Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 48Year dhammakaya temple

Description: 48Year dhammakaya temple

Search

Read the Text Version

คำ�น�ำ “๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย : MISSIONS FOR PEACE (ปฏบิ ัตกิ ารเพ่อื สันตภิ าพ)” เป็น หนังสือเล่มหน่ึงในบรรณพิภพ ท่ีรวบรวมเร่ืองราวและผลงานของหมู่คณะวัดพระธรรมกายไว้นับ หมืน่ โครงการ ซง่ึ แต่ละโครงการล้วนมคี ุณปู การต่อพระพทุ ธศาสนา และเป็นไปเพ่ือการสร้างสรรค์ สังคม ประเทศชาติ รวมทั้งโลกใบน้ีให้สงบร่มเย็น โดยเร่ิมจากการสร้างสันติสุขภายใน ด้วยการท�ำสมาธิภาวนา ซึง่ เป็นวธิ เี ดยี วทจี่ ะนำ� สนั ตภิ าพมาสู่โลกน้ไี ด้อย่างแท้จรงิ ดังนั้นโครงการ ส่วนใหญ่ของวัดพระธรรมกาย ซึ่งมีหลวงพ่อธัมมชโยเป็นผู้น�ำในการสร้างบารมี จึงล้วนบรรจุ การทำ� สมาธไิ วเ้ ปน็ กจิ กรรมหนง่ึ ในโครงการ ไมเ่ วน้ แมก้ ระทงั่ โครงการสรา้ งศาสนสถาน กส็ รา้ งขน้ึ มา เพ่ือรองรบั และเป็นศนู ย์รวมของการทำ� สมาธปิ ฏบิ ัติธรรมเช่นกัน ในวาระครบ ๔ รอบของการก่อต้ังวัดนี้ คณะผู้จัดท�ำได้น�ำโครงการทั้งหลายมารวบรวมไว้ เพื่อเป็นประวัติศาสตร์แห่งการสร้างบารมีของหมู่คณะวัดพระธรรมกาย แต่เน่ืองจากโครงการ มีอยู่เป็นจ�ำนวนมาก จงึ นำ� มาจดั ทำ� ในรูปแบบก่งึ จดหมายเหตุ โดยบรรจโุ ครงการต่าง ๆ ไว้ใน ๓ บทหลัก คือ บทท่ี ๒ เปน็ บนั ทกึ เหตกุ ารณส์ ำ� คญั ตง้ั แตเ่ รม่ิ สรา้ งวดั มาจนกระทง่ั ปจั จบุ นั เพอ่ื ความสะดวกของผอู้ า่ นทต่ี อ้ งการสบื คน้ ขอ้ มลู แบบเรยี งเหตกุ ารณต์ ามปพี ทุ ธศกั ราช บทที่ ๓ รวบรวมโครงการไวเ้ ปน็ หมวดหมู่ สำ� หรบั ผตู้ อ้ งการสบื คน้ ตามลกั ษณะของโครงการ สว่ นบทท่ี ๔ นน้ั มกี ารลงรายละเอยี ดเพอื่ ใหเ้ หน็ ภาพรวมของแตล่ ะโครงการชดั เจนขนึ้ อนึ่ง โครงการท้ังหลายน้ีจะเกิดข้ึนไม่ได้เลย ถ้าปราศจากความศรัทธา ความร่วมมือ และ ความเสียสละของพุทธศาสนิกชนผู้ใจบุญ ดังนั้นทุกอณูของวัดพระธรรมกายและทุกโครงการ จึงไม่ใช่ผลงานของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นของเราทุกคน ดังท่ีหลวงพ่อธัมมชโยเคยกล่าวไว้ว่า “ผลบญุ เป็นของทกุ ท่าน ผลงานเป็นของทกุ คน” หนงั สอื “๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย : MISSIONS FOR PEACE (ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ สนั ตภิ าพ)” ในอีกแง่หนึ่งจึงเป็นเสมือนบันทึกการทำ� ความดีของลูกหลวงพ่อทุกรูปทุกคน ซึ่งหากใครเปิดอ่าน แลว้ พบโครงการทตี่ นมสี ว่ นรว่ มอยดู่ ว้ ย กจ็ ะไดเ้ หน็ ประวตั ศิ าสตรช์ วี ติ ของตนโลดแลน่ อยใู่ นเหตกุ ารณ์ และจะเกดิ ความปตี ภิ าคภมู ใิ จเปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ “ตวั เรากค็ อื ผสู้ รา้ งความสำ� เรจ็ ของวดั พระธรรมกาย ด้วยเหมอื นกัน” คณะผู้จดั ท�ำ ๒๔ กนั ยายน ๒๕๖๑ 2 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

สารบัญ ๒ ๕ คำ�นำ� ๗ โอวาทพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ๙ โอวาทหลวงพ่อธัมมชโย ๑๑ โอวาทหลวงพ่อทัตตชีโว ๑๓ คำ�ปรารภพระครูสังฆรักษ์รังสฤษดิ์ อิทฺธิจินฺตโก เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ๑๔ โอวาทคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยงู ๑๖ ปฐมบท ๒๒ • ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย ด้วยรัก ด้วยศรัทธา ด้วยปณิธาน ๒๔ • โครงสร้างวัดพระธรรมกายภายใต้การปกครองของการคณะสงฆ์ ๒๖ • มหาปูชนียาจารย์ ๓๒ - พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ๓๔ - คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาทองสุข สำ�แดงปั้น ๓๘ - คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยงู ๔๑ • หลวงพ่อธัมมชโย ผู้นำ�ในการสร้างบารมีของหมู่คณะวัดพระธรรมกาย ๑๘๗ ๒ ๔๘ ปี ที่ยาวนานกับการสร้างวัด สร้างพระ สร้างคน ๒๒๓ ๓ ร้อยดวงใจ หมื่นโครงการ ล้านความดี ๒๘๗ ๔ ธรรมดี ธรรมเด่น ๓๒๑ ๕ บุคลากรทางการศึกษาของวัดพระธรรมกาย ผลจากการส่งเสริม ๓๓๕ การศึกษา “ธรรมและวินัย” ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๓๕๔ ๖ จากผลงานสู่รางวัลอันทรงเกียรติระดับนานาชาติ ๓๖๔ ๗ สถานที่สำ�คัญในวัดพระธรรมกาย และอนุสรณ์สถานมหาปูชนียาจารย์ ๗ แห่ง ภาคผนวก รายนามเจ้าภาพ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 3



โอวาทพผระคู้ ม้นงพคบลวเทชิ พชามธนุ รีร(มสกดายจนฺทสโร) “เมื่อให้ความเจริญแกพ่ ระพุทธศาสนาแลว้ ความเจรญิ ก็หันเขา้ ส่ตู วั ” ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 5

“โครงการท่ตี ั้งข้นึ ส่วนใหญม่ ีจดุ ประสงคใ์ หเ้ ขาปฏบิ ัตธิ รรม”

โอวาทหลวงพอ่ ธมั มชโย วันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ความปรารถนาของหลวงพ่อ คือ ตั้งใจ อยากจะใหท้ กุ คนไดม้ านง่ั สมาธิ ไดเ้ ขา้ ถงึ ธรรม อยาก ให้เขาเข้าถงึ พระรัตนตรยั ในตวั ซ่งึ ยังไม่สมหวงั เลย ที่สร้างศาสนสถานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น พระมหาธรรมกายเจดีย์ มหารัตนวิหารคด สภาธรรมกายสากล มหาวิหารพระมงคลเทพมุนี หรือ จดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ กเ็ พอ่ื วตั ถปุ ระสงคน์ ี้ คอื จะใหเ้ ปน็ จดุ รวมของผมู้ บี ญุ ไดม้ าประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรมรว่ มกนั เพราะจู่ ๆ จะชวนเขาให้มานงั่ หลับตา เขากย็ งั ไม่เห็นประโยชน์ มกั จะบอกว่าไม่มีเวลาบ้าง ไม่ว่างบ้าง คอยให้พร้อมก่อนบ้าง ดเู หมือนจะเป็นสูตรส�ำเรจ็ เลย ไปทีไ่ หนก็จะได้ยินอย่างนี้ หลวงพ่อ ก็ต้องมองหาโครงการที่จะรวมผู้มีบุญให้มารวมกัน เพื่อกระตุ้นให้เกิดความตื่นตัวในการประพฤติ ปฏบิ ตั ธิ รรมใหเ้ ขา้ ถงึ พระธรรมกาย กต็ อ้ งหาสงิ่ ทเี่ ขาสามารถทำ� กนั งา่ ย ๆ กอ่ น ไมอ่ ยา่ งนนั้ กจ็ ะถกู ครอบงำ� ด้วยการท�ำมาหากนิ การสนกุ สนานเพลดิ เพลิน จนกระท่งั มองไม่เห็นการสร้างบารมี โครงการทตี่ ง้ั ขนึ้ สว่ นใหญม่ จี ดุ ประสงคใ์ หเ้ ขาปฏบิ ตั ธิ รรม โดยเรม่ิ จากการสรา้ งมหาทานบารมี กอ่ น ซงึ่ เขาจะมคี วามรสู้ กึ วา่ งา่ ย และพอมาถงึ วดั แลว้ เขาจะไดร้ บั การแนะนำ� เรอื่ งการรกั ษาศลี ไดฟ้ งั ธรรม จากพระไตรปฎิ กซง่ึ เปน็ สงิ่ ทคี่ วรรู้ และทสี่ ำ� คญั คอื การปฏบิ ตั ธิ รรม ทจ่ี ะใหเ้ ขา้ ถงึ พระธรรมกาย ใหเ้ ขารวู้ า่ ในตวั มพี ระธรรมกายอยู่ เปน็ ทพ่ี งึ่ ทรี่ ะลกึ อนั สงู สดุ สงิ่ อน่ื ไมใ่ ช่ และเปน็ ทร่ี วมแหง่ ความปรารถนาทท่ี กุ คน กำ� ลงั แสวงหา ซง่ึ รวมประชมุ อยู่ท่พี ระธรรมกายในตวั ไม่ได้อยู่ท่ไี หนเลย เขาจะได้รับความรู้ตรงนีก้ ัน ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 7



โอวาทหลวงพ่อทตั ตชโี ว วันท่ี ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ วดั พระธรรมกายถือกำ� เนดิ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๓ โดยคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ผู้ให้กำ� เนิด ได้ให้หลกั การในการสร้างไว้ ๓ ประการว่า เราจะ “สรา้ งวดั ใหเ้ ปน็ วดั สรา้ งพระใหเ้ ปน็ พระแท้ สรา้ ง คนให้เป็นคนดีท่ีโลกต้องการ” นอกจากให้หลักการทั้ง ๓ ประการนแี้ ลว้ ทา่ นยงั ใหว้ ธิ กี ารในการสรา้ งทเ่ี ปน็ หวั ใจ แหง่ ความสำ� เรจ็ ไวอ้ กี ดว้ ย วธิ กี ารนนั้ กค็ อื “ความสะอาด ความมีระเบียบ” โดยท่านน�ำท�ำให้ดูด้วยตนเอง เพื่อ ยืนยันว่า แม้มีทุนเริ่มต้นสร้างวัดเพียง ๓,๒๐๐ บาท ก็สร้างวัดได้ส�ำเร็จ เพราะพระแท้และคนดีท่ีท่านฝึก รอท่าไว้ก่อนแล้วเพ่ือรองรับงานสร้างวัดน้ี แต่ละรูป แต่ละคนล้วนมีคุณค่ามากกว่าเงิน เพียงไม่กี่ปีต่อมา วัดพระธรรมกายก็สร้างส�ำเร็จตามหลักการและวิธีการ ของคณุ ยายอาจารย์ฯ จรงิ ๆ เม่ือสร้างวัดเสร็จแล้ว คุณยายอาจารย์ฯ ยังได้ให้หลกั การเผยแผ่ไว้อกี ว่า “มีใครมาร้อย เล้ียงทัง้ ร้อย มใี ครมาล้าน เล้ียงทง้ั ล้าน” “มใี ครมาร้อย ฝึกให้เป็นเจ้าหน้าท่ที ง้ั ร้อย มใี ครมาล้าน ฝึกให้เป็นเจ้าหน้าทท่ี ง้ั ล้าน” หลักแม่บทวธิ กี ารฝึกของท่านทีว่ ่า “ความสะอาด ความมรี ะเบยี บ” ก็คอื ๑. ไมว่ า่ จะทำ� งานใด ๆ กต็ าม ผปู้ ฏบิ ตั จิ ะตอ้ งมคี วามสะอาดกาย วาจา ใจ ตลอดเวลา ถา้ ใคร ยงั ไม่มกี ็ต้องท�ำให้มขี ึน้ ๒. ท�ำงานไปก็จัดระเบียบวิธีการท�ำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนควบคู่กันไป การงานจึงไม่สับสน ก่อเกดิ เป็นความสะดวก รวดเรว็ รอบคอบ รดั กุม และปลอดภยั แก่ผู้ปฏิบตั ิ คณุ ภาพงานออกมาก็จะสงู การน�ำฝึกของคุณยายอาจารย์ฯ ได้ทำ� อย่างเป็นขน้ั ตอน คอื ไม่ว่าเราจะท�ำงานใด ๆ จะต้อง ๑) มสี ติ ไม่เผลอ ๒) สังเกตพจิ ารณาตลอดเวลา ๓) ท�ำถูกทั้งหลักธรรมและวิชาการ และ ๔) มคี วาม ปลมื้ ใจ เพราะเหน็ บญุ ทเ่ี กดิ จากงานและการฝกึ ตวั ใหม้ นี สิ ยั ดขี องตนเอง ด้วยกระบวนการทง้ั ๔ ขนั้ ตอน ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 9

นี้เอง ความสะอาด ความมรี ะเบียบ จงึ เกดิ ทั้งทางกาย วาจา ใจ เพราะเป็นการท�ำงานด้วยใจที่ใส ๆ แม้ล้างจานไป กล็ ้างใจไปด้วย ขดั ห้องสขุ าไป กข็ ัดกิเลสออกจากใจไปด้วย การปฏิบัติงานด้วยวิธีการ ๔ เช่นน้ี จึงจะได้ชื่อว่า “สะอาด ระเบียบ” ตามหลักการและ วธิ กี ารของคณุ ยายอาจารย์ฯ ความสะอาด มรี ะเบยี บทง้ั ทางกาย วาจา และใจนเ้ี อง ไดก้ อ่ เกดิ เปน็ สำ� นกึ แหง่ ความรบั ผดิ ชอบ ทงั้ ตอ่ ตนเอง ตอ่ วดั ทเ่ี ราใชส้ รา้ งบารมี ตอ่ เพอื่ นสหธรรมกิ รว่ มสรา้ งบารมดี ว้ ยกนั และตอ่ พระพทุ ธศาสนา วชิ ชาธรรมกาย ไปพร้อม ๆ กนั เพราะวัดพระธรรมกายใช้หลักการและวิธีการดังกล่าวมาน้ี จึงเติบโตงอกงามอย่างรวดเร็ว สามารถขยายงานพระพุทธศาสนา วิชชาธรรมกาย ไปได้อย่างกว้างไกล แม้มีผู้ไม่เข้าใจโจมตีให้ร้าย กส็ ามารถฝา่ ไปไดอ้ ยา่ งดดี ว้ ยการใชส้ นั ตวิ ธิ ที มี่ าจากกาย วาจา ใจทส่ี ะอาด มรี ะเบยี บ เปย่ี มดว้ ยเมตตาจติ กรณุ าจติ และสตปิ ัญญา หลักการและวิธีการของคุณยายอาจารย์ฯ ทั้งหมดนี้มีที่มาจากพระไตรปิฎก แต่เราชาวพุทธ ท่ัวไปมองข้ามละเลย ไม่ให้ความส�ำคัญ คุณยายอาจารย์ฯ แม้ท่านอ่านหนังสือไม่ออก เขียนไม่ได้ แต่นั่นไม่ใช่อุปสรรคที่จะมาบดบังดวงปัญญาอันบริสุทธ์ิของท่าน ท่านได้ใช้พระไตรปิฎกฉบับภายใน ศูนย์กลางกายมาสรปุ เป็นแม่บทหลกั ปฏิบัติให้แก่พวกเราตราบถงึ ปัจจบุ ัน ๔๘ ปีของวัดพระธรรมกาย จึงเป็นประจักษ์พยานแห่ง “ความสะอาด ความมีระเบียบ” ท่ี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ได้มอบแก่ชาวโลก ว่าเป็นสิ่งท่ีดีจริง พิสูจน์ได้จริง ใคร ๆ กป็ ฏบิ ตั ไิ ด้จริง และท�ำให้เกดิ ความส�ำเรจ็ ได้จรงิ ในทกุ ๆ งาน ในฐานะท่ีเราซ่ึงเป็นลูกหลานคุณยายอาจารย์ฯ มีหน้าท่ีต้องน�ำวิชชาธรรมกายไปเผยแผ่ ทั่วโลก ก็จ�ำต้องน�ำความสะอาดและความมีระเบียบมาฝึกหัดขัดเกลาตัวเองและหมู่คณะให้เคร่งครัด ยงิ่ ๆ ขนึ้ ไป ทง้ั ยงั ตอ้ งชกั ชวนชาวโลกทง้ั หลายใหม้ ารว่ มปฏบิ ตั คิ วามสะอาด ความมรี ะเบยี บ ใหก้ วา้ งไกล ไปทั่วโลกอีกด้วย พร้อมกับสรรเสริญคุณค่าของความสะอาดและความมีระเบียบให้เกริกก้องต่อไป ไม่ช้าวชิ ชาธรรมกายย่อมขยายไปท่วั โลกได้แน่นอน 10 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

ค�ำปรารภ พระครสู ังฆรักษร์ ังสฤษด์ิ อทิ ฺธิจนิ ฺตโก เจา้ อาวาสวดั พระธรรมกาย วันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ๔๘ ปี วัดพระธรรมกายน้ี เป็นหนงั สือทรี่ วบรวมผลงานอันเป็นคุณูปการต่อพระพทุ ธศาสนา อย่างย่ิง ในฐานะวัดในพระพุทธศาสนาท่ีเผยแผ่พระธรรมค�ำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปทั่วโลก ภายใต้การน�ำของหลวงพ่อธมั มชโย โดยมพี ระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสกิ า สาธชุ นทง้ั หลาย ท่ไี ด้ รว่ มแรงร่วมใจกนั สบื สานมโนปณธิ าน ๓ ประการ ในการสร้างวดั พระธรรมกาย อนั ได้แก่ สร้างวดั ใหเ้ ป็น วัดที่ดี สร้างพระให้เป็นพระแท้ และสร้างคนให้เป็นคนดที ่โี ลกต้องการ ซึง่ ได้ท�ำมาตลอด ๔๘ ปี ตั้งแต่ เริม่ สร้างวดั จนกระท่งั ปัจจบุ ัน อยากจะบอกว่า หากใครได้อ่านหนังสอื เล่มนี้ เขาจะได้รู้จกั วัดพระธรรมกายอย่างแท้จรงิ ... ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 11



โอวาทคุณยายอาจารย์ มหารตั นอบุ าสิกาจันทร์ ขนนกยงู วันท่ี ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ยายเริ่มต้นจากไม่มีอะไร แต่ยายรักความสะอาด รักสะอาดมาตั้งแต่ไหนแต่ไร ยายรบ จนกระทง่ั ทน่ี ่ี (ศนู ยพ์ ทุ ธจกั รปฏบิ ตั ธิ รรม) สะอาด ท�ำใหค้ นศรทั ธาเลอ่ื มใส ท�ำใหท้ น่ี เ่ี ปน็ หลกั ชยั เปน็ ที่ ปฏบิ ตั ธิ รรมได้ ฉะนั้นอย่าท้งิ เรอื่ งความสะอาดที่ยายพยายามรบมานะ

ปฐมบท



ดว้ ย๔รัก๘ดป้วี ยวศัดรพัทรธะาธรดร้วมยกปาณยธิ าน 16 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

เม่ือ ๔๘ ปีที่ผ่านมา คณะศิษยานุศิษย์ของ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺ สโร) หลวงปู่วดั ปากน้�ำ ภาษเี จรญิ นำ� โดย คุณยายอาจารย์มหารตั นอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ตัดสินใจท�ำส่ิงท่ีทรงคุณค่าฝากไว้เป็นสมบัติของพระศาสนา คือ ร่วมกันสร้างวัดเพื่อเผยแผ่พระพุทธ- ศาสนา สืบทอดวิชชาธรรมกาย โดยมีแรงบันดาลใจมาจากค�ำสั่งของพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ ที่ให้ไว้ กอ่ นมรณภาพวา่ ใหช้ ว่ ยกนั เผยแผว่ ชิ ชาธรรมกายไปทวั่ โลก มนษุ ยท์ กุ คนจะไดม้ โี อกาสเขา้ ถงึ สนั ตสิ ขุ ภายใน ส�ำหรับจุดก�ำเนิดท่ีแท้จริงของวัดพระธรรมกายน้ัน อาจกล่าวได้ว่าเร่ิมต้ังแต่ นายไชยบูลย์ สุทธิผล นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไปฝากตัวเป็นศิษย์คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ทว่ี ัดปากน้�ำ ภาษเี จริญ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๖ ช่วงเวลาท่ีคุณยายอาจารย์ฯ สอนวิชชาธรรมกายแก่ศิษย์ผู้นี้ เป็นช่วงท่ีส�ำคัญอย่างย่ิงของ หมู่คณะวัดพระธรรมกาย เพราะนอกจากเป็นการรักษาวิชชาธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่ี พระเดชพระคณุ หลวงปู่ฯ ค้นพบให้สบื ทอดต่อมายังอนชุ นรุ่นหลังได้ส�ำเร็จแล้ว ยงั เป็นการสร้างต้นแบบ และผู้น�ำในการสร้างบารมแี ก่หมู่คณะอกี ด้วย ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 17

ต่อมา ศิษย์ผู้น้ีบรรพชาอปุ สมบทเป็นพระภกิ ษใุ นวันท่ี ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ได้รบั ฉายา ว่า “ธมมฺ ชโย” ในวันรุ่งข้ึนนับจากหลวงพ่อธัมมชโยบวช ความคิดท่ีจะสร้างวัดอย่างจริงจังก็บังเกิดข้ึน และ ในวันท่ี ๒๐ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๑๓ (วนั มาฆบูชา) การขดุ ดินก้อนแรกเพอื่ สร้างวัดได้เร่ิมขึ้นบนท่ีดิน ทไี่ ดร้ บั บรจิ าคจากคณุ หญงิ ประหยดั แพทยพงศาวสิ ทุ ธาธบิ ดี จำ� นวน ๑๙๖ ไร่ ซงึ่ ในช่วงนนั้ ใช้ช่ือว่า “ศูนย์พทุ ธจกั รปฏบิ ตั ิธรรม” ในครั้งน้ัน นายเผด็จ ผ่องสวัสด์ิ (ปัจจุบันคือหลวงพ่อทัตตชีโว) บัณฑิตสาขาสัตวบาล จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นบุคคลแรกที่อาสามาดูแลผืนดินแห่งน้ี และรับหน้าท่ีควบคุม การก่อสร้างด้วย ในยุคแรกของการสร้างวัดมีหมู่คณะรุ่นบุกเบิกเพียงไม่ก่ีท่าน แต่เนื่องจากทุกท่านตั้งใจอุทิศ ชวี ติ มาเพอ่ื ทำ� งานรบั ใชพ้ ระพทุ ธศาสนา ดงั นนั้ แมม้ ปี ญั หาหรอื อปุ สรรคมากมายเพยี งใด กส็ ามารถฟนั ฝา่ มาได้ จนกระทั่งศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรมเป็นรูปเป็นร่างข้ึน และในวันท่ี ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๘ หลวงพ่อธัมมชโยพร้อมด้วยคุณยายอาจารย์ฯ ก็น�ำคณะศิษยานุศิษย์ท่ีไปเรียนธรรมปฏิบัติกับท่าน 18 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

ท่ีบ้านธรรมประสิทธ์ิในวัดปากน้�ำ ภาษีเจริญ ย้ายมาปฏิบัติธรรมร่วมกันท่ีศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรม และเร่ิมงานเผยแผ่พระพุทธศาสนา วิชชาธรรมกาย อย่างจริงจัง โดยเน้น “การท�ำสมาธิ” เป็นหลัก ในการเผยแผ่ ซ่ึงปรากฏว่าเมื่อสาธุชนได้รับความสุขจากการปฏิบัติธรรม ก็พากันชักชวนหมู่ญาติและ มติ รสหายมาปฏบิ ตั ิธรรมเพม่ิ มากขน้ึ วันท่ี ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ ศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรมได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัด โดยสมบูรณ์ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ปลายปีนั้นจึงเริ่มการก่อสร้างอุโบสถ และเปล่ียนช่ือ เป็น “วัดวรณีธรรมกายาราม” เพื่อเป็นเกียรติแก่คุณวรณี สุนทรเวช บุตรสาวของคุณหญิงประหยัด แพทยพงศาวิสุทธาธิบดี ผู้บริจาคท่ีดิน และในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดพระธรรมกาย” เพื่อให้สอดคล้องกบั งานเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาและการฝึกสมาธิเพอื่ ให้เข้าถึงพระธรรมกาย ตลอดระยะเวลานบั ตงั้ แต่ยังเป็นศนู ย์พุทธจกั รปฏบิ ตั ิธรรมมาจนถงึ ปัจจุบัน วดั พระธรรมกาย ใช้วธิ ีสร้างวดั ไปพร้อม ๆ กับสร้างพระและสร้างคน ตามแนวคดิ “สร้างวัดให้เป็นวดั สร้างพระให้เป็น พระแท้ และสร้างคนให้เป็นคนดี” โดยจัดท�ำโครงการต่าง ๆ เป็นจ�ำนวนมาก ท้ังโครงการ “สร้างวัด สร้างพระ และสร้างคน” อาทิ โครงการสร้างอโุ บสถและอาคารสถานทร่ี องรับผู้มาปฏิบัตธิ รรม โครงการ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 19

บรรพชาอปุ สมบท โครงการตอบปญั หาธรรมะ “ทางกา้ วหนา้ ” โครงการเผยแผธ่ รรมะ ๒๔ ชวั่ โมงถา่ ยทอด ผา่ นดาวเทยี ม โครงการปฏบิ ตั ธิ รรมสาธชุ น ๗ วนั โครงการธดุ งคส์ ดุ สปั ดาห์ โครงการปฏบิ ตั ธิ รรมสาธชุ น ทุกวันอาทติ ย์ ฯลฯ โครงการต่าง ๆ ของวัดพระธรรมกายหล่อหลอมให้สาธุชนบังเกิดสัมมาทิฐิ เห็นคุณค่าใน พระธรรมค�ำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเกิดความรักความศรัทธาในพระพุทธศาสนายิ่งขึ้น นอกจากนกี้ ารไดร้ บั ความสขุ ภายในจากการปฏบิ ตั ธิ รรม ยงั ทำ� ใหส้ าธชุ นทง้ั หลายมคี วามเขา้ ใจและซาบซงึ้ ในมโนปณธิ านของพระเดชพระคณุ หลวงปู่ฯ ทต่ี ้องการให้ชาวโลกเข้าถงึ พระธรรมกายมากยง่ิ ขน้ึ ดังน้ัน หลายท่านท่ีเคยเป็นชาวพุทธแค่ในทะเบียนบ้าน จึงเกิดความภาคภูมิใจในความเป็นชาวพุทธมากข้ึน และน้อมรับพระพุทธธรรมค�ำสอนมาปฏิบัติอย่างจริงจังในชีวิตประจ�ำวัน อาทิ การท�ำทาน การรักษา ศีล ๕ ศลี ๘ และการทำ� สมาธิ เป็นต้น บางท่านกต็ ดั สินใจบวชเป็นพระภกิ ษ-ุ สามเณรโดยไม่คำ� นงึ ถงึ วนั ลาสกิ ขา หลายท่านอทุ ิศชวี ติ มาเป็นอบุ าสก อบุ าสกิ า หรืออาสาสมคั ร เพื่อทำ� งานรบั ใช้พระศาสนา อีกท้ังยังเป็นกัลยาณมิตรชักชวนหมู่ญาติและเพ่ือนฝูงเข้าวัด แล้วร่วมกันสนับสนุนงานพระศาสนาให้ ขับเคล่อื นรดุ หน้ามาจนกระท่งั ปัจจุบัน เมื่อมีพุทธศาสนิกชนเข้าวัดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สถานท่ีปฏิบัติธรรมและพื้นท่ีท�ำกิจกรรม 20 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

ต่าง ๆ จึงไม่เพียงพอต่อการรองรับผู้คน นับต้ังแต่อาคารหลังแรก คือ อาคารจาตุมหาราชิกาซ่ึงจุคน ได้ ๕๐๐ คน จงึ ต้องสร้างสภาธรรมกายสากล (หลงั คาจาก) ซึง่ จคุ นได้ประมาณ ๑๒,๐๐๐ คนขนึ้ มา ต่อมาเม่ือสาธุชนพากันเข้าวัดมากขึ้นจนอาคารหลังนี้ไม่พอรองรับ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ เป็นต้นมา หมู่คณะวัดพระธรรมกายจึงร่วมใจกันขยายพื้นท่ีออกไป และสร้างอาคารสถานท่ีให้กว้างขวางข้ึน เพื่อ ให้เพยี งพอต่อสาธชุ นท่พี ากนั มาปฏิบัตธิ รรม มาร่วมกจิ กรรมทางพระพทุ ธศาสนา และรองรับงานฟื้นฟู ศลี ธรรมโลกนบั หมน่ื โครงการดงั ท่ีปรากฏอยู่ในหนงั สือเล่มนี้ ในวาระครบ ๔๘ ปีของวัดพระธรรมกายน้ี วัดพระธรรมกายและคณะศิษยานุศิษย์ขอกราบ ขอบพระคุณพระมหาเถรานุเถระทั่วทั้งสังฆมณฑลและพุทธบุตรท่ัวโลก ท่ีให้ความเข้าใจและเมตตา เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ กับวัดพระธรรมกาย และขออนุโมทนาบุญกับพุทธศาสนิกชนทุกท่านที่สามัคคี ร่วมใจกนั อปุ ถมั ภ์ค�้ำจนุ พระพทุ ธศาสนา ด้วยการสนบั สนนุ โครงการต่าง ๆ ตลอดมา แม้ว่าหลายคร้ัง ต้องเผชิญกับคลื่นลมแห่งปัญหาและมรสุมแห่งความไม่เข้าใจ แต่ทุกท่านก็ไม่หว่ันไหว ยังคงยืนหยัด ทำ� ภารกจิ เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา วชิ ชาธรรมกาย ไปทวั่ โลก และยงั ชว่ ยกนั ปทู างใหอ้ นชุ นรนุ่ หลงั นบั แสน นับล้านคนเข้ามาสานต่อปณิธานอันย่ิงใหญ่ท่ีจะเผยแผ่วิชชาธรรมกายไปท่ัวโลกให้บังเกิดเป็นจริงได้ ในอนาคตอกี ด้วย ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 21

โครงสร้างวดั พระธรรมกาย ภายใตก้ ารปกครองของการคณะสงฆ์ สมเด็จพระสังฆราช กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนกลาง เจา้ คณะภาค ๑ เจา้ คณะจงั หวดั เจ้าคณะอำ�เภอ เจ้าคณะต�ำ บล วัดพระธรรมกาย 22 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 23

มหาปูชนียาจารย์ จากเรอื่ งราวขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ แรงบนั ดาลใจหลกั ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ วดั พระธรรมกายกค็ อื ค�ำสง่ั ของ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ท่ีให้ช่วยกันเผยแผ่พระพุทธศาสนา วิชชาธรรมกาย ออกไปทั่วโลก การทพ่ี ระเดชพระคณุ หลวงปู่ฯ ส่ังไว้เช่นนี้ กเ็ พราะวิชชาธรรมกายเป็นความรู้อนั บริสุทธ์ิ ที่สามารถช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากโลภะ โทสะ โมหะ เข้าถึงพระนิพพานได้ หรืออย่างน้อยก็ช่วยให้ ทกุ คนได้พบกบั ความสขุ ภายใน และจะช่วยเปลย่ี นแปลงโลกให้เปี่ยมด้วยสันติสุขได้จรงิ ด้วยตระหนักถึงคุณค่าของวิชชาธรรมกาย และความสำ� คัญของผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย คือ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) คณะศิษยานุศิษย์ท้ังหลายจึงยกย่องท่านไว้ใน ฐานะมหาปูชนยี าจารย์ผู้เป็นท่เี คารพรกั อย่างยง่ิ นอกจากนี้ ยงั ยกยอ่ ง คณุ ยายอาจารยม์ หารตั นอบุ าสกิ าจนั ทร์ ขนนกยงู ซง่ึ เปน็ ผใู้ หก้ �ำเนดิ วดั พระธรรมกาย และ คณุ ยายอาจารยม์ หารตั นอบุ าสกิ าทองสขุ สำ� แดงปน้ั ครผู สู้ อนธรรมปฏบิ ตั ิ ทา่ นแรกของคณุ ยายอาจารย์มหารตั นอบุ าสกิ าจนั ทร์ ขนนกยูง ว่าเป็นมหาปูชนยี าจารย์อีกด้วย ปัจจบุ นั แม้พระเดชพระคณุ หลวงปู่ฯ และคุณยายอาจารย์ฯ ทั้งสองท่านละสังขารไปแล้ว แต่ หมู่คณะวัดพระธรรมกายยังคงผลักดันภารกิจเผยแผ่วิชชาธรรมกายให้รุดหน้าต่อไปตามมโนปณิธาน ของมหาปชู นยี าจารย์ จนกวา่ สนั ตสิ ขุ ของมวลมนษุ ยชาตแิ ละสนั ตภิ าพของโลกใบนจ้ี ะเกดิ ขน้ึ อยา่ งแทจ้ รงิ 24 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 25

พรหะลมวงงคปลวู่เทดั พปมากนุ นี (�้ำสภดาษจนีเจทฺ รสิญโร) ผู้คน้ พบวชิ ชาธรรมกาย พระมงคลเทพมนุ ี (สด จนทฺ สโร) หลวงปู่วัดปากนำ้� ภาษีเจรญิ ถอื กำ� เนิดเม่อื วันท่ี ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๒๗ บนแผ่นดนิ รูปดอกบวั ท่อี �ำเภอสองพ่นี ้อง จังหวัดสพุ รรณบุรี ทา่ นออกบวชเปน็ พระภกิ ษเุ มอื่ เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ ขณะมอี ายุ ๒๒ ปี ณ วดั สองพนี่ ้อง หลังจากเคยต้ังจิตอธิษฐานบวชอุทิศชีวิตแด่พระศาสนาต้ังแต่อายุ ๑๙ ปี เน่ืองจากเกิดธรรมสังเวช ในเร่ืองการทำ� มาหากนิ ของผู้ครองเรอื น เมอ่ื บวชแล้ว พระเดชพระคณุ หลวงปู่ฯ มุ่งมน่ั ฝึกธรรมปฏบิ ตั โิ ดยไม่เคยขาดเลยแม้แต่วนั เดยี ว ขณะเดยี วกนั กศ็ ึกษาค้นคว้าความรู้ในพระไตรปิฎกไปด้วย จนกระทงั่ เชยี่ วชาญภาษาบาลี ในพรรษาท่ี ๑๒ ซึง่ ตรงกบั พ.ศ. ๒๔๖๐ ท่านไปจำ� พรรษา ณ วัดโบสถ์บน ตำ� บลบางคเู วยี ง อ�ำเภอบางกรวย จงั หวดั นนทบรุ ี ต่อมาในวนั เพญ็ ข้นึ ๑๕ ค่�ำ เดอื น ๑๐ กลางพรรษาท่ี ๑๒ น้ี ท่านต้งั สจั จาธษิ ฐานทำ� สมาธภิ าวนาอยา่ งเอาชวี ติ เปน็ เดมิ พนั วา่ “ถา้ เรานงั่ ลงไปครงั้ นไี้ มเ่ หน็ ธรรมทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ต้องการ เป็นอันไม่ลกุ จากท่นี ้จี นหมดชวี ติ ” จากน้นั น่ังเจรญิ สมาธิภาวนาจนกระทัง่ เข้าถึงพระธรรมกาย กลางดกึ คนื นน้ั ณ อุโบสถวดั โบสถ์บน เม่ือเข้าถึงพระธรรมกายแล้ว พระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ น�ำความรู้ในพระไตรปิฎกและคัมภีร์ ต่าง ๆ ที่ท่านศกึ ษามาเป็นเวลา ๑๐ กว่าปี มาตรวจสอบความรู้ทีเ่ กดิ จากการปฏิบตั วิ ่าตรงกันหรือไม่ ก็ปรากฏว่าตรงกนั โดยไม่มคี วามคลาดเคล่อื นแต่อย่างใด ท�ำให้ท่านปลาบปล้ืมใจเป็นอย่างยง่ิ ตอ่ มา พระเดชพระคณุ หลวงปฯู่ ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ ใหเ้ ปน็ เจา้ อาวาสวดั ปากนำ้� ภาษเี จรญิ จากนน้ั ท่านก็มุ่งม่ันท�ำงานพระศาสนา สนับสนุนการศึกษาของพระภิกษุ-สามเณร และสอนวิธีปฏิบัติเพื่อให้ เขา้ ถงึ พระธรรมกายแกม่ หาชน โดยมคี �ำสอนทเ่ี ปน็ สตู รสำ� เรจ็ ในการปฏบิ ตั ธิ รรม คอื “หยดุ เปน็ ตวั ส�ำเรจ็ ” ทำ� ใหใ้ นยคุ นนั้ วดั ปากนำ้� ภาษเี จรญิ มพี ระภกิ ษ-ุ สามเณรมากทสี่ ดุ ในประเทศไทย และมชี อื่ เสยี งเลอ่ื งลอื ไปท่วั สงั ฆมณฑล ทง้ั ในด้านปรยิ ัติ ปฏิบตั ิ และปฏิเวธ 26 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย



28 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

กิตติศัพท์ของพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ ในเร่ืองการสอนทำ� สมาธิภาวนาโด่งดังไปยังประเทศ ต่าง ๆ จนกระทั่งมีชาวอังกฤษและชาวญี่ปุ่นมาบวชเป็นพระภิกษุคร้ังแรกในประเทศไทย และต่อมา พระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ ได้ส่งพระภิกษุชาวต่างชาติกลับไปสอนธรรมปฏิบัติในประเทศบ้านเกิดของ แต่ละท่าน ซง่ึ ถือเป็นก้าวแรกของการเผยแผ่วชิ ชาธรรมกายไปสู่ชาวโลก พระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ มรณภาพเมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๒ รวมสิริอายุได้ ๗๕ ปี ๕๓ พรรษา ก่อนมรณภาพ ท่านฝากฝังให้บรรดาลูกศิษย์ช่วยกันเผยแผ่วิชชาธรรมกายต่อไป และได้ เตรยี มการไว้อย่างรอบคอบ โดยมคี ำ� สงั่ ให้คณุ ยายอาจารย์มหารตั นอุบาสกิ าจนั ทร์ ขนนกยูง ศษิ ย์เอก ของท่าน อาศยั อยู่ท่วี ัดปากนำ้� ต่อไป เพอ่ื รอคอยผู้สืบทอดวิชชาธรรมกาย ซึ่งพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ กล่าวไว้ว่า “มาเกดิ แล้วที่จงั หวดั สงิ ห์บรุ ”ี ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 29

ด้วยระลึกถึงพระคุณของพระเดช- พระคณุ หลวงปฯู่ ผคู้ น้ พบวชิ ชาธรรมกาย หลวงพอ่ ธัมมชโยพร้อมด้วยคณะสงฆ์วัดพระธรรมกาย เหล่ากัลยาณมิตร และคณะศิษยานุศิษย์ทั้งใน และตา่ งประเทศทวั่ โลก จงึ รว่ มใจกนั หลอ่ รปู เหมอื น ทองคำ� ของพระเดชพระคณุ หลวงปู่ขน้ึ ๘ องค์ เพื่อ น�ำไปประดิษฐาน ณ อนุสรณ์สถานท่ีเกี่ยวเนื่องด้วยชีวิตของ ท่าน โดยประกอบพธิ หี ล่อรูปเหมอื นตามวันเวลาดงั นี้ องค์ที่ ๑ หล่อเมื่อวันท่ี ๒๕ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ องค์ท่ี ๒ หล่อเมื่อวันท่ี ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๗ องค์ที่ ๓-๔ หล่อเมือ่ วันท่ี ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๘ องค์ที่ ๕ หล่อเมอื่ วันท่ี ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๑ องค์ที่ ๖ หล่อเมื่อวนั ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕ องค์ท่ี ๗ หล่อเมื่อวนั ที่ ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ องค์ที่ ๘ หล่อเมื่อวนั ที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๘ 30 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

สถานท่ปี ระดิษฐานรปู หล่อทองคำ� พระมงคลเทพมนุ ี (สด จนทฺ สโร) หลวงปู่วัดปากน้�ำ ภาษีเจรญิ สถานทีข่ ยายวชิ ชาธรรมกาย วดั พระธรรมกาย อำ� เภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี รปู หล่อทองค�ำองค์ท่ี ๗ สำ� หรับอัญเชญิ นำ� ขบวน ธรรมยาตรา สถานท่เี กดิ ด้วยรูปกายเนื้อ มหาวิหารพระมงคลเทพมนุ ี (สด จนฺทสโร) สถานทีต่ งั้ มโนปณธิ านบวชตลอดชวี ิต อนุสรณ์สถานคลองบางนางแทน่ อ�ำเภอสองพ่ีน้อง จังหวดั สพุ รรณบุร ี อ�ำเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม สถานทีเ่ กิดใหมใ่ นเพศสมณะ วดั สองพี่น้อง อำ� เภอสองพ่นี ้อง สถานท่เี กดิ ใหมด่ ว้ ยกายธรรม วดั โบสถบ์ น ต�ำบลบางคเู วยี ง อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดสุพรรณบุรี จงั หวัดนนทบรุ ี สถานทเ่ี ผยแผ่วิชชาธรรมกายคร้ังแรก วัดบางปลา อำ� เภอบางเลน สถานทค่ี น้ ควา้ และเผยแผว่ ชิ ชาธรรมกาย วดั ปากนำ้� ภาษเี จรญิ กรงุ เทพมหานคร จงั หวดั นครปฐม ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 31

คณุ ยายอาจารย์มหารัตนอบุ าสกิ าทองสขุ ส�ำแดงป้นั คุณยายอาจารย์มหารตั นอบุ าสิกาทองสขุ ส�ำแดงปั้น เกิดเมื่อวันท่ี ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๓ ท่านเรม่ิ ศกึ ษาธรรมปฏบิ ัติกับพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมนุ ี (สด จนทฺ สโร) ทว่ี ัดปากนำ้� ภาษเี จริญ เม่อื อายุ ๓๐ ปี และเข้าถึงธรรมเมอ่ื อายุ ๓๕ ปี ตอ่ มา ทา่ นไปบวชเปน็ อบุ าสกิ าแมช่ ที วี่ ดั ปากนำ�้ ภาษเี จรญิ พรอ้ มกบั คณุ ยายอาจารยม์ หารตั น- อบุ าสกิ าจนั ทร์ ขนนกยงู ผเู้ ปน็ ทงั้ ศษิ ยแ์ ละกลั ยาณมติ รของทา่ น เพอื่ ทมุ่ เทเวลาศกึ ษาวชิ ชาธรรมกายกบั พระเดชพระคณุ หลวงปู่ฯ หลังจากคุณยายทองสุขบวชเป็นอุบาสิกาแม่ชีและศึกษาวิชชาธรรมกายจนแตกฉานแล้ว พระเดชพระคณุ หลวงปู่ฯ จึงไว้วางใจส่งท่านออกเผยแผ่ธรรมปฏบิ ตั ิในจงั หวดั ต่าง ๆ และเน่อื งจากท่าน มศี ลิ ปะในการสอนเปน็ เลศิ จงึ มผี สู้ นใจมาเลา่ เรยี นวธิ ปี ฏบิ ตั ธิ รรมกบั ทา่ นและเขา้ ถงึ ธรรมเปน็ จำ� นวนมาก ในครัง้ น้นั คุณยายทองสขุ จงึ ถือเป็นก�ำลังส�ำคญั อกี ท่านหน่งึ ของพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ ในการเผยแผ่ วชิ ชาธรรมกาย ด้วยความท่ีคุณยายทองสุขมีความเช่ียวชาญในวิชชาธรรมกายมาก ท�ำให้ท่านค้นพบวิธี บชู าขา้ วพระ ซง่ึ คณะศษิ ยานศุ ษิ ยข์ องทา่ นไดป้ ฏบิ ตั สิ บื ทอดมาจนกระทงั่ ปจั จบุ นั เปน็ เวลาหลายสบิ ปแี ลว้ 32 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาทองสุข ส�ำแดงปั้น ละสังขารเมอ่ื วันท่ี ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๖ รวมสริ ิอายไุ ด้ ๖๓ ปี ด้วยความเคารพรักในคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกา ทองสขุ สำ� แดงปน้ั ผเู้ ปน็ ปฐมาจารยส์ อนภาวนาแกค่ ณุ ยายอาจารย์ มหารตั นอบุ าสกิ าจนั ทร์ ขนนกยูง คณะสงฆ์วดั พระธรรมกายและ เหล่ากัลยาณมิตรจึงร่วมใจกันหล่อเจดีย์น้อยทองค�ำเพ่ือบรรจุ รัตนอัฐิธาตขุ องท่าน เม่อื วันอังคารท่ี ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 33

คณุ ยายอาจารยม์ หารตั นอุบาสกิ าจันทร์ ขนนกยูง ผใู้ ห้ก�ำเนิดวัดพระธรรมกาย คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง เป็นศิษย์เอกของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วดั ปากนำ้� ภาษเี จรญิ เกดิ เมอ่ื วันท่ี ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๒ ทอี่ ำ� เภอนครชัยศรี จังหวดั นครปฐม เม่ือคุณยายอาจารย์ฯ มีอายุได้ ๒๖ ปี ท่านได้ยินกิตติศัพท์การสอนธรรมปฏิบัติของ พระเดชพระคณุ หลวงปู่ฯ ท่ขี จรขจายไปทั้งแผ่นดนิ จึงเดินทางเข้ากรงุ เทพฯ เพอื่ หาช่องทางไปฝึกสมาธิ ทวี่ ดั ปากนำ้� โดยมเี ปา้ หมายหลกั ทจี่ ะไปตามหาพอ่ ทลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ เพอื่ ขอขมาทที่ า่ นเคยพลาดพลง้ั พดู จา ล่วงเกนิ พ่อ ในขณะที่ยังไปไม่ถึงวัดปากน�้ำ คุณยายอาจารย์ฯ ได้ศึกษาธรรมปฏิบัติจากคุณยายอาจารย์ มหารัตนอบุ าสิกาทองสขุ สำ� แดงปั้น ครสู อนสมาธจิ ากวดั ปากน้ำ� จนกระทง่ั เข้าถึงพระธรรมกาย ต่อมา ท่านไปบวชเป็นอุบาสิกาแม่ชีที่วัดปากน�้ำและได้ศึกษาวิชชาธรรมกายข้ันสูงจากพระเดชพระคุณ- หลวงปู่ฯ ท่านมญี าณทัสนะแม่นย�ำจนกระท่งั ได้รับค�ำชมจากพระเดชพระคณุ หลวงปู่ฯ ว่า “ลกู จนั ทร์นี้ เป็นหน่งึ ไม่มีสอง” หลังจากพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ มรณภาพ คุณยายอาจารย์ฯ ยังคงสอนธรรมปฏิบัติอยู่ที่ บ้านธรรมประสิทธิ์ในบริเวณวัดปากน�้ำ เพ่ือรอคอยผู้สืบทอดวิชชาธรรมกายตามที่พระเดชพระคุณ- หลวงปู่ฯ เคยส่งั ไว้ 34 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

ในคร้ังนน้ั มีลกู ศษิ ย์ไปเรียนธรรมปฏบิ ตั กิ บั ท่านอย่างเนืองแน่น ต่อมาจึงมกี ารขยบั ขยายพนื้ ที่ ด้วยการน�ำคณะศษิ ย์ไปสร้างศูนย์พทุ ธจักรปฏบิ ัติธรรมทจ่ี ังหวัดปทมุ ธานี ณ พทุ ธสถานแหง่ น้ี คณุ ยายอาจารยฯ์ ชว่ ยวางรากฐานอนั มน่ั คงไวท้ งั้ ในดา้ นวตั ถุ บคุ คล และ วฒั นธรรมอนั ดีงามของชาววดั ซง่ึ นอกจากช่วยสร้างความเป็นปึกแผ่นแก่วัดพระธรรมกายมาจนกระทง่ั ทุกวันน้ีแล้ว ยังมีผลให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองแก่พระพุทธศาสนา และยังเป็นการเตรียมพร้อมสำ� หรับ การเผยแผ่วชิ ชาธรรมกายในอนาคตอกี ด้วย คุณยายอาจารย์ฯ จึงเป็นผู้อยู่เบ้ืองหลังความส�ำเร็จท้ังปวงของวัดพระธรรมกาย และจาก ผลงานท่ีท่านสร้างไว้นี้ ท�ำให้ท่านกลายเป็นนักบวชหญิงที่มีบทบาทต่อความเจริญรุ่งเรืองแก่พระพุทธ- ศาสนามากท่สี ดุ ท่านหนง่ึ ในยุคปัจจบุ ัน ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 35

คุณยายอาจารย์ฯ ละสังขารเมอ่ื วันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๓ ณ วดั พระธรรมกาย ขณะ มีสริ อิ ายุได้ ๙๒ ปี ดว้ ยความเคารพรกั คณุ ยายอาจารยฯ์ ผใู้ หก้ ำ� เนดิ วดั พระธรรมกาย คณะสงฆว์ ดั พระธรรมกาย เหล่ากัลยาณมติ ร และศษิ ย์ยานศุ ษิ ย์ของคุณยายอาจารย์ฯ ทว่ั โลก จงึ ร่วมใจกนั หล่อรูปเหมือนทองคำ� ของท่านเป็นจำ� นวน ๓ องค์ โดยประกอบพธิ ีหล่อรูปเหมอื นตามวนั เวลาดังน้ี องค์ที่ ๑ หล่อเม่อื วนั ท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๑ องค์ท่ี ๒ หล่อเมื่อวนั ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ องค์ท่ี ๓ หล่อเมอ่ื วันท่ี ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ 36 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

รูปเหมือนทองคำ� คณุ ยายอาจารย์ฯ และสถานท่ปี ระดิษฐาน รปู เหมือนของทา่ น ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 37

หลวงพ่อธมั มชโย ผ้นู �ำในการสร้างบารมขี องหมคู่ ณะวัดพระธรรมกาย หลวงพ่อธมั มชโยเกดิ เม่อื วนั ท่ี ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๗ ทต่ี �ำบลบ้านแป้ง อำ� เภอพรหมบุรี จังหวดั สิงห์บุรี มีนามเดมิ ว่า ไชยบลู ย์ สทุ ธผิ ล เป็นบตุ รของคณุ พ่อจรรยงค์และคณุ แม่จุรี สทุ ธิผล หลวงพ่อธัมมชโยมีความสนใจพระพุทธศาสนาและการปฏิบัติธรรมตั้งแต่เยาว์วัย ขณะเรียน อยชู่ น้ั ปที ี่ ๑ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ทา่ นเดนิ ทางไปตามหาคณุ ยายอาจารยม์ หารตั นอบุ าสกิ าจันทร์ ขนนกยูง ที่วัดปากน�้ำ ภาษีเจริญ เม่ือได้ฝากตัวเป็นศิษย์ของคุณยายอาจารย์ฯ แล้ว ท่านก็ไปศึกษา ธรรมปฏบิ ตั ิกับคณุ ยายอาจารย์ฯ ทุกวัน แม้ว่าการเดนิ ทางจากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ไปวดั ปากนำ้� ต้องใช้เวลานานและต้องข้ึนรถเมล์ถึง ๓ ต่อ ท้ังไปและกลับ แต่สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่อุปสรรคต่อความรัก ในการปฏบิ ตั ิธรรมของท่าน หลวงพ่อธมั มชโยพากเพยี รปฏบิ ตั ิธรรมต่อมาอย่างสม�่ำเสมอ โดยมคี ุณยายอาจารย์ฯ เมตตา ให้ค�ำแนะน�ำ จนกระทง่ั มผี ลการปฏบิ ัตธิ รรมทด่ี ีเยีย่ ม คณุ ยายอาจารย์ฯ จงึ มอบหมายให้ท่านช่วยสอน การทำ� สมาธิปฏบิ ตั ิธรรมแก่สาธุชนท่บี ้านธรรมประสทิ ธ์ิ หลังจากหลวงพ่อธัมมชโยจบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะเศรษฐศาสตร์และ บรหิ ารธรุ กจิ สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์เกษตร เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๒ แล้ว ในวันที่ ๒๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ท่านได้เข้าพธิ ีบรรพชาอปุ สมบทอทุ ศิ ชีวิตแด่พระศาสนา ณ พทั ธสีมาวัดปากน้�ำ ภาษีเจริญ ได้รบั ฉายา ว่า “ธมมฺ ชโย” แปลวา่ “ผชู้ นะโดยธรรม” โดยมพี ระเทพวรเวที (ปจั จบุ นั คอื สมเดจ็ พระมหารชั มงั คลาจารย์ เจ้าอาวาสวดั ปากน้�ำ ภาษเี จริญ) เป็นพระอปุ ัชฌาย์ ในปี พ.ศ ๒๕๑๓ ขณะที่หลวงพ่อธัมมชโยยังอยู่ในพรรษาแรกของการเป็นพระภิกษุ คณุ ยายอาจารย์ฯ ได้นำ� หมู่คณะไปสร้างศนู ย์พทุ ธจักรปฏบิ ตั ธิ รรมทจ่ี ังหวดั ปทุมธานี ต่อมาเมื่อหมู่คณะ ย้ายไปยังศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรมแล้ว หลวงพ่อธัมมชโยก็มุ่งม่ันเผยแผ่ธรรมะ เทศน์สอนเร่ืองราว ความเป็นจรงิ ของชีวติ ตามค�ำสอนของพระสมั มาสัมพุทธเจ้า และน�ำญาตโิ ยมท�ำสมาธิตลอดมา หลวงพอ่ ธมั มชโยทมุ่ เทวนั เวลาในชวี ติ ของทา่ นนำ� หมคู่ ณะวดั พระธรรมกายสรา้ งคณุ ประโยชน์ แก่พระพุทธศาสนาและมหาชนชาวโลกอย่างต่อเนื่องตลอดมาเป็นเวลานานหลายสิบปี ด้วยหวังให้ พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมั่นคงเป็นปึกแผ่น มนุษย์ทุกคนสามารถด�ำเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องและ มีโอกาสเข้าถึงสันติสุขภายใน ซ่ึงถ้าหากมวลมนุษย์ท้ังหลายเข้าถึงสันติสุขภายในแล้ว การเบียดเบียน ทำ� ลายล้างกนั กจ็ ะไม่เกดิ ขึน้ และเม่อื นั้นสนั ตภิ าพและความร่มเยน็ จะเกิดขึน้ บนโลกใบนี้อย่างแน่นอน 38 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

หลวงพ่อธัมมชโยอุปสมบททว่ี ดั ปากน�้ำ ภาษเี จรญิ เมอื่ วันท่ี ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ หลวงพอ่ ธมั มชโยไดร้ บั พระราชทานสมณศกั ดเ์ิ ปน็ พระราชาคณะชนั้ สามญั ฝา่ ยวปิ สั สนาธรุ ะที่ พระสุธรรมยานเถร เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ และในวันท่ี ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้รับการถวายปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ สาขาการศึกษาพระพุทธศาสนา จาก มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต่อมาในวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับ พระราชทานพัดยศเลื่อนสมณศักด์ิเป็นพระราชาคณะชั้นราชฝ่ายวิปัสสนาธุระท่ี พระราชภาวนาวิสุทธ์ิ และในวนั ที่ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ไดร้ บั พระราชทานพดั ยศเลอื่ นสมณศกั ดเิ์ ปน็ พระราชาคณะชนั้ เทพ ฝ่ายวิปัสสนาธรุ ะที่ พระเทพญาณมหามนุ ี เมอื่ วันท่ี ๒๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ นายสุเทพ ภู่รตั นโอภา รักษาราชการแทนผู้อำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปทุมธานี พร้อมด้วยนายเสริมวิทย์ สมบัติ ปลัดอำ� เภอคลองหลวง เป็นผู้แทนรับมอบคืนสัญญาบัตรพัดยศพระเทพญาณมหามุนีจากวัดพระธรรมกาย โดยด�ำเนินการ ตามขัน้ ตอนของทางราชการทกุ ประการ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 39



๒ กับการสร๔้า๘งวดัปี สทรีย่ ้าางวพนราะน สรา้ งคน วัด คือ สถาบนั ท่ที ำ� หน้าทีป่ ลูกฝังศลี ธรรมแก่ประชาชน และถอื เป็นองค์กรสำ� คัญ ในสถาบันศาสนา ซ่ึงเป็น ๑ ใน ๓ สถาบันหลักของไทย คือ ชาติ ศาสนา และ พระมหากษตั รยิ ์ อนั เปน็ เครอื่ งยดึ เหนยี่ วจติ ใจใหช้ าวไทยเกดิ ความปรองดอง สมคั รสมาน สามัคคี และสามารถอยู่ร่วมกนั ได้อย่างสงบสขุ ที่ผ่านมาจวบจนปัจจุบัน วัดพระธรรมกายในฐานะวัดหน่ึงในพระพุทธศาสนา มีความมุ่งม่ันท่ีจะสร้างความสงบร่มเย็นแก่สังคม ประเทศชาติ และโลกใบนี้ตลอดมา โดยการเผยแผ่พระธรรมค�ำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผ่านโครงการต่าง ๆ เป็น จำ� นวนมาก เพ่อื ปลูกฝังศีลธรรมซ่งึ เปรยี บเสมอื น “รากแก้วของชวี ติ ” ลงในใจของผู้คน ๔๘ ปี แห่งการ “สร้างวดั ให้เป็นวดั สร้างพระให้เป็นพระแท้ สร้างคนให้เป็นคนด”ี นอกจากก่อก�ำเนิดและสร้างวัดพระธรรมกายให้เติบโตแล้ว ยังสร้างพระภิกษุสืบทอด พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ปน็ จำ� นวนไมน่ อ้ ย และอบรมศลี ธรรมใหค้ นเปน็ คนดไี ดเ้ ปน็ จำ� นวนมาก ตามท่ีตง้ั เป้าหมายไว้

พ.ศ. ๒๕๑๒ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๑๒ (ตรงกับวันพระข้ึน ๑๕ คำ�่ เดือน ๙) หลวงพ่อธัมมชโยอุปสมบท เป็นพระภกิ ษุ ณ พทั ธสีมาวดั ปากน้�ำ ภาษเี จริญ ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๑๒ คณุ หญงิ ประหยดั แพทยพงศาวสิ ุทธาธิบดี ถวายท่ดี นิ ณ หมู่ ๗ ต�ำบล คลองสาม อำ� เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี จ�ำนวน ๑๙๖ ไร่ ส�ำหรับสร้างวดั ธันวาคม ๒๕๑๒ หมู่คณะบ้านธรรมประสิทธิ์จัดพิมพ์หนังสือ “เดินไปสู่ความสุข” เป็น คร้ังแรก พ.ศ. ๒๕๑๒ เรมิ่ ขดุ คคู ลองรอบทด่ี นิ เพอื่ ใหเ้ หน็ ขอบเขตของพน้ื ทไ่ี ด้อย่างชดั เจน พ.ศ. ๒๕๑๓ พ.ศ. ๒๕๑๓ แจกหนงั สอื “เดินไปสู่ความสขุ ” เป็นของขวญั ปีใหม่ ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๑๓ (วนั มาฆบชู า) คณะ ผู้บุกเบิกขุดดินก้อนแรก เร่ิมสร้างเป็นส�ำนักสงฆ์ก่อน ตามระเบียบการสร้างวัด โดยใช้ชอ่ื ว่า “ศูนย์พุทธจักร- 42 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย

ปฏิบตั ิธรรม” ด้วยเงนิ ทุนเร่มิ ต้นเพยี ง ๓,๒๐๐ บาท ๖ สิงหาคม ๒๕๑๓ จัดตง้ั “มูลนิธธิ รรมประสทิ ธ”์ิ จดทะเบียนเป็นนติ ิบคุ คล ณ กระทรวง มหาดไทย เพอ่ื รองรับงานสร้างวดั ทีก่ �ำลังเกิดข้นึ พ.ศ. ๒๕๑๔ ๑๙ ธนั วาคม ๒๕๑๔ หลวงพอ่ ทตั ตชโี วอปุ สมบทเปน็ พระภกิ ษุ ณ พทั ธสมี าวดั ปากนำ้� ภาษเี จรญิ พ.ศ. ๒๕๑๕ เมษายน ๒๕๑๕ อบรมธรรมทายาทภาคฤดรู ้อน รุ่นที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๑๕ ได้รบั ความอนเุ คราะห์จากกรมชลประทานส่งเรือขุดมาช่วยขดุ คลอง พ.ศ. ๒๕๑๕ เร่ิมอบรมจรยิ ธรรมระยะส้นั แก่นกั เรยี นนกั ศึกษาจากหลายสถาบัน พ.ศ. ๒๕๑๖ พ.ศ. ๒๕๑๖ เร่มิ สร้างกฏุ สิ งฆ์ขน้ึ ในเขตสงั ฆาวาส พ.ศ. ๒๕๑๖ ปลูกต้นไม้ เริ่มจากปลูกหญ้า แต่ดินเปร้ียวมากท�ำให้หญ้าไม่ขึ้น มีเพียงต้น กระถนิ ณรงค์กบั ต้นยูคาลปิ ตัสเท่านัน้ ทสี่ ู้กบั ดินเปร้ียวได้ ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 43

คณุ ยายอาจารยฯ์ และคณะศษิ ยานุศิษย์ทบ่ี ้านธรรมประสทิ ธิ์ กอ่ นยา้ ยมาทศ่ี ูนยพ์ ุทธจกั รปฏบิ ัติธรรม พ.ศ. ๒๕๑๗ พ.ศ. ๒๕๑๗ ทำ� แนวกำ� แพงวดั สร้างแทงก์น้ำ� เพือ่ ใช้ในการอปุ โภคบริโภค พ.ศ. ๒๕๑๗ ตอกเสาเขม็ เริ่มก่อสร้างอาคารถาวรหลงั แรก คอื ศาลาจาตมุ หาราชกิ า พ.ศ. ๒๕๑๘ ๙ เมษายน ๒๕๑๘ หลวงพ่อธัมมชโย คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง และหมู่คณะบ้านธรรมประสทิ ธ์ิ ย้ายมาอยู่ประจ�ำท่ศี นู ย์พุทธจักรปฏบิ ตั ิธรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ เปิดใช้งานศาลาจาตมุ หาราชกิ า สามารถรองรบั คนได้ ๕๐๐ คน พ.ศ. ๒๕๑๘ เร่ิมจัดปฏิบัติธรรมและฟังธรรมทุกวันอาทิตย์และวันส�ำคัญทางศาสนา มีการจัดรถจากอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิและสนามหลวงเพ่ือรับส่งสาธุชนที่จะมาวัด (ปัจจุบันมีการจัดรถ หลายจุดในกรุงเทพฯ และปริมณฑล) และประกอบอาหารเลี้ยงสาธุชนท่ีมาท�ำบุญ เพื่อให้เกิดความ สบายกาย สบายใจ สามารถนง่ั สมาธิโดยไร้เครอ่ื งกังวล พ.ศ. ๒๕๑๙ พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็นปีแรกท่อี ุบาสกผู้ผ่านการอบรมมาอยู่ช่วยงานทศ่ี ูนย์พุทธจักรปฏิบัตธิ รรม 44 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

หลวงพ่อธัมมชโยกบั ธรรมทายาท รุ่นที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๑๙ สรา้ งอาคารยามาเพอ่ื ใช้ เป็นสถานทป่ี ระกอบอาหารถวายพระ และเป็น ทรี่ ับประทานอาหารของเจ้าหน้าท่อี ุบาสก พ.ศ. ๒๕๒๐ ๒๒ มถิ นุ ายน ๒๕๒๐ กรมการศาสนา ดว้ ยความเหน็ ชอบของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและ มหาเถรสมาคมอนญุ าตให้สร้างเป็นวดั ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๒๐ ได้รบั อนญุ าต ใหต้ ง้ั เปน็ วดั โดยสมบรู ณต์ ามประกาศกระทรวง ศึกษาธิการ โดยใช้ชื่อว่า “วัดวรณีธรรมกายาราม” และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๙๔ ตอนท่ี ๗๕ ในวนั ที่ ๑๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๒๐ พระไชยบูลย์ ธัมมชโย ได้รับแต่งต้ังให้เป็นเจ้าอาวาสวัดวรณี- ธรรมกายาราม (ขณะนน้ั อายุ ๓๔ ปี พรรษา ๙) ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 45

ปลายปี พ.ศ. ๒๕๒๐ เรม่ิ ก่อสร้างอุโบสถ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๒๐ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จ- พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินแทนพระองค์ พร้อมด้วยสมเด็จ- พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงวางศิลาฤกษ์อุโบสถวัดวรณีธรรม- กายาราม โดยมสี มเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ วดั ราชผาตกิ าราม วรวหิ าร กรงุ เทพมหานคร เปน็ ประธานฝา่ ยสงฆ์ พล.อ.เสรมิ ณ นคร ผู้บญั ชาการทหารบก และคณุ หญิงแสงเดือน ณ นคร เป็นประธานฝ่ายฆราวาส พ.ศ. ๒๕๒๑ ๑ มกราคม ๒๕๒๑ สรา้ งหอระฆงั ขนึ้ บนเกาะกลางนำ�้ ระฆงั ใบนใ้ี ชใ้ หส้ ญั ญาณในงานพธิ กี รรม ในวันสำ� คญั ทางพระพทุ ธศาสนา (ปัจจบุ นั ปรับเป็นสถานทีก่ ่อสร้างเกาะแก้วเจดยี ์สวรรค์) พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑๒ มกราคม ๒๕๒๒ อโุ บสถวดั วรณธี รรมกายารามได้รบั พระราชทานวสิ งุ คามสีมา ประกาศ ในราชกิจจานเุ บกษา เล่มท่ี ๙๖ ตอนท่ี ๑๕ ในวนั ที่ ๖ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๒ (วนั มาฆบชู า) พธิ เี ททองหล่อพระประธานประจำ� ศาลาจาตมุ หาราชกิ า 46 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย

เป็นพระพทุ ธรูปปางสมาธิ เกตุดอกบวั ตูม หน้าตกั กว้าง ๖๐ เซนตเิ มตร หล่อด้วยโลหะเน้อื ดี ๑๘ มนี าคม ๒๕๒๒ สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนเี สดจ็ พระราชด�ำเนนิ ทรงประกอบ พิธีเททองหล่อพระประธานประจ�ำอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ เกตุดอกบัวตูม หน้าตักกว้าง ๓ เมตร ณ อโุ บสถวัดวรณธี รรมกายาราม พ.ศ. ๒๕๒๒ การอบรมธรรมทายาท รุ่นท่ี ๗ เป็นรุ่นแรกท่ีผู้เข้ารับการอบรมได้อุปสมบท เป็นพระภกิ ษุ ณ วดั เบญจมบพติ รดสุ ิตวนาราม ราชวรวหิ าร กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๓ ๒๙ เมษายน ๒๕๒๓ พธิ ผี กู พทั ธสมี าอโุ บสถ โดยสมเดจ็ พระธรี ญาณมนุ ี (ธรี ์ ปณุ ณฺ กมหาเถระ) กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวดั จักรวรรดริ าชาวาส วรมหาวหิ าร กรงุ เทพมหานคร สวดประกาศ ญัตตทิ ตุ ยิ กรรมวาจา สมมุตสิ มานสงั วาสสีมา และติจวี ราวปิ ปวาส ท่ามกลางคณะสงฆ์ ๑๗๐ รปู โดย มพี ทุ ธศาสนกิ ชนร่วมเป็นสกั ขพี ยานกว่า ๕,๐๐๐ คน พ.ศ. ๒๕๒๓ สร้างศาลาดสุ ติ เพอ่ื ใช้เป็นท่ฉี นั ภตั ตาหารของพระภิกษุ พ.ศ. ๒๕๒๓ สร้างอาคารดาวดงึ ส์ เพือ่ ใช้เป็นท่ผี ลติ โสตทศั นูปกรณ์ในการเผยแผ่ธรรมะ ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 47

พ.ศ. ๒๕๒๔ ๒๙ เมษายน ๒๕๒๔ เปลย่ี นชอ่ื จาก “วดั วรณธี รรมกายาราม” เปน็ “วดั พระธรรมกาย” โดย กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเหน็ ชอบการแจ้งเปล่ยี นชอ่ื พ.ศ. ๒๕๒๕ ๗ พฤษภาคม ๒๕๒๕ อโุ บสถพร้อมใช้ประกอบ สงั ฆกรรม รวมระยะเวลาการก่อสร้าง ๔ ปีเศษ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๒๕ เปล่ียนช่ือ “มูลนิธิ ธรรมประสทิ ธ์”ิ เป็น “มลู นิธพิ ระธรรมกาย” ต่อมาเพอ่ื ไม่ให้ สบั สนกบั ชอ่ื วดั พระธรรมกาย จงึ จดทะเบยี นเปลีย่ นช่อื จาก “มูลนิธิพระธรรมกาย” เป็น “มูลนิธิธรรมกาย” โดยได้รับ อนุญาตจากส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ตามหนงั สอื ศธ.๑๓๐๔/๖๐๘๘ ลงวันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๕ ชมรมพทุ ธศาสตร์ ๖ สถาบนั รว่ มกนั จดั นทิ รรศการ “ทางกา้ วหนา้ ” พรอ้ ม จัดสอบตอบปัญหาธรรมะครั้งแรก ณ ศาลาพระเกี้ยว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยใช้เนื้อหาธรรมะ จากหนงั สอื “มงคลชีวิต ๓๘ ประการ” มผี ู้เข้าสอบ ๓๘๒ คน 48 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย