Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E book คู่มือธรรมทายาท

Description: E book คู่มือธรรมทายาท

Search

Read the Text Version

การบ่อนทำลายใจของกิเลส กิ เลส- วิธีการบ่อนทำลาย ผลการบ่อนทำลาย บาป กัด กร่อน ๑. ใจขุ่นมว ฑำ ฑจริต ปีบ คํ่น ๒. ใจมืดมิด ห่อ ทุ้ม ๓. ใจอ่อนส์า ซึม ซาบ ๔. ทุรนทุราย ดิ้นออกจาก เอิบ อาบ ๕. ใจขาดสติ ฉาบ ทา ๖. ใจขาดประสิทธิภาพใน ดอง การเลือกร้บ หกัก - รูป - เสียง ฯลฯ - กลิ่น - รส พดผด ๆ คิดโกรธ - สิ'มผ้ส - สิ่งที่ใจนึกติด คิดหลง พดทจริต (ธรรมารมณ์) ๗. ใจจำสิ่งที่ผิด ๘. ใจติดสิ่งที่ผิดๆ ที่พวกเราทั้งหลายรู้เรื่อง \"กิเลส\" ก็เพราะพระสัมมาส้มพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ แล้วพระองค์ทรงเห็น \"กิเลส\" และ \"กลไกการทำลายกิเลส\" ดวามรู้เรื่องกิเลสจึงเกิด ขึน เพราะการตรัสรู้ของพระสัมมาส้มพุทธเจ้า การบังเกิดขึ้นของพระพุทธองค์จึงมี พระคุณมหาศาลต่อขาวโลก เราจึงควรศึกษาเปรียบเทียบว่า ก่อนการตรัสรู้ พระสัมมาส้มพุทธเจ้าและนัก ปราชญ์ทั้งหลายศึกษาเรื่องนี้ต่างกันอย่างไร พระองค์จึงทรงประสบความสำเร็จใน การค้นพบ \"กิเลส\" และ \"กลไกการทำลายกิเลส\" ๑๐๐ www.kalyanamitra.org

^ กฎแห่งกรรม ^ กฎแห่งกรรมคืออะไร กฎแห่งกรรม คือ กฎแห่งการกระทำ เป็นกฎแห่งเหตุและผล เป็นกฎของ ธรรมชาติ คือ ธรรมฝ่ายใดเกิดขึ้นในใจก็ทำกรรมฝ่ายนั้น เกิดกุศลธรรมก็ประกอบ กุศลกรรม เกิดอกุศลธรรมก็ประกอบอกุศลกรรม อย่างนี้เรียกว่า ธรรมซาติ กฎแห่งกรรมเป็นเรื่องราวความเป็นจริงของชีวิต คือ ประกอบเหตุอย่างปี ก ต้องมีผลอย่างนั้น ประสบผลอย่างนี้เพราะประกอบเหตุมาอย่างนัน กรรม คือ การกระทำทางกาย ทางวาจา และทางใจ จะดีหรือซัว เจตนา หรือไม่ จะน้อยหรือมาก ทุกเพศทุกวัย ล้วนมีผลทั้งสิ้น ที่ไม่มีผลไม่มีเลย ผลบาง อย่างปรากฏในป้จจุบันทันตาเห็น บางอย่างเห็นผลตอนตายไปแล้ว กฎแห่งกรรมน ไร้ความปรานี ไม่มีฃ้อยกเว้นให้กับใครๆ ไม่จำกัดเชีอชาติ ภาษา ศาสนาใดกตามใน โลก จะอยู่บนดิน บนนั้า บนอากาศ ดวงจันทร์ ดวงดาว ก็หนีกฎแห่งกรรมไม่พ้น แม้แต่พระสัมมาล้มพทธเจ้าของเราในสมัยที่ยังเป็นพระบรมโพธิล้ตร์ คืยัง ต้องเสวยวิบากกรรม เพราะกรรมติดตามตัวเราไปทุกที่ทุกสถาน เหมีอนเงาติดตาม ตัว เมื่อเรายังหนีตัวเราไม่พ้น เราก็หนีกฎแห่งกรรมไม่พ้นเหมือนกัน กฎหมายหรอ กฎเกณฑ์อะไรบางอย่างในโลกที่มนษย์สมมติกันขึ้นมา ยังหลีกเลี่ยงเปลี่ยนแปลงได้ ปีนื้1ซ้อย่างนี้ ปีหน้าเปลี่ยนไปอีกอย่าง แต่กฎแห่งกรรมไม่เคยเปลียนแปลง เพราะ ฉะนั้น \"ทำดีย่อมได้ดึ ทำ ชั่วย่อมได้ชั่ว ทำ ดีได้ชั่วไม่มี ทำ ชั่วได้ดีก็ไม่มี\" ร) www.kalyanamitra.org

ตารางแสดงกุศลกรรมบถและอกศลกรรมบถ จัดตามฐานที่เกิด ฐานที่เกิดกรรม กุศลกรรมบถ อกุศลกรรมบถ กายกรรม ร). งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ที่ยังมีซีวิต ๑. การจงใจทำลายขีว้ต ๖. งดเว้นจากการลักขโมยของผู้อื่น ๒. การจงใจสักขโมยของผู้อื่น ๓. งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม ๓. การจงใจประพฤติผิดในกาม วจีกรรม ๑. งดเว้นจากการพูดเท็จ ๑. การจงใจพูดเท็จ มโนกรรม ๒. งดเว้นจากการพูดส่อเสืยด ๒. การจงใจพูดส่อเสิยด ๓. งดเว้นจากการพูดคำหยาบคาย ๓. การจงใจพูดคำหยาบคาย ๔. งดเว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ ๔. การจงใจพูดเพ้อเจอ ๑.ไม่คิดเพ่งเลึงอยากโต้ส์งของของผู้อื่น ๑.คิดเพ่งเล็งอยากไต้สิงของของผู้อื่นฺ ๒.ไม่คิดปองร้ายเบียดเบียนผู้อื่น ๒. คิดปองร้ายเบียดเบียนผู้อื่น ๓. คิดถูกเห็นถูก ๓. คิดผิดเห็นผิด ในเรื่องกรรมและการให้ผลของกรรมนี้ ท่านได้จำแนกกรรมออกเป็น ๑๒ อย่าง ด้งนี้ ประ๓ทหี่ ๑ กรรมให้ผลตามกาล มี ๔ อย่าง คือ ๑. ทิฏฐธรรมเวทปิยกรรม คือ กรรมให้ผลในป้จจุปันชาติ หมายถึง กรรมด- กรรมชั่วให้ผลในป้จจุปันชาติ ๒. อุปป้ขฃเวทปิยกรรม คือ กรรมให้ผลในชาติหน้า หมายถึง กรรมดี-กรรม ชั่วให้ผลในชาติหน้า ๓. อปราปริยเวทปิยกรรม คือ กรรมให้ผลในชาติต่อๆ ไป หมายถึง กรรมดี- กรรมชั่วให้ผลในชาติต่อๆ ไป ๔. อโหสิกรรม คือ กรรมเลิกให้ผล หมายถึง กรรมดี-กรรมชั่วไม่มีโอกาสให้ ผล กรรมชนิดนี้จะกล่าวคู่กับการให้ผลของกรรมฃ้อที่ ๑, ๒, ๓ จึงจัดเป็นกรรมอีก อย่างหนึ่ง imnwa ๑๐๒ www.kalyanamitra.org

ประ๓ทที่ ๒ กรรมให้ผลตามลำดับกำลัง มี ๔ อย่าง คือ ๕.ครุกรรม คือ กรรมหนก หมายถึง กรรมดีหรือกรรมชั่วที่ทำหน'กมาก ได้แก่ อนันตริยกรรม มีฆ่าพ่อแม่ เป็นด้น ๖.พทุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม หมายถึง กรรมดีหรือกรรมชั่วที่ทำบ่อยจน เสพคุ้น ๗.อาลันบกรรม คือ กรรมใกลัตาย หมายถึง กรรมดีหรือกรรมชั่วที่ทำให้ ระถึกถึงตอนใกล้ตาย ๘.กดัตตากรรม คือ กรรมสักแต่ว่าทำ หมายถึง กรรมดีหรือกรรมชั่วที่ทำไป โดยมีเจตนาอ่อน ประ๓หที่ ๓ กรรมให้ผลตามหน้าที่ มี ๔ อย่าง คือ ๙.ชนกกรรม คือ กรรมนำไปเกิด กล่าวคือ กรรมดีหรือกรรมชั่วนำไปเกิด ๑๐. อุป็ตลัมภกกรรม คือ กรรมสนับสบุน หมายถึง กรรมดีหรือกรรมชั่ว สนับสบุน ๑๑.อุปปีฬกกรรม คือ กรรมบีบคั้น กล่าวคือ กรรมดีหรือกรรมชั่วบีบคั้น ๑๒.อุปฆาตกกรรม คือ กรรมตัดรอน กล่าวคือ กรรมดีหรือกรรมชั่วตัดรอน ๑๐Gท www.kalyanamitra.org

ตารางสรุปจาก \"จูฬกัมมวิภังคสูดร\" ว่าด้วยเรื่องกฎแห่งกรรม ทำ ให้คนแตกต่างกัน ลำ ดับที่ อกุศลกรรม กุศลกรรม เหตุ ผล เหตุ ผล ๑ ฆ่าสัตว์ อายุสั้น ไม่ฆ่าสัตว์ อายยีน ๒ เปียดเบียนสัตว์ มีโรคมาก ไม่เบียดเบียนสัตว์ มีโรคน้อย ๓ เป็นผ้มักโกรธ ผิวพรรณเศร้าหมอง ไม่เป็นผ้มักโกรธ ผิวพรรณผ่องใส ๔ มีใจริษยา มีอำ นาจน้อย ไม่มีใจริษยา มีอำ นาจมาก ๕ ไม่ให้ทาน มีโภคะน้อย ให้ทาน มีโภคะมาก ๖ กระด้าง เกิดในตระกูลตํ่า ไม่กระด้าง เกิดในตระกูลสูง เย่อหยิ่ง ไม่เย่อหยิ่ง ไม่อ่อนน้อม มีความอ่อนน้อม ๗ ไม่เข้าไปหา มีบีญญาทราม เข้าหาสมณพราหมณ์ มีบีญญามาก สอบถามถึงเรื่อง สมณพราหมณ์ ที่เป็นกุศล อกุศล สอบถามถึงเรื่อง เป็นต้น ที่เป็นกุศล อกุศล เป็นต้น ในระหว่างการเวียนว่ายตายเกิดนั้น กฎแห่งกรรมของแต่ละทำงานกันอย่าง เต็มที่ไม่มีหยุดพัก ไดโอกาสเมื่อไรก็จะส่งผลให้ทันที ดังจะเห็นได้ว่าชีวิตของเราเอง บางเวลาก็ดี บางเวลาก็ร้าย เมื่อกรรมดีให้ผลก็เกิดความสุข เมื่อกรรมชั่วเบ่งบาน ก็เกิดความทุกข์ระทมแสนสาหัส ๑๐๔ www.kalyanamitra.org

ซี่งบุคคลที่เวียนเกิดมาเป็นมนุษย์นั้น มีลักษณะ ๔ อย่าง ดังนี้ ๑. บุคคลมืดมามืดไป คือ เกิดเป็นมนุษย์ที่อยูในตระภูลตํ่า และยังมีใจตํ่า ประพฤติทุจริตทางกาย วาจา ใจ เมื่อละโลกแล้วจึงไปสู่ทุคติภูมิ ๒. บุคคลมืดมาสว่างไป คือ เกิดเป็นมนุษย์ที่อยู่ในตระภูลตํ่า แต่มีใจสูง ประพฤติสุจริตทางกาย วาจา ใจ เมื่อละโลกแล้วจึงไปสู่สุคติภูมิ ๓. บุคคลสว่างมามืดไป คือ เกิดเป็นมนุษย์ที่อยู่ในตระภูลสูง แต่ใจตํ่า ประพฤติทุจริตทางกาย วาจา ใจ เมื่อละโลกแล้วจึงไปสู่ทุคติภูมิ ๔. บุคคลสว่างมาสว่างไป คือ เกิดเป็นมนุษย์อยู่ในตระภูลสูง และยังมี จิตใจที่สูง ประพฤติสุจริตทางกาย วาจา ใจ เมื่อละโลกแล้วจึงไปสู่สุคติภูมิ ประโยชน์ของการสืกษาเรื่องกฎแห่งกรรม กรณีที่เราคึกษาเรื่องกฎแห่งกรรม ย่อมก่อให้เกิดประโยฃน์มหาศาล จะ ทำให้เราเป็นผู้มีความประพฤติปฏิยัติไปในทางที่ถูกต้อง รู้ทั้งคุณและโทษ แล้วเลือก ทำ แต่คุณความดีอย่างเดียว สามารถยกระดับจิตของเราจากปุลุฃนสู่ความเป็นพระ อริยบุคคลได้ ซึ่งจะขอยกประโยชน์สำดัญๆ มาแสดงพอเป็นตัวอย่างเบื้องต้น ดังนี้ ๑. ทำ ให้เรามืกำลังใจ กระตือรือร้นในการทำแต่กรรมดี และไม่สร้างกรรม ชั่วเพิ่มขึ้นอีก ๒. เกิดศรัทธามั่นคงในเรื่องกฎแห่งกรรม ๓. ทำ ให้ทราบว่าเราสามารถออกแบบลิขิตชีวิตของเราเองไต้ทั้งในโลกนี้ และโลกหน้า ๔.ทำ ให้สามารถตั้งเป้าหมายชีวิตได้ถูกต้อง ไม่ประมาทในการดำเนินชีวิต ๔. ทำ ให้สามารถตักเตือนตนเอง และทำหน้าที่กลยาณมิตรแนะนำผู้อื่นให้ ประพฤติชอบตามหลักกฎแห่งกรรม ๑๐๔ www.kalyanamitra.org

สรุปสาระสำคัญในเรื่องกฎแห่งกรรม มีดังต่อไปนี้ คือ ๑. ถ้ายังไม่หมดกิเลส ก็ต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏสงสารอย่างไม่มีสัน สุด ๒.ไม่ว่าจะเวียนว่ายตายเกิดเป็นมนุษย์ เป็นสัตว์เดรัจฉาน หรือเกิดเป็นอะไร ก็ตามแต่ ก็ยังมีวิบากกรรมทั้งดีและชั่วอีกเป็นจำนวนมากมายนับไม่ถ้วนรอเข้าคิว ส่งผล บางคนประสบความทุกข์จากเรื่องราวในชีวิตจึงฆ่าตัวตายเพื่อหนีทุกข์ แต่ หารูไม่ว่ายังจะต้องเจอทุกข์ต่ออีก เหมือนหนีเสือปะจระเข้ ฉะนั้นให้พยายามแกไข ป้ญหาด้วยวิธีการตามหสักไตรสิกขา ถึงชาตินี้จะไม่ดีขึ้นมาก แต่ชาติต่อไปก็อาจ พ้นวิกฤติปีญหาเซ่นนี๋ไปได้ ๓. การพสัดไปในอบายภูมิเป็นภัยของสังสารวัฏ เพราะการกสับมาเกิดเป็น มนุษย์อีกเป็นของยาก ยิ่งกสับมาเป็นมนุษย์ข้าเท่าไรก็ยิ่งห่างไกลจากการหลุดพ้น มากขึ้นเท่านั้น และยังเสี่ยงต่อการสร้างกรรมใหม่เพื่มอีก ผลกรรมก็เพิ่มเป็นทวีคูณ ๔. จะต้องสืกษาเรื่องกรรมให้เข้าใจเป็นอย่างดี เพื่อนัาไปใข้ไนการดำเนิน ชีวิตไมไห้ตกตื้า จะได้ท่องอยู่ไนสุคติภูมิอย่างเดียวจนเข้าสู่พระนิพพาน โดยที่ไม่ พลัดไปสู่อบายภูมิเลย ๔. ฮดมั่นในอุดมการณ์จาวพุทธ คือ ละชั่ว ทาดี กลั่นจิตให้ผ่องใส ๑๐๖ www.kalyanamitra.org

สรุปข้อปฏิบัติจากการสิกษาเรื่องกฎแห่งกรรม มีดังต่อไปนี้ คือ ๑. ความผิดพลาดในอดีตให้ลืมให้หมด อย่านึกถึงอีก เพราะจะทำให้วิบาก กรรมที่เป็นบาปอกศลไดัซ่องส่งผล ทำ ให้เกิดความทุกข์กายทุกซ่ใจ ๒.ความชั่วทั้งปวง บาปอกุศลใหม่ไม่ทำอีก ๓. เมื่อทำความดีแล้ว ให้ตามระลึกนึกถึงปอยๆ เพราะบุญกุศลเกิดขึ้น ๓ วาระ คือ ก่อนทำ ขณะทำ และหลังจากทำไปแล้ว เมื่อทำอย่างนี้ กรรมฝ่ายกุศลจะ ได้ซ่องส่งผลให้มีแต่ความสุขกายสบายใจ ๔.หมั่นทำความดีเป็นประจำทุกวน ทุกสัปดาห์ การทำความดีปอยๆ ย่อม เกิดเป็นบุญกุศลเพิ่มขึ้น เพราะบุญมาพร้อมกับความสุขความเจริญ และเป็นเบื้อง หลังของความสำเร็จทุกประการ ทั้งในชีวิตความเป็นอยู่ การศึกษาเล่าเรียน และ การประกอบธุรกิจการงานต่างๆ ซึ่งทุกอย่างล้วนต้องอาศัยบุญเป็นเครื่องนำไปสู่ ความสำเร็จทั้งสิ้น ๕. หมั่นมั่งสมาธิสมั่าเสมอทุกวัน เพื่อกลั่นจิตของตนให้ผ่องใส เพราะจิตที่ ผ่องใส ย่อมทำให้เรามีกำลังใจในการทำความดีให้ยิ่งๆ ขึ้นไป ๑๐๗ www.kalyanamitra.org

5 SI กฎแห่งกรรม Q ®ไฅรรฎ ^ ^(^กๆ-พใฟัผแพาMกา«J (: 5)รรรมนาaการส่งนราเ&งกรรม ท1«นไนธค็เทาท «.อฟิฬชาฟิ a อุปมาฝาคา ftiaR CC การมใส่นรใน ทรามใส่N»ใน ทรามใส่MBใน > ฝาในมร่ทรมฺหร + ชา ฬงจปัน ชาส่นส่า ชาส่ปัทไช มก. ๔»/๒«๙ T ♦ f t tt tt การม ๒.ใขากกรรมโนอสืคชาร ในาก กา1พ(1|รกใ1%41 ร0ส่งม8นับ1บากไม่รน www.kalyanamitra.org T ท.ไบากกรรมไนอ?เตส่งNB ไม่เฟาfiบเนตฺฟ้ประกอบ ^g)ทาใ๙งพ{พเ&งกรจ^ ฟ้^๕)ๆบากกๆรมจะเนาน-พรพ tf.lD «0ขมา & อโฬรกๆรม ๕.cn รงคมนญมาก ๆ ไปฬัดรอน^บากกรรม tf.c ส่งNBจนหมคการง nnulnn-rw niWIueHo กTBlIu Df^Ou Mttlutfln Movniiu iri* HOOTlll ® - - fe — — / 01 -  ๔-   ๕— -  ^(^ afiwi^g) พุ; กรรม่ในอฟ้คส่ส่^ ปีจจุปนชา^^ น.๒ ทรรมฟ้ฟ่าในอจชุปน ^)ชาฟิพนา/ชา?!ปดไป^ บุญ-ส่รเ 1* ทุกท รบคมปส่ <ทุทร่ •กทรกานเ บญ HywB ท5พนเ1นป้ส่ บเ(เกานา'(fit) 10 บ่าฬ 10 คผคมtm บาป^ทกขุ โรกปยไฟ้เรบ สัตรเทา'าฉๆน •นฦทรกาาM มญนาเครน!ปจ กพฬ■ร ทุทท เปาท 0ฤเ1รกาานบท 10 นาน ชญฬาครอบค'{ร ทุก< ~5ทไนิากิ\" oiiiWD 6 ปีญนาคงคม

[๙. วงจรชีวิต ) ททิร รรามท ทาาเทิก ป้รททแน รแมเ)ทาา เป้าารททาม ® ๏ เป็นร(เ' ๆก/ ทาน :ๆ^ กาา!ทท 4 ฟ่ๆ;นาท A เทรกา โรท/รรารท'วารมม 4 เรรรมรเ)เ)! 4 1. โมกแก' R. มา^มน โทก ปา:โร*เ13 4 Muniiuia า 2 ๏ 2. โมไ* C. รักา โรก 1-4 มาป 1 ๏ 1>. เปาก โรท-เปาทโรท เ 3. โนเป้าไท(เ c.fnรันรท มาท๙<■๖*น 4 4. ไท่(นท 4 ทราม ๏ zr B - fthimMtuaa >ia23/l59 |ปื»1ม1ฬิไท3า:ป้บ I.ป1รโ1ทน«1กน มป้างเานะโป้เร่มก4 I.ปา;ไเแน*'เกH14I กานเป้าไปชุกป้ 3.ปา:โน*ป00า4บ4 เป้า&แทาม 0 กรรมกิ ทรรมทัร d )กรรมในนกกามป้')ทัน ทักาก ^•๒ไทารรเามกาเก1กรรมโกทัทาก (ฐ์กิริ)♦ๆ A.เทาทา /•พ กรรมโม่เกกมา //// y^y/ + ๒./^ •มา{ษก 'y'\"น}^/',,นาท/ กรรม กรรมกีารำจนเป็มรทัก กรรม C.รักรั กรรมโททักาท ทัว -© © © © (ร- D.เปรก - - - ทักว์เกรัพาน - - เปรก กรรมมน'ก - ทักร์นรก C.รกรันาท - ก mui|viJutonio1นก รนไก [๑๓.ฅาร(ดินทางไป^ปรุโณิ^ า}กล04«าทแา ® ราามน 3 ภาท 1. nijjชุป้รนๆ 1. ทแมรไรมน 2. ttiijt) > นาป 3. าเามฟ > เ^แ 2. กรามป็ปิทรไรนน์ 4. ท่านฝป้รนๆ 3- กทินารทรารมน (^ ราปร)ร:รำทั(แ รท)รทาน 3)0กน>130ไ« 3เรรท ใรไมใท ไน่มมนง 1. tfiff<1uKUftfkoaiU4>u«|)uTgQBaffti 1. รนรา^ 2 แนน ®ใจหม64 2. 3uij(y(กรรม) 1. ๆมนร4 luSrtixM 3. ริ้นรา(^)!ญ 2. ร:ร{นร:ไม 3. ไบฬทแมทเปึน *'limmoiNaa 4. ทรามรานาราน ^ ทแพรแ!ใาทนรนท เปีนAbรรป้ fเรแrotnaiTRทก0บนพ1ปีพน1(น0นน0เท (.โไโทามจนเป็นมิทัย Ij(g นทัaกิๆ 2,รํ'ทมากรจนเป็นนิรร 4 ฟ้โร0ไ|1พ่¥นพ่ไ1พิ10น|(นใโ1«:ฑ่รป้รฐไน 3.ท่ารมา!รนเป็นนิรร ๆทพ ไน่พรท่ใปqilวะๆรนca«uii\\ilnniu บารม 10 จนเป็นนิรัน 1V - (^ท^ปป้ธม่ฎบค๊ 3. ท่าทรามกินป้ร ใารํ[ทามมิทรผ่รนๆ 2 V 4. ท่ากวานก!าเม่เฮนปา:รำ ijnJu «Jกทัปกาม' - V 1. ทรามมกทกากโนรกท โาารนโทัทมก ร. าาฟ้นา440มารเป็นปร:รำาJกรัน ใ)โพม่ร4ไร 2. ทรามป้ร นาฟ่รภูกรโาฟ ไม่ท่ารก 3V 4- - www.kalyanamitra.org

ทเ-รุฑิฬบุญไปใฟ้' .ห้กดิบเลกทำสิงไม่ตีทั้งหลาย ««. ล้าไม่ไห้รับการสืกษา หริอ สุาร«สคัวทั้งหลาย หี่เลยไปเฆียดเนยนโว้ น.ลีมอตีทที่มตทสาดให้หมต การสืกษาไม่ฐง ให้ทำบุญ ๖.ยรษ6านจิ«)ให้บญ วธีแก้ไข ท.ร้กษาตีล if, ตีล ๘ให้บรสทร สห้บสนุนส่งเสริมการตีอัษา ๙. ล้าเป็นโรคฝ็วหห้ง ที่ใด้ส์งสมมาไปคั■คัรอ วิบากกรรมที่เตยทำไว้ วบากกรรม .ให้สั่งสมบุญบุกบญอย่างเต็มที่ ล้บทระ'กิกษสามเณร ห้กเริยน ให้{โดกวาดเข็ดถู a นละต่อเนื๋อัง ทั้งการทำทาน ห้กตีกษา และป็กนึลัยรักการ ทำ ดวามสะอาดเสนาสนะ ตีกษา ห้นดว้าหาดวามรั www.kalyanamitra.org (T.Imปสมในบุญทั้ง ท ระยะ รทษาสส นละเจริญสมาร ในเขตสง'ม์ เข่น หอล้น วิหาร วิธแกใข ทงก่อนทำ ขณะทำ นสะ ทาวนา เป็นห้น อุโบสกเจตีบหระพุทธ2ป วบากกรรม หลงจากทำนุล้ว ให้หมํ่■นนึก เป็นตน และทวายมาไตรจิวร ทงบุญที่ไห้สั่งสมมาทั้งหมห «๐. ล้าเป็นโรคทเกยวกับตา . แด่พระภทษสงฟ้ ให้ทำบุญทวายโคมประทํป จุดประฑปบูขาทระรัทนตรัย มองดนห้วยจิตเมตดา 0<ะ.ทาญาดิมิตรใกล้ห้วยุ้ง «น. ล้าล่วงเก้นทระรัดนดว้น «๙.หมั่นปฏิบัติธรรมให้เข้ากึง «๖.การทำบุญใส่ขึ้อผู้ดาย ไม่มิดรทธา โม่เข้าใจเรื่องบุญ จะไห้บุญเดมที่กวํ้าใส่ร ให้ท่าบุญใส่ธึ๋อญาดิมิดรแลว บุทการิ ล้หล้ก^หญ่ หระธรรมกาย ก็จะไปตัดรอน วิบากกรรมไห้เริวขึ้น ตนเองแล้วอุทิศไปให้ อรนฐานจิทฬามตวาม มูมิตีลมิธรรม ใหไปกราบ ขอขมา ขออโหสิกรรม วิธึแก้ไข ปรารทนาไปก่อน «ท.ล้าเป็นภรรยาเบี่อขวิด วบากกรรม วิธแกใข ตรองเริอนอยากเป็นนู้ขาย «๔.ให้สำรวจดูว่าในบัจจุบันขาดิ ®0».ในว้นพระขึ้น «๔ คํ่า วบากกรรม ให้ดูแลปรนนึนดิลามิ ประดุจเทวดา หาโอกาส เรามิดวามบกหร่องเรื่องใด ให้ทำบุญใหญ่อุทิศเจาะจง «๔.ล้าจะแก้ไขวิบากกรรม ไปให้หมู่ญาติทล่วงล้นไปแล้ว เจาขูให้รกษาสืล ๘ รักษาสิล ๔ เมื่อทำบุญทุกบุญ บัาง เซ่น รูปวิบัติ ทรัพย์วิบัติ หากหมู่ญาติมิตรอยู่ใน แล้วอรษฐานจิตให้(ด ยมโลก จะรับบุญไดเต็มที่ อย่างห้อยบุกว้นทระ หริอดุณวิบ'ติ เมื่อสั่งสมบุญ เกิดเป็นข'าย จนตลอดรวด แล้วใหอรษฐานจดแก้ไข ความบกพร่องนั้น

^ สัมมาทิฐิ®เบื้องต้น ^ สัมมาทิฐิ ๑๐ คือ ความเข้าใจถูกเรื่องซีวิต และความจริงของโลก องค์ประกอบของสัมมาทิฐิ ๑๐ ก. หสักการดำเนินข้วิตให้เป็นสุข ๔ ๑. ทานมีผลจริง ๒. การสงเคราะห์มีผลจริง ๓. การบูซามีผลจริง ๔. ผลวิบากแห่งกรรมที่ทำดี - ซั่วมีจริง ข. ความจริงประจาโลก ๖ ๑.โลกนี้มีจริง ๒.โลกหน้ามีจริง ๓. มารคามีจริง ๔. บิดามีจริง ๔.โอปปาติกะมีจริง ๖. พระพุทธเจ้ามีจริง ๑. บาลีเขียน สัมมาทิฏฐิ ๑๑๑ www.kalyanamitra.org

ร I. ธ' ก. หลกการดำเนิน?วิตให้เป็นสุข ๔ ประการ ความเข้าใจถูก ที่มา คุณค่า ๑. หานมีผลจริง ฃีวิตจะเป็นสุขได้ ฃาวโลกต่าง เพราะการกักตุน หวงแหน ทาน คือ การแบ่งป้น อย่าง (อตฺถิ ทินฺนํ) ด้องรู้จักแบ่งปินกันอยู่-กิน-ใช้ อย่างเหมาะสมและถูกวิธี แย่งขิง เอาเปรียบกัน เป็นผลให้ เหมาะสมจึงเป็น การป้องกัน - www.kalyanamitra.org ทรัพยากรในโลกแมมีพอเพียง แกิไขป้ญหาเศรษฐกิจคFhงถก ให้คนทิ้งโลกอาศัยอยู่-กิน-ใช้กัน วิธี และเป็นที่มาแห่งบุญกุศล ทั่วหน้า แต่ต้องขาดแคลนลง จึง ๒. การสงเคราะห้มีผลจริง ซีวิตจะเป็นสุขได้ ซาวโลกต่าง เพราะการซํ้าเติม ทอดทิ้ง ผู้ การสงเคราะห์ คือ การมีกรุณา ต้องไม่ทอดทิ้ง ไม่ซํ้าเติมผู้ใด ตกทุกข!ด้ยาก ก่อให้เกิดความ จิตยอมสละทรัพย์ ความรู้ ความ (อตฺถิ ยิฎฐํ) ยามตกทุกข!ด้ยาก แต่พยายาม เคียดแค้น ขิงขัง พยาบาท และ สามารถ ความสะดวกสบาย ข่ายเหลือซึ่งกันและกัน อย่าง ทับทวีความยากไร้ จึงกลายเป็น ข่วยแก้ไขบรรเทาทุกข่ให้เพื่อน เหมาะสมถูกวิธี ป้ญหาสังคมโลก แก้ไขปีญหาสังคมอย่างถูกวิธี

ความเข้าใจถูก ที่มา คุณค่า ๓, การยกย่องบูชามีผลจริง ซีวิตจะเป็นสุขได้ ซาวโลกต่าง เพราะการจัองจับผด คิดใส่ร้าย การยกย่องบูซา คือ การมีใจ (อตฺถิ ทุต)ํ ด้องยกย่องบูซาคนดี มุ่งจับ บีายสี เหยียบยรคุณความดีของ ขื่นซมยินดี ในความดีที่คนดีทำ ผู้อื่น มุ่งทำลายคนดี ให้ห้อแห้ ไว้ แล้วแสดงออกอย่างเหมาะ ถูก ด้นหาความดีซี่งกันและกัน เสียหาย จึงกลายเป็น บีญหา สมแก่ผู้ทำความดีนั้น และ พบแล้วก็ประกาศเกียรติคุณ สิปี^^'ไ ประกาศเกียรติคุณความดีนั้นแก่ www.kalyanamitra.org ให้กำลังใจกัน สนับสนุนกัน คนทั่วไป เป็นการให้กำลังใจให้ ทำ ความดีให้ยิ่งๆ ขึ้นไป ทุกคนตั้งใจทำความดียิ่งๆ ขึ้น ไา1 จึงเป็นการบีองกัน - แกัใข ๔. ผลวิบากแห่งกรรมดี-ชั่ว ชีวิตจะเป็นสุขได้ ซาวโลกต่าง เพราะแยกไม่ออกว่าอะไรคือ การแยกแยะได้ว่า อะไรคือ มีผลจริง ต้องละเว้นกรรมชั่วโดยเด็ดขาด ความดี-ความชั่ว และผลกรรมที่ กรรมดี-ชั่ว และผลแห่งกรรม (อด.ลิ สุกฎ-ทุกกฏานิ ตั้งใจทำแต่กรรมดีให้เต็มที่ จะตามมา ต่างทำอะไรตามใจตัว นั้นๆ ที่ตนต้องรับ คนฉลาด ๑.เพื่อปัองกันการเบียดเบียนทั้ง ก่อให้เกิดผลร้ายแก่ตนเอง และ ย่อมละเว้นกรรมชั่วโดยเด็ดขาด กมฺมาน่ ผสํ วิปาโก) ตนเองและผู้อื่นให้เดีอดร้อน สังคมอย่างหนัก จึงกลายเป็น และทำแต่กรรมดีอย่างทุ่มเท ๒.เพื่อเพื่มพูนคุณความดีให้แก่ บีญหาการปกครองตลอดมา ตนเองและสังคม ©_ ริ 3

I a ข.ความจริงประจำโลก ๖ ประการ ความเข้าใจถูก ๑.โลกนี้มีจริง ความสุข-ทุกข เจริญ-เสือม ที่บุคคลได้รับในปิจจุบัน หาได้เกิดขึ้นเองลอย หริอ^เศ'ษตนใดบันดาลไม่ ต่างเกิดจาก (อตุถิ อยํ โลโก) ผลกรรมที่ตนปฦบัติตามหลักการดำเนินซีวิตให้เน้นสุฆ (ร'ในคดต ทั้งคดีต5ทกซาฅิที่[เด้าๆ ร่ทๆเภั•เ เคดืตใาเซาติบี้ ว่า ถูกด้องหริอผิดพลาดเพียงใด นึ้คือความเข้าใจถูกว่า โลกนี้(ตัวเรา) มืที่มาจริง www.kalyanamitra.org ๒.โลกหน้ามีจริง มีความเข้าใจถูกว่า โลกหน้ามีที่ไปจริง คือ ตัวเราหากตายแล้วย่อมไม่สูญ เพราะยังไม่หมดกิเลส ด้องไปเกิดใหม่อีก (อตฺถิ ปโร โลโก) แต่จะเกิดดี-ร้ายประการใด ขึ้นกับยลท!รมจากการปฦบัติตนตามหลักการดำเนินเวิตให้เน้นสุ?!(ร- ทั้งแต่นิคคนัน นี จบกระทังวันละโลก ว่าถูกต้อง-ผิดพลาดประการใด รวมกับผลกรรมในอดีตที่ยังไม่หมดแรงส่งผล หาได้เกิดขึ้น เองลอย หริอผู้วเศษตนใดบันดาลไม่ ๓. มารดามีจริง มารดามีพระคุณต่อบุตรเพราะ ๑. เน้นผู้ให้ชีวิต ๒. เน้นต้นแบบกายมนุษย์ ๓. เลี้ยงดูบุตรจนเติบใหญ่ ร:. อบรมสั่ง (อตฺถิ มาตา) สอนบตรให้ประพฤติดีปฦบัติซอบตามหลักการดำเนินชีวิตให้เน้นสุ?!(ร' แต่มารดาย่อมมีโทษต่อบุตร หากปล่อยปละละเลยไม่อบรมสั่งสอนบุตรตามหลักการดำเนินชีวิตให้เน้นสุข ๔ นี้คือความเข้าใจถกว่า มารดามีพระคุณ -โทษจริง ๔. บิดามีจริง นิดามีพระคุณต่อบุตรเพราะ ๑. เน้นผู้ให้ชีวิต ๒. เน้นต้นแบบกายมนุษย์ ๓. เลี้ยงดูบุตรจนเติบใหญ่ ๔. อบรมสั่ง (อตฺถิ จตา) แต่นิดาย่อมมีโทษต่อบุตร หากปล่อยปละละเลยไม่อบรมสั่งสอนบุตรตามหลักการดำเนินชีวิตให้เน้นสุข ๔ นี้คือความเข้าใจถกว่า บิดามีพระคุณ -โทษจริง

ความเข้าใจถูก ๕.โอปปาติกะมีจริง นรก - สวรรค์ มีจริง ชีวิตในนรกเป็นทุกข์มาก แต่บนสวรรค์เป็นสุขมาก ทังสัตว์นรกและชาวสวรรค์ต่างเกิด (อตถิ สตฺตา ๅๅ^fl,ฤแฤ-,เที่ทัๆVท■๑ทาจ!■ล้ล.ๆผ่าจทัฅทาฯก แลร^ต่างคย่ด้วทผลกรรมจากการดำฌินชีวิตให้เป็นสุข ๔ ที่ตนทำ โอปปาติกา) ไว้เองขณะมีชีวิต ว่าถูกต้อง-ผิดพลาดเพียงใด ใครๆ จึงประมาทชีวิตหลังความตายไม่ไต้ สัคืคควา!แต้าใจถกว่า สัตว์ที่เกิดแบบโอiJปาติกะมีจริง www.kalyanamitra.org ๖.พระพุทธเจ้ามีจริง เป็นธรรมชาติว่า สมณพราหมณ์ผู้ประพฤติดี ปฏิปัติขอบ ม่งกลั่นใจให้ผ่องใสเป็นนิจ สามารถรู้แจ้งแทงตลอด (อตุถิ โลเก โลกนี้ - โลกหน้าไต้ต้วยนิญญาอับยิ่งเอง แล้วเมตตาสอนผู้อื่นให้รู้แจ้งตาม มีอยูในโลกแต่ละยุคสมัยจริง ขาว โทภเาผกท่านค้วทดวา!แคารพอย่างยิ่งว่า พระพุทธเจ้า สมณพุราหุมณา- นี้คืคควาบเข้าใจถกว่า พระพุทธเจ้ามีจริง สมมคฺคตา สมมา-ปฏิปนฺนา) ผลของสัมมาทิฏฐิ ๑. ทำ ให้เห็นทางดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง ๒.ทำ ให้มีกำลังใจที่จะ'ฝืกสมาธิและทำความดีต่างๆ ยิ่งๆ ฃี้นไป สัมมาทิฐิ จึงเป็น แสงเงินแสงทองส่องทางชีวิต I© r ^ s

^ อริยมรรคมืองค์ ๘ ^ หนทางสายกลางเพื่อความดับทุกฃ์ r ฯi (นิพพาน I ความไม่ประมาท ทาด สมมา จิดตสิกขา ภาพรวมพระไตร!)ฎก ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ โดย พระภาวนาวิรยคุณ (เผด็จ ทตฺต^ว) www.kalyanamitra.org

สักษณะ ความหมายเบื้องสูง ความหมายเบื้องตํ่า ๑. สัมมาทิฏฐิ เห็นซอบตรงตามความเป็นจริง มีญาณทำให้ร้- เห็นอริยสัจ ๔ เข้าใจถูกเรื่องโลกและชีวิตตามความเป็นจริง ความเห็นถูก / ถูกต้องสมบูรณ์ เห็บว่าทำดีได้ดี ทำ ขั่วไดัซั่ว บุญบาปมีจริง เข้าใจถูกระดับลึก www.kalyanamitra.org ๒. สัมมาสังกัปปะ น้อมจิตไปเสือกคิด - ดำ ริออกจากกาม - คิดสร้างสรรค์สิ่งดีงามต่างๆ - ดำ ริในอันไม่พยาบาท - คิดไม่หมกบุ่นในอบายมุข ๖ ความดำริถูก เฉพาะสิ่งดีๆ เท่านั้น - ดำ ริในอันไม่เบียดเบียน - คิดไม่มัวเมาในลาภ ยศ สรรเสริญ คิดถูกระดับลึก - คิดไม่อาฆาตจองเวรใครๆ ๓. สัมมาวาจา การพูดในขณะที่ใจใส เจตนางดเว้นจาก ๑.ไม่พูดเท็จ ให้คนอื่นหลงผิดจากความจริง การพูดถูก ไม่ขุ่นมัว หรือเศร้าหมอง - การพูดปด - พูดส่อเสียด ๒.ไม่พูดส่อเสียด ทำ ให้คนแตกสัน - พูดคำหยาบ - พูดเพ้อเจ้อ ๓.ไม่พูดคำหยาบ ทำ ให้ขุ่นเคือง ๔.ไม่พูดพล่อยๆ เพ้อเจ้อ ไร้สาระ ๔.สัมมากัมมันตะ บุ่งการงานให้เกิดขึ้น - เจตนางดเว้นจากการฆ่าสัตว์ ได้แก่การทำการงานโดยสุจริตทุกชนิด การกระทำถูก เฉพาะสิ่งดีๆ เท่านั้น - เจตนางดเว้นจากการสักทรัพย์ ตามความรู้ความสามารถของตน โดย & - เจตนางดเว้นจากการเสพเมถุน - ไม่เบียดเบียนชีวิตร่างกายใครๆ I. - ไม่เบียดเบียนทรัพย์สินกรรมสิทธื๋ใครๆ - ไม่ประพฤติผิดในทางกามารมณ์ต่อใครๆ

I a สักใ2»ณะ ความหมายเบื้องสูง ความหมายเบื้องตํ่า ๕. สัมมาอาชีวะ การกระทำที่บริสุทธึ๋ - บรรพชิต นักบวซ ต้องแสวงหาเลี้ยง - การประกอบอาชีพสุจริตทุกชนิด การเลี้ยงชีพถูก ในการเลี้ยงชีพ ชีพในทางที่ควรแก่เพศของตน - เว้นมิจฉาชีพทุกชนิด ตามพระธรรมวินัยเท่านั้น - เว้นอาชีพผิดกฎหมาย - จารีตประเพณี - ฟ้องกันบาปใหม่ไมให้เกิดขึ้น - เว้นการใข้จ่ายฟ่มเพีอย สุรุ่ยสุร่าย www.kalyanamitra.org ๖. สัมมาวายามะ พากเพียรประคับประคอง - ละบาปอกุศลที่เกิดขึ้นแล้วให้หมดไป พยายามปรับปรุงแก้ไขนิสัยที่ไม่ดีต่างๆ ความพยายามถูก ใจไว้ในตัว เหมือนประคอง - บำ เพ็ญกุศลธรรมที่ยังไม่มีให้มีขึ้น ให้หมดลี้นไป เช่น ความเกียจคว้าน ถาดนํ้ามันเต็มๆ ไมให้หก - รักษาเพิ่มพูนกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ความอิจฉาตาว้อน ความเห็นแก่ตัว ให้งอกงามยิ่งขึ้น สร้างแต่นิสัยดีๆ ขึ้น ๗. สัมมาสติ น้อมใจเข้าไปไว้ในกาย การบำรุงใจให้อยู่ในศูนย์กลางกาย มีความรู้สึกตัวพร้อมอยู่เสมอ ในการบำรุง อย่างต่อเนื่อง ทำ ให้สว่างโพลงภายใน รักษาใจไว้ ณ ศูนย์กลางกายทุกอิริยาบถ ความระลึกถูก ไม่ปล่อยให้เลื่อนลอย เห็บกายในกาย เห็บเวทนาในเวทนา จึงไม่ประมาท ไม่เผอเรอ เห็นจิตในจิต เห็นธรรมในธรรม ๘. สัมมาสมาธิ ใจหยุดนิ่ง ตั้งมั่นในแนวดิ่ง การเข้าฌาน ด้วยการน้อมจิตมาตั้งมั่น ตั้งใจทำความดี ไม่ปล่อยให้ใจฟังซ่าน ความตั้งใจมั่นถูก จึงมั่นคง ไม่หวั่นไหวอยู่ ณ ศูนย์กลางกาย ใจจึงสงบ หยุดนิ่งไป จนถึง!!เกจิตให้ตั้งมั่นภายในกายได้นาน ภายใน ตามลำดับๆ ทำ ให้ใจบริสุทธี้จากกิเลส ตามปรารถนา บรรลุนิพพาน

^ คุณค่าการบวช ^ ความสุฃที่แท้จริง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบความสุฃที่แท้จริงมากว่า ๒,(ะ๐๐ ปี และไค้ ทรงอธิบายสักษณะของความสุขไว้ว่า ความสุขแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. ความสุฃที่ต้องอิงวัตถุ เรียกว่า สามิสสุฃ ซึ่งความสุขชนิดน1ม่ยังยืนถาวร เป็นความสุขปนสับความทุกข์ เป็นความสุฃที่พร้อมจะกลับกลายเป็นความทุกข์ไค้ ตลอดเวลา ๒. ความสุขทางธรรม เรียกว่า นิรามิสสุข ความสุขชนิดนี้เป็นความสุขที่แท้ จริงของมนุษย์ เป็นความสุขที่ไม่กลับกลายเป็นความทุกข์อีก เพราะเป็นที่สิ้นสุดแห่ง ความทุกข์ทั้งปวง เรียกว่า นิพพาน \"การบวช\" หนทางตรงที่นำไปส่ความสุฃที่แท้จริง การเสาะแสวงหานิรามิสสุข ซึ่งไม่ต้องอิงวัตถุภายนอกนั้น มิใซ่สิ่งที่จะค้นพบ สันไค้โดยง่าย แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทุ่มเทสร้างบารมีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมฟัน จนในที่สุดกีทรงค้นพบ และสามารถขี้แนะถุศโลบายอันเป็นหนทางตรงสู่พระนิพพาน ค้วยการออกบวชไว้ว่า \"ฆราวาสนั้นสับนค'บ เปีนทางนาแฟงรลี ส่วนการบรรพชา เป็นเป็นทางปลอดโปร่ง การที่ผู้อย่ครองเร่อนจะประพฤติ'พรหมจรรย์ใ'สับร่สุทd ด้วยดีเหปีอนสังย์ที่ชัดดีแล้ว ไม่ใส่ทำ1ด้โดยง่าย อย่ากระนั้นเลย เรา'พึงปลงผม และหนวด ออกบวชเป็นผู้เม่เกี่ยวชัองด้วยเรือนเถิด\" ทททแเๆแ 6)6)C^ www.kalyanamitra.org

การบวชเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ยาก การที่เราได้มาบวฃ เพราะมี มหาสมบัติ ติดตัวมาครบถ้วนทั้ง ๖ ประการ คือ ๑. กาลสมบัติ คือ มีซีวิตอยู่ในช่วงเวลาที่พระสัมมาสัมพุทธจ้าทรงบังเกิดขึ้น ในโลก หรือช่วงเวลาที่คำสอนของพระองค์ยังมีผู้ถือปฏิบัติสืบทอดอยู่ ๒. คติสมบัติ คือ ได้เกิดเป็นมนุษย์ ไม่ได้พสัดหลงไปเกิดเป็นเปรต เป็น อสุรกาย หรือเป็นสัตว์เดรัจฉาน ๓. อุปธิสมบัติ คือ ได้เกิดเป็นคนแข็งแรง รูปร่างไม่พิกลพิการ ๔.ประเทศสมบัติ คือ ได้เกิดในประเทศ หรือดินแดนที่มีพระพุทธศาสนาแผ่ มาถึง ๕.ตระภูลสมบัติ คือ เกิดในตระกูลที่พ่อแม่บับถือพระพุทธศาสนา เป็นสัมมา ๖. ทิฐิสมบัติ คือ ไม่เป็นคนมิจฉาทิฐิเสิยเอง แต่มีใจฝิกใฝ่ธรรม บุ่งมั่นที่จะ เป็นคนดิ บวชสร้างบารมีอย่างพระสัมมาส้มพุทธเจ้า วัตถประสงค์ของการบวช ก็คือ บวฃเพื่อทำพระนิพพานให้แจ้ง หรือบวช เพื่อกำจัดทุกข์นั่นเอง เพราะฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่า การบวชเหมือนการถากลางทาง ไปพระนิพพาน ดังนั้นเมื่อบวชแล้ว เราก็ต้องตั้งใจทำความดิ ฉกฝนอบรมตนเองเพื่อ ชำ ระกิเลสให้หมดสิ้นไป ตามอย่างที่พระสัมมาส้มพุทธเจ้าท่านได้ทำไว้เป็นแบบอย่าง ๑๒๐ www.kalyanamitra.org

อานิสงส์ของการบวช กล่าวโดยย่อ อานิลงส์ฃองการบวซแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ ประ๓ทที่ ๑ อานิสงส์หลัก ได้แก่ ก.กรณีของผู้หมดกิเลส สำ เร็จเป็นพระอรหันต์ ย่อมได้รับอานิสงส์ คือ ทุกข์ เก่าหมดไป ทุกข์ใหม่ก็ไม่เกิดขึ้น คือ หมดกิเลส และเป็นเนื้อนาบุญอันประเสริฐแก่ มนุษย์และเทวดาทั้งหลาย ข. กรณีของตัวผู้บวขเอง จะทำให้เป็นผู้มีความบริสุทธิกาย วาจา ใจ จะได้ นํ้าใจอันงาม หรือที่เรียกว่าเป็นคนมีนํ้าใจ และจะเป็นผู้มีปีญญา ประเภทที่ ๒ อานิสงส์พลอยได้ ได้แก่ ก. อานิสงส์ที่เกิดขึ้นแก่ผู้อื่น เซ่น นิดามารดาได้มีโอกาสใกล้ขิดพระคาสนา มากยิ่งขึ้น หรือแม้สึกออกไปแล้ว บุตรภรรยา บุคคลรอบข้างกอยู่เปนสุข จากการ ที่ผู้บวชมาแล้วมีคืลมีธรรม ขัดเกลาตนเองให้เป็นคนดี มีความบริสุทธิ และประเทศ ชาติก็ได้พลเมืองดีเพิ่มขึ้นด้วย ข. อานิสงส์ทางธรรม คือ เป็นผู้สึบทอดอายุพระพทธศาสนา iiiiniT'io ๑๒๑ www.kalyanamitra.org

^ พระคุณบิดามารดา ^ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสอุปมาถึงพระคุณของบิดามารดาไว้ว่า ถ้าบุตรจะ พึงวางบิดามารดาไว้บนบ่าท้งสองของตน ประคับประคองท่านอยู่บนบ่านั้น ป็อนข้าว ป้อนนํ้า และให้ท่านถ่ายอุจจาระปีสสาวะบนบ่านั้น แม้บุตรจะมีอายุถึง ๑0๐ ปี และ ปรนนิบติท่านไปจนตลอดชีวิต ก็ยังนับว่าตอบแทนพระคุณท่านไม่หมด บิดามารดาเป็นผู้มีพระคุณอันยิ่งใหญ่ โดยสรุปคือ ๑. เป็นต้นแบบทางกาย ที่เราได้เกิดเป็นคน ซึ่งเป็นโครงร่างที่ประเสริฐกว่า สัตว์ทั้งหลาย เหมาะในการทำความดีทุกประการ เพราะเราได้ด้นแบบทางกายจาก บิดามารดานั่นเอง ๒. เป็นต้นแบบทางใจ ให้ความอุปการะเลี้ยงดู ฟูมพึก ทะนุถนอม อบรมสั่ง สอน ปลูกฝังกิริยามารยาท ให้ความรู้ทั้งทางโลกและทางธรรมแก่ลูก คุณธรรมของลูก คุณธรรมที่ลูกพึงมีให้สมคักดศรีของความเป็นลูก มีอยู่ Ig ประการ คือ ๑. กต้ญณู หมายถึง เห็นคุณค่าของท่าน คือเห็นด้วยใจ ด้วยบิญญา ว่าท่าน เป็นผู้มีพระคุณต่อเราอย่างแท้จริง ๒. กตเวท หมายถึง การทดแทนพระคุณของท่าน ซึ่งมีงานที่ต้องทำ ๒ อย่าง คือ ๑. ประกาศคุณท่าน ๖. ตอบแทนคณท่าน ■nwnw ๑๒๒ www.kalyanamitra.org

การประกาศคุณท่าน หมายถึง การทำให้ผู้อื่นรู้ว่าพ่อแม่มีคุณแก่เราอย่างไร บ้าง มากน้อยเพียงใด แต่ส่วนมากไปทำตอนงานศพ คือเขียนประว้ตสรรเสริญคุณพ่อ แมในหนังสือแจก การกระทำเช่นนี้ก็ถูก แต่ถูกเพียงเปลือกนอกผิวเผินเท่านัน ยังมี ทำ เลที่จะประกาศคุณพ่อแม่ที่สำคัญกว่านี้ คือที่ตัวเรานี่เอง ไม่ว่าเราจะตั้งใจประกาศคุณท่านหรือไม่ ความประพฤติของเรากเปนตัว ประกาศคุณท่าน หรือประจานท่านอยู่ตลอดเวลา ลองพิจารณาดูว่าเราจะประกาศ คุณพ่อแม่ของเราด้วยเกียรติยศซื่อเสืยง หรือจะใจดำถึงกับประจานผู้นังเกิดเกล้า ด้วย การทำตัวเป็นพาลเกเรและประพฤติตํ่าทราม การตอบแทนคุณท่าน แบ่งเป็น ๒ ช่วง คือ ๑. เมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ก็ช่วยเหลือกิจการงานของท่าน เลืยงดูท่านตอบเมื่อ ยามท่านฃรา ดูแลปรนนินัติการกินอยู่ของท่านให้สะดวกสบาย และเอาใจใส่ช่วย เหลือเมื่อท่านเจ็บป่วย ๒. เมื่อท่านล่วงตับไปแล้ว ก็จัดพิธีศพให้ท่าน และทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้ ท่านอย่างสมํ่าเสมอ แม้ว่าเราจะตอบแทนพระคุณท่านถึงเพียงนี้แล้ว ยังนับว่าเล็กน้อยมากเมื่อ เทียบกับพระคุณอันยิ่งใหญ่ที่ท่านมีต่อเรา ผู้ที่มีความกตัญญกตเวทีต้องการจะ สนองพระคุณท่านให้ได้ทั้งหมด พึงกระทำดังนี้ ๑. ถ้าท่านยังไม่มีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ก็พยายามขักนำให้ท่านตังอยู่ใน ศรัทธาให้!ด้ ๒. ถ้าท่านยังไม่ถึงพร้อมด้วยการให้ทาน ก็พยายามขักนำให้ท่านยินดืในการ บริจาคทานให้!ด้ ๓. ถ้าท่านยังไม่มีคืล ก็พยายามซักนำให้ท่านรักษาคืลให้ได้ ๔. ถ้าท่านยังไม่ทำสมาธิภาวนา ก็พยายามซักนำให้ท่านทำสมาธิภาวนาให้ ๑๒๓ www.kalyanamitra.org

ปรโลกวิทยา คำ ว่า ปรโลกวิทยา ประกอบด้วยคำ ๒ คำ คือ คำ ว่า \"ปรโลก\" หมายถึง โลก หน้า และคำว่า \"วิทยา\" หมายถึง ความรู้ ดังนั้น ปรโลกวิทยา จึงหมายถึง ความรู้ที่ว่า ด้วยโลกหน้า สังสารวัฏ หรือ วัฏสงสาร หมายถึง การเวียนว่ายตาย๓ดจากภพนั้นไปภพนี้ วนเวียนไปตามบุญและบาปที่ตนกระทำ กรรม หมายถึง การกระทำ ประกอบด้วย ๑. กรรมดี คือ การกระทำที่ดีงาม ให้ผลเป็น \"บุญ\" ๒. กรรมชั่ว คือ การกระทำที่มีโทษให้ผลเป็น \"บาป\" สรรพสัตว์ทั้งหลายต่างต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏสงสาร เมื่อเกิดเป็น มนุษย์มีโอกาสทำกรรมดีที่เป็นบุญบ้าง หรือทำกรรมชั่วที่เป็นบาปบ้าง เมื่อตายไป ผลบุญและบาปนั้นก็นำไปสู่ปรโลก หรือโลกหน้า ซึ่งหากทำกรรมดีไว้มาก ปรโลก เบื้องหน้าก็เป็นสุคติภูมิ เซ่น สวรรค์ชั้นต่างๆ เป็นต้น หากทำกรรมชั่วไว้มาก ปรโลก เบื้องหน้าก็เป็นทุคติภูมิ เซ่น อบายภูมิ ต้องเกิดเป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น (ร>.ที่ตั้งปรโลกผ่เายสุคติ คำ ว่า สุคติ หมายถึง สถานที่ที่ดี ที่ใครได้อยู่แล้วย่อมเป็นสุข ดังนั้นผู้ที่ทำกรรม ดีไว้มาก เมื่อตายแล้วก็จะไปเกิดในสุคติภูมินี้ได้แก่ ๑.®มบุสสภูมิมิ®ภูมิ จัดอยู่ในกามภพซึ่งก็คือโลกมนุษย์นั่นเองเป็นภพที่ มนุษย์มาเกิดเพื่อสร้างบุญ -บาป ที่ๆ มนุษย์มาเกิดนี้ มีอยู่ด้วยกัน ๔ทวีป คือ ๑. ปุพพวิเทหทวีป อยู่ทางทิศตะวันออกของภูเขาสิเนรุ ๒.อปรโคยานทวีป อยู่ทางทิศตะวันตกของภูเขาสิเนรุ tnMTvnii ๑๒๙ www.kalyanamitra.org

๓. ซมพูทวีป อยู่ทางทิศใต้ของภูเขาสิเนรุ {โลกของเราก็คือชมพู ทวีปนั่นเอง) อยู่ทางทิศเหนือของภูเขาสิเนรุ ๔. อุตตรกุรุทวีป ๑.๒ เทวภูมิ มิ ๖ ภูมิ จัดอยู่ในกามภพ ประกอบต้วยสวรรค์ขั้นต่างๆ ๖ ขั้น ไต้แก่ อยู่รอบเขาภูเขาสิเนรุ ๑. จาตุมหาราชิกาเทวภูมิ อยู่บนยอดหน้าต้ดของภูเขาสิเนรุ ๒. ตาวติงสาเทวภูมิ อยู่เหนือสวรรค์ขั้นที่ ๒(ดาวดึงส์) ๓. ยามาเทวภูมิ อยู่เหนือสวรรค์ขั้นที่ ๓ อยู่เหนือสวรรค์ขั้นที่ ๔ ๔. ดสิตาเทวภมิ อยู่เหนือสวรรค์ขันที่ ๕ ๕. นิมมานรด่เทวภม ๖. ปรนืมมิตวสจัตดีเทวภูมิ ตารางแสดงอายุฃองซาวสวรรค์เปรืยนเทียนก้'นอายุมนุ''=^ย์ สวรรค์ อายุ ๑วัน®คืนสวรรค์/ อายูขัยฃองชาวสวรรค์ แต่ละชั้น(ล้าน!!มนุษย์) ชันที ๑ จาตุมหาราชิกา {ปีสวรรค์) วัเม'ยุษย์ ชั้นที่ ๒ ดาวดึงส์ ๙ ๕๐๐ ๕๐ ๑)๖ ชันที ๓ ยามา ร},๐๐๐ ๑๔๔ ๑๐๐ ๕๗๖ ชันที ๔ ตุสิต ๒,๐๐๐ ชั้นที่ ๕ นิมมานรดี ๔,๐๐๐ ๒๐๐ ๒,๑}๐๔ ชั้นที่ ๖ ปรนิมมิตวสวัตตี ฝ,๐๐๐ ๔๐๐ ๙,๒๑๖ ๑๖,๐00 ๗๐๐ ๑๖๐๐ ๑๒๔ www.kalyanamitra.org

๑.๓ รูปภูมิ มี ๑๖ ภูมิ หรือที่เรียกว่า พรหม จัดอยู่ในรูปภพ อยู่สูงจากสวรรค์ ขึ้นไปเป็นซั้น ๆ ภูมิที่สูงกว่าจะมีฃนาดใหญ่กว่า แตมบางซั้นที่อยู่ในระดับเดียวกัน ผู้ที่ จะเกิดในรูปภูมิ ต้องเป็นผู้ที่เฃ้าถีงฌาน เข่นปฐมฌาน เป็นต้น รูปภูมิมี ๑๖ ขึ้น ได้แก่ ๑. ปารืสัซซาภูมิ ๙. สุภกิณหาภูมิ ๒. ปุโรหิตาภูมิ ๑๐. เวหัปผลาภูมิ ๓. มหาพรหมาภูมิ ๑๑. อสัญญีสัตตาภูมิ ๔. ปริตตาภาภูมิ ๑๒. อริหาภูมิ ๔. กัปปมาณาภาภูมิ ๑๓. อดัปปาภูมิ ๖. อาภัสสราภูมิ ๑๔. สุทัสสาภูมิ ๗. ปริตตาสุภาภูมิ ๑๔. สุทัสสีภูมิ ๘. กัปปมาณสุภาภูมิ ๑๖. อกนิฏฐภูมิ ๑.๔ อรูปภูมิ มี ๔ ภูมิ หรีอที่เรียกว่า อรูปพรหม จัดอยู่ในอรูปภพ มีที่ตั้งสูง กว่ารูปพรหมขึ้นไปเป็นขึ้นๆ ตามลำดับ มีฃนาดใหญ่ขึ้นไปเรื่อย ๆ โดยขึ้นบนสุดจะมี ขนาดใหญ่ที่สุด ผู้ที่จะเกิดในอรูปภูมิ ต้องเป็นผู้ที่เข้าถึงอรูปฌาน เข่น อากาสานญจาย ตนฌาน เป็นต้น อรูปภูมิมี ๔ ขึ้น ได้แก่ ๑. อากาสานัญจายตนภูมิ ๒. ริญญาณัญจายตนภูมิ ๓. อากิญจัญญายตนภูมิ ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ ๑๒๖ www.kalyanamitra.org

๒. ที่ตั้งปรโลกฝ่ายทุคติ คำ ว่า ทุคติ หมายถึง สถานที่ที่เต็มไปด้วยความทุกข์ ที่สัตว1ลกข์งทำกรรม ซั่วจะไปถือกำเนดใหม่หลังจากละโลกนี๋ไปแล้ว ได้แก่ อบายภูมิ มิ ๔ ภูมิ จัดอยู่ใน กามภพ ได้แก่ ๒.๑ นิรยภูมิ(นรก)ตั้งอยู่ใต้เขาตรีกูฏ มีนรก ๘ ขุมใหญ่ เรียกว่า \"มหานรก\" ในแต่ละขุมใหญ่จะมีขุมบริวาร เรียกว่า \"อุสสทนรก\" อยู่โดยรอบทั้ง ๔ ทิศ ทิศละ ๔ ขุม รวมมีนรกขุมบริวาร ๑๒๘ ขุม ลัดจากอุสสทนรกออกไปจะเปนนรกขุมย่อย เรียก ว่า \"ยมโลก\" อยู่โดยรอบทิศทั้ง ๔ ของมหานรก ทิศละ ๑๐ ขุม รวมมีนรกขุมย่อย ๓๒๐ ขุม เมื่อรวมทุกขุมเข้าด้วยลันมิทั้งสิน ๔๕๖ ขุม สำ หรับมหานรกมีทังหมด ๘ ขุม ได้แก่ มหานรก อาq ลัเนรก) ๑วัน®คืนนรก/ ล้าน!เม!jษย์ ล้าน!เม'4ษย์ ๑,๖๒0,000 'บุมที่ ๑ สัญชีวมหานรก dtoo ๙ ๑๒,๙๖0,000 ๑0๓,๖๘0,000 ชุมที่ ๒ กาฬสุตตมหานรก ๑,000 ๓๖ ๘๓®,0๔0,000 ๖,๖๓๔,๔๒0,000 ชุมที่ m สังฆาฏมหานรก ls),ooo 6)๔๔ ๔๓,0๘๔,®๖0,000 ชุมที่ ๔ โรรุวมหานรก ๔,000 ๒๓๔ ชุมที่ ๕ มหาโร^วมหานรก ๘,000 ๙,๒๑๖ ชุมที่ ๖ ดาปนมหานรก ๑๖,000 ๑๘๔,๒๑๒ ชุมที่ c5 มหาตาปนมหานรก มีอายูประมาณครึ่งอันตรกัป ชุมที่ ๘ อเวจีมหานรก มีอายูประมาณ ๑ อันตรกัป ๑๒๗ www.kalyanamitra.org

๒.๒ ติรัจฉานภูมิ หรือภูมิของสัตว์เดรัจฉาน อยู่ภพเดียวกับมนุษย์ ๒.๓ เปตติวิสยภูมิ หรือภูมิของเปรต อยู่ในซอกเขาตรืกูฏก็มี อยู่ซ้อนกับ ภูมิมนุษย์ก«'็๘ม•ี๗ หรือภูมิของอสุรกาย อยูในซอกเขาตรีกูฏก็มิ อยู่ซ้อน ข่ ร ๒๒..๔๔ อสุรกายภูมิ กับภูมิมนุษย์ก<็'ม๘ิ^ ๓. จิตหมองหรือใสเป็นรห'สฝานของโ]รโลก ทุกการกระทำไม่ว่าด้วย ทางกาย ทางวาจา ทางใจ จะถูกบันทึกไว์ในใจของเรา เมื่อ ใกล้จะละโลก ภาพแห่งการกระทำทั้งหมดจะมากรอกสับฉายให้เราเห็น ล้าหากภาพ ทมาฉายเปนภาพแห่งการทำความดี จะทำให้[จผ่องใส และเป็นรหัสผ่านไปสู่สุคติ ภูมิ ตรงกันข้าม ล้าภาพที่ฉายให้เห็นเป็นภาพของการกระทำบาปอกุศล มีผลทำให้ใจ เศร้าหมอง เป็นเหตุให้นำไปสู่ทุคติภูมิ แต่ถ้าใจไมใสไม่หมอง ประเภทบุญก็ทำ กรรม ก็สร้าง เมื่อตายแล้วก็เดินทางไปสู่ยมโลกเพื่อทำการตัดสินบุญและบาป แล้วจึงไปเกิด ตามภพภูมิต่างๆ ต่อไป ๑๒๘ www.kalyanamitra.org

^ จักร ๔ ^ จักร ๔ แปลว่า ธรรมที่นำชีวิตไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ธรรมทัง ๔ ประการปี จึงเป็นธรรมที่ฃ่วยฃับเคลื่อนชีวิตให้ทัาความดีสวนกระแสกิเล?!ได้อย่าง''ต็^ที่ และเปน อุปการะให้Iปสู่ความเจริญรุ่งเรืองทั้งทางโลกและทางธรรมอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย ธรรม๔ ประการคือ ๑. ปฏิรูปเทสวาสะ หมายถึง งานพัฒนาห้องถิ่นให้เหมาะแก่การสร้างความ ดี ได้แก่ อาวาสเป็นที่สบาย อาหารเป็นที่สบาย บุคคลเป็นที่สบาย และธรรมะเป็นที่ สบาย เพื่อให้คนดีได้มีความสะดวกในการสร้างตัว สร้างฐานะ และทำความดีให้มาก ยิ่งขึ้นไป ๒. สัปปุริสูป้สสยะ หมายถึง งานสร้างเครือข่ายคนดีให้เกิดขึ้นรอบตัว ด้วย การเข้าไปผูกมิตรทำความรู้จักคนดี คอยให้การสนับสบุนคนดี ส่งเสริมให้คนดี ถ่ายทอดความรู้ คอยปกป็องภัยอันตราย และยกย่องให้เกียรติ เป็นด้น ๓. อัตตสัมมาปณิธิ หมายถึง การตั้งจิตไว้ในศร้ทธา ศีล สุตะ จาคะ และ ปีญญา การตั้งใจใฝ่ฝืนในทางที่ซอบ การตั้งเป้าหมายอนาคตชีวิตที่ดีไว้ ตั้งใจมั่นคงที่ จะทำสิ่งที่ดีเป็นสุจริต ปฏินัติดำเนินไปตามที่ตั้งใจหรือตั้งเป้าไว้โดยวิถีทางที่สุจริต เว้น วิถีทางที่เป็นทุจริต การทำตัวเหมาะสมแก่ภาวะและหน้าที่ของตน รวมไปถึงความ ฉลาดรู้โนการวางตัวและประมาณตัวในที่ต่างๆ เข่น ควรนั่งที่ไหน ควรทำอะไร ควร พูดอย่างไร เป็นต้น ๑๒๙ www.kalyanamitra.org

๙. ปุพเพกตปุญญตา หมายถึง การมีบุญวาสนามาก่อน บุญ คือสิ่งซึ่งเกิดฃี้น ในจิตใจแล้วทำให้จิตใจใสสะอาด ปราศจากความเศร้าหมองขุ่นมัว ก้าวขึ้นสู่ภูมิที่ดี เกิดฃึนจากการที่ใจสงบ ทำ ให้เลือกคิดเฉพาะสิ่งที่ดี ที่ถูก ที่ควร ที่เป็นประโยชน์ แล้ว พูดดี ทำ ดี ตามที่คิดนั้น บุญเมื่อเกิดขึ้นแล้วย่อมส่งผลปรุงแต่งใจของเราให้มีคุณภาพ ดีขึ้น คือตั้งมั่นไม่หวั่นไหว บริสุทธี้ผดผ่องสว่างไสว นุ่มนวลควรแก่การงาน และบุญที่ เกิดขึ้นนี้ยังสามารถสะสมไว้ในใจได้อีกด้วย ตัวอย่างผลของบุญ คือ การเป็นผู้มีอายุยืน ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีพลานามัย สมบูรณ์ มีผิวพรรณงาม มีอำ นาจ มีคนเกรงใจ รํ่ารวยมีโภคทร้พยัมาก ได้เกิดใน ตระกูลสูง และมีสติปืญญาดี เป็นด้น ะ:;^ www.kalyanamitra.org

^ อิทธิบาท ๔ ^ อิทธิบาท คือ ธรรมที่ทำให้บรรลุถึงความสำเร็จตามที่ตนประสงค์ ประกอบ ด้วยธรรม ๔ ประการ คือ ๑. ฉันทะ ความพอใจรักใครในสิ่งนั้น ซึ่งหมายถึง \"เต็มใจทำ\" ๒.วิริยะ ความพากเพียรในสิ่งนั้น ซึ่งหมายถึง \"แข็งใจทำ\" ๓. จิตตะ ความเอาใจใส่ฝึกใฝ่ในสิ่งนั้น ซึ่งหมายถึง \"ตั้งใจทำ\" ๔.วิมงสา ความหมั่นสอดส่องในเหตุผลของสิ่งนั้น ซึ่งหมายถึง \"เข้าใจทา\" สิ่งที่ข้ดขวางไมให้ประสบความสำเร็จ ๔ อย่าง ๑. ความเบื่องานที่ทำ ๒. ความท้อในงานที่ทำ ๓. ความดูดายในงานที่ทำ ๔. การทำงานอย่างไม่มีประสิทธิภาพ เมื่อแก้ป็ญหาทั้ง ๔ได้หมดสิ้นใป งานจะประสบความสำเร็จ ๑๓๑ www.kalyanamitra.org

ขั้นตอนการปฏิบัติอิทธิบาท ๔ ธรรม ใช้แก้บัญหา ทางปฏิบัติ ๑ ฉันทะ(เต็มใจทำ) เบึ๋องานที่ก้องทำ ผู้ที่จะพอใจในงานที่ทำไก้ก้องรู้ ๒ วิริยะ(แข็งใจทำ) ท้อกับงานที่ทำ ว่าจะมีประโยชน์อะไรเกิดขึ้นจาก ๓ จิตตะ(ตังใจทำ) ดูดายงานที่ทำ งานที่ทำ ๔ วิมังสา(เข้าใจทำ) ทำ งานไม่มี ให้มองอุปสรรคที่ทำให้ท้อ ประสิทธิภาพ เหมือนกับทารกมองขนม ให้มอง คำ \"อุปสรรค\" ว่า\"อุป\"แปลว่า ใกล้, \"สรรค\"แปลว่า สวรรค์ อุปสรรค แปลว่าใกล้สวรรค์เมื่อ มีอุปสรรคแปลว่างานใกล้สำเร็จ ให้ปฏิญาณต่อตนเองเสมอว่า \"ไม่ว่าจะทำงานใดก็ตาม จะ ทำ งานนันให้สำเร็จดีที่สุด\" ให้พัฒนางานที่ทำก้วยการ การศึกษาจากคำรา,สอบถามผู้รู้, ประชุมกันในทีมงาน เป็นก้น ๑๓๒ www.kalyanamitra.org

สัปปุริสธรรม ^ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า \"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๗ ประการ เป็นผู้ควรของคำนับ, เป็นผู้ควรของต้อนรับ, เป็นผู้ควรของทำบุญ, เป็นผู้ควร กระทำอัญซลี, เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ธรรม ๗ ประการเป็นไฉน ดู ก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นธัมมัญณู รู้จักธรรม ๑,อัดถัญญ รู้จักอรรถ ๑,อัดด้ญญ รู้จักตน ๑,มัดตัญญ รู้จักประมาณ ๑,กาลัญญ รู้จักกาล ๑,ปริสัญญ รู้จัถ บริษัท ๑,ปุคคลปโรปรัญญ รู้จักเลือกคบคน ๑\" ไตรปิฎกให้จบทั้งหมดก่อน เพื่อจะได้ทราบว่าพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไรบ้าง ๒. อัดอัญญ คือ ผู้รู้จักอรรถ หมายถึงการรู้เนี้อความ หรือความหมาย ตลอด จนเข้าใจนัยยะต่าง ๆ ในคาสอนของพระสัมมาส้มพุทธเจ้า แล้วสามารถนำมารืเกหัด ปฏิษัติดามจนเกิดผล ๓. อัดตัญญ คือ ผู้รู้จักตน หมายถึงการเป็นผู้สามารถประเมีนคืลธรรนตวาม ดีในตัวเองได้ โดยประเมินผ่านหสักธรรม ๖ ประการ คือ ศรัทธา, ศีล, สุตะ, จาคะ, ปีญญา และปฏิภาณ โดย \"ศรัทธา\" หมายถึง ความเชื่อมั่นที่เปียมล้นด้วยความมั่นใจจนสิ้นสงสัยในพระ ปีญญาตรัสสรู้ธรรมของพระสัมมาส้มพุทธเจ้า \"ศีล\" หมายถึง ความประพฤติที่ดี และ เรืยบร้อย ทางกายและวาจา \"สุดะ\" หมายถึง การหมั่นแสวงหาความรู้ทางธรรม \"จาคะ\" หมายถึง การสละ ไต่แก่ การสละสิ่งของ, สละความสะดวกสบาย (ร)๓๓ www.kalyanamitra.org

และลละอารมณ์ เป็นต้น \"ปัญญา\" หมายถึง ความรอบ^นความจริงของชีวิต เซ่น รู้ว่าชีวิตปีเกิดขึ้น ตั้ง อยู่ และเสื่อมสลายไป เป็นต้น \"ปฏิภาณ\" หมายถึง เชาว์ปัญญาในการกล่าวแก้ หรือการโต้ตอบอย่างฉับ พลัน ๔. มัตตัญญ คือ ผู้รู้จักประมาณ หมายถึงการรู้จักประมาณในการรับปัจจัย ๔ คือไม่รับมากเกินไป ไม่น้อยเกินไป ผู้ที่เป็นมตตัญญจึงต้องรู้จักความพอดี พอควร และพอประมาณ ๔. กาลัญณู คือ ผู้รู้จักกาล (เวลา) หมายถึงการเป็นผู้รู้ว่าต้องใช้เวลาลับ ภารกิจที่สำคัญที่สุดในแต่ละวัน ๔ เรื่องก่อนภารกิจอื่น คือ กาลเรืยน, กาลสอบถาม, กาลทำความเพียร และ กาลหลีกออกเร้น \"กาลเรียน\" คือ ใช้เวลาลับการคืกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย เพื่อจะน้ามา เป็นกรอบในการปฏิน้ตไต้อย่างถูกต้อง \"กาลสอบถาม\" คือ ใช้เวลาลับการซักถามหัวช้อธรรมที่ตนเองสงลัยลับพระ อาจารยํห๙ริ4อผู้1ร/1ู/ \"กาลประกอบความเพียร\" คือ ใช้เวลาลับการเจริญสมาธิภาวนา \"กาลหลีกออกเร้น\" คือ ใช้เวลาลับการปลีกคัวจากหมู่คณะ หาที่สงบสงัด ละเว้นจากคลุกคลี เพื่อปฏิบตธรรมเจริญสมาธิภาวนาให้ต่อเนื่อง เซ่น ๗ วัน ๑๔ วัน หรือนานกว่านั้น เป็นต้น โดยสรุปแล้ว เวลาทั้ง ๔ ก็คือ การศึกษาธรรมะในภาคทฤษฎี และภาคปฏิษัติ คือการเจริญสมาธิภาวนานั้นเอง ๖. ปริลัญณู คือ ผู้รู้จักบริษัทหรือชุมชน หมายถึงการรู้จักธรรมเนียมปฏิบัติ ลันดีงามในคนกลุ่มต่างๆ ๔ กลุ่ม ที่เป็นกลุ่มสำคัญในลังคม ทั้งนี้เพื่อที่จะสามารถปรับ คัวและวางคัวไต้อย่างเหมาะสมลับบริษัทนั้น หรือสังคมนั้นโดยไม่เสียธรรม กลุ่มคน ทั้ง ๔ กลุ่ม ได้แก่ พพ่พพิพ ๑๓๔ www.kalyanamitra.org

กลุ่ม \"กษัตริย์\" คือ กลุ่มนักปกครอง หรือผู้บริหารบ้านเมือง กลุ่ม \"พราหมถ!\" คือ กลุ่มผู้ที่มืความรู หรือผู้นำทางความคิด กลุ่ม \"คฤหบดี\" คือ กลุ่มนักธุรกิจ หรือผู้ที่เลี้ยงตนเองได้ กลุ่ม \"สมณะ\" คือ นักบวชในศาสนาต่าง ๆ ๗.ลุ่คคลปโรปรัญณู คือ ผู้รู้จักบุคคล หมายถึงการรู้จักแยกแยะบุคคล หรือดู คนให้ออก ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะได้ทราบว่าจะสอนธรรม หรือแนะนำบุคคลเหล่านั้นอย่างไร โดยทรงให้แยกแยะบุคคลออกดังนี้ ๑)ต้องการเห็นพระ หรือไม่ต้องการเห็นพระ โดยพระองค์จะทรงติเตียนกลุ่มหลัง (พวกที่ไม่ต้องการเห็นพระ) และทรงสรรเสริญ กลุ่มแรก (พวกที่ต้องการเห็นพระ) แลัวให้แยกพวกแรกออกไปเป็นอีก ๒ กลุ่มอย่างนี เรื่อยไป คือ ๒) ต้องการฟ้งธรรม หรือไม่ต้องการฟ้งธรรม พวกต้องการฟ้งธรรม แยกออก เป็น ๓)ตั้งใจฟ้งธรรม หรือไม่ตั้งใจฟ้งธรรม พวกตั้งใจฟ้งธรรม แยกออกเป็น ๔)ตั้งใจทรงจำธรรม หรือไม่ทรงจำธรรม พวกตั้งใจทรงจำธรรม แยกออกเป็น ๔) พิจารณาธรรมที่ทรงจำไว้ หรือไม่พิจารณาธรรมที่ทรงจำไว้ พวกพิจารณา ธรรมที่ทรงจำไว้ แยกออกเป็น ๖) ปฏิบ้ตสมควรแก่ธรรมที่พิจารณาแลัว หรือไม่ปฏิบ้ติสมควรแก่ธรรม พวก ปฏิบ้ติสมควรแก่ธรรมที่พิจารณาแล้ว แยกออกเป็น ๗)ปฎิบ้ติเพื่อประโยซนํฃองตนและผู้อื่น หรือปฏิบ้ติเพื่อประโยชน์ของตน แต่ ไม่ปฎิบ้ติเพื่อประโยชน์ชองผู้อื่นในพวกที่ปฏิบ้ติเพื่อประโยชน์ชองตนและผู้อื่นมื ฟ้น พวกที่พระสัมมาลัมพุทธเจ้าทรงสรรเสริญว่าดีที่สุด ผู้ที่เป็นปุคคลปโรปรัญณูจึงต้องมืความเข้าใจธรรมชาติและอัธยาศัยชองผู้ฟ้ง แต่ละประเภท เพื่อที่จะได้ทราบว่าควรแนะนำสั่งสอนบุคคลเหล่านั้นอย่างไรให้ได้ ประโยชน์สงสด (ร)๓๔ www.kalyanamitra.org

หมวดพัฒนานิสัย 'Av. www.kalyanamitra.org

^ พระวินัย® ^ พระพุทธบัญญัติและอภิสมาจารเรียกว่า \"พระวินัย\" เพราะเป็นระเบียบ แบบแผนที่พระศาสดาทรงตั้งขึ้นเพื่อบริหารหมู่สาวกให้ประพฤติดีงาม ชักจูงให้มี ความประพฤติลงรอยเดียวกัน มิฉะนั้นการปกครองหมู่สาวกที่มีมากฃึนโดยสำดับจะ ไม่เรียบร้อย ไม่เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธาเลื่อมใสของผู้พบเห็น พระบัญญัติ ๑. พระวินัยนั้น ไม่ได้ทรงวางไว้ล่วงหน้า ค่อยมีมาโดยลำดับตามเหตุเกิดขึ้น ซึ่งเรียกว่านิทานบ้าง ปกรณ์บ้าง นิทานและปกรณ์นี้เรียกว่ามูลแห่งพระบัญญัติ ซึ่ง เป็นข้อที่ทรงตั้งไว้เติม ๒. พระบัญญัติที่ทรงตั้งไว้แล้วแม้ไม่เป็นไปโดยสะดวก ก็ไม่ทรงถอนเสียที เดียว ทรงดัดแปลงตั้งเพิ่มเติมทีหลัง เรียกอนุบัญญัติ วิธีตั้งพระบัญญัติ ๑. เมื่อเหตุเกิดขึ้นแล้ว ตรัสสั่งประชุมสงฆ์ ๒. ตรัสถามภิกษผู้ก่อเหตุให้รับสารภาพ ๓.ขึ้1ทษแห่งการประพฤติผิด และแสดงอานิสงส์แห่งการสำรวม ๔. วางโทษคือปรับอาบัติไว้หนักบ้างเบาบ้าง คณะกรรมการทองตำรามใทมf]ราชวิทยาลัย. ฤปกรฝวิมัยมุข เล่ม ๑ ทลักสูครมักรรรมชั้นตรี, มหามๆฏราชวิทยาลัย ^มพ์ครั้งที่ ร)๕A:>๕๓๓. ๑๓๗ www.kalyanamitra.org

บัญญัติ ๓ สถาน กิริยาที่ล่วงละเมิดพระบัญญ้ต และมีโทษเหนือตนอยู่ ซื่อว่า \"อาบต\" แปลว่า ความต้อง มีโทษ ๓ สถาน คือ ๑. อย่างหนัก ให้ขาดจากความเป็นพระภิกษุ ๒. อย่างกลาง ต้องให้อยู่กรรม ๓. อย่างเบา ให้ประจานตนต่อหน้าภิกษุด้วยกัน ซื่อของอาบัติ ๗ ๑. ปาราขิก ๒. สังฆาทิเสส ๓. ถุลสัจจ้ย ๔. ปาจิตตีย์ ๔. ปาฏิเทสมียะ ๖. ทุกกฎ ๗. ทุพภาสิต ปาราชิกมีโทษอย่างหนัก เป็นอเตกิจฉา (อาบตที่แกิไม่ได้) สังฆาทิเสสมีโทษ อย่างกลาง อุลสัจจัย ถึง ทุพภาสิต ๔ นี้ มีโทษอย่างเบา ตั้งแต่สังฆาทิเสสลงมาเป็น ส เตกิจฉา (อานัติที่แกิไขได้) อานิสงส์พระวินัย พระวินัยนั้น ภิกษุรกษาดีแล้วย่อมได้อานิสงส์ คือ ๑.ไม่เดือดร้อน ซึ่งเรียกว่า วิปฏิสาร ๒. ย่อมได้รับความแซ่มซื่น เพราะรู้สึกว่าประพฤติดีงามแล้ว ไม่ถูกจับกุม ลงโทษ เป็นต้น ๓. จะเข้าสมาคมกับภิกษุผู้มีศีล ก็อาจหาญไม่สะทกสะท้าน ส่วนภิกษุผู้!ม่รักษาวินัยดังกล่าวนั้น ย่อมได้รับผลตรงกันข้ามกับอานิสงส์ข้างต้นนั้น แนพพพ www.kalyanamitra.org

ผลทีมุ่งหมายแห่งพระวินัย ๘ ประการ ๑. เพื่อป้องกันไม่ให้เป็นคนเหี้ยมโหด ๒. เพื่อป้องกันความลวงโลกเลี้ยงซีพ . ๓. เพื่อป้องกันความตุร้าย ๔. เพื่อป้องกันความประพฤติเลวทราม ๔. เพื่อป้องกันความประพฤติเสียหาย ๖. เพื่อป้องกันความเล่นซุกซน ๗. เพื่อคล้อยตามความนิยมของสังคมในครั้งนั้น ๘. เพื่อให้เป็นธรรมเนียมของภิกษุ ประโยฃน่การบัญญัติพระวินัย ๑. สงฺฆสุฏธุตาย เพื่อความดีแห่งหมู่สงฆ์ ๒. สงุฆผาสุตาย เพื่อความสำราญแห่งหมู่สงฆ์ ๓. ทุม.มงฺกูนํ ปุคฺคลานํ นิคฺคหาย เพื่อกำจัดบุคคลผู้เก้อยาก ๔. เปลลานํ ภิก.ฃูนํ ผาสุวิหาราย เพื่อความอยู่เป็นผาสุกแห่งภิกษุผู้มื คลเป็นที่รัก ๔.ทิฎฐธมฺมิกานํ อาสวาน่ ส์วราย เพื่อระวังอาสวะที่จะเกิดขึ้นในป้จจุปัน ๖. สมุปรายิกานํ อาสวานํ ปฎิฆาตาย เพื่อกำจัดอาสวะที่จะมีต่อไปข้างหน้า ๗. อปุปสนุนานํ ปสาทาย เพื่อความเลื่อมใสของผู้ที่ยังไม่เลื่อมใส ๘. ปสนฺนานํ ภิยฺโย ภาวาย เพื่อความเจริญยิ่งๆ ของผู้เลื่อมใสแล้ว ๙. สทฺธมฺมฎฐิติยา เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑๐. วินยาบุคฺคหาย เพื่ออนุเคราะห์พระวินัย ๑๓๙ www.kalyanamitra.org

^ ปารสุทธิศีล 418^ ศีลของพระภิกษแปงออกเป็น ๔ หมวดใหญ่ๆ เรียกว่า ปารีสุทธิศีล ๔ ดังนี้ ๑. ปาฏิโมกขสังวรศีล หมายถึง ศีล ๒๒๗ สิกขาบท ๒. อินทรียสังวรศีล หมายถึง การสำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไมให้ยินดี ยินร้ายในเวลาเห็นรูป เวลาได้ยินเสิยง เวลาดมกลิ่น เวลาส้มผล เวลาลิ้มรส หรีอระลึก ถึงอารมณ์ต่าง ๓. อาซีวปารีสุทธิศีล หมายถึง การเลิ้ยงฃีพชอบ เลี้ยงชีพด้วยวิส้ยของสมณะ คือ การปฏิบตตนอยูในพระธรรมวินัย แล้วอาศัยปีจจัย ๔ ที่ญาติโยมถวายด้วยศรัทธา เลี้ยงชีพ ไม่เลี้ยงชีพด้วยการประกอบอาชีพอย่างฆราวาส หรีอไม่หลอกลวงเขาเลี้ยง ชีวิต กล่าวคือ บวฃแล้วไม่ได้ปฏินัติดีปฏิบตชอบ แต่อาศัยผ้าเหลืองเพื่อเลี้ยงชีพ เป็นด้น ๔. ปัจจัยสันนิสิตศีล หมายถึง ศีลที่ว่าด้วยการให้พิจารณาปัจจัย ๔ คือ จีวร บิณฑบาต ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรคก่อนบริโภค ไม่บริโภคด้วยตัณหาความมัวเมา โดยให้พิจารณาว่า เราบริโภคสิ่งเหล่านี้เพื่อให้ยังชีพอยู่ได้เท่านั้น จะได้บำเพ็ญสมณ ธรรมได้สะดวก ปาริสุทธิศีล ๔ นี้ยังมีรายละเอืยดอีกมาก ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะปาฏิโมกข์ สังวรศีล คือ ศีล ๒๒๗ สิกขาบทเท่านั้น เพราะบัญญ่ติไว้เป็นข้อๆ อย่างชัดเจน และมี การกำหนดโทษหนักเบา ลดหลั่นกันไป ดังนี้ ๑. ปาราชิก แปลว่า ผู้พ่ายแพ้ พ่ายแพในที่นี้ คือ พ่ายแพ้ต่อเส้นทางของ นักบวชเพราะปาราชิกเป็นอาบิติหนัก ภิกษุใดล่วงละเมิดจะขาดจากความเป็นภิกษุ ทันที ไม่ว่าจะมีผู้อื่นรู้หรือไม่รู้ก็ตาม แม้ยังครองผ้าเหลืองอยู่ก็ถึอว่าไม่ได้เป็นพระ ภิกษุแล้ว แต่เป็นฆราวาสที่เอาผ้าเหลืองมาห่อไว้เท่านั้น ดังนั้นผู้ที่ล่วงละเมิดสิกขาบท ปาราชิกเข้าแล้ว จีงด้องลาสิกขาออกไป และจะไม่ได้รับอนุญาตให้กสับมาบวชเป็น ภิกษุอีก ๑๔0 www.kalyanamitra.org

๒. สังฆาทิเสส แปลว่า สิกขาบทที่ต้องอาสัยสงฆไนกรรมเบืองต้นและกรรม ที่เหลือ หมายความว่าเป็นสิกขาบทที่ภิกษุผู้ล่วงละเมิดเข้าแล้วจะต้องอาศัยลงฆ์ข่รย จัดการแก้ไขให้ สังฆาทิเสสนั้นมีโทษหนักรองลงมาจากปาราซิก ผู้ล่วงละเมิดไม่ถึง กับขาดจากความเป็นภิกษุ ยังสามารถแก้ไขไต้ ส่วนผู้ที่ต้องอาบตปาราซิกไม่สามารถ แกั!ขไต้ ภิกษุใดต้องอาบืตสังฆาทิเสสจะแล้1ขด้วยการอยู่กรรม กล่าวคือจะให้อยู่ใน สถานที่ที่แยกไว้สำหรับผู้ต้องอาบดสังฆาทิเสสโดยเถพาะ ไม่อยู่ปะปนกับภิกษุทัวไป เพื่อให้ผู้ต้องอาบติได้สำนึกผิดและสำรวมระวังต่อไป เมื่ออยู่กรรมจนครบกำหนดเวลา และผ่านขั้นตอนของการอยู่กรรมทุกอย่างแล้ว ก็สามารถกสับมาอยู่ร่วมกับภิกษุนัวไป ไต้ ในบืจจุบันพระภิกษุจำนวนมากนิยมอยู่กรรมแม้Iม่ไต้อาบัติสังฆาหิเสส หรือ บางรูปเพียงแค่สงสัยก็ฃออยู่กรรมแล้ว ทั้งนี้เพื่อความบริสุทธึ้บริบูรณ์แห่งคืลของตน นอกจากนี้จะไต้มีเวลาศึกษาและปฏิบัติธรรมมากๆ ด้วย เพราะในระหว่างอยู่กรรม พระภิกษุรูปอื่นจะพยายามหลีกเลี่ยงไม่ไปรบกวน สำ หรับผู้ต้องอาบัติอื่นๆ นอกเหนือจากปาราซิกและสังฆาทิเสสบัน จะแก้ไข ไต้ด้วยการ \"ปลงอาบัต\" ซึ่งหมายถึง การเปิดเผยอาบัติของตนต่อภิกษุอืนหรือต่อสงฆ์ ๓. อนิยต แปลว่า ไม่แน่นอน หมายถึงสิกขาบทที่ไม่แน่นอนว่าภิกษุผู้ถูก กล่าวหาจะถูกปรับว่าไต้ทำผิดสิกขาบทข้อใดในระหว่าง \"ปาราซิก สังฆาทิเสส และ ปาจิตตีย์\" หากเป็นทางโลก อนิยตเปรียบเหมือนกับคดีที่มีทางต้ดสินลงโทษไต้หลาย ระดับ ขึ้นอยู่กับพยานบุคคลที่เชื่อถือไต้หรือผู้เห็นเหตุการณ์ ๔. นิสสัคคิยปาจิตตีย์ คำว่า \"นิสสัคคิยะ\" แปลว่า \"ทำให้สละลี่งของ\" ส่วน คำ ว่า \"ปาจิตตีย์\" แปลว่า \"การล่วงละเมิดอันทำให้กุศลธรรมคือความดีตกไป\" นิส- สัคศึยปาจิตตีย์จึงหมายถึง สิกขาบทที่ภิกษุใดล่วงละเมิดเข้าแล้วจะต้องสละสิงของห เกี่ยวข้องกับสิกขาบทข้อนั้นๆ เซ่น ไตรจีวร เป็นต้น เมื่อสละแล้วจึงสามารถแก้ไขด้วย การปลงอาบัติไต้ 6)๔(ร) www.kalyanamitra.org

๕, ปาจิตตีย์ เป็นสิกขาบทที่ไม่มีเงื่อนไขให้ต้องสละสิ่งของ เมื่อล่วงละเมีดแล้ว สามารถแล้Iขด้วยการปลงอาบตีไต้เลย ๖. ปาฏิเทสนืยะ แปลว่า จะพึงแสดงคืน เป็นสิกขาบทที่ภิกษุรูปใดต้องอาบตี แล้ว จะแล้1ขด้วยการแสดงคืนว่า \"ท่านทั้งหลาย กระผมต้องธรรมคือ ปาฏิเทสนียะ เป็น ธรรมที่น่าตำหนิ ไม่เป็นสัปปายะ กระผมขอแสดงคืนธรรมนั้น\" การแสดงคืนนี้เป็นการ ปลงอาฟ้ตีอย่างหนึ่ง ๗. เสฃิยว่'ตร แปลว่า วัตรที่พระภิกษุพึงคืกษา ซึ่งเป็นวัตรปฏินิตีเกี่ยวกับ มารยาทอันดีงามต่างๆ ไต้แก่ บ่งห่มจีวรให้เรียบร้อย การฉันให้เรียบร้อย การแสดง ธรรม และเป็ดเตล็ดอื่นๆ ๘. อธิกรณสมถะ แปลว่า ธรรมเครื่องระงับอธิกรณ์ เป็นวิธีการระงับอธิกรณ์ หรีอคดีความที่เกิดขึ้นให้สงบเรียบร้อย ปาราซิก และสังฆาทิเสส สิกขาบทในพระปาฎิโมกข์มีทั้งหมด ๘ หมวด ๒!ร)๗ สิกขาบท ในที่นี้จะยก ตัวอย่างเพียง ๒ หมวดคือ ปาราชิก และ สังฆาทิเสส เพื่อให้ทราบพอสังเขปว่า สิกขาบท แต่ละข้อของพระภิกษุนั้นมีเนี้อหาเป็นอย่างไร หมวดปาราชิก ๔สิกขาบท ๑. ภิกษุใดเสพเมถุนธรรมโดยที่สุดแม้ในสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย ต้องอานิตีปาราชิก ๒.ภิกษุใดสักขโมยทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ (T มาสกขึ้นไป ต้องอานิตีปาราชิก ๓. ภิกษุใดจงใจฆ่ามนุษย์ตาย หรือพรรณนาคุณแห่งความตายจนผู้อื่นคล้อยตาม แล้วฆ่าตัวตาย ต้องอานิตีปาราชิก ๔. ภิกษุใดกล่าวอวดคุณวิเศษที่ไม่มีในตน หากผู้ฟ้งเข้าใจ ต้องอานิตีปาราชิก ยกเว้นภิกษุนั้นสำคัญผิดว่าตนมีคุณวิเศษ พพ่แ■'พ ๑๔๒ www.kalyanamitra.org

หมวดสังฆาทิเสส ๑๓ สิกขาบท ๑. ภิกชุใดจงใจทำนํ้าอสุจิให้เคลื่อน ต้องอา'บตสังฆาทิเสส ๒.ภิกษุใดมีจิตกำหนัดแล้วจับต้อง'3างกายสตรี ต้องอาบตสังฆาทิเสส ๓. ภิกษุใดมีจิตกำหนัดแล้วพูดกับสตรีพาดพิงเมฤนธ'3*3ม ต้องอา'บตสังฆาทิเสส ๔. ภิกษุใดมีจิตกำหนัดแล้วพูดกับสตรีให้บำเรอตนด้วยกาม ต้องอา'บติสังฆาทิเสส ๔. ภิกษุใดชกสื่อให้ชายและหญิงเป็นสามีภรรยากันหรือเพืออยู่'3ามกัน 'ชั่วคราว ต้องอา'บตสังฆาทิเสส ๖.ภิกษุใดสร้างกุฏิส่วนตัว โดยไม่ปฏิบตตามระเบียบการสร้างกุฏิ'ตี่วางไว้ ต้องอาบตสังฆาทิเสส ๗. ภิกษุใดให้สร้างวิหารใหญ่เ'ลื่อตัวเอง โดยไม่ปฏิ'บตตามระเบียบการสร้าง วิหาร'ตี่วางไว้ ต้องอาบตสังฆาทิเสส ๘. ภิกษุใดใส่ความภิกษุอื่นด้วยอา'ข้ตปาราชิกไม่มีมูล ต้องอา'บตสังฆาทิเสส ๙. ภิกษุใดอ้างเลศแล้วใส่ความภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิกไม่มีมูล ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑๐.ภิกษุใดพยายามทำให้สงฆ์แตกกัน แม้ภิกษุทั้งหลายตักเตือนในที่ประชุม สงฆ์ถึง ๓ ครั้ง แล้วยังไม่เลิกพฤติกรรมนั้น ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑๑.ภิกษุใดสนับส'นนภิกษุรูปที่พยายามทำให้สงฆ์แตกกัน แม้ภิกษุทังหลาย ตักเตือนในที่ประชุมสงฆ์ถึง ๓ ครั้ง แล้วยังไม่เลิกพฤติกรรมนัน ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑๒.ภิกษุใดว่ายากสอนยาก แม้ภิกษุทั้งหลายตักเตือนในที่ประชุมสงฆ์ถึง ๓ ครั้ง แล้วยังไม่เลิกพฤติกรรมนั้น ต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑๓.ภิกษุใดประจบคฤหัสถ์ แม้ภิกษุทั้งหลายเตือนในที่ประชุมสงฆ์ถึง ๓ ครัง แล้วยังไม่เลิกพฤติกรรมนั้นต้องอาบัติสังฆาทิเสส ๑๔(เท www.kalyanamitra.org

^ คณกโมคคัลลานสูตร® ^ กับการ^กนิสัย คณกโมคคัลลานสูตร เป็นพระสูตรที่พระสัมมาสัมทุทธเจ้าตรัสตอบพราหมณ์ ซื่อว่าคณกโมคคัลลานะ ในเรื่อง \"ขั้นตอนการแกฝนตนเอง\" ไปตามลำดับ ๖ ขั้นตอน เพื่อบรรลุมรรคผลนิพพาน มีดังนี้ คือ ๑. สำ รวมระวังในพระปาฎิโมกข์ ๒. คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ๓. รู้จักประมาณในโภชนะ ๔.ประกอบเนืองๆ ซื่งความเป็นผู้ตื่นอยู่ ๔. ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ ๖. เสพเสนาสนะอันสงัด ฃ้อปฏิบตทัง ๖ ชันตอน ล้วนมีความเกี่ยวเนื่อง และความละเอียดอ่อนลุ่มลึก ไปตามสำดับจากง่ายไปสู่ยาก โดยมีจุดมุ่งหมายการแกอยู่ที่การประคับประคองใจให้ หยุดนื่ง เป็นสมาธิ จนเกิดปีญญา เป็นความรู้แจ้งเห็นแจ้งแทงตลอดตามความเป็นจริง ในที่สุด การสำรวมระวังในพระปาฏิโมกข์ คือ การแกฝนตนเองให้รู้จัก \"ควบคุมกาย และวาจา\"ไมให็ไปทำความชั่ว ซึ่งเป็นพื้นฐานรองรับการเจริญสมาธิภาวนาต่อไป การคุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย หรีอที่เรียกว่า อินทรียสังวร คือ ขั้น ตอนการแกที่จะช่วย \"ประคับประคองใจ\" ไมโห้ไหลออกไปเกาะคับที่งล่อใจนอกคัว มี รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส เป็นต้น ด้วยวิธีการอย่างนี้ใจก็จะไม่ไปติดอยู่คับลิ่งนอก คัว เมอใจไม่ชัดส่ายไปไหน ก็จะกสับมาดังมั่นอยู่ในกายภายใน ซึ่งจะเกื้อกูลให้การแก สมาธิทำได้ง่ายยิ่งขึ้น ® คณทในคคัลลานสตรมัชฌินปีกาย อุบ่ริปัณณาสก์.มก. เล่มที่ bfo หน้า ร)๔๓. €>๔๔ www.kalyanamitra.org

การรู้จักประมาณในอาหาร คือ การเตรียมร่างกายให้มืความพร้อม มืกำ ลัง เรี่ยวแรง ในการเจรีญสมาธิภาวนาให้ก้าวหน้ายิ่งๆ ขื้นใป เพราะเมื่อบริโภคเข้าใป ก็จะส่งผลต่อสุขภาพร่างกายโดยตรงหันที เข่น หากบริโภคจนอิ่มเกินไปภ็จะพำให้ อดอัดหรืออาหารไม่ย่อย เกิดความง่วงเหงาหาวนอน เมือเจริญสมาธิภาวนากจะพำไห หลับง่าย แต่หากบริโภคน้อยเกินไปก็จะพำให้หิว กระลับกระส่าย ไม่สบายตัว เปนต้น การประกอบเนืองๆ ซึ่งความเป็นผู้ตื่นอยู่ คือ การทีต้องพำความเพียร พยายามให้ยิ่งขึ้นไป ด้วยการนำใจที่เคยจัดส่ายไปในอารมณ์ต่างๆ ภายนอกตัว ให้ กลับมาอยู่ที่คูนย์กลางกายฐานที่ ๗'' ซึ่งเป็นทีตังถาวรของใจให้!ด้ โดยต้องพำความ พยายามเรี่อยไป เพื่อให้ใจต้นกับการอยู่ภายในตัว สำ หรับนักปฏิน้ตธรรม ก็คือการ สั่งสมชั่วโมงหยุด สั่งสมชั่วโมงนิง ให้ใต้มากทสุดน้นเอง หากไม่หมันให้เวลา หรือไม่ ขยันจันแข็งในการพำภาวนาให้ยิ่งขึ้นไป คือเอาแต่เพลิดเพลินไปกับการหลับนอน ก ยากที่จะมืโอกาสพำใจให้หยุดนิ่งได้ การรีเกสมาธิก็จะไม่ก้าวหน้า การประกอบด้วยสติลัมปจัญญะ คือ มีความระลึกไต้ และรู้ตัวในอิริยาบถ ต่างๆ อยู่ตลอดเวลา ซึ่งในทางปฏิบัติจะหมายความว่า ต้องมืสติตังมันอยู่ทีสูนย์กลาง กายที่เดียวให้ใต้ในทุกอิริยาบถ เสพเสนาสนะอันสงัด คือ การหาสถานที่อันสงบ เหมาะสมสำหรับนั่งสมาธิ เจริญภาวนาอย่างต่อเนื่องจริงจัง อานิสงส์โดยย่อของการปฏิบัติตามข้อปฏิบัติหั้ง ๖ ประการปี คือ - มีเวลารีกใจให้หยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกายได้มาก - ใจของท่านย่อมตั้งมั่น หยุดนิ่งได้สนิท จิตสะอาดบริสุทธผ่องใส หลุดพ้นจาก นิวรณ์ คือ กิเลสเครื่องเศร้าหมองที่กั้นการบรรลุความดีไต้ - ย่อมกำจัดกิเลส บรรลุมรรคผลนิพพาน ที่เป็นเป้าหมายสูงสุดของการบวข หมายถึง ที่ฅัง้อยู่จองใจ รตำแหปง ณทลางกาย เหนือสะดีอ4หมา ๒ นืานือ ๑๔๕ (หนังถึอทระพุทธๆณ พระรรรมพุณ พระตังฆพุณ, พระกาวมาวิfยพุณ(เผด็จ ทmปี^จ)'พพ้ใ ร^^ www.kalyanamitra.org

กจวัตร ๑๐ ^ เมือบวชเป็นพระภกษแล้ว มีกิจวัตร ๑๐ ประการที่ต้องท็า ดังนี้ กิจวัตร หมายถึง สิ่งที่พระภิกษุต้องทำและควรทำอย่างยิ่ง เพื่อความงดงาม น่าเลื่อมใสศรัทธา และเพื่อขจัดชัดเกลากิเลสภายในให้หมดสิ้นไป กิจวัตร มาจากคำ ๒ คำ รวมล้น คือ กิจ หมายถึง สิ่งที่ต้องทำ ล้าไม่ทำจะเสียหาย วัตร แปลว่า สิ่งที่ควรทำ ไม่ไต้บังคับ ล้าไม่ทำก็ไม่ถึงล้บเสียหาย หรือขาดจาก ความเป็นพระ แตโม่งาม ไม่น่าเลื่อมใส อาจเป็นซ่องทางให้เกิดความเสื่อมไต้ ภิกษุใด ดังใจประพฤติปฏิบตวัตรอย่างเคร่งครัด ความเป็นพระภิกษุของท่านก็คืขึ้น เด่นขึ้น มี ค่าขึ้น และสามารถกำจัดกิเลสไต้เร็วขึ้น กจวัตร ๑๐ วัตถุประสงคํในการปฏิบ้ติกิจวัตร ๑. บิณฑบาต สิบทอดอายุพระพุทธศาสนา ๒. กวาดวัด ๓. ปลงอาบิติ ทำ ให้จิตใจสะอาดบริสุทธิ้ ๔. ทำ วัตร ลวดมนต์ เจริญภาวนา ไม่เป็นคนลวงโลก ๕. พิจารณาบิจจเวคขณ์ ยํ้าศรัทธาให้มั่นคง ๖. อุปัฏฐากอุบิขฌาย์อาจารย์ ไม่ประมาทในการดำเนินชีวิต ๗. บริหารสิ่งของและร่างกาย ถ่ายทอดความดีจากต้นแบบ รับผิดขอบตัวเองเป็น ๘. ขวนขวายเรียนธรรมวินัย ๙. ใส่ใจของสงฆ์ และกิจของสงฆ์ ตอบแทนคุณญาติโยม ๑๐. ดำ รงตนให้น่าไหว้ รักษาพระศาสนา ปฏิบิติกิจวัตร ๑๐ จริงจัง พระภิกษุหากตั้งใจประพฤติปฏิบัติกิจวัตร ๑๐ อย่างเคร่งครัดตามเถรบัญญ้ติ ย่อมกำจัดทุกข์และทำพระนิพพานให้แจ้งไต้[ดยง่าย ilj ๑๔๖ www.kalyanamitra.org

^ ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ^ ศีล คือ ความเป็นปกติของความเป็นมนุษย ศีล แปลว่า ปกติ ผู้ที่มีศีลจึงหมายถึงผู้ที่เป็นคนปกติ เป็นมนุษย์ที่ปกติ ความ ปกตินั้นเป็นพื้นฐานของความสงบเรียบร้อยของทุกสิ่งนุกรย่าง ทังสิงทีมีชีวิตและสิง ไม่มีชีวิต แต่เมื่อใดเกิดความไม่ปกติขึ้น ความยุ่งยาก ความเดือดร้อนหรือเสียหายย่อม เกิดขึ้นตามมา เซ่น ดวงอาทิตย์ปกติจะส่องสว่างในเวลากลางวันเป็นปกติ ถ้าตราบใด ที่พระอาทิตย์ยังส่องแสงเป็นปกติอยู่อย่างนี้ เราทั้งหลายก็ยังมีชีวิตที่สงบสุขอยู่ตราบ นั้น แต่หากวันใดพระอาทิตย์เกิดความผิดปกติชีนมา คือไม่ส่องแสงในเวลากลางวันดัง ที่เคยเป็นมา การงานย่อมเสียหาย ความวุ่นวายก็จะเกิดขึ้น เพียงการเกิดสุริยุปราคา การงานก็เสียหายไม่น้อย หรือฤดูฝนปกติฝนจะต้องตก การทำเกษตรจึงสามารถหำไป ได้อย่างเต็มที่ แต่หากปีใดที่ถึงฤดูฝนแล้วฝนกลับไม่ตก ปีน้นก็กลายเปนปีทิผิดปกติไป และสิ่งที่เกิดตามมาคือข้าวยากหมากแพง พืชผลทางการเกษตรก็เสียหาย คนเราก็เซ่นกัน ถ้ามีความเป็นปกติ การดำเนินชีวิตก็มีแต่ความสงบสุข ลังคม ก็อยู่อย่างปกติ เรียบร้อย แต่วันใดที่คนปกติกลายเป็นคนไม่ปกติไป เมีอนันความทุกข์ ความเดือดร้อนย่อมเกิดขึ้น ทั้งต่อตนเองและบุคคลที่อยู่รอบข้างด้วย อะไรคือความ เป็นปกติของมนุษย์ และอะไรคือความผิดปกติของมนุษย์ ศีล ๕ คือปกติของความเปน มนุษย์ หรือมนุษยธรรม คือธรรมที่ทำให้เป็นมนุษย์ ผู้ที่ผิดคืลก็ขื่อว่าเป็นคนทีผิดปกติ ไป nainam ๑๙๗ www.kalyanamitra.org

องค์แห่งศีล ๕ สิลข้อ ๑ ๑. สัตว์นั้นมีซีวิต การฆ่าสัตว์ ๒. ร้ว่าสัตว์นั้นมีชีวิต ๓. มีเจตนาจะฆ่าสัตว์นั้น รลข้อ ๒ ๔. พยายามฆ่าสัตว์นั้น การสักทรัพย์ ๕. สัตว์นั้นตายด้วยความพยายาม สีลข้อ ๓ ๑. ทรัพย์มีเจ้าของ การประพฤติผิดในกาม ๒. รู้ว่าทรัพย์มีเจ้าของ ติลข้อ ๔ ๓. มีเจตนาคิดจะสักทรัพย์ การพูดมุสา ๔. พยายามสักทรัพย์นั้น ติลข้อ ๕ ๕.ได้ทรัพย์นั้นมาด้วยความพยายามนั้น การดื่มนํ้าเมา ๑. หญิงหรือซายเป็นคนที'ต้องห้าม ๒. มีเจตนาจะเสพเมถุน ๓. ประกอบกิจในการเสพเมถุน ๔. การยังอวัยวะเพศให้จรดกัน ๑. พูดเรื่องท1ม่เป็นความจริง ๒. มีเจตนาจะพูดให้ผิดไปจากความจริง ๓. พยายามพูดให้ผิดจากความจริง ๔. คนฟ้งเข้าใจความหมายในคำพูดนั้น ๑. นํ้าทีดื่มเป็นนั้าเมา ๒. รู้ว่านํ้านั้นเป็นนํ้าเมา ๓. มีเจตนาดื่ม ๔. พยายามดื่ม ๕. นํ้าเมานั้นล่วงพ้นลำคอ แแเพทเ (5)S^C« www.kalyanamitra.org

องค์แห่งสืล ๘ องค์แห่งสืลฃ้อ ๑,๒,๔,๔ในสืล ๘ นั้น เหมือนกับในศีล ๔ จึงขอกล่าวถึง เฉพาะองค์แห่งศีล ข้อ ๓,ข้อ ๖,ข้อ ๗ และข้อ ๘ ศีลข้อ ๓ ๑. เสพเมถุนธรรมทางทวาร ๓ การกระทำที่เป็นข้าศีกต่อ (คือ ปาก ทวารเบา และทวารหนัก) ๒. จิตคิดจะเสพเมถุนธรรม พรหมจรรย์ ๓. พยายามเสพ ๔. มีความยินดี ๑. บริโภคหลังเที่ยงไปแล้วจนถึงรุ่งอรุณของวันใหม่ ศีลข้อ ๖ ๒. ของเคี้ยวนั้นสงเคราะห์เข้าในอาหาร ๓. พยายามเคี้ยวกินของเคี้ยวนั้น การบริโภคอาหารในเวลาวิกาล ๔. ของเคี้ยวนั้นล่วงพ้นลำคอลงไป ศีลข้อ ๗ ๑. ฟ้อนรำ ขับร้อง ประโคมดนตรีด้วยตนเอง การฟ้อนรำ ข้บร้อง ๒.ไปเพื่อดูหรีอฟ้งการฟ้อน การขับร้อง ประโคมดนตรี ดูการละเล่น อันเป็นข้าศีกแก่การกุศล การประโคมดนตรี และการละเล่นด่างๆ ๓. ดูหรีอฟ้งการฟ้อนรำ การขับร้อง การประโคมดนตรี และการละเล่นต่างๆ ที่คนอื่นประกอบขึ้น www.kalyanamitra.org