Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E book คู่มือธรรมทายาท

Description: E book คู่มือธรรมทายาท

Search

Read the Text Version

สืลข้อ ๗ ๑. เครื่องประดับนั้นเป็นดอกไม้และของหอม รกอย่างหนึ่งคือ การลูบไล้ ๒.ไม่มืเหตุเจ็บไข้ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรง หัดหรง ประดับตกแต่ง อนุญาตให้ใช้ได้ ๓. ลูบไล้ทัดทรงด้วยจิตคิดประดับตกแต่งให้สวยงาม ร่างกายด้วยดอกไม้ ของหอม เครื่องย้อม เครื่องทา คืลข้อ ๘ ๑. ที่นั่งที่นอนสูงใหญ่ การนอนที่นอนอันสูงใหญ่ ๒. รู้ว่าที่นั่งที่นอนสูงใหญ่ ๓. นั่งหรือนอนเหนือที่นั่งที่นอนอันสูงใหญ่นั้น ภายในอัดด้วยบ่นและสำลี ส่วนสืล ๑๐ สำ หรับสามเณร หัวข้อเหมือนคืล ๘ แต่แยกข้อ ๗ เป็น ๒ ข้อ (เป็นข้อ ๗ และ ๘)เลื่อนข้อ ๘ เป็น ๙ และเติมข้อ ๑๐ คืลข้อ ๑๐ ๑. วัตถุเป็นเงินหรือทอง การรับเงินทอง ๒. ถือเอาเพื่อประโยชน์ตนเอง ๓. รับเอง หรือให้เขารับหรือยินคิเมื่อเขาเก็บไว้ให้ตน rawnmi ร>๕o www.kalyanamitra.org

^ วินัย เคารพ อดทน ^ ■เนื่องจากจุดมุ่งหมายสูงสุดของนักบวขคือควานทมดกิเล^ เข้าสู่พระนิพพาน ผู้จะหมดกิเลสได้ต้องมีปิญญาอย่างยิ่ง ผู้จะมีปีญญาอย่างยิงได้จะต้องมีสมาธิอย่างยิง และผู้จะมีสมาธิอย่างยิ่งได้จะต้องอยู่บนฐานของคืลอย่างยิ่งด้วย ในขณะเดียวกิ'น การดำเนินชีวิตเพื่อให้ตั้งอยู่บนพื้นฐานคนดีที่โลกต้องกาว ก็ ต้องอาคื'ยคุณธรรมอีกขุดหนึ่งเพื่อเกื้อกูลการเกิดคืล ลมาธิ ปึญญว นื่'บคือ การปลูกฝิง นิสัยเป็นผู้มีวินัย มีความอดทน และเป็นผู้มีความเคารพนั่นเอง วินัย คือระเบียบ, ข้อบังคับที่พระพทธองค์ทรงห้ามหรือทรงอนุญาตเพื่อความ เรืยบร้อยดีงามของตนเองและหมู่คณะ รวมถึงให้ห่างไกลจากความขัวทังหลาย วนิย ความสะอาด ตรงต่อเวลา ปีจจัย ๔ กิจวัตร / กิจกรรม ใจปลอดกังวล รักษาปกติของกาย วาจา ใจ ลบาคาริยวินัย คือ ติลสำหรับนักบวข ๑. ปาฏิโมกขสังวร คือการสำรวมอยู่ในศีล ๒๒๗ ข้อ ๓.อาซีวปาริสุทธิ คือ การหาเลี้ยงชีวิตในทางที่ซอบได้แก่ การบิณฑบาต ๔. ปึจจัยสันนิสิต คือการพิจารณาบิจจัยว่าเป็นเพียงเครื่องหล่อเลียงชีวิตให้อยู่ ®(£^(ร) www.kalyanamitra.org

ประโยซน่ฃองวินัย ๑.นำ ไปดี ยกฐานะให้สูงขึ้นจากขายธรรมดากลายเป็นพระสงฆ์ผู้ควรกราบไหว้ ๒.นำ ไปแจ้ง เปิดเผยธาตุแท้ของคนได้ ๓. นำ ไปต่าง เข่น คนที่ซ่องสุมพรรคพวกและอาวธ ท้ามีวินัย เรียกว่า กองทหาร เป็นรั้วของซาติ ท้าไม่มีวินัย เรียกว่า กองโจร เป็นเสี้ยนหนามของแผ่นติน เคารพ คือ การตระหนัก ซาบซึ้ง จ้บดีในคุณความดีที่มีอยู่จรีงของบุคคลอื่น แล้ว แสดงออกด้วยความอ่อนน้อมทั้งต่อหน้าและลับหลัง เริ่มต้นจาก จ้บดึ สิงที่ควรเคารพอย่างยิ่ง นำ มาปฏินัติดาม เกิดผลดีจริง ๑. เคารพในพระสัมมาสัมพุทธเจ้า กตัญญู ซาบซงในความดี ๒. เคารพในพระธรรม ๓. เคารพในพระสงฆ์ ^ กตเวหื ^ ๙. เคารพในการสืก'ษา ๙. เคารพในสมาธิ พยายามหาทางตอบแทนคณ ๖. เคารพในความไม่ประมาท ๗. เคารพในการปฏิสันถาร เค้นศักยภาพออกมาใต้ให้งานสำเร็จ เกิดปีญพา ๑๙๒ www.kalyanamitra.org

อดทน มาจาก ขนติ หมายถึงการรักษาภาวะปกติของตนไว้1ด้ ไม่ว่าจะพบกั'บสิงทีพง ปรารถนาหรือไม่พึงปรารถนาก็ตาม ลักษณะของผู้มีความอดทน ๑. มีความอดกลั้น ๒. เป็นผู้Iม่ดุร้าย ๓.ไม่ปลูกนํ้าตาให้แกใครๆ ๔. มีใจเบิกบานอย่เป็นนิจ นิ ประ๓ทของความอดทน ๑. อดทนต่อความลำบากตรากตรำ ๒. อดทนต่อทุกขเวทนา ๓. อดทนต่อความเจ็บใจ ๔. อดทนต่อกิเลส วิธีแกความอดทน (^ หิริโอตตัปปะ (^ละขั๋'ว ไม่ก่อเวรใหม^^^^ (^ ใจผ่องใฝึเป็นนิจ ) \"V ( ลมาร ) ๑๔๓ www.kalyanamitra.org

นิพพาน ะมาท , 1 ลมาธ อดทน ไม่แล้งนาใจ nawwwi ๑๕๔ www.kalyanamitra.org

^ ฆราวาสธรรม ^ ฆราวาสธรรม แปลว่า ธรรมะสำหรับฆราวาส เป็นเรื่องที่ว่าด้วยแม่บทพื้น ฐานในการแกฝนตนเองและการทำงานร่วมกัน ซึ่งมี ๔ ประการ คือ ๑. สัจจะ ความซื่อตรงและจริงจังจริงใจ เแก้ป็ญหาประจำโลก คือ ความ หวาดระแวงกันได้ ๒.ทมะ การแกตนเองรํ่าไป เแก้ปีญหาประจำโลก คือ ความโง่หรือความไม่รู้ได้ ๓.ฃนต ความอดทน แก้ปิญหาประจำโลก คือ ความยากจนได้ ๔.จาคะ ความเสียสละ แก้ปิญหาประจำโลก คือ ความเห็นแก่ตัวได้ สัจจ:เะ หมายถึง คุณลักษณะ ๓ ประการ คือ ๑.ความตรง(เป็นคนตรง) คือ ไม่บิดพลิ้ว ไม่อ้อมค้อม ๒. ความจริง (เป็นคนจริง) คือ ไม่เล่น ไม่เหลาะแหละ จริงจัง จริงใจ ไม่เท็จ ๓.ความแท้ คือ ความไม่ปลอม ไม่เทียม ไม่เก๊ เที่ยงแท้ต่อคุณธรรม สัจจะแปงเป็น ๕ ประการ คือ ๑. สัจจะต่อหน้าที่ หน้าที่คือสิ่งที่ด้องรับผิดซอบมี ๒ อย่าง คือ ๑.๑ หน้าที่โดยธรรมชาติ เซ่น หน้าที่เป็นลูกที่ดีฃองพ่อแม่ พ่อแม่ที่คืฃองลูก ๑.๒ หน้าที่โดยการมอบหมาย เซ่น เป็นลูกศิษย์ที่ดีฃองครู เป็นเจ้านายที่ดีฃองลูกน้อง ๒. สัจจะต่อการงาน ทำ งานที่รับผิดชอบให้ดีที่สุด ๓.สัจจะต่อวาจา พูดอย่างไรทำอย่างนั้น ๔. สัจจะต่อบุคคล เอาใจเขามาใสใจเรา ๕. สัจจะต่อความดี ศึกษาธรรมะและปฏิบิติตามให้ดีที่สุด ทแทเพท ๑๔๔ www.kalyanamitra.org

ทมะ หมายถึง การพัฒนาตนให้มีความรู้ความสามารถสูงขึ้น หมายถึง ๑.'ฝ็กตน กระตือรือร้นในการแกฝนอบรมตนเองในทุกรูปแบบ ๒. ข่มจิต ข่มจิตใจของตน ไมโห้หลงไปในความชั่ว ๓.รักษาใจ ยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น ไม่เกลือกกลั้วต่อสิ่งเศร้าหมอง ขันติ หมายถึง การรักษาภาวะความเป็นปกติของตนไวได้ ไม่ว่าจะถูกกระทบ กระทั่ง ปีบคั้นด้วยสิ่งที่ไม่พอใจ หรือยั่วยุด้วยสิ่งที่น่าใคร่เพียงใด ขันติแน่งเป็น ๔ ประการ คือ ๑. อดทนต่อความลำบากตรากตรำ ทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ ความร้อน ความหนาว ๒. อดทนต่อทุกขเวทนา คือ ทนต่อความเจ็บป่วยของร่างกาย ๓. อดทนต่อการกระทบกระทั่ง คือ ทนต่อการถูกทำให้เจ็บใจ ๔. อดทนต่ออำนาจกิเลส (อบายมุข) มี ๔ ส. คือ สตรื หรือสุภาพบุรุษ สตางค์ สุรา สรรเสริญ จาคะ หมายถึง การให้ การเสียสละ เซ่น ๑. สละทรัพย์สิ่งของ แน่งกันกิน แน่งกันใช้ ๒. สละเรี่ยวแรง ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ๓. สละความสะดวกสบาย ทำ เพื่อส่วนรวมด้วย ๔.สละอารมณ์ ความโกรธ แต่ยังโกรธอยู่ ก็ต้องไม่ผูกโกรธ ๔. สละวิฃาความรู้ แบ่งหรือสอน ให้เป็นประโยฃน์ต่อผู้อื่น tmMrwni ๑๔๖ www.kalyanamitra.org

^ ห้าห้องแห่งชีวิต ^ ห้าห้องชีวิต หมายถึง สถานที่ ๕ แห่ง ที่เกี่ยวข้องกับตัวเราตลอดชีวิต ม อิทธิพลต่อนิสัยใจคอ ความสุขและความเจริญของชีวิตที่ผ่านพ้นไห่ในแต่ล\"กับ หนาฑหลก หนาทหลก ห้องนอน ๑.ปลูกฝไความเข้าใจ หองนา ๑.พิจารณาความไม่งามของ ห้องมหาสิริมงคล ถูก เรื่องความจรีงของ หองมหาพจารณา ร่างกาย พัฒนานิสัย ชีวิด(สัมมาทฎเ) พัฒนานิสัย ๒.พิจารณาความเป็นรี'งแห่งโรค \"ร้กบุญ กลัวบาป\" ๒.ฝึกสัมมาสมาธิให้เจ \"พิจารณาสังขารดาม ของร่างกาย ฒั้3มํนอยู่ในศูนย์กลาง ความเป็นจริง\" ๓.พิจารณาความเลื่อมโทรมของ กาย ร่างกายที่ดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง หน้าทหล'ก สัมมาทิฎฐ สัมมาสังกปป ๑.ปลูกฝงสัมมาสติ ไม่ปล่จย เข้าใจถก คิดถก ห้องแด่งต้ว ใจดามกเลส สัมมาสมาธ สัมมาวาจา ห้องมหาสด พ'ฌนานิสัย to.ฝ็กให้ระข้งตัวในทุกเรื่อง ต^งใจถูก พูดถูก ตัดใจ ใฝบุญ\" ไม่เผอเรอ ดื่นตัวตลอดเวลา บรรล .ฝึกตัดใจ ไม่หมกมุ่นในกาม สัมมาสดิ ธรรม/ สัมมากมมันต ๔.ฝึกใข้เหตุผลตักเดือนใจ ระลึกถก กระห้าถก ตน ให้เป็นสัมมาทิฎฐิ,สัมมา สังกัปปะ พยายามถูก เลยงซึพถก สัมมาวายาม สัมมาอาชวะ หน้าฑหล้ก > ๑.ปลูกฝงสัมมาอาชีวะ ไม่ ห้องอาหาร หน้าทีหลัก หารายไตัจากการห้าผิดศอ- ๑.เป็นที่ประชุมสมาชีกทุกคนใน ห้องทำงาน ห้องมหาประมาณ บ้านอย่างพรอมหนัาพร้อมดาทุก ธรรม กฎหมาย และจารีต พัฒนานิสัย วน ห้องมหาสมบด ประเพณ๊ \"รู้ประมาณในการ to.ใชปลูกฝํงสัมมาวาจานละ พัฒนานิสัย 1อ.ใข้ปลูกฝไวิน้ยประจาห้อง พูดและการใข้ทรี'พย์\" สัมมากัมบ้นตะให้แก่สมาชิกทุก ไฝความสัาเร็จ\" คนในบ้าน ห้างาน (พูดเหมาะสม, เคารพ,มารยาท,ร้มผิดรอบ .มระเบียบวินัย.ดแลอุปกรณ์ ๑£๗ www.kalyanamitra.org

9 h a ห้อง สิ่งที่ต้องรู้ สิ่งที่ต้องห้าม ประโยชน์ ทางใจ ทางกาย ๑. ๑.อากาศส่ายเทสะดวก ๑.ห้ามนำโทรทัศน์, สัตว์เลี้ยง, ๑.กราบพระ, สวดมนต์. นั่งสมาธิ ที่งก่อนนอน ๑.ทางโลกใช้ ห้อง ๒.ขนาดพอดี อาหาร, เครื่องดื่ม เช้าไปใน และหสังดื่น ทักผ่อน ๒.ทางธรรมใช้ ๓.อุปกรณ์ที่ดี'องมี+การตกแด่ง ห้องนอน ๒.สำรวจบุญบาปที่ทำแด่ละรัน ทักผ่อนและ นอน ๒.ห้ามประดับภาพไม่สมควร ๓.ดักเดีอนอบรมสัง่สอนสมาชิกในครอบครัว ปาเพิญเพียร ๔.ดูแลให'สะอาดเสมอ ภาวนา www.kalyanamitra.org ๕.วิธีการใช้ ๓.หามนอนดก ตนสาย ๔.เล่าธรรมะก่อนนอน ๑.รู้เท่าทันสุขภาพ ๕.วางแผนการทำบุญ, ทำ งานของรันใหม่ ของตนเอง ไอ. ๑.ขนาดพอดี ๑.ไม่สูบบุหรี่, ไม่ดื่มสุรา, ไม่ ๑.ใจไม่หมกมุ่นในสิ่งลามกอนาจาร เพราะไดั ๒.ทำความสะอาด ร่างกายให้ ห้อง ๒.ปลอด/ไ'ย ละอาด ดแลรักษาง่าย รับประทานอาหาร พิจารณาความไม่งามของร่างกาย ๒.ใจไม่คิดอาฆาตเคียดแค้นเพราะไดัพิจารณา ปราศจากเชื้อโรค นํ้า ๓.สังเกดสุขภาพผ่านของเสียที่ ๒.ไม่ติดรปภาพไม่เหมาะสม ความเป็นรังแห่งโรคและไม่ชั่งยืนของชีวิด ๑.แต่งดัวเหมาะสม ช้บถ่าย ๓.ไม่กระทำอนาจาร ๓.ไม่คิดเบียดเบียนรังแกใคร เพราะพิจารณา ๒.ร้มารยาทสังคม ๓.ให้เกียรติ เคารพ ๔.ให'ทุกคนช่วยก้'นทำความสะอาด เห็นความเป็นเพื่อนร่วมทุกข์ สถานที่ ๓. ๑.เพื่อปกปิดอรัยวะที่ก่อให้เกิด ๑.ไม่แต่งกายตามแฟชั่น ๑.ดัดใจไม่ลุ่มหลงในลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ห้อง ความละอาย ๒.ไม่เสียเวลาไปกับการแด่งดัว ๒.ไม่ม่'วเมาในความหนํมสาว ไม่มีโรค อาย แต่ง ๒.เพื่อป้องกันอันตรายจากอากาศ ๓.ไม่แต่งหน้าแต่งดัวให้เด็ก ๓.ไม่ฟุ้งเฟ้อ สุรุ่ยสุร่าย ,แมลง เพราะยังไม่ถึงวัยอับควร ๔.สร้างบุญกุศลเป็นประจำ ตัว ๕.ไม่เป็นทาสอบายมข

ห้อง สิ๋งที่ต้องรู้ สิ่งที่ต้องห้าม ประโยชน์ ทางใจ ทางกาย ๑.ห้องอาหาร คือ ห้องที่ใช้รับประทานอาหาร ๑.ไม่ฆ่าสัตว์ทำอาหาร ๑.รัจ้กประมาณในการรับประทานอาหาร ๑.ใช้ประกอบอาหาร ห้อง ร่วมกัน ต้องรักษาให้สะอาด ไม่เก๊บอาหารใน ๒.ไม่น้าสุรามาปรุง ๒.รู้จักประมาณในการใช้ทรัพย์ ๒.ใช้ประชุมครอบครัว www.kalyanamitra.org ห้องนี้ อาหาร ๓.รู้จักประมาณในวาจา ๓.ใช้รับประทานอาหาร ๔.ใช้เก๊บอาหาร อาหาร ๒.ห้องครัว คือ ห้องปรุงอาหาร. ต้องรักษา ๓.ไม่พูดเรื่องร้อนใจขณะ ความสะอาด ไม่มีเสัอโรค จากหนู แมลงสาบ รับประทานอาหาร ๕.ใช้รับแขก ๓.ห้องรับแขกเป็นหน้าดาของบาน ไม่ควร ๔.ไม่กินทิ้งกินขว้าง ปล่อยให้สกปรก รก รุงรัง ๑.ประกอบสัมมาอาชีพ ๑.ไม่ประกอบมิจฉา ๑.สามารถใช้สดีปญญาในการประกอบ ๑.ไต้เพิ่มปญญา และ L ๒.สักษณะห้อง, การดกแต่ง และอุปกรณ์ต้อง อาชีพ อาชีพไต้ผลสำเร็จด้วยดี ทํฒนาความชีานาญใน เหมาะสม ๒.ไม่มีอบายมุขทุกชนิด ๒.มีโอกาสเพิ่มบุญกุศลให้ตนเองเป็นนิจ การทำงาน ทำ งาน ๓.แสวงหาความรู้เพิ่มเดิม ทํ่งทางโลก ๒.ได้สืกนิสัยวิริยะ ๓.ฝ็กุศโลบายในการสนับลนุนคนดี แก้ไขคน โง่ สัดออกคนพาล และทางธรรม อุตสาหะ ๔.ไม่ก่อเวรเพิ่มเดิม ๓.ไต้เพิ่มพูนทรัพย์ สมบ้ดิ &SI

^ วุฒิธรรม ๔ ประการ ^ วุฒิธรรม แปลว่า ธรรมเป็นเครื่องเจริญ หริอธรรมที่ก'อให้เกิดความเจริญ งอกงาม เป็นหลักธรรมที่เกื้อกูลต่อการศึกษาเพื่อพัฒนาปิญญาให้เจริญขึ้น วุฒิธรรมประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ คือ ๑. สัปปุริสลังเสวะ (คบลัตบุรุษ)หมายถึง \"หาครูดีให้พบ\" การเลือกครูดีนั้น ต้องพิจารณา ๒ เรื่องใหญ่เป็นสำคัญ คือ ต้องพิจารณาจากการมี ความรู้จริงและการมีนิลัยดีจริง เราจึงจะแน่ใจได้ว่าท่านจะสามารถสอนได้จริงทั้งใน ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบต เพราะครูคือด้นแบบ และต้นแบบเป็นสิ่งสำคัญ ๒. ลัทธัมมัสสวนะ (ฟ้งธรรม) หมายถึง \"ฟ้งคำครูให้ชัด\" เมื่อเราได้พบครูดีแล้ว สิ่งสำคัญอันดับที่สองก็คือ ต้องพิงคำครูให้เข้าใจ อย่าให้ผิด พลาดคลาดเคลื่อนเพี้ยนความหมาย พิงแล้วต้องได้ \"คำจำกัดความ\" ของเรื่องนั้นๆ ออกมาอย่างชัดเจน การให้คำจำกัดความ คือ การกำหนดความหมายที่ถูกต้องและ ซัดเจน ทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบต เพื่อให้ครูและนักเรียนเกิดความเข้าใจที่ตรง กัน วิธีการหาคำจำกัดความแบบง่ายๆ ก็คือ การตั้งคำถามในเรื่องที่เรียนด้วยคำว่า \"อะไร\" ๓.โยนิโสมนสิการะ (ตริตรองธรรม)หมายถึง \"ตรองคำครูให้ลึก\" เมื่อเราได้พบครูดีแล้ว ได้พิงคำครูชัดเจนแล้ว แต่จะเข้าใจความรู้ของครูได้ลึกขึ้งมาก น้อยแค่ไหน ก็อยู่ที่การน่าความรู้กลับมาไตร่ตรองให้ลึกขึ้ง การตรองคำครูให้ลึก คือ การไตร่ตรองให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องถึงวัตถุประสงคํของรรรมะในเรื่องนั้นๆ วิธีการหาวัตถุประสงค์ก็ทำได้ง่ายๆ ด้วยการตั้งคำถามว่า \"ทำไม\" ๑๖๐ www.kalyanamitra.org

๔. ธัมมาบุธัมมปฏิป็ตติ (ปฏิบติสมควรแก่ธรรม) หมายถึง \"ทำตามครูให้ ครบ\" เมื่อเราหาครูดีพบแล้ว ฟ้งคำครูขัดเจนแล้ว ตรองคำครูอย่างลึกซึ้งแล้ว สิ่งที่ต้องทำให้ ไต้ก็คือ ต้องปฏิบัติจริงให้ได้เหมือนครู คนที่ไต้ครูดีแล้วเอาดีไม่ไต้ก็เป็นเพราะ \"ทำ ตามคำครูไม่ครบ\" เพราะถ้าทำครบผลงานก็ต้องออกมาตีเหมือนที่ครูทำ วิธีการที่จะ ทำ ตามคำครูไต้ครบนั้น มีทางเดียว ก็คือ ต้องรับเอานิสัยที่ดีฃองครูมาเป็นนิสัยของตน ให้!ต้ ยิ่งล้าเป็นเรื่องการเรียนธรรมะด้วยแล้ว ต้องเอานิสัยทุ่มชีวิตเป็นเดิมพันในการ ทำ ความดีตามอย่างพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จะเห็นไต้ว่า \"วุฒิธรรม ๔ ประการ\" คือขุมทรัพย์ทางปีญญาที่พระสัมมาสัม พุทธเจ้าทรงมอบไวิให้แก่พวกเรา เพื่อเป็นหลักในการเรียนรูวิขาทั้งหลายไม่ว่าจะเป็น ทั้งทางโลกและทางธรรม ขอเพียงแต่พวกเราตั้งใจคืกษาให้ครบทั้งอะไร ทำ ไม อย่างไร และผลเป็นอย่างไร แล้วลงมือปฏิบัติอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน แล้วความสุขและความ เจริณฺในชีวิตย่อมบังเกิดขึ้นตามมาทันที www.kalyanamitra.org

^ เสนาสนสูตร ^ เป็นพระสูตรที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสถึงภิกชุที่มีคุณสมบ้ต ๕;ประการ เมื่อ ได้อาศัยอยู่ในเสนาสนะที่ประกอบด้วยคุณสมบตอีก ๕; ประการ ย่อมเกื้อกูลให้ภิกษุ นั้นสามารถกำจัดกิเลสอาสวะได้อย่างรวดเร็ว คุณสมฟ้ติฃองภิกษุ ๕ ประการ ได้แก่ เป็นผู้มีศรัทธา, มีอาพาธน้อย, เป็นผู้ไม่ โอ้อวด มีมารยา, เป็นผู้ปรารภความเพียร และเป็นผู้มีปีญญา มีรายละเอียดด้งนี้ คณสมบ้ติ ลักษณะ และการนำไปใช้งาน ๑ มีศรัทธา ศรัทธา หมายถึง ความเชื่อมั่นที่เปียมล้นด้วยความมั่นใจ ๒ อาพาธน้อย จนสิ้นสงสัยในพระป้ญญาตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัม พุทธเจ้า ว่าท่านเป็นพระอรหันต์, ตรัสรู้ด้วยพระองค์ เองโดยชอบ, เพียบพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ, เสด็จไป ดีแล้ว, รู้แจ้งโลก, เป็นสารถีฟิกผู้ที่ควรแกได้อย่างยอด เยี่ยม, เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์, เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผ้เบิกบาน และเป็นผ้แจกแจงธรรม มีโรคน้อย, มีไฟธาตุดีเหมาะกับการย่อยอาหาร, รู้จัก รักษาสุชภาพตนเอง และถนอมร่างกายเพื่อใช้สร้างบารมี ด้วยการ ๑.ใช้บิจจัยสี่ที่ไม่เป็นโทษต่อร่างกาย ๒. ดูแลร่างกายให้เหมาะสมกับฤดู ๓. รักษาอิริยาบถของร่างกายให้สมดุล ๔. ไมใช้ร่างกายหักโหมจนเกินไป ๑๖๒ www.kalyanamitra.org

๓ ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา ทำ ตนให้เปิดเผยความจริงต่อพระศาสดาหรือเพื่อ*น i i/f Sj £ ๘! iM รวมทงเปีนผูทตังเจแก่เข พรหมจรรยผูรัทงหลาย ปรับปรุงนิสัยของตนเองอย่างจริงจัง ไม่เป็นคนลวงโลก โดยอาจลกให้เป็นผู้!มโอ้อวด ไม่มีมารยา ดังนี้ ๑.ลกพื่งตนเอง ๒.ลกรักษาสุขภาพ ๓.ลกให้มีรินัยต่อคำพูด, เวลา, ความสะอาด, ความเป็น ระเบียบ และการสร้างบุญ ๔ ปรารภความเพียร ๔.ลกความรับผิดชอบต่อศีลธรรม ปรารภความเพียรเพื่อละอกุศลธรรม และทำกุศลธรรม ให้เกิดขึ้น มีความบากบั่นไม่ทอดธุระในธรรมทั้งหลาย การปรารภความเพียรก็คือการบำเพ็ญภาวนา ซึ่งจะ ทำ ให้คืได้ก็โดยการรู้จักบริหารเวลาทั้ง ๔ ประการให้ดี คือ ๑. การศึกษาค้นคว้าพระธรรมคำสอน ๕มีปืญญา ๒. การสอบถามสนทนาธรรม ๓. การปฏิบํตสมาธภาวนาประจำว้น ๔. การหลีกออกเร้นเพื่อปฏิบํตสมาธิภาวนาระยะยาว ประกอบด้วยปิญญาเป็นเครื่องพิจารณา เห็นทั้งความ เกิดและดับอันเป็นอริยะ ปีญญาในที่นี้หมายถึง \"ภาวนา มยปีญญา\" ซึ่งเป็นปีญญาที่เกิดมาจากการปฏิบํตสมาธิ และเป็นผลมาจากการปฦบํตในข้อ ๑ - ๔ มาอย่างดี naiiiiiw ท www.kalyanamitra.org

เมื่อภิกษุ'ฝิกอบรมตนเองจนมีคุณสมบ้ตดังกล่าวแล้ว หากไดัอยู่ในเสนาสนะ ที่ประกอบด้วยคุณสมฟ้ตอีก ๕ ประการ ย่อมจะทำให้ภิกษุนั้นสามารถกำจัดกิเลส อาสวะในตนเองได้อย่างรวดเร็ว เสนาสนะอันประกอบด้วยองค์ ๕ได้แก่ ๑. เสนาสนะนั้นอยู่ไมใกลจากชุมชนนัก ไมใกล้นัก มีทางไปมาสะดวก กลางวันไม่พลุกพล่าน กลางคืนเงียบสงบ มีเสียงน้อย ไม่อีกทึก มีเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลานกระทบน้อย ๒. เมื่อภิกษุอยู่ในเสนาสนะนั้น ย่อมได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และ คืลานบิจจัยเภสัชบริขารโดยง่ายไม'!!เดเคืองเลย ในข้อ ๑ และ ๒ มุ่งหมายลืงที่อยู่อาดัยมีความสงบ และดำรงชีพได้สะดวก ๓. เสนาสนะนั้นมีภิกษุผู้เถระทั้งหลายที่มีความรู้ คือ เป็นพหูสูต เรียนจบ คัมภีร์ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกาอยูในเสนาสนะนั้น ๔. ภิกษุนั้นเข้าไปหาภิกษุผู้เป็นเถระเหล่านั้นในเวลาที่สมควร เพื่อคืก'ษาเรียน รู้ธรรม ๕. ภิกษุผู้เถระเหล่านั้น ย่อมเปิดเผย (แนะน้าสั่งสอน) ข้อที่ยังไม่เปิดเผย ทำ ข้อที่เข้าใจยากให้เข้าใจง่าย และบรรเทาความสงสัยในธรรมที่น่าสงสัยหลายอย่างแก่ ภิกษุนั้น ข้อที่ ๓ -๕ มุ่งหมายให้มีผู้ที่มีความรู้สอนธรรมวินัยและการปฏินัติธรรม ๑๒๔ www.kalyanamitra.org

หมวดเป้าหมายชีวิต www.kalyanamitra.org

การสร้างบารมีของ พระสัมมาส้มพุทธเจ้า แนวคิดในการแสวงหาทางหลุดพ้น แต่เดิมพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็เป็นม'นุษย์ธรรมดาสามัญอย่างพวกเรา ไม่รู้จัก เป้าหมาย'ที่แท้จริงของการเกิดมาเป็นมนุษย์ ดำ เนินขีวิตด้วยความประมาท ทำดีบ้าง ทำ ซั่วบ้าง ปะปนคละเคล้ากนไป แล้วก็เวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภพ ๓ หรืออยูในคุก แห่งสังสารวัฏ ซึ่งมีระยะเวลา'ที่ยาวนานมาก ไม่ทราบว่าขาดิแรกเริ่มตรงไหน และซาดิ สุดท้ายจะสิ้นสุดเมื่อใด ถูกความทุกข์จากการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ครอบงำเริ่อยมา จนกระ'ทั่งมีอยู่ขาติหนึ่ง เกิดจิตสำนึกลึกๆ 'ที่ได้จากการสั่งสมประสบการณ์ ได้พบความทุกข์มานับภพนับชาติไม่ล้วนบีบคั้น ทำ ให้พระองค์เบื่อหน่ายต่อความ ทุกข์ มองหาหนทางที่จะออกจากทุกข์ให้ได้ และตั้งใจมั่นว่า เมื่อตนเองออกจาก ความทุกข์ หรือออกจากคุกในสังสารวัฏได้ จะต้องช่วยเหลือสรรพสัตว์ทั้งหลายให้ พ้นจากทุกข์ไปด้วยให้ได้ นึ่คือความปรารถนาเริ่มด้นของการเป็นพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า ลงมอสร้างบารมีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน หลังจากที่ได้ปรารถนาเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ก็ลงมีอสร้างบารมีอย่าง ยิ่งยวด โดยเอาฃีวีตเป็นเดิมพัน สละเลือดเนื้อ อวัยวะ ซวิต ผ่านอุปสรรคนานัปการ โดยไม่ย่อท้อมายาวนานนับภพนับซาติไม่ล้วน เพื่อให้ได้มาซึ่งสัพพ้ญณุตญาณ สัน เป็นความปรารถนาสูงสุด ซึ่งในขณะการสร้างบารมีที่จะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านื้ เรียกว่า พระโพธิสัตว์ www.kalyanamitra.org

พระโพธิสัตว์ ๒ ประ๓ท ๑. อนิยตโพธิสัตว์ คือ พระโพธิสัตว์ที่ยังไม่ได้รับการพยากรณ์จากพระสัมมา สัมพุทธเจ้าองค์ก่อน จึงยังไม่แน่ว่าจะได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นเพียงแต่ตังใจจะ สร้างบารมีเพื่อเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น ถึงแม้จะมีนั้าใจเด็ดเดี่ยว ปรารถนามา เป็นเวลาช้านานหลายอสงไขยแล้วก็ตาม ๒. นิยตโพธิสัตว์ คือ พระโพธิสัตว์ที่ได้รับการพยากรณ์จากพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าพระองค์ก่อนแล้ว ย่อมเที่ยงแท้แน่นอนว่าจะได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอนาคต บารมี ๑๐ ทัศ...เสันทางที่ทำให้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พุทธการกธรรม หรือธรรมที่จะทำให้ได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือเรืยก อีกอย่างหนึ่งว่า ธรรมอันปมโพธิญาณ ให้พระโพธิสัตว์ตรัสร้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ เรียกว่า บารมี แบ่งเป็น ๑๐ ประการ คือ ๑. ทานบารมี คือ การเสียสละแบ่งป้น กำ อัดความเห็นแก่ตัว ๒. สืลบารมี คือ ความสำรวมระวังตน ไมให้เดือดร้อนตนเองและผู้อื่น ๓. เนกขัมมบารมี คือ การตัดความกังวลน้อยใหญ่และควบคุมกามคุณไมให้ กำ เริบ ๔.ปัญญาบารมี คือ การแสวงหาความรู้และสร้างเสริมปัญญาเพื่อต่อสู้กับกิเลส ๕.วิริยบารมี คือ การf!กหัดตัดตน กล้าที่จะเปลี่ยนแปลง กล้าที่จะปรับปรุงตน ๖.ขันติบารมี คือ การต่อสู้หักหาญกับอุปสรรคน้อยใหญ่ทุกซนิด ๗. สัจจบารมี คือ มีความซื่อตรง จริงอัง และความเด็ดเดี่ยวในการทำความดื ๘.อธิษฐานบารมี คือ มีความฉลาดรอบคอบ ตั้งเปัาหมายในการทำความดี ๙. เมตตาบารมี คือ มีความรักให้แก่คนทั้งโลก รักใคร่ปรารถนาดี มีไมตรีจิตต่อ กัน .๑๐ อุเบกขาบารมี คือ มีความเที่ยงธรรม มีใจสงบราบเรียบสมํ่าเสมอมั่นคง imtncm ๑๖๗ www.kalyanamitra.org

อาการแห่งการตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อสั่งสมบารมีจนเตึมเปียมแล้ว ในที่สุดทรงค้นพบวิธีการดับทุกข์เป็นผล สำ เร็จ ได้ตรัสร้ธรรมเป็นพระสัมมาล้มพุทธเจ้า เป็นผู้สมบูรณ์พร้อมด้วยวิชชา ๓ คือ ๑. ปุพเพนิวาสาบุสสติญาณ คือ ญาณหรือความรู้ที่ทำให้ระลกชาติได้ ๒. จุตูปปาตญาณ คือ ญาณที่ทำให้รู้เรื่องการเกิด และการตายของสัตว์ทั้ง หลาย ๓.อาสวกฃยญาณ คือ ญาณหยั่งรู้อริยสัจ ๔ ทำ ให้สิ้นอาสวกิเลส ทำ ให้พระองค์เป็นผู้เลิศประเสริฐกว่ามนุษย์และเทวดาทั้งปวง สามารถยกตน ให้พ้นจากกองทุกข์ หลุดพ้นจากการถูกกักขังในภพ ๓ ไปสู่ฮ่งแห่งพระนิพพาน อัน เป็นตินแดนที่ไม่มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นดินแดนแห่งบรมสุขอันเป็นนิรันดร คุณความดึอันยิ่งใหญ่ของพระสัมมาส้มพุทธเจ้า ๑.พระวิสุทธิคุณ หมายถึง ความบริสุทธึ๋ใจของพระพุทธองค์ที่ปราศจากกิเลส ทั้งปวง ๒.พระปีญญาธิคุณ หมายถึง ความมีป็ญญาที่ทรงรอบรู้!นธรรมทั้งปวง ที่เกิด จากการตรัสรู้ของพระองค์เอง ๓. พระกรุณาธิคุณ หมายถึง ความมีเมตตากรุณาที่คืดช่วยให้สรรพสัตว์ทั้ง หลายให้พ้นทุกข์ โดยการสั่งสอนให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องโลกและชีวิตแก่ สรรพสัตว์ทั้งหลาย ๑๒ www.kalyanamitra.org

^ การตรัสรู้ธรรม ^ ของพระสัมมาส้มพุทธเจ้า การตรัสรู้เกิดจากการทำ \"สัมมาสมาธิ\" เพราะ ๑. สัมมาสมาธิ ทำ ให้เข้าถึง \"ธรรม\" ๒. แสงสว่างจาก \"ธรรม\" ทำ ลายความมืด คือ กิเลสที่ห่อทุ้มใจ ๓.ใจของพระองค์เข้าไปหยุดนิ่ง ตั้งมั่นอยู่กลาง \"ธรรม\" ๔.ใจของพระองค์จึงเป็นอันหนิ่งอันเดียวกับ \"ธรรม\" ๕. กิเลสจึงไม่สามารถแทรกเข้ามาทำร้าย \"ใจ\" ของพระองค์ได้อีกต่อไป สมมาสมาธิ ป-ระทอบด้วยองค์๗ เพื่อการบรรลุธ'ร'รม ๑ ส้มมาทิฏเ >ร ส้มมาส้งภ้ปปร .ความดำริ•คตถก ความเห็น - เด้าโจทก. ๗ ส้มมาสค. ส้มมา m ส้มมาวาจา ความระลกทก สมาธ การพคถก ๖ ส้มมาวายามะ ๕ ส้มมาอาห็วะ V ส้มมาก้มม้นคะ การกระทำถก ความพยายามถก การเลึ๋ยงห็พถก อาการแห่งการตรัสรู้ธรรม ๑.ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ ญาณหรือความรู้ที่ทำให้ระถึก!ชาติได้ ๒. จุตูปปาตญาณ คือ ญาณที่ทำให้รู้เรื่องการเกิด. และการตายของสัตว์ทั้ง หลาย ๓.อาสวักฃยญาณ คือ ญาณหยั่งรู้อริยสัจ ๔ ทำ ให้สิ้นอาสวกิเลส ๑๖๙ www.kalyanamitra.org

ผลของสมาธิต่อการตรัสรู้ ๑. เห็นกายในกาย เซ่น กายทิพย์ กายพรหม ที่ซ้อนอยู่เป็นขั้นภายในร่างกาย ตนเอง เฉกเซ่นแสงสว่างย่อมมีแสงสืรุ้งทั้ง ๗ สีซ้อนอยู่ ๒. เห็นใจตนเอง คือ ๒-๑. เห็นโครงสร้างของใจ ๒.๒. เห็นการทำงานของใจ ๒.๓. เห็นรูป - เสียง - กลิ่น - รส - สัมผัส - ธรรมารมณ์ที่ใจรับ และ บันทึกไว้ เป็นความจำที่เก็บไว่ในใจตั้งแต่อดีตซาติจนถึงป้จจุบัน ๒.๔. เห็นกระบวนการคิด กระบวนการเกิดความรู้จนกลายเป็น ป็ญญาความรอบรู้ ที่สะสมอยูในใจของผู้นั้น ตั้งแต่อดีตขาติจนถึง ปิจจุบัน ๒.๔. เห็นการเกิดและดับของใจ ตั้งแต่อดีตชาติจนถึงปีจจุบัน การเห็นกระบวนการตั้งแต่ข้อ ๒.๑ - ๒.๔ ซึ่งเกิดขึ้นในใจตนเองตั้งแต่อดีต ชาติจนถึงป้จจุบัน คือสิ่งที่เรียกว่า \"การระลึกชาติ\" เพราะฉะนั้น การระถึกชาติคือ การย้อนกสับใปดูเหตุการณ์ เรื่องราวที่เกิดขึ้นกับเราตั้งแต่อดีตชาติจนถึงป็จจุบัน ๓. เห็นกิเลสที่ซ่อน แฝง บีบ คั้น ทำ ลาย \"ใจ\" เห็นกลไกการทำงานของกิเลส และเห็นซัดว่ากิเลสเป็นรากเหง้าของความชั่ว และความทุกข์ทั้งมวลที่ตนเองได้รับ ตลอดมา ทั้งยังเห็นอีกว่า กายเนื้อของมนุษย์เป็นของกลาง ไม่ดี ไม่ชั่ว แต่เป็นทุ่นให้ อธรรม คือ กิเลสและธรรมเชิด กล่าวคือ ถ้ากิเลสกำเริบก็จะซักใยบีบบังดับใหใจคิดชั่ว แถ้วจึงพูดชั่ว ทำ ชั่ว ทำ ให้ต้องประสบความทุกข์ความเดีอดร้อนต่างๆ ตามมา แต่ถ้าใจจรดกับธรรม ก็จะส่งเสริมสนับสนุนให้ใจคิดดี แสัวจึงพูดดี และทำดี ทำ ให้ใต้บุญกุศลตามมา ซึ่งเป็นต้นเหตุของความสุข ความเจริญ เกิดความรู้ซัดว่าความชั่ว ความทุกข์ทั้งหลายต่างๆ นานา ล้วนมีเหตุมาจาก \"กิเลส\" กิเลสจะกำเริบต่อเมื่อเผลอสติ ขาดสมาธิ ทุกคนจึงจำเป็นต้องแกสัมมาสมาธิ แพพพร* ๑๗๐ www.kalyanamitra.org

แบบเอาฃีวิตเป็นเดิมฟัน ถึงจะเอาชนะกิเลสได้หมดจด ๔. เห็นการเวียนว่ายตายเกิดทั้งของตนเองและสัตวโลก ๔. เห็นผลการปฏิบตกุศล - อกุศล ว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร อันเป็นที่มาของกฎแห่งกรรมว่า ทำ ดีได้ดิ ทำ ชั่วได้ชั่ว ๖. เห็นนรก - สวรรค์ ตลอดจนสัตว์นรก เทวดา นางฟัาว่ามีจริง ๗. เห็นอวิชชา ซึ่งเป็นรากเหง้าของกิเลส และความชั่วทุกชนิด ๘. เห็นอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ ทุกฃสมทัย ทุกฃนิโรธ ทุกฃนิโรธคามินิปฏิปทา (มรรค) ๙. เห็นธรรม และเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรม ซึ่งเป็นธรรมชาติบริสุทธื้อยู่ ภายในกายมนษย์ และนำความสุขที่แท้จริงมาให้ เห็นกิจแท้จริงของมนุษย์ว่ามีเพียงอย่างเดียวเท่านั้น คือ การกำจัดกิเลสให้สิ้น เชื้อไม่เหลือเศษ จากนั้นความสุข ความเจริญ ความรู้แจ้ง ก็จะหลั่งไหลมาเองไม่ขาด สาย ๑๗๑ www.kalyanamitra.org

ประวัติวัดพระธรรมกาย ประวัติความเป็นมา วัดพระธรรมกายสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ตรงกับวันมาฆ'บซา มีพื้นที่ใน คราว'บุกเบิกสร้างวัด ๑๙๖ ไ'3 และต่อมาได้ขยายพื้นที่เพื่อรองรับสาธุขนที่มาปฎิบิต ธรรมมากขึ้นอีก ๒,๕๓๔ ไร่ ตั้งอยู่ที่ตำบลคลองสาม อำ เภอคลองหลวง จังหวัด ป'ทุมธานี โดยมีพระอธิการไชยบูลย์ ธมฺมชโย (บิจจุบิ'นเป็นที่ พระราชภาวนาวิสุทธิ๋) เป็นเจ้าอาวาส พระเผด็จ ทตฺตซีโว (บิจจุบิ'นเป็นที่ พระภาวนาวิริยคุณ) เป็นรองเจ้า อาวาส การวางรากฐานระบบการบริหารจัดองค์กร และแนวการเผยแผ่พระ'ทุทธ ศาสนาของวัดพระธรรมกาย ล้วนเป็นนโยบายอันเกิดจากปณิธานจันแน่วแน่ของ 'บุคคลสำคัญ ๓ ท่าน ได้แก่ คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง'' ผู้ เป็นประธานในการสร้างวัดพระธรรมกาย พระราชภาวนาวิสุท และพระภาวนา- วริยคณ'' \" ๆณยายอาจารย์มหารัฅนอุบาสิกาจันทร์ขนนกยูง คึอ แม่ขีซี่งบวชรักบาสิล ๘ นามเดิมๆณยายจันทร์ขนนกยูง และได้สอน การปฏิบตธรรมให้กับท่านเจ้าอาวาสวัดพระรรรมกาย และรองเจ้าอาวาสโนระยะเริ่มด้นของการปฏิบ้ดธรรมจึงได้เรียกนามว่า ๆณยายอาจารย์ส่วนคำต่อท้ายว่า มหารัตนอุบาสิกาใวัน ท่านเจ้าอาวาสได้ขนานนามท่านภายหลังมีการสลายร่างท่าน. นามเดิม ไชยบูลย์สุทธิผล เปีนชาวจังหวัดสิงห์บุรี อุปสมบทเมื่ออายุ ๒๕ ปี พ.ค. เกิดวันที่fefe เมษายน พ.ศ. เร๔๘๗ ได้รับฉายา พระไชยบูลย์ธมฺมชโย ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณคักดึ๋เปีนพระราชาค{นะชั้นสามีญฝายวิปีสสนาธุระที่\"พระสุ ธรรมยานเถร\" เมื่อวันที่๕ ธันวาคม พ.ศ.๖๕๓๔ และได้รับพระราชทานเลื่อนสมณคักดี้เปีนพระราชาค{นะชั้นราชฝายวปีสสนา ธุระที่ \"พระราชภาวนาวิสทร\" เมื่อวันที่๕ธันวาคม พ.ศ. ๖๕๓๙. \"นามเดิม เผด็จ ผ่องสวัตดี้เป็นชาวจังหวัดกาญจนบุรี อุปสมบทเมื่ออายุ ๖๙ ปี พ.ศ. ๖๕ร,๔ได้รับฉายา พระเผด็จ ทตฅชีโว เกิดวันที่๖ร, ธันวาคม พ.ศ.๖๔๘๕ ได้รับพระราชทานสม{นคักดิ้เป็นพระราชาค{นะชั้นสามีญที่ \"พระภาวนาวิริยๆ(น\" เมื่อวันที่ ร>๖ สิงหาคม พ.ศ.๖๕๓๕. H'jwiiim ๑61(๒ www.kalyanamitra.org

สำ หรับคุณยายอาจารย์นั้น ท่านเป็นศิษย์ฝ่ายวิปีสสนาธุระในรุ่นแรกของพระ เดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนุทสโร) หรือหลวงป่วัดปากนั้าภาษีเจริญ พระ ริป็สสนาจารย์ผู้มีซื่อเสียงในการสอนสมาธิภาวนาเพื่อให้เข้าถึง \"ธรรมกาย\" ซึ่งมีอยู้ใน ตัวตนเราทุกคน ส่วนพระราชภาวนาวิสุทธ และพระภาวนาวิริยคุณนัน ท่านไตัฝิกการ เจริญวิป็สสนากับคุณยายอาจารย์มาตั้งแต่ยังเป็นนักศิกษา อาจกล่าวได้ว่าจุดกำเนิดของวัดพระธรรมกาย และการปฏิบตสมาธิวิชชา ธรรมกาย เกิดจากการสอนของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ที่ถ่ายทอดวิธีการ ปฏิบตธรรมให้แก่คุณยายอาจารย์มหารัตนอบาสีกาจันทร์ ขนนกยูง ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๘๑ และคุณยายอาจารย์ได้สอนวิธีการปฎิฟ้ตธรรมตังกล่าวให้กับพระราชภาวนา วิสุทธี้ (หลวงพ่อธัมมชโย) และพระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) เมื่อคเงยังเป็น นิ'กศึกษา ในปี พ.ศ. ๒๔๐๖ และพ.ศ.๒๔๐๙ ตามสำตับ และท่านทั้งสองได้เผยแผ่วิธี การสอนในเวลาต่อมา ประเด็นน่ารู้ 0 คุณหญิงประหยัด แพทยพงศาวิสุทธาธิบดี ได้ยกที่ดินให้ทั้งแปลง ๑๙๖ ไร่ ๙ ตารางวา ณ ตำบลคลองสาม อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ในปลายปี พ.ศ. ๒๔๑๒ และมาสร้างเป็นวัดพระธรรมกายในปีจจุบัน 0 วัดพระธรรมกายสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๑๓ โดยมีคุณยายอาจารย์มหา- รัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง เป็นประธานในการสร้างวัด ๑๗๓ www.kalyanamitra.org

จุดประสงค์การสร้างวัดพระธรรมกาย ๓ ประการ คือ ๑. สร้างวัดให้เป็นวัด คือเป็นวัดที่สะอาด สงบ ร่มรื่น เหมาะสำหรับการ ประพฤติปฏิบติธรรมของประชาซน ๒. สร้างพระให้เป็นพระ คือ แกอบรมพระภิกษุ ให้ถึงพร้อมด้วยคืลาจารวัตร และธรรมภายใน เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธา สามารถเป็นครูสอนศีลธรรมให้แก่ประชาซนได้ ๓. สร้างคนให้เป็นคนดี คือสร้างคนดีมีศีลธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ และมีความบุ่งหวังให้วัดพระธรรมกายเป็นโรงเรียน สอนศีลธรรมให้กับประซาชน\"' มูล€dธรรมกาย,(0๙ ปี นพการสร้างคนดี วัดพระธรรมกาย, หน้า ๑๙. fismไรin ๑๗๔ www.kalyanamitra.org

ประวัติย่อ ^ พระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสโร) ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย นามและฉายา ะ พระมงคลเทพบุปี หรือหลวงป่วัดปากนํ้า ภาษีเจริญ(สด จนุหสโร) นามเดิม ะ สด มีแก้วน้อย วันเดือนปีเกิด ะ วันที่ ๑๐ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๒๗ จ ตรงกับวันศุกร์ แรม ๖ คํ่า เดือน ๑๑ ปีวอก ถิ่นกำเนิด ะ อำ เภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี อุปสมบท ะ เดือนกรกฎาคม พ.ค.๒๔๔๙ ณ วัดสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๗๔ www.kalyanamitra.org

ประกาศคุณูปการ ท่านมีนิสัยทำอะไรทำจริงมาตั้งแต่เล็ก สามารถเรียนหนังสือได้ดีจนถึงขั้น บทเรียนสุดท้ายในสมัยนั้น คือการอ่านหนังสือมาสัยที่เขียนเป็นอักษรขอมได้อย่าง คล่องแคล่ว เมื่อจบการศึกษาได้ช่วยบิดามารดาค้าขาย โดยซื้อข้าวบรรทุกเรีอล่องมาขาย ให้แกโรงสื ครั้นอายุ ๑๙ ปี ได้อธิษฐานว่า \"ขอเราอย่าได้ตายเสิยก่อน เมื่อบวชแล้วจะไม่ลาสิกขา ขอบวชไปจนตลอด ชืวต\" ท่านอุปสมบทเมื่ออายุย่าง ๒๒ ปี และด้วยความเป็นคนทำอะไรทำจริง ขยัน และอดทน ท่านได้ศึกษาธรรมะทั้งด้านปริยัติและปฏิบิตควบคู่กันไป จนเข้าพรรษาที่ ๑๒ ในวันเพ็ญเดือน ๑0 ปีพ.ศ. ๒๔๖๐ ได้ตั้งสัจจาธิษฐาน อย่างแน่วแน่ว่า \"ถ้าเรานั่งลงไปครั้งนื้ไม่เห็นธรรมที่พระพุทธเจ้าต้องการ เป็นอันไม่ลุกจาก ที่นี้จนหมดชีวิต\" ในที่สุดท่านก็เข้าถึงพระธรรมกาย ซึ่งเป็นธรรมะของพระพุทธเจ้าและเผยแผ่ พระสัทธรรมนี้ จนเป็นที่กว้างขวางทั้งในและต่างประเทศ ประเด็นน่ารู้ 0 พระมงคลเทพมุนี หรือ หลวงปูวัดปากนี้า ภาษีเจริญ (สด จนทสโร) เป็น ผู้ค้นพบวิขขาธรรมกาย (หสังจากวิชชาธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสูญหายไป หลังพุทธปรินิพพาน ๔๐๐ ปี) 0 พระมงคลเทพมุนี หรือ หลวงปูวัดปากนี้า ภาษีเจริญ(สด จนุทสโร) เข้าถึง พระธรรมกายที่วัดโบสถ์บน อำเภอบางคูเวียง จังหวัดนนทบุรี ในพรรษาที่ ๑๑ *i ทพตพทเ ๑๗๖ www.kalyanamitra.org

^ ประวัติย่อ ^ คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิ^กาจั0/นทร์^ ขนนกยูง ผู้ให้กำเนิดวัดพระธรรมกาย วันเดือนปีเกิด ะ วันพุธขึ้น ๑๐ คํ่า เดือนยี่ ปีระกา พ.ศ.๒๔๕๒ ถิ่นกำเนิด ะ อ.นครช'ยศรื จ.นครปฐม บิดา-มารดา ะ นายพลอย - นางพัน ๑๗๗ www.kalyanamitra.org

ประกาศคุณูปการ คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง เป็นผู้ให้กำเนิดทางธรรม ของพระราฃภาวนาวิสุทธิ้ (หลวงพ่อธมฺมชโย) และพระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อ ทตฺตซีโว) เป็นทั้งผู้ให้กำเนิดรัดพระธรรมกาย และเป็นอาจารย์สอนวิป็สสนาวิซขา ธรรมกายของพระภิกษุสามเณร และอุบาสกอุบาสิกาแห่งรัดพระธรรมกาย ด้วยความซาบซึ้งในความเมตตาอาทร ที่ท่านมีต่อลูกศิษย์อย่างมากมายสุด ประมาณ ลูกศิษย์ทุกคนจึงรู้สึกอบอุ่น และคุ้นที่จะเอ่ยขานถึงท่านด้วยสรรพนามว่า \"คุณยาย\" หรือ \"คุณยายอาจารย์\" คุณยายอาจารย์เป็นศิษย์เอกของพระมงคลเทพมุนิ (สด จนฺทสโร) หลวงปูรัด ปากนํ้าภาษีเจริญ (พระมงคลเทพมุนี) คุณยายเป็นบุคคลตัวอย่างที่กล้าเสึยสละชีวิต เป็นเดิมพัน ทอดทิ้งทรัพย์สมบติทางโลก ออกบวขซีแต่รัยสาวเพื่อศึกษาธรรมะจนถึง แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา คือ วิซขาธรรมกาย แล้วนำออกเผยแผ่สู่ขาวโลกตาม พุทธประสงค์ เมื่อคุณยายอาจารย์พาลูกศิษย์อันมีหลวงพ่อธมมชโยเป็นผู้นำกลุ่ม มาบุกเบิก สร้างรัดพระธรรมกายกลางทุ่งนาฟ้าโล่ง คุณยายต้องเหน็ดเหนื่อยแทบสิ้นชีวิต แต่ ด้วยเลือดนํกสู้ และความรักธรรมะเหนืออื่นใด คุณยายจึงยืนหยัดเป็นหลักขัยให้แก่ ลูกศิษย์ตลอดมา เแ—พพ ๑๗๘ www.kalyanamitra.org

คุณยายไม่เพียงแต่สร้างวัดจัดหาสถานที่!ห้ลูกศิษย์และผู้Ie3ในการปฎิฟ้ติธรรม ได้ใช้ประโยซน์อย่างเต็มที่เท่านั้น หากยังได้วางกฎระเบียบในการบริหาร ปกครองวัด ไว้ให้อย่างรัดกุมและมีประสิทธิผล ความสะอาดเป็นระเบียบในวัด ในครัว ในห้องนำ ห้องส้วม บนถนนหนทางทุกซอกทุกมุม ล้วนเกิดจากการซีนำกำกับของคุณยายทัง สิ้น งานบริหารคน บริหารเวลา บริหารวัสดุ บริหารเงิน ซึ่งนักวิชาการทางโลกศึกษา มาจากสถาบันขั้นสูง หากถึงคราวจำเป็น คุณยายก็แสดงความสามารถด้านนีได้อย่าง อัศจรรย์ ทั้งที่ท่านไม่รู้หนังสือสักตัว ความสามารถของท่านประหนึ่งจะประกาศให้ ฃาวโลกทราบว่า ไม่มีอะไรเป็นสิ่งสุดวิสัยสำหรับผู้เช้าถึงธรรมของพระสัมมาสัมทุทธ เจ้า ไม่ว่าวัดพระธรรมกายจะมีชื่อเสียงโด่งตังไปอีกกี่กัปกิกัลป็ ก็ขอให้ทราบทัวกัน ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างเหล่านั้นล้วนเป็นผลมาจากความเหนือยยากของคุณยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ประเด็นน่ารู้ ๐ คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง เป็นศิษย์เอกผู้สืบทอด วิชชาธรรมกายจากพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนื (หลวงปูวัดปากนำ ภาษีเจริญ) โดยได้รับคำชมจากหลวงปูฯ ว่า \"เป็นหนึ่ง ไม่มีสอง\" 0 คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง เป็นผู้!ห้กำเนิดวัดพระ ธรรมกาย 0คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง เป็นครูผู้สอนธรรมปฏิบต ให้แก่พระราชภาวนาวิสุทธิ้ (หลวงพ่อธมุมชโย) และพระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อ ทตฺตซีโว) ๑๗๙ www.kalyanamitra.org

^ ประวัติย่อ 4S- พระราชภาวนาวิสุทธิ๋ (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย เท่น่ห้ นามและฉายา :พระราชภาวนาวิสุทธ หรือ หลวงพ่อธัมมชโย (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย) นามเดิม ะ ไชยบูลย์ สุทธิผล วันเดือนปีเกิด ะ วันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๗ ตรงกับ วันเสาร์ขึ้น ๑ คํ่า เดือน ๖ ปีวอก ถิ่นกำเนิด ะ อำ เภอพรหมบุรื จังหวัดสิงห์บุรื อุปสมบท ะ วันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๑๒ ณ อุโบสถวัดปากนํ้าภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร โดยมีพระเทพวรเวที (ป้จจุบันเป็นสมเด็จพระมหา รชมังคลาจารย์ เจ้าอาวาสวัดปากนํ้าภาษีเจริญ) เป็นพระอุปีชฌาย์ 6)๘0 www.kalyanamitra.org

การสืกษา มัธยมรกษา ะ โรงเรียนสารสิทธี้พิทยาลัย อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี และ โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพฯ อุดมรกษา ะ วิทยาศาสตร์บ้ณฑิต เศรษฐศาสตร์เกษตร(วท.บ.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การรกษาหางธรรม ะ นักธรรมขั้นโท ประกาศคุณูปการ ก่อนที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อธัมมฟ้ย'บว'!) 'ท่านสนใจอ่านห'นงลือธรรมะ มาแต่ครั้งยังเป็น'นักเรียนชั้นมัธยมปลาย ต่อมาได้เรียนวิชชาธรรมกายกับคุณยาย อาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันท'รี ขนนกยูง หรือ คุณยายอาจารย์ ที่บ้านธรรมประสิทธ์ วิ'ดปากนํ้าภาษีเจริญ จนคุณยายออกปากว่า \"วิชชาธรรมกายนี้ ยายเรียนรู้จากหลวงพ่อวัดปากนี้ามาเท่าใด ก็สอนให้จน หมดแล้ว\" เมื่อหลวงพ่อธัมมชโยบวชและเป็นเจ้าอาวาลวัดพระธววนลวยแลัใ ท่ร'^ ก็ปกครองวัดเหมือนพ่อปกครองลูก \"หลวงพ่อได้รับความสุขจากการปฏิบตธรรม อย่างไร ก็อยากให้ทุกคนได้อย่างนั้น\" นโยบายการบริหารวัดของท่านจึงให้ความสำคัญลันการนังลนวริฟ้*ลั'^ด้'^ หนึ่ง www.kalyanamitra.org

ในทางปฏิบต การบริหารงานวัด ท่านใช้หลักประชาธิปไตยเต็มท คือแปงงาน เป็นส่วน และมอบหน้าที่ให้ตามความสามารถของแต่ละบุคคล ท่านบอกว่า หน้าที่ ของท่านคือ หาทางให้ทุกคนใช้ความรู้ความสามารถสร้างบารมีให้เต็มที่ ใครจะได้ เท่าไรขึ้นอยู่ลับความเพียร เหตุเหล่านี้เองที่ทำให้ทั้งพระภิกชุสามเณร และอุบาสกอุบาสิกาทุกรูปทุก คนในวัดมีกำลังใจสร้างบารมีลันอย่างเต็มที่ ประเด็นน่าเ 0 พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ้ (หลวงพ่อธมฺมชโย} เป็นผู้นำในการ สร้างบารมีของหมุ่คณะ BBwrwm ๑๘๒ www.kalyanamitra.org

^ ทาน สิล ภาวนา ^ กิเลส ๓ ตระกูล ที่ฝืงรากลึกอยู่ในใจของเราทุกคน ๑.โลภะ คือ ความโลภ ความอยากได้ของผู้อื่น ๒.โทสะ คือ ความโกรธความพยาบาท อาฆาตผู้อื่น ๓.โมหะ คือ ความหลง ความไม่รู้!ปตามความเป็นจริง วิธีการเอาชนะกิเลส ๓ ตระกูล ๑. ทาน คือ การให้ การเสียสละอื่งของต่างๆ ของตน หรือให้ความรู้ทังทาง โลกและทางธรรมเพื่อประโยฃน์แก่ผู้อื่น เพื่อกำจัดโลภะ ๒. คืล คือ ความตั้งใจที่จะงดเว้นจากความชั่ว ความทุจริต สิ่งที่ไม่ดีทุก ประการ เพื่อกำจัดโทสะ ๓.ภาวนา คือ การแกใจให้สงบหยุดนิ่ง เพื่อกำจัดโมหะ คุณลักษณะพื้นฐานของ ทาน ลึล ภาวนา ทาน คือ ก้าวแรกในภารฟัฒนาชีวิตให้สูงขึ้น โดยเมื่อยิ่งให้ก็ยิ่งได้ ทุกครังที่ ให้ เราจะได้ความสบายใจ ความสุขใจ และเมื่อนั้นความสะอาดบริสุทธจะเกิดขืนในใจ ของเรา คืล คือ มนุษยธรรมอันจะทำให้ทุกขืวิตอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และ สามารถเป็นฐานที่ตั้งแห่งความดีงามทั้งหลาย ให้พัฒนางอกงามเจริญขืนได้โดยง่าย ภาวนา คือ การที่ใจได้รับการขัดเกลาให้ใสสว่าง บริสุทธิ้ มีคุณภาพ ห่างไกล จากความเศร้าหมองต่างๆ ๑^๓ www.kalyanamitra.org

บุญเกิดจากการทำทาน รักษาสืล เจริญสมาธิภาวนา (บุญกิริยาวัตถุ ๓) ทาน เป็นบุญระดับต้น เป็นความดีที่ทำไต้ง่าย ด้วยการเสียสละ หรบยื่น สิ่งของภายนอกต้วให้แก่ผู้อื่น ซึ่งโดยทั่วไปสามารถจะทำไต้ทุกคน และทำไต้บ่อย สิล เป็นบุญระดับกลาง มีอานิสงส์มากกว่าทาน เพราะทำไต้ยากกว่า เป็นการ ควบคุม กาย วาจา ให้เป็นระเบียบ ให้อยู่ในกรอบอันดีงาม ซึ่งต้องป็นความรู้สึกที่ เคยชินมาก่อน ภาวนา เป็นบุญระดับสูง 'มีอานิสงส์มากกว่าบุญอย่างอื่น เพราะทำไต้ยาก อย่างยิ่ง เป็นการ!!กอบรมใจซึ่งควบคุมไต้ยากให้อยูในอำนาจ และให้ง่ายต่อการ ควบคุม ซึ่งเมื่อทำไต้ จึงเป็นยอดของการทำความดี และมีอานิสงส์มาก ทำ ให้ได้ ๓ ดี จะได้บุญมาก ทำ ให้ถูกดี คือ ทำ ให้ถูกหลัก ถูกวิธี ถูกวัตถุประสงค์แห่งการทำบุญชนิดนั้น เซ่น ให้ทานก็ต้องให้เพื่อกำจัดโลภะจริงๆ เป็นต้น ทำ ให้ถึงดี คือ ตั้งใจทำให้มากถึงระดับที่สามารถกำจัดกิเลสชนิดนั้นๆ ไต้จริง ทำ ให้พอดี คือ ทำ ให้พอกับชอบเขตของบุญชนิดนั้น และเหมาะสมกับ สถานภาพ กล่าวคือ ไม่มากเกินกำลังความสามารถของตนเอง อันอาจเป็นเหตุให้ เดือดร้อนในภายหลัง อานิสงส์โดยย่อของการทำทาน รักษาดีส เจริญภาวนา ผู้สั่งสมทาน ทำ ให้เกิดทรัพย์สมบีตที่ใฃในการหล่อเลี้ยงตนเอง และไวิใช้ใน การทำทานต่อไปอีกต้วย ผู้รักษาดีล ทำ ให้เกิดรูปสมบีต ย่อมไต้เกิดมาเป็นมนษย์ ที่มีรูปร่างผิวพรรณ วรรณะด ผvู้เจ0ริญภาวนา ทำ ให้เกิดมีบีญญาเฉลียวฉลาด มีปฏิภาณไหวพริบ มีความคิด ^^บแหลม สามารถศึกษาวิชาความรู้!นศาสตร์ต่างๆ ไต้อย่างแตกฉาน ๑๘๔ www.kalyanamitra.org

^ หลักการตัดสินกรรมดี - กรรมชั่ว ^ วธท ดี ซ้ว ๑ เย็นเขา เย็นเรา ร้อนเขา เย็นเรา เย็นเขา ร้อนเรา ไม่รอนเขา ไม่ร้อนเรา ร้อนเขา ร้อนเรา la เมตตากรุณา ฆ่าสัตว์ สัมมาอาชีวะ สักทรัพย์ สำ รวมในกาม ประพฤติผิดในกาม ชื่อสัตย์ พูดเท็จ ฝ็สติ ดมนาเมา ท ทำ โดยไม่โลภ ทำ เพราะโลภ ทำ เพราะโกรธ ดที่ ทำ โดยไม่โกรธ เหตุ ทำ โดยไม่หลง ทำ เพราะหลง ๔ ทำ สิ่งใดแล้วไม่ต้องร้อนใจใน ทำ สิ่งใดแล้วต้องร้อนใจในภายหสัง ดูที่ผล ภายหสัง ๕ ดีทางกาย ๓ : ไม่ฆ่า,ไม่สัก, ไม่ ชั่วทางกาย ๓ : ฆ่า, สัก, ประพฤติผิด ดที่ ประพฤติผิดในกาม ในกาม การ ดีทางวาจา ๔ : ไม่เท็จ, ไม่หยาบ, ชั่วทางวาจา ๔ ะ พดเท็จ, พดคิา กระทำ ไม่เพอเจัอ, ไม่ส่อเสียด หยาบ. เพอเจ้อ, ส่อเสียด (กาย, ดีทางใจ m : ไม่คิดโลภ. ไม่คิด ชั่วทางใจ ๓ : คิดโลภ. คิดพยาบาท, วาจา พยาบาท,ไม่เห็นผิดเป็นชอบ เห็นผิดเป็นชอบ .ใจ) ๑๘๕ www.kalyanamitra.org

หมวดการทำหน้าที่กัลยาณมิตร OgQgO^ www.kalyanamitra.org

^ โอวาทปาฏิโมกข์ วันมาฆบูชา เดิมเรียกว่า วันมาฆปุณณมี หมายถึง วันที่พระจนทร์เพ็ญเต็ม ดวงในเดือนมาฆะ ส่วนมาฆบูชา หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ดือ วันเพ็ญ ขึ้น <ร)๕ คํ่า เดือน ๓ ซึ่งวันมาฆบูชานี้ เราทราบกันว่าเป็นวันที่พระภิกษุ ๑,๒๕;๐ รูป มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย และมีเหตุอัศจรรย์พร้อมกัน ๔ประการ เรียกว่า จาตุ- รงคสันนิบาต การประชุมพร้อมกันด้วยองค์ ๔ และในวันนี้ พระพุทธเจ้าทรงแสดง โอวาทปาฏิโมกข์ เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ความหมายของคำว่า ปาฏิโมกข์ คำ ว่า ปาตี แปลว่า การตกไป คำ ว่า โมกฺฃ แปลว่า การหลุดพ้น เครื่องหลุดพ้น ซึ่งหมายถึง นิพพาน เพราะฉะนี้นคำว่า ปาฏิโมกข์ จึงแปลว่า ความหลุดพ้นจากกิเลสและความ ทุกข์ทั้งหลาย รวมความว่า โอวาทปาฏิโมกข์ จึงแปลว่า คำ สอนเพื่อความหลุดพ้นจาก กิเลสและความทุกข์ โอวาทปาฏิโมกข์ เป็นหลักคำสอนที่เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ได้กล่าวถึง อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการของพระพุทธศาสนาไว้อย่างครบถ้วน ดังนี้ ๑๘๗ www.kalyanamitra.org

อุดมการณ์ ภาษาบาลี คำ แปล หลักปฎิบต ลัดอยู่ในมรรค ๘ ภาคปฏิป้ด ฃนฺตี ปรม็ ตโป ความอดทน คือ ให้อดทน ถ้าไม่ทนเดี๋ยว ตีติฤขา ความอดกลํ่น เป็น จะก่อเวร ถ้าทนมีโอกาส ตบะอย่างยิ่ง ปราบกิเลส และทนเพื่อ บรรลุเป้าหมาย นิพฺพานํ ปรป พระพุทธเจ้าท\"งหลาย พระนิพพานเป็น ลัมมาทิฎฐิ (เห็นชอบ) วทนฺติ พุฑฺธๆ ตร้สว่าพระนิพพาน เป้าหมายของซาวพุทธ เป็นเยิ่ยม น หิ ปพฺพชิโด ผูลัางผลาญผู่อื่น ผู้ อย่าก่อเวร เบียดเบียนผูอื่น ไม่ ปรูปฆาดี ชื่อว่าสมณะ สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโต หลักการ คำ แปล หลักปฏิบํต ลัดอยู่ในมรรค ๘ ภาษาบาลี ละซัวให้หมด ภาคปฏิปต ทำ ดีไม่ลดละ สพฺพปาปสฺส การไม่ทำบาปvfงปวง ทำ ใจให็ใส สัมมาลังกัปปะ อกรณ การปาเพ็ญกุศลให้ (ดำริชอบ) กุสลสุ ถึงพร้อม สูปสมฺปทา การกลนจดของตน สจิตฺตปร ให้ผ่องแผว โยทปนํ <ร)c«^ www.kalyanamitra.org

วิธีการ ภาษาบาลี คำ แปล หลักปฏิป้ต จัดอย่ในมรรค ๘ ภาคปฏิบํต อนูปวาโท การไม่เข้าไปว่ารายกัน ไม่ว่าร้าย ส้มมาวาจา อนูปฆาโต การไม่เข้าไป ไม่ทำร้าย (พูดชอบ) ล้างผลาญกัน ส้มมากัมม่นตะ (ทำซอบ) ปาติโมกฺเข จ ความสำรวมในพระ สำ รวมศีลและ ส้มมาอาชีวะ สํวโร ปาฎิโมกข์ มารยาท (เลี้ยงชีพชอบ) มตฺดฌฺฌุตา จ ความเป็นผ้รัประมาณ ประมาณในอาหาร สัมมาวายามะ ข่ ข่ (พยายามชอบ) ภตฺตสุม ในโภชนาหาร ส้มมาสติ ปนฺดฌฺจ เลือกนอนเลีอกนัง (ระลึกชอบ) สยนาสนํ การนอนการนงอ้นสงัด ส้มมาสมาธิ ในที่สงัด (^งใจชอบ) 0ธจดฺเด จ การประกอบความ ทำ สมาธิไม่เลิกลา อาโยโค เพียรในอธิจิต ๑๘๙ www.kalyanamitra.org

^ สงคาลกสูตร ^ บุคคลที่จะได้ซื่อว่าเป็นคนดีที่โลกต้องการนั้น จะต้องมีคุณสม'นติหลาย ประการโดยคุณสม'บตประการสำคัญที่สุด ซึ่งถือว่าเป็นคุณสมบติ'นั้นฐานของคนดี ก็ คือ สัมมาทิฐิ ๑๐ ประการ ที่เข้าไปอยูในใจอย่างมั่นคง จน'คัฒนาขึ้นเป็นลัก'ษณะ นิสัยประจำตัวประจำใจ สัมมาทิฐิ เป็น'ปิจจัยหสักในการ'คัฒนาบุคคลใ'ต้เกิดความสำปีกรับผิดชอบ ๔ ประการ อันจะนำมาซึ่งสังคมมาตรฐานที่มีความเจริญ และมีการพัฒนาให้ก้าวหน้า ด้วยหสักธรรม ความสำปีกรับผิดชอบทั้ง ๔ ประการนั้น ได้แก่ ๑. รับผิดชอบต่อคักดื้และศรีแห่งความเป็นมนุษย์ของตนเอง ๒. รับผิดชอบต่อคักดิ้และศรีแห่งความเป็นมนุษย์ของผู้อยู่ร่วมสังคม ๓. รับผิดชอบต่อศีลธรรมทางเศรษฐกิจ ๔. รับผิดชอบต่อทิศ ๖ และสิ่งแวดล้อม ๑. รับผิดชอบต่อสักดและศรีแห่งความเป็นม'นษย์ของตนเอง บุคคลที่มีความสำปีกรับผิดชอบประการที่ ๑ นี้ มีความเ'ก็นถูกว่า \"ใครที่ ประพฤติกรรมกิเลส ๔ ย่อมหมดคักดและศรีแห่งความเป็นมนุษย์ กลายเป็นผู้ที่ตก อยูได้อำนาจมิจฉาทิฐิ จึงมีพฤติกรรมใกล้เคียงสัตว์ติรัจฉาน ตังนั้น จึงไม่ยอมประพฤติ กรรมกิเลส ๔โดยเด็ดชาด\" กรรมกิเลส ๔ คือ กรรมเครื่องเศร้าหมอง ๔ อย่าง ได้แก่ ๑.๑. ปาณาติบาต : การฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ๑.๒. อทินนาทาน : การสักขโมย ๑.๓. กาเมสุมิจฉาจาร : ประพฤติผิดในกาม ๑.๔. มุสาวาท ; ■กูดเท็จ 'กูดคำหยาบ กูดส่อเสียด กูดเพ้อเจ้อ ๑๙๐ www.kalyanamitra.org

๒. รับผิดขอบต่อสักส์และศรีแห่งความเป็นมนุษย์ของผู้อยู่ร่วมสังคม ผู้ที่มีความสำนึกรับผิดชอบประการที่ ๒ นี้ จะไม่มีอคติ ๔ เพราะเขามองออกว่า ความทุกข์และความเดือดร้อนของผู้อื่น ซึ่งเกิดจากความสำเอียงชองเขานั้น จะเป็นบาป ติดตัวเขาไปทั้งภพนี้และภพหน้า และเขายังเป็นผู้ทำลายกฎกติกา ตลอดจนความสมาน สามัคคีและความสงบสุขของผู้คนในสังคมด้วย อคติ ๔ คือ ความสำเอียง ๔ ประการ ได้แก่ ๒.๑. ฉันทาคติ : สำ เอียงเพราะรัก เลยช่วยเหลือแม้ขัดศีลธรรม ๒.๒.โทสาคติ : สำ เอียงเพราะขัง เลยกลั่นแกล้งกัน ๒.๓.โมหาคติ :สำ เอียงเพราะโง่ เพราะความไม่รู้และขาดหสักเกณฑ์ที่แน่นอน ๒.๔. ภยาคติ : สำ เอียงเพราะกสัว กสัวอันตรายมาถึงตัว ๓. รับผิดชอบต่อสืลธรรมทางเศรษฐกิจ พฤติกรรม หรือการประพฤติปฏิบัติที่แสดงว่ามีความสำนึกรับผิดชอบประการที่ ๓ นี้ คือ การเว้นขาดจาก \"อบายมุข ๖\" ประการ ได้แก่ ๓.๑. เสพนี้าเมา ๓.๒. เที่ยวกลางคืน ๓.๓. เที่ยวดูมหรสพ ๓.๔. เล่นการพนัน ๓.๔. คบคนจั่วเป็นมิตร ๓.๖. เกียจคร้านทำการงาน (5)G^9) www.kalyanamitra.org

๔. รับผิด'ชอบต่อทิศ ๖ และสิ่งแวดล้อม สังคมที่มีสันติสุขนั้น แต่ละคนล้วนมีความรับผิดซอบต่อหน้าที่ของตนเอง ที่ พึงปฏิบัติต่อบุคคลรอบตัว คือ \"ทิศ ๖\" อย่างสืเยี่ยม ตังนี้ ๑.ฑศเบองหนา คอ มารดาบดา บดรพงบารงบดามารดา ดงน มารดาบดาพงอนเคราะหบดร ดงน ๑. ท่านเลี้ยงเรามา เราจิกเลี้ยงท่านตอบ ๑. ห้ามไม่ให้ทำความซัว ๒.จิกทำกิจของท่าน ๒. ให้'นั้งอย่ในความดี ๓.จิกดำรงวงศ์ตระกูล ๓. ให้ศึกษาศิลปวิทยา ๔.จิกประพฤติตนให้เหมาะสมที่จะเป็น ๔. หาภรรยา(สามี)ที่สมควรให้ ทายาท ๕. มอบทรัพย์สมใ]ติให้ในเวลาลันสมควร ๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทำ บฌอทิศให้ ท่าน ๒.ทิศเบี๋'องขวา คือ ครบาอาจารย์ ศิษย์พึงบำรงครบาอาจารย์ ดังนี้ อาจารย์พึงอนเคราะห์ศิษย์ ดังนี้ ๑.ธุกขื้นยึนรับ ๑.แนะ■แาให้เป็นคนดี ๒.เช้าไปคอยรับใช้ ๒.ให้เรียนดี ๓.บอกความรในศิลปวิทยาทกอย่างด้วยดี ๓.เชื่อฟง ๔.ยกย่องให้ปรากฏในมิตรสหาย ๔.ดแลปรนนิบต ๕.เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ ๕.ทำความใ!องลันในทิศ'นั้งหลาย ๓.ทิศเบองหลัง คือ ภรรยาหรีอสามี สามีพึงบำรุงภรรยา ดังนี้ ภรรยาพึงบำรุงสามี ดังนี้ ๑.ให้เกียรติยกย่อง ๑.ลัดการงานดี ๒.ไม่ดหมิ่น ๒.สงเคราะห์คนช้างเคียงของสามีดี ๓.ไม่ประพฤตินอกใจ ๓.ไม่ประพฤตินอกใจสามี ๔.มอบความเป็นใหฟให้ ๔.รักษาทรัพย์ที่สามีหามาได้ ๕.ให้เครื่องแต่งดัว ๕.ขลันไม่เกียจคร้านในกิจ'ห์งปวง ๑๙๒ www.kalyanamitra.org

๔.ทิศเบื้องซ้าย คอ มิตร เราพงบารงมตร ดงน มตรบารงมตรตอบ ดงน (51.แบ่งปีนสิงฃองให้ ๑.ป้องกันมิตรผู้ประมาทแล้ว ๒.กล่าววาจาเป็นที่รัก ๒.ป้องกันทรัพย์ชองมิตรผ้ประมาทแล้ว ๓.ประพฤติตนให้เป็นประโยชน์ ๓.เมื่อมีภัยก็เป็นที่พึ่งพำนักได้ ๔.วางตนสมำเสมอ ๔.ไม่ละทิ้งในยามอนตราย ๔.นับถือตลอดถึงวงศ์ตระกูลซองมิตร ๔.ไม่พูดจาหลอกลวงกัน ๔.ทศเปิองลา หวหนาพงบารงลกนอง ดงน ลกนองพงบารงหวหนา ดงน ๑.จัดการงานให้ทำตามสมควรแก่กำลัง ๑.ตืนชีนทำงานก่อนนาย ๒.ให้อาหารและค่าจ้าง ๒.เลิกงาน เข้านอนทีหลังนาย ๓.ดแลรักษายามเจ็บป่วย ๔.ให้อาหารมีรสแปลก ๓.ถือเอาแต่ของที่นายให้ ๔.ให้หยุดงานตามโอกาส ๔.ทำงานให้ดีชีน ๔.นำคุณชองนายไปสรรเสริญ a/ เราพึงน่ารงสมณพราหมณ์ ดังนี๊ สมณพราหมณ์พึงอนเคราะห์กลบตรด้งนี้ ๑.จะทำสิ่งใด ก็ทำ ด้วยเมตตา ๑.ห้ามไมให้ทำความชั่ว อ.จะพดสิ่งใด ก็พดด้วยเมตตา ๒.ให้ตั้งอยในความดี ๓.จะคิดสิ่งใด ก็คิดด้วยเมตตา ๓.อนเคราะห์ด้วยนํ้าใจอันดีงาม ๔.ให้ได้ฟ้งสิ่งที่ยังไม่เคยฟ้ง ๔.เปิดประตูต้อนรับ ๔.อธิบายสิ่งที่เคยทีงแล้ว ให้เข้าใจแจ่มแจ้ง ๔.ถวายปีจจัย เครืองยังชีพ ๖.บอกทางสวรรค!ห้ <0)G^en www.kalyanamitra.org

ทิศ ๖ เป็นทิศทางสังคม ไมใฃ่ทิศทางภูมิศาสตร์ ทิศของผู้Iด คือ หน่วย(บกit) เล็กที่สุด สมบูรณ์ที่สุดของผู้นั้น โดยมีตนเองเป็นศูนย์กลาง ภาพแสดงทิศ ๖ โดยมีตัวเราเป็นคูนย์กลาง slUIHT'WI ๑๙๔ www.kalyanamitra.org

การรักษาทิศทั้ง ๖ การรักษาทิศทั้ง ๖ ต้องอาศัยหลักธรรมซื่อว่า ลังคหรัตลุ ๔ เป็นเครื่องยึด เหนี่ยวทุกทิศเอาไว้ด้วย คือ ๑.ทาน ให้ปีนลิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ป้น ๒.ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน น่ารัก ๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยขน์แก่ผู้อื่น ๔. สมานตตตา ดำรงตนเหมาะสมตามหน้าที่ของทิศทั้ง ๖ อย่างเหมาะสม เสมอต้นเสมอปลาย เครื่องมือค้นหามิตร กลุ่ม ล้กษณะ พฤติกรรม ท นิสัย ๑ ไอ ๓ ๔ ด้วมีภัยจึง คบเพอน คนปอก คิดเอาแต่ได้ เสียให้น้อย ๏ ลอก ฝายเดียว ช่วยทำกิจ เพราะเห็นแก่ คิดเอาให้มาก ของเพื่อน ประโยชน์ตน ๑ เพื่อนประมาท เพือนมีกิจ เพื่อนประมาท เป็นที่พื่งให้ มิดรมี ช่วยรักษา จำ เป็นออก © อุปการะ ช่วยรักษา เพื่อนยาม ทรัพย์สินของ ทรัพย่ให้เกิน เพื่อน มีภัย เพื่อน กว่าที่ฃอ อ้างเอาเรื่องที่ อ้างเอาเรื่องที่ สงเคราะห์ หาเหตุปฏิเสธ คนดีแด่ เมื่อเพื่อนขอ ® ผ่านไปแล้วมา ลังไม่เกิดมา ด้วยสิ่งไม่มี พูด ความ ปราศรัย ปราลัย ประโยชน์ ใร ช่วยเหลือ มิตรร่วม บอกความลับ เมื่อเพื่อนมี (ร) ทุกข์ร่วม ปิดความลับ แม้ชีวิตก็สละ ของตนแก่ ภัย ไม่ละ ของเพื่อน ไหเด้ สุข เพื่อน ทิ้ง ๑๙๔ www.kalyanamitra.org

กลม ๑ พฤติกรรม ๔ ลักษณะนิสัย ไอ ๓ ที คนช่าง จะทำชัว ต่ อหน้า ลับหลัง จะทำดีก็คล้อย ๏ ประจบ ก็คล้อย สรรเสริญ ตาม นินทา ตาม ๓ ห้าม ใหใด้ฟง มิตรแนะ เพื่อนให้ แนะให้-^งอยู่ใน ได้รูสิ่งไม่ บอกทางสุข © ประโยชน์ เว้นจาก ทางสวรรค์ ความดี เคยฟงไม่ AV ความชัว 1ห้ เคยรู้ ชักซวนให้ ชักชวนให้ คนชวนฉิบ ชกชวน ชักชวนเที่ยว ม้วเมาลับ เล่นการ ๏ หาย ดื่มนาเมา กลางคืน สิ่งลันเทิง พนัน เริงรมย์ ๔ ช่วย ช่วยกล่าว มิตรมีความ เพื่อน เพื่อนสุขก็ยินดี แลั เมื่อ สนับสนุน © ทุกข์ก็ เมื่อเพื่อน ร้กใคร่ ด้วย เพื่อนถูกติ ทุกข์ด้วย ได้รับการ เตียน สรรเสริญ nuia'aTii (5)6^^ www.kalyanamitra.org

^ หลักการทำหน้าที่กัลยาณมิตร ^ คุณสมบัติของกัลยาณมิตร® ๑. tlTย แปลว่า บ่ารัก หมายถึง เป็นที่สบายใจเมื่อเข้าใกล้ คือเมื่อได้พบเจอ ครั้งใดก็มีความสุข ปีแต่ความสดชื่น แจ่มใส ร่าเริงเบิกบานใจอยู่เป็นนิจ ยิ่งได้เข้าใกล้ ได้สนทนาพูดคุยด้วยแล้ว ยิ่งสบายใจ ซวนให้ปรึกษาไต่ถาม ๒. ครุ แปลว่า บ่าเคารพ หมายถึง เป็นผู้ที่อุดมไปด้วยคุณธรรมความดีจน เป็นที่ทราบโดยทั่วไป นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นผู้วางตนได้อย่างเหมาะสมตลอดเส้น ทางการทำหน้าที่กัลยาณมิตร จนทำให้เกิดความมั่นใจ อบอุ่นใจ เชื่อมั่นอย่างสนิทใจ ว่า กัลยาณมิตรจะเป็นที่พึ่งที่ปรึกษาได้อย่างแน่นอน ๓.ภาวนีโย แปลว่า บ่าเทิดทูน หมายถึง เป็นผู้ที่เพียบพร้อมไปด้วยภูมิบิญญา ทางโลกและเต็มเปียมไปด้วยภูมิบิญณาทางธรรม ข้อนี้ย่อมทำให้กัลยาณมิตรเป็นศูนย์ รวมแห่งความศรัทธา คือทั้งน่ารัก น่าเคารพ และน่าเทิดทูน ๔. วัตตาจะ แปลว่า ฉลาดพรํ๋าสอนให้ได้ผล หมายถึง ปีความสามารถพูด โน้มน้าวให้ทำตามในสิ่งที่ดีงาม ชี้แจงพรรสอนด้วยความกรุณาปรารถนาดีอย่างจริงใจ และต่อเนื่อง ๔. วจนักขโม แปลว่า อดทนต่อถ้อยคำ หมายถึง พร้อมที่จะรับพีงคำปรึกษา ซักถามอยู่เสมอ อดทนพีงได้แม้เรื่องการระบายความทุกข์ ความคับแด้นใจจากสภาพ ครอบครัว การทำงาน หรึอการดำเนินชีวิต หรือคำก้าวร้าวหยาบคายของคนที่ไม่ เข้าใจความปรารถนาดี โดยไม่ตอบโด้กลับด้วยความอุนเรยวโกรธเคือง ® yjmaขาปีตร อังๆตตรปีทาย สัตตกนิบาต,มก. เล่มที่๓๙ หมัา ๙๓. ๑๙๗ www.kalyanamitra.org

๖. คัมภืรัญจะ กะถัง ถัตตา แปลว่า สามารถแถลงเรื่องที่ลึกลํ้า หมายถึง สามารถนำเรื่องที่ยากมาอธิบายให้เห็นภาพพจน์เข้าใจได้ง่าย ทำ ให้สิ้นความเคลือบ แคลงสงสัยในป้ญหา เรื่องโลกและชีวิต หรือห้วข้อธรรมะต่างๆ มีดวามเข้าใจจน สามารถนำไปแก้ไขปีญหาที่ประสบอยูให้คลายทุกข์ คลายกังวล ไปสู่ความสุขได้เดย ง่าย ๗. โน จัฏฐาเน นิโยซะเย แปลว่า ไม่ซักนำไปในทางเส์อม หมายถึง ประพฤติตนอยู่ในทำนองคลองธรรม ไม่ยอมทำเรื่องที่เป็นความเสื่อม ทั้งในเรื่องการ งาน ครอบครัว และการทำหน้าที่กัลยาณมิตร จนหมู่ญาติทั้งหลายถือเป็นแบบอย่าง ในการดำเนินชีวิตได้ กัลยาณมิตรจะมีสักษณะอย่างนึ๋ได้ จะด้องมีภูมิปีญญาที่จะ แยกแยะออกได้ว่าสิ่งใดถูก-ผิด สิ่งใดดี-ชั่ว สิ่งใดควร-ไม่ควรและเต็มเปียมไป ด้วยหิริโอตด้ปปะ คือความละอายบาป กสัวบาป ไม่ยอมกระทำความชั่วแม้มีโอกาส หรือในที่สับตาคน (ร) www.kalyanamitra.org

หลักการเทศน์สอน ^ ความสำคัญของการแสดงธรรม พระสัมมาสัมพทธเจ้าได้ตรัสถึงความสำคัญของการแสดงธรรมแก่พระอรหันต์ ๖๐ รูปแรก ในคราวไปประกาศศาสนาไว้ว่า \"ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย เราพ้นแล้วจากปวงทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็น มนุษย์ แม้พวกเธอก็พ้นแล้วจากปวงทั้งปวง ทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ พวกเธอจงเที่ยวจาริก เพื่อประโยฃน์และความสุขแก่ซนหมู่มาก เพื่ออนุเคราะห์ โลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ พวกเธออย่าได้1ปรวม ทางเดียวคันสองรูป จงแสดงธรรมงามในเบื้องด้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด จง ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ์ บริสุทธ สัตว์ทั้งหลาย จำ พวกที่มีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อย มีอย่ เพราะไม่ได้ฟ้งธรรมย่อมเสื่อม ผู้รู้ทั่วถึงธรรม จักมี ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้เราก็จักไปยังตำบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม'\"\" จุดมุ่งหมายของการแสดงธรรม พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสถึงว้ตลุประสงค์ของการแสดงธรรมไว้ว่า \"ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกฟ้งแล้ว เมื่อเห็นอย่างนี้ย่อมเบื่อหน่าย ฯลฯ เมื่อ เบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จืงหลุดพ้นดังนี้' ® ทาปทๆนสูตร ทีฆนิกาย มหาวรรค,มก. เล่มที่๑๓ หน้า ๕๖. 6) €^ ^ ป็ญจวัคคิยสูตร สังยุตตป็กาย ขันรวารวรรค,มก. เล่มที่๖๗หน้า ร)๓๗. www.kalyanamitra.org