Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E book คู่มือธรรมทายาท

Description: E book คู่มือธรรมทายาท

Search

Read the Text Version

พุทธโอวาทในการแสดงธรรมให้ถูกต้องและประสบผลสำเร็จ องค์แห่งพระธรรมกถึก® พระภิกษุผู้จะแสดงธรรมได้ดี ด้องปฏิบตดังต่อไปนี้ ๑. แสดงธรรมไปโดยลำด้บ ไม่ตัดลัดให้ขาดความ ๒. อ้างเหตุผลและแนะน่าให้ผู้ฟิงเข้าใจ ๓. ตั้งจิตเมตตาปรารถนาให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟ้ง ๔.ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ ๔.ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผู้อื่น วาจาที่ใช้แสดงธรรม'\" ๑. วาจาที่กล่าวถูกกาล ๒. วาจาที่เป็นความจริง ๓. วาจาที่กล่าวอ่อนหวาน ๔. วาจาที่กล่าวประกอบด้วยประโยชน์ ๔. วาจาที่กล่าวด้วยเมตตาจิต อุทาร^ตร อังอุตตรนิกาย นิญจกนิบาต.มก. เล่มที่๓๖ หน้า ๓๓๔. ^ วาจาสูตร อังอุตตรนิกาย ปีญจกนิบาต,มก. เล่มที่๓๖ หน้า ๔๓๙. ๒๐๐ www.kalyanamitra.org

เทคนิคในการแสดงธรรม ลีลาการแสดงธรรมของพระพุทธองค์® ๑. สันทัสสนา : แจ่มแจ้ง ซัดเจน เข้าใจง่ายทั้งส่วนปริย้ต ปฏิฟ้ต ปฏิเวธ มี อุปมาอุปมัย มีตัวอย่างประกอบ ๒. สมาทปนา ; สมาทาน โน้มน้าวใจ ขวนให้อยากรู้ อยากปฏิน้ตตาม อยาก M £^ ะ a/ เดรบผลตังทแสดงนนบาง ๓. สมตเตขนา : กล้าหาญ ให้กำลังใจจนเกิดความกล้าหาญ กล้าตัดสินใจทำ ตาม ๔. สัมปห้งสนา : ร่าเริง ให้กำลังใจชื่นขมในความดี ให้เกิดความแช่มชื่น ความเบิกบานใจในความกล้าตัดสินใจทำ การเตรียมเนื้อหาการเทศน์ ๑. องค์แห่งการลีกษาเรียนรู้ (พหูสูต)'\" ๑.๑ ฟ้งมาก อ่านมาก ๑.๒ จำได้ ๑.๓ คล่องปาก ๑.๔ ขึ้นใจ ๑.๔ แทงตลอด ๒. การเตรียมบทเทศน้ โดยเนื้อหาต้องประกอบด้วย ๓ ส่วน คือ ๒.๑ ส่วนบทนำ ๒.๒ ส่วนเนื้อหา ๒.๓ ส่วนสรุป ® อรรถกถาสีล^ตร ขุททกปีกาย อิฅิๅตฅกะ,มก. เล่มที่๔๕หน้า bbo. ^อรรถกถามหาโคสีงคสาลปีตรน้ชถ็เมปีกาย มูลปีณณาสก์,มก. เล่มที่ร)๙ หน้า ๔๖. ๒๐๑ www.kalyanamitra.org

การขึ้นบทนำที่ดี ควรมีลักษณะที่บอกถึงประเด็นสำคัญจองเรื่อง ที่ น่าสนใจ ซึ่งจะดึงดูดให้ผู้ฟ้งอยากฟ้งอยากติดตาม ถึงเรื่องราวเนื้อหา สาระโดยละเอียดต่อไป วิธีการขึ้นบทนำแบบต่างๆ ๑.นำ ด้วยเหตุการณ์ที่มีความสอดคล้องคับเนื้อเรื่อง ๒.นำ ด้วยวาทะ คำคม หรือข้อเขียนของบุคคลสำคัญ ๓.นำด้วยคำถาม เพื่อยั่วยุให้ผู้อ่านคิดหาคำตอบ ทดสอบความ่สามารถ ๑ จองผู้ฟิง บทนำ ๔. นำ ด้วยการบอกเจตนา หรือวัตอุประสงคในการพูด ๔. นำด้วยคำจำคัดความ ๖.นำ ด้วยการกล่าวถึงลักษณะบุคคลที่ต้องพูดถึง ๗.นำ ด้วยข้อมูล สถิติ ข้อเท็จจริง ๘.นำด้วยการเล่าเรื่อง หรือเล่าถึงความเป็นมาพื้นฐานจองเรื่อง ๙. นำด้วยการมุ่งตรงสู่เรื่อง เนื้อหาที่ดึควรมีองค์ประกอบดังนื้ ๑. ต้องมีความซัดเจน มีที่มาที่ไป ๒.มีการขึ้คุณ จี๋โทษ ส่วนดี ส่วนเสีย ๒ ๓.ขึ้ผลจองการปฏิบ้ติตามนื้น ทั้งเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด เนื้อหา ๔. เข้าใจง่าย มีต้วอย่าง และอุปมาอุปมัยประกอบ ๔. มีสื่อ หรือเอกสารประกอบ ๖. เรืยงไปตามลำคับ ๒๐๒ www.kalyanamitra.org

ส่วนสรุปที่ดีควรมีองค์ประกอบ ดังนี้ ๑. ช่วยยํ้าเจตนาของผู้เทศ'iTlห้ฃัดเจนขึ้น ๒. สอดคลองกับเนี้อเรื่องและประเด็นหลักของเรื่อง ๓. ช่วยให้ผู้ฟิงทราบถึงสาระสำคัญที่แฝงอยูในเนี้อเรื่อง ๔.ใช้ถ้อยคำที่รวบรัด ช้ดเจน และน่าประทับใจ เพื่อให้ผู้-ร^งจดจำ หรือ นำ ไปคิดไปปฎ'บติต่อ และควรให้พรผู้ฟ้งตรงกับเนี้อเรื่องเทศน์ วิธีสรุปแบบต่างๆ มีดังนี้ ๑. สรุปด้วยภา'บิต หรือคำคม ๓ ๒. สรุปด้วยความคิดเ'ท็น สรป ๓. สรุปด้วยคำถาม ๔. สรุปด้วยการให้กำลังใจแก่ผู้*รง ๔. สรุปด้วยการตั้งความหวัง ๖. สรุปด้วยการขอความเ'ฬ็นใจ ๗.สรุปด้วยการทิ้งท้ายใช้คำคม มีความหมายลึกขึ้ง แฝงไว้ด้วยแง่คิด ๘. สรุปด้วยการยํ้าประเด็น หรือวัตลุประสงค์ที่ได้นำเสนอไปแล้ว คือ สิ่งที่เราอยากให้ผู้'รงได้รับประโยชน์อย่างไร'นั่นเอง ๓. การเตรียมพร้อมด้านต่างๆ เพื่อสนับส*นนการเทศน์ เตรียมพร้อมเรื่องบุคลิกภาพ ๑. การ13กใช้ภาษา 13กออกเสียง ร,ล และคำควบกลํ้าให้ซัดเจน ๒. การใช้นี้าเสียง ๓. การใช้สายตา ๔. การใjง'ท่ม ๔. การเดิน การนั่ง *.• 1 mS ๒๐๓ www.kalyanamitra.org

เตรียมพร้อมเรื่องการสิกษาธรรมฌียมปฏิฟ้ต ๑. พระวินัย ๒. ศวสนพิธี ๓. กฎหมาย ความเลื่อมใส ๔ ประการ® ๑. เลื่อมใสในรูปที่ได้เห็น ๒. เลื่อมในเสียงที่ได้ยิน ๓. เลื่อมใสในความเศร้าหมอง ๔. เลื่อมใสในธรรม เนื้อเรื่อง เหตุผลที่ได้แสดง ๔. อานิสงส์ผู้แสดงธรรม'\" ๑. ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจของพระศาสดา ๒. ย่อมซาบซึ้งอรรถและธรรม ๓. ย่อมแทงตลอดบทแห่งอรรถอันลึกซึ้ง ๔. เพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลายย่อมสรรเสริญ ๔. ผู้ฟ้งธรรมแล้วที่อังเป็นเสขะอยู่ ย่อมปรารถนาความเพียรเพื่อถึงธรรมที่อัง ไม่ถึง เพื่อบรรลุธรรมที่อังไม่บรรลุ ® อังๆmรนกาย จ(แกกป็บาด รูปสูดร, มก. เล่มที่ต'๕ ทน้า fo®o. ^ อังๆดดรป็กาย นวกนิบาต นับทสูตร.มก. เล่มที ๓๗ หน้า ๓fete. mumvm ๒๐๔ www.kalyanamitra.org

หมวดสมาธิ www.kalyanamitra.org

^ ความรู้พื้นฐานเรื่องสมาธิ 419^ ลักษณะของใจที่เป็นสมาธิเบื้องต้น ใจที่จะเป็นสมาธิได้นั้น ต้องแน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว และมีลักษณะหรือ คุณสมฟ้ต ๓ ประการ คือ ๑. มีลักษณะบริสุทธิ๋ คือ หมดจดจากกิเลสเครื่องเศร้าหมอง ๒.มีลักษณะตั้งมั่น คือ ตั้งมั่นอยูในอารมณ์ที่กำหนด ๓. มีลักษณะควรแก่การงาน คือ เหมาะที่จะใช้งาน โดยเฉพาะงานด้าน พัฒนาป้ญญา ประ๓ทของสมาธิ ๑. สัมมาสมาธิ ลักษณะ'ของสัมมาสมาธิ คือ การที่จิตไม่ฟ้งซ่าน® และ มี ความตั้งมั่นแห่งจิตโดยชอบ'\" ๒, มิจฉาสมาธิ ลักษณะของมิจฉาสมาธิ คือ การที่จิตซัดส่ายไปในกามคุณ ๕ทำ ให้กิเลสเพิ่มพูน และ มีความตั้งมั่นแห่งจิตโดยมิชอบ หรือไม่ถูกต้อง อรรถกถามัชalมป็กาย มูลปีณณาสฦ มูลป^ยายสตร,มก. เล่มที่ หน้า ร,(ร,!ร. อรรถกถามัชถ}มนิกาย มูลปี(นถเาสก'ธรรมทายาทสูตร,มก. เล่มที่ร,!ri หน้า ๖๕๐. พ||แ1ไ«า1 ๒๐๖ www.kalyanamitra.org

สัมมาสมาธิกับมิจฉาสมาธิจำแนกตามฐานที่ตั้งของใจ การ!เกสมาธิโดยทั่วไปนั้น หากจะจำแนกประเภทตามจุดที่ตังมันของใจหรือ ฐานของใจนั้น เราสามารถจัดแน่งได้๒ ประเภท คือ การกำหนดตั้งฐานที่ตงของใจไว้ ภายในกาย และภายนอกกาย ซึ่งการกำหนดใจไว้ภายในหรือมีฐานที่ตังของใจภายใน กายนี้ สอดคล้องกับหลักของสัมมาสมาธิ ที่จะต้องกำหนดใจให้ตังมันอยู่ภายใน ไม่ ฟ้งซ่าน หรือไม่ปล่อยใจไปเกาะเกี่ยวกับกามคุณทังหลาย ส่วนมิจฉาสมาธิ จะเปนการ กำ หนดฐานที่ตั้งของใจไว้ภายนอก ปล่อยใจให้ซัดส่าย ฟ้งซ่าน หรือมุ่งจดจ่ออยู่กับ กามคุณ หรือสิ่งที่เป็นอกุศล เป็นต้น สัมมาสมาธิ เป็นภาวะที่ใจมิสติกำกับมั่น จึงตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว ณ ศูนย์กลางกาย ไม่ ปล่อยใจไปกับรูป-เสียง-กลิ่น\"รส-สัมผัส-สิ่งที่ใจปีกคิด(ธรรมารมณ์)ที่มายั่ว ยุ เย้ายวน ^ ^ กิเลสถกควบคุม ^ ^ พูดด มสต _ )คดค ■> เกิดบุญ + เกิดนิสัยดี ใจผ่องใส ทำ ดี สัมมาสมาธิ ■>มักเรืยกสั้นๆว่าสมาธิ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า,พระอรห้นต์ )กำ จัดกิเลสด้วยสมาธิ ๒๐๗ www.kalyanamitra.org

มิจฉาสมาธิ ฟ้นภาวะที่ใจขาดสติ ปล่อยใจให้แล่นออกไปนอกกาย ไปยึดมั่นอารมณ์เดียวใน รูป\"รส-กลิ่น-เสียง-สัมผัส-ลิ่งที่ใจนึกคิด(ธรรมารมณ์)ภายนอก ^กเลส ปีบส^ันใจ > ^คดร้า^ย > เกิดบาป + นิสัยเลว กำ เริบ ให้ขุ่นมัว ทำราย ตัวอย่างมิจฉาสมาธิ เซ่น นักพนันกำลังเล่นไพ่, มิอปีนกำลังจ้องยิง, คนทรงกำลัง เข้าทรง ฯลฯ มิจฉาสมาธิ จ้งเป็นสมาธิต้องห้าม สัมมาสมาธิที่ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ วิธีการในการปฏิบัติสมาธิโดยละเอียดนั้น จะพบวิธีที่ปรากฏอยู่ในตำราต่างๆ เซ่น วิสุทธิมรรค ถึง ๔๐ วิธี ซึ่งวิธีทั้ง ๔๐ นั้น ต่างก็ตั้งเป็าหมายอันเดียวกัน คือ การทำใจ ให้ถูกส่วนและเข้าถึงพระธรรมกายภายใน ถ้าหากว่าเรานำใจของเรามาตั้งไว้ตรงที่ฐานที่ ๗ แล้วเริ่มต้นอย่างง่ายด้วยวิธีการดังกล่าว จะเริ่มต้นจากกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ อาหาเร ปฏิกูลสัญญา ๑ อนุสติ ๑๐ หรืออะไรก็ตาม อย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าใจหยุดถูกส่วนตรงฐาน ที่ ๗ นึแล้ว ดำเนินใจให้เข้าสู่ภายใน และเข้าไปตามลำดับ ไม่ข้าก็จะพบธรรมกาย ซึ่งมี อยู่แล้วในดัวของพวกเราทุกคน ไมโซ่เป็นสิ่งใหม่ แต่เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว และสามารถเข้า ถึงได้ทุกคนที่ปฏิบัติตามได้อย่างถูกวิธี ๒๐๘ www.kalyanamitra.org

เทคนิคเบื้องต้นในการทำสมาธิ ๑. หลับตาเบาๆ ผนังตาปิด ๙๐ % ๒. อย่าบังคับใจ เพียงตั้งสติ วางใจเบาๆ ณ ศูนย์กลางกาย กำ หนดนิมิตเปน. ดวงแก้วใส เบา องค์พระใส เบา ลมหายใจ เข้า - ออก เบา อาการฟ้องพอง - ยุบ เบา เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ๓. กำ หนดนิมิต นึกนิมิตอย่างต่อเนึ่อง เพื่อเป็นกุศโลบายล่อใจใฟ้เข้ามาคังบัน ในกาย ๔. เมื่อใจเข้ามาหยุดนึ่งในกาย การกำหนดนิมิตก็หยุดโดยอัตโนมต ๔.รับรู้การเปลี่ยนแปลงภายในกาย และจิตใจด้วยความสงบ ๖. อยูในความดูแลของกัลยาณมิตรอย่างใกล้ชิด หลักการแกสมาธิ ๑. น้อมใจมาเก็บไว้ ณ ศูนย์กลางกาย แต่ละคเงเก็บใจไว้ให้นานที่สด จน กระทั่งกลายเป็นนิสัยมีใจตั้งมั่นภายใน ๒. มีสติกำกับใจตลอดเวลา ทำ ให้ระสิกรู้ตัวอยู่เสมอ ไม่ยินดียินร้ายในเวลา เห็นรูป พีงเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส สัมผ้ส รู้ธรรมารมณ๊1ด เข่น ในคำสรรเสริญ เยินยอ ยศคักดี้ ซื่อเสียง ฯลฯ ๓. ตั้งใจดูกสมาธิอย่างสมั่าเสมอ และตรงเวลาเป็นประจำ ๔. มีอาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถจริงคอยควบคุมและให้คำแนะนำอย่าง ใกล้ชิด ๒๐๙ www.kalyanamitra.org

^ ความรู้เรื่องธรรมกาย ความหมายของคำว่า \"ธรรมกาย\" ธรรมกาย คือ กายแพ่งการตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่ง ประกอบด้วยลักษณะมหาบุรุษดรบถ้วนทุกประการ ซึ่งมีอยู่ในตัวของมนุษย์ทุกคน ความหมายของคำว่า \"วิชชาธรรมกาย\" ความรู้แจ้งที่ได้จากการเห็นแจ้งด้วยธรรมจักษุของพระธรรมทาย สามารถ กำ จัดอาสวกิเลสออกได้เป็นชั้นๆ จนเข้าถึงบรมสุข คือ นิพพาน ลักษณะชอง \"พระธรรมกาย\" มีลักษณะคล้ายลับพระพุทธรูป หรือพระพุทธปฏิมากรที่จัาลองออกมา แต่ งดงามกว่า เป็นพระแก้วใสบริสุทธึ้ มีเกตุดอกบัวตูม ประกอบด้วยลักษณะมหาบุรุษ ครบล้วนทั้ง ๓๒ ประการ การประพฤติธรรมเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย ต้องปฏิบัติตามอรืยมรรค อันประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ (มรรคมีองค์ ๘) หรือย่อลงมา คือ ไตรสิกขา มีศีล สมาธิ ปีญญา ให้สมบูรณ์ การปฏิบัติธรรมเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย \"ต้องเริมด้นจากการทำใจหยุดที่ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ พอใจหยุดเข้ากลาง เห็นดวงอัมมาบุป้สสนาสติปืฏฐาน(ดวงปฐมมรรค)เท่าดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ หยุด เข้ากลางอืก ถึงดวงศีล ดวงสมาธิ ดวงปีญญา ดวงวิมุตติ ดวงวิมุตติญาณทสสนะ เข้าถึงกายมนุษย์ละเอียด เข้ากลาง ๖ ดวง เข้าถึงกายต่างๆ คือ กายทิพย์ กาย ๒๑๐ www.kalyanamitra.org

ทิพย์ละเอียด กายรูปพรหม กายรูปพรหมละเอียด กายอรูปพรหม กายอรูปพรหม ละเอียด จนถึงกายธรรมโคตรภู (ธรรมกาย)®\" ดำเนินอย่างนี้ต่อไปจนถึงกายธรรม อรหัตละเอียดไปโดยลำดับ จนครบทั้ง ๑๘ กาย ดังนี ๑. กายมนุษย์ ๒- กายมนุษย์ละเอียด ๓. กายทิพย์ ๔. กายทิพย์ละเอียด ๕. กายรปพรหม ๖. กายรูปพรหมละเอียด ๗. กายอรูปพรหม ๘. กายอรูปพรหมละเอียด ๙. กายธรรมโคตรภูหยาบ ๑๐.กายธรรมโคตรภูละเอียด ๑๑. กายธรรมพระโสดาบันหยาบ ๑๒. กายธรรมพระโสดาบันละเอียด ๑๓. กายธรรมพระสกิทาคามีหยาบ ๑๔- กายธรรมพระสกิทาคามีละเอียด (ร)๕. กายธรรมพระอนาคามีหยาบ ๑๖. กายธรรมพระอนาคามีละเอียด ๑๗. กายธรรมพระอรหัตหยาบ ๑๘. กายธรรมพระอรหัตละเอียด การเจริญสมาธิภาวนาเพี่อการเข้าถึงธรรมกาย เป็นสมถะ หริอวิป้สสนา ? เป็นทั้งสมถะ และวิปิสสนา คือ ตั้งแต่กายมนุษย์ถึงกายอรูปพรหมละเอียด เป็นขั้นสมถะ ส่วนตั้งแดกายธรรมโคตรภูจนถึงกายธรรมอรหดละเอียด เป็นขั้น วิป้สสนา การที่พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (หลวงป่ว'ดปากนำ ภาษืเจริญ) ให้ นีกนิมิตเป็น \"ดวงกลมแก้วใสสว่างอยู่ที่ศูนย์กลางกาย\" เป็นสมาธิแบบใดในสมาธิ ๔๐วิธิ? เป็น \"อาโลกกสิณ\" หรือ กสิณแสงสว่าง ® ตวระสำค้ญ} รรร พระมงคลเทYiมุป็(สค จนุทสใร)จากเรื่อง \"f^f|Vปีดร:ธรรมรัดมะ\" หน้า ensiS) เ^ยบเ?ยงโดย พระณรงค์ ทนฺดจิดโต และวัลลภา เหล่าขวัญสถิดย์ ๒๑๑ www.kalyanamitra.org

หลักฐานคำว่า \"ธรรมกาย\" มีอยู่ที่ใดบ้าง ? ที่ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกมีอยู่ ๔ แห่ง คือ ทีฆปีกาย ปาฏิวรรค(ฉบับบาลีสยามรัฐ)เล่ม ๑๑ ข้อ ๕๕ หน้า ๙๒ ฃุททกนิกาย อปทาน(ฉบับบาลีสยามรัฐ)เล่ม ๓๓ ข้อ ๑๙:๗ หน้า ๒๘๔ ขุททกนิกาย อปทาน(ฉบับบาลีสยามรัฐ )เล่ม ๓๒ ข้อ ๑๓๙ หน้า ๒๔๔ ฃุททกนิกาย อปทาน( ฉบับบาลีสยามรัฐ)เล่ม ๓๒ ข้อ ๒ หน้า ๒0 ส่วนในคัมภืร์พุทธศาสน์ของเถรวาท เข่น อรรถกถาฎีกา เป็นต้น มีคำ ว่า \"ธรรมกาย\" ปรากฏอยู่อีกมาก และในส่วนของคัมภืร์พุทธศาสน์ของนิกายอื่น เข่น มหายาน เป็นต้น ก็ปรากฏมีคำว่า \"ธรรมกาย\" อยู่มากเข่นเดียวกัน ภาพแสดงที่ตั้งจิตทั้ง ๗ ฐาน ฐานที่ ๑ ปากช่องจมูก I๒ นิ้วนือ ฐานที่ ๒ เพราตา ^ ฐานที่ ๓ จอมประสาท - ฐานที่ ๔ ช่องเพดาน ฐานที่ ๕ปากช่องลำคอ 'm ฐานที่ ๗ คูนย์กลางกาย W >; ที่ตั้งถาวร naiimii ๒๑๒ www.kalyanamitra.org

^ การทำสมาธเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย® ^ การปรับร่างกาย - การนั่งทำสมาธิจะนังอยูในท่าใดnได้ แต่เมอนังในท่านันแล้ว ร่างกายจะตอง มีความสบายพอสมควรใจจึงจะเป็นลนาธิเร็ว - ท่านั่งทำสมาธิที่เหมาะที่สุด คือ ท่านังขัดสมาธิ โดยเอาฃาฃวาทับขาขัาย มีอฃวาทับมีอซ้าย ให้นิวฃีของมีอข้างขวาจรดนิวทัวแม่มือซ้างซ้าย วางไว้บนหน้าตัก พอสบาย - ควรปรับท่านั่งให้ผ่อนคลาย เลือดลมไหลเวียนสะดวก รู้สกสบาย ก่อนนัง สมาธิทุกครั้ง - ตั้งกายของเราให้ตรง อย่าล้มอย่าเงยนัก กะคะเนว่าเลือดลมในตัวของเรา เดินได้สะดวก ไม่ต้องถึงกับเกร็งตัว - การหลับตา ต้องหลับสบาย แค่ผนังตาปิดเบาๆ อย่าเม้มตาแน่น อย่ากดลูก นัยน์ตา หลับตาลักครึ่งลูก ปรือๆ สบายๆ ไมให้มีความรู้ถึกว่าหลับตาหรือลืมตา ทำ เบาๆ เหมือนตอนใกล้หลับ เหมือนเคลิ้ม แต่ไมใข่เคลิม การปรับใจ - การปรับใจ คือ การปรับสภาพจิตใจให้มืความสบาย มืความพร้อมที่จะทำ ภาวนาต่อไป - ความสบายในเบื้องต้น เกิดขืนได้จากการนึกถึงเรื่องทีทำให้ใจสบาย เข้น เรื่องบุญ ความดี หรือธรรมซาติ ฯลฯ ส่วนความสบายในลำตับต่อไป เข้น ได้ความ ซุ่มเย็น สงบนิ่ง ไร้ตัวตน ไร้นํ้าหนัก ไร้ความรู้ถึกในตัว เป็นต้น เราไม่ต้องใซ้ความ รู้สึกนึกคิดใดเลย แต่เกิดขึ้นจากใจที่หยุดนิ่งดีแล้ว ® กองปปีบ้ฅิรรรม วัดพระรรรมกาย, ความรู้สู่ทารปฏิไ)ติ...สมาธิ, 1ร๕๕พ. ๒๑๓ www.kalyanamitra.org

การนึกนิมิต - การปีกนิมต คือการทำให[จเรามีที่ยึดเกาะ ไม่ขัดส่าย ฟ้งซ่านไปที่อื่น - การปีก คือ การเริ่มต้นอย่างเบา สบาย เพลิน ไม่ต้องเร่ง ไม่ต้องลุ้น ไม่ ต้องต้งใจเกินไป ให้ปีกคล้ายๆ กับการปีกถึงสิ่งที่เราลุ้นเคย ซึ่งเราไม่ต้องใซ้กำล้ง อะไรเลย แต่เราก็ปีกได้ง่าย -นิมิตทีควรปีกถึง ต้องเป็นนิมิตที่ทำให้ใจของเราเกิดกุคล หรือปีกได้ง่าย เซ่น ปีกถึงพระพุทธเจ้า เป็นองค์พระแก้วใส ปีกถึงพระธรรม เป็นดวงธรรม มีลักษณะ ดวงกลมแก้วใส เป็นต้น โดยน้อมนำนิมิตมาไว้ที่คูนย์กลางกายฐานที่ ฅ) - ให้ดูเฉยๆ แม้หายก็ซ่างให้หยุด นิ่ง เฉย การดูเฉยๆ จะทำให้ประสบการณ์ ดีฃึนไปตามลำดับ เห็นแค่ไหน ก็พอใจแค่นั้น มีอะไรให้ดู ก็ดูไปเรื่อยๆ อย่างสบายๆ โดยไม่ต้องคืดอะไรทังนัน เห็นขนาดเล็ก - ใหญ่ ขัด - มัว ไม่สำคัญ สำ คัญที่ใจหยุด นิ่ง การใช้คำภาวนา -ให้เสียงคำภาวนา \"สัมมา อะระทัง\" เป็นเสียงที่ละเอียดอ่อน นุ่มนวล ละมุน ละไม เป็นเสียงที่ค่อย ดังมาจากกลางนิมิตที่อยู่กลางห้อง แว่วมาแต่ไกล คล้ายไม่ ขัดเจน แต่ขัดเจน ไม่เหมีอนเสียงท่อง ให้ปีกเป็นเสียงที่ละเอียดอ่อนดังแว่วออกมา ควบคู่ไปกับการตรืกปีกถึงองค์พระใส หรือดวงธรรมใส ใจหยุดไปที่กลางความใส - ให้ภาวนา \"สัมมา อะระทัง\" โดยไม่ตั้งใจมากเกินไป ให้ภาวนาไปเรื่อยๆ จะกีร้อย กีทัน กี่หมื่นจบก็ช่าง ให้ภาวนาไปจนกว่าเราจะเกิดความรู้สึกว่า ไม่อยาก จะภาวนา อยากวางใจเฉยๆ ให้หยุดนิ่งอยู่กลางองค์พระหรือดวงแก้ว ๒๑๔ www.kalyanamitra.org

การวางใจ - ต้องไม่วางใจเบาเกินไป หรือหน'กเกินไป ต้องวางใจพอดี ให้หลวม เหมือน ใส่เสื้อหลวม รู้สิกสบาย ให้นิ่ง เฉย ณ จุดที่สบาย มืความพึงพอใจ โดยไม่กงวลว่า ตรงนี้เป็นจุดศูนย์กลางกายหรือไม่ รู้สึกสบายตรงไหนก็ให้วางใจไว้ตรงนั้น - ทำ ใจให้อินโนเซนต์ บรืสุทธี้ ผ่องใส ไม่แข่งกับใคร ไม่แข่งกับเวลา ละความ ทะยานอยาก เห็นก็ช่าง ไม่เห็นก็ข่าง พอใจในการนั่งทุกครัง - วางใจให้ต่อเนื่องในทุกอิริยาบถ ไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เดิน หรือทำภารกิจ อะไรก็ตาม ก็ให้มืสดิอยู่ที่ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ อย่างเบาสบาย ๒๑๕ www.kalyanamitra.org

^ อานิสงส์การเจริญสมาธิภาวนา ^ แกสมาธิแล้วดีอย่างไร สภาพใจหี่ถูกอบรมด้วยสมาธิ จะมีอาการดีอย่างนี้ คือ สะอาด สงบ เยือกเย็น สบาย มั่นคง เข้มแข็ง มีคนเปรียบเทียบใจที่เกิดจากสมาธิกับร่างกายที่!ด้รับทารนริหารดูแลอย่างดี ดังนี้คือ ๑. ร่างกายที่เข้มแข็งว่องไว เพราะออกกำลังกายบ่อย เมื่อฉกสมาธิ = ใจจะเข้มแข็ง มั่นคง ตัดสินใจได้ฉับไว ๒. ร่างกายที่อิ่มเอิบผ่องใส เพราะได้รับประทานอาหารที่มีประโยชุนิ เมือฉกสมาธิ = ใจจะได้อาหารใจ คือ สมาธิ จึงอิ่มเอิบแช่มชื่นเบิกบาน ๓. ร่างกายทีมีเหงือไคลสกปรก เหนอะหนะ เมื่อได้อาบนี้าชำระร่างกายแล้ว ร่างกายจะสะอาดเกนี้ยงเกลา สดชื่น เย็นสบาย เมีอฉกสมาธิ = ใจที่ช่นมัวเศร้าหมองจะสะอาดขึ้น ใจที่วุ่นวายสับสนจะ เกลียงเกลา โล่งว่าง ใจทีถูกกดดันหนัก จะเบาสบาย ใจที่ร้อนร่ม จะเยือก เย็น ๔. ร่างกายทีเหน็ดเหนือยเมื่อยล้า เมื่อได้ฟักผ่อนนอนหลับ ตื่นขึ้นมาจะร้สิก หายเหนื่อย สบาย มีพลังเพื่อทำภารกิจต่างๆ ต่อไป เมือฉกสมาธิ = ใจทีท่องเทียวคิดโน่นคิดนื่จะได้หยุดฟัก เมื่อใจได้ฟักจึงหาย เหนื่อยใจ สบาย สดชื่น ผลของสมาธิในเบองต้นที่เราจะได้ คือ ใจที่สงบ สะอาด โล่งเบา เยือกเย็น สดใส สบาย มั่นคง เข้มแข็ง ๒๑๖ www.kalyanamitra.org

'ฝืกสมาธิแล้วได้บุญอย่างไร บุญนั้นเกิดที่ใจ และการ?เกสมาธิก็ฟิกที่ใจโดยตรง คือเมื่อเราทำสมาธิ ก็คือ การที่เราดึงใจให้กลับเข้ามาสู่ที่ตั้งดั้งเดิมของใจ การที่ใจวิ่งออกไปนอกตัว ไปอยู่ลับคนสัตว์สิ่งของนั้น มักจะนำเอามลทิน คือ อกุศลต่างๆ เข้ามาสูใจ (เหมือนติดเชื้อโรค)โดยไม่รู้ตัว เมื่อเราดึงโจกลับเข้ามาได้ ใจก็จะหลุดจากมลทินนั้นทิละนิด ยิ่งนำมาอยู่ในทิ ตั้งของใจอย่างต่อเนื่องด้วยการหยุดนิ่ง ใจก็ถูกกลั่นกรองให้สะอาด ให้ใสชื้น สภาวะที่ ใจสะอาดชื้น ใสขึ้น สงบฃึ้นนื่แหละ แสดงว่ามีบุญเกิดขึ้นแล้ว ยิ่งใจใสจนกระจ่างเปีน ความสว่าง บุญยิ่งทับทวี ตังนั้นการทำสมาธิภาวนาจึงได้บุญมาก อานิสงส์การเจริญสมาธิภาวนาต่อตนเอง ๑. ด้านสุขภาพจิต - ส่งเสริมให้คุณภาพของใจดึขึ้น คือ ทำ ให้จิตใจผ่องใส สะอาด บริสุทธื้ สงบ เยือกเย็น ปลอดโปร่ง โล่ง เบา สบาย มีความจำและสติปีญญาดีขึน - ส่งเสริมสมรรถภาพทางใจ ทำ ให้คิดอะไรได้รวดเร็ว ถูกต้อง และเลือกคิด แตในสิ่งที่ดึเท่านั้น ๒. ด้านพัฒนาบุคลิกภาพ - จะเป็นผู้มีบุคลิกภาพดี กระฉบกระเฉง กระปริกระเปร่า มีความองอาจ สง่าผ่าเผย มีผิวพรรณผ่องใส - มีความมั่นคงทางอารมณ์ หมักแน่น เยือกเย็น เชื่อมั่นในตนเอง และมี ความเมตตากรุณาต่อบุคคลทั่วไป - มีมบุษย์สัมพันธ์ดี วางตัวได้เหมาะสมลับกาลเทศะ ๒๑๗ www.kalyanamitra.org

๓. ค้านซึวิดประจำวน - ซวยให้คลายเครียด เป็นเครื่องเสริมประสิทธิภาพในการทำงานและการ สิกษาเล่าเรียน - ช่วยเสริมให้มีสุฃภาพร่างกายแข็งแรง เพราะร่างกายกับจิตใจย่อมมีอิทธิพล ต่อกัน ถ้าจิตใจเข้มแข็งสมบูรณ์ ย่อมเป็นภูมิต้านทานโรคไปในตัว ๔. ค้านสิลธรรมจรรยา - ย่อมเป็นผู้มีสัมมาทิฐิ เชื่อกฎแห่งกรรม สามารถคุ้มครองตนให้พ้นจาก ความชั่วทั้งหลายไต้ - ย่อมเป็นผู้มีความมักน้อย สันโดษ รักสงบ และมีข้นติเป็นเลิศ - ย่อมเป็นผู้มีความเอื้อเพ้อเผื่อแผ่ เห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ ส่วนตัว - ย่อมเป็นผู้มีสัมมาคารวะ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน - ย่อมมีศรัทธาตั้งมั่นในพระรัตนตรัย รู้ซึ้งถึงคุณค่าชองพระพุทธศาสนา - ย่อมไต้ชื่อว่าเป็นผู้สืบอายุพระพุทธศาสนาให้เจริญร่งเรีองสืบไป อานิสงส์การเจริญสมาธิภาวนาจากพระไตรป็ฎก (สมาธิสูตร) ๑. พบสุขทันตาเห็น ๒.ไต้ญาณทัสสนะ ๓. มิสติสัมปข้ญญะ ๔. กำจัดอาสวกิเลสไต้ ๒๑๘ www.kalyanamitra.org

วิธีการแกสมาธิเบื้องต้น สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความเสิกเป็นสุขอย่างยิ่ง ที่มนุษย์สามารถ สร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพทธคาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิฟ้ต เพือ การดำรงซีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปข้ญญะ และปีญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบตได้ง่ายๆ ดังวิธีปฎิฟ้ตที พระเดข- พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนุทสโร) หลวงป่วัดปากนำ ภาษีเจริญ ได้เมตตา สั่งสอนไว้ดังนี้ ๑.กราบบูชาพระร้ตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้นุ่มนวลไว้เป็นเบือง ต้น แล้วสมาทานศีล ๕ หรือศีล ๘ เพื่อยํ้าความมั่นคงในคุณธรรมของตนเอง ๒.คุกเข่าหรือนั่งพบเพียบสบายๆ ระลึกถึงความดีที่ไต้กระทำแล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนราวกับว่าร่างกายทังหมดประกอบข้น ด้วยธาตุแห่งคุณงามความดีล้วนๆ ๓. นั่งขัดสมาธิ เท้าขวาทับเท้าซ้าย มือขวาทับมือซ้าย นี้วขี้ของมือข้างขวา ๒๑๙ www.kalyanamitra.org

จรดนิ้วหัวแม่มือข้างซ้ายนั่งให้อยูในท่าที่พอดี ไม่ฝืนร่างกายมากจนเกินไป ไม่ถึงกับ เกร็ง แต่อย่าให้หลังโค้งงอ หลับตาพอสบายคล้ายกับกำลังพักผ่อน ไม่บีบกล้ามเนื้อ ตาหรือขมวดคิ้ว แล้วตั้งใจมั่น วางอารมณ์สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและ ใจ ว่ากำลังจะเข้าไปสู่ภาวะแท่งความสงบสบายอย่างยิ่ง ๔ ปีกกำหนดนิมิต เป็น \"ดวงแก้วกลมใส\" ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใสบริสุทธิ้ ปราศจากรอยตำหนิใดๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดังประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใส นิ้เรืยกว่า บริกรรมนิมิต นิกสบายๆ ปีกเหมือนดวงแก้วนั้นมานิ่งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลาง กายฐานที่ ๗ ปีกไปภาวนาไปอย่างนุ่มนวล เป็นพทธาบุสติว่า \"สัมมา อะระหัง\" หรือค่อยๆ น้อมปีกดวงแก้วกลมใสให้ค่อยๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มดันตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นดันไป น้อมปีกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ ไปพร้อมๆ กับคำ ภาวนา nawitui ๒๒๐ www.kalyanamitra.org

ภาพแสดงที่ตั้งจิตทั้ง ๗ฐาน อนึ่ง เมื่อนิมิตดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้วางอารมณ์สบายๆ กับนิมิตนั้น จนเหมือนกับว่าดวงนิมิตเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ หากดวงนิมิตนัน อันตรธานหายไป ก็ไม่ต้องปีกเสียดาย ให้วางอารมณ์สบาย แล้วปีกนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่ แทนดวงเก่า หรือเมื่อนิมิตนั้นไปปรากฏที่อื่น ที่มิใช่ศูนย์กลางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิต เข้ามาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มืการบังคับ และเมื่อนิมิตมาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลาง กาย ให้วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต ต้วยความรู้สึกคล้ายมืดวงดาวดวง เล็กๆ อีกดวงหนึ่ง ข้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจเอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ ตรงกลางนั้นไปเรื่อยๆ ใจจะปรับจนหยุดได้ถูกส่วน เกิดการตกศูนย์ และเกิดดวงสว่าง ขึ้นมาแทนที่ ดวงนี้เรืยกว่า \"ดวงธรรม\" หรือ \"ดวงปฐมมรรค\" อันเป็นประตูเบื้อง ต้นที่จะเปิดไปสู่หนทางแห่งมรรคผลนิพพาน ๒๒๑ www.kalyanamitra.org

ภาพแสดงที่ตั้งจิตทั้ง ๗ ฐาน .านทJ'« ปา { \"เง•ร';U ^£ 1<ายชํ\"1งขวา Id ฐานท ท 1ท8า^า < . พ เธาฬฯงฃวา ฐาน!! ๘1 <ท3มประฝ็าท ฐ')นที ร'ilaimrtu 'ฐาน!'ร ปาfฟ ฐานที M ภูนพ่พา บทส์'ง?ส์ถาวร ฐานที •» ถู่พเถรางเาานาะสัมระทีท การระลึกปีกถึงนิมิตสามารถทำไดในทุกแห่ง ทุกที่ ทุกอิริยาบถ ไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เดิน หรือขณะหำภารกิจใดๆ ข้อแนะนำ คือ ต้องหำให้สมาเสมอเป็นประจำ หำ เรื่อยๆ หำ อย่างสบายๆ ไม่ เร่ง ไม่บังคับ หำ ไต้แค่ไหน ให้พอใจแค่นั้น ซึ่งจะเป็นการปีองคันมิให้เกิดความอยาก จนเกินไป จนถึงคับหำให้ใจต้องสูญเสียความเป็นกลาง และเมื่อการ!!กสมาธิบังเกิดผล จนได้ \"ดวงปฐมมรรค\" ที่ใสเกินใส สวยเกินสวย ติดสนิทมั่นคงอยู่ที่ศูนย์กลางกาย แล้ว ให้หมั่นตริกระลึกปีกถึงอยู่เสมออย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิจะหำให้ชีวิตดำรงอยู่ บนเส้นทางแห่งความสุข ความสำเร็จ และความไม่ประมาทได้ตลอดไป ทั้งยังจะหำให้ สมาธิละเอียดลุ่มลึกไปตามลำดับอีกด้วย ๒๒๒ www.kalyanamitra.org

ข้อควรระวัง ๑. อย่าใช้กำลัง คือไมไซ้กำลังใดๆ ทั้งสิ้น เซ่น ไม่ปีบกล้ามเนื้อตา เพื่อจะให้ เห็นนิมิตเร็วๆ ไม่เกร็งแขน ไม่เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ไม่เกร็งตัว ฯลฯ เพราะการไซ้ กำ ลังตรงส่วนไหนของร่างกายก็ตาม จะทำให้จิตเคลื่อนจากดูนย์กลางกายไปสู่จุด นั้น ๒. อย่าอยากเห็น คือทำใจให้เป็นกลาง ประคองสติมิให้เผลอจากบริกรรม ภาวนาและบริกรรมนิมิต ส่วนจะเห็นนิมิตเมื่อใดนั้นอย่ากังวล ล้าถึงเวลาแล้วย่อมเห็น เอง การบังเกิดของดวงนิมิตนั้น อุปมาเสมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เราไม่ อาจจะเร่งเวลาได้ ๓. อย่ากังวลถึงการกำหนดลมหายใจเช้าออก เพราะการแกสมาธิเพื่อให้ เช้าถึงพระธรรมกายภายใน อาศัยการปีกถึง \"อาโลกกสิณ\" คือกสิณความสว่างเป็น บาทเบื้องด้น เมื่อแกสมาธิจนเช้าถึงดวงปฐมมรรคแล้ว แกสมาธิต่อไป ผ่านกายมนษย์ ละเอียด กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหม จนกระทั่งเช้าถึงพระธรรมกาย แล้ว จึงเจริญวิปิสสนาในภายหลัง ตังนั้น จึงไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดลมหายใจเช้าออก แต่ประการใด ๔. เมื่อเลิกจากนั่งสมาธิแล้ว ให้ตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายที่เดียว ไม่ว่าจะอยู่ ในอิริยาบถใดก็ตาม เซ่น ยืนก็ดี เดินก็ดี นอนก็ดี หรือนั่งก็ดี อย่าย้ายฐานที่ตั้งจิตไปไว้ ที่อื่นเป็นอันขาด ให้ตั้งใจบริกรรมภาวนา พร้อมกับ ปีกถึงบริกรรมนิมิตเป็นดวงแก้วใส ควบคู่กันตลอดไป ๔. นิมิตต่างๆ ที่เกิดขึ้น จะต้องน้อมไปตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกายทั้งหมด ล้า นิมิตเกิดขึ้นแล้วหายไปก็ไม่ต้องตามหา ให้ภาวนาประคองใจต่อไปตามปกติ ในที่สุด เมื่อจิตสงบ นิมิตย่อมปรากฏขึ้นใหม่อีก การแกสมาธิเบื้องด้นเท่าที่กล่าวมาทั้งหมดนื้ ย่อมเป็นป้จอัยให้เกิดความสุขได้ พอสมควร เมื่อซักช้อมปฏิบัติอยู่เสมอๆ ไม่ทอดทั้งจนได้ดวงปฐมมรรคแล้ว ก็ให้หมั่น ประคองรักษาดวงปฐมมรรคนั้นไว้ตลอดชีวิต ดำ รงตนอยู่ในคืลธรรมอันดี ย่อมเป็น ๒๒๓ www.kalyanamitra.org

หลักประกันได้ว่า ได้ที่พี่งของชีวิตที่ถูกด้องดีงาม ที่จะส่งผลไห้เป็นผู้มีความสุข ความ เจริญ ทั้งในภพขาตินี้และภพซาติหน้า เด็กเคารพผู้Iหญ่ ผู้!หญ่เมตตาเด็ก ทุกคนมี ความรกใคร่ สามัคคีเป็นนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน หากสามารถแนะนำต่อๆ กันไป ขยายไป ยงเหล่ามนษยซาติอย่างไม่จ็ากัดเชื้อซาติ ศาสนา และเผ่าพันธุ ลันติสุขลันไพบูลย์ ที่ ทุกคนใฝ่ฝืน ก็ย่อมปังเกิดชื้นอย่างแน่นอน ประโยชน์ของการแกสมาธิ ๑. ผลต่อตนเอง ๑.๑ ด้านสุขภาพจิต - ส่งเสริมให้คุณภาพของใจดีชื้น คีอ ทำ ให้จิตใจผ่องใส สะอาด บริสุทธื้ สงบ เยือกเย็น ปลอดโปร่ง โล่ง เบา สบาย มีความจำและสติ ป้ญญาดีชื้น - ส่งเสริมสมรรถภาพทางใจ ทำ ให้คิดอะไรได้รวดเร็ว ถูกด้อง และ เลือกคีดแตในสิ่งที่ดีเท่านั้น ๑.๒ ด้านพัฒนาบุคลิกภาพ - ทำ ให้เป็นผู้มีบุคลิกภาพดี กระฉับกระเฉง กระปรี้กระเปร่า มีความ องอาจสง่าผ่าเผย มีผิวพรรณผ่องใส - มีความมั่นคงทางอารมณ์ หน้กแน่น เยือกเย็น และเซื่อมั่นในตนเอง - มีมบุษยลัมพันธ์ดี วางตวได้เหมาะสมกับกาลเทศะ เป็นผู้มีเสน่ห์ เพราะไม่มักโกรธ มีความเมตตากรุณาต่อบุคคลทั่วไป ๑.๓ ด้านชีวิตประจำวัน - ข่วยให้คลายเครียด เป็นเครื่องเสริมประสิทธิภาพในการทำงาน และ การคิกษาเล่าเรียน - ซ่วยเสริมให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เพราะร่างกายกับจิตใจย่อมมี อิทธิพลต่อกัน ถ้าจิตใจเข้มแข็ง ย่อมเป็นภูมิต้านทานโรคไปในตัว ๒๒๙ www.kalyanamitra.org

๑.๔ ด้านศีลธรรมจรรยา - ทำให้เป็นผู้มีสัมมาทิฏเ เดู่อกฎแห่งกรรม สามารถคุ้มครองตนให้พ้น จากความชั่วทั้งหลายได้ และเนื่องจากจิตใจดี จึงทำให้ ความประพฤติ ทางกายและวาจาดีตามไปด้วย ทำ ให้เป็นผู้มีความมักน้อย สันโดษ รัก สงบ และมีขันติเป็นเลิศ - ทำ ให้เป็นผู้มีความเอื้อเฟ้อเผื่อแผ่ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า ประโยชน์ส่วนตัว - เป็นผู้มีสัมมาคารวะ และมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ๒. ผลต่อครอบครัว ๒.๑ ทำ ให้ครอบครัวมีความสงบสุข เพราะสมาชิกในครอบครัวเห็น ประโยชน์ของการประพฤติธรรม ทุกคนตั้งมั่นอยู่ในศีล ปกครองกัน ด้วยธรรม เด็กเคารพผู้!หญ่ ผู[้ หญ่เมตตาเด็ก ทุกคนมีความรักใคร่ สามัคคีเป็นนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน ๒.๒ ทำ ให้ครอบครัวมีความเจริญก้าวหน้า เพราะสมาชิกต่างก็ทำ หน้าที่ของตนโดยไม่บกพร่อง เป็นผู้มีใจคอหนักแน่น เมื่อมีปีญหา ครอบครัว หรือมีอุปสรรคอันใด ย่อมร่วมใจกันแก้ไขปิญหาทั้นให้ ลุล่วงไปได้ ๓, ผลต่อสังคมและประเทศชาติ ๓.๑ ทำ ให้สังคมสงบสุข ปราศจากป็ญหาอาชญากรรม และป้ญหา สังคมอื่นๆ เพราะปีญหาทั้งหลายที่เกิดขึ้นในสังคม ไม่ว่าจะเป็นปีญหา การฆ่า การข่มขืน โจรผู้ร้าย การทุจริตคอรัปชั่น ล้วนเกิดขึ้นมาจาก คนที่ขาดคุณธรรม เป็นผู้ที่มีจิตใจอ่อนแอ หวั่นไหวต่ออำนาจ สิ่ง ยั่วยวนหรือกิเลสได้ง่าย ผู้ที่สิกสมาธิย่อมมีจิตใจเข้มแข็ง มีคุณธรรมใน ใจสูง ถ้าแต่ละคนในสังคมต่างแกฝนอบรมใจของตนให้หนักแน่น ๒๒๕ www.kalyanamitra.org

มั่นคง ป้ญหาเหล่านี้ก็จะไม่๓ดขึ้น ล่งผลให้สังคมสงบสุขได้ ๓.๒ ทำ ให้เกิดความมีระเบียบวินัย และเกิดความประหยัด ผู้ที่สิกใจ ให้ดีงามด้วยการทำสมาธิอยู่เสมอ ย่อมเป็นผู้รักความมีระเบียบวินัย รักความสะอาด มีความเคารพกฎหมายของบ้านเมือง ทำ ให้บ้าน เมืองของเราสะอาดน่าอยู่ ไม่มีคนมักง่ายทิ้งขยะลงบนพื้นถนน จะ ข้ามถนนก็เฉพาะตรงทางข้าม เป็นด้น เป็นเหตุให้ประเทศขาติไม่ต้อง สิ้นเปลืองงบประมาณ เวลา และกำลังเจ้าหน้าที่ที่จะไปใช้สำหรับแก้ บีญหาที่เกิดขึ้นจากความไม่มีระเบียบวินัยของประซาซน ๓.๓ ทำ ให้สังคมเจริญก้าวหน้า เมื่อสมาชิกในสังคม มีสุขภาพจิตดี รักความเจริญก้าวหน้า มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ย่อมล่งผล ให้สังคมเจริญก้าวหน้าตามไปด้วย และเมื่อมีกิจกรรมของส่วนรวม สมาชิกในสังคมก็ย่อมพร้อมที่จะสละความสุฃล่วนตน ให้ความร่วมมือ กับส่วนรวมอย่างเต็มที่ แม้มีผู้1ม่ประสงค์ดีต่อสังคมจะมายุแหยให้เกิด ความแตกแยก ก็จะไม่เป็นผลสำเร็จ เพราะสมาชิกในสังคม เป็นผู้มี จิตใจหนักแน่น มีเหตุผล และเป็นผู้รักสงบ ๔. ผลต่อศาสนา ๔.๑ ทำ ให้เข้าใจพระพุทธศาสนาได้อย่างถูกต้อง และรู้ขึ้งถึงคุณค่า ของพระพุทธศาสนา รวมทั้งรู้เห็นด้วยตัวเองว่า การแกสมาธิไมใช่ เรื่องเหลวไหลหากแต่เป็น วิธีเดียวที่จะทำให้พ้นทุกข์ เข้าสู่นิพพาน ท ร^ ใด ๔.๒ ทำ ให้เกิดศรัทธาตั้งมั่นในพระรัตนตรัย พร้อมที่จะเป็นทนาย แก้ต่างให้กับพระพุทธศาสนา อันจะเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่ การปฏิบ้ติธรรมที่ถูกต้องให้แพร่หลายไปอย่างกว้างขวาง ๔.๓ เป็นการลืบอายุพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองตลอดไป เพราะตราบใดที่พุทธศาสนิกซนยังตั้งใจปฏิบ้ติธรรมเจริญภาวนาอยู่ พระพุทธศาสนาก็จะเจริญรุ่งเรืองอยู่ตราบนั้น ๒๒๖ www.kalyanamitra.org

๔.๔ จะเป็นกำลังส่งเสริมทำบุบำรุงพระพุทธศาสนา เพราะเมื่อ เข้าใจซาบซึ้งถึงประโยซน์ฃองการปฎิบํตธรรมด้วยตนเองแล้ว ย่อมจร ซักซวนผู้อื่นให้ทำทาน รกษาสืล เจริญภาวนาตามไปด้วย และเมื่อ ใดที่ทุกคนในลังคมตั้งใจปฏิบํติธรรม ทำ ทาน รักษาศีล และเจริญ ภาวนา เมื่อนั้นย่อมเป็นที่หรังได้ว่า สันติสุฃที่แท้จริงก็จะบังเกิดขึ้น อย่างแน่นอน ๒๒๗ www.kalyanamitra.org

แผนที่เส้นทางมาวัดพระธรรมกาย ฬ่ tvwii • 111 dc! I M. ',L ' la '\"'^T#- « '^\" ขออนุโมทนากับความตั้งใจ ในการแกฝนอบรมตนเอง และการสั่งสมบารมีของ ธรรมทายาททุกๆ ท่าน ๒๒๘ www.kalyanamitra.org

อ้างอิง ๑. กองวิชาการ มหาวิทยาสัยธรรมกาย แคลิฟอร์เปีย. GL204 ศาสตร์แห่ง การเป็นพระสัมมาสัมพทธเจ้า, ๒๕:๕๒. ๒. กองวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เปีย- MD102 สมาธิ, ๒๕๕๒. ๓. กองวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เปีย. SB101 วิถีชาวพุทธ, ๒๕๕๒. ๔.กองวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เปีย. GB101 ความรู้พื้นฐาน ทางพระพุทธศาสนา, ๒๕๕๒. ๕. กองวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เปีย. GB102 สูตรสำเร็จการ พัฒนาตนเอง, ๒๕๕๒. ๖. กองวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เปีย. GB203 สูตรสำเร็จการ พัฒนาสังคมโลก ,๒๕๕๒. ๗. กองวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เปีย. DF101 การทำหน้าที่ กัลยาณมิตรเบื้องต้น, ๒๕๕๒. ๘. กองวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เปีย. DF303 เครือข่าย องค์กรกัลยาณมิตร, ๒๕๕๒. ๙. กองวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เปีย. GL03 กฎแห่งกรรม, ๒๕๕๒. ๒๒๙ www.kalyanamitra.org

ชีวิตฆาราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี บรรพชาเป็นทางปลอดโปร่ง การที่บุคคลผู้ครองเรือนจะประพฤติพรมจรรย์ เ^ ~'^-. ให้บริสุทธี้ บริบูรณ์ เพียงอย่างเดียว ^ โ;^ดุจ^ช์ฃัด ไม่ใช่ทำไห้ง่าย |;:5ย่1กระนั้นเลั๋ย >ราพีงุปลงผม่และ.หนวด ®^นุ^มผากาสาวพสุต่รฺ ออกปว'ฐ.เป็'yiบรรพชิต ^ไ-'/\"-ร่ s ■^. ' ' ' /T^TL พ'/2* www.kalyanamitra.org