สถานท่ีเกิดใหมใ่ นเพศสมณะ วัดสองพ่ีน้อง พระอารามหลวง อ�ำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นสถานท่ีบรรพชา อปุ สมบทของหลวงปู่ ปจั จบุ นั พระอโุ บสถวดั สองพนี่ อ้ งเปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานรปู หลอ่ ทองคำ� พระมงคลเทพมนุ ี ซึ่งคณะศิษยานุศิษย์ร่วมกันหล่อและอัญเชิญไปประดิษฐานไว้ เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งการเกิดใหม่ในเพศ สมณะของท่าน ณ วดั แห่งน้ี ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 349
สถานทเ่ี กิดใหมด่ ้วยกายธรรม วดั โบสถ์บน ต�ำบลบางคูเวยี ง อำ� เภอบางกรวย จงั หวัดนนทบรุ ี เป็นสถานท่ที ีห่ ลวงปู่สละชวี ติ เปน็ เดมิ พนั จนกระทง่ั คน้ พบวชิ ชาธรรมกายของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทส่ี ญู หายไปใหก้ ลบั คนื มา ปจั จบุ นั ภายในอุโบสถวัดโบสถ์บนมีรูปหล่อทองค�ำพระมงคลเทพมุนีประดิษฐานอยู่เช่นกัน เพ่ือเป็นอนุสรณ ์ แห่งการบรรลธุ รรมของท่าน 350 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย
สถานท่เี ผยแผ่วิชชาธรรมกายครงั้ แรก วัดบางปลา อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม เป็นสถานท่ีที่หลวงปู่สอนการท�ำสมาธิภาวนา เป็นคร้ังแรก และมีพระภิกษุเข้าถึงพระธรรมกาย ๓ รูป คฤหัสถ์ ๔ คน ในอนาคตจะมีการสร้าง อนสุ รณส์ ถานมหาวหิ ารพระมงคลเทพมนุ ี (สด จนทฺ สโร) บรเิ วณทดี่ นิ ตรงขา้ มวดั บางปลา และจะอญั เชญิ รูปหล่อทองคำ� พระมงคลเทพมนุ ีไปประดิษฐานภายในมหาวหิ าร ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 351
สถานท่คี น้ ควา้ และเผยแผ่วิชชาธรรมกาย วัดปากน�้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร เป็นสถานท่ีที่หลวงปู่ทุ่มเทค้นคว้าและเผยแผ่วิชชา ธรรมกายอย่างต่อเน่ืองจนตลอดชีวิต ต้ังแต่เป็นเจ้าอาวาสในปี พ.ศ. ๒๔๕๙ จนกระท่ังมรณภาพในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ปัจจบุ นั คณะศษิ ยานศุ ิษย์ร่วมกนั อญั เชญิ รูปหล่อทองค�ำพระมงคลเทพมุนไี ปประดษิ ฐาน ไว้ ณ พระมหาเจดยี ์มหารชั มงคล วดั ปากน้�ำ ภาษีเจรญิ 352 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย
สถานทขี่ ยายวชิ ชาธรรมกาย วดั พระธรรมกาย อำ� เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี เปน็ สถานทขี่ ยายวชิ ชาธรรมกาย (เผยแผ่ พระพุทธศาสนา วิชชาธรรมกาย ไปท่ัวโลก) ปัจจุบันท่ีวัดพระธรรมกายมีมหาวิหารพระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺ สโร) เป็นท่ปี ระดิษฐานรปู หล่อทองค�ำพระมงคลเทพมุนี ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 353
ภาคผนวก
๑๐๑ ปี แหง่ การค้นพบวชิ ชาธรรมกาย “ธรรมกาย” คือ กายตรสั รู้ธรรมของพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า “วชิ ชา” แปลว่า ความรู้แจ้ง “วชิ ชา ธรรมกาย” แปลว่า ความรู้แจ้งเรอ่ื งธรรมกาย หมายถงึ ความรู้แจ้งทเ่ี กิดจากการเห็นแจ้งด้วยธรรมจักษุ ของพระธรรมกาย อันเป็นแก่นแท้ดง้ั เดิมของพระพทุ ธศาสนา สามารถกำ� จดั ทุกข์ได้เป็นช้นั ๆ จนหมด กิเลส เข้าถงึ บรมสุข คือ พระนิพพาน ค�ำว่า “ธรรมกาย” มีการพดู ถงึ มากขึน้ เรื่อย ๆ ตงั้ แต่เม่อื พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมนุ ี (สด จนทฺ สโร) หลวงปวู่ ดั ปากนำ้� ภาษเี จรญิ ไดป้ ฏบิ ตั ธิ รรมเจรญิ สมาธภิ าวนาจนบรรลธุ รรมกาย เมอ่ื วนั เพญ็ ขน้ึ ๑๕ คำ�่ เดือน ๑๐ ปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ณ วดั โบสถ์บน ตำ� บลบางคเู วยี ง อำ� เภอบางกรวย จงั หวัดนนทบรุ ี ในกลางพรรษาท่ี ๑๒ ของท่าน หลวงปู่วดั ปากน้�ำ ภาษีเจรญิ เกิดในสมยั รชั กาลที่ ๕ ท่านตดั สินใจออกบวชเม่ืออายไุ ด้ ๒๒ ปี ในเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ ณ วัดสองพี่น้อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี โดยมพี ระอาจารย์ดี วัดประตสู าร เป็นพระอปุ ัชฌาย์ ศึกษาทั้งปริยตั ิและปฏิบตั ิ นับแต่วันแรกท่ีบวช ท่านก็เริ่มฝึกธรรมปฏิบัติทุกวันตลอดมา ควบคู่ไปกับการเรียนคันถธุระ หลังจากบวชได้ ๗ เดอื นเศษ จึงเข้ามาเรยี นในวดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลารามเป็นเวลาถึง ๑๑ พรรษา จนเชี่ยวชาญภาษาบาลี เมื่อสามารถแปลคัมภีร์มหาสติปัฏฐานได้ดังที่เคยตั้งใจแล้ว จึงต้ังใจปฏิบัติ วิปัสสนาธรุ ะอย่างจรงิ จงั ทา่ นมโี อกาสศกึ ษาธรรมปฏบิ ตั จิ ากพระอาจารยห์ ลายทา่ น ดงั นี้ พระอาจารยโ์ หนง่ อนิ ทฺ สวุ ณโฺ ณ วัดสองพ่ีน้อง จังหวัดสุพรรณบุรี, หลวงปู่เนียม วัดน้อย จังหวัดสุพรรณบุรี, พระสังวรานุวงษ์ วัด ราชสทิ ธาราม ราชวรวหิ าร กรงุ เทพฯ, พระครญู าณวริ ตั ิ (โป)๊ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ราชวรมหาวหิ าร กรงุ เทพฯ, พระอาจารย์สงิ ห์ วัดละครท�ำ ธนบุรี ซึ่งล้วนแต่เป็นพระอาจารย์ผู้ทรงคณุ ในทางปริยัติ ปฏบิ ัติ ศีลาจารวตั รงดงาม และมลี กู ศิษย์มากมาย 356 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย
บรรลุธรรมกาย ในวนั เพญ็ เดอื น ๑๐ ระหวา่ งกลางพรรษาท่ี ๑๒ ของหลวงปวู่ ดั ปากนำ้� หลงั กลบั จากบณิ ฑบาต ท่านไดเ้ ขา้ ปฏบิ ตั ธิ รรมในอโุ บสถ ทา่ นหลบั ตาภาวนา “สมั มาอะระหงั ” จนกระทงั่ ใจหยดุ เป็นจดุ เดยี วกนั เหน็ เป็นดวงใสสว่างอยู่ท่ศี นู ย์กลางกาย รู้สกึ สบายใจอย่างบอกไม่ถูก แม้ขณะช่วงฉันเพลดวงใสกย็ งั คง อยู่ทศี่ นู ย์กลางกาย หลงั จากฟังพระปาฏโิ มกข์ ทบทวนศลี ๒๒๗ ข้อของพระ ในช่วงเยน็ ท่านจงึ ได้มา นงั่ สมาธติ อ่ โดยใจยงั อยใู่ นกลางดวงใสสวา่ งทศ่ี นู ยก์ ลางกาย ทำ� ใจหยดุ นง่ิ ไปจนกระทงั่ ดวงสวา่ งใสมาก ย่ิงข้ึน และมีเสียงดังมาจากดวงสว่างนั้นว่า “มัชฌิมาปฏิปทา” พร้อมกับมีจุดสว่างใสอยู่ในกลางดวง สว่างนน้ั ท่านจงึ มองไปท่จี ุดสว่างน้นั ด้วยใจท่นี ่ิง ๆ จุดสว่างน้นั จงึ ค่อย ๆ ขยายโตขน้ึ มาแทนดวงเก่า ท่านจึงมองเข้ากลางจุดเล็กที่อยู่กลางดวงใส ก็ได้เห็นดวงใหม่ท่ีสว่างใสมากยิ่งข้ึนไปเรื่อย ๆ ในที่สุดก็ เหน็ กายในกายทซ่ี อ้ นอยภู่ ายใน จนกระทง่ั ถงึ “ธรรมกาย” เปน็ องคพ์ ระนง่ั สมาธิ เกตดุ อกบวั ตมู ใสสวา่ ง เม่ือท่านได้มาทบทวนสิ่งที่ท่านได้เข้าถึง ท�ำให้ท่านทราบว่า การเข้าถึงธรรมของพระสัมมา- สัมพทุ ธเจ้า ต้องทำ� ใจให้หยดุ ให้นง่ิ โดยหน้าท่ขี องใจ ๔ อย่าง คอื เหน็ จ�ำ คิด รู้ ต้องรวมหยดุ น่ิงอยู่ เป็นหนง่ึ เดียว (เอกัคคตา) ต่อมาท่านจงึ กล่าวสรปุ ไว้เป็นประโยคส้นั ๆ ว่า “หยุดเป็นตัวส�ำเรจ็ ” และมี การรวบรวมวิธีการปฏิบัติสมาธิต้ังแต่เบื้องต้นจนกระทั่งลึกซึ้งไว้ในหนังสือ “คู่มือสมภาร” [๑] ส�ำหรับ ผู้ทีส่ นใจสามารถศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ได้ ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 357
“ธรรมกาย” ในคัมภีร์เถรวาท ค�ำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานในคัมภีร์พระพุทธศาสนาท้ังฝ่ายเถรวาทและมหายาน เฉพาะในคมั ภรี ์ของฝ่ายเถรวาท [๒] มีคำ� ว่า “ธรรมกาย” ปรากฏอยู่มากมาย กว่า ๔๐ แห่ง อาทิ ใน พระไตรปฎิ ก [๓] ปรากฏอยใู่ นพระสตู ร ๔ แหง่ , ในอรรถกถามปี รากฏ ๒๕ แหง่ , ในฎกี าพระวนิ ยั ทชี่ อื่ วา่ “สารตั ถทปี นี กล่าวถงึ “ธรรมกาย” ในฉบับภาษาบาลปี ระมาณ ๖ แห่ง, ในคมั ภีร์วสิ ทุ ธมิ รรคกล่าวถงึ “ธรรมกาย” ๒ แห่ง, คมั ภรี ์มลิ ินทปัญหา ๑ แห่ง มตี วั อย่างดงั น้ี “...ดูก่อนวาเสฏฐะและภารทวาชะ...เพราะค�ำว่าธรรมกายก็ดี พรหมกายก็ดี ธรรมภูติก็ดี พรหมภตู กิ ด็ ี เป็นชื่อของพระตถาคต...” [๔] “...นักปราชญ์เหล่าใดมีศีลบริสุทธ์ิ...นักปราชญ์เหล่านั้นย่อมเป็นพระสยัมภูปัจเจกชินเจ้า มี ธรรมใหญ่ มธี รรมกายมาก มจี ิตเป็นอสิ ระ...” [๕] “...ชนทั้งหลายไม่อาจให้พระผู้มีพระภาคเจ้า ซ่ึงทรงแสดงพระธรรมกาย และความเป็น หน่อเน้อื รัตนะท้งั สิ้นให้ก�ำเรบิ ได้ ใครได้เหน็ แล้วจะไม่เลอ่ื มใสเล่า...” [๖] “...ข้าแต่พระสคุ ตเจ้า รูปกายของพระองค์น้ี อันหม่อมฉันท�ำให้เจริญเตบิ โต ธรรมกายอนั น่า เพลดิ เพลินของหม่อมฉนั อนั พระองค์ท�ำให้เจรญิ เตบิ โตแล้ว...” [๗] 358 | ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย
“ธรรมกาย” ในคัมภีร์ต่าง ๆ คำ� ว่า “ธรรมกาย” ยังปรากฏในแหล่งความรู้ต่าง ๆ อย่างน่าสนใจ อาทิ ในหนังสอื “ประชุม ศลิ าจารกึ ภาคที่ ๓” กล่าวว่า ในศิลาจารกึ หลักที่ ๕๔ พ.ศ. ๒๐๙๒ ทีจ่ ารึกไว้เป็นภาษาไทยและมคธ มีข้อความกล่าวถงึ เร่อื งราวของพระธรรมกายไว้, ในหนงั สอื “ปฐมสมโพธกิ ถา” ได้กล่าวไว้อย่างชัดเจน วา่ พระอปุ คตุ ตเ์ หน็ พระธรรมกาย นนั่ คอื พระธรรมกายนน้ั สามารถเหน็ ได,้ ในจารกึ ลานทองพระธรรมกาย ในพระมหาเจดยี ์ศรีสรรเพชดาญาณ ประจำ� รชั กาลท่ี ๑ และพระมหาเจดยี ์มุนีบัตบรขิ าร ประจำ� รชั กาล ท่ี ๓ ณ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ราชวรมหาวหิ าร กลา่ วถงึ “สว่ นสงู ของพระธรรมกาย” ไวด้ ว้ ย ฯลฯ คู่มือปฏบิ ตั ิสมถวิปัสสนากัมมฏั ฐาน ๕ สาย ที่ผ่านมา ศูนย์ประสานงานส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดแห่งประเทศไทย โดยมติ มหาเถรสมาคม คร้ังท่ี ๑/๒๕๕๒, ๔/๒๕๕๒ และคร้ังท่ี ๘/๒๕๕๓ ได้จัดท�ำหนังสือ “คู่มือปฏิบัติ- สมถวิปัสสนากมั มัฏฐาน ๕ สาย” [๘] ซึ่งได้รวบรวมวธิ ีการสอนสมาธขิ องสำ� นกั ปฏบิ ตั ธิ รรมใหญ่ ๕ สาย คือ พุทโธ, อานาปานสติ, ยุบหนอ พองหนอ, รูปนาม และสัมมาอะระหัง ถือว่าเป็นการรับรองจาก คณะสงฆส์ ว่ นกลางวา่ วธิ กี ารสอนสมาธขิ องพระเดชพระคณุ หลวงปวู่ ดั ปากนำ�้ ภาษเี จรญิ เปน็ ไปตามแนว สตปิ ัฏฐาน ๔ สมควรให้สามารถปฏบิ ตั ิได้เพอ่ื ให้ถงึ ธรรมทคี่ วรรู้ ได้แก่ สัมมาปฏปิ ทามรรค เป็นต้น ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 359
พระของขวัญศกั ดสิ์ ิทธิด์ ว้ ย “ธรรมกาย” ในชว่ งทหี่ ลวงปวู่ ดั ปากนำ้� ยงั มชี วี ติ อยู่ ทา่ นสนบั สนนุ การศกึ ษา ของการคณะสงฆ์ โดยจดั สร้างโรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม ซึง่ เป็นทมี่ าของ “พระของขวัญวัดปากน้�ำ” ซ่ึงเป็นส่ิงยืนยันความศักด์ิสิทธ์ิของวิชชา ธรรมกายทห่ี ลวงปวู่ ดั ปากนำ้� ไดเ้ ขา้ ถงึ และเปน็ เครอื่ งตรกึ ระลกึ นกึ ถงึ บญุ ท่ีได้สร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมร่วมกับท่าน รวมทั้งให้เป็นนิมิตหรือ เปน็ อปุ กรณใ์ นการทำ� สมาธเิ พอ่ื เปน็ พทุ ธานสุ ตมิ พี ระพทุ ธเจา้ เปน็ อารมณ์ เพือ่ ปฏบิ ัติธรรมให้เข้าถงึ พระธรรมกายภายในตวั ด้วยนนั่ เอง 360 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย
อา้ งอิง [๑] มูลนิธธิ รรมกาย. คู่มอื สมภาร. กรุงเทพฯ : ศริ วิ ฒั นาอนิ เตอร์พรินท์, ๒๕๔๕. [๒] ธรรมทายาท. ธรรมกายในคัมภีร์เถรวาท. กรงุ เทพฯ : กราฟิคอาร์ตพรน้ิ ตง้ิ , ๒๕๔๓. [๓] มหามกุฏราชวทิ ยาลยั . พระไตรปิฎก : พระสตู รและอรรถกถาแปล. พ.ศ. ๒๕๒๕. [๔] พระสุตตันตปิฎก ทฆี นกิ าย ปาฏกิ วรรค อคั คัญญสตู ร เรือ่ ง วาเสฏฐะภารทวาชะ. [๕] พระสตุ ตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย อปทาน พทุ ธวรรคท่ี ๑ ปจั เจกพทุ ธาปทาน วา่ ดว้ ยเหตใุ หส้ ำ� เรจ็ เป็นพระปัจเจกพทุ ธเจ้า. [๖] พระสตุ ตนั ตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน โสภิตวรรคท่ี ๑๔ อตั ถสนั ทัสสกเถราปทานที่ ๗ ว่า ด้วยผลแห่งการชมเชยพระพทุ ธเจ้า ๓ คาถา. [๗] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน เอกุโปสถวรรคท่ี ๒ มหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน ที่ ๗ บุพจริยาของพระมหาปชาบดโี คตมเี ถรี [๘] ศนู ยป์ ระสานงานสำ� นกั ปฏบิ ตั ธิ รรมประจำ� จงั หวดั แห่งประเทศไทย. คมู่ อื ปฏบิ ตั สิ มถวปิ สั สนา- กมั มัฏฐาน ๕ สาย. นครปฐม : เพชรเกษมพร้นิ ตง้ิ กรุ๊ป, ๒๕๕๓. ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย | 361
362 | ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย
การท�ำสมาธิภาวนาเพ่อื ให้เข้าถงึ พระธรรมกาย การท�ำสมาธิภาวนาเพ่ือให้เข้าถึงพระธรรมกาย เป็นการปฏิบัติตามหลักทางสายกลาง โดยการ ฝึกใจให้หยดุ น่ิงอยู่ภายในกลางกายของเรา (ศนู ย์กลางกายฐานที่ ๗) อย่างต่อเน่อื ง ในอารมณ์ทีส่ บาย เป็นการดึงใจท่ีซัดส่ายไปในอารมณ์ต่าง ๆ ในความคิดต่าง ๆ ให้มามีอารมณ์เดียว จนกระท่ังสงบนิ่ง และหยุดได้ถูกส่วน ก็จะเห็นดวงปฐมมรรคหรือดวงธรรมและเข้าถึงกายภายในไปตามลำ� ดับ จนเข้าถึง พระธรรมกายในทส่ี ดุ วิธีท�ำสมาธิภาวนาเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายในน้ี เป็นวิธีการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา ทสี่ ญู หายไปเกอื บ ๒,๐๐๐ ปี จนกระทงั่ วนั เพญ็ ขน้ึ ๑๕ คำ่� เดอื น ๑๐ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๐ พระเดชพระคณุ - พระมงคลเทพมนุ ี (สด จนทฺ สโร) ได้ค้นพบด้วยการนง่ั สมาธิ และนำ� มาเผยแผ่แก่ประชาชนท่วั ไป ซงึ่ มี ผู้สนใจปฏบิ ตั ติ ามและเข้าถงึ พระธรรมกายเป็นจ�ำนวนมาก วธิ ีการทำ� สมาธิ เริ่มด้วยการน่งั ขัดสมาธิ เอาขาขวาทบั ขาซ้าย ถ้าไม่ถนดั จะนง่ั เก้าอีก้ ไ็ ด้ จากน้ัน เอาน้วิ ชข้ี องมือ ข้างขวาจรดนว้ิ หัวแม่มอื ข้างซ้าย หลับตาเบา ๆ พอสบาย ๆ แค่ขนตาชนกนั อย่าบบี เปลือกตา อย่ากด ลูกนัยน์ตา ผ่อนคลายกล้ามเน้ือทุกส่วนของร่างกาย ตั้งแต่ศีรษะลงไปถึงนิ้วเท้า ผ่อนคลายให้หมด นง่ั หน้าย้มิ ๆ ทำ� ใจให้เบกิ บาน แช่มชน่ื สะอาดบริสทุ ธ์ิ ไร้กังวลในทกุ สิ่ง ปล่อยวาง คลายความผูกพัน จากทกุ สง่ิ ไมว่ า่ คน สตั ว์ หรอื สงิ่ ของ แลว้ คอ่ ย ๆ หยอ่ นใจของเราเบา ๆ เหมอื นขนนกทคี่ อ่ ย ๆ หยอ่ นตวั ลงไปสมั ผสั ผิวน้�ำ โดยไม่ท�ำให้นำ�้ กระเพื่อม หย่อนใจหยดุ น่ิง ๆ นุ่ม ๆ ที่ศูนย์กลางกายฐานท่ี ๗ ซ่งึ อยู่ ในท้องของเรา ในระดับท่เี หนอื จากสะดอื ขนึ้ มา ๒ นวิ้ มือ แล้วนกึ ถึงดวงแก้วกลมใสหรอื องค์พระใส ๆ นึกธรรมดา สบาย ๆ คล้ายกับนึกถึงส่ิงท่ีคุ้นเคย ด้วยใจท่ีเยือกเย็น นึกเล่น ๆ เพลิน ๆ สบาย ๆ ให้ต่อเนอ่ื งกนั เพอื่ ดึงใจของเราให้หลดุ พ้นจากความคดิ ที่สบั สนวุ่นวาย ถ้าใจยังซัดส่ายอยู่ ให้ภาวนาในใจว่า “สัมมาอะระหัง ๆ ๆ” อย่างต่อเนื่อง จนกระท่ังไม่อยาก ภาวนา กไ็ ม่ต้องภาวนาอกี แม้ในขณะเลกิ นั่งสมาธแิ ล้ว ก็ให้นกึ ถงึ ดวงแก้วหรอื องค์พระน้ีบ่อย ๆ ทกุ อริ ิยาบถ ทกุ กิจกรรม น่งั นอน ยนื เดนิ เข้าห้องน้ำ� ล้างหน้า แปรงฟัน อาบน้�ำ รับประทานอาหาร แต่งตวั ขบั รถ นกึ ธรรมดา แต่นกึ บ่อย ๆ เพื่อให้ใจคุ้นเคยกับศนู ย์กลางกายฐานท่ี ๗ ไม่ช้าใจกจ็ ะหยุดนิ่งได้อย่างสมบรู ณ์ แล้วจะ มดี วงใส ๆ บรสิ ทุ ธิป์ รากฏข้ึนมาพร้อมกบั ความสขุ ทีย่ ิ่งใหญ่ ฝกึ ตอ่ ไปจนใหช้ �ำนาญ กจ็ ะเหน็ ดวงนน้ั ชดั ใสสวา่ งอยใู่ นกลางทอ้ งของเราทงั้ หลบั ตาลมื ตา เหมอื น เป็นส่วนหน่งึ ของร่างกาย นกึ ให้เหน็ ชดั ตลอดเวลาในทกุ อริ ยิ าบถ ผลแห่งสมาธิจะท�ำให้ชีวิตด�ำรงอยู่บนเส้นทางแห่งความสุข ความส�ำเร็จ และความไม่ประมาท ได้ตลอดไป ท้ังยังจะทำ� ให้สมาธลิ ะเอียดอ่อนก้าวหน้าไปเรอ่ื ย ๆ จนกระทง่ั เข้าถงึ พระธรรมกาย บุญจาก การท�ำสมาธิภาวนาที่เราสั่งสมไว้ในชาติน้ี ยังจะส่งผลให้บรรลุธรรมได้โดยง่ายในชาติเบ้ืองหน้า และ ก้าวหน้าได้อย่างรวดเรว็ รวมท้งั จะท�ำให้เป็นผู้มสี ตปิ ัญญาเฉยี บแหลมอีกด้วย ๔๘ ปี วดั พระธรรมกาย | 363
ข้อมูลทางบรรณานกุ รมของส�ำนกั หอสมดุ แห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย : MISSIONS FOR PEACE (ปฏบิ ัติการเพ่อื สันตภิ าพ). ปทมุ ธานี : วดั พระธรรมกาย, ๒๕๖๑. จำ� นวน ๓๙๒ หน้า ๑. วัดพระธรรมกาย ๒. หลวงพ่อธมั มชโย ๓. พทุ ธศาสนา ๔. พทุ ธศาสนากบั สังคม ๕. โครงการฟื้นฟศู ลี ธรรมโลก ๖. ศลี ธรรม ๗. สนั ตภิ าพ I. ช่ือเร่ือง ISBN : 978-616-474-943-6 ชื่อหนังสอื ๔๘ ปี วัดพระธรรมกาย : MISSIONS FOR PEACE (ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ สนั ติภาพ) ผจู้ ัดท�ำ วัดพระธรรมกาย (ส�ำนักสือ่ สารองค์กร, ส�ำนกั ส่ือธรรมะ) ผู้สถาปนาโครงการฟื้นฟูศลี ธรรมโลก หลวงพ่อธมั มชโย ท่ีปรกึ ษากิตติมศักด์ิ หลวงพ่อทตั ตชีโว พระครูสงั ฆรกั ษ์รงั สฤษด์ิ อิทธฺ ิจนิ ฺตโก (เจ้าอาวาสวดั พระธรรมกาย) ท่ปี รกึ ษา พระครปู ลดั สุวฒั นโพธคิ ุณ พระครสู มุห์วษิ ณุ ปญฺาทีโป พระครใู บฎีกาอำ� นวยศกั ดิ์ มุนิสกโฺ ก เมตตา สวุ ชิตวงศ์ และบรษิ ัท DM&S Advertising Co,.Ltd. ลอื พงศ์ ลีลพนงั บรรณาธิการบริหาร พระสนทิ วงศ์ วฑุ ฺฒิวํโส ผ้ชู ่วยบรรณาธกิ าร พระจริ พัทธ์ กติ ฺติภทโฺ ท พระมหานพพร ปญุ ฺชโย (ป.ธ.๙) ระพีพรรณ ใจภกั ดี กองบรรณาธิการ พระมหาทศพร ปญุ ฺงกฺ ุโร พระเอกลกั ษณ์ ธมมฺ โชโต วลัยลักษณ์ มงคลกาวลิ สดุ ปรารถนา จารชุ าต สุธิดา จินดากจิ นุกลู อมรรตั น์ สมาธทิ รพั ย์ดี อนุธิดา ศริ ิบ�ำรงุ กุลมนิ ตรา ไทยานนั ท์ จันทนา เมฆวลิ ัย กนกพร เทศนา จตรุ พร สมแก้ว ยพุ า แข่งขนั บุษบา ธาราสมบตั ิ ธัญชนก ดรณ์ธรรมชัย ออกแบบปก เมตตา สวุ ชติ วงศ์ และบรษิ ัท DM&S Advertising Co,.Ltd. ศิลปกรรม ชยั ชนะ กติ ตโิ สภาพันธ์ุ สุชาติ นิทศั น์พฒั นา สุพตั รา ปัญญาแสง ภาพ ศนู ย์ภาพนง่ิ และบรรณาธกิ ารภาพ ลขิ สทิ ธิ์ วดั พระธรรมกาย พิมพค์ ร้ังท่ี ๑ จำ� นวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม วันท่พี มิ พ์ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๑ (วนั ครูผู้ค้นพบวชิ ชาธรรมกาย) พิมพ์ท่ี บริษัท รุ่งศลิ ป์การพมิ พ์ (๑๙๗๗) จ�ำกดั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368