระเบียบพธิ ใี นการทำบุญงานอวมงคล  การปฏิบัตติ นทถี่ กู ต้องในศาสนพธิ ี พิธีกรรม และวันสำคัญทางศาสนา เช่น วนั มาฆบูชา วนั วิสาขบชู า วนั อฐั มีบูชา วนั อาสาฬหบชู า วนั ธรรมสวนะ  ประโยชน์ของการเข้ารว่ มในศาสนพธิ ี/ พธิ ีกรรม และวนั สำคัญทางศาสนา 4. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตน ➢ การแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ เปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนาที่ตนนบั ถือ ° ข้นั เตรยี มการ ° ข้ันพธิ ีการ ม.1 1. บำเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ศาสนสถานของ  การบำเพ็ญประโยชน์ และ

๓๗ ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ศาสนาทีต่ นนับถือ การบำรงุ รกั ษาวดั 2. อธิบายจริยวัตรของสาวกเพอ่ื เปน็  วถิ ชี วี ิตของพระภกิ ษุ แบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติ และ  บทบาทของพระภกิ ษุในการเผยแผ่ ปฏิบัตติ นอยา่ งเหมาะสมต่อสาวกของ พระพทุ ธศาสนา เชน่ การแสดงธรรม ศาสนาทต่ี นนับถือ ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนให้เป็น แบบอย่าง  การเข้าพบพระภิกษุ  การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว้ การกราบ การเคารพ พระรัตนตรัย การฟังเจรญิ พระพุทธมนต์ การฟงั สวด พระอภิธรรม การฟังพระธรรมเทศนา 3. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ  ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อเพ่ือนตาม ตามหลักศาสนาทตี่ นนบั ถือ ตามท่ี หลกั พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับ กำหนด ถือ 4. จัดพิธีกรรม และปฏิบัตติ นใน  การจัดโต๊ะหมบู่ ูชา แบบ หมู่4 หมู่ 5 หมู่ ศาสนพิธี พธิ กี รรมได้ถูกต้อง 7 หมู่9  การจดุ ธปู เทียน การจัดเคร่ืองประกอบ โต๊ะหมบู่ ูชา  คำอาราธนาตา่ งๆ 5. อธบิ ายประวตั ิ ความสำคัญ และ  ประวตั ิและความสำคญั ของวันธรรม ปฏิบัตติ นในวันสำคัญทางศาสนา สวนะ วนั เข้าพรรษา วนั ออกพรรษา ม.2 ทตี่ นนับถือ ตามที่กำหนด ได้ถกู ต้อง วันเทโวโรหณะ  ระเบียบพธิ ี พธิ เี วียนเทียน การปฏบิ ัติตน ในวนั มาฆบชู า วันวสิ าขบชู า วันอัฏฐมี บชู า วนั อาสาฬหบชู า วันธรรมสวนะ และเทศกาลสำคญั 1. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบคุ คล  การเป็นลูกทด่ี ี ตามหลักทิศเบ้ืองหน้า ใน ตา่ ง ๆ ตามหลักศาสนาท่ตี นนับถอื ตามที่ ทศิ 6 กำหนด 2. มมี รรยาทของความเป็นศาสนกิ ชนท่ดี ี  การต้อนรบั (ปฏิสันถาร) ตามทกี่ ำหนด  มรรยาทของผู้เปน็ แขก  ฝึกปฏบิ ัตริ ะเบยี บพิธี ปฏบิ ัติตอ่ พระภกิ ษุ

๓๘ ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง การยนื การให้ทีน่ งั่ การเดนิ สวน การสนทนา การรับสิ่งของ  การแตง่ กายไปวัด การแต่งกายไปงาน มงคล งานอวมงคล 3. วเิ คราะหค์ ุณค่าของศาสนพิธี และ  การทำบุญตักบาตร ปฏิบตั ิตนได้ถูกต้อง  การถวายภตั ตาหารสง่ิ ของที่ควรถวาย 4. อธิบายคำสอนทเี่ กี่ยวเนื่องกบั และสง่ิ ของต้องห้ามสำหรับพระภกิ ษุ วนั สำคัญทางศาสนา และปฏิบัติตน  การถวายสังฆทาน เครือ่ งสงั ฆทาน ไดถ้ ูกต้อง  การถวายผา้ อาบน้ำฝน  การจดั เคร่ืองไทยธรรม เครอ่ื งไทยทาน  การกรวดนำ้  การทอดกฐิน การทอดผา้ ป่า  หลักธรรมเบื้องตน้ ที่เกีย่ วเนอื่ งใน วนั มาฆบชู า วนั วสิ าขบูชา วันอฏั ฐมีบชู า วนั อาสาฬหบูชา  วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสำคญั  ระเบียบพธิ ีและการปฏบิ ตั ิตน ในวันธรรมสวนะ วนั เข้าพรรษา วันออกพรรษา วนั เทโวโรหณะ 5. อธิบายความแตกตา่ งของศาสนพิธี  ศาสนพธิ /ี พิธกี รรม แนวปฏบิ ัตขิ อง พิธีกรรม ตาม แนวปฏิบัติของศาสนาอ่ืน ศาสนาอืน่ ๆ ๆ เพ่ือนำไปสู่การยอมรับ และความเขา้ ใจ ซึง่ กนั และกนั ม.3 1. วิเคราะหห์ นา้ ที่และบทบาทของสาวก  หนา้ ท่ีของพระภิกษุในการปฏิบตั ิ และปฏบิ ัตติ นต่อสาวก ตามท่ีกำหนดได้ ตามหลกั พระธรรมวินยั และจริยวตั ร ถกู ต้อง อย่างเหมาะสม  การปฏบิ ตั ิตนตอ่ พระภกิ ษุในงาน ศาสนพิธีท่บี า้ น การสนทนา การแตง่ กาย มรรยาทการพูดกับพระภิกษุตามฐานะ 2. ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมต่อบคุ คล  การเป็นศิษย์ท่ดี ี ตามหลักทศิ เบื้องขวา ใน ตา่ ง ๆ ตามหลักศาสนา ตามที่กำหนด ทศิ 6 ของพระพุทธศาสนา 3. ปฏบิ ัตหิ น้าทข่ี องศาสนิกชนท่ดี ี  การปฏิบัติหน้าทช่ี าวพุทธตามพทุ ธ ปณิธาน 4 ในมหาปรนิ พิ พานสูตร 4. ปฏิบัตติ นในศาสนพธิ ีพธิ กี รรมได้ถูกตอ้ ง  พธิ ีทำบญุ งานมงคล งานอวมงคล

ชั้น ตวั ชว้ี ัด ๓๙ 5. อธบิ ายประวัตวิ นั สำคัญทางศาสนา สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตามทก่ี ำหนดและปฏิบตั ติ นได้ถกู ต้อง  การนมิ นต์พระภิกษุ การเตรยี มทีต่ งั้ 6. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือ พระพทุ ธรปู และเคร่ืองบูชา การวงด้าย แสดงตนเปน็ ศาสนิกชนของศาสนา สายสญิ จน์ การปูลาดอาสนะ การเตรียม ท่ตี นนบั ถือ เครอื่ งรับรอง การจดุ ธปู เทียน  ขอ้ ปฏบิ ตั ิในวนั เลยี้ งพระ การถวายขา้ ว พระพทุ ธ การถวายไทยธรรม การกรวดนำ้ ➢ ประวัติวันสำคญั ทางพระพุทธศาสนาใน ประเทศไทย  วนั วสิ าขบชู า (วันสำคัญสากล)  วันธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ ➢ หลกั ปฏิบตั ติ น : การฟงั พระธรรม เทศนา การแต่งกายในการประกอบ ศาสนพิธีทีว่ ดั การงดเว้นอบายมุข ➢ การประพฤติปฏบิ ัติในวันธรรมสวนะ และเทศกาลสำคญั ➢ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ  ข้นั เตรียมการ  ขน้ั พิธกี าร 7. นำเสนอแนวทางในการธำรงรักษา  การศกึ ษาเรียนรเู้ รื่ององค์ประกอบของ ศาสนาท่ตี นนบั ถือ พระพุทธศาสนา นำไปปฏิบัติและเผย แผ่ตามโอกาส ม.4-ม.6 1. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ศาสนิกชนท่ีดตี อ่ สาวก สมาชิกในครอบครวั และคนรอบข้าง  การศึกษาการรวมตัวขององค์กร ชาวพทุ ธ  การปลกู จติ สำนึกในดา้ นการบำรุงรักษา วัดและพุทธสถานให้เกิดประโยชน์ ➢ ปฏิบตั ิตนเปน็ ชาวพทุ ธทด่ี ตี ่อพระภิกษุ  การเขา้ ใจในกจิ ของพระภิกษุ เชน่ การศึกษา การปฏบิ ัตธิ รรม และ การเปน็ นกั บวชทด่ี ี  คุณสมบตั ิทายกและปฏิคาหก  หนา้ ท่แี ละบทบาทของพระภิกษุ ใน ฐานะพระนักเทศก์

๔๐ ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง พระธรรมทตู พระธรรมจาริก พระ วิทยากร พระวิปัสสนาจารย์ และ พระนักพัฒนา  การปกปอ้ งค้มุ ครอง พระพุทธศาสนาของพทุ ธบริษัทใน สังคมไทย  การปฏบิ ัติตนตอ่ พระภกิ ษุทางกาย วาจา และใจ ทป่ี ระกอบด้วย เมตตา  การปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อ พระภกิ ษุ ในโอกาสต่าง ๆ ➢ ปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชิกทีด่ ีของครอบครวั และสงั คม  การรกั ษาศลี 8  การเข้าร่วมกจิ กรรมและเปน็ สมาชิก ขององค์กรชาวพทุ ธ  การเป็นชาวพทุ ธท่ีดี ตามหลักทศิ เบื้องบน ในทิศ 6 2. ปฏบิ ัตติ นถูกตอ้ งตามศาสนพิธีพิธีกรรม  การปฏบิ ัตติ นที่เหมาะสมในฐานะ ผู้ปกครองและ ผูอ้ ยู่ในปกครอง ตามหลกั ทิศเบอ้ื งล่าง ในทิศ 6  การปฏิสันถารตามหลกั ปฏิสนั ถาร 2  หนา้ ทีแ่ ละบทบาทของอุบาสก อบุ าสกิ าทม่ี ีต่อสังคมไทยในปัจจุบนั  การปฏบิ ัตติ นเปน็ สมาชิกทดี่ ขี อง ครอบครัว ตามหลักทศิ เบื้องหลัง ในทศิ 6  การบำเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อ ครอบครวั ชมุ ชน ประเทศชาติ และโลก ➢ ประเภทของศาสนพิธใี นพระพุทธศาสนา

ช้ัน ตัวชว้ี ัด ๔๑ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง  ศาสนพธิ เี นอื่ งดว้ ยพุทธบัญญตั ิ เชน่ พธิ ีแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ พธิ เี วียนเทยี น ถวายสงั ฆทาน ถวายผ้าอาบน้ำฝน พิธีทอดกฐนิ พธิ ปี วารณา เปน็ ต้น  ศาสนพิธที ่นี ำพระพุทธศาสนา เข้าไปเกี่ยวเนอื่ ง เชน่ การทำบญุ เลีย้ งพระในโอกาสตา่ งๆ ➢ ความหมาย ความสำคญั คตธิ รรม ในพิธีกรรม บทสวดมนต์ของนกั เรยี น งานพิธี คณุ ค่าและประโยชน์ ➢ พธิ บี รรพชาอปุ สมบท คุณสมบัติของ ผูข้ อบรรพชาอุปสมบท เครื่อง อฏั ฐบรขิ าร ประโยชนข์ องการ บรรพชาอุปสมบท ➢ บุญพิธี ทานพธิ ี กุศลพิธี ➢ คุณค่าและประโยชนข์ องศาสนพธิ ี 3. แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะหรือ ➢ การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ แสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนา  ขั้นเตรยี มการ ที่ตนนับถือ  ขัน้ พิธีการ 4. วเิ คราะหห์ ลักธรรม คตธิ รรมที่ เกยี่ วเน่ืองกบั วันสำคญั ทางศาสนา และ  หลักธรรม/คตธิ รรมทเ่ี ก่ียวเน่ืองกบั เทศกาลทส่ี ำคัญ ของศาสนาที่ตนนบั ถือ วันสำคัญ และเทศกาลท่สี ำคัญใน และปฏบิ ตั ิตนได้ถกู ต้อง พระพุทธศาสนาหรือศาสนาอ่ืน 5. สมั มนาและเสนอแนะแนวทางในการ  การปฏิบัตติ นที่ถูกต้องในวนั สำคญั ธำรงรกั ษาศาสนาที่ตนนับถือ อนั ส่งผลถึง และเทศกาลทสี่ ำคัญในพระพุทธศาสนา การพฒั นาตน พัฒนาชาติและโลก หรือศาสนาอน่ื  การปกป้อง คุ้มครอง ธำรงรกั ษา พระพุทธศาสนาของพุทธบรษิ ัท ในสงั คมไทย  การปลกู จติ สำนกึ และการมสี ่วนร่วม ในสงั คมพุทธ

๔๒ สาระที่ 2 หนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสงั คม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏบิ ตั ิตนตามหน้าทีข่ องการเป็นพลเมืองดี มคี ่านยิ มที่ดีงามและธำรงรกั ษา ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวติ อยูร่ ว่ มกนั ในสงั คมไทยและสงั คมโลกอย่างสันติสุข ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

๔๓ ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.1 1. บอกประโยชน์และปฏบิ ัติตนเป็น  การเป็นสมาชกิ ท่ีดีของครอบครัวและ สมาชกิ ทีด่ ขี องครอบครวั และโรงเรยี น โรงเรยี น เชน่ − กตญั ญูกตเวทแี ละเคารพรับฟัง คำแนะนำของพ่อแม่ ญาตผิ ู้ใหญ่ และครู − รู้จักกล่าวคำขอบคุณ ขอโทษ การไหวผ้ ู้ใหญ่ − ปฏบิ ัตติ าม ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ ของครอบครัวและ โรงเรยี น − มีส่วนรว่ มในกจิ กรรมของ ครอบครวั และโรงเรยี น − มีเหตผุ ลและยอมรับฟังความ คดิ เหน็ ของผู้อืน่ − มรี ะเบยี บ วนิ ยั มีนำ้ ใจ  ประโยชนข์ องการปฏบิ ัติตนเปน็ สมาชกิ ที่ ดีของครอบครัวและโรงเรยี น 2. ยกตัวอยา่ งความสามารถและความดี  ลกั ษณะความสามารถและลกั ษณะ ความดี ของตนเอง ผอู้ ่ืนและบอกผลจากการ ของตนเองและผู้อื่น เชน่ กระทำนั้น - ความกตญั ญกู ตเวที - ความมรี ะเบยี บวินยั - ความรบั ผดิ ชอบ - ความขยนั - การเออื้ เฟ้อื เผอ่ื แผ่และ ช่วยเหลอื ผู้อ่ืน - ความซอ่ื สัตย์สจุ ริต - ความเมตตากรุณา  ผลของการกระทำความดี เช่น - ภาคภูมิใจ - มคี วามสขุ - ไดร้ ับการชน่ื ชม ยกย่อง ป.2 1. ปฏบิ ตั ิตนตามข้อตกลง กตกิ า กฎ  ขอ้ ตกลง กติกา กฎ ระเบยี บ หนา้ ท่ีที่ ระเบยี บและหน้าทท่ี ตี่ ้องปฏบิ ัตใิ น ต้องปฏบิ ัติในครอบครัว โรงเรียน สถานที่ ชวี ิตประจำวนั สาธารณะ เช่น โรงภาพยนต์ โบราณสถาน ฯลฯ

๔๔ ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 2. ปฏิบตั ติ นตนตามมารยาทไทย  มารยาทไทย เชน่ การแสดงความเคารพ การยนื การเดิน การนัง่ การนอน การทักทาย การรับประทาน 3. แสดงพฤตกิ รรมในการยอมรับความคดิ  การยอมรบั ความแตกต่างของคนใน ความเชอ่ื และการปฏิบตั ิของบุคคลอ่นื ท่ี สังคม ในเร่อื ง ความคิด ความเชอื่ แตกต่างกนั โดยปราศจากอคติ ความสามารถและการปฏิบัตติ นของ บุคคลอน่ื ที่ แตกต่างกนั เชน่ - บุคคลยอ่ มมีความคิดทีม่ ีเหตุผล - การปฏิบตั ติ นตามพิธีกรรมตาม ความ เช่อื ของบุคคล - บุคคลย่อมมีความสามารถแตกต่าง กนั - ไม่พูดหรอื แสดงอาการดูถูกรงั เกยี จ ผ้อู ืน่ ในเรื่องของรูปรา่ งหนา้ ตา สผี ม สผี วิ ทแี่ ตกตา่ งกัน 4. เคารพในสิทธิ เสรภี าพของผ้อู น่ื  สทิ ธิส่วนบุคคล เชน่ - สิทธแิ สดงความคดิ เห็น - สิทธิเสรภี าพในรา่ งกาย - สิทธิในทรพั ยส์ นิ ป.3 1. สรปุ ประโยชนแ์ ละปฏิบัตติ นตาม  ประเพณีและวฒั นธรรมในครอบครัว ประเพณแี ละวฒั นธรรมในครอบครัวและ เชน่ การแสดงความเคารพและการเช่ือฟงั ท้องถน่ิ ผู้ใหญ่ การกระทำกจิ กรรมร่วมกัน ใน ครอบครัว  ประเพณแี ละวัฒนธรรมในท้องถ่ิน เชน่ การเขา้ ร่วมประเพณที างศาสนา ประเพณี เก่ียวกับการดำเนนิ ชวี ิต ประโยชน์ ของการปฏบิ ัตติ นตามประเพณแี ละ วัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถ่ิน

๔๕ ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 2. บอกพฤติกรรมการดำเนนิ ชวี ติ ของ  พฤตกิ รรมของตนเองและเพ่ือน ๆ ตนเอง และผู้อ่ืนที่อยู่ในกระแสวฒั นธรรม ในชีวิตประจำวนั เช่น การทกั ทาย ที่หลากหลาย การทำความเคารพ การปฏิบัตติ าม ศาสนพิธี การรับประทานอาหาร การใช้ ภาษา (ภาษาถน่ิ กบั ภาษาราชการ และ ภาษาอ่ืนๆ ฯลฯ )  สาเหตทุ ่ที ำใหพ้ ฤติกรรมการดำเนินชีวิต ในปัจจุบนั ของนักเรียน และผู้อ่ืนแตกต่าง 3. อธบิ ายความสำคัญขอวันหยุดราชการ กัน ที่สำคัญ  วันหยุดราชการทีส่ ำคัญ เช่น - วนั หยุดเกี่ยวกบั ชาติและ พระมหากษัตรยิ ์ เช่น วันจกั รี วันรฐั ธรรมนญู วนั ฉัตรมงคล วันเฉลิมพระชนมพรรษา - วันหยดุ ราชการเก่ยี วกับศาสนา เชน่ วันมาฆบชู า วันวิสาขบชู า วันอาสาฬหบชู า วนั เขา้ พรรษา - วันหยุดราชการเก่ียวกบั ประเพณีและ วฒั นธรรม เช่น วนั สงกรานต์ วนั พชื มงคล 4. ยกตวั อยา่ งบคุ คลซ่ึงมผี ลงานทเี่ ป็น  บุคคลท่ีมผี ลงานเปน็ ประโยชน์แก่ชมุ ชน ประโยชน์แก่ชมุ ชนและท้องถิ่นของตน และท้องถน่ิ ของตน  ลักษณะผลงานทเี่ ปน็ ประโยชนแ์ ก่ชุมชน และท้องถ่นิ ป.4 1. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี  การเขา้ รว่ มกจิ กรรมประชาธิปไตยของ ประชาธปิ ไตยในฐานะสมาชิกท่ีดขี อง ชุมชน ชมุ ชน เช่น การรณรงค์การเลือกตัง้  แนวทางการปฏบิ ตั ิตนเปน็ สมาชกิ ท่ีดี ของชุมชน เช่น อนรุ กั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม สาธารณสมบตั ิ โบราณวัตถุและ โบราณสถาน การพฒั นาชุมชน 2. ปฏิบตั ติ นในการเปน็ ผนู้ ำและผู้ตาม ท่ี  การเปน็ ผู้นำและผูต้ ามที่ดี ดี - บทบาทและความรับผดิ ชอบของผู้นำ - บทบาทและความรับผดิ ชอบของผู้ตาม หรือสมาชิก - การทำงานกลุ่มใหม้ ปี ระสทิ ธผิ ลและ ประสทิ ธิภาพ และประโยชน์ของการ ทำงานเป็นกลุ่ม

๔๖ ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 3. วิเคราะห์สทิ ธพิ ้ืนฐานทเี่ ด็กทกุ คน  สิทธิพื้นฐานของเด็ก เช่น สทิ ธิท่ีจะมชี วี ติ พึงได้รับตามกฎหมาย สิทธิทีจ่ ะได้รบั การปกปอ้ ง สทิ ธิ ที่ จะได้รับการพฒั นา สิทธทิ จี่ ะมี สว่ นรว่ ม 4. อธิบายความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม  วัฒนธรรมในภาคต่างๆ ของไทย ของกล่มุ คนในท้องถิน่ ทแี่ ตกต่างกัน เชน่ การแต่งกาย ภาษา อาหาร 5. เสนอวธิ ีการทจ่ี ะอยรู่ ่วมกันอย่าง  ปัญหาและสาเหตขุ องการเกิดความ สนั ติสุขในชวี ิตประจำวนั ขดั แย้งในชีวิตประจำวัน  แนวทางการแกป้ ัญหาความขัดแยง้ ด้วย สันติวิธี ป.5 1. ยกตัวอยา่ งและปฏิบัติตนตาม  สถานภาพ บทบาท สทิ ธเิ สรภี าพ สถานภาพ บทบาท สทิ ธิเสรีภาพ และ  หนา้ ทขี่ องพลเมอื งดี เช่น เคารพ เทดิ ทนู หน้าท่ใี นฐานะพลเมืองดี สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ อนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ อนุรักษ์ ศิลปวฒั นธรรม ปฏิบตั ิตามกฎหมาย  คณุ ลกั ษณะของพลเมืองดี เชน่ เหน็ แก่ ประโยชน์สว่ นรวมมากกวา่ ประโยชน์ส่วน ตน มีความรบั ผิดชอบ เสียสละ 2. เสนอวธิ กี ารปกปอ้ งคุ้มครองตนเอง  เหตุการณท์ ี่ละเมดิ สทิ ธิเดก็ ในสังคมไทย หรือผอู้ ื่นจากการละเมดิ สิทธเิ ด็ก  แนวทางการปกป้องคุ้มครองตนเองหรอื ผู้อน่ื จากการละเมิดสิทธเิ ดก็  การปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็กในสงั คมไทย 3. เห็นคณุ ค่าวฒั นธรรมไทยทม่ี ีผลต่อการ  วฒั นธรรมไทย ท่ีมผี ลตอ่ การดำเนนิ ชีวิต ดำเนินชวี ติ ในสงั คมไทย ของคนในสังคมไทย  คณุ ค่าของวฒั นธรรมกับการดำเนินชีวติ 4. มสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่  ความสำคญั ของภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ของชุมชน  ตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่นในชมุ ชน ของ ตน  การอนรุ ักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญา ท้องถ่นิ ของชุมชน

๔๗ ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.6 1. ปฏิบัติตามกฎหมายทเี่ กีย่ วข้องกบั  กฎหมายทเ่ี ก่ียวข้องกับชีวติ ประจำวันเชน่ ชวี ติ ประจำวันของครอบครวั และชมุ ชน - กฎหมายจราจร - กฎหมายทะเบยี นราษฎร - กฎหมายยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ - เทศบัญญัติ ข้อบญั ญตั ิ อบต. อบจ.  ประโยชน์ของการปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย ดังกลา่ ว 2. วิเคราะห์การเปลย่ี นแปลงวฒั นธรรม  ความหมายและประเภทของวัฒนธรรม ตามกาลเวลาและธำรงรักษาวัฒนธรรม อัน  การเปลยี่ นแปลงวัฒนธรรมตาม ดงี าม กาลเวลาท่ีมผี ลต่อตนเองและสังคมไทย  แนวทางการธำรงรกั ษาวัฒนธรรมไทย 3. แสดงออกถงึ มารยาทไทยไดเ้ หมาะสม  ความหมายและสำคัญของมารยาทไทย ถูกกาลเทศะ  มารยาทไทยและมารยาทสังคม เช่น การแสดงความเคารพ การยนื การเดิน การนงั่ การนอน การรบั ของส่งของ การรบั ประทานอาหาร การแสดงกิรยิ า อาการ การทกั ทาย การสนทนา การใช้ คำพดู 4. อธิบายคุณค่าทางวฒั นธรรมที่แตกต่าง  ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ทางวัฒนธรรม กันระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย  ความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างกลมุ่ คนภาคตา่ งๆ ในสังคมไทย  แนวทางการรกั ษาวัฒนธรรม 5. ตดิ ตามข้อมลู ขา่ วสาร เหตุการณ์ต่าง ๆ  ขอ้ มลู ข่าวสาร เหตุการณ์ต่าง ๆ เชน่ ในชีวติ ประจำวนั เลือกรับและใช้ข้อมลู วทิ ยุโทรทศั น์ หนังสือพมิ พ์ แหลง่ ข่าวต่าง ข่าวสารในการเรียนรู้ไดเ้ หมาะสม ๆ สถานการณจ์ ริง  ประโยชนจ์ ากการติดตามขอ้ มลู ขา่ วสาร เหตกุ ารณ์ต่างๆ  หลกั การเลอื กรับและใช้ขอ้ มูล ข่าวสาร จากสือ่ ตา่ งๆ รวมทัง้ ส่อื ที่ไร้พรมแดน ม.1 1. ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายในการคุ้มครอง  กฎหมายในการคุม้ ครองสทิ ธิของบุคคล สิทธขิ องบคุ คล - กฎหมายการคุม้ ครองเดก็ - กฎหมายการศึกษา - กฎหมายการคุ้มครองผู้บรโิ ภค - กฎหมายลขิ สทิ ธ์ิ  ประโยชนข์ องการปฏบิ ตั ิตนตามกฎหมาย การคมุ้ ครองสิทธขิ องบคุ คล

๔๘ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 2. ระบุความสามารถของตนเอง  บทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชนทีม่ ีตอ่ ในการทำประโยชน์ตอ่ สังคมและ สงั คมและประเทศชาติ โดยเนน้ จติ ประเทศชาติ สาธารณะ เช่น เคารพกตกิ าสังคม ปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย มีสว่ นร่วมและ รับผดิ ชอบในกิจกรรมทางสังคม อนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รักษา 3. อภิปรายเก่ียวกบั คณุ คา่ ทางวัฒนธรรม สาธารณประโยชน์ ท่ีเปน็ ปัจจยั ในการสรา้ งความสัมพันธ์ทดี่ ี  ความคล้ายคลึงและความแตกตา่ งระหว่าง หรืออาจนำไปสู่ความเขา้ ใจผิดต่อกัน วัฒนธรรมไทยกับวฒั นธรรมของประเทศใน ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก เฉียงใต้  วฒั นธรรมทีเ่ ปน็ ปจั จยั ในการสรา้ ง ความสมั พนั ธ์ท่ดี ี หรืออาจนำไปสคู่ วาม เข้าใจผดิ ต่อกนั 4. แสดงออกถงึ การเคารพในสิทธิของ  วธิ ีปฏิบัตติ นในการเคารพในสิทธขิ อง ตนเองและผู้อ่ืน ตนเองและผ้อู ืน่  ผลทไี่ ด้จากการเคารพในสิทธิของตนเอง และผูอ้ น่ื ม.2 1. อธบิ ายและปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมายที่  กฎหมายที่เก่ียวข้องกบั ตนเอง ครอบครัว เกี่ยวขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและ เช่น - กฎหมายเก่ยี วกับความสามารถของ ประเทศ ผู้เยาว์ - กฎหมายบตั รประจำตวั ประชาชน - กฎหมายเพง่ เก่ียวกบั ครอบครัวและ มรดก เชน่ การหมนั้ การสมรส การรับรองบตุ ร การรบั บตุ รบุญธรรม และมรดก  กฎหมายทเี่ กีย่ วกับชมุ ชนและประเทศ - กฎหมายเกี่ยวกับการอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ และส่ิงแวดล้อม - กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร และกรอก แบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้บคุ คล ธรรมดา - กฎหมายแรงงาน

๔๙ ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 2. เหน็ คุณค่าในการปฏบิ ัตติ นตาม  สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ หน้าท่ี หนา้ ที่ในฐานะพลเมืองดตี ามวถิ ี ในฐานะพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย ประชาธิปไตย  แนวทางสง่ เสริมใหป้ ฏบิ ตั ิตนเป็น พลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตย 3. วิเคราะห์บทบาท ความสำคัญ และ  บทบาท ความสำคญั และความสมั พันธ์ ความสมั พันธข์ องสถาบันทางสงั คม ของสถาบนั ทางสังคม เช่น สถาบนั ครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบัน ศาสนา สถาบนั เศรษฐกิจ สถาบนั ทางการเมืองการปกครอง 4.อธบิ ายความคลา้ ยคลงึ และความ  ความคล้ายคลงึ และความแตกตา่ งของ แตกต่างของวฒั นธรรมไทย และ วฒั นธรรมไทย และวัฒนธรรมของ วฒั นธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชยี ประเทศในภมู ิภาคเอเชยี วัฒนธรรม เพ่อื นำไปสู่ความเขา้ ใจอนั ดรี ะหว่างกัน เปน็ ปจั จัยสำคญั ในการสร้างความเขา้ ใจ อนั ดรี ะหว่างกนั ม.3 1. อธิบายความแตกตา่ งของการกระทำ  ลักษณะการกระทำความผดิ ทางอาญา ความผดิ ระหว่างคดอี าญาและคดีแพ่ง และโทษ  ลกั ษณะการกระทำความผดิ ทางแพ่ง และโทษ  ตัวอยา่ งการกระทำความผดิ ทางอาญา เชน่ ความผดิ เกี่ยวกบั ทรัพย์  ตวั อยา่ งการทำความผิดทางแพง่ เชน่ การทำผิดสญั ญา การทำละเมิด 2. มีสว่ นร่วมในการปกป้องคุ้มครองผู้อืน่  ความหมาย และความสำคญั ของสทิ ธิ ตามหลักสทิ ธิมนษุ ยชน มนษุ ยชน  การมสี ่วนรว่ มคมุ้ ครองสิทธมิ นษุ ยชน ตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ตามวาระและโอกาสทีเ่ หมาะสม 3. อนรุ ักษ์วฒั นธรรมไทยและเลือกรบั  ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมสากลท่ีเหมาะสม ภมู ปิ ญั ญาไทยและวัฒนธรรมสากล  การอนุรักษว์ ัฒนธรรมไทยและ ภูมิปญั ญาไทยที่เหมาะสม  การเลอื กรับวัฒนธรรมสากลท่เี หมาะสม

๕๐ ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 4. วเิ คราะห์ปัจจยั ทก่ี ่อใหเ้ กิดปัญหาความ  ปัจจยั ท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ความขัดแยง้ เชน่ ขดั แย้งในประเทศ และเสนอแนวคิดใน การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ การลดความขัดแย้ง สงั คม ความเชือ่  สาเหตุปัญหาทางสงั คม เช่น ปัญหา สง่ิ แวดลอ้ ม ปัญหายาเสพตดิ ปัญหา การทจุ รติ ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ  แนวทางความร่วมมือในการลดความ ขดั แย้งและการสรา้ งความสมานฉนั ท์ 5. เสนอแนวคดิ ในการดำรงชีวิตอยา่ งมี  ปัจจัยท่ีส่งเสริมการดำรงชีวติ ให้มี ความสุขในประเทศและสังคมโลก ความสุข เชน่ การอยู่ร่วมกนั อย่างมี ขนั ติธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เห็นคุณค่าในตนเอง รุจ้ ักมอง โลกในแงด่ ี สรา้ งทักษะทางอารมณ์ รูจ้ ัก บรโิ ภคดว้ ยปัญญา เลอื กรับ-ปฏเิ สธข่าว และวตั ถุต่างๆ ปรับปรงุ ตนเองและสิ่ง ต่างๆให้ดขี นึ้ อยู่เสมอ ม.4-ม.6 1. วิเคราะหแ์ ละปฏิบัติตนตามกฎหมายที่  กฎหมายเพ่งเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา เชน่ เกย่ี วข้องกับตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน ซื้อขาย ขายฝาก เชา่ ทรพั ย์ เช่าซอื้ กยู้ ืม ประเทศชาติ และสงั คมโลก เงนิ จำนำ จำนอง  กฎหมายอาญา เช่น ความผดิ เกี่ยวกับ ทรพั ยค์ วามผิดเกยี่ วกับชวี ิตและร่างกาย  กฎหมายอน่ื ท่สี ำคญั เชน่ รัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบนั กฎหมายการรับราชการทหาร กฎหมาย ภาษอี ากร กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ ริโภค  ข้อตกลงระหวา่ งประเทศ เชน่ ปฏิญญา สากลวา่ ด้วยสิทธมิ นุษยชน กฎหมาย มนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ 2. วเิ คราะหค์ วามสำคัญของโครงสร้าง  โครงสร้างทางสังคม ทางสงั คม การขัดเกลาทางสังคม และ - การจัดระเบยี บทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม - สถาบันทางสังคม  การขดั เกลาทางสงั คม  การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม  การแก้ปญั หาและแนวทางการพฒั นา ทางสงั คม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook