Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 48Year dhammakaya temple

Description: 48Year dhammakaya temple

Search

Read the Text Version

...แม้ว่าการศึกษาพระพทุ ธศาสนา ในประเทศญี่ปุ่นจะมคี วามก้าวหนา้ มากเพยี งใด แตก่ ็มกั จะเนน้ ในดา้ นของวิชาการเพียงอยา่ งเดยี ว การศึกษาที่นำ� ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ อยา่ งจรงิ จงั และการดำ� เนินชีวติ ทถี่ ูกต้องยงั หาได้นอ้ ยมาก... และในที่สุดก็ได้ตัดสินใจลาออกจากการศึกษาทางโลก เพ่ือมาศึกษาทางธรรม โดยเข้าเป็น นสิ ติ ของสถาบนั DCI รุ่นท่ี ๒ เมอื่ เรยี นจบชน้ั ปีท่ี ๑ อาตมภาพกไ็ ด้รับมอบหมายจากพระอาจารย์และ หมคู่ ณะใหไ้ ปศกึ ษาตอ่ และชว่ ยงานดา้ นการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาทปี่ ระเทศญป่ี นุ่ ณ วดั พระธรรมกาย โตเกยี วจนสำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก และไดช้ ว่ ยงานดา้ นการเผยแผธ่ รรมะ สอนการปฏบิ ตั ธิ รรม แก่ชาวท้องถน่ิ ในประเทศญป่ี ุ่นจนถึงปัจจบุ นั การศึกษาพระพุทธศาสนาระดับปริญญาตรีในประเทศญี่ปุ่นนั้น จะเน้นการศึกษาความรู้ พื้นฐานเก่ียวกับพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน ท้ังในแง่หลักค�ำสอนและภาษาท่ีใช้จารึกคัมภีร์ ในพระพทุ ธศาสนานกิ ายตา่ ง ๆ เชน่ ภาษาบาลี ภาษาสนั สกฤต ภาษาทเิ บต และภาษาจนี โบราณ ซงึ่ จะ เป็นพื้นฐานในการทำ� วิจยั ในการศกึ ษาระดับสงู ข้นึ ไป ส่วนหัวข้อวิจัยในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกของอาตมภาพเป็นหัวข้อเก่ียวกับจักรวาล วทิ ยาและเรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ภพภมู ทิ ีป่ รากฏในคมั ภีร์พระพทุ ธศาสนาเถรวาท เรอ่ื งราวของจกั รวาลวทิ ยา และภพภมู นิ น้ั ในประเทศญปี่ นุ่ สว่ นใหญเ่ นน้ การศกึ ษาจากคมั ภรี ข์ องพระพทุ ธศาสนามหายานและคมั ภรี ์ อภิธรรมของนิกายสรวาสติวาท ที่เลือกหัวข้อนี้เพราะในประเทศญ่ีปุ่นยังไม่มีนักวิชาการท่านใดทำ� การ ศึกษาเรื่องน้ีโดยอ้างอิงจากคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาเถรวาทอย่างจริงจัง ถือเป็นหัวข้อแปลกใหม่ ในวงวิชาการของญี่ปุ่นก็ว่าได้ และอีกประการหนึ่ง การศึกษาเร่ืองชีวิตหลังความตายเป็นส่ิงที่สำ� คัญ และมีผลต่อการด�ำเนินชีวิตในปัจจุบันนี้ด้วย แม้ว่าการศึกษาพระพุทธศาสนาในประเทศญ่ีปุ่นจะมี ความกา้ วหนา้ มากเพยี งใด แตก่ ม็ กั จะเนน้ ในดา้ นวชิ าการเพยี งอยา่ งเดยี ว การศกึ ษาทน่ี �ำไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ อย่างจริงจังและการด�ำเนินชีวิตที่ถูกต้องยังหาได้น้อยมาก หากมีชาวญี่ปุ่นไม่ว่าจะเป็นนักวิชาการหรือ บุคคลทว่ั ไปได้ศกึ ษาเก่ยี วกบั เร่อื งราวเหล่าน้ี แล้วเกดิ สมั มาทิฐิ มีความเหน็ ถกู ในเรือ่ งของกฎแห่งกรรม และชีวติ หลงั ความตาย กจ็ ะเกดิ ประโยชน์กบั บคุ คลเหล่าน้ันไม่น้อยเลยทเี ดยี ว ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 299

สงิ่ สำ� คญั ทอี่ าตมภาพได้จากการไปศกึ ษาและช่วยงานเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาทป่ี ระเทศญป่ี ุ่น คอื การไดฝ้ กึ ฝนทำ� ความเขา้ ใจคนตา่ งชาติ โดยเฉพาะคนญป่ี นุ่ ซง่ึ การจะไปเผยแผใ่ หช้ าวตา่ งชาตเิ ขา้ ใจ ธรรมะนัน้ ไม่เพยี งแต่ต้องศกึ ษาภาษาของชาตนิ ั้น ๆ ให้แตกฉาน แต่ต้องทำ� ความเข้าใจพื้นฐานจติ ใจ วัฒนธรรม และประเพณีของคนในชาตินั้น ๆ ด้วย อันที่จริงแล้วคนญ่ีปุ่นส่วนใหญ่มีพ้ืนฐานจิตใจท่ีดี มีความเคารพ และมวี นิ ยั สงู พอเราเข้าใจลกั ษณะนิสัยของเขา กท็ ำ� ให้เราสามารถนำ� ธรรมะไปสู่ใจของ เขาได้ ซึ่งอาตมภาพคิดว่าส่ิงน้ีเป็นสิ่งที่สำ� คัญในการท�ำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปทั่วโลก ไม่ว่าจะ ไปท�ำงานเผยแผ่ในประเทศใดก็ตาม หากเราศึกษาวัฒนธรรม ประเพณี พ้ืนฐานของคนในชาตินั้นได้ เป็นอย่างดแี ล้ว ย่อมสามารถท�ำหน้าทก่ี ลั ยาณมิตรให้เขาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล อาตมภาพรสู้ กึ ภาคภมู ใิ จทไ่ี ดบ้ วชสรา้ งบารมกี บั หมคู่ ณะ โดยมหี ลวงพอ่ ธมั มชโยเปน็ ผนู้ �ำ และ เป็นต้นบญุ ต้นแบบทีด่ แี ก่พระภกิ ษุ สามเณร อุบาสก อบุ าสิกา สาธุชนมาโดยตลอด และมคี วามต้ังใจ ทจี่ ะชว่ ยงานเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา วชิ ชาธรรมกาย โดยนำ� ความรทู้ อี่ าตมาไดศ้ กึ ษาเลา่ เรยี นดา้ นวชิ าการ สู่การปฏิบัติและการเผยแผ่ ยังประโยชน์ตนและประโยชน์ท่านให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง เป็นกัลยาณมิตร แก่ชาวโลกตามแบบอย่างอนั ดงี ามทหี่ ลวงพ่อธมั มชโยกระท�ำไว้ดแี ล้วตลอดไป สูค่ วามจเปากน็ นพักรศะกึนษักาวชชิ มากรมารพคทุ อธมฯพวิ เตอร์ พระสมเกยี รติ ยสินฺโท นกั ธรรมเอก, ปรญิ ญาเอก คณะวศิ วกรรมศาสตร์-วทิ ยาศาสตร์ สาขาอตุ สาหการ มหาวทิ ยาลยั จูโอ ประเทศญ่ีปนุ่ (Ph.D. in Industrial and System Engineering, Chuo University, Japan) อาตมภาพเข้าวดั ตงั้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ สมยั เรยี น ปวช. และ ปวส. โดยพ่ี ๆ ชมรมพุทธฯ พณิชยการพระนครจัดรถมาวัดวันอาทิตย์ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ บวชในโครงการอบรมพระธรรมทายาท ภาคฤดูร้อน รุ่นที่ ๑๘ หลังจากเรียนจบปริญญาตรี สาขาสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ได้ท�ำงานในต�ำแหน่ง Software Engineer ทบ่ี ริษัท ท.ี เอน็ -นิกซ์ดอร์ฟ คอมพิวเตอร์ (ประเทศไทย) จำ� กดั ระหว่างน้กี ็เข้าวดั อย่างต่อเน่อื ง อยู่ในกลุ่มบณั ฑติ ชมรมพุทธศาสตร์ ช่วยงานพธิ กี รรม ช่วยงานหลวงพี่ สมบตั ิ สมฺมาผโล ถอดเทปนำ� นง่ั สมาธขิ องหลวงพ่อ และหลงั จากท�ำงานได้ ๔ ปี ก็มาบวชรุ่นบชู าธรรม ๕๐ ปี พระราชภาวนาวสิ ทุ ธ์ิ (ปี ๒๕๓๗) เดือนกว่า แล้วจึงลาสิกขาออกไปท�ำงานต่อ ในเดือนมิถุนายน ๒๕๔๐ ขณะท�ำงานอยู่ ได้รับโทรศัพท์จากพระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ (พระอาจารย์ านวฑุ โฺ ฒ) ชวนให้ไปสร้างบารมที ญ่ี ป่ี ่นุ อาตมามคี วามตงั้ ใจจะเขา้ มาชว่ ยงานพระศาสนา 300 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

...จะตง้ั ใจปฏิบตั ิตามโอวาทหลวงพอ่ ที่วา่ “จงรกั ษาความต้ังใจท่ีดีไว้ อย่าหวน่ั ไหวไม่ว่าจะมีอุปสรรคอันใด เพราะเราเกดิ มาสรา้ งบารมี”... เต็มตัวอยู่แล้ว จึงตอบตกลงทันที ใช้เวลาเคลียร์งาน ๑ เดือน ลาออกจากงานไปเป็นบัณฑิตแก้ว ต่างประเทศ ศึกษาต่อและช่วยงานประจ�ำอยู่ท่ีศูนย์ปฏิบัติธรรมโตเกียว ประเทศญ่ีปุ่น (ปัจจุบันคือ วดั พระธรรมกายโตเกยี ว) จนจบปรญิ ญาเอก ไดส้ ง่ั สมความรแู้ ละประสบการณด์ า้ นเทคโนโลยอี นั ทนั สมยั ความคดิ สรา้ งสรรคใ์ หม่ ๆ ตอ้ งใชค้ วามอดทนพากเพยี รในการท�ำงานเปน็ ทมี การทำ� วจิ ยั รว่ มกบั อาจารย์ รุ่นพ่แี ละเพอ่ื น ๆ ในมหาวทิ ยาลยั ระหวา่ งศกึ ษาและปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทป่ี ระเทศญปี่ นุ่ ตอ้ งขอบพระคณุ กำ� ลงั ใจสนบั สนนุ จากหลวงพ่ี พี่ ๆ น้อง ๆ และญาตโิ ยมสาธชุ นทม่ี าทศี่ นู ย์ฯ และโดยเฉพาะอย่างยงิ่ แรงบนั ดาลใจจากการเหน็ ต้นแบบ ในการทำ� ความดขี องหลวงพอ่ ธมั มชโย คณุ ครไู มใ่ หญ่ โรงเรยี นอนบุ าลฝนั ในฝนั วทิ ยา ผา่ นจานดาวธรรม หลวงพ่อธมั มชโยเป็นหลกั ชยั เป็นต้นแบบ เป็นกำ� ลงั ใจแก่พระเณร สาธชุ นทวั่ ประเทศ ทัว่ โลก เป็นผู้นำ� สร้างบารมที เี่ ขม้ แขง็ ไมห่ วาดหวน่ั ตอ่ อปุ สรรคทง้ั หลาย สรา้ งวดั ให้เป็นวดั สรา้ งพระใหเ้ ป็นพระ สรา้ งคน ให้เป็นคนดี มาตลอด ๔๘ ปีของวดั พระธรรมกาย กราบแทบเท้าขอบพระคณุ หลวงพ่อมา ณ โอกาสน้ี และจะตง้ั ใจปฏบิ ตั ิตามโอวาทหลวงพ่อ ท่ีว่า “จงรักษาความต้ังใจท่ีดีไว้ อย่าหว่ันไหวไม่ว่าจะมีอุปสรรคอันใด เพราะเราเกิดมาสร้างบารมี” หลังจากกลบั จากประเทศญ่ปี ุ่นในปี ๒๕๕๒ ก็เข้าอปุ สมบทรุ่นบูชาธรรม ๖๕ ปีฯ จนถงึ ปัจจุบัน ตงั้ ใจ ฝึกฝนอบรมตนเองเป็นพระแท้ และจะใช้ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ช่วยเผยแผ่งานพระพุทธศาสนา ให้เจริญรุ่งเรืองสบื ต่อไป ปจั จบุ นั อาตมภาพรบั บญุ เปน็ หวั หนา้ งาน IT กองพระไตรปฎิ ก รองรบั งานโครงการรวบรวมและ ศึกษาคัมภีร์พระไตรปิฎกโบราณ และเป็นอาจารย์ผู้ช่วยสอนวิชาหลักการโปรแกรมและการบ�ำรุงรักษา คอมพวิ เตอร์แก่พระนสิ ติ ปี ๒ และปี ๓ ส�ำนักการศกึ ษา วัดพระธรรมกาย “กัลยาณมิตรเป็นท้ังหมดของพรหมจรรย์” ถ้าไม่มีเพื่อนและรุ่นพี่ชวนมาวัด ถ้าไม่ได้ พระอาจารย์านวุฑฺโฒชวนมาสร้างบุญที่ญี่ปุ่นในวันนั้น ก็ไม่มีวันนี้ท่ีได้มาสร้างบารมีเป็นพระภิกษุ สมาชิกเขตในของวดั พระธรรมกาย ในร่มบารมขี องหลวงพ่อธมั มชโย ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 301

ค�ำว่า “นาคหลวง” พระมหาสวุ ทิ ย์ ธมมฺ ิกมุนิ ป.ธ.๙ (นาคหลวง), iดf ร. อาตมามโี อกาสบวชในช่วงปิดเทอม ตอนจบ ป.๓ อายุ ๙ ขวบ ทวี่ ดั ปากน้�ำ บวชจนเขาสกึ กันหมดแล้ว เหลืออยู่รปู เดยี ว จนวนั สดุ ทา้ ยของการปดิ เทอมจำ� ยอมตอ้ งสกึ อาตมายงั รสู้ กึ ภมู ใิ จ ในการบวชอยู่ ก่อนสกึ กเ็ ลยปลงผมจนเกลย้ี ง พอเปิดเทอม ทุกคนในโรงเรยี นต่างกร็ ู้กันว่า อาตมาไป บวชมา เพราะไม่มผี มไม่มคี วิ้ อยู่คนเดยี วในโรงเรยี น ปีถัดมา ก็มาบวชอกี รอบหนง่ึ รอบนี้ผู้ใหญ่ต่างเชยี ร์ว่า ไม่ต้องสึกแล้ว ให้บวชต่อไปเลย อาตมาก็เลยตัดสินใจบวชยาว วนั ที่จะส้นิ สดุ โครงการบวชภาคฤดรู ้อนเป็นวนั ท่ี ๒๒ เมษายน อาตมามโี อกาสเจอหลวงพ่อทีศ่ าลาดุสิต เห็นญาตโิ ยมเยอะแยะเต็มไปหมด แต่พอเหน็ เณรน้อย ก็พากันหลบทางให้เข้าไปก่อน อาตมากเ็ ข้าไป กราบทา่ น และไดก้ ราบอวยพรทา่ นวา่ “ขอใหห้ ลวงพอ่ เปน็ กลั ยาณมติ รของโลกตลอดไป” สนั้ ๆ อยา่ งน้ี และบอกตอ่ วา่ “ผมมาขออยตู่ อ่ ทว่ี ดั ” แลว้ ทา่ นกอ็ นญุ าต อาตมาจงึ ไดย้ า้ ยมาอยทู่ ก่ี ฏุ จิ าก (ศนู ยพ์ ยาบาล ในปัจจบุ นั ) สมยั ก่อน หลงั กฏุ เิ ป็นทโ่ี ล่ง เป็นป่าหญา้ โลง่ ๆ มกี อไผ่ มที โี่ ลง่ ๆ ไวจ้ อดรถเวลามงี านบญุ ใหญ่ ตอนดึกจะมีสปอตไลต์ส่องไปรอบ ๆ หมู่กุฏิซึ่งอยู่กลางทุ่ง เพื่อป้องกันคนมาเผากุฏิ พวกเราก็พากัน ท่องไวยากรณ์กนั กลางทุ่งโล่ง ๆ ตามมุมท่ีตนเองชอบ ต่างคนต่างท่อง ก็ได้บรรยากาศ แทบจะไม่ต้อง มีพระพีเ่ ลยี้ งคมุ ตี ๓ ตี ๔ พากนั ลกุ ขนึ้ มาท่อง ด้วยความทเ่ี ป็นพื้นท่โี ล่ง อาตมากบั เพ่ือน ๆ จึงท่องกันเสยี งดงั เต็มทีไ่ ปทว่ั ทุ่งนา เราตะโกนไป ฝั่งนั้นก็ตะโกนมา ก็ท่องกันไป มองไปทางไหนก็เห็นเพ่ือน ๆ จับจองพื้นท่ี เพ่ือจะท่องไวยากรณ์ เป็นบรรยากาศท่หี าได้ยากในยคุ นี้ ด้วยความท่ีเราบวชตั้งแต่เด็ก เราก็มีความหวังว่าจะเป็นนาคหลวง สมัยก่อนนาคหลวง ยงั ไม่มใี ครเป็นต้นแบบ ต่อมามเี พ่ือนรุ่นเดยี วกนั เป็นต้นแบบให้ในภายหลงั ตอนนน้ั หลวงพ่อท่านพดู ถงึ นาคหลวง ท่านยกย่องมากเลย ท่านยกย่องภาษาบาลี ยกย่อง การเรียนภาษาบาลี ยกย่องผู้เรยี น ท่านดตู ามมโนปณธิ านของหลวงปู่ ซึ่งหลวงปู่ท่านก็ยกย่องการเรยี น ภาษาบาลี สมยั น้นั ก็มกี ารมทุ ติ า พูดได้ว่า ถ้าเรานกึ ถงึ ยคุ หลวงปู่ไม่ออก ให้ดูท่หี ลวงพ่อเราทำ� แล้วจะ เหน็ ชัดว่าคงเป็นอย่างน้แี หละ 302 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

...หลวงพ่อท่านพดู ถงึ นาคหลวง ท่านยกยอ่ งมากเลย ท่านยกยอ่ งภาษาบาลี ยกย่องการเรียนภาษาบาลี ยกย่องผเู้ รียน ท่านดตู ามมโนปณิธานของหลวงปู่ ซงึ่ หลวงป่ทู า่ นก็ยกยอ่ งการเรยี นภาษาบาล.ี .. หลวงพ่อบอกว่า อยากจะมนี าคหลวง เชยี ร์ให้ลูกเณรต้งั ใจเรียน เราก็รู้สึกว่า ที่จริงนาคหลวง สำ� คัญนะ หลวงพ่อถงึ กบั มายกย่องเอง พอเราเหน็ กก็ ลายเป็นความฝันในใจ โอ้...อายุเราก็ยังได้ ก่อนหน้าน้ี อาตมาเรยี นประโยค ๑-๒ อยู่ ๓ ปี สอบตก ๒ ปี เพราะตอนนัน้ ยงั เดก็ มาก ยงั ไม่สนใจ ยังซนอยู่เลย ปีแรกสอบไม่ผ่านสนามวัด จึงไม่มีช่ือสอบสนามหลวง ปีที่สองก็เริ่มสอบได้ สนามวดั แตไ่ ปตกสนามหลวง ปถี ดั มาจงึ สอบได้ เราเพง่ิ ไดป้ ระโยค ๑-๒ แลว้ กเ็ รยี นมาเรอ่ื ย ๆ เปน็ คนท่ี เรียนแบบกลาง ๆ ไม่ได้เก่งนะ มหี ้อง ก ข ค อาตมาอยู่ห้อง ข ตอนสอบ ป.ธ.๙ ทกุ คนทง้ั วดั กต็ า่ งหวงั กบั อาตมา เพราะเปน็ สามเณรอยอู่ งคเ์ ดยี ว รนุ่ เดยี วกนั พากนั บวชพระหมดแลว้ ชว่ งนน้ั อาตมาเปน็ ประธานสามเณรดว้ ย สอบตกไป ๒ ปี ตกปแี รกกส็ ะเทอื นใจ หน่ึงเรามีหวัง สองคนอื่นเขาตั้งความหวังกับเรา ดังนั้นอาตมาก็เร่ิมหาเวลาปลีกตัวอ่านหนังสือ ขอ ไม่เป็นประธานสามเณรอีก ปีนั้นก็เต็มท่ีท้ังปี เพ่ือนน้องสามเณรก็หวังให้เราจบ เราก็เรียนอย่างเต็มที่ ท่ามกลางความหวงั ของทกุ ๆ คน พอสอบเสรจ็ กไ็ ปปฏบิ ตั ธิ รรมทภ่ี เู รอื สวนปา่ หมิ วนั ต์ เรานง่ั ปฏบิ ตั ธิ รรมไป อธษิ ฐานไป ตอนบา่ ย ท�ำงานจับจอบช่วยบุกเบิก ขุดดิน พอถึงวันประกาศผลก็ยังไม่กล้าฟัง สมัยก่อนเทคโนโลยียังไม่ถึง จะรู้ข่าวคราวได้ต้องรอทางวดั โทรศพั ท์มาอย่างเดยี ว เราขุดดินไป ท�ำเป็นไม่สนใจ พระพ่ีเล้ียง ทา่ นเดินมาหน้าเศร้า ๆ “สุวิทย์” แล้วก็พูดว่า “ผล ประกาศบาลีออกแล้วนะ” พอเราเหน็ ทา่ นหนา้ เศรา้ มา กแ็ ทบจะเปน็ ลม นึกในใจว่า “หมดหวังแล้วเรา” แล้วท่านก็บอกว่า “สุวทิ ย์สอบผ่าน!!!” เพยี งเท่านน้ั แหละ ไชโยเลย ทุกคนในท่นี ัน้ พากนั ดใี จ แทบจะอมุ้ เลย เพราะทกุ คนอยากใหเ้ ราได้ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 303

ปีน้ัน อาตมาจบท่ามกลางความไม่พร้อมของวัด เราเองก็ทุลักทุเลไปเรียนนอกวัด เดินทาง ก็แทบไม่เป็น เอาง่าย ๆ จบประโยค ๙ พร้อมกับประสบการณ์ชีวิต ไปเรียนก็ยาก กว่าจะจบก็ยาก จบได้กภ็ มู ใิ จท่ีท�ำให้ตนเองสมหวงั ท�ำให้คนอน่ื สมหวงั และท�ำให้หลวงพ่อสมหวงั ด้วย เมื่อจบแล้ว อาตมาก็ท�ำตามความต้ังใจท่ีมีตั้งแต่ก่อนจบ คืออยากจะมาช่วยผลักดันน้อง ๆ ในยคุ หลงั ด้วยการเป็นพระพ่ีเลยี้ งดแู ลสามเณร ตอนนน้ั มองดแู ล้วพระพ่ีเลยี้ งทมี่ าจากสามเณรไม่มเี ลย หลวงพ่อท่านบอกว่า อยากให้เป็นระบบพส่ี อนน้อง คือ พ่ีเณรในยคุ เก่าฝึกตนเองมาอย่างไร หลวงพ่อ สอนอะไร ก็นำ� มาถ่ายทอดให้น้องรุ่นถดั ไป วันทบ่ี วชพระ อาตมามาเป็นพระพี่เลย้ี งวนั นั้นเลย วันท่ีบวชเสร็จ ตอนกลับจากวัดพระแก้ว หลวงพ่อท่านมารอท่ีหน้าโบสถ์ เรามาเห็นก็คิดว่า หลวงพ่อให้ความส�ำคัญกบั นาคหลวงมาก ไม่ก่ีวนั ถดั มา ท่านก็ไปทหี่ อฉัน (สภาจาก) แล้วเดินมาจบั หัว “เออ...ดูแลน้อง ๆ ให้ด”ี ค�ำพดู ประโยคน้เี ป็นเหมอื นสิ่งท่หี ลวงพ่อท่านมอบหมายไว้ จากวันนน้ั ถงึ วนั น้ี ก็ยังเป็นพเ่ี ล้ยี งสามเณรอยู่ เพ่อื สร้างน้องรุ่นใหม่ ๆ ๑๕ ปีแล้วยังไม่ได้ไปไหน การทอ่ี าตมามาเป็นพระพ่ีเล้ยี ง ท�ำให้เกดิ กระแสอยากเป็นพระพเ่ี ล้ียง ทำ� ให้รุ่นน้องท่เี คยเป็น สามเณรตาม ๆ กันมา ตรงตามทหี่ ลวงพ่อท่านอยากให้เราเป็น ทัง้ หมดนค้ี อื ความภาคภมู ิใจในชวี ติ ของ อาตมา สู่ความเปน็ นักวิชาการพทุ ธศาสตร์ ดร.เมธี พิทักษธ์ รี ะธรรม มงุ่ สเู่ ป้าทร่ี บั ผดิ ชอบ ความตั้งใจที่คิดจะเรียนพุทธศาสตร์ศึกษา คือ ปรารถนาทจ่ี ะรวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั เรอ่ื ง “ธรรม” และ “วธิ กี าร เขา้ ถงึ ธรรม” เพอื่ บรรลคุ วามเปน็ “พทุ ธะ” โดยมงุ่ หวงั วา่ ความรู้ ท่ีร่�ำเรียนมาจะเป็นประโยชน์ต่อพระศาสนาในอนาคตมากกว่า สิ่งใด เนื่องจากประเทศญ่ีปุ่นมีการค้นคว้าวิจัยเชิงลึกท่ี พฒั นาต่อยอดจากรุ่นสู่รุ่น ผ่านภาษาโบราณต่าง ๆ จนกระทงั่ ข้อมูลมีจ�ำนวนมหาศาล แม้จะถือเป็นความโชคดี แต่การท�ำ ความเข้าใจในเร่อื งเหล่านไ้ี ม่ง่ายเลย ต้องใช้เวลาบ่มเพาะ 304 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

...หนึง่ ในการค้นควา้ พบว่า วธิ เี จริญสมาธิภาวนาทเ่ี รยี กว่า “พทุ ธานุสติ” ในสมยั พุทธกาล มกี ารฝึกปฏบิ ัตโิ ดยตรึกระลึกถงึ “พระพทุ ธองค์” เปน็ นิมติ ในการเจริญสมาธิภาวนา ผลแห่งการเจรญิ พุทธานุสติดงั กลา่ ว สามารถเข้าเฝ้าพระพุทธองคใ์ นสมาธิได้ตลอดเวลา และบรรลุธรรมเปน็ พระอริยบคุ คลได.้ .. เพอ่ื เขา้ ถงึ ความร้ทู มี่ ่งุ หมาย แม้บางวชิ าไมจ่ ำ� เป็นตอ่ การเรยี นจบ แตจ่ ำ� เป็นในอนาคต กไ็ ปขอ เข้าเรยี นจากครูบาอาจารย์ในวชิ าน้นั ๆ จนในทส่ี ุด...ได้ศกึ ษาส�ำเรจ็ สมตามปรารถนา หนึง่ ในการค้นคว้าพบว่า - วธิ เี จรญิ สมาธิภาวนาท่เี รียกว่า “พุทธานสุ ติ” ในสมยั พทุ ธกาล มีการฝึกปฏบิ ตั โิ ดยตรึกระลกึ ถงึ “พระพทุ ธองค”์ เปน็ นมิ ติ ในการเจรญิ สมาธภิ าวนา ผลแหง่ การเจรญิ พทุ ธานสุ ตดิ งั กลา่ ว สามารถเขา้ เฝา้ พระพุทธองค์ในสมาธไิ ด้ตลอดเวลา และบรรลธุ รรมเป็นพระอริยบคุ คลได้ - ต่อมาหลังพทุ ธปรินพิ พานประมาณ ๕๐๐ ปี สมาธิรปู แบบนีม้ ชี อ่ื เรียกที่หลากหลาย บ้างกเ็ รยี ก ว่า “สมาธทิ ่พี ระพุทธองค์ปรากฏอยู่ตรงหน้า” บ้างกเ็ รยี กว่า “พทุ ธานสุ ตสิ มาธ”ิ - เม่ือพระโพธิสัตว์ได้หย่ังลงสู่ขั้นโคตรภู ก็จะเข้าถึงผลของสมาธิที่ว่าน้ี คือ สามารถไปเข้าเฝ้า พระพุทธองค์ได้ตลอดเวลา ณ ท่ีที่เรียกว่าโพธิมณฑล เฉพาะผู้มีพระธรรมกายเท่าน้ัน เพื่อซักถาม ข้อสงสยั ในด้านต่าง ๆ ให้เกิดความก้าวหน้าในการบ่มบารมี นำ� พาสรรพสัตว์และตนเองก้าวข้ามโอฆะ สู่ฝั่งแห่งนพิ พาน น้ีเป็นส่วนหน่งึ ของผลงานวจิ ัยท่ไี ด้ตพี ิมพ์เผยแผ่... (ชื่อบทความเป็นภาษาญี่ปุ่นคอื 見仏について ー仏弟子の瞑想方法を中心として ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ และบางส่วนของเนอื้ หาได้แปลเป็นภาษา ไทย ตีพิมพ์ลงในวารสารธรรมธารา ปี พ.ศ. ๒๕๕๙) เบือ้ งหลงั ความส�ำเรจ็ ตลอดเส้นทางท่ผี ่านมา มากมายกบั อุปสรรค นานบั ด้วยแนวต้าน เมอื่ ถกู ทบุ บ่อย ๆ บางคร้ัง ก็ไม่อร่อยเหมอื นกระท้อน แต่ทกุ ครั้งทกี่ ้มหน้าคอตก ต้องกลบั มาหยุดนิง่ ไม่คิด พลกิ ตำ� ราแห่งวิชชาชวี ติ ที่เรียงร้อยถ้อยวจีแห่งแสงสว่างของหลวงพ่อ ท้ังแง่มุมในการด�ำรงชีวิตและด�ำเนินชีวิต เพ่ือปรับจิต เพ่งพนิ จิ ความไม่รู้ในตน จนเกดิ เป็นก�ำลังใจใช้ปัญญาตฝี ่าแนวต้านช้ันต่าง ๆ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 305

รวมทั้งแรงสนับสนุนจากพระอาจารย์านวุฑฺโฒ (พระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ) ผอ.ส�ำนัก การศกึ ษา เจ้าหน้าทท่ี ุกท่าน สาธุชนทัง้ หลาย ทกุ ประเทศที่ไป ท้งั ญปี่ ุ่น อเมริกา นอร์เวย์ เมืองไทย ที่ ได้ไปอาศัย เอิบอาบ ดื่มกิน พักพิงในการทำ� งานพระศาสนา จนสามารถสร้างสรรค์งานได้ในสถานะ ต่าง ๆ อาทิ ๑. นกั วิจัยโครงการวจิ ัยคมั ภรี ์ทิเบต สถาบนั วจิ ยั พระพทุ ธศาสนาชนิ ในประเทศญ่ีปุ่น ปี พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๒ ร่วมทำ� งานปรวิ รรตคมั ภีร์ทเิ บต อาทิ (ประวัตศิ าสตร์พระพทุ ธศาสนา โดยท่าน Bu töön Rinchen Drup), (倶舎論語義解明・善説の陽光 ฎีกาคัมภีร์ อภธิ รรมโกศะ) ๒. นกั วิจยั โครงการพระไตรปิฎกฉบบั ธรรมชยั ปี พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๓, ๒๕๕๖-๒๕๕๗ ๓. นักวิจัยโครงการคมั ภรี ์พทุ ธโบราณ (อเมรกิ า, นอร์เวย์) ปี พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๖ ๔. ผู้ช่วยบรรณาธกิ ารด้านวิชาการวารสารธรรมธารา ปี พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐ (รวม ๕ ฉบบั ) ๕. จดั ตงั้ โครงการก้าวแห่งพทุ ธศาสตร์ เป็นโครงการทส่ี ร้างความร่วมมอื กบั มหาวทิ ยาลยั และ คณาจารย์ด้านพระพุทธศาสนา ประเทศญี่ปุ่น เพ่ือแลกเปล่ียนองค์ความรู้ งานวิจัย และงานวิชาการ ต่าง ๆ (ได้เรมิ่ ทยอยแปลบทวิจัยท่นี ่าสนใจตพี ิมพ์ลงวารสารธรรมธารา ตง้ั แต่ฉบับที่ ๓ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙) ๖. จัดต้ังโครงการศึกษา แปล วิจัย และจัดพิมพ์คัมภีร์พุทธโบราณ โดยร่วมมือกับศูนย์ สนั สกฤตศกึ ษา คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เปน็ ระยะเวลา ๓ ปี ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๓ (เรมิ่ ตีพิมพ์ผลงานลงวารสารธรรมธารา ฉบบั ท่ี ๕ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐) ด้วยความร่วมมอื ท่รี วมหัวใจเป็นหนง่ึ เดียวกนั เนื่องจากเหน็ คณุ ค่าในการสบื ทอดพระศาสนา โดยน�ำความรู้ความสามารถที่ตนเองถนัดช่วยเหลือกันในงานด้านต่าง ๆ ดังนั้น ค�ำพูดที่ว่า “ผลบุญ เป็นของทุกท่าน ผลงานเป็นของทุกคน” คงเป็นค�ำสรุปในแง่การท�ำงานเป็นทีมของวัดพระธรรมกาย ได้เป็นอย่างดี 306 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

พระไตรปฎิ กฉบบั วิชาการ วสิ ัยทศั น์ดา้ นการศกึ ษาของวดั พระธรรมกาย ดร.บรรเจดิ ชวลิตเรอื งฤทธิ์ “ต้อมจะได้กลับมาช่วยกันรวบรวมคัมภีร์พระไตรปิฎก โบราณ” พระอาจารยส์ มบตั ิ สมมฺ าผโล เอย่ ปากชวนผมไปศกึ ษา ต่อด้านพุทธศาสตร์ที่ประเทศญี่ปุ่น ตอนน้ันผมยังท�ำงานเป็น วิศวกรสายโทรคมนาคมกับบริษัทเอกชนแห่งหน่ึงในสมัยที่ โทรศพั ท์มอื ถือยงั มปี ุ่มกดและตวั เครือ่ งยังใหญ่เท่ากระตกิ น้�ำ ฤดูใบไม้เปลี่ยนสีในปีน้ัน ผมเดินทางถึงกรุงโตเกียว ในเดอื นกนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๑ พอไปถงึ ปุ๊บกล็ ยุ เรยี นภาษาญปี่ ุ่น อย่างเต็มที่ จ�ำได้ว่าเป็นช่วงที่เรียนหนักที่สุดในชีวิต เพ่ือนที่พัก อยู่ด้วยกันเล่าให้ฟังว่า ตอนที่ฝึกเขียนตัวอักษรคันจิ บางคร้ัง ผมเผลอหลบั ไปท้ังท่ยี งั ถือปากกาคามอื อยู่ แต่มือของผมก็ยงั มวิ ายกระดิกเขียนตวั คนั จติ ่อไป จนกระทงั่ ภาษาญป่ี ุ่นพอไปวดั ไปวาได้แล้ว ผมกเ็ ลอื กสอบเข้าศกึ ษาต่อทมี่ หาวทิ ยาลยั โอตานิ ซึ่งมีชื่อเสียงด้านการศึกษาพุทธศาสตร์ อาจารย์เสฐียร พันธรังษี ผู้สร้างคุณูปการส�ำคัญให้แก่วงการ พุทธศาสตร์ของไทย ก็ร่�ำเรียนและจบการศึกษาจากที่น่ี ยิ่งไปกว่านั้นชุดคัมภีร์ใบลานท่ีไทยมอบให้ ญ่ีปุ่นในสมยั รชั กาลท่ี ๕ กถ็ กู เกบ็ รกั ษาไว้เป็นอย่างดที ่ีมหาวทิ ยาลยั แห่งนอี้ กี ด้วย ในตอนน้นั ผมไม่อาจ ทราบได้เลยว่า ภารกจิ ส�ำคัญท่ีกำ� ลงั รอผมอยู่ในอกี ๑๐ กว่าปีข้างหน้าจะเป็นงานท่เี กย่ี วข้องกบั คมั ภีร์ ใบลานโดยตรง การศึกษาพุทธศาสตร์ในประเทศญ่ีปุ่นเน้นการวิจัยเชิงคัมภีร์เปรียบเทียบเพื่อสืบหาค�ำสอน ดัง้ เดิม ตอนน้นั ผมเลอื กทำ� วจิ ยั คมั ภรี ์เถรคาถา คัมภรี ์อังคตุ ตรนิกาย (เอตทคั ควรรค) และคัมภีร์อปทาน โดยศกึ ษาเปรยี บเทยี บคมั ภรี ์ดงั กล่าวทั้งในสายภาษาบาลี สนั สกฤต และจีนโบราณ จนกระทัง่ สามารถ แสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงและการสืบสายของคัมภีร์ชุดนี้ได้จนกระจ่างชัด งานวิจัยเรื่องนี้ท�ำให้ผม สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปริญญาเอกด้านพทุ ธศาสตร์ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 307

...การศกึ ษาพทุ ธศาสตรใ์ นประเทศญปี่ นุ่ เนน้ การวจิ ัยเชิงคมั ภรี เ์ ปรียบเทยี บ เพ่อื สบื หาคำ� สอนด้งั เดิม ตอนน้นั ผมเลอื กทำ� วิจยั คัมภีรเ์ ถรคาถา คมั ภีร์ องั คุตตรนิกาย (เอตทคั ควรรค) และคมั ภรี อ์ ปทาน โดยศกึ ษาเปรียบเทียบ คมั ภรี ์ดงั กลา่ วทงั้ ในสายภาษาบาลี สนั สกฤต และจีนโบราณ... หลงั จากสำ� เรจ็ การศกึ ษาจากญป่ี ุ่นแล้ว พระครปู ลดั สุวฒั นโพธคิ ณุ (พระอาจารย์านวฑุ ฺโฒ) เมตตาให้ผมไปศึกษาต่อท่ีมหาวิทยาลัยวอชิงตัน นครซีแอตเทิล ประเทศสหรัฐอเมริกา เพ่ือไปศึกษา เพ่มิ เตมิ กบั ศาสตราจารย์รชิ าร์ด ซาโลมอน ซ่งึ เป็นผู้เชยี่ วชาญคัมภีร์พทุ ธศาสนาชุดที่เก่าแก่ทส่ี ุดในโลก คัมภีร์ชุดน้ีบันทึกเป็นภาษาคานธารีด้วยอักษรขโรษฐี หรือท่ีคนไทยเรียกว่า “ธรรมเจดีย์” น่ันเอง ผม ศึกษาหลกั วชิ าคัมภีร์โบราณอยู่ท่นี ่ีเป็นเวลา ๒ ปี จงึ เดินทางกลบั ประเทศไทยในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ กลับมาถึงไทยได้ไม่นาน ผมก็ได้รับมอบหมายให้เป็นหนึ่งในทีมงาน “โครงการรวบรวมและ ศึกษาคัมภีร์พระไตรปิฎกโบราณ” มีเป้าหมายเพ่ือรวบรวมพระไตรปิฎกบาลีที่เป็นคัมภีร์ใบลานเถรวาท จากทกุ สายจารตี ทำ� เปน็ ฐานขอ้ มลู ดจิ ทิ ลั ทสี่ ามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย พวกเราเรม่ิ ตน้ ท�ำงานกนั ตง้ั แตล่ งพนื้ ที่ สำ� รวจหาคมั ภรี ใ์ บลานทงั้ ภายในและตา่ งประเทศ ลงมอื ถา่ ยภาพพระไตรปฎิ กคมั ภรี ใ์ บลานเปน็ ไฟลด์ จิ ทิ ลั สรา้ งฐานข้อมลู เชอ่ื มโยงภาพและเนอ้ื ความคมั ภรี ์ใบลานในระดบั คำ� ต่อคำ� บรรทดั ต่อบรรทดั และศกึ ษา เปรยี บเทยี บคมั ภรี ต์ ามหลกั วชิ าคมั ภรี โ์ บราณ งานนเี้ ปน็ งานใหญท่ ตี่ อ้ งประสานความรว่ มมอื จากทกุ ฝา่ ย ท้งั ภายในและภายนอกองค์กร ท้ังภายในและต่างประเทศ ต้องใช้ความเชีย่ วชาญเฉพาะด้านของทกุ คน มารวมกันจึงจะส�ำเร็จ คณะท�ำงานของเราจึงเป็นทีมงานนานาชาติท่ีมุ่งค้นคว้าภาษาคัมภีร์โบราณ แต่ก็ส่ือสารกันด้วยภาษาอังกฤษ และเก็บข้อมูลด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ เรียกได้ว่าเรากำ� ลังท�ำงานกับ คัมภรี ์โบราณทรงคณุ ค่าด้วยความรู้และเทคโนโลยที ่ที นั สมยั ทสี่ ดุ เมื่อปีท่ีแล้ว ผมได้มีโอกาสน�ำ ผลงานในส่วนที่ตัวเองรับผิดชอบไปบรรยาย ในงานประชมุ วชิ าการทป่ี ระเทศญปี่ นุ่ ปรากฏ ว่าได้รบั เสียงตอบรับดมี าก และจะได้ตพี มิ พ์ เป็นบทความวจิ ัยเรอ่ื ง “Variant Readings in the Subhasutta of the Dighanikāya : Based on Palm-leaf Manuscripts from Five Traditions” ในวารสารวชิ าการดา้ นพทุ ธศาสตรท์ ใี่ หญท่ ส่ี ดุ ของญ่ีปุ่น 308 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

โครงการพระไตรปิฎกน้ีถือเป็นแหล่งข้อมูลวิจัยทางพระพุทธศาสนาเถรวาทที่ใหญ่ท่ีสุด แหลง่ หนงึ่ ทจี่ ะมอี งคค์ วามรตู้ า่ ง ๆ เกดิ ขน้ึ ตามมาอกี มากมาย สามารถศกึ ษาตอ่ ยอดเปน็ งานวจิ ยั ในระดบั ปริญญาโทและปริญญาเอกได้นับไม่ถ้วน องค์ความรู้ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจะเป็นคุณูปการใหญ่ที่ไม่จ�ำกัด อยู่เฉพาะในประเทศไทย แต่จะเป็นประโยชน์กว้างขวางออกไปในระดับนานาชาติทั้งในวงการวิชาการ และวงการพระพทุ ธศาสนาโลก ชาวพทุ ธในตา่ งแดนหลายทา่ นเมอ่ื ทราบเรอ่ื งนแ้ี ลว้ กย็ งั อดภาคภมู ใิ จแทน คนไทยไม่ได้ ทง่ี านส�ำคญั ระดบั นี้เกิดขึ้นทป่ี ระเทศไทยของเรา ทัง้ หมดน้เี ป็นภาพอกี มมุ หนงึ่ จากฟันเฟืองชน้ิ เลก็ ๆ ช้นิ หนงึ่ ท่ีก�ำลังทำ� งานด้านการศึกษาของ วดั พระธรรมกายตามวสิ ยั ทศั นแ์ ละความเมตตาของหลวงพอ่ ธมั มชโย โดยทวั่ ไปผคู้ นมกั เหน็ ความสำ� เรจ็ ของหลวงพ่อธัมมชโยและวัดพระธรรมกายจากศาสนสถานหรืองานบุญพิธีใหญ่โตท่ีรองรับชาวพุทธ ได้จากท่วั โลก แต่ในอกี มุมหนง่ึ ของวัดพระธรรมกายทไ่ี ม่ค่อยมใี ครได้เห็น คือ ความตัง้ ใจทุ่มเททำ� งาน สรา้ งคนและสง่ เสรมิ การศกึ ษาอยา่ งเตม็ ทมี่ าโดยตลอด ทง้ั หมดนลี้ ว้ นเกดิ จากวสิ ยั ทศั น์ ความเมตตา และ ความเสยี สละอทุ ศิ ตนในการทำ� งานเพอ่ื พระพทุ ธศาสนามาตลอดระยะเวลา ๔๘ ปขี องหลวงพอ่ ธมั มชโย และพระเถรานเุ ถระทุกรปู ของวดั พระธรรมกาย พรคุณยาย ดร.สนิ นี าฏ พิญญพงษ์ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ไดช้ ว่ ยงานชมรมพทุ ธศาสตร์ จฬุ าฯ ในปีน้ันจัดงานตอบปัญหาธรรมะทางก้าวหน้า รอบชิงชนะเลิศ ท่ีวัดพระธรรมกาย และได้เข้ามาเตรยี มงานกบั พี่ ๆ ชมรมพุทธฯ ที่วัดช่วงเย็นวันเสาร์ ระหว่างที่เตรียมงานอยู่ท่ีสภาหลังคาจาก (ปัจจบุ ันคอื พืน้ ทอี่ าคาร ๑๐๐ ปีคุณยายอาจารย์ฯ) คุณยายมา ตรวจวัดตามปกติ พวกเราก็รีบวิ่งไปกราบคุณยายกัน คุณยาย จับมือข้าพเจ้าแล้วให้พรว่า “หลานยายต้องจบดอกเตอร์นะ” ความรสู้ กึ ตอนนนั้ คอื ดใี จ แตร่ สู้ กึ วา่ เปน็ เรอื่ งทไี่ กลสดุ เออื้ ม เพราะ เพิง่ เรียนมหาวทิ ยาลัยปี ๑ แต่กเ็ ป็นส่ิงท่อี ยู่ในใจ เป็นเป้าหมาย ชีวิตทีค่ ณุ ยายให้ ต้งั ใจว่าจะต้องท�ำให้ส�ำเร็จสกั วนั ในอนาคต กลางเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้รับโทรศัพท์จาก พระอาจารย์ชวนไปเรยี นต่อปรญิ ญาเอกที่ประเทศญ่ปี ุ่น ทุนหลวงพ่อ ภายใต้โครงการของพระครูปลัด- สวุ ฒั นโพธคิ ณุ (สมชาย านวฑุ โฺ ฒ) เปา้ หมายทคี่ ณุ ยายมอบใหเ้ รมิ่ แจม่ ชดั ขนึ้ มาในความคดิ วา่ มหี นทาง แลว้ จากนน้ั กไ็ ปเรียนต่อพร้อม ๆ กบั การสร้างบารมแี บบก้าวกระโดดทีญ่ ป่ี ุ่น ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 309

...คุณยายมาตรวจวดั ตามปกติ พวกเรากร็ ีบวิง่ ไปกราบคุณยายกนั คณุ ยายจับมือขา้ พเจ้า แลว้ ให้พรว่า “หลานยายต้องจบดอกเตอรน์ ะ” ความรูส้ กึ ตอนน้ันคอื ดีใจ แต่ร้สู กึ ว่าเปน็ เรื่องทไ่ี กลสุดเอ้อื ม เพราะเพงิ่ เรียนมหาวิทยาลัยปี ๑... การเรยี นทญ่ี ปี่ นุ่ เรม่ิ ตน้ จากการเรยี นภาษา เนอื่ งจากเราไมร่ ภู้ าษาญปี่ นุ่ มากอ่ น จงึ ตอ้ งเรม่ิ เรยี น ต้ังแต่พื้นฐานควบคู่ไปกับการรับบุญทุกวันที่หนักหน่วง การรับบุญเร่ิมจากท�ำงานพ้ืน ๆ คือ การถูพื้น ล้างจาน ท�ำอาหาร ดูแลเจ้าภาพ ระดมทุน ขบั รถ บวกกับการเรียนที่มกี ารสอบทกุ วนั ต้องทำ� การบ้าน อ่านหนังสือตลอด ท�ำแบบน้ีซ้�ำ ๆ ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน จนเป็นเร่ืองปกติ ส่ิงเหล่าน้ีปลูกฝัง ความรับผิดชอบและความอึด (grit) ให้เกิดขึ้นแบบท่ีไม่รู้ตัวมาก่อน ภายใต้การท�ำงานที่หนัก ต้นทุน ความรภู้ าษาทมี่ นี อ้ ย แตค่ ดิ วา่ ตน้ ทนุ บญุ ทส่ี ง่ั สมมาไมน่ อ้ ย ทำ� ใหม้ องเหน็ บางอยา่ งทค่ี นญปี่ นุ่ มองไมเ่ หน็ จงึ ไดเ้ สนอหวั ขอ้ และผลงานวจิ ยั จนกระทงั่ สำ� เรจ็ ปรญิ ญาเอกมาได.้ .. พรทค่ี ณุ ยายใหใ้ นวนั นน้ั สมั ฤทธผ์ิ ล แล้ว เม่อื เรยี นจบ อาจารย์ทป่ี รึกษาได้ชวนให้เป็น Assistant Professor ที่ Chuo University ทำ� งานเป็น ผู้ช่วยอาจารย์ในมหาวทิ ยาลยั ท่ีญป่ี ุ่น เป็นเวลา ๓ ปี จนกระทงั่ พระครูปลดั สวุ ฒั นโพธิคณุ เหน็ ว่าน่าจะ เกบ็ เกย่ี วประสบการณไ์ ดพ้ อสมควรแลว้ จงึ บอกใหก้ ลบั มาอบรมอบุ าสกิ าทว่ี ดั พระธรรมกาย เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ปัจจุบันรับบุญประสานงานโครงการจัดตั้งสถาบันธรรมชัยตามด�ำริของหลวงพ่อธัมมชโย กับสำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) กระทรวงศกึ ษาธิการ ทำ� การศึกษา Feasibility Study และความพร้อมในด้านต่าง ๆ ของการจดั ตั้งสถาบนั เช่น หลักสตู ร อาจารย์ ท่ีมาของพระนสิ ิต และ ด้านกายภาพ เช่น ทำ� เลทตี่ ้งั ความเหมาะสมของอาคารเรยี น เป็นต้น ปกติเราจะมองว่ามหาวิทยาลัยคือแหล่งประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ แต่สถาบันธรรมชัย ต่างจากมหาวทิ ยาลยั ทางโลกอ่ืน ๆ เพราะเป็นมหาวทิ ยาลยั ทีใ่ ห้การศกึ ษาพระภิกษุ สามเณร ผู้จะเป็น ตัวแทนของพระสมั มาสมั พุทธเจ้าไปเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาทั่วโลก เมื่อเข้ามารบั บญุ น้ไี ด้พฒั นามมุ มอง และความคดิ หลายด้าน เช่น คนทว่ั ๆ ไปเวลาเข้าไปมหาวทิ ยาลัย คือ ไปเรียน ไปเกบ็ เกยี่ วความรู้จาก สถาบนั การศกึ ษา แต่เม่อื เราก้าวไปสู่ความเป็นผู้ก่อต้งั ความคดิ จะเปลยี่ นเป็นอีกแบบหน่ึง เราต้องคิด ว่า สถาบันจะต้องเตรียมความพร้อมอะไรให้นักศึกษาบ้าง จะปลูกฝังหล่อหลอมคุณธรรมและความรู้ ควบคู่กันไปอย่างไร การจะสร้างพระนิสิตท่ีมีคุณภาพสักรูป เราต้องท�ำอะไรบ้าง นี้คืองานสร้างคน ในพระพทุ ธศาสนา ถอื ว่าเป็นส่งิ ที่ท้าทายการทำ� งาน จงึ ทำ� ให้ข้าพเจ้าตน่ื เต้นและสนกุ ไปกบั ทุก ๆ วัน ในการสร้างบารมี 310 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

กราบแทบเท้าขอบพระคุณหลวงพ่อธัมมชโยท่ีได้วางเส้นทางชมรมพุทธฯ ในมหาวิทยาลัย การศกึ ษาตอ่ ในตา่ งประเทศ และวสิ ยั ทศั นใ์ นการใหก้ ารศกึ ษาอยา่ งเปน็ ระบบคอื การจดั ตงั้ มหาวทิ ยาลยั ท�ำให้ลูก ๆ ได้ก้าวเดินไปพร้อม ๆ กับการสร้างบารมี จะมีใครสักก่ีคนที่ได้มีโอกาสเป็นผู้ร่วมจัดตั้ง มหาวิทยาลยั นับเป็นความภาคภมู ใิ จอย่างสงู สุดที่ได้รบั มอบหมายหน้าที่นจ้ี ากหลวงพ่อ การศึกษาควบคูง่ านเผยแผ่ ดร.มุทิตา ป่นิ สนุ ทร หลังจากเรียนจบคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข้าพเจ้าเข้าเรียนต่อปริญญาโทท่ี คณะสงิ่ แวดลอ้ มและทรพั ยากรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ใน ราวปลายปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ขณะก�ำลงั ทำ� วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาโท ข้าพเจ้าได้รบั โทรศัพท์จากพระอาจารย์สมบตั ิ สมฺมาผโล บอก ว่าพระอาจารย์านวฑุ โฺ ฒ (พระครปู ลดั สวุ ัฒนโพธิคุณ) ชวนให้ ไปชว่ ยงานวดั และศกึ ษาตอ่ ทปี่ ระเทศญปี่ นุ่ ตามโครงการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาของวดั พระธรรมกาย ซ่ึงก�ำลงั จะขยายจากวดั แห่งแรกในกรุงโตเกียวสู่นครโอซาก้าเมืองใหญ่อีกแห่งหน่ึง ของประเทศญป่ี ุ่น จงึ ตอบรบั ท่านในทนั ที ด้วยค�ำตอบทมี่ ใี ห้กบั ตนเองว่า คงไม่ง่ายนกั ท่ีเราจะได้โอกาส ท่ีเป็นประโยชน์ต่อทั้งตนเองและผู้อื่นในเวลาเดียวกัน วันน้ันจึงถือเป็นจุดเปลี่ยนคร้ังส�ำคัญของชีวิต ทีข่ ้าพเจ้าก้าวเข้าสู่ทางธรรมอย่างเตม็ ตวั วดั พระธรรมกายโอซาก้าเริ่มต้นจากราวปี พ.ศ. ๒๕๔๑ สาธุชนจ�ำนวน ๕-๑๐ ท่านรวมตวั กัน นมิ นตพ์ ระอาจารยแ์ ละเจา้ หนา้ ทจ่ี ากวดั พระธรรมกายโตเกยี ว เดนิ ทางมาจดั พธิ บี ชู าขา้ วพระและนง่ั สมาธิ พร้อมกบั วดั พระธรรมกาย ประเทศไทย ในวนั อาทติ ย์ต้นเดือน และได้ร้องขอให้มกี ารสร้างวดั ท่ีโอซาก้า ด้วย เดือนตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๒ จงึ เรม่ิ มีเจ้าหน้าท่ไี ปประจำ� ในพืน้ ท่ี เกิดเป็นศูนย์ปฏบิ ตั ิธรรมโอซาก้า ในเดอื นเมษายน พ.ศ. ๒๕๔๓ มพี ระประจ�ำ ๓ รูป อบุ าสก ๓ ท่าน อุบาสกิ า ๓ ท่าน จากนกั ศกึ ษาทเี่ คยแตเ่ รยี นหนงั สอื และชว่ ยงานชมรมพทุ ธฯ เรม่ิ รจู้ กั การทำ� หนา้ ทก่ี ลั ยาณมติ ร รู้จักการเข้าหาผู้คนที่เราไม่เคยรู้จักมาก่อน ได้ชักชวนพี่น้องชาวไทยให้รู้จักวัดพระธรรมกายและรู้จัก การสร้างบารมี ฝึกการถ่ายทอดธรรมะจากคุณครูไม่ใหญ่ให้พ่ีน้องนักสร้างบารมีท่ีไม่มีโอกาสได้ฟัง การถ่ายทอดสด รร.อนุบาลฝันในฝันวิทยา เพ่ือให้สามารถขยายฐานสาธุชนทั้งชาวไทยและชาวญ่ีปุ่น ใหท้ ราบวา่ มพี ระพทุ ธศาสนา วชิ ชาธรรมกาย เกดิ ขน้ึ แลว้ ณ ดนิ แดนแหง่ น้ี และในทส่ี ดุ ดว้ ยความรว่ มมอื ของลกู พระธมั ฯ ชาวโอซาก้าทกุ ท่านกส็ ามารถสร้างวดั พระธรรมกายโอซาก้าจนสำ� เร็จ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 311

...การท�ำหนา้ ทก่ี ลั ยาณมติ รควบค่กู ับการเรียนดว้ ยภาษาญีป่ ุ่นท่ีเราไม่คุ้นเคย และต้องใชค้ วามพยายามอย่างสงู เพอ่ื ทำ� ความเข้าใจ เป็นงานท่ีหนกั และกดดนั มากพอสมควร แตใ่ นการท�ำหนา้ ท่ี ณ ตอนน้ัน มแี ต่ความร้สู ึกปีติและเบกิ บาน... การท�ำหน้าท่ีกัลยาณมิตรควบคู่กับการเรียนด้วยภาษาญี่ปุ่นท่ีเราไม่คุ้นเคยและต้องใช้ ความพยายามอย่างสูงเพื่อท�ำความเข้าใจเป็นงานท่ีหนักและกดดันมากพอสมควร แต่ในการท�ำหน้าที่ ณ ตอนนน้ั มแี ต่ความรู้สกึ ปีตแิ ละเบกิ บาน ว่าเราในฐานะลกู พระธัมฯ คนหนง่ึ ได้รบั โอกาสจากหลวงพ่อ ใหไ้ ปทำ� หนา้ ทเ่ี ผยแผแ่ ละเรยี นหนงั สอื ถอื เปน็ ความภาคภมู ใิ จของชวี ติ อยา่ งยงิ่ เมอ่ื มองยอ้ นหลงั กลบั ไป บญุ สรา้ งวดั พระธรรมกายโอซากา้ เปน็ บญุ ทขี่ า้ พเจา้ ปลม้ื ทสี่ ดุ บญุ หนงึ่ ในชวี ติ พรอ้ ม ๆ กบั ความสำ� เรจ็ ทางการศกึ ษา จบปรญิ ญาเอกดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มจากมหาวทิ ยาลยั Kyoto Prefectural เมอื งเกยี วโต ประเทศ ญี่ปุ่น หลงั จากน้ันกไ็ ด้กลบั มาอบรมเป็นอบุ าสิการุ่นที่ ๒๑ ของวดั พระธรรมกาย ความรู้ความสามารถ ที่ได้รับการบ่มเพาะจากการได้โอกาสไปปฏิบัติหน้าที่ท่ีประเทศญี่ปุ่น ผสมผสานกับวัฒนธรรมอันดีงาม ความทันสมัย และความมีระเบียบวินัยของชาวญ่ีปุ่น สามารถน�ำกลับมาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่และ สรา้ งบารมใี นประเทศไทยไดเ้ ปน็ อยา่ งดี โอกาสทไี่ ดร้ บั จากหลวงพอ่ ทง้ั สองและพระอาจารยท์ กุ รปู ในวนั นน้ั จึงเป็นโอกาสครั้งส�ำคัญของชีวิต ท่ีท�ำให้ชีวิตการสร้างบารมีของข้าพเจ้ามีความหนักแน่นมั่นคงและ เตม็ ไปด้วยความปีตแิ ละภาคภูมใิ จเป็นอย่างยง่ิ การศกึ ษาเปลีย่ นชีวิต ดร.สชุ าดา ศรีเศรษฐวรกุล ได้มโี อกาสรู้จกั การรกั ษาศลี นงั่ สมาธิ และวัดพระธรรมกาย ต้งั แต่สมยั เรยี นอยู่จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ตอ่ มาไดไ้ ปเรยี นตอ่ ระดบั ปรญิ ญาโทและเอกทญ่ี ป่ี นุ่ ดว้ ยการสนบั สนนุ จากวดั พระธรรมกาย แรกทเี ดียวต้งั ใจว่าจะเรยี นต่อระดบั ปรญิ ญาโทและเอกในสาขาวิชาเดมิ คือ สาขาเกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี แต่ในทส่ี ดุ ด้วยความสนใจด้านพทุ ธศาสตร์ กอปรกับได้รับคำ� แนะนำ� จากพระอาจารย์ จงึ ได้เปลย่ี นมาเรยี นในสาขาวชิ าพทุ ธศาสตรแ์ ทน โดยเรยี นทมี่ หาวทิ ยาลยั โอตานิ เมอื งเกยี วโต ประเทศ ญป่ี นุ่ หวั ขอ้ เนอ้ื หาทที่ ำ� วทิ ยานพิ นธใ์ นระดบั ปรญิ ญาโทและเอก เปน็ แนวคดิ ตถาคตคพั ภะ ซง่ึ เปน็ แนวคดิ ของพระพทุ ธศาสนามหายานในอนิ เดีย 312 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

...ได้ศึกษาวิจัยเกย่ี วกบั ประวัตศิ าสตร์ การสืบทอดพระพุทธศาสนา และคมั ภีรพ์ ระไตรปฎิ กในประเทศไทยและกมั พชู า เพอื่ ท�ำให้เรอ่ื งราวเก่ยี วกับตน้ ก�ำเนิด ของคมั ภีร์พระไตรปิฎกอักษรขอม ในประเทศไทยและกมั พชู ามีความกระจ่างชดั ขนึ้ ... หลังจากจบการศึกษาในระดับปริญญาเอก ได้กลับมาท�ำงานท่ีโครงการรวบรวมและศึกษา คมั ภรี ์พระไตรปิฎกโบราณ วดั พระธรรมกาย ประเทศไทย ในตำ� แหน่งนักวิชาการ และดแู ลงานในส่วน ของศนู ยศ์ กึ ษาคมั ภรี โ์ บราณ ซง่ึ มที มี งานอา่ นคมั ภรี ใ์ บลานพระไตรปฎิ กบาลจี าก ๔ สายจารตี หลกั (อกั ษร) คอื อกั ษรธรรม ประเทศไทยและประเทศลาว, อกั ษรสงิ หล ประเทศศรลี งั กา, อกั ษรพมา่ ประเทศเมยี นมา และอักษรขอม ประเทศไทยและประเทศกัมพูชา เน่ืองจากต้องดูแลในส่วนงานศึกษาคัมภีร์ใบลาน ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงต้องศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในบริบททางประวัติศาสตร์ ทั้งโดย ภาพรวมและการสบื ทอดคมั ภรี พ์ ระไตรปฎิ กและพระพทุ ธศาสนาในภมู ภิ าคนี้ ตลอดจนบรบิ ททเ่ี กยี่ วเนอ่ื ง กับอกั ษรโบราณ และแนวทางการอ่านและปรวิ รรตถ่ายถอดเนือ้ ความจากคัมภรี ์ใบลานอีกด้วย จึงได้ศึกษาวิจัยและเขียนบทความวิชาการลงตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการในประเทศญ่ีปุ่น JIBS (Journal of Indian and Buddhist Studies) โดยที่ได้ลงตีพิมพ์ไปบ้างแล้ว เป็นงานวิจัยในหัวข้อ “Developing Database of the Pāli Canon from the Selected Palm-leaf Manuscripts : Method of Reading and Transliterating the Dīghanikāya in Khom and Tham Scripts” ซึ่งเป็นงานวิจัยเก่ียวกับแนวทาง การสร้างฐานข้อมูลคัมภีร์ใบลานพระไตรปิฎกบาลีในรูปแบบดิจิทัล และการอ่านปริวรรตอักษรโบราณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีท่ีพบตัวอักษรก้�ำก่ึงหรือไม่ชัดเจน มีการยกตัวอย่างกรณีศึกษาท่ีพบจริงใน การทำ� งานมาประกอบด้วย นอกจากนี้ยังได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การสืบทอดพระพุทธศาสนา และคัมภีร์ พระไตรปิฎกในประเทศไทยและกัมพูชา เพ่ือท�ำให้เรื่องราวเกี่ยวกับต้นก�ำเนิดของคัมภีร์พระไตรปิฎก อกั ษรขอมในประเทศไทยและกมั พชู ามคี วามกระจา่ งชดั ขน้ึ โดยในงานวจิ ยั นจ้ี ะแบง่ การวจิ ยั เปน็ ๒ สว่ น คอื ศกึ ษาวจิ ยั จากหลกั ฐานขอ้ มลู ทางประวตั ศิ าสตร์ และศกึ ษาวจิ ยั จากการเปรยี บเทยี บวเิ คราะหเ์ นอ้ื หา ทป่ี รากฏในคมั ภรี ใ์ บลานจรงิ ในสว่ นการศกึ ษาจากขอ้ มลู บนั ทกึ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ พบวา่ ขอ้ มลู หลกั ฐานการสบื ทอดคมั ภรี พ์ ระไตรปฎิ กในอาณาจกั รทเี่ กยี่ วเนอ่ื งกบั สยามมหี ลกั ฐานทช่ี ดั เจนจ�ำนวนมาก ซ่ึงแตกต่างจากข้อมูลหลักฐานการสืบทอดคัมภีร์พระไตรปิฎกในอาณาจักรที่เกี่ยวเนื่องกับกัมพูชา ซึ่ง พบเพียงหลักฐานโดยทางอ้อมและมีจำ� นวนน้อย โดยผลงานวิจัยนี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารในหัวข้อ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 313

“A Problem on the Origin of the Pāli Canon of Khom Script Manuscripts Found in Thailand and Cambodia” ในสว่ นการศกึ ษาวจิ ยั จากการเปรยี บเทยี บวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาทป่ี รากฏในคมั ภรี ใ์ บลานจรงิ เปน็ การนำ� เนอื้ หา ท่ีปรากฏในคัมภีร์ใบลานท่ีพบในประเทศไทยและในประเทศกัมพูชามาเปรียบเทียบ และวิเคราะห์ใน รายละเอยี ด เพอื่ ดำ� เนนิ การวจิ ยั และหาขอ้ สรปุ ทช่ี ดั เจนมากขน้ึ ยงั อยใู่ นกระบวนการวจิ ยั โดยเมอื่ แลว้ เสรจ็ จะนำ� เสนอผลงานตพี มิ พล์ งวารสาร เพอ่ื เปน็ ฐานขอ้ มลู องคค์ วามรทู้ างวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนาตอ่ ไป คนเราจะเปลยี่ นชวี ติ ไดด้ ว้ ยการศกึ ษา เพราะการศกึ ษาถอื เปน็ กระบวนการและผลลพั ธใ์ นการ พัฒนาคนและองค์กร ในส่วนงานท่เี กยี่ วเนอื่ งกับพระพุทธศาสนากเ็ ช่นเดยี วกนั การนำ� การศึกษาเข้ามา ใช้ในการรวบรวมและจดั การองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ เพ่ือสะดวกในการทำ� ความเข้าใจและการนำ� ไป ปรบั ใช้ ตลอดจนใชก้ ระบวนการทางการศกึ ษามาใชใ้ นการพฒั นาคนและหนว่ ยงานทางพระพทุ ธศาสนา จงึ ถอื วา่ เป็นเรอื่ งทคี่ วรสง่ เสรมิ เพราะเป็นการเสรมิ สรา้ งรากฐานทางวชิ าการ และท�ำใหพ้ ระพทุ ธศาสนา ม่ันคงถาวรมากยง่ิ ข้นึ ด้วยวสิ ยั ทศั น์ ความมุ่งมน่ั ทุ่มเท และความเมตตาจากหลวงพ่อทั้งสอง พระอาจารย์ ตลอดจน ครบู าอาจารย์ และผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งทกุ ทา่ น ในวนั นจ้ี งึ ไดม้ โี อกาส ไดม้ สี ว่ นรว่ มในการศกึ ษาวจิ ยั นำ� เสนอ ผลงานทางวชิ าการท่มี ปี ระโยชน์ และมสี ่วนช่วยในการพฒั นาให้พระพุทธศาสนารุ่งเรอื งสบื ต่อไป สิ่งท่ขี ้าพเจ้าภาคภูมใิ จ ดร.วิไลพร สุจรติ ธรรมกลุ ขงจ้ือบอกว่า 学而时习之,不亦说乎? การได้เรียนและฝึกฝนบ่อย ๆ เป็นเรื่องท่ีน่ายินดี เพราะแม้บางคนชอบเรยี น ชอบศกึ ษา กอ็ าจไม่มีโอกาสได้เรียน ดงั น้นั การมโี อกาสได้เรียน จึงถือว่าเป็น โชคลาภอนั ประเสริฐ  เพราะการเรยี นคือการลงทนุ ต้องใช้ทงั้ ทุนทรัพย์ พลงั สมอง พลงั ความหนุ่มสาว พลงั ความอตุ สาหะ และอน่ื ๆ อกี มากมาย กว่าจะพฒั นาตนเองมาเป็นครนู �ำความร้ไู ปส่งเสรมิ พระพทุ ธ- ศาสนาและถ่ายทอดให้เยาวชนรุ่นหลงั สืบต่อไป   ส่วนตัวดีใจทุกครั้งท่ีรู้ว่าสอบเข้าได้ ไม่ว่าจะมหาวิทยาลัยฟู่เหรินที่ไต้หวันหรือมหาวิทยาลัย ปักก่ิงที่ประเทศจีน ต่ืนเต้นท่ีได้เรียน แม้การเรียนจะยากเย็นแสนเข็ญ เพราะต้องถูกกดดันด้วยภาษา สง่ิ แวดลอ้ ม ดว้ ยความเกง่ และความขยนั ของเพอ่ื นนกั ศกึ ษา ซง่ึ เปน็ คนเกง่ ทคี่ ดั มาแลว้ จากประชากรกวา่ ๑,๓๐๐ ล้านคนท่ัวประเทศ แต่เมื่อนึกถึงหลวงพ่อธัมมชโย มโนปณิธานของท่าน และครูบาอาจารย์ ทงั้ หลาย กท็ ำ� ใหม้ กี ำ� ลงั ใจอดทนตอ่ สฝู้ า่ ฟนั กบั สงิ่ เหลา่ นนั้ เพราะโอกาสแบบนม้ี ไี มม่ าก และเราไดโ้ อกาส นั้นแล้ว ดังท่ีขงจอ้ื ได้เตอื นสตวิ ่า การได้เรยี นและมโี อกาสฝึกฝนทบทวนบอ่ ย ๆ มนั คอื โอกาสทที่ ำ� ใหเ้ รา เกง่ ขน้ึ และตอ่ ไปเราจะอธบิ ายพระพทุ ธศาสนา วชิ ชาธรรมกาย ใหช้ าวจนี และชาวโลกเข้าใจได้ จะไม่ปีติ ยินดไี ด้อย่างไร 314 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

...ข้าพเจา้ ภมู ิใจในการทำ� หน้าที่ เปน็ ทตู สนั ตภิ าพ โดยเป็นล่ามแปล เวลาคณะชาวจนี ไดม้ าเยอื นวัดพระธรรมกาย และวัดตา่ ง ๆ ในไทย และส่งิ ทเี่ ปน็ ความภาคภูมิใจมาก ๆ คือ การได้เปน็ ส่วนส�ำคญั ในโครงการแปล พระไตรปิฎกบาลเี ป็นภาษาจีนปัจจุบัน... บณั ฑติ ทจี่ บปรญิ ญาเอกจากมหาวทิ ยาลยั ปกั กง่ิ ในวนั รบั ปรญิ ญาเป็นธรรมเนยี มทร่ี นุ่ พที่ เ่ี ปน็ บคุ คลสำ� คญั ในประเทศจะกลบั มาฝากคตพิ จนเ์ ตอื นใจรนุ่ นอ้ งกอ่ นจากสถาบนั ไป คตพิ จนท์ ส่ี อื่ วา่ “จงนำ� ความรู้ไปสร้างความเจรญิ และพัฒนาประเทศชาติ แล้วนำ� ความภูมิใจกลบั มาสู่สถาบัน” ทำ� ให้ข้าพเจ้า ตระหนกั ดวี า่ เปน็ หนา้ ทขี่ องตนทจ่ี ะเจรญิ สมั พนั ธไมตรรี ะหวา่ งประเทศจนี และประเทศไทย เพอื่ ถา่ ยทอด สง่ิ ดี ๆ ของ ๒ ประเทศนใ้ี ห้แก่กนั ข้าพเจ้าภูมใิ จในการทำ� หน้าทเ่ี ป็นทตู สันตภิ าพ โดยเป็นล่ามแปลเวลาคณะชาวจนี ได้มาเยอื น วัดพระธรรมกายและวดั ต่าง ๆ ในไทย และส่งิ ทเ่ี ป็นความภาคภูมใิ จมาก ๆ คอื การได้เป็นส่วนสำ� คัญ ในโครงการแปลพระไตรปิฎกบาลีเป็นภาษาจีนปัจจุบัน เพราะโดยท่ัวไปพระสูตรจีนจะเป็นภาษาจีน โบราณ แม้ฉบับแปลก็ใช้ภาษาจีนโบราณ ท�ำให้คนจีนปัจจุบันยากที่จะเข้าใจ ศาสตราจารย์ต้วนฉิง แหง่ มหาวทิ ยาลยั ปกั กง่ิ และพระครปู ลดั สวุ ฒั นโพธคิ ณุ (พระมหาสมชาย านวฑุ โฺ ฒ) แหง่ วดั พระธรรมกาย ตระหนักถึงประโยชน์ท่ีจะเกิดข้ึนจากการช่วยให้ชาวจีนกว่า ๑,๓๐๐ ล้านคนเข้าถึงค�ำสอนดั้งเดิมของ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้  จงึ ดำ� รใิ หม้ คี วามรว่ มมอื กนั ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั ปกั กงิ่ กบั สถาบนั ธรรมชยั ในการ ร่วมกันแปลพระไตรปิฎกบาลีเป็นภาษาจีนปัจจุบันเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยได้แปลทีฆนิกายเสร็จ และตีพิมพ์จัดจ�ำหน่ายแล้วในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจนต้องตีพิมพ์เพ่ิม และ มัชฌมิ นกิ ายจะตีพมิ พ์ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ สิ่งทภ่ี ูมใิ จอกี อย่างคือ การที่ส�ำนักพิมพ์ท่ปี ักกงิ่ ได้เชญิ ให้ข้าพเจ้าเขียนสารานุกรมจีนฉบับย่อ เรื่องพระพุทธศาสนาเถรวาท ซึ่งหนังสือพระพุทธศาสนาเถรวาทในจีนมีน้อยมาก จึงเป็นโอกาสที่จะได้ ถา่ ยทอดสงิ่ ดี ๆ ของพระพทุ ธศาสนาเถรวาทเปน็ ภาษาจนี ในรปู แบบทค่ี นทว่ั ไปเขา้ ใจไดง้ า่ ย ซง่ึ จะชว่ ยคลาย ความสงสัยและความเข้าใจผิดของคนจีนที่มีต่อพระพุทธศาสนาเถรวาท จะได้ยอยกพระพุทธศาสนา เถรวาทออกจากความเป็นหินยานสู่ความเป็นพระพุทธศาสนาดั้งเดิมอย่างภาคภูมิใจ หนังสือเล่มนี้ ข้าพเจ้าต้งั ใจท�ำเพ่ือบูชาธรรมมหาปชู นยี าจารย์เนอ่ื งในวาระครบ ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 315

ข้าพเจ้าขอมอบความภาคภูมิใจทั้งหมดถวายแด่หลวงพ่อทั้งสอง พระอาจารย์ทุกรูป และ หมู่คณะทกุ ท่าน ขอให้ความภูมใิ จและบุญจากส่งิ ดี ๆ ท่ีเกดิ ขึน้ นเ้ี ป็นของทกุ ท่าน เพราะความเสยี สละ และความทุ่มเทของหลวงพ่อและทกุ ท่าน ท�ำให้ข้าพเจ้าได้มีโอกาสทำ� สงิ่ ดี ๆ ทเี่ ป็นบญุ กุศลเช่นนี้   ทางผา่ นแหง่ บญุ สคู่ วามสำ� เร็จในงานพระศาสนา อุบาสิกา ทพญ.ดร.ศริ ริ ตั น์ งามแสง ชีวิตการสร้างบารมีเริ่มต้นจริงจังเม่ือได้เข้ามาเป็น สว่ นหนง่ึ ของชมุ นมุ พทุ ธธรรม คณะแพทย์ (ปจั จบุ นั คอื ชมรมสมาธิ และศีลธรรม) มีโอกาสศึกษาธรรมะและปฏิบัติธรรมในโครงการ อบรมสมาธิต่าง ๆ ของวัดพระธรรมกาย และได้ท�ำหน้าที่ กัลยาณมิตรให้กับพี่น้องนักศึกษาควบคู่ไปกับการเรียนท่ีคณะ ทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น เมื่อเรียนจบได้ท�ำหน้าที่หมอฟันควบคู่กับการเป็น ผู้น�ำบุญ สร้างเครือข่ายกัลยาณมิตรในชุมชนใกล้บ้าน ก่อน ลาออกเพ่ือไปเป็นอุบาสิกาประจ�ำศูนย์ปฏิบัติธรรมโตเกียว ตาม โครงการสรา้ งนกั วชิ าการและขยายงานพระศาสนาในตา่ งแดน พระอาจารยส์ มบตั ิ สมมฺ าผโล ทา่ นบอกไว้ ก่อนไปว่า การเรียนและการรับบุญที่ประเทศญ่ีปุ่นเป็นงานที่หนัก หนักทั้งงานเรียนและงานศูนย์ เม่ือ ไดไ้ ปกเ็ ขา้ ใจเลยวา่ หนกั จรงิ เสรจ็ จากงานวดั กลบั มาทำ� การบา้ น อา่ นหนงั สอื บางวนั ตอ้ งทำ� ถงึ เชา้ จนได้ เหน็ พระอาทติ ยข์ น้ึ กอ่ นใคร สมชอื่ แดนอาทติ ยอ์ ทุ ยั ค�ำวา่ เวลาสว่ นตวั นน้ั แทบจะหามไิ ด้ มลี มหายใจเพอ่ื งานพระศาสนาอย่างแท้จรงิ เนื่องจากงานวัดก�ำลังขยายตัว ท้ังเปิดบ้านกัลยาณมิตร ติดจานดาวธรรม และการเรียน ที่หนกั หนว่ ง จนมบี างครง้ั รสู้ กึ วา่ ชา่ งยากเยน็ เหลอื กำ� ลงั แตท่ กุ ครง้ั กส็ ามารถผา่ นไปได้ โดยอาศยั หลกั วชิ า ท่ีพระอาจารย์านวุฑฺโฒ (พระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ) ท่านเคยสอนว่า ตัวเราน้ันเป็นเหมือนพัดลม เลก็ ๆ ตัวหนึ่ง ทห่ี มุนพดั ได้เพราะมกี ระแสไฟฟ้าไหลผ่าน งานพระศาสนาทีเ่ กดิ ข้นึ จากด�ำริของหลวงพ่อ ก็เช่นกัน ความส�ำเร็จล้วนมาจากกระแสบุญจากพระนิพพาน เรามีหน้าที่ไปเสียบปลั๊กเช่ือมสายบุญ ให้มีพลังบุญมากพอท่ีจะทำ� งานน้ัน ๆ ให้ลุล่วงได้ ตัวเราและผู้สนับสนุนทุกท่าน ก็จะได้บุญจากงาน พระศาสนาท่เี กิดข้นึ 316 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

...เมอื่ เรียนจบไดท้ �ำหน้าทหี่ มอฟันควบคู่กับการเป็นผ้นู ำ� บญุ สร้างเครอื ข่ายกลั ยาณมิตรในชุมชนใกลบ้ า้ น กอ่ นลาออกเพอ่ื ไปเป็นอบุ าสิกาประจ�ำศูนยป์ ฏบิ ตั ธิ รรมโตเกยี ว ตามโครงการสรา้ งนกั วิชาการและขยายงานพระศาสนาในตา่ งแดน... เมื่อข้าพเจ้าเรียนจบปริญญาโท จาก University of Tsukuba คณะ Area Study ทางด้านสังคมศาสนา ได้กลับมารับบุญท่ี วดั ใหญ่ โดยรบั บญุ ในสว่ นการเรยี นการสอน ของพระนิสิต DCI ส�ำนักการศึกษา ถวาย ความรู้วิชาวิทยาศาสตร์เชิงพุทธ ถวาย ความรู้ภาษาญ่ีปุ่นแก่พระและเจ้าหน้าท่ี ที่เตรียมตัวไปรับบุญท่ีประเทศญ่ีปุ่น ถวาย ความรู้วิชาภาษาไทยแก่พระและเจ้าหน้าท่ีชาวต่างชาติ เป็นกรรมการหลักสูตรและประสานงาน จัดการเรยี นการสอนระดบั ปรญิ ญาโท เพอ่ื พฒั นางานทเ่ี รารบั ผดิ ชอบอยใู่ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ จงึ เขา้ ศกึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาเอก ท่ีมหาวิทยาลัยชินวัตร หลักสูตรนานาชาติ หัวข้อวิจัยเร่ืองการบริหารจัดการของสถาบันสอนภาษา ขงจอื้ ในประเทศไทย (The Management of Confucius Institutes in Thailand) ศกึ ษาการบรหิ ารและพฒั นา สถาบนั ภาษา โดยศกึ ษาโมเดลของสถาบนั สอนภาษาขงจอื้ จากงานวจิ ยั ได้พบมติ แิ ละปัจจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง ในการบรหิ ารจดั การ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา และผลสะทอ้ นจากการขยายงานไปทว่ั โลกอยา่ งมนี ยั ส�ำคญั ทำ� ให้เราได้องค์ความรู้และวสิ ัยทัศน์ เพ่อื น�ำมาท�ำงานและถ่ายทอดแด่พระนิสติ ต่อไป ปัจจบุ ันรบั บญุ เป็นหัวหน้าศูนย์ภาษา DCI สำ� นกั การศกึ ษา ดแู ลงานการเรียนการสอนภาษา ต่าง ๆ (ภาษาไทย อังกฤษ จีน และญปี่ ุ่น) เป็นอาจารย์ประจำ� วชิ าการส่ือสารข้ามวฒั นธรรม (Cross Cultural Communication) และดูแลหลกั สตู รเตรยี มความพร้อมภาษาองั กฤษ (Pre International Program) ส�ำหรับพระนิสิต ซ่ึงนับได้ว่าเป็นการเตรียมบุคลากรทางศาสนาให้มีความรู้สู่การเผยแผ่ในระดับโลก ให้สำ� เรจ็ ดังค�ำสัญญาในบทสรรเสรญิ คุณยายอาจารย์ฯ ทีว่ ่า “แผ่ขยายวชิ ชาเลิศ ให้บรรเจิดท่ัวโลกา ศษิ ย์มน่ั คำ� สัญญา แทนมาลาบชู าคณุ ” ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 317

แม้เวลาจะผ่านไปร่วม ๒๐ ปี แต่ก็ปล้มื ปีติใจและส่งใจไปร่วมอนุโมทนาบญุ กับพ่ี ๆ ผู้นำ� บุญ ทญ่ี ป่ี ุ่นเสมอ ได้เห็นภาพงานบญุ และการขยายวดั ทเ่ี พิ่มขึน้ เรื่อย ๆ ปัจจุบนั มถี ึง ๑๐ วดั และ ๑ ศูนย์ ปฏิบตั ธิ รรมในเกาะญป่ี ุ่น ซึ่งการเกดิ ขนึ้ ของวดั ในต่างแดนแม้ ๑ วัด นนั่ หมายถึงพี่น้องชาวพทุ ธของเรา จะได้มที ่สี ง่ั สมบญุ มที ี่พง่ึ ทางใจ รวมถงึ เป็นจดุ เรม่ิ ต้นในการเผยแผ่ธรรมะไปสู่ชาวท้องถน่ิ อกี ด้วย กราบแทบเท้าขอบพระคณุ หลวงพ่อ ผู้ให้บญุ ให้โอกาสในการสร้างบารมี กราบขอบพระคุณ หลวงพี่ พระอาจารย์ทกุ รูป และพี่น้องกลั ยาณมติ รทกุ ท่าน ทเี่ ป็นต้นบุญและเป็นส่วนแห่งความส�ำเร็จ ในงานพระศาสนาทง้ั ปวง กวา่ จะมวี นั น้ี ดร.สมุ ชั ญา หาญสขุ วรพาณิช Ph.D. in Information Science and Technology, Osaka Institute of Technology, Japan เร่ิมเข้าวัดต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ พร้อมกับครอบครัว แต่ได้มาช่วยรับบุญในวัดในทุก ๆ งานบุญ โดยเร่ิมจากการเป็น อาสาสมคั รศูนย์คมนาคม แผนกจราจร ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เมอ่ื ไดเ้ ขา้ เรยี นในระดบั ปรญิ ญาตรี คณะวทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ สาขา สถติ ปิ ระยกุ ต์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื กไ็ ด้ ช่วยงานชมรมพุทธศาสน์ของทางสถาบันจนกระท่ังเรียนจบ ได้ ทดลองท�ำงานกับบริษัททางโลกอยู่ประมาณปีคร่ึง รู้สึกว่าอยาก ท�ำอะไรท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อ่ืนให้มากกว่าการท�ำงาน เพื่อหาเล้ียงชีพไปวัน ๆ พร้อมกันกับทางวัดพระธรรมกายโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น ต้องการเจ้าหน้าที่ ไปช่วยงานเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา จงึ ได้ตัดสินใจลาออกจากงาน และไปช่วยรับบุญทีว่ ดั พระธรรมกาย โอซาก้า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ในช่วงท่ีช่วยรับบุญนั้นได้มีโอกาสรับทุนเพ่ือศึกษาต่อไปด้วย จึงได้ฝึกอะไรหลาย ๆ อย่าง จากการทต่ี ้องรับบญุ และเรยี นไปพร้อม ๆ กันในประเทศญป่ี ุ่นที่ใคร ๆ ก็มองว่าเป็นดนิ แดนศวิ ไิ ลซ์นน้ั มหี ลาย ๆ สง่ิ ทเี่ ขายงั ขาด เชน่ เรอื่ งศลี ธรรมและจติ ใจ แตด่ ว้ ยดำ� รขิ องหลวงพ่อธมั มชโย ทจ่ี ะขยายวชิ ชา ธรรมกายไปทั่วโลก เพ่ือสร้างสันติสุขให้เกิดข้ึนแก่มนุษย์ทุกเชื้อชาติน้ีเอง จึงท�ำให้วัดพระธรรมกาย โอซาก้าเปรยี บเหมอื นจุดรวมใจของชาวไทยกลุ่มหนงึ่ ทต่ี ้องการสถานท่บี �ำเพ็ญบญุ เป็นท่ีพึ่งทางใจ 318 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

...ด้วยดำ� ริของหลวงพ่อธัมมชโย ท่ีจะขยายวิชชาธรรมกายไปทว่ั โลก เพอื่ สร้างสันติสขุ ใหเ้ กดิ ขนึ้ แก่มนุษยท์ ุกเชือ้ ชาติน้เี อง จงึ ทำ� ให้วดั พระธรรมกายโอซากา้ เปรยี บเหมือนจุดรวมใจของชาวไทยกลุ่มหนงึ่ ทต่ี ้องการสถานที่บ�ำเพญ็ บญุ เป็นท่ีพงึ่ ทางใจ... เมอื่ สำ� เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาเอก สาขา Systems Engineering and Computer Networks จาก Osaka Institute of Technology ได้สักระยะ จงึ ได้กลบั มาช่วยรบั บุญท่ีแผนก IT กองพระไตรปิฎก โดยรบั บญุ เกย่ี วกบั การจัดท�ำระบบการพฒั นาโปรแกรมต่าง ๆ ให้มีการใช้งานทส่ี ะดวกเหมาะสม อกี ทั้ง ยังได้มีโอกาสถ่ายทอดความรู้แก่พระนิสิตสถาบันธรรมชัย ในรายวิชาคณิตศาสตร์เพ่ือวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และรายวชิ าสถติ ิเบ้ืองต้นเพ่ือการวจิ ัยอกี ด้วย ระหวา่ งการศกึ ษาและปฏบิ ตั ภิ ารกจิ งานบญุ ต่าง ๆ น้ัน ได้รับก�ำลังใจเป็นแรงสนับสนุนจาก หลาย ๆ ฝา่ ย ทง้ั จากพระอาจารย์ พี่ ๆ นอ้ ง ๆ ทรี่ บั บญุ ดว้ ยกนั คณุ พอ่ คณุ แม่ รวมไปถงึ สาธชุ นทกุ ทา่ น จงึ ทำ� ให้มีก�ำลังใจท่ีจะสร้างบารมีกับหมู่คณะต่อไปเรื่อย ๆ แต่ส่ิงที่ส�ำคัญท่ีสุดท่ีท�ำให้มีก�ำลังใจไม่ว่าจะต้อง พบกับอุปสรรคอะไรก็คือ การได้เห็นต้นแบบในการ ท�ำความดีของหลวงพ่อธัมมชโยผู้เป็นต้นแบบ เป็น ก�ำลังใจในการทำ� ความดแี ก่ทกุ ๆ คน เป็นผู้นำ� สร้าง บารมีที่เข้มแข็ง ไม่หวาดหวั่นต่ออุปสรรคทั้งหลาย มาตลอด ๔๘ ปีของวดั พระธรรมกาย ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 319



๖ จากผลงารนะสด่รูับานงาวนลั าอชนั าทตริ งเกยี รติ ผลงานของวดั พระธรรมกายและศษิ ยานศุ ษิ ย์ นำ� โดยหลวงพอ่ ธมั มชโย สรา้ งประโยชน์ แกพ่ ระพทุ ธศาสนาและมหาชนชาวโลกปรากฏเปน็ ทป่ี ระจกั ษช์ ดั จนกระทง่ั ไดร้ บั การยอมรบั จากหนว่ ยงานและองคก์ รตา่ ง ๆ ทง้ั ในและตา่ งประเทศ ดงั นน้ั หนว่ ยงานและองคก์ รเหลา่ น้ี จงึ มอบรางวลั แดห่ ลวงพอ่ ธมั มชโย เพอ่ื ประกาศเกยี รตคิ ณุ ของทา่ น ทนี่ �ำหมคู่ ณะทำ� งาน เพอ่ื ประโยชน์แก่ส่วนรวมตลอดมา ซงึ่ หมู่คณะวดั พระธรรมกายรู้สกึ ยนิ ดแี ละเป็นเกยี รติ อย่างย่ิง ท่ีผลงานของวัดพระธรรมกายและคณะศิษยานุศิษย์มีประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติ ศาสนา และมสี ว่ นในการสง่ เสรมิ สนั ตภิ าพแกโ่ ลกของเรา ขอกราบขอบพระคณุ และขอบคณุ มา ณ ทน่ี ด้ี ว้ ย

อนั ทรจงาเกกผยี ลรงตาิรนะสดูร่บั านงาวนลั าชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้รบั รางวลั World No Tobacco Day Awards 2004 จากองค์การอนามยั โลก จาก ผลงานการรณรงค์ให้เยาวชนและประชาชนเลกิ สรุ าและบุหร่ี พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รบั รางวลั เหรียญเกยี รติยศมหาตมะ คานธี เพื่อสนั ติภาพ จากองค์กร Akhil Bharat Rachanatmak Samaj พ.ศ. ๒๕๔๘ ไดร้ บั โลเ่ กยี รตคิ ณุ จากวฒุ สิ ภาในการบำ� เพญ็ กศุ ลเพอ่ื ผปู้ ระสบภยั จากคลน่ื ยกั ษ์ สึนามิ พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้รับรางวลั Universal Peace Award การเผยแผ่พระพุทธศาสนาดเี ด่นระดับโลก จากองคก์ รยวุ พทุ ธสงฆโ์ ลก (WBSY) ประเทศศรลี งั กา พธิ มี อบรางวลั จดั เมอื่ วนั มาฆบชู า พ.ศ. ๒๕๕๐ ณ วดั พระธรรมกาย พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รบั รางวัลมาตรฐานการผลติ สอื่ Telly Awards จ�ำนวน ๑๒ รางวลั พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้รับรางวัล “สถานีวิทยุโทรทัศน์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาดีเด่น” จากสมเด็จ- พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก 322 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้รับรางวัลพุทธคุณูปการ ผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาระดับ วัชรเกยี รตคิ ณุ จากคณะกรรมาธกิ ารการศาสนา ศลิ ปะ และวัฒนธรรม สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับใบประกาศเกียรติคุณกินเนสส์ เวิลด์ เรคคอร์ด “การเดินทางด้วยเท้า บนกลีบดอกไม้ท่ยี าวที่สดุ ในโลก ด้วยระยะทางรวม ๔๒๗.๘ กิโลเมตร (๒๖๕.๘๒ ไมล์) โดยพระภกิ ษุ ในพระพุทธศาสนาจ�ำนวน ๑,๑๒๗ รูป ในโครงการธุดงค์ธรรมชัย เพ่ือเป็นการต้อนรับศักราชใหม่ ปี ๒๕๕๕ ในประเทศไทย ระหว่างวนั ท่ี ๒-๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕” พ.ศ. ๒๕๕๖ ไดร้ บั รางวลั Noble Peace Award ผนู้ �ำชาวพทุ ธทอี่ ทุ ศิ ตนเพอ่ื เผยแพรห่ ลกั ค�ำสอน ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ อยา่ งจรงิ จงั และตอ่ เนอ่ื งระดบั สงู สดุ จากองคก์ รยวุ พทุ ธสงฆโ์ ลก ประเทศศรลี งั กา พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับใบประกาศเกียรติคุณกินเนสส์ เวิลด์ เรคคอร์ด “การเดินทางด้วยเท้า บนกลบี ดอกไม้ท่ยี าวท่สี ุดในโลก ด้วยระยะทางรวม ๔๔๘.๔ กิโลเมตร (๒๗๘.๖๒ ไมล์) โดยพระภกิ ษุ ในพระพุทธศาสนาจ�ำนวน ๑,๑๒๘ รูป ในโครงการธุดงค์ธรรมชัย เพ่ือเป็นการต้อนรับศักราชใหม่ ปี ๒๕๕๖ ในประเทศไทย ระหว่างวนั ท่ี ๒-๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖” พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับโล่เกยี รติคุณผู้น�ำในการอนรุ ักษ์และปกป้องพทุ ธสถาน Mes Aynak จาก สมาพนั ธ์พทิ กั ษ์โบราณสถานแห่งอฟั กานสิ ถาน พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รบั รางวัลผู้น�ำพทุ ธโลก (World Buddhist Outstanding Leader Award) จาก องค์การยวุ พุทธศาสนกิ สมั พนั ธ์แห่งโลก (ยพสล.) ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 323

พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รับใบประกาศเกียรติคุณกินเนสส์ เวิลด์ เรคคอร์ด “การเดินทางด้วยเท้า บนกลีบดอกไม้ทย่ี าวที่สดุ ในโลก ด้วยระยะทางรวม ๔๕๓.๐ กิโลเมตร (๒๘๑.๔๘ ไมล์) โดยพระภิกษุ ในพระพุทธศาสนาจ�ำนวน ๑,๑๒๙ รูป ในโครงการธุดงค์ธรรมชัย เพ่ือเป็นการต้อนรับศักราชใหม่ ปี ๒๕๕๗ ในประเทศไทย ระหว่างวนั ท่ี ๒-๒๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗” พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รับใบประกาศเกียรติคุณกินเนสส์ เวิลด์ เรคคอร์ด “การเดินทางด้วยเท้า บนกลบี ดอกไม้ทย่ี าวที่สุดในโลก ด้วยระยะทางรวม ๔๘๕.๐ กโิ ลเมตร (๓๐๑.๓๖ ไมล์) โดยพระภิกษุใน พระพุทธศาสนาจ�ำนวน ๑,๑๓๐ รูป ในโครงการธุดงค์ธรรมชัย เพ่ือเป็นการต้อนรับศักราชใหม่ ปี ๒๕๕๘ ในประเทศไทย ระหว่างวนั ที่ ๒-๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘” พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รบั ปริญญา โล่ และประกาศเกยี รติคุณ จาก ๔๑ ประเทศทวั่ โลก ดังน้ี ๑. ปริญญาดษุ ฎบี ัณฑิตกิตติมศกั ด์ิ จากสถาบันพทุ ธศาสน์ระหว่างประเทศ ประเทศอนิ เดยี ๒. โลป่ ระกาศเกยี รตคิ ณุ จากสมเดจ็ พระสงั ฆนายกสทุ ธานนั ทะ มหาเถโร ประเทศบงั กลาเทศ ๓. ใบประกาศเกียรตคิ ุณจากสถาบนั ปรยิ ตั ศิ ึกษา เมอื งอ๊ินเส่ ประเทศเมียนมา ๔. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากวดั โฝมนิ ห์ ประเทศเวยี ดนาม ๕. โลป่ ระกาศเกยี รตคิ ณุ จากวดั อะตลุ ะ มหาเมยี ะจา้ ว เซดดี อว์ เขตมณั ฑะเลย์ ประเทศเมยี นมา ๖. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากวัดราชฐานหลวงหวั ข่วง เขต ๓ เขมารฐั นครเชยี งตงุ ประเทศเมียนมา 324 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

๘ รางวลั จากประเทศเนปาล ๗. โลป่ ระกาศเกยี รตคิ ณุ จากพระเวดารเุ วะ อปุ าลี อนนุ ายก มหาเถโร รองสมเดจ็ พระสงั ฆราช สยามโมบาลมี หานิกาย ฝ่ายอสั กิริยา ประเทศศรลี งั กา ๘. โล่ประกาศเกยี รติคุณจากสมเดจ็ พระอัครมหาสงั ฆราชาธบิ ดีเทพวงศ์ ประเทศกมั พชู า ๙. โล่ประกาศเกยี รติคณุ จากมหาเถรสมาคมประเทศเนปาล ประเทศเนปาล ๑๐. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากสภาสงฆ์เถรวาทแห่งเกาหลี ประเทศเกาหลี ๑๑. โล่ประกาศเกยี รติคณุ จากสมเดจ็ พระสังฆราชธรรมเสน มหาเถโร ประเทศบงั กลาเทศ ๑๒. โล่ประกาศเกยี รติคุณจากวดั ต้าฉอื ซ่อื เมืองเฉิงตู มณฑลเสฉวน ประเทศจนี ๑๓. ใบประกาศเกยี รติคณุ จากวดั ดาชชิ อยลิง ประเทศมองโกเลีย ๑๔. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากพระธรรมาจารย์ทชิ ตริ กวง รองสมเด็จพระสังฆราช แห่งเวยี ดนาม (มหายาน) ประเทศเวยี ดนาม ๑๕. ใบประกาศเกียรติคุณจากองค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาว แขวงหลวงพระบาง อพส. สปป.ลาว ๑๖. โล่ประกาศเกยี รตคิ ุณจากเจ้าคณะจงั หวดั และคณะสงฆ์เกาะสอง เขตตะนาวศรี ประเทศเมยี นมา ๑๗. โล่ประกาศเกยี รติคุณจากวดั พุทธศรลี ังกา ประเทศมาเลเซีย ๑๘. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากสมัชชาสงฆ์ไทยแห่งภูมภิ าคโอเชยี เนีย ประเทศนิวซแี ลนด์ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 325

เจดยี ช์ เวดากองจำ�ลองท�ำ จากทบั ทิม บรรจพุ ระธาตุ มอบโดยพระภทั ทันตะ เขมาสะระ ๑๙. ใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากวดั หลวงอาร์เจนตนิ า ประเทศอาร์เจนตินา ๒๐. โลป่ ระกาศเกยี รตคิ ณุ จากสถานโี ทรทศั นพ์ ระพทุ ธศาสนาศรทั ธาทวี ี แหง่ ประเทศศรลี งั กา ๒๑. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากองคก์ ารยวุ พทุ ธสงฆโ์ ลกภาคพนื้ ทวปี ยโุ รป ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ ๒๒. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากศูนย์ปฏบิ ตั ธิ รรมนานาชาตมิ หาโพธิ ประเทศอนิ เดยี ๒๓. โล่ประกาศเกยี รติคุณจากศูนย์พระพทุ ธศาสน์แห่งยูกันดา ประเทศยูกันดา ๒๔. ใบประกาศเกยี รติคุณจากวดั ศรศี ากยสิงห์ ประเทศเนปาล ๒๕. ใบประกาศเกยี รติคณุ จากวัดจารมุ าตวิ หิ าร ประเทศเนปาล ๒๖. โล่และใบประกาศเกียรตคิ ณุ จากมหาวทิ ยาลัยรชิ โช ประเทศญีป่ ุ่น ๒๗. ใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากมหาวทิ ยาลัยพุทธศาสตร์ตังโก ประเทศภูฏาน ๒๘. โล่ประกาศเกยี รติคณุ จากวดั กว่างจี๋ซอ่ื เมอื งจ๋ีหลนิ มณฑลจ๋หี ลิน ประเทศจนี ๒๙. โล่และใบประกาศเกียรติคณุ จากสมาคมพทุ ธศาสตร์เว่ยจ้ง ไต้หวนั 326 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

โลป่ ระกาศเกยี รตคิ ุณ จากสมเด็จพระสังฆนายกสทุ ธานนั ทะ มหาเถโร ประเทศบงั กลาเทศ โล่ประกาศเกยี รติคณุ จากพระเวดารเุ วะ อปุ าลี รองสมเด็จพระสังฆราชสยามโมบาลี ฝ่ายอสั กริ ยิ า ประเทศศรลี งั กา ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 327

โลป่ ระกาศเกียรติคณุ จาก สมเด็จพระอคั รมหาสงั ฆราชาธิบดีเทพวงศ์ ประเทศกัมพชู า (รูปซา้ ย) โดยมสี มเด็จพระมหาอรยิ วงศาเสา จันทอล เปน็ ผแู้ ทนมอบ โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จาก มหาเถรสมาคมประเทศเนปาล (นำ้� หนัก ๗ กิโลกรมั ) ๓๐. ใบประกาศเกียรตคิ ณุ จากสมาคมยวุ พุทธศาสนกิ จนี ไต้หวัน ๓๑. โล่ประกาศเกยี รติคุณจากสมาคมแม่ชเี นปาล ประเทศเนปาล ๓๒. ใบประกาศเกียรตคิ ุณจากประธานาธบิ ดเี บนิกโน อากีโน ท่ี ๓ ประเทศฟิลิปปินส์ ๓๓. ใบประกาศเกียรตคิ ณุ จากอาร์ชบชิ อปลากดามโี อ ประเทศฟิลิปปินส์ ๓๔. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากรฐั สภาประเทศเนปาล ประเทศเนปาล ๓๕. โล่ประกาศเกยี รติคุณจากกระทรวงวฒั นธรรม การท่องเท่ียวและการบนิ พลเรอื น ประเทศเนปาล ๓๖. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากสภาองคก์ รพทุ ธศาสนกิ ชนแหง่ สหพนั ธรฐั ออสเตรเลยี ประเทศ ออสเตรเลยี ๓๗. ใบประกาศเกียรติคุณจากองค์กรศูนย์รวมสมาคมชาวต่างชาติแห่งประเทศบาห์เรน ประเทศบาห์เรน 328 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

โลเ่ กยี รติคุณจาก พระปุ ฺสนโฺ ต ประธานสภาสงฆเ์ ถรวาทแหง่ ประเทศเกาหลี ใบประกาศเกียรตคิ ุณ จากลามะดัมบาจาว วดั ดาชชิ อยลิง รองประธานสงฆ์ประเทศมองโกเลีย ๓๘. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากมูลนธิ นิ พิ พานและสนั ตภิ าพ ประเทศบงั กลาเทศ ๓๙. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากองค์กรพทุ ธจูบาปารชิ าดแห่งบังกลาเทศ ประเทศบังกลาเทศ ๔๐. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากศูนย์วฒั นธรรมชาวพทุ ธแห่งกัมพูชา ประเทศกัมพูชา ๔๑. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากศนู ย์แลกเปลย่ี นวฒั นธรรมไทย-จีน กรุงเซย่ี งไฮ้ ประเทศจนี ๔๒. ใบประกาศเกยี รติคุณจากสถาบนั พทุ ธศาสตร์จนี ประเทศจีน ๔๓. ใบประกาศเกยี รติคณุ จากวดั หลงิ ก่วง ประเทศจนี ๔๔. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากหล่หี ลงอว้ี นกั เขียนพู่กนั จนี ชื่อดงั ประเทศจนี ๔๕. ใบประกาศเกียรติคุณจากสถาบันวัฒนธรรมเครื่องประดับพระพุทธรูปจีนและ วัดเมีย่ วเหยา ประเทศจนี ๔๖. ใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากสถาบนั เพอื่ การพัฒนาปัญญาจิตใต้ส�ำนกึ ประเทศเยอรมนี ๔๗. โล่ประกาศเกยี รติคณุ จากสมาคมศลิ ปินและการศกึ ษาวิชาชวี ติ แห่งฮ่องกง ประเทศจีน ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 329

ใบประกาศเกยี รติคุณจากท่านเบนกิ โน อากีโน ท่ี ๓ ประธานาธิบดีแห่งประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ ถวายโดยนายราฟาเอล เซกูอิส ปลัดกระทรวงต่างประเทศ ๔๘. ใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากมลู นธิ ิและสถาบนั การศกึ ษาไมตรยี ะ ฮ่องกง ประเทศจีน ๔๙. โล่ประกาศเกียรติคุณจากองค์กรพุทธศาสนิกชนเปอร์วากิลันแห่งประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินโดนเี ซยี ๕๐. โล่ประกาศเกยี รตคิ ุณจากสมาคมพทุ ธมหานกิ ายแห่งประเทศอนิ โดนเี ซีย ประเทศ อนิ โดนีเซีย ๕๑. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากศนู ย์กลางศกึ ษาและอบรมชาวพทุ ธเมอื งเตอบิงติงกี สมุ าตรา ประเทศอินโดนเี ซีย ๕๒. ใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากวดั ภฏู านแห่งพทุ ธคยา ประเทศอินเดยี ๕๓. ใบประกาศเกียรตคิ ุณจากสถาบนั จติ วทิ ยาเเละสมาธิ ประเทศอิตาลี ๕๔. ใบประกาศเกียรตคิ ุณจากสมาคมพทุ ธปัญญา ประเทศจาไมกา ๕๕. โล่และใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากศนู ย์แลกเปลย่ี นวฒั นธรรมไทย กรงุ โตเกียว ประเทศญ่ปี ุ่น ๕๖. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากแผนกศกึ ษาธกิ ารและกฬี า แขวงหลวงพระบาง สปป.ลาว ๕๗. ใบประกาศเกียรตคิ ณุ จากสถาบนั บรหิ ารศาสตร์สะหวนั สปป.ลาว ๕๘. ใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากศนู ย์เพ่อื การพฒั นาท้องถ่นิ อนั ย่ังยนื ประเทศมาซิโดเนีย 330 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

ใบประกาศเกยี รติคุณจากอารช์ บชิ อปลากดามีโอ ประเทศฟลิ ปิ ปินส์ มอบโดยบาทหลวงโรแบรโ์ ต มาเซลโิ น จเู นียร์ ๕๙. โล่ประกาศเกยี รติคณุ จากบริษทั F&G แคร์ ระหว่างประเทศ ประเทศมาเลเซยี ๖๐. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากบรษิ ทั ชวน ซิงค์ เซนิ เดอเรียน เบอฮา ประเทศมาเลเซยี ๖๑. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากกลุ่มบริษทั ไออาร์ซี ประเทศมาเลเซยี ๖๒. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากวดั ซหี ลิง ประเทศเมียนมา ๖๓. โลป่ ระกาศเกยี รตคิ ณุ จากสมาคมยวุ พทุ ธศาสนกิ สมั พนั ธแ์ หง่ ประเทศเนปาล ประเทศเนปาล ๖๔. ใบประกาศเกียรตคิ ุณจากสถานโี ทรทัศน์โพธแิ ห่งประเทศเนปาล ประเทศเนปาล ๖๕. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากสมาคมนกั ข่าวแห่งเมอื งลมุ พินี ประเทศเนปาล ๖๖. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากภาควชิ าเทววทิ ยาเเละศาสนาท่วั ไปแห่งมหาวิทยาลัยโอทาโก ประเทศนวิ ซีแลนด์ ๖๗. ใบประกาศเกียรตคิ ณุ จากสถาบนั อกั ขรวทิ ยาและประวตั ภิ าษาศาสตร์แห่งนอร์เวย์ ประเทศนอร์เวย์ ๖๘. ใบประกาศเกียรตคิ ุณจากองค์กรพทุ ธมะละกาและอุดมุ บาระ ประเทศสิงคโปร์ ๖๙. ใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากโรงเรยี นเทนาวาตู หมู่เกาะโซโลมอน ๗๐. โล่ประกาศเกยี รติคุณจากองค์การยวุ พทุ ธศาสนกิ สัมพันธ์แห่งประเทศศรีลังกา ประเทศศรลี ังกา ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 331

รางวัลจากสถานโี ทรทัศน์พระพทุ ธศาสนา Shraddha TV ประเทศศรีลังกา ๗๑. โล่ประกาศเกยี รติคณุ จากวดั พุทธซรู กิ ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ ๗๒. โล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ จากวดั ฝอกวงซนั ไต้หวนั ๗๓. โล่ประกาศเกยี รตคิ ุณจากองค์กรผู้น�ำพทุ ธโลก ประเทศไทย ๗๔. โล่ประกาศเกยี รตคิ ุณจากเปรียญธรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ประเทศไทย ๗๕. โล่ประกาศเกยี รติคุณจากชมรมพทุ ธรักษาจังหวัดยะลา ประเทศไทย ๗๖. โล่ประกาศเกยี รติคุณจากชมรมพทุ ธรักษาจงั หวดั นราธิวาส ประเทศไทย ๗๗. โล่ประกาศเกยี รติคณุ จากสมาคมรกั ความดจี งั หวัดปัตตานี ประเทศไทย ๗๘. ใบประกาศเกยี รติคณุ จากคณะกรรมการพรรครีพับลิกนั ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ๗๙. ใบประกาศเกยี รติคณุ จากสมาคมเพอ่ื การพิทักษ์โบราณคดีอัฟกานสิ ถาน ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ๘๐. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ และจดหมายจากสถาบนั แนะน�ำสขุ ภาพระหว่างประเทศ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ๘๑. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากวทิ ยาลัยศิลปะและวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั วอชิงตนั ประเทศสหรฐั อเมริกา ๘๒. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากสมาคมพทุ ธออสเตรยี ประเทศออสเตรยี ๘๓. ใบประกาศเกยี รติคุณจากเจ้าฟ้า ดร.โมลงิ เกะ อคิ อมเม เดวิด ประเทศแคเมอรูน 332 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากรองสมเดจ็ พระสังฆราชแห่งเชียงตงุ วัดราชฐานหลวงหัวขว่ ง มอบโดยพระสาม อาทิจสยามทิพ ๘๔. ใบประกาศเกยี รติคณุ จากสมาคมพทุ ธแห่งประเทศชิลี ประเทศชิลี ๘๕. จดหมายขอบคณุ จากสังฆสภาแห่งประเทศคองโก ประเทศคองโก ๘๖. ใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากมูลนธิ ลิ ามะกังเชนเพ่อื สนั ติภาพโลก ประเทศอติ าลี ๘๗. ใบประกาศเกยี รติคุณจากสมาคมพทุ ธศาสนิกสัมพันธ์แดนบรสิ ุทธิ์ ประเทศญ่ปี ุ่น ๘๘. ใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากมหาวทิ ยาลยั ดงกุก ประเทศเกาหลี ๘๙. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากกลุ่มสาธยายมนต์ชนิ บัญชร ประเทศมาเลเซยี ๙๐. ใบประกาศเกยี รติคณุ จากศนู ย์ปฏบิ ตั ธิ รรมเถรวาท ประเทศแอฟรกิ าใต้ ๙๑. ใบประกาศเกยี รติคณุ จากองค์การเยาวชนแอฟริกา ประเทศตนู ิเซีย ๙๒. จดหมายขอบคณุ จากวดั ออกซ์ฟอร์ดพทุ ธวหิ าร ประเทศองั กฤษ ๙๓. จดหมายขอบคณุ จากภาควชิ าตะวนั ออกและแอฟริกาศึกษา มหาวทิ ยาลยั ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ๙๔. ใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากสมัชชาสงฆ์ไทยในอเมรกิ า ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ๙๕. ใบประกาศเกยี รติคุณจากสมัชชาพทุ ธศาสนิกแห่งนครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ๙๖. ใบประกาศเกยี รตคิ ุณจากศูนย์ฝึกโยคะฟอร์กโลตสั ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ๙๗. ใบประกาศเกยี รตคิ ณุ จากองค์การมหามานดาล เวลแฟร์ ประเทศบงั กลาเทศ ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 333



๗ และอสนถสุ ารนณทส์่ีสถำ�คานัญมในหวาปดั พชู นระียธาจรารรมยก์ า๗ย แหง่

สถานที่สำ�คญั ในวัดพระธรรมกาย วัดพระธรรมกายมีสถานที่ส�ำคัญหลายแห่ง ซึ่งล้วนก่อสร้างข้ึนโดยอาศัยเงินบริจาคจาก พุทธศาสนิกชนท้ังส้ิน ดังน้ันการก่อสร้างจึงยึดหลัก “ประหยัดสุด ประโยชน์สูง และคงทนถาวร” คอื สรา้ งตามความจำ� เป็น ตอ้ งใชป้ ระโยชนใ์ ห้คมุ้ คา่ ทส่ี ดุ และต้องมคี วามคงทนถาวร จะไดไ้ มส่ น้ิ เปลอื ง คา่ ใชจ้ า่ ยในการซอ่ มแซมบำ� รงุ รกั ษา ทงั้ นเ้ี พอื่ ใหท้ กุ บาททกุ สตางคเ์ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ แกพ่ ระพทุ ธศาสนา สมกบั ความตง้ั ใจของชาวพทุ ธผู้มีศรทั ธาทกุ ท่าน 336 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย



อโุ บสถ (โบสถ์พระไตรปิฎก) อุโบสถวัดพระธรรมกายก่อสร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๐ สถาปตั ยกรรมเปน็ แบบไทยประยกุ ต์ ไดร้ บั รางวลั สถาปตั ยกรรม ดเี ดน่ ประจำ� ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๔๑ จากสมาคมสถาปนกิ สยาม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ อุโบสถหลังนี้เป็นสถานที่บรรพชาอุปสมบทกุลบุตร ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศมาแล้วเป็นจำ� นวนหลายหม่ืน รปู สรา้ งพระภกิ ษสุ บื ทอดพระพทุ ธศาสนาและสรา้ งคนดใี หแ้ ก่ สังคมเป็นจ�ำนวนมาก ปัจจุบันอุโบสถวัดพระธรรมกายสถาปนาเป็นโบสถ์ พระไตรปิฎก มีการประดษิ ฐานประติมากรรมรปู พระไตรปิฎก รอบอุโบสถ รวม ๘ ฉบบั ๕ ภาษา โดยมีพธิ ีเปิดม่านมงคล เมือ่ วนั ท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑ 338 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

พระมหพารเจะดมียหพ์ ารธะรพรุทมธกเจา้ายลเจ้านดพยี ์ระองค์ พระมหาธรรมกายเจดยี ์ พระมหาเจดยี พ์ ระพทุ ธเจ้า ลา้ นพระองค์ เปน็ เจดยี ท์ รงครงึ่ วงกลม ทรงเดยี วกบั สถปู สาญจี ที่ประเทศอินเดีย ก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘ โดยได้รับ การออกแบบใหค้ งอยไู่ มต่ ำ�่ กวา่ ๑,๐๐๐ ปี บนเจดยี ป์ ระดษิ ฐาน พระธรรมกายประจ�ำตัว ๓๐๐,๐๐๐ องค์ ภายในพระเจดีย์ ประดิษฐานพระธรรมกายประจำ� ตวั ๗๐๐,๐๐๐ องค์ บริเวณ รอบพระมหาธรรมกายเจดยี ์มี “ลานธรรม” ใช้เป็นท่ปี ระกอบ ศาสนพิธีในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา รองรับสาธุชนได้ ๔๐๐,๐๐๐ คน เรียนเชิญบูชาพระมหาธรรมกายเจดีย์ได้ทุกวัน ในเวลา ๐๕.๕๐ น. และ ๑๗.๕๐ น. ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 339

มหารัตนวิหารคด มหารตั นวหิ ารคดเปน็ อาคารขนาดใหญ่ ๒ ชน้ั สรา้ ง ขน้ึ รอบลานธรรมพระมหาธรรมกายเจดยี ์ เรมิ่ กอ่ สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๔๗ เพอ่ื เปน็ ศนู ยร์ วมพระภกิ ษแุ ละพทุ ธศาสนกิ ชนทจี่ ะมา ปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ รว่ มกนั ในโอกาสสำ� คญั และเพอื่ รองรบั กจิ กรรม ต่าง ๆ ของพระศาสนา มหารตั นวหิ ารคดรองรบั สาธชุ นได้ ๖๐๐,๐๐๐ คน เมื่อรวมกบั ลานธรรมสามารถรองรบั ได้ถึง ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน ที่ผ่านมา มหารัตนวิหารคดใช้เป็นท่ีจัดงานส�ำคัญ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อพระศาสนาและสังคม อาทิ พิธีถวาย ไทยธรรม ๓๐,๐๐๐ วดั กจิ กรรมรวมพลงั เดก็ ดี V-Star เป็นตน้ ในปัจจุบัน นอกจากเป็นสถานที่ท�ำกิจกรรมต่าง ๆ หลาย กิจกรรมแล้ว มหารัตนวิหารคดยังเป็นสถานท่ีสวดธรรมจักร ในโครงการสวดมนต์บทธมั มจกั กปั ปวตั นสตู ร ๒๔ น. อกี ด้วย 340 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

มหาวิหารพระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺ สโร) มหาวิหารพระมงคลเทพมุนีเป็นสถานท่ีประดิษฐานรูปหล่อทองค�ำของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้�ำ ภาษีเจริญ เร่ิมก่อสร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๙ เพื่อร�ำลึกถึงพระคุณ อนั ยงิ่ ใหญ่ของพระมงคลเทพมนุ ี ท่ีสละชวี ติ ค้นพบวิชชาธรรมกายของพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้ากลับคืนมา มหาวิหารพระมงคลเทพมุนีเปิดให้เข้าสักการะรูปหล่อทองค�ำพระมงคลเทพมุนีในวันอาทิตย์ เวลา ๑๑.๐๐ น. - ๑๒.๓๐ น. ผู้เข้าสกั การะกรุณาแต่งกายชุดขาวล้วน ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 341

มหาวหิ ารคุณยายอาจารย์มหารตั นอบุ าสิกาจนั ทร์ ขนนกยูง เร่มิ ก่อสร้างเมือ่ พ.ศ. ๒๕๔๕ เพื่อแสดงความกตญั ญูกตเวทตี ่อคณุ ยายอาจารย์ฯ และเพื่อ ประกาศเกียรติคุณของท่านที่มีต่อพระพุทธศาสนาและชาวโลก ภายในมหาวิหารมีห้องหยกเป็นท่ี ประดษิ ฐานมหารตั นอัฐธิ าตแุ ละรปู หล่อทองค�ำของคุณยายอาจารย์ฯ 342 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

หอฉนั คุณยายอาจารย์มหารตั นอบุ าสกิ าจันทร์ ขนนกยงู เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๖ เพ่ือเป็นสถานท่ีฉันภัตตาหารของพระภิกษุสามเณร รองรับ พระภกิ ษสุ ามเณรได้ ๖,๐๐๐ รปู สาธชุ นทา่ นใดตอ้ งการสรา้ งบญุ ใหญด่ ว้ ยการถวายภตั ตาหารแดพ่ ระภกิ ษสุ ามเณรครงั้ ละนบั พนั รปู เรียนเชญิ ทห่ี อฉนั คณุ ยายอาจารย์ฯ เวลาประมาณ ๐๖.๓๐ น. และ ๑๐.๓๐ น. วนั จนั ทร์ - วนั เสาร์ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 343

อาคาร ๑๐๐ ปี คณุ ยายอาจารย์มหารตั นอบุ าสกิ าจันทร์ ขนนกยูง อาคาร ๑๐๐ ปี คณุ ยายอาจารย์ฯ เป็นอาคารทรงกลมขนาดใหญ่ สร้างเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๕๒ เพ่อื เป็นมหานสุ รณ์แด่คณุ ยายอาจารย์มหารตั นอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ผู้ให้กำ� เนิดวัดพระธรรมกาย อาคารหลังนี้เป็นศูนย์กลางด�ำเนินงานอบรมศีลธรรมแก่ผู้คนในสังคมไทยและเป็นสถานที่ สรา้ งงานเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา วชิ ชาธรรมกาย ไปทวั่ โลก ซง่ึ จะชว่ ยสรา้ งความแขง็ แกรง่ แกพ่ ระพทุ ธศาสนา และนำ� ธรรมะไปสู่ชาวโลกได้อย่างรวดเรว็ มีประสทิ ธภิ าพ 344 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

สภาธรรมกายสากล เร่ิมก่อสร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๙ เพ่ือรองรับสาธุชนท่ีมาปฏิบัติธรรมจ�ำนวนมากในงานบุญ วันอาทิตย์และวันงานบุญใหญ่ เน่ืองจากสภาธรรมกายสากลหลังเก่า (มุงจาก) ซ่ึงเป็นอาคารช่ัวคราว รองรบั สาธุชนได้แค่หมน่ื กว่าคนเท่าน้นั ทำ� ให้สาธชุ นจ�ำนวนมากต้องน่งั ตากแดดตากฝนปฏิบตั ธิ รรมอยู่ กลางแจง้ จงึ สรา้ งสภาธรรมกายสากลหลงั ปจั จบุ นั ขนึ้ มา ซงึ่ สามารถรองรบั สาธชุ นไดถ้ งึ ๓๐๐,๐๐๐ คน เรยี นเชญิ ปฏบิ ัตธิ รรมร่วมกนั ทกุ วันอาทติ ย์ เวลา ๐๙.๓๐ น. - ๑๑.๐๐ น. และ ๑๓.๓๐ น. - ๑๕.๓๐ น. ทส่ี ภาธรรมกายสากล ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 345

อนสุ รณส์ ถานมหาปูชนยี าจารยท์ ง้ั ๗ แห่ง อนุสรณ์สถานมหาปูชนียาจารย์ทั้ง ๗ แห่ง ตั้งอยู่บนเส้นทางพระผู้ปราบมาร ซ่ึงหมายถึง เส้นทางท่นี �ำไปสู่สถานทส่ี �ำคญั ทเ่ี ก่ยี วเนื่องกับชวี ติ ของพระผู้ปราบมาร พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน�้ำ ภาษีเจริญ โดยเชื่อมโยงไปยังสถานที่ส�ำคัญทั้ง ๗ แห่ง ได้แก่ สถานที่เกิดด้วย รูปกายเนื้อ, สถานท่ีตั้งมโนปณิธานบวชตลอดชีวิต, สถานที่เกิดใหม่ในเพศสมณะ, สถานท่ีเกิดใหม่ ด้วยกายธรรม, สถานที่เผยแผ่วิชชาธรรมกายคร้ังแรก, สถานที่ค้นคว้าและเผยแผ่วิชชาธรรมกาย และ สถานท่ขี ยายวิชชาธรรมกาย 346 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

สถานท่เี กิดด้วยรูปกายเนอ้ื หลวงปู่วัดปากนำ้� ภาษีเจริญ พระผู้ปราบมาร ถอื กำ� เนิดบนแผ่นดนิ รปู ดอกบวั หรอื ท่เี รียกกัน ว่า Lotus Land ในอ�ำเภอสองพ่นี ้อง จงั หวัดสพุ รรณบุรี ปัจจุบันคณะศิษยานุศษิ ย์ของหลวงปู่ นำ� โดย หลวงพ่อธมั มชโย ร่วมกนั สร้างอนสุ รณ์สถานมหาวหิ ารพระมงคลเทพมนุ ี (สด จนฺทสโร) ไว้บนแผ่นดนิ รูปดอกบัว ซ่ึงเป็นท่ีตั้งบ้านเกิดของท่าน และอัญเชิญรูปหล่อทองค�ำพระมงคลเทพมุนีไปประดิษฐาน ภายในมหาวหิ าร ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 347

สถานทตี่ ้งั มโนปณธิ านบวชตลอดชวี ิต ในอนาคตคณะศษิ ยานศุ ษิ ยข์ องหลวงปจู่ ะรว่ มกนั สรา้ งมหาวหิ ารพระมงคลเทพมนุ ี (สด จนทฺ สโร) บนที่ดินริมคลองบางนางแท่น อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม และจะอัญเชิญรูปหล่อทองค�ำ พระมงคลเทพมุนีไปประดิษฐานภายในมหาวิหาร เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งการต้ังมโนปณิธานของหลวงปู่ ขณะล่องเรอื ค้าข้าวอยู่ในคลองแห่งน้ี เมื่อคร้ังอายเุ พียง ๑๙ ปี ว่า “ถ้าบวชแล้วไม่สึกจนตลอดชีวติ ” 348 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย