Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E book คู่มือธรรมทายาท

Description: E book คู่มือธรรมทายาท

Search

Read the Text Version

ผ้าไตรจีวรจึงจัดเป็นเครื่องแบบของพระภิกษุสามเณร ที่ยืนยาวมากกว่า ๒,๕๐๐ ปี บุคคลธรรมดาทั่วไปไม่มีภิทธ!ข้ หากพระภิกษุสามเณรรูปใดลาภิกขาแล้ว จะต้องเปลี่ยนกลับ ไปสวมใส่เสี้อผ้าตามเดิมเข่นฆราวาสทั่วไป มิฉะนั้นจะถือว่าทำ ผิด มีโทษต้องถูกจองจำหรือถูกปรับตามกฎหมาย อีกนัยหนึ่ง ผ้าไตรจีวรเปรียบเสมีอนธงขัยของพระ อรหันต์ เพราะการบวขเป็นสามเณรหรือพระภิกษุแม้เพียง ชั่วคราว ก็นับว่าเป็นการสืบทอด พระพุทธศาสนา เพราะเป็น เหตุใหั1ดิปีกหัดขัดเกลาตนเองตามอริยวินัย เป็นการเดินทาง เข้าสู่เส้นทางแห่งการสลัดออกจากกองทุกข์ ทำ ให้แจ้งซึ่งพระ นพพานจันเป็นเป็าหมายสูงสุด ผ้าไตรจีวรที่ห่มคลุมกายของ พระภิกษุ จึงเป็นประหนึ่งธงขัยของพระอรหันต์ที่โบกสะบัด เป็นการประกาศว่า บัดนี้ สัญญาณแห่งขัยชนะได้เริ่มแล้ว นอกจากผ้าไตรจีวรซึ่งเป็นผ้าผืนหลักแล้ว พระภิกษุยังอาจจะมีผ้าอื่นๆ อีก สำ หรับใช้ประกอบในการบุ่งห่ม หรือใช้ในชีวิตประจำจัน เข่น จังสะ ผ้ารัดอก รัด ประคด ผ้ารับประเคน ผ้ารองนั่ง ผ้าเชีดหน้า ผ้าอาบนั้าฝน และผ้าบริขาร ผ้าเล็กผ้า น้อย อื่นๆ อีก เข่น ย่าม สลกบาตร เป็นต้น การเชียนซึ่อ การเขียนซื่อให้เขียนด้วยตัวจักษรขนาดความสูงครึ่งนี้ร สำ หรับพระภิกษุให้ เขียน \"พ.(ชีอ)(ฉายา)กลุ่ม (เลขกลุ่ม)\" และวงเล็บช้างล่างว่า \"ครอง หรือ อาศัย\" ส่วนสามเณรให้เชียน \"ส.ณ.(ชื่อ)(นามสกล)กลุ่ม (เลขกลุ่ม)\" โดยให้เขียนเป็นเลข ไทยเท่านั้น สบง ให้เขียนที่ขายด้านใน พ.สมชาติ สุขาโต กลุ่ม ๑ (อาศัย) ๕๐ www.kalyanamitra.org

จีวรและสังฆาฏิ ให้เขียนที่มุมขวาของตะเข็บด้านใน สังเกตที่ฃ'ณฟ้ของจีวร ด้านบน จะมีขัณฑ์เล็ก ๆ ๓ ขัน ดังหมายเลข ๑,๒,๓ (ดูภาพประกอบ) ให้เขียน ซื่อ,ฉายา,กลุ่ม ลงบนมุมด้านขวาของขัณฟ้ที่ ๓ (ดูภาพประกอบ) ถ้าเปนจีวร ให้ ระบุด้วยว่าเป็นผ้าครองหรือผ้าอาศัย ถ้าเป็นสังฆาฏิก!ห้เขียนว่า \"สังฆาฏิ\" วิธีสังเกตจีวร ด้านใน จะเห็นตะเข็บยาว ด้านนอก จะเห็นขอบจีวร ด้านบน จะสังเกตว่ามีสามขัณฑ์เป็นต้น สังเกตจากภาพประกอบ M (๒) (๓) องสะ ให้เขียนที่กระเป๋าด้านใน ผ้าอื่นๆ เซ่น ผ้าสรงนํ้า ผ้าเข็ดบาตร ผ้าขนหนู ให้เขียนดัวโตๆ โดยเขียนซื่อ, ฉายา,กลุ่ม และห้ามเขียนภาพใดๆ ลงไปในผ้าทุกชิ้น รวมห้งอักษรภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นๆ ด้วย ทรแพทเ ๕® www.kalyanamitra.org

สลกบาตร ห้ามเขียนซื่อ และห้ามทำสัญลักษณ!ดๆ ทั้งสิ้น บาตร กระบอกนำ และอุปกรณ์ของใช้อื่นๆ ให้ใช้กระดาษกาวติด และเขียน ชื่อ/ กลุ่มให้ซัดเจน วินัยผ้า เมื่อเช้าสู่พิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้ว พระธรรมวินัยที่เกี่ยวช้องลับผ้า ต่างๆ เป็นเรื่องสำคัญมากที่จะต้องทราบ และปฎิบติตามให้ถูกต้อง ดังนี้ การพินทุผ้า การพินทุผ้า ■คือ การทำให้เสียสีในเนี้อผ้า ให้เป็นสัญลักษณ์ในการจดจำผ้า ของตนเองไต้ ผ้าจีวรใหม่ทุกผืน (หมายถึงผ้าที่ใช้บุ่งหรือห่มไต้เท่านั้น)จะต้องพินทุ ก่อนนำไปใช้สอย หากไม่พินทุ ต้องอาษัติปาจิตตีย์ การพินทุนั้น พระพุทธองค์ทรง อนุญาตให้ใช้สีใดสีหนึ่งใน ๓ สินี้ คือ สีเขียวคราม สีนํ้าตม หรือสีดำคลํ้า การพินทุผ้า เริ่มด้วยการตั้งนะโมๆ ๓ จบ แล้วใช้ปากกาทำเครื่องหมายที่บุม ผ้าเป็นจุดขนาดประมาณเมล็ดถั่วเขียว ๓ จุด แต่ละจุดห่างลันให้เป็นรูปสามเหลี่ยม พร้อมลับกล่าวคำทำพินทุว่า เราทำเครื่องหมายด้วยจุดนี้ เป็นภาษาบาลี คำ พินทุกัปปะ พิงตั้งนะโม ๓ จบก่อน และเปล่งวาจาหรือผูกใจขณะที่ทำอยู่ว่า อินัง พินทุกปป็ง กะโรมิฯ ทุติย์'มปิ อินัง พินทุกัปปัง กะโรมิฯ ตะติยัมปี อินัง พินทุกัปปัง กะโรรฯ การอธิษฐานผ้า อธิษฐานในทางพระวินัย คือ การตั้งเอาไว้ หรือตั้งใจกำหนดเอาไว้ เข่น การไต้ ผ้ามาผืนหนึ่ง เราก็จะต้องอธิษฐานโดยตั้งใจว่าจะใช้เป็นผ้าอะไร เข่น เป็น สังฆาฏิ เป็นสบง หรือจีวร เป็นต้น โดยผ้าไตรจีวรจะอธิษฐานไต้อย่างละผืนเท่านั้น ยกเว้นผ้า บรืฃาร และผ้าเข็ดหน้า สามารถอธิษฐานไต้มากกว่า ๑ ผืน ๕๒ www.kalyanamitra.org

การอธิษธานผ้า ทำ ได้โดยตังนะโม\"! ๓ จน แล้วกล่าวคำอธิษฐานผ้าพร้อมกัน ใช้มือลูบผ้าวนขวา ๓ ครั้ง เซ่น การอธิษฐานผ้าสังฆาฏิ ว่าตังนี้ อิมัง สังฆาฏิง อะธิฏฐามิๆ ทุติยัมปิ อํมัง สังฆาฏิง อะธิฏฐามืฯ ตะติยัมปิ อิมัง สังฆาฏิง อะธิฏฐามิ\"! เมื่อจะอธิษฐานผ้าอื่นๆ ให้เปลี่ยนคำว่า สังฆาฏิง ไปตามชนิดของผ้านัน อุตตะราสังสัง ผ้าอุตราลงคํ (จีวร) สันตะระวาสะกัง ผ้าอันตรวาสก (สนง) นิสิทะนัง อาสนะ ป้ตตัง นาตร ปะ'รกขาระโจสัง ผ้านริฃาร (ผ้าเลกผ้าน้อย) มุขะปุญฉะนะโจสัง ผ้าเช็ดหน้า วัสสิกะสาฏิกัง ผ้าอาบนํ้าฝน สำ หรันผ้าบริขารและผ้าเช็ดหน้า ถ้าอธิษฐานตังแต่สองฝินช็นไป ให้เปลียน อิมัง เป็น อิมานิ และ สัง ท้ายตัพท์ เป็น อานิ ตังนี อิมานิ ปะริกขาระใจลานิ อะธิฏฐามิฯ ทุติยัมปิ อิมานิ ปะริกขาระโจลานิ อะธิฏฐามิ\"! ตะติยัมปิ อิมานิ ปะริกขาระโจลานิ อะธิฏฐามิ\"! การถอนอธิษฐาน ผ้าอธิษฐานเหล่านี้ถ้าจะเปลี่ยนใพม่ ให้ถอนอธิษฐาน โดยเปลียนคำว่า สังฆาฏิงไปตามชนิดของบริขารนั้นๆ ด้วยคำว่า ๕๓ www.kalyanamitra.org

อิมัง สังฆาฏิง ไ]จจุทธะรามิฯ ทุติยัมปิ อิมัง สังฆาฏิง ปีจจุทธะรามิฯ ตะติยัมปิ อิมัง สังฆาฏิง ปืจจุทธะรามิ■ๆ การวิกัปผ้า เนืองจากผ้าไตรจีวรมีได้เพียงชุดเดียว ในการใช้ผ้าของเราจีาเปึ'นจะด้ฐงมีผ้า เปลี่ยน หากจะเพิ่มจีานวนสบงและจีวร {เรียกว่าผ้าอาศัย) ตามพระธรรมวินัย นัญญ้ตให้ต้องวิกัปผ้า*นั้น คือการทำวิกัปผ้าใ*ฬ้เป็น ๒ เจ้าของ เป็นของกองกลาง เพิ่อ ทีว่าจะ ได้ไม่ติดในทรัพย์สินที่เป็นผ้าจีวร ก่อนที่จะนำผ้าที่วิกัปมาใช้ได้ ภิก'ษุที่เป็น เจ้าของร่วมต้องถอนวิกัปก่อน คำ วิกัปผ้าสำหรับผ้าผืนเดียว ว่าดังนี้ อิมง จีวะรัง ตุย*ดัง วิกัปเปมิฯ 'ทุติยัมปิ อินัง จีวะรัง ตุยหัง วิกัปเปมิๆ ตะติยัมปิ อินัง จีวะรัง ตุยหัง วิกัปเปมิฯ ถ้าผ้าสองผืนขึ้นไป ให้เปลี่ยนคำดังนี้ อิมานิ จีวะรานิ ตุยห้ง วิกัปเปมิ คำ ถอนวิกัป สำ หรับผ้าผืนเดียว และผู้ถอนเป็นกันเต ว่าดังนี้ อินัง จีวะรัง นัยห้ง สันตะกัง ปริภุญซะ วา วิสัซเซหิ วา ยะ ถาป้จจะกัง วา กะโรหิๆ *ทุติยัมปิ อินัง จีวะรัง นัยห้ง สันตะกัง ปริคุญซะ วา วิสัขเซหิ วา ยะถา ปีจจะยัง วา กะโรหิฯ ตะติยัมปิ อินัง จีวะรัง นัยดัง สันตะกัง ปริภุญขะ วา วิสัซเซหิ วา ยะถา ปิจจะยัง วา กะโรหิฯ ๕๔ www.kalyanamitra.org

ถ้าผู้ถอนเป็นอาวุโส ว่าดังนี้ อิฟ้ง จืวะรัง ฟ้ยฟ้ง สันตะถ้ง ปริฦญขะถะ วา วิสัซเซถะ วา ยะถาป็จจะยัง วา กะโรถะฯ ทุติยัมปี อิมัง จีวะรัง มัยหัง สันตะกัง ปริฦญซะถะ วา วิสัฃเซถะ วา ยะถาป้จจะยัง วา กะโรถะฯ ตะติยัมปิ อิมัง จีวะรัง มัยฟ้ง สันตะกัง ปริภุญซะถะ วา วิสัซเซถะ วา ยะถาป้จจะยัง วา กะโรถะฯ ถ้าถอนวิกัปผ้าสองผืนขึ้นไป เปลี่ยนคำดังนี้ อิมัง จีวะรัง เป็น อิมานิ จืวะรานิ สันตะกัง เป็น สันตะกานิ การรักษาผ้าครอง เมื่อเราอธิษฐานผ้าไตรจีวร คือ สังฆาฏิ อุตตราสงค์ และอันตรวาสก จำนวน ๓ ผืน ซึ่งเรียกว่าผ้าครอง พระภิกษุจะต้องรักษาให้อยู่โนหัตถนาส(ทีโกถ้ดัวซัวค'พหนึง คือระยะที่เหยียดแขนออกไปจับดัวอีกคนหปิงไต้) ก่อนทีจะเริมเช้ารันใหม่เรียกว่า รักษาผ้าครอง ถ้าหากขาดครองคือ ผ้าผืนใดผืน หนึ่งใน ๓ ผืนนี้ไม่ได้อยู่ในหัตถบาส ก่อนเวลาเช้าตอนรับอรุณ(เวลาใกล้อาทีตย์จะขึ้น) เป็นอาบตนิสสัคคียปาจิตตีย์ เพราะถือว่าเป็นการไม่รักษาสมบตของตน เมื่อจะปลงอาบต จะต้องสละผ้าของตนให้ แก่ภิกษุรูปอื่นก่อน โดยการกล่าวคำเสียสละผ้า แล้วจึงปลงอาบติไต้ และก็เป็น ประเพณีอันดีงามที่พระภิกษุที่ไต้รับผ้าไปจะคืนให้แก่เจ้าซจ'3''ตีน เมือไต้รับผ้าคืนมา แล้วก็จะต้องอธิษฐานใหม่ ๕๕ www.kalyanamitra.org

คำ เสิยสละผ้าครอง คำ เสียสละผ้าครองสำหรับผ้า ๑ ผืน ให้แก่ภิกษุที่เป็นภัน!.ต ว่าดังนี้ อิทัง เม ภันเต จีวะรัง รัตติวิปปะวุตถัง อัญญัตตะระ ภิกขุ ส้มมะติยา นิสส้คติยัง อิมาหัง อายัเ[มะโต นิสส้ซชาฐ ๆ ทุติยัมปิ อิทัง เม ถันเต จีวะรัง รัตติวิปปะวุตถัง อัญญัตตะระ ภิกขุ ส้มมะติยา นิสส้คติยัง อมาหัง อายัสืมะโต นิสส้ซซามิ ๆ ตะติยัมป็ อิทัง เม ถันเต จีวะรัง รัตติวิปปะวตถัง อัญญัตตะระ ภิกขุ ส้มมะติยา นิสส้คติยัง ลิมาหัง อายัเ[มะโต นิสส้ซซามิ ๆ ถ้าเสียสละผ้าครองให้แก่ภิกษุผู้เป็นอาวุโส ให้เปลี่ยบสำว่า ถับเต เป็บ อาวุโส ถ้าเสียสละผ้า ๒ ผืน ให้เปลี่ยนสำว่า จีวะรัง เป็น หวิจีวะรัง ถ้าเสียสละผ้า ๓ ผืน ให้เปลี่ยนสำว่า จีวะรัง เป็น ติจีวะรัง คำ ให้ผ้าคืน ว่าดังนี้ ลิมัง จีวะรัง อายัเ[มะโต ทัมมิ ฯ ตารางแจกแจงรายละเอืยด ประ๓ท อธิษฐาน วิถัป พินทุ หมายเหตุ ๑. ส้งฆาฎิ ๒. จีวรครอง ๓. สบงครอง ๔. บาตร ๔. จีวรอาศัย ๖. สบงอาศัย ๕๖ www.kalyanamitra.org

๗.ผ้าอาบนํ้าฝน/ผ้าสรงป้า - ผ้าเข็ดบาตร ๘. ผ้าเข็ดหน้า - สายรัดประคด - ผ้ารัดอก ๙. สลกบาตร - ผ้ารับประเคน - ย่าม ๑๐. ผ้าบริขารอื่น - ผ้าเข็ดตัว ข้อสังเกต ๑. ผ้าที่เป็นของสงฆ์ เซ่น มุ้ง บาตร และสลกบาตร เราจะไม่เขียนขื่อ เพื่อจะ ได1ซ1นรุ่นต่อไปได้อีก ๖. ผ้าอาบนํ้าฝน หรือผ้าสรงนํ้า คือ ผ้าชนิดเดียวกัน แต่ถ้าได้มาในซ่วงเข้า พรรษา เรืยกว่าผ้าอาบนํ้าฝน ใฟ้อฐิษฐานเป็นผ้าอาบบำฝบ ออกพรรษาแล้วไหวกัป ก่อนน่ามาไข้ การปลงอาบัติ การที่พระภิกษุละเมิดพระวินัยหรือคืลแล้วล้าปีกได้ จีงรืบมาเปิดเผย ไห้เพอน ภิกษุด้วยกันรับรู้ แล้วตั้งไจว่าต่อไปจะพยายามล้ารวมระวังไม่ทำผิดอีก เรียกว่า \"การปลงอาบต\" พระพุทธองค์ทรงบัญญ้ตพระวินัย ห้ามพระภิกษุปกปิดความผิดของตน ทำ ผิด แล้วด้องรีบเปิดเผย เพื่อไมให้เป็นคนลวงโลก ถ้าทำผิดหนักจริงๆ ก็ด้องยอมตัดไจลา สิกขา เพราะแสดงว่าสติสัมปชัญญะหย่อนเกินกว่าที่จะทำความดีได้ไมเพด^มณ\" ถ้า ผิดหนักแต่ยังไม่ถึงขนาดต้องลาสิกขา ก็ต้องยอมประจานตนต่อหน้าคณะสงฆ์เพื่อ ขอรับโทษ แม้ถึงถูกกักบริเวณก็ต้องยอม ๕๗ www.kalyanamitra.org

วิธืการปลงอาบ้ต ๑ นั่งบนอาสนะเดียวกัน คุกเข่าหันหน้าเข้าหากันห่างกันประมาณ ๑ ศอก ๒ อาวุโสก้มศีรษะโน้มต'วลง ประนมมืออยู่ระหว่างอก ส่วนกันเตประนมมือรับ ๓ อาวุโสกล่าวคำปลงอา'บต ต่อจากนั้นกันเตกล่าวคำปลงอาปติเข่นกัน หมายเหคุ การปลงอา'บตหุกครั้งให้อยูใน'ฬี่มืแลงสว่างมองเห็นหน้ากันได้ ข้ดเจน และต้องนุ่งห่มให้เรียบร้อย อานิสงส์ของการปลงอๆปติ ๑. ทำ ไห้ไต้สำนึกความผิดเร็วขึ้น\" ๒. ทำ ไห้แก้!ขตัวเองไต้ทันห่วงที ๓.ทำ ไห้ไม่เป็นคนลวงโลก ไม่มืมารยา จิตไจพร้อมที่จะเปิดรับความดีอยู่ ตลอดเวลา ๕๘ www.kalyanamitra.org

หมวดการน่งพ่ม การพิจารณาก่อนห่มจีวร จีวรที่ยังมิได้ห่มนั้นดูสะอาด แต่เมื่อมาห่อทุ้มคลุมร่างกายอันเป็นปฏิคูลนีแล้ว จีวรนั้นก็จะแปรสภาพเป็นของปฏิกูลไปด้วย เพราะถูกด้องเหงือไคลทีไพลออกมาจ'ไก ร่างกายเรา การพิจารณาอย่างนี้เพื่อป็องกันมิให้จิตใจเกิดตัณหาเวลาไข้สอยจีวร นั่นเอง วัตถุประสงค์ของการบุ่งห่ม เมื่อพระสัมมาส้มพุทธเจ้าบังเกิดขึ้น พระองค์ได้ทรงแสดงการดำเนินขีวิตอัน ประเสริฐให้ชาวโลกดูว่า คนเราไม่ได้ต้องการเสื้อผ้าเครื่องบุ่งห่มอะไรมาก มีเพียงผ้า สามผืนก็พอแล้ว คือ สบง จีวร และสังฆาฏิ โดยใข้เพียงเพื่อฟ้องกันความร้อน ความ หนาว ลม แดด ฝน กันเลือด เหลือบ ลิ้น ยุง แมลง มาไต่ตอม รวมทั้งกันอาย และการ ที่ใข้ผ้าลืเดียวกันเป็นพื้น ก็เกิดความงามแบบสงบเย็น มีความสง่าอยู่ในตัว การบุ่งสบง การบุ่งสบง บุ่งยาวใต้เข่าลงมาครึ่งหน้าแข้ง ให้ขอบสบงเสมอกันเป็น ปริมณฑล คือ ต้านหน้าและด้านหลังยาวเท่ากัน ไม่ย้วยหน้าย้วยหลัง ในการ พับชาย สบง ให้พับวนขวา ๒ - ๓ รอบก่อน ความกว้างประมาณ ๕'. ๗ นิวมีอ แล้วจีงสสับ พินปลา แล้วจึงรัดประคดเอวบริเวณสะดีอ แ^ ๒ ๓ ๑ ๕๙ www.kalyanamitra.org

ฟิ5^ .๖ ๗ ๘ การห่มจืวร มีอยู่ ๓ แบบใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ ๑ การห่มดอง ห่มปิดบ่าซ้ายเปิดบ่าขวา ด้วยวิธีจับผ้าพับลงมาพอดี ชักขายข้างหนึ่งโอบหลัง สอดรักแร้ขวา โอบหน้าอกขึ้นไปทาบบนบ่าซ้าย เอาชายที่จีบไว้พาดลงบนบ่าซ้ายให้ ห้อยลงทั้งสองข้าง แล้วจีงคาดผ้ารัดอก ตลอดการอบรม ธรรมทายาทจะใช้การห่มแบบนี้เพื่อความคล่องตัวในการทำ กิจวัตรกิจกรรมต่างๆ โดยมีมาตรฐานการบุ่งห่ม คือ ห่มด้านหน้าให้ขายจีวรเสมอ ขอบสบง ขายจีวรด้านซ้ายคลุมศอก ด้านหลังยกเหนือขอบสบงขึ้นมา ๑ ฝ่ามีอ โดย ให้ธรรมทายาทจับคู่พับผ้าและครองผ้า ให้กันและกันเพื่อแกความมีนี้าใจ ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน การทาบสังฆาฏิ พาดทับให้ขายด้านหลังแนบสนิทเท่ากับแนวจีวร ๑ ๖๐ www.kalyanamitra.org

๕ การใช้ผ้าประคดอก(ผ้ารัดอก) รัดตามรูป โดยรัดบริเวณอกราวลินปี ^JJ/J ci^ ๖ ๗ ๒. การห่มลดไหล่หรือห่มเฉลี่ยงบ่า(ห่มบวบ) เป็นการห่มเฉวียงปา ปิดปาซ้ายเปิดปาขวา โดยม้วนผ้าจีวรหมุนขวา แล้ว ตวัดขึ้นรับกับแขนซ้าย ๖๑ www.kalyanamitra.org

๓ การห่มคลม •) ม้วนลูกบวบทางขวา ซักลูกบวบขึ้นหนีบไว้ที่ร้กแร้ซ้าย เอาริมจีวรปกบ่าซ้าย ให้ชายลูกบวบปกแขนซ้าย เอามือขวาลอดทางด้านล่าง่ชองจีวร พระภิกษุที่บุ่งห่มเริยบร้อย ก็จะไม่เป็นที่รังเกียจของใคร แต่ถ้าบุ่งห่มไม่ เรียบร้อย ภาษาพระเรียกว่า \"บุ่งชั่ว ห่มชั่ว\" ทำ ให้ไม่น่าเซ้าใกล้ ขวางหู ขวางตา และเป็นอันตรายต่อเพศตรงข้าม เทพเพ่ ๖๒ www.kalyanamitra.org

หมวดปกิผก:เะ การใช้สรรพนามในหมู่พระภิกชุและสามเณร การใช้สรรพนามในหมู่พระภิกษุและสามเณร เป็นเรื่องที่ธรรมทายาทควร ทำ ความสืกษาเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นการ?เกให้มีสัมมาคารวะ และความอ่อนน้อม อ่อมตน ซึ่งเป็นทาง่มาแห่งปัญญา เพราะผู้สูงอายุกว่าจะเกิดความเอ็นดู แล้วอ่ายทอด ความรู้ ประสบการณ์ และคุณธรรมความดีงามมาสู่ตัวเรา ๑.ความเคารพซึ่งกันและกัน ก่อนบวซให้เคารพกันตามอายุใครอายุ มากกว่า ให้เรียกพี่ พี่ควรเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่น้องๆ และน้องๆ ก็ควรเขือฟ้งคำแนะนำของพ ๒. หลังบวช พระเคารพกันตามวันเวลาที่บวช พระพุทธองคให้ผู้บวชที่หสัง เรียกผู้บวชก่อนว่า \"กันเต\" แปลว่า ท่านผู้เจริญ และให้เรียกผู้บวชทีหลังว่า \"อาวุโส\" แปลว่า ผู้มีอายุ ส่วนสามเณรให้เคารพกันตามอายุ ๓. การใช้สรรพนาม ๓.๑ พระภิกษุผู้บวชก่อนเรียกผู้บวชทีหลังว่า \"ท่าน\" ส่วนผู้บวช ทีหลังเรียกผู้ที่บวชก่อนว่า \"หลวงพี่\" ขณะพูดควรประนมมีอและลงท้ายด้วยคำว่า ครับ พระภิกษุเรียกสามเณรว่า \"สามเณร\" ๓.๒ สามเณรที่มีอายุมากกว่าเรียกผู้ที่อายุน้อยกว่าว่า \"ท่าน\" ผู้ที่มี อายุน้อยกว่าเรียกผู้ที่มีอายุมากกว่าว่า \"พี่เณร\" สามเณรเรียกพระภิกษุว่า หลวงพี่ ขณะพูดต้องประนมมีอ และลงท้ายด้วยคำว่า \"ครับ\" ๓.๓ ในกรณีที่พระคุยกับพระ ให้ใช้แทนตัวว่า \"ผม\" และให้เรียก อีกฝ่ายหนื่งว่า \"หลวงพี่\" หรีอ \"ท่าน\"ตามเวลาก่อนหลังตอนบวช การปฏิสันถารญาติโยม ๑. ช่วงก่อนบวชไม่อนุญาตให้พบโยม เพี่อจะได้มีโอกาสปฏิบัติธรรมได้เต็มที เมื่อบวชแล้วจะได้พบในช่วงบ่ายวันอาทิตย์ ๒. การพบโยม ให้พระนั่งบนเก้าอี้ โยมนั่งที่เสื่อเพี่อเป็นการแสดงความ Lk [.i ๖๓ www.kalyanamitra.org

เคารพในพระรัตนตรัย และถูกต้องตามพระธรรมวินัยเกี่ยวกับการแสดงธรรม ๓.ไข้สรรพนามแทนตนเองว่า \"พระ\" หรือ \"หลวงพี่\" ตามความเหมาะสม ถ้าเป็นญาติผู้ใหญ่หรือพ่อแม่ ให้แทนตัวเองว่า \"พระ\" เรืยกอีกฝ่ายว่า \"โยมพ่อ\" \"โยมแม่\" \"โยมลุง\" ฯลฯ ๔. ถ้าเป็นเพี่อนไม่ต้องเรืยก \"โยม\" ให้เรืยกซื่อก็ไต้ ๕.ไม่พูด \"ครับผม\" กับโยม ๖. ลงท้ายด้วยคำพูดว่า \"นะ\" หรือใช้การทอดเสียงตอนจบการพูด ไมใข้คำ ว่า \"จ๊ะ\" กับผู้หญิงในเซิงขายหน่มกับหญิงสาว หรือในทางที่ไม่เหมาะสม ๗.ไม่ต้องยกมือไหวิโยม ๘. ถ้าพูดกับโยมที่ไม่คุ้นเคยกัน ใหใช้แทนตัวเองว่า \"อาตมา\" ๙.การส่ายภาพ หากต้องส่ายกับโยมผู้หญิงควรมีผู้ขายคั่นกลาง หรือส่ายร่วม ต้วย ไม่ยืนซิดโยมผู้หญิงเกินไป และไม่อุ้มเด็กส่ายภาพ เพี่อป้องกันข้อครหา ๑๐. ถ้าพระนั่งเก้าอี้ใฟ้โยมนั่งคุกเข่าหรือนั่งพับเพียบ ๑๑. การนั่ง ถ้านั่งเก้าอี้ไม่นั่งกางขา ไม่นั่งกี่งนอน ไม่นั่งเก้าอี้สองขา ไม่นั่ง ไขว่ห้าง ไม่นั่งสั่นขา เพราะดูไม่งาม และไม่เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธา ๑๒. ถ้านั่งบนเสื่อ ไม่เหยียดเท้าไปหาโยม และไม่นอนเล่น เพราะไม่เป็นที่ตั้ง แห่งศรัทธา ๑๓. ห่มดองทุกครั้งที่พบโยม ๑๔.โกนหนวด เครา ตัดเล็บ ล้างหน้า บ้วนปาก ให้สะอาด พร้อมที่จะพบ โยม เพี่อยังจิตของโยมให้เลื่อมใส การบิณฑบาต บิณฑบาต แปลว่า การตกแห่งก้อนข้าว พระวินัยห้ามพระภิกษุหงหาอาหาร ฉันเอง และต้องบิณฑบาต เพราะทรงปรารถนาให้พระภิกษุมืเวลาว่างพอที่จะ ประพฤติปฏิบัติธรรมได้อย่างเต็มที่ ไม่ต้องไปดิ้นรนหาเลี้ยงชีพให้เหนื่อยอ่อน หน้าดำ ครํ่าเครืยดจนไม่มืเวลาที่จะศึกษาธรรมะ และทรงกำหนดให้พระภิกษุถือเป็นหน้าที่ ที่จะต้องเลี้ยงชีพด้วยการบิณฑบาต 1พพโ1 ๖๙ www.kalyanamitra.org

ภิกษุ แปลว่า ผู้ฃอ ต่างกับขอทาน คือ การขอแบบสมณะเป็นการขอด้วย อาการอันสงบ ให้ก็รับด้วยอาการสงบ ไม่ให้ก็ไปอย่างสงบ แม้การอันก็ฉันแบบสงบ พระสัมมาส้มพุทธเจ้าทรงให้ความสำคัญกับเรื่องนี้เป็นอย่างมาก และได้บัญญ้ตพระ วินัยว่าด้วยการบิณฑบาตไว้ว่า ๑. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักบิณฑบาตโดยเคารพ ๒. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เมื่อรับบิณฑบาตเราจักแลดูแต่ในบาตร ๓. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักรับแกงพอสมควรแก่ข้าวสุก ๔. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักรับบิณฑบาตแต่พอสมควรเสมอขอบปาก บาตร การรับบิณฑบาต มี ๒ แบบ คือ แบบที่ใส่สลกบาตร ใข้ตอนบิณฑบาตรอบวัดและสถานที่ข้างนอกบางแห่ง มีขั้นตอนดังนี้ ๑. ก่อนออกบิณฑบาต ใส่สลกบาตรให้เรียบร้อย ไม่ต้องใส่ฐานบาตร กะ ความยาวสายบาตรให้พอดีระดับสะดือ หรือตํ่ากว่าเล็กน้อย และผูกเซือกให้แน่น เพื่อกันการหลุดระหว่างบิณฑบาต ๒.คล้องบาตรที่ไหล่ซ้าย บาตรอยู่เยื้องทางด้านขวาของสำดัว ขณะคล้อง บาตรให้แนบบาตรกับสำดัว เพื่อบิองกันฝาบาตรหล่น ISUIMไเm ๖๕ www.kalyanamitra.org

๓. เวลาเดิน มือซ้ายปล่อยสบาย มือขวาจับฝาบาตร โดยนำมือวางบนฝา บาตร ใซ้นิ้วหัวแม่มือกดฝาบาตร นิ้วทั้ง ๔ ที่เหลือแตะที่ตัวบาตร ๔. เมื่อถึงเวลารับบาตร ให้หันตัวไปทางโยม ห่างพอประมาณ ใช้มือขวาเปิด ฝาบาตร ให้ฝาบาตรเปิดเสมอขอบปากบาตร ส่วนมือซ้ายประคองบาตร ๕. การเปิดฝาบาตร ให้จับฝาบาตรด้านขวา เปิดด้านขวา นำ ฝาบาตรมาแนบ กับตัวบาตรด้านขวามือ ไม่ควรเปิดด้านหน้าเหมือนอ้าปาก ๖. เมื่อโยมใส่บาตรเสร็จ ให้ปิดฝาบาตรเบาๆ ไมให้มืเสียง เป็นการ!]กสติไป ด้วยในตัว หมายเห การถือบาตร เมื่อไม่ได้คล้องบาตรอยู่ ให้พับเก็บสายบาตรให้ เรียบร้อยไมให้หลุดออกมา พร้อมถือบาตรด้วยมือขวา แนบฝาบาตรเข้าชิดลำตัว บริเวณหน้าอกด้านขวา แบบไมใส่สลกบาตร ใซ้ตอนงานบุญใหญ่ เซ่น งานจันมาฆบูชา หรือ สกานที่ซ้างนอกบางแห่ง ที่ ต้องการความรวดเร็วในการถ่ายบาตร ๑. ก่อนบิณฑบาต ให้อุ้มบาตรด้วยมือขวา หันปากบาตรแนบลำตัวบริเวณอก ขวา ๒. ขณะเดินบิณฑบาต ให้อุ้มบาตรด้วยมือสองข้าง จะยังไม่รับบาตรจนกว่า พิธีกรจะกล่าวนิมนต์ ล้าไม่มืพิธีกร ให้ดูที่ผู้นำเป็นหลัก ๖๖ www.kalyanamitra.org

๓. เมื่อบาตรเต็ม ให้เดินเฉียงไปข้างหน้า ๓ - ๕ เมตร ยื่นบาตรให้อุบาสกช่วย ถ่ายของจากบาตรลงตะกร้า แล้วให้รับบาตรคืน เดินเฉียงกลับเข้าแถว ๔. บิณฑบาตเสร็จแล้ว ให้อุ้มบาตรแนบลำตัวตามเดิม การเก็บรักษาบาตร }พ^_ ๑. เมื่อใช้บาตรแล้วต้องล้างทำความสะอาด เช็ดให้แห้งสนิททุกครั้ง ๒.ไม่ล้างมือในบาตร ไม่เอาขยะใสในบาตร เพราะบาตรไมใช่ลังขยะ เป็นการ ใช้ของผิดประเภท ผิดวัตถุประสงค์ ๓.ห้ามไมให้เอาบาตรไปผึ่งแดดทั้งๆ ที่มืนํ้าช่มอยู่ เช็ดให้หมาด แล้วเอาไป ผึ่ง แดดไต้ แต่ห้ามไมให้ผึ่งแดดจนร้อน ๔. ไม่วางบาตรโดยไม่มืขาตั้งบาตร เว้นกรณีไม่มืขาตั้งบาตร ให้ควํ่าบาตรลง ลับพื้น และไม่วางบาตรไว้บนที่สูง หมิ่นเหม่ต่อการตกได้ง่าย เช่น บนที่สูง เป็นต้น ๔.ไม่เดินหิ้วบาตร ให้อุ้มบาตรด้วยความระมัดระวัง อย่าให้ฝาบาตรหล่น ๖.ไม่วางบาตรไว้บนของแช็ง ที่จะทำให้บาตรบุบสลายหรือเป็นรอย ๗. เมื่ออุ้มบาตรอยู่ในมือ ห้ามไมให้เปิดปิดประตูหน้าต่างเพื่อป้องลันบาตร หล่น การรับไทยธรรม ๑. กำ หนดคำให้พรสั้นๆ เช่น ขอให้บุญรักษา,ขอให้มีแต่ความสุข ความ- เจริญ ฯลฯ ๒. เตรียมตัวให้พร้อม โดยตรวจดูเครื่องนุ่งห่ม ความสะอาดของร่างกาย เช่น โกนหนวด ตัดเล็บ เพื่อรักษาศรัทธาญาติโยม ๖๗ www.kalyanamitra.org

๓. เดินแถวคูโดยพร้อมเพรียงกันไปที่สเตทรับไทยธรรม ๔. ขึ้นสเตทด้วยความเป็นระเบียบ ๔. กราบพระประธานพร้อมเพรียงกัน ให้ฟิงพิธีกรเป็นหลัก ๖. นั่งพับเพียบแล้วหันไปทางญาติโยม พร้อมนึาใจไว้ที่คูนย์กลางกาย เตรียม รับไทยธรรมจากโยม ๗. รับไทยธรรมด้วยอาการสำรวม ไม่จ้องหน้าโยม ไม่ฃะโงกหน้าไปรับ ๘. การรับประเคน ถ้าเป็นชายให้รับด้วยมือ ถ้าเป็นหญิงให้Iข้ผ้ารับประเคน รับด้วยอาการสำรวม การจับผ้ารับประเคน ให้!ซ้นิ้วหัวแม่มืออยู่ด้านบน นิ้วอื่นๆ เรียง ชิดติดกันอยู่ด้านล่าง ๙. เมื่อรับไทยธรรมแล้ว ให้นำไทยธรรมมาไว้ข้างตัว เพื่อเจ้าหน้าที่จะได้นำไป เก็บด้านหลังต่อไป ๑๐. เสร็จแล้วกราบพระประธานพร้อมกัน ตั้งแถวเดินกลับ การปฏิบัติตัวเมื่ออยู่นอกวัด ๑. ห่มผ้าให้เรียบร้อยตลอดการเดินทาง ห้ามถอดจีวรออกขณะเดินทาง ๒.ไม่เอาผ้าคลุมศรีษะ ๓. ถ้าจะหลับขณะนั่งรถ ให้ดิงม่านปีดให้เรียบร้อย ๔.ไม่เอิกเกริกเฮฮาดิกคะนอง ๔. ขณะรถจอดปีมนํ้ามัน ห้ามซื้อของเอง เข่น ปานะต่างๆ ยกเว้นทางส่วน- กลางจัดซื้อให้ ๖๘ www.kalyanamitra.org

พระวินัย พระวินัย คือพุทธบัญญ้ตเกี่ยวกับระเบียบปฏิบต ฃนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิต และวิธีดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกชุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ พระวินัย ซึ่งเป็น พุทธบัญญ้ตนี้ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ อาทิพรหมจริยกาสิกขา และ อภิสมาจาริกา สิกขา อาทิพรหมจริยกาสิกขา หมายถึงหลักการศึกษาอบรมในฝ่ายบทบัญญ้ต หรือข้อปฏินัติอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญ้ติไว้เป็นพุทธ อาณา เพื่อบีองกันความประพฤติเสียหาย และวางโทษแก่ภิกษุผู้ล่วงละเมิด โดยปรับ อาบัติหนักบ้าง เบาบ้าง และพระสงฆ์นำมาสวดทุกกึ่งเดือน เรียกว่า \"พระปาฏิ- โมกข์\" อภิสมาจาริกาสิกขา หมายถึงหลักการศึกษาอบรมในฝ่ายฃนบธรรมเนียม เกี่ยวกับมายาท และความเป็นอยู่ที่ดืงาม สำ หรับซักนำความประพฤติ ความเป็นอยู่ ของพระสงฆ์ให้ดืงาม มีคุณค่า น่าเลื่อมใสศรัทธายิ่งขึ้นไป พระวินัยนั้น พระพุทธองค่ไม่ได้ทรงบัญญ้ติไว้ล่วงหบ้า ต่อเมื่อเกิดความเสีย- หายขึ้น จึงทรงบัญญติสิกขาบทห้ามไมให้ประพฤติเซ่นนั้นอีก ดังจะเห็นได้ว่าในตอน ต้นพุทธกาล พระพุทธองค์อังไม่ได้ทรงบัญญ้ติสิกขาบทไว้แน่นอน เพราะภิกษุสงฆ์ ล้วนมีวัตรปฏิบัติดืงาม ต่อมาภายหลังเมื่อเกิดความไม่ดืไม่งามขึ้นในสงฆ์ พระองค์จึง ทรงบัญญ้ติสิกขาบทเรื่อยมา อาบัติ คำ ว่า อาบัติ แปลว่า การต้อง การล่วงละเมิด คำ นี้เป็นขื่อเรืยกกิริยาที่ล่วง ละเมิดสิกขาบทนั้นๆ และเป็นขื่อเรียกโทษ หรือความผิดที่เกิดจากการล่วงละเมิด สิกขาบท เซ่น ภิกษุกล่าวอวดอุตริมบุสธรรมที่ไม่มีในตน ต้องอาบัติปาราชิก อาบัติมี ๗ กองคือ ปาราชิก สังฆาทิเสส ถุลสัจจ้ย ปาจิตตีย์ ปาฏิเหสนียะ ทุกกฏ ทุพภาสิต ๖๙ www.kalyanamitra.org

อาฟ้ตปาราฃิกมีโทษหน้ก ทำ ให้ผู้ล่วงละเมิดขาดจากความเป็นภิกษุ อาบ้ตสังฆาทิเสสมีโทษปานกลาง ผู้ล่วงละเมิดต้องอยู่กรรม คือประพฤติ วัตรอย่างหนึ่งจึงจะพ้นจากอาบตนี้ ส่วนอาบัติ ๕ กองที่เหลือมีโทษเบา ผู้ล่วงละเมิดต้องประกาศสารภาพผิดต่อ หน้าภิกษุด้วยกัน ดังที่เรียกว่า \"ปลงอาบัติ\" จึงจะพ้นจากอาบัติเหล่านี้ บทบัญญ้ติในพระวินัยแต่ละข้อหรือมาตราเรียกว่า \"สิกขาบท\"แปลว่าข้อ ที่ต้องคืกษา สำ หรับภิกษุมี ๒๒๗ สิกขาบท แน่งเป็นกลุ่มได้ดังนี้ คือ ปาราขิก ๔ ,สังฆาทิเสส ๑๓ ,อนิยต ๒ ,นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ ,ปาจิตตีย์ ๙๒ ,ปาฏิเทสนียะ ๔ แสขิยะ ๗๕ และ อธิกรณสมถะ ๗ ปาราชิก ๔ \"ปาราชิก\" แปลว่า ผู้พ่ายแพ้ มีอยู่ด้วยกัน ๔ สิกขาบท ถือเป็นสิกขาบทที่มี โทษขั้นร้ายแรงสูงสุด คือหากภิกษุล่วงละเมิดแม้เพียงข้อใดข้อหนึ่ง กจะพ้นจากความ เป็นภิกษุทันที ไม่สามารถเข้ารับการอุปสมบทเป็นภิกษุได้อีกตลอดชีวิต เพราะถือว่า เป็นผู้พ่ายแพ้ที่จะอยู่ประพฤติพรหมจรรย์อีกต่อไป หากแม้จะแอบไปขอรับการ อุปสมบทไหมในสถานที่ที่ไม่มีใครร้วัก ก็ไมไข่ภิกษุอยู่ดี เป็นได้ก็แต่เพียงคนลักเพศ เท่านั้น ปาราชิกมีอยู่ ๔ สิกขาบท คือ ๑. ภิกษุใดเสพเมถุนธรรม โดยที่สุดแม้กับสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย ภิกษุนั้นเป็น ปาราชิก หาสังวาสมิได้ ๒. ภิกษุใดถือเอาทรัพย์ที่เจ้าของมิไดให้ด้วยอาการแห่งขโมย ได้ราคา ๕ มาสก ภิกษุนั้นเป็นปาราชิก หาสังวาสมิได้ ๓.ภิกษุใดแกล้งฆ่ามนุษย1ห้ตาย หรือแสวงหาอาวธให้ผู้อื่นฆ่า หรือพรรณนา คุณแห่งความตาย หรือข้กซวนให้ผู้อื่นไปตายสำเร็จ ภิกษุนั้นเป็นปาราชิก หาสังวาส ๔. ภิกษุใดอวดอุตริมนุสธรรม คือ ธรรมอันยิ่งของมนุษย์ที่ไม่มีในตน ภิกษุ นั้นเป็นปาราชิก หาสังวาสมิได้ ๗๐ www.kalyanamitra.org

สังฆาทิเสส ๑๓ ว่าด้วยสังฆาทิเสส ๑๓ สิกขาบท มีโทษหนักรองลงมาจากปาราชิก คือ ยังพอแกIฃได้ ไม่ถงสับต้องขาดจากความเป็นภิกษุ คำ ว่า \"สังฆาทิเสส\" แปลว่า หมวดอาบตที่ต้องอาสัยสงฆโนกรรมเบื้องต้นและกรรมที่เหลือ หมายความว่า วิธี การพ้นจากอานัตินี้ต้องอาศัยสงฆ์ตั้งแต่ต้นไปจนตลอด กล่าวคือเมื่อภิกษุต้องอาบต สังฆาทิเสสแล้ว ต้องอยู่ปริวาสเท่าจำนวนวันที่ปกปิดอาบตไว้ หสังจากนั้นจึงอยู่มานัต (นับราตรี) อีก ๖ ราตรี ทั้ง ๒ ขั้นตอนนี้ต้องอาศัยสงฆ์เป็น^ห้ ต่อจากนั้นจึงประขุม สงฆ์ไม่น้อยกว่า ๒๐ รูป ทำ พิธีสวดในขั้นตอนสุดท้ายให้พ้นจากอาบ้ตสังฆาทิเสส เรียกว่า \"อัพภาน\"(การรับกสับเข้าหมู่) เมื่อจบขั้นตอนนี้แล้ว พระภิกษุที่ต้องอา'บติ จึงจะเป็นผู้ บริสุทธี้ มีอยู่ ๑๓ สิกขาบท คือ ๑.ภิกษุแกล้งทำให้นั้าอสุจิเคลื่อน ต้องสังฆาทิเสส ๒.ภิกษุมีความกำหนัด อับต้องกายหญิง ต้องสังฆาทิเสส ๓. ภิกษุมีความกำหนัดอยู่ พูดเกี้ยวหญิง ต้องสังฆาทิเสส ๔.ภิกษุมีความกำหนัดอยู่ พูดล่อให้หญิงบำเรอตนด้วยกาม ต้องสังฆาทิเสส ๔.ภิกษุซักลื่อให้ขายหญิงเป็นผัวเมียสัน ต้องสังฆาทิเสส ๖. ภิกษุสร้างกุฎีที่ต้องก่อและโบกด้วย'ปูนหรีอดิน ซึ่งไม่มีใครเป็นเจ้าของ- จำ เพาะเป็นที่อยู่ของตน ต้องทำให้1ต้ประมาณ และต้องให้สงฆ์แสดงที่ให้ก่อน ล้าไม่ ให้สงฆ์แสดงที่ให้ก็ดี ทำ เกินประมาณก็ดี ต้องสังฆาทิเสส ๗. ล้าที่อยู่ที่จะสร้างขึ้นนั้นมีทายกเป็นเจ้าของ ทำ ให้เกินประมาณนั้นไต้ แต่ ต้องให้สงฆ์แสดงที่ให้ก่อน ล้าไมให้สงฆ์แสดงที่ให้ก่อน ต้องสังฆาทิเสส ๘. ภิกษุโกรธเคือง แกล้งโจษภิกษุอื่นด้วยอา'บตปาราชิกไม่มีมูล ต้องสังฆาทิ- เสส ๙. ภิกษุโกรธเคือง แกล้งหาเลศโจษภิกษุอื่นด้วยอานัติปาราชิกไม่มีมูล ต้อง สังฆาทิเสส ๑๐. ภิกษุพากเพียรเพื่อจะทำลายสงฆ์ให้แตกสัน ภิกษุอื่นห้ามไม่พิง สงฆ์สวด กรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินั้นเสิย ล้าไม่ละ ต้องสังฆาทิเสส ๗๑ www.kalyanamitra.org

๑๑.ภิกษุประพฤติตามภิกษุผู้ทำลายสงฆ์นั้น ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟ้ง สงฆ์สวด กรรมเพื่อให้ละข้อที่ประพฤตินั้น ถ้าไม่ละ ต้องสังฆาทิเสส ๑๒. ภิกษุว่ายากสอนยาก ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟิง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ ประพฤตินั้น ถ้าไม่ละ ต้องสังฆาทิเสส ๑๓. ภิกษุประทุษร้ายตระกูล ประจบคฤหัสถ์ สงฆ์ไล่เสียจากวัด กสับว่าติ เตียนสงฆ์ ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟ้ง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินั้น ถ้าไม่ละ ต้องสังฆาทิเสส อนิยต ๒ ว่าด้วยอนิยต ๒ สิกขาบท คำ ว่า \"อนิยต\" แปลว่า ไม่แน่นอน กล่าวคือ หาก ภิกษุล่วงละเมิดแล้ว พระวินัยธรจะต้องวินิจฉัยขี้ขาดลงไปว่า ควรจะปรับอา'บต ปาราชิก สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ หากวินิจฉัยว่าเป็นปาราชิก ภิกษุผู้ล่วงละเมิดก็ ขาดจากความเป็นภิกษุ หากวินิจฉัยว่าเป็นสังฆาทิเสส ภิกษุผู้ล่วงละเมิดก็ต้องอยู่ กรรม หรือหากวินิจฉัยว่าเป็นปาจิตตีย์ ภิกษุผู้ล่วงละเมิดก็จะต้องแสดงอาบตต่อหน้า ภิกษุด้วยกัน มีอยู่ ๒ สิกขาบท คือ ๑. ภิกษุนั่งในที่สับตากับหญิงสองต่อสอง ถ้ามีคนที่ควรเชื่อไต้มาพูดขี้นต้วย ธรรม ๓ อย่าง คือ ปาราชิก หรือสังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ อย่างใด อย่างหนึ่ง ภิกษุรับ อย่างใด ให้ปรับอย่างนั้น หรือเขาว่าจำเพาะธรรมอย่างใด ให้ปรับอย่างนั้น ๒. ภิกษุนั่งในที่สับหูกับหญิงสองต่อสอง ถ้ามีคนที่ควรเชื่อไต้มาพูดขี้นด้วย ธรรม ๒ อย่าง คือ สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ อย่างใดอย่างหนึ่ง ภิกษุรับอย่างใด ให้ ปรับอย่างนั้น หรือเขาว่าจำเพาะธรรมอย่างใด ให้ปรับอย่างนั้น นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ คำ ว่า นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ประกอบด้วยคำ ๒ คำ คือ ๑. คำ ว่า \"นิสสัคคิย\" แปลว่า ทำ ให้สละสิ่งของ, อาบติที่สละแล้ว, พึง แสดง หรือแปลว่า การสละ ซึ่งเป็นชื่อกระบวนการทางวินัยที่พึงทำในเบื้องต้น &ไ(๒ www.kalyanamitra.org

๒. คำ ว่า \"ปาจิตตีย์\" แปลว่า การละเมิดอ้นยังกศลธรรมให้ตก หมายถึง ทำ กุศลจิต กล่าวคือกุศลธรรมของผู้จงใจต้องอาฟ้ตให้ตกไป โดยสรุปก็คือทำจิตให้ตก หรือเศร้าหมองไป และจิตที่ถูกทำให้ตกไปนั้น ย่อมพลาดจากอริยรรค หรือทำ อริยมรรคให้เสียไป รวมทั้งสองคำนี้เข้าด้วยกันเป็น \"นิสสัคคิยปาจิตตีย์\" ซึ่งเป็นซื่อเรียกทั้ง สิกขาบทและซื่ออา'บตด้วย ภิกษต้องอา'บตนิสสัคคืยปาจิตตีย์เพราะไปเกี่ยวข้องกับ เครื่องอุปโภคบริโภคในทางที่ไม่เหมาะสม ถือเป็นล'กุกา'บต คืออา'นตเบา และเป็นส เตกิจฉา คือสามารถแกิไขได้ โดยเมื่อภิก*ษุด้องเข้าแล้ว จะต้องสละสิ่งของ เซ่น จีวร บาตร หรือผ้านิสีทนะ ผ้ารองนั่ง เป็นด้น ที่ทำ ให้ต้องอาบตก่อน จากนั้นจึง แสดงอาบตต่อหน้าภิกษุด้วยกัน จึง*ด้นจากอา'บตได้ มีอยู่ ๓๐ สิกขาบท แน่งเป็น ๓ วรรคๆ ละ ๑๐ สิกขาบท จีวรวรรคที่ ๑ ๑. ภิกษุทรงอติเรกจีวรได้เพียง ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง ล้าล่วง ๑๐ วันไป ต้องนิส สัคคิยปาจิตตีย์ ๒.ภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวรแม้คืนหนึ่ง ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ได้ สมมติ ๓. ล้าผ้าเกิดขึ้นแก่ภิกษุๆ ประสงค์จะทำจีวรแต่ยังไม่พอ ล้ามีที่หวังว่าจะได้ มาอีก พึงเก็บผ้านั้นไว้1ด้เพียงเดือนหนึ่งเป็นอย่างยิ่ง ล้าเก็บไว้ให้เกินเดือนหนึ่งไป ถึง แม้ยังมีที่หวังว่าจะได้อยู่ ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๔. ภิกษุใช้นางภิกษุณีที่ไมใช่ญาติ ให้ซกก็ดื ให้ย้อมก็ดื ให้ทุบก็ดื ซึ่งจีวรเก่า ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๔. ภิกษุรับจีวรแต่มีอนางภิกษุณีที่ไมใช่ญาติ เว้นไว้แต่แลกเปลี่ยนกัน ต้องนิส สัคคิยปาจิตตีย์ ๖. ภิกษุขอจีวรต่อคฤหัสถ์ผู้ไมใช่ญาติ ไมใช่ปวารณา ได้มา ต้องนิสสัคคิย- ปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่มีสมัยที่จะขอจีวรได้ คือเวลาภิกษุมีจีวรอ้นโจรสักไป หรือมีจีวรอ้น ฉิบหายเสีย ๗๓ www.kalyanamitra.org

๗. ถ้าคฤหัสผู้!มใช่ญาติ นำ จีวรจำนวนมากมาปวารณาภิกษุนั้น ภิกษุนั้นพึง ยินดืจีวรมีอุตตราสงค์และอันตรวาสกเป็นอย่างมาก จากจีวรที่เขานำมานั้น ถ้ายินดี เภินกว่านั้น ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๘.ถ้าคฤหัสถ์ที่ไมใช่ญาติ ไมใช่ปวารณา เขาจะถวายจีวรแก่ภิกษุซื่อนี้ ภิกษุนั้น ทราบความแล้ว เข้าไปพูดให้เขาถวายจีวรอย่างนั้นอย่างนี้ ที่มีราคาแพงกว่า ดีกว่าที่ เขากำหนดไว้เติม ไต้มา ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๙.ถ้าคฤหัสถ์ผู้จะถวายจีวรแก่ภิกษุมีหลายคน แต่เขาไมใช่ญาติ ไมใช่ปวารณา ภิกษุไปพูดให้เขารวมทุนเข้าเป็นอันเดียวอันให้ซื้อจีวรที่แพงกว่า ดีกว่าที่เขากำหนดไว้ เติม ไต้มา ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๑๐. ถ้าใครๆ นำ ทรพย์มาเพื่อค่าจีวรแล้วถามภิกษุว่า ใครเป็นไวยาวัจกรของ เธอ ถ้าภิกษุต้องการจีวร ก็พึงแสดงคนวัดหรืออุบาสกว่า ผู้นี้เป็นไวยาวัจกรของภิกษุ ทั้งหลาย ครั้นเขามอบหมายไวยาวัจกรนั้นแล้ว สั่งภิกษุว่า ถ้าต้องการจีวร ให้เข้าไปหา ไวยาวัจกร ภิกษุนั้นพึงเข้าไปหาเขา แล้วทวงว่า เราต้องการจีวรดังนึ้1ต้ ๓ ครั้ง ถ้าไมใต้ จีวร ไปยืนแต่พอเขาเห็นไต้ ๖ ครั้ง ถ้าไม่ไต้ ขืนทวงเกิน ๓ ครั้ง ยืนเกิน ๖ ครั้ง ไต้มา ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ถ้าไปทวงและยืนครบกำหนดแล้วไม่ไต้จีวร จำ เป็นต้องไปบอก เจ้าของเติมว่า ของนั้นไม่สำเร็จประโยซนํแก่ตน ให้เขาเรืยกเอาของเขาคืนมาเสิย โกสิยวรรคที่ ๒ ๑. หล่อสันอัตต้วยขนเจียมเจือต้วยไหม ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๒. หล่อสัตสัตด้วยขนเจียมดำล้วน ต้องนิสสัคดียปาจิตตีย์ ๓.จะหล่อสันสัตใหม่ พึงใข้ขนเจียมดำ ๒ ส่วน ขนเจียมขาวส่วนหนี้ง ขนเจียม แดงส่วนหนี้ง ถ้าใข้ขนเจียมดำให้เกิน ๒ ส่วนขึ้นไป ต้องนิสสัคดียปาจิตตีย์ ๔. หล่อสันสัตใหม่แล้ว พึงใช้ให้!ต้ ๖ ปี ถ้ายังไม่ถึง ๖ ปี หล่อใหม่ ต้องนสสัค- ดียปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ไต้สมมติ ๔. จะหล่อสันสัต พึงตัดเอาสันสัตเก่าคืบหนี้งโดยรอบมาปนลงในสันสัตที่หล่อ ใหม่ เพื่อจะทำให้เสียสี ถ้าไม่ทำดังนี้ ต้องนิสสัคดียปาจิตตีย์ ๖. เดินทางไกล ถ้ามีใครถวายขนเจียมต้องการก็รับไต้ ถ้าไม่มีใครนำมา นำ มา ๗๔ www.kalyanamitra.org

ได้เพียง ๓ โยชน์ ถ้าให้เกิน ๓ โยชน์1ป ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๗.ใช้นางภิกษุณีที่ไม่โซ่ญาตีให้ซัก ให้ย้อม หรือให้สาง ซึ่งขนเจียม ต้องนิสสัค- ติยปาจิตตีย์ ๘. รับเอง หรือใช้ให้ผู้อื่นรับซึ่งทองและเงิน หรือยินดีทองและเงินที่เขาเก็บไว้ เพื่อตน ต้องนิสสัคติยปาจิตตีย์ ๙. ทำ การชื้อขายด้วยรูปิยะ คือของที่เขาใช้เป็นทองและเงิน ต้องนิสสัคติย- ปาจิตตีย์ ๑๐. แลกเปลี่ยนสิ่งของกับคฤหัสถ์ ต้องนิสสัคติยปาจิตตีย์ ป้ตตวรรคที่ ๓ ๑. บาตรนอกจากบาตรอธิษฐาน เรืยกอติเรกบาตร อติเรกบาตรนั้น ภิกษุเก็บ ไว้ได้เพียง ๑๐ รันเป็นอย่างยิ่ง ถ้าให้ล่วง ๑๐ วันไป ต้องนิสสัคติยปาจิตตีย์ ๒. มีบาตรร้าวยังไม่ถึง ๑๐ นิ้ว ขอบาตรใหม่กับคฤหัสถ์ที่ไมใซ่ญาติ ไมใช่ ปวารณา ได้มา ต้องนิสสัคติยปาจิตตีย์ ๓. ภิกษุรับประเคนเภสัชทั้ง ๕ คือ เนยใส เนยข้น นํ้ามัน นั้าผี้ง นั้าอ้อย แล้ว เก็บไว้ฉันได้เพียง ๗ วันเป็นอย่างยิ่ง ถ้าให้ล่วง ๗ วันไป ต้องนิสสัคติยปาจิตตีย์ ๔. เมื่อฤดูร้อนยังเหลืออยู่อีก ๑ เดีอน คือตั้งแต่แรม ๑ คร เดือน ๗ จีงแสวงหา ผ้าอาบนิ้าฝนได้ เมื่อฤดูร้อนเหลืออยู่อีกกึ่งเดือน คือตั้งแต่ชื้น ๑ คร เดือน ๘ จีงทำบุ่ง ได้ ถ้าแสวงหาหรือทำบุ่งให้ลํ้ากว่ากำหนดนั้นเช้ามา ต้องนิสสัคติยปาจิตตีย์ ๔.ให้จีวรแก่ภิกษุอื่นแล้ว โกรธ ชิงเอาคืนมาเอง หรือใช้ให้ผู้อื่นชิงเอามา ต้อง นิสสัคติยปาจิตตีย์ ๖. ภิกษุขอด้ายกับคฤหัสถ์ที่ไมใช่ญาติ ไมใช่ปวารณา เอามาให้ช่างหูกทอเป็น จีวร ต้องนิสสัคติยปาจิตตีย์ ๗. ถ้าคฤหัสถ์ที่ไมใช่ญาติ ไมใช่ปวารณา สั่งให้ช่างหูกทอจีวรเพื่อจะถวายแก่ ภิกษุถ้าภิกษุไปกำหนดให้เขาทำให้ดืชื้นด้วยจะให้รางวัลแก่เขา ต้องนิสสัคติยปาจิตตีย์ ๘. ถ้าอีก ๑๐ วันจะถึงวันปวารณา คือ ตั้งแต่ชื้น ๖ คํ่า เดือน ๑๑ ถ้าทายกรืบ จะถวายผ้าจำนำพรรษา ก็รับเก็บไว้ได้ แต่ถ้าเก็บไว้เกินกาลจีวรไป ต้องนิสสัคติย- ๗๔ www.kalyanamitra.org

ปาจิตตีย์ กาลจีวรนั้น ดังนี้ ถ้าจำพรรษาแล้วไม่ได้กรานกเน นับแต่วันปวารณาไป เดือนหนึ่ง คือตั้งแต่แรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐิน นับต่อไป อีก ๔ เดือน ถึงกลางเดือน ๔ ๙.ภิกษุจำพรรษาในเสนาสนะป้าซึ่งเป็นที่เปลี่ยว ออกพรรษาแล้ว อยากจะ เก็บไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งไวัIนบ้าน เมื่อมีเหตุก็เก็บรักษาไวได้เพียง ๖ คืนเป็นอย่างยิ่ง ถ้าเก็บไวั1ห้เกิน ๖ คืนไป ด้องนิสสัคคืยปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ได้สมมติ ๑๐.ภิกษุร้อยู่ และน้อมลาภที่เขาจะถวายสงฆ์มาเพื่อตน ต้องนิสสัคคิย- ปาจิตตีย์ ปาจิตตีย์ ๙๒ สิกขาบท คำว่า \"ปาจิตตีย์\" แปลว่า การละเมิดอันยังกุศลธรรมให้ตก หมายถึงทำ กุศลจิต กล่าวคือกุศลธรรมของผู้จงใจต้องอาบ้ตให้ตกไป โดยสรุปก็คือ ทำ จิตให้ตก หรือเศร้าหมองไป และจิตที่ถูกทำให้ตกไปนั้นย่อมพลาดจากอริยรรค หรือทำ อริยมรรคให้เสียไป ปาจิตตีย์ยังเป็นฃื่อเรืยกอาบตด้วย ถือเป็นลทุกานัติ คืออาบ้ตเบา และ เป็น สเตกิจฉา คือสามารถแกไขได้ เมื่อภิกษุต้องอา'บติเข้าแล้ว สามารถพ้นได้ด้วยการ ปลงอาบ้ติ ปาจิตตีย์มี ๙๒ สิกขาบท มีซึ่อเรืยกอีกอย่างหนึ่งว่า สุทธิกปาจิตตีย์ แปล ว่า ปาจิตตีย์ล้วน มุสาวาทวรรคที่ ๑ มี ๑๐ สิกขาบท ๑.'ผูดปด ต้องปาจิตตีย์ ๒. ด่าภิกษุ ต้องปาจิตตีย์ ๓. ส่อเสียดภิกษุ ต้องปาจิตตีย์ ๔. ภิกษุสอนธรรมแก่อบุปสัมบ้น ถ้าว่าพร้อมกัน ต้องปาจิตตีย์ ๔.ภิกษุนอนในที่มุงที่บังอันเดียวกันกับอบุปสัมนัน เกิน ๓ คืนขึ้นไป ต้อง ปาจิตตีย์ ๖. ภิกษุนอนในที่มุงที่บังอันเดียวกันกับผู้หญิง แมิในคืนแรก ต้องปาจิตตีย์ ๗๖ www.kalyanamitra.org

๗.ภิกษุแสดงธรรมแก่ผู้หญิงเกินกว่า ๖ คำ ขึ้นไป ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่มี บุรุษผู้รู้เดียงสา รู้ผิดรู้ซอบอยู่ด้วย ๘. ภิกษุบอกอุตตริมบุสสธรรมที่มีจริงแก่อนุปสัมบัน ต้องปาจิตตีย์ ๙.ภิกษุบอกอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอื่นแก่อนุปสัมบัน ต้องปาจิตตีย์ ๑๐.ภิกษุขุดเองก็ดี ใฃให้ผู้อื่นฃุดก็ดี ซึงแผ่นดิน ต้องปาจิตตีย์ ภูตคามวรรคที่ ๒ มี ๑๐ สิกขาบท ๑.ภิกษุพรากของเขียวซึ่งเกิดอยู่กบที่ ให้หลุดจากที ต้องปาจิตตีย์ ๒.ภิกษุประพฤติอนาจาร สงฟ้เรียกต้วมาถาม แกล้งพูดกลบเกลือนกดี นิง เสียไม่พูดก็ดี ถ้าสงฆ์สวดประกาศข้อความนั้นจบ ต้องปาจิตตีย์ ๓.ภิกษุติเตียนภิกษุอื่น ที่สงฆ์สมมติให้เป็นผู้ทำการสงฆ์ ถ้าเธอทำโดยชอบ ติ เตียนเปล่าๆ ต้องปาจิตตีย์ ๔. ภิกษุเอาเตียง ตั่ง ฟูก เก้าอี ของสงฆ์ไปตังในทีแจ้งแล้ว เมือหลีกไปจากที นั้น ไม่เก็บเองก็ดี ไม่ใซ1ห้ผู้อื่นเก็บก็ดี ไม่มอบหมายแก่ผู้อื่นก็ดี ต้องปาจิตตีย์ ๔. ภิกษุเอาที่นอนของสงฆ์ปูนอนในกุฎีสงฆ์แล้ว เมื่อหลีกไปจากที่นั้น ไม่เก็บ เองก็ดี ไมใซให้ผู้อื่นเก็บก็ดี ไม่มอบหมายแก่ผู้อื่นก็ดี ต้องปาจิตตีย์ ๖. ภิกษุรู้อยู่ว่า กุฎีนี้มีผู้อยู่ก่อน แกล้งไปนอนเบียด ด้วยหวัง จะให้ผู้อยู่ก่อน ตับแคบใจเข้าก็จะหลีกไปเอง ต้องปาจิตตีย์ ๗. ภิกษุโกรธเคืองภิกษุอื่น ฉุดคร่าไล่ออกจากกุฎีสงฆ์ ต้องปาจิตตีย์ ๘. ภิกษุนั่งทับก็ดี นอนทับก็ดี บนเตียงก็ดี บนตั่งก็ดี อันมีเท้าไม่ได้ตรึง ให้ แน่น ซึ่งเขาวางไว้บนร่างร้านที่เขาเก็บของในกุฎี ต้องปาจิตตีย์ ๙. ภิกษุจะเอาดินหรือปูนโบกหลังคากุฎี พึงโบกได้แต่เพียง ๓ ขัน ถ้าโบกเกิน กว่านั้น ต้องปาจิตตีย์ ๑๐.ภิกษุรู้อยู่ว่า นํ้ามีตัวสัตว์ เอารดหญ้าหรือดิน ต้องปาจิตตีย์ โอวาทวรรคที่ ๓ มี ๑๐ สิกขาบท ๑. ภิกษุที่สงฆ์!ม่ได้สมมตี สั่งสอนนางภิกษุณี ต้องปาจิตตีย์ ๗๗ www.kalyanamitra.org

๒. แม้ภิกษุที่สงฆ์สมมติแล้ว ตั้งแต่อาทิตย์ตกแล้วไป สอนนางภิกษุณี ต้อง ปาจิตตีย์ ๓. ภิกษุเข้าไปสอนนางภิกษุณีถึงในที่อยู่ ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่นางภิกษุณี เจ็บ ๔. ภิกษุติเตียนภิกษุอื่นว่า สอนนางภิกษุณีเพราะเห็นแก่ลาภ ต้องปาจิตตีย์ ๔.ภิกษุให้จีวรแก่นางภิกษุณีที่ไมใช่ญาติ ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่แลกเปลี่ยน กัน ๖. ภิกษุเย็บจีวรของนางภิกษุณีที่ไมใช่ญาติก็ดี ใข้ให้ผู้อื่นเย็บก็ตี ต้องปาจิตตีย์ ๗. ภิกษุชวนนางภิกษุณีเดินทางด้วยกัน แม้สินระยะบ้านหนึ่ง ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ทางเปลี่ยว ๘.ภิกษุชวนนางภิกษุณีลงเรือลาเดียวกัน ฃึ้นนํ้าก็ดี ล่องนํ้าก็ดี ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ข้ามฟาก ๙. ภิกษุรู้อยู่ ฉันของเคี้ยวของฉน ที่นางภิกษุณีบังคับให้คฤหัสถ์เขาถวาย ต้อง ปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่คฤหัสถ์เขาเริ่มไว้ก่อน ๑๐.ภิกษุนั่งก็ดี นอนก็ดี ในที่สับสองต่อสองกับนางภิกษุณี ต้องปาจิตตีย์ โภชนวรรคที่ ๔ มี ๑0 สิกขาบท ๑. อาหารในโรงทานที่ทั่วไปไม่นิยมบุคคล ภิกษุไม่เจ็บไข้ ฉันไต้แต่เฉพาะวัน เดียว แล้วต้องหยุดเสียในระหว่าง ต่อไปจึงฉันไต้อีก ถ้าฉันติดๆ กัน ตั้งแต่สองวันขึ้น ไป ต้องปาจิตตีย์ ๒. ถ้าทายกเขามานิมนต์ ออกซื่อโภชนะทั่ง ๔ อย่าง คือ ข้าวสุก ขนมสด ขนมแห้ง ปลา เนือ อย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าไปวับของนั่นมา หรือฉันของนั่นพร้อมกัน ตังแต่ ๔ รูปข้นไป ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่สมัย คือ เป็นไข้อย่าง ๑ หน้าจึวรกาลอย่าง ๑ เวลาทำจีวรอย่าง ๑ เดินทาทั่กลอย่าง ๑ ไปทางเรืออย่าง ๑ อยู่มากด้วยกัน บิณฑบาตไม่พอฉันอย่าง ๑ โภชนะเป็นของสมณะอย่าง ๑ ๓. ภิกษุวับนิมนต์แห่งหนึ่ง ด้วยโภชนะทั่ง ๕ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วไมใป ฉันในที่นิมนต์นั่น ไปฉันเสียที่อื่น ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ยกส่วนที่วับนิมนต์ไว้ก่อนนั่น ๗๘ www.kalyanamitra.org

ให้แก่ภิกษุอื่นเสีย หรือหน้าจีวรกาล และเวลาทำจีวร ๔. ภิกษุเข้าไปบิณฑบาตในบ้าน ทายกเขาเอาขนมมากวายเป็นอันมาก จะรั'บ ได้เป็นอย่างมากเพียง ๓ บาตรเท่านั้น ถ้ารับให้เกินกว่านัน ต้องปาจีตตีย ของทีรับมา มากเช่นนั้น ต้องแปงให้ภิกษุอื่น ๔. ภิกษุฉันค้างอยู่ มีผู้เอาโภชนะทั้ง ๔ อย่างใดอย่างหนึ่งเข้ามาประเคน ห้าม เสียแล้ว ลุกจากที่นั่งนั้นแล้ว ฉันของเคี้ยวของฉันซี่งไม่เป็นเดนภิกษุไข้ หรือ ไม่ได้ทำ วินัยกรรม ต้องปาจิตตีย์ ๖.ภิกษุรู้อยู่ว่า ภิกษุอื่นห้ามข้าวแล้ว คิดจะยกโทษเธอ แกล้งเอาของเคียว ของฉันที่ไม่เป็นเดนภิกษุไข้1ปล่อให้เธอฉัน ถ้าเธอฉันแล้ว ต้องปาจิตตีย์ ๗.ภิกษุฉันของเคี้ยวของฉันที่เป็นอาหารในเวลาวิกาล คือ ด้งแต่ เที่ยงแล้วไป จนถึงวันใหม่ ต้องปาจิตตีย์ ๘. ภิกษุฉันของเคี้ยวของฉันที่เป็นอาหารซึ่งรับประเคนไว้ค้างคืนต้องปาจีตตีย์ ๙. ภิกษุขอโภชนะอันประณีต คือ ข้าวสุก ระคนด้วยเนยใส เนยข้น น่ามัน นั้าผี้ง นั้าอ้อย ปลา เนื้อ นมสด นมส้ม ต่อคฤหัสถ์ที่ไมใช่ญาติ ไมใช่ปวารณา เอามา ฉัน ต้องปาจิตตีย์ ๑๐.ภิกษุกลืนกินอาหารที่ไม่มีผู้ให้ คือ ยังไม่ได้รับประเคน ให้ล่วงล่าคอ เข้าไป ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่นั้าและไม้สีพีน อเจลกวรรคที่ ๔ มี ๑๐ สิกขาบท ๑. ภิกษุให้ของเคี้ยวของฉันแก่นักบวชนอกศาสนาด้วยมือตน ต้องปาจิตตีย ๒.ภิกษุซวนภิกษุอื่นไปเที่ยวบิณฑบาตด้วยกัน หวังจะประพฤติอนาจาร ไล่ เธอกลับมาเสีย ต้องปาจิตตีย์ ๓.ภิกษุล่าเร็จการนั่งแทรกแซงในสกุลที่กำลังบริโภคอาหารอยู่ ต้องปาจิตตีย์ ๔.ภิกษุนั่งบนอาสนะที่กำบังในที่ลับกับผู้หญิง ต้องปาจิตตีย์ ๕.ภิกษุนั่งในที่ลับกับผู้หญิงสองต่อสอง ต้องปาจิตตีย์ ๖. ภิกษุรับนิมนต์ด้วยโภชนะทั้ง ๔ แล้ว จะไปในที่อื่นจากที่นิมนต์นัน ใน เวลาก่อนฉันก็ตี ฉันกลับมาแล้วก็ตี ต้องลาภิกษุที่มือยูในวัดก่อนจีงจะไปได้ ถ้าไม่ลา ๗๙ www.kalyanamitra.org

ก่อนเที่ยวไป ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่สมัย คือจีวรกาลและเวลาทำจีวร ๗. ถ้าเขาปวารณาต้วยป้จจัยสี่เพียง ๓ เดือน พีงฃอเขาไต้เพียง กำ หนดนั้น เท่ามัน ถ้าขอให้เกินกว่ากำหนดมันไป ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ เขาปวารณาอีก หรือ ปวารณาเป็นนิตย์ ๘. ภิกษุไปดูกระบวนทัพที่เขายกไปเพื่อจะร'บกิน ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่มี เหตุ ๙. ถ้าเหตุทีต้องไปมีอยู่ พึงไปอยู่ได้ในกองทัพเพียง ๓ วัน ถ้าอยู่ไห้เกินกว่า กำ หนดนั้น ต้องปาจิตตีย์ ๑๐.ในเวลาที่อยู่ในกองทัพตามกำหนดนั้น ถ้าไปดูเขารบกันก็ดื หรือดูเขา ตรวจพลก็ดี ดูเขาจัดกระบวนทัพก็ดี ดูหมู่เสนาที่จัดเป็นกระบวนแล้วก็ดื ต้องปาจิตตีย์ สุราปานวรรคที่ ๖ ปี ๑0 สิกขาบท ๑. ภิกษุดื่มนํ้าเมา ต้องปาจิตตีย์ ๒.ภิกษุจี้ภิกษุ ต้องปาจิตตีย์ ๓. ภิกษุว่ายนั้าเล่น ต้องปาจิตตีย์ ๔.ภิกษุแสดงความไม่เอื้อเพึอในวิมัย ต้องปาจิตตีย์ ๔. ภิกษุหลอนภิกษุให้กลัวผี ต้องปาจิตตีย์ ๖. ภิกษุไม่เป็นไข้ ติดไฟให้เป็นเปลวเองก็ดื ใซ[ห้ผู้อื่นติดก็ดื เพื่อจะผิง ต้อง ปาจิตตีย์ ติดเพื่อเหตุอื่น ไม่เป็นอา'บติ ๗. ภิกษุอยู่ในมัซฌิมประเทศ คือ จังหวัดกลางแห่งประเทศอินเดีย ๑๔ วันจีง อาบนำไต้หนหปิง ถ้าไม่ถึง ๑๔ วันอาบนำ ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่มีเหตุจำเป็น ใน ปืจจันตประเทศฯ เซ่นประเทศเรา อาบนั้าได้เป็นนิตย์ ไม่เป็นอามัติ ๘. ภิกษุได้จีวรใหม่มา ต้องพินทุด้วยสี ๓ อย่าง คือ เขียวคราม โคลน ดำ คลํ้า อย่างใดอย่างหนึ่งก่อน จีงบุ่งห่มได้ ถ้าไม่ทำพินทุก่อนแล้วบุ่งห่ม ต้องปาจิตตีย์ ๙.ภิกษุวิกัปจีวรแก่ภิกษุหรือสามเณรแล้ว ผู้ร้บยังไม่ได้ถอน บุ่งห่มจีวรนั้น ต้องปาจิตตีย์ ๘๐ www.kalyanamitra.org

๑๐. ภิกษซ่อนบริขาร คือ บาตร จีวร ผ้าปูนัง กล่องเขม ประคดเอว สิงใดสิง หนึ่ง ของภิกชุอื่น ด้วยคิดว่าจะล้อเล่น ต้องปาจิตตีย์ สัปปาณวรรคที่ ๗ มี ๑๐ สิกขาบท ๑.ภิกษุแกล้งฆ่าสัตว์ดิรัจฉาน ต้องปาจิตตีย์ ๒.ภิกษุรู้อยู่ว่า นํ้ามีต้วสัตว์ บริโภคนํ้านัน ต้องปาจิตตีย์ ๓.ภิกษุรู้อยู่ว่า อธิกรณ์นี้สงฆ์ทำแล้วโดยขอบ เลิกถอนเสืย กลับทำใหม่ ต้อง ปาจิตตีย์ ๔. ภิกษุรู้อยู่ แกล้งปกปีดอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอืน ต้องปาจิตตีย์ ๔. ภิกษุรู้อยู่ เป็นอุปึซฌายะอุปสมบทกุลบุตรผ้มีอายุทย์อบถว่ว ปี ต้อง ปาจิตตีย์ ๖.ภิกษุรัอย่ ซวนพ่อด้าผู้ซ่อนภาษีเดินทางด้วยกัน แม้สินระยะบัานหนง ต้อง ปาจิตตีย์ ๗.ภิกษุซวนผู้หญิงเดินทางด้วยกัน แม้สิ้นระยะบัานหนึง ต้องปาจิตตีย์ ๘. ภิกษุกล่าวคัดด้านธรรมเทศนาของพระพทธเจ้า ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟ้ง ลงฆ์ สวดประกาศข้อความนั้นจบ ต้องปาจิตตีย์ ๙. ภิกษุคบภิกษุเซ่นนั้น คือ ร่วมภินก็ดี ร่วมอุโบสถสังฆกรรมกดี ร่วมนอนกด ต้องปาจิตตีย์ ๑๐.ภิกษุเกลี้ยกล่อมสามเณรที่ภิกษุอื่นให้ฉิบหายแล้ว เพราะโทษที่กล่าว คัดด้านธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า ให้เป็นผู้อุปิฏฐากก็ดี ร่วมกินก็ดี ร่วมนอนก็ดี ต้องปาจิตตีย์ ๘๑ www.kalyanamitra.org

สหธรรมิกวรรคที่ ๘ มี ๑๒ รกขาบท ๑.ภิกษุประพฤติอนาจาร ภิกษุอืนต้กเตือน พูดฝัดเพี้ยนว่ายังไม่ได้ถามท่านผู้รู้ ก่อน ข้าพเจ้าจักไม่ศึกษาในสิกขาบทนี ต้องปาจิตตีย์ ธรรมดาภิกษุผู้ศึกษายังไม่รู้สิ่งใด ควรจะรู้สิ่งนั้น ควรไต่ถามไล่เลียงท่านผู้รู้ ๒.ภิกษุอืนท่องปาติโมกข์อยู่ ภิกษุแกล้งพูดให้เธอคลายอุตสาหะ ต้องปาจิตตีย์ ๓. ภิกษุต้องอาบตแล้วแกล้งพูดว่า ข้าพเจ้าพี่งรู้เดี๋ยวนี้เองว่า ข้อนี้มาในพระ ปาติโมกข์ ล้าภิกษุอนรู้อยู่ว่า เธอเคยรู้มาก่อนแล้ว แต่แกล้งพูดกันเขาว่า พึงสวด- ประกาศความข้อนั้น เมื่อสงฆ์สวดประกาศแล้ว แกล้งทำไม่รู้อีก ต้องปาจิตตีย์ ๔. ภิกษุโกรธ ให้ประหาร ทุบตี ซกต่อย ภิกษุอื่น ต้องปาจิตตีย์ ๕. ภิกษุโกรธ เงอมือดุจให้ประหาร ทำ ท่าจะทุบตี ซกต่อย แก่ภิกษุอื่นต้อง ปาจิตตีย์ ๖. ภิกษุโจทก์ฟ้องภิกษุอีน ด้วยอา'บตสังฆาทิเสสไม่มีมูล ต้องปาจิตตีย์ ๗.ภิกษุแกล้งก่อความรำคาญให้เกิดแก่ภิกษุอื่น ต้องปาจิตตีย์ ๘. เมอภิกษุวิวาทกันอยู่ ภิกษุไปแอบพึงความ เพื่อจะไต้รู้ว่าเขาว่าอะไรตน หรือพวกของตน ต้องปาจิตตีย์ ๙. ภิกษุให้ฉันทะ คือความยอมให้ทำสังฆกรรมที่เป็นธรรม แล้วภายหสังกสับ ติเตียนสงฆ์ผู้ทำกรรมนั้น ต้องปาจิตตีย์ ๑๐. เมอสงฆ์กำลังประขุมกันตัดสินข้อความข้อหนึ่ง ภิกษุใดอยู่ในที่ประขุม นั้น จะหลีกไปในขณะที่ตัดสินข้อนั้นยังไม่เสร็จ ไมให้ฉันทะก่อนลุกไปเสีย ต้อง- ปาจิตตีย์ ๑๑. ภิกษุพร้อมกับสงฆ์ให้จีวรเป็นบำเหน็จแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งแล้ว ภายหลัง กลับติเตียนภิกษุอื่นว่า ให้เพราะเห็นแก่หน้ากัน ต้องปาจิตตีย์ ๑๒. ภิกษุรู้อยู่ น้อมลาภที่ทายกเขาตั้งใจจะถวายสงฆ์มาเพื่อบุคคล ต้อง ปาจิตตีย์ ๘๒ www.kalyanamitra.org

รตนวรรคที่ ๙ ฆี ๑๐ สิกขาบท ๑.ภิกษุไม่ได้รับอบุญาตก่อน เข้าไปในฟ้องที่พระเจ้าแผ่นดิน เสดจอยู่กับพระ มเหสิ ต้องปาจิตตีย์ ๒. ภิกษุเห็นเครื่องบริโภคของคฤฟ้สย์ตกอยู่ ถือเอาเป็นของเกบได้เองกดิ ใฟ้ ผู้อื่นถือเอาก็ดี ต้องปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ของนันตกอยู่ในกัด หรือใน ทีอากัย ต้องเกบไว้ ใฟ้แก่เจ้าของ ถ้าไม่เก็บต้องทุกกฎ ๓. ภิกษุไม่บอกลาภิกษุอื่นที่มีอยู่ในกัดก่อน เข้าไปบ้านในเวลาวิกาล ต้อง ปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่การด่วน ๔. ภิกษุทำกล่องเข็ม ด้วยกระดูกก็ดิ ด้วยงาก็ตี ด้วยเขาก็ดี ต้องปาจิตตีย์ ต้อง ทำ ลายกล่องนั้นเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก ๕. ภิกษุทำเตียงหรือตั่ง พึงทำใฟ้มีเท้าเพียง ๘ นิวพระสุคต เว้นไว้แต่แม่แคร่ ถ้าทำใฟ้เกินกำหนดนี ต้องปาจิตตีย์ ต้องด้ดใฟ้1ด้ประมาณเสียก่อน จงแสดงอาบตตก ๖. ภิกษุทำเตียงหรือตั่งฟ้มบุ่น ต้องปาจิตตีย์ ต้องรือเสียก่อน จึงแสดงอาบต ตก ๗.ภิกษุทำผ้าปูนั่ง พึงทำให้1ต้ประมาณ ประมาณบันยาว ๒ คืบพระสุคต กว้างคืบครื่ง ขายคืบหนึ่ง ถ้าทำให้เกินกำบนดนี ต้องปาจิตตย ต้องตัดให้1ดประมาณ เสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก ๘.ภิกษุทำผ้าปิดแผล พึงทำให้1ต้ประมาณ ประมาณนั้นยาว ๔ คืบพระสุคต กว้าง ๒ คืบ ถ้าทำให้เกินกำหนดนี้ ต้องปาจิตตีย์ ต้องตัดให้1ต้ประมาณเสียก่อน จึง แสดงอาบัติตก ๙.ภิกษุทำผ้าอาบนั้าฝน พึงทำให้1ต้ประมาณ ประมาณบันยาว ๖ คืบพระ สุคต กว้าง ๒ คืบครื่ง ถ้าทำให้เกินกำหนดนี ต้องปาจิตตย์ ต้องตัดให้1ต้ประมาณเสย ก่อน จึงแสดงอาบัติตก ๑๐.ภิกษุทำจีวรให้เท่าจีวรพระสุคตก็ตี เกินกว่าบันก็ดี ต้องปาจิตตีย์- ประมาณจีวรพระสุคตนั้น ยาว ๙ คืบพระสุคต กว้าง ๖ คืบพระสุคต ต้องตัดให้ไต้ ประมาณ เสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก ๘๓ www.kalyanamitra.org

ปาฏิเทสนียะ ๔ คำว่า \"ปาฏิเทสนืยะ\" แปลว่า พึงแสดงคืน เพราะเป็นการกระทำอ้นน่า ตำ หนิ มีทังสิน ๔ สิกขาบท พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญ้ตสิกขาบทเหล่านี๋!ว้เมื่อ เกิดเรื่องไม่งามขึ้นในสงฆ์ และปรับอาบติปาฏิเทสนียะแก่ภิกชุผู้ล่วงละเมิด ภิกษุจะ พ้นจากอา'บตินี๋ได้ด้วยการแสดงคืน คือ ปลงอา'บต มีอยู่ ๔ สิกขาบท คือ ๑. ภิกษุรับของเคืยวของฉัน แต่มือนางภิกษุณีที่ไม่ใช่ญาติ ด้วยมือของตนมา บริโภค ต้องปาฏิเทสนียะ ๒. ภิกษุฉันอยูในที่นิมนต์ ถ้ามีนางภิกษุณีมาสั่งทายกให้เอาสิ่งนั้นสิ่งนี้ถวาย เธอพึงไล่นางภิกษุณีนั้นให้ถอยไปเสีย ถ้าไม่ไล่ ต้องปาฏิเทสนียะ ๓. ภิกษุไม่เป็นไข้ เขาไม่ได้นิมนต์ รับของเคี้ยวของฉันในตระกูลที่สงฆ์สมมติ ว่าเป็นเสขะมาบริโภค ต้องปาฏิเทสนียะ ๔. ภิกษุอยู่ในเสนาสนะป่าเป็นที่เปลี่ยว ไม่เป็นไข้ ริบของเคี้ยวของฉันที่ทายก ไม่ได้แจ้งความให้ทราบก่อน ด้วยมือของตนมาบริโภค ต้องปาฏิเทสนียะ เสขิยวัตร ๗๕ สิกขาบท \"เสฃิยะ\" หรือเสขิยวัตร แปลว่า ข้อปฏิบติอ้นเป็นสม'บติของท่านผู้อ้งต้อง รักษา เป็นสิกขาบทที่เกี่ยวข้องกับธรรมเนียม หรือมารยาทที่ภิกษุพึงแกฝน ปฏิบติ- เช่นวิธีการวางกิริยาทางกายและวาจาให้เหมาะสม เสขิยะไม่ได้เป็นซื่ออาป่ติ กล่าวคือ เมือภิกษุล่วงละเมิดแล้ว ต้องอาบติทุกกฎ เมื่อต้องแล้วสามารถพ้นได้ด้วยการปลง อาบติ สิกขาบทในเสขิยะนี้มืทั้งสิ้น ๗๕ สิกขาบท แปงเป็น ๔ หมวด ตามสาระสำคัญ คังนี้ หมวดที่ ๑ สารูป มี ๒๖ สิกขาบท ,ว่าด้วยธรรมเนียมควรประพฤติในเวลาเข้าหมู่บ้าน เริ่มตั้งแต่การบุ่งห่ม เรียบร้อยในขณะที่อยูในขุมชน การสำรวมระวังอิริยาบถ การพูดคุยกันให้เหมาะสม เมื่ออยในชมขน ๘๔ www.kalyanamitra.org

หมวดที่ ๒ โภชนปฏิสังยุต มี eno สิกขาบท ว่าด้วยธรรมเปียมในการรับปิณ^บ'ไต เริมตังแต่อิริยาบถในการรับบิณทบาต การขบฉันอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย หมวดที่ ๓ ธมมเทสนาปฏิสังยุด มี ๑๖ สิกขาบท ว่าด้วยธรรมเปียมในการแลดงรรรน เริมตังแต่การแสดงธรรมใทคูกกาลเบต^ ไม่แสดงธรรมแก่บุคคลผู้อยู้ในอาการไม่เดารใ^5รรม หมวดที่ ๔ ปอิณณกะ มี ๓ สิกขาบท ว่าด้วยธรรมเนียมในการถ่ายอุจจาระ บีสสาวะ และบ้วนนํ้าลาย หมวดสารูป มี ๒๖ สิกขาบท ภิกชุพึงทำความศึกษาว่า ๑. เราจักบุ่งผาให้เรียบร้อย ๒. เราจักห่มผ้าให้เรียบร้อย ๓. เราจักปกปีดกายด้วยดี เดินไปในละแวกบ้าน ๙. เราจักปกปิดกายด้วยดี นั่งในละแวกบ้าน ๙. เราจักสำรวมกายด้วยดี เดินไปในละแวกบ้าน ๖. เราจักสำรวมกายด้วยดี นั่งในละแวกบ้าน ๗. เราจักทอดจักษุ เดินไปในละแวกบ้าน ๘. เราจักทอดจักษุ นั่งในละแวกบ้าน ๙. เราจักไม่เดินเวิกผ้าขึ้นไปในละแวกบ้าน ๑๐. เราจักไม่นั่งเวิกผ้าขึ้นในละแวกบ้าน ๑๑. เราจักไม่เดินหัวเราะ ไปในละแวกบ้าน ๑๒. เราจักไม่นั่งหัวเราะในละแวกบ้าน ๑๓. เราจักไม่พูดเสียงตัง ไปในละแวกบ้าน ๑๔.เราจักไม่พูดเสียงตัง นั่งในละแวกบ้าน ๑๙. เราจักไม่เดินโคลงกาย ไ!(ในละแวกบ้าน ๑๖. เราจักไม่นั่งโคลงกาย ในละแวกบ้าน ๘๙ www.kalyanamitra.org

๑๗. เราจักไม่เดินไกวแขน ไปในละแวกบ้าน ๑๘. เราจักไม่นั่งไกวแขน ในละแวกบ้าน ๑๙. เราจักไม่เดินสั่นศีรษะ ไปในละแวกบ้าน ๒๐. เราจักไม่นั่งสั่นศีรษะ ในละแวกบ้าน ๒๑. เราจักไม่เอามือคํ้ากาย ไปในละแวกบ้าน ๒๒. เราจักไม่เอามือคํ้ากาย ในละแวกบ้าน ๒ดท. เราจักไม่คลุมศีรษะไป ในละแวกบ้าน ๒๔. เราจักไม่นั่งคลุมศีรษะ ในละแวกบ้าน ๒๔. เราจักไม่เดินกระหย่งเท้า ไปในละแวกบ้าน ๒๖. เราจักไม่นั่งรัดเข่า ในละแวกบ้าน หมวดโภชนปฏิสังยุตหี่ ๒ มื ๓๐ สิกขาบท ภิกษุพงท้าความศึกษาว่า ๑. เราจักรับบิณฑบาตโดยเคารพ ๒. เราจักแลดูในบาตร รับบิณฑบาต ๓. เราจักรับแกงพอลมควรแก่บิณฑบาต ๔. เราจักรับบิณฑบาตเพียงเสมอขอบปากบาตร ๔. เราจักฉันบิณฑบาตโดยเคารพ ๖. เราจักแลดูในบาตรฉันบิณฑบาต ๗. เราจักไม่ฉันบิณฑบาตขุดให้แหว่ง ๘. เราจักฉันแกงพอสมควรแก่บิณฑบาต ๙. เราจักไม่ฉันบิณฑบาตขยุ้มแต่ยอดลงไป ๑๐. เราจักไม่กลบแกงหรือกับด้วยข้าวสุก เพราะอาศัยอยากจะได้มาก ๑๑. ถ้าเราไม่เจ็บไข้ จักไม่ขอแกงหรือข้าวสุก เพื่อประโยชน์แก่ตนมาฉัน ๑๒. เราจักไม่ดูบาตรของผู้อื่นด้วยคิดจะยกโทษ ๑๓. เราจักไม่ท้าคำข้าวให้ใหญ่นัก ๑๔. เราจักท้าคำข้าวให้กลมกล่อม ๘๖ www.kalyanamitra.org

๑๕;. เมื่อคำข้าวยังไม่ถึงปาก เราจักไม่อ้าปากไว้ท่า ๘๗ ๑๖. เมื่อฉนอยู่ เราจักไม่เอานิ้วมือสอดเข้าปาก ๑๗.เมื่อข้าวอยู่ในปาก เราจักไม่พูด ๑^. เราจักไม่โยนคำข้าวเข้าปาก ๑๙. เราจักไม่กัดคำข้าว ๒๐. เราจักไม่ฉันทำกระทุ้งแก้มให้ตุ่ย ๒๑. เราจักไม่ฉันพลางสะบัดมือพลาง ๒๒. เราจักไม่ฉันโปรยเมล็ดข้าวให้ตกลงในบาตร หรือในที่บันๆ ๒๓. เราจักไม่ฉันแลบลิ้น ๒๔. เราจักไม่ฉันดังจับๆ ๒๔. เราจักไม่ฉันดังข้ดๆ ๒๖. เราจักไม่ฉันเลียมือ ๒๗. เราจักไม่ฉันขอดบาตร ๒๘. เราจักไม่ฉันเลียริม!!ปาก ๒๙. เราจักไม่เอามือเปีอนจับภาซนะนํ้า ๓๐. เราจักไม่เอานํ้าล้างบาตรมีเมล็ดข้าวเทในบ้าน หมวดธมมเหสนาปฏิสังยุตที่ ๓ มี ๑๖ สิกขาบท ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า ๑. เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ มืร่มในมือ ๒. เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ มีไม้พลองในมือ ๓. เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ มืดัสตราในมือ ๔. เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ มือาๅธในมือ ๔. เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ สวมเขียงเท้า ๖. เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ สวมรองเท้า ๗. เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ไปในยาน ๘.เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ อยู่บนที่นอน www.kalyanamitra.org

๙. เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ นั่งรัดเข่า ๑๐. เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ พันสืรษะ ๑๑. เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ คลุมสืรษะ ๑๒. เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะ ๑๓.เรานั่งบนอาสนะตํ่า จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอๆสนะสูง ๑๔. เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก'คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่ ๑๔. เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้เดินไปข้างหน้า ๑๖. เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ไปในทาง หมวดปกิณกะท ๔ มึ ๓ สิกขาบท ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า ๑. เราไม่เป็นไข้ จักไม่ยืนก่ายอุจจาระ ก่ายปีสสาวะ ๒. เราไม่เป็นไข้ จักไม่ก่ายอุจจาระ ก่ายปีสสาวะ บ้วนเขฬะ ลงบนของเขียว ๓. เราไม่เป็นไข้ จักไม่ก่ายอุจจาระ ก่ายป้สสาวะ บ้วนเขฬะ ลงโนนํ้า ๘๘ www.kalyanamitra.org

อธิกรณสมถะ ๗ คาว่า \"อธิกรณสมถะ\" ประกอบด้วย ๒ คำ คือ \"อธิกรณ\" แปลว่าเหตุ,โทษ ,เรื่องราว หรือคดีความ ในที่นีหมายถึงเรืองทีเกิกปีบโบส และคำว่า \"สมถะ\" แปล ว่า การระงับ หรือการทำให้สงบ รวมเป็น อธิกรณสมถะ แปลว่า ธรรมเครืองระงับ อธิกรณ์ หรือวิธีการเพื่อระงับอธิกรณ์ อธิกรณ์ คือ เรื่องที่สงฆ์จะต้องดำเนินการ มี ๔ ประการคือ ๑.วิวาทาธิกรณ์ การเถียงกันเกี่ยวกบพระธรรมวินัย ๒.อบุวาทาธิกรณ์ เรื่องการกล่าวหาใส่ความโจทกันด้วยอาบัดีต่างๆ ๓. อาปึตตาธิกรณ์ เรื่องการต้องอาบต การปรับอานัติ และการแก้ตัว ให้พ้น จากอา'บต ๔. กิจจาธิกรณ์ กิจธุระต่างๆ ที่สงฆ์จะต้องทำ เซ่นการสวดปาฏิโมกข์ การ อุปสมบท อธิกรณสมถะมี ๗ ธรรมเครื่องระงับอธิกรณ์'ทั้ง ๔ นั้น เรืยกอธิกรณลมถะ มี ๗ อย่างคือ ๑. ความระงับอธิกรณ์ทั้ง ๔ นั้น ในที่พร้อมหน้าสงฆ์ ในที่พร้อมหน้าบุคคล ใน ที่พร้อมหน้าวัตถุ ในที่พร้อมหน้าธรรม เรืยกสัมมุขาวินัย ๒.ความที่สงฆ์สวดประกาศให้สมมุติแก่พระอรหันต์ว่า เป็นผู้มีสติเต็มที่ เพื่อ จะไม่ให้โครโจทด้วยอานัดิ เรืยกสติวินัย ๓. ความที่สงฆ์สวดประกาศให้สมมุติแก่ภิก'ษุผู้หายเป็นบ้าแล้ว เพื่อจะไมให้ ใครโจท ด้วยอาบัติที่เธอทำในเวลาเป็นบ้า เรืยกอมู'ทหวินัย ๔. ความปรับอาบัติตามปฏิญญาของจำเลย ผู้รับเป็นสัตย์ เรียกปฏิญญา- ตกรณะ ๔. ความตัดสินเอาตามคำของคนมากเป็นประมาณ เรียกเยฦยยสิกา ๖. ความลงโทษแก่ผู้ผิด เรียกตัสสปาปิยสิกา ๗. ความให้ประนิประนอมกันทั้งสองฝ่าย ไม่ต้องชำระความเติม เรียกติณ- วัตถารกวินัย ๘๙ www.kalyanamitra.org

หมวดศรัทธา www.kalyanamitra.org

^ ธรรมชาติโลกและชีวิต ^ พระสัมมาส้มพุทธเจ้า ผู้รูแจ้งโลก โลกมีอายุยาวนานมาก มีกำเนิดมาก่อนตัวเราและแม้แต่บรรพบุรุษของเรา ฉะนั้นความรู้เรื่องการกำเนิด หรือการแตกทำลายชองโลก สุดทีความรูและปีญญา ชองเราจะปีกคิดอธิบายเองได้ นอกจากต้องอาศัยความรู้โนระตับสูง อันเกิดจากใจที ใสสว่างของผู้ที่หมดกิเลส เข้าถึงธรรมอันบริสุทธิแล้ว ดือ พระสัมมาสัมพุหธเจ้ามา ตรัสเล่าให้ฟ้ง รูแจ้งโลกด้วยญาณฟัสสน:เะ ชาวโลกไม่ว่ายุคใดสมัยใดม้กเชื่อกันว่า โลกเกิดจากการสร้างชองพระเจ้าพรือ ผู้วิเศษในศาสนาของตน แตในพระพุทธศาสนา ความรู้เรื่องการกำเนิดและแตกตับ ของโลก ได้จากญาณหัสสนะอันบริสุทธฃองพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ญาณหัสสนะดือ การเห็นด้วยกายธรรม เกิดขึ้นจากการที่พระพุทธองศ์ตรัสรู้ และรู้แจ้งแทงตลอดใน วิชชา ๓ คือ ๙๑ www.kalyanamitra.org

๑.ปุพเพนิวาสาบุสติญาณ คือ ทรงระลึกชาติย้อนกลับไปในอดีตได้ไม่สิ้นสุด ๒. จุตูปปาตญาณ คือ ทรงสามารถระลึกชาติไปตูการเกิดการตายของลัตว์ โลกอื่นได้ไม่มีที่สิ้นสุด ๓.อาสวักขยญาณ คือ ปึญญาหยั่งรู้ที่จะปราบกิเลสให้หมดสิ้นไป ธรรมชาติของโลก จากญาณทัสสนะดังกล่าว ทำ ให้พระสัมมาลัมพุทธเจ้าทรงสามารถระลึกชาติ ถอยหลัง ไปตูการกำเนิดของโลกในวาระต่างๆ ตั้งแต่ต้นจนลึงกาลแตกทำลายของ โลก แล้วทรงนำมาตรัสให้ชาวโลกฟ้งว่า โลกเกิดขึ้นจากการรวมตัวอย่างเหมาะสม ของธาตุที่สำคัญ ๔ ประการ คือ ธาตุดิน ธาตุนํ้า ธาตุลม ธาตุไฟ และเมื่อใดก็ตาม ธาตุสำคัญทัง ๔ ประการที่รวมตัวกันเป็นโลกนี้ขาดความสมดุล ขาดอัตราส่วนที่ เหมาะสมแล้ว โลกก็จะค่อยๆ เสื่อมและสลายไปในที่สุด ตังนั้นจะเห็นไต้ว่า โลกมี การเกิดขึ้น ตังอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง แล้วแตกสลายไป แล้วย้อนกลับมาตั้งขึ้นอีก แล้วแตกสลายไปอีก วนเวียนกันอยู่เช่นนี้เรื่อยไปไม่รู้จักจบสิ้น ธรรมชาติของชีวิต มนุษย์และลัตวีโลกทั้งหลาย ต่างต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏจักรของโลก บางชาติก็ได้เกิดเป็นมนุษย์ บางชาติก็ได้เกิดเป็นเทวดา เป็นพรหม บางชาติพลาด พลังทำบาป ทำ อกุศลกรรมเข้า ก็ไปเกิดในทุคติภูมิ เป็นลัตว่เดรัจฉานบ้าง เป็นสัตว์ นรก เปรต อสุรกายบ้าง วนเวียนอยู่อย่างนี้จนนับภพนับชาติไม่ถ้วน การเวิยนว่ายตายเกิด ทุกข์ภัยในวัฏสงสาร พระสัมมาลัมพุทธเจ้าทรงอุปมาให้ฟังว่า ในระหว่างที่เวียนว่ายตายเกิด ต้องประสบแต่ความทุกข้ ทั้งทุกข์เพราะความพลัดพรากจากของรัก ประสบสื่งที่ไม่ ชอบใจ และอังทุกข์เพราะเกิด แก่ เจ็บ ตาย อีกด้วย นั้าตาที่ต้องรินไหลเพราะความ ๙๒ www.kalyanamitra.org

ทุกข์ของแต่ละคน หากนำมารวมกันแล้ว ยังมากกว่านำในมหาสมุหรฟ้ง ๔ อีก และ กระดูกของแต่ละคนเฉพาะชาติที่เกิดฟ้นนพย์ หากนำมากองรวมกัน ยังสูงกว่า ขุนเขาเสียอีก ทัศนะการมองโลกและชีวิตของพระโพธิสัตว สัตว์โลกที่งหลายต้องประสนกับคววนทุกข์รต่ก ''ล'^ลก'กั^ เพราะการเวียน เกิดเวียนตายอย่างไม่มีที่สิ้นสุดนี้ และพร้อมกับภพขาติหีผ่านไป กสังสมความรู้และ ประสบการณ์เกี่ยวกับโลกและขีวิตไว้ขวติแล้วขวดิ''ล่า ในบรรดาล้ตว้โลกฟ้งหลายนับ ย่อมมีสัตวโลกผู้สั่งสมปีญญามามาก เมื่อประสบเหตุการณ์สะคุดใจ จีงพล้นได้คิดว่า \"ที่แท้โลกก็คือๆกใ'บใหญ่นี่เอง เราและสัตว์โลกตำงกฎกจั'น'ปี'งใท้เก็^'น' เกิดฮยูในโลกน1ฝรู้จักจนสักสัน เราจะต้องViาตัวเองกอกไ'ก็จ'^ก^อนื้ให้ใคื\" และ ยังมีความกรุณาต่อสัตว์โลกอีกด้วย จึงได้ตังความปรารถนาว่า \"'หากานใดเรรแหก ๆกนื้1ปไต้ เราจะไม่ไปคนเดียว แตํเราจะชนคนไ'ก็ใท้หมดโลทหีเดีย'^\" จากนั้นก็ เร่งทำความเพียร สั่งสมความดีสร้างบารมีอย่างเอาขีวิดเปบเดิมพับ จนไดเปนพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า พันจากทุกข์ภัยจากการเวียนว่ายตายเกิดถย่าสิบเขิ พรอมพังได ทำ ตามความปรารถนาที่ได้ตั้งพระพัยไว้ โดยเมื่อได้ตรัสรู้แล้ว ก็ใข้เวลาในการโปรด สัตว์โลกให้รู้ตามตลอดพระขนม์ขีพของพระอ•^ด์ บทสรุปเรื่องโลกและชีวิต เมื่อเราได้ทราบธรรมชาติของโลกและขีวิตอย่างบีแล้ว ก็ให้มองโลกตาม ความเป็นจริง ไม่หลงยึดติดอยู่ในกระแสกิเลสของโลก เร่งทำความเพียร ทำ ความ ดีอย่างยิ่งยวด ทำ ตนและผู้อื่นให้พันทุกข์ ตามอย่างทีผู้รู้แจ้งโลก คือ พระสัมมาล้ม พุทธเจ้าได้ทำเอาไว้เป็นแบบอย่าง ๙๓ www.kalyanamitra.org

ภาพรวมสวรรค์- โลกมบุษย์- อบาย (•แ> '.๗ »แะ:ท«»1(นจคโ|1ท) ภูแแทฌใ 6. ใเาน๊เแโฅวทาคร I, ขคนรว 3. UUUIUlfl 2. ยทมรว www.kalyanamitra.org 1. กไากะ HIJll 4. สฑัทกน 2. «าวรรสํ 1. (แตุนหารเขก) 5. เนมบธ') 6. าแตกะ กเขเ 3 กก เาทู) เแบกทกแทแขเ กหกกณทเะ nhf)A ท1ท10(adMihVน»IJ 1- กัญชานรก ทเรศฑมรก 2. กาหสคตะนรก เน4บฝังนรกบมฬงจ')ก^นนน 3. สังม1ศบ7ท \\นบ*711 T6 นโ!เก do 4. 1ร7วะบรก fniitnufnf 5. innใรราะนวff 6. สน นะนรก 7. น>ทคาปนะนไท ร. 01าจนรก iJi'fniifrft ru

^ ความเพื้นฐานของชีวิต ^ ความสำคัญของมนุษย์ มบุษย์ แปลว่า ผู้มีใจสูง หมายถึง ผ้มีใจสูงกว่าสัตว์โลกชนิดอื่น มนุษย์ ใจสูงเพราะบำเพ็ญมนุษยธรรม คือ รกษาคืล ๕ และกุศลกรรมบถ ๑๐ มามากแล้วในชาติอดีต ชาตินี้จึงมีใจใส - สะอาด - สว่าง - สงบเป็นปกติตังแต่เกิด มนุษย์ จึงเลือกคิด พูด ทำ แต่สิงที่ดีงาม เป็นบุญกุศล เป็นประโยชน์ทังแก่ ตนเองและผู้อื่นไล้ กุศลกรรมบถ ทางแห่งการทำความดี ๑๐ ประการ ๑.ปาณาติปาตา เวรมณี : เร้นจากการฆ่าสัตว์ การกระทำดีทางกาย ๓ ๒. อทินนาทานา เวรมณี :เร้นจากการสักทรัพย์ ๓.กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี : เร้นจากการประพฤติผิดในกาม ๑.มุสาวาทา เวรมณี : เร้นจากการพูดเท็จ ๒.ปิสุณายวาจา เวรมณี ะ เร้นจากการพูดส่อเสียด การกระทำดีทางวาจา ๔ ๓. ผรุสาย วาจาย เวรมณี ะ เร้นจากการพูดคำหยา'บ ๔. สัมผัปปลาปา เวรมณี : เร้นจากการพูดเพ้อเจ้อ การกระทำดีทางใจ ๓ ๑. อนภิซฌา : การไม่คิดโลภอยากได้ของเขา ๒.อพยาบาท : การไม่คิดพยาบาทปองร้ายเขา ๓.สัมมาทิฏฐิ :ความเท็นชอบตามทำนองคลองธรรม คือ เข้าใจถูกในเรี่องโลกและชีวิต เพราะทำกรรมดีทั้ง ๑๐ ประการมามากในอดีตชาติ จึงไล้มาเกิดเป็นมนุษย์ที่ ดีพร้อมในชาตินี้ ๙๔ www.kalyanamitra.org

องค์ประกอบของมนุษย์ 4' เรรรพ มนษย คิฝืง^อ^ยน^แตเกดิ^ ^สฝืงอ^^^จากขิาตทแ^JI Jf ส่วนประกอบของกาย กายประกอบด้วยธาตุหยาบ ๔ ชนิด รวมกันอย่าง!ด้สัดส่วนเหมาะสม ได้แก่ ๑.ธาตุดิน : ส่วนที่มีลักษณะแข็งตามธรรมชาติ เช่น เนื้อ หนัง กระดูท 'ๆล-ๆ ๒. ธาตุนื้า : ส่วนที่มีลักษณะเหลวตามธรรมชาติ เช่น เลือด นํ้าเหลือง ฯลฯ ๓. ธาตุลม : ส่วนที่พัดผ่านไปตามช่องว่างได้ เช่น ลมหายใจ ฯลฯ ๔. ธาตุไฟ ะ ส่วนที่เป็นความร้อนที่แทรกซึมอยูในร่างกาย เช่น พลังงาน ความ อบอุ่น ฯลฯ ๙๖ www.kalyanamitra.org

กายมนษย์มีลักษณะพิเศษ ๑. ยามยืน - เดิน กายมนุษย์ตั้งตรง กระดูกสันหลังตั้งฉากกับพื้นโลก จึง คล่องแคล่วสมตัว ขณะที่สัตว์อื่นกระดูกสันหลังขวาง หรือนอนขนานกับพื้นดิน ๒. ยามนั่ง กายตั้งตรง นั่งได้นาน หาศูนย์กลางกายได้ง่ายขณะทำสมาธิ ๓. ยามนอน นอนราบได้ทั้งหงาย - ควํ่า - ตะแคง จึงพักผ่อนได้เต็มที่ ๔. รูปร่าง ขนาด สัดส่วน อวัยวะ เหมาะสมแก่การประกอบการงานเลี้ยงชีวิต และความดีทุกฃนิด กำ เนิดและความเป็นอยู่ของกาย ๑. กายต้องมีบิดามารดาเป็นแดนเกิด ๒. กายต้องอาศัยธาตุ๔ ภายนอกหล่อเลี้ยง ๓.กายต้องแตกสลายไปเป็นธรรมดา ทุกๆ นาทีจะมีเซลล์ตายและเกิดแทนที่ กัน ๓๐๐ ล้านเซลล์ ๔.กายเป็นของกลางๆ ไม่ดี-ไม่ชั่วแต่เป็นอุปกรณ[หใจใช้ทำความดี-ชั่ว สิงที่ต้องรู้เกี่ยวลับกาย ๑. การได้เกิดมาเป็นมนุษย์แสนยาก หลักฐานคือในแต่ละบ้านเรือนมีสัตว์อยู่ อาศัยมากกว่าคนนับเท่าไม่ล้วน ๒. อย่าใช้กายไปถล่มทลายทำความชั่ว ๓. ทุ่มเทใช้กายทำแต่ความดี ให้สมกับที่ได้โอกาสครอบครองกายมนุษย์อัน ลํ้าค่า ๙๗ www.kalyanamitra.org

ใจ คือ อะไร ๑.ใจเป็นธาตุละเอียด ซื่อว่า วิญญาณธาตุ แปลว่า ธาตุรู้ ๒.ใจมีอำนาจในการรู้ ๓.ใจไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเนื้อของมนษย์ ๔. ใจอาศัยอยู่ในกายมใJษย์ที่มีซีวิต ถ้าใจพรากจากกายเมื่อไหร่ กายก็กลาย เป็นศพ ใจก็ด้องไปแสวงหาที่เกิดใหม่ทันที ธรรมชาติของใจ ๑. มีปรกติใสบริสุทธิ้เหมือนเพชร ๒. เมื่อมีอารมณ์ รัก หลง กลัว มากระทบ ใจจะขุ่น เศร้าหมองเหมือนใส่สีใส่ โคลนลงไปในนื้าทำให้เสียคุณภาพในการรับ-จำ-คิด-รู้ ๓. ใจเป็นนายของกาย สั่งการให้กายทำตามที่ใจด้องการ โดยผ่านสมองและ ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ โครงสร้างของใจ กลิน ส้มผ้ส mitiww ๙๘ www.kalyanamitra.org

การทำงานของใจ คิดปรุงแต่งข้อมล I ดวงคิด I ทางดี ทางชั่ว ทางไม่ดีไม่ชั่ว กรรมดี เลือกร้ว่า i.„กรรมชั่ว JIJ\" iกรรมไม่ดีไม่ชั่ว ดี-ชั่ว-กลาง ๆ บาป ไม่เกดบุญบาป ดวงร กิเลส คือ อะไร ๑. กิเลสเป็นธาตุละเอียดชนิดหนึ่ง และสกปรกมาก ๒. กิเลสฝืงตัวอยูในใจตั้งแต่แรกเกิด เหมือนตะกอนนอนอยู่ก้นโอ่งนำ หรือ เชื้อโรคฝืงอยูในกาย ๓. กิเลสมีมากเท่าไร ยิ่งทำให้[จขุ่นมัว เศร้าหมองมากเท่า'นั้น ๔. กิเลสเป็นศัตรูตลอดกาลของใจ เหมีอนสนิมเป็นศัตรูของโลหะ, เชื้อโรค ร้ายเป็นศัตรูของร่างกาย การคุกคามของกิเลส ตนเดื^ร้อน ๑. กิเลสฝืงตัวอยู่ในใจ ตั้งแต่แรกเกิด ใจขุ่นม้ว ^ ^ ^ ■> เกิดบาป ๒. กิเลส! ^ >คิดราย เ- I ปีบคั้นใจ ทำ ร้าย ผ้อี่นเดือดร้อน ๓. เราตาย กิเลสไม่ตาย ยังติดค้างอยูในใจ ๔. เราเกิดใหม่ กิเลสก็ตามไปทำลายคุณภาพใจของเราต่อไปอีกในชาติหน้า ๙๙ www.kalyanamitra.org