www.kalyanamitra.org คำ ว่า นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ เมื่อฌื่อหน่าย ย่อมสิ้นกำหนัด ๒. วิราคะที่มาต่อกับวิมุตติ จัดเป็น อริยมรรค เช่น ในคำว่า วิราคา วิมุจฺจติ เพราะสิ้นกำหนัด ย่อมหลุดพ้น ๓. แต่ว่าถ้าในที่ใดวิราคะมาตามลำพัง ในที่นั้น วิราคะ จัด เป็นอริยผลเช่นในคำว่า วราโค เสฏฺโ^ธมมานํฯปฯ วิราคะเป็น สิ่งประเสริฐ แห่งธรรมทั้งหลาย ฯลฯ ๓.วิมุตสิ ความหลุดพ้น อุทเทส ๑. วิราคา วิมุจฺจติ: เพรๅะสิ้นกำหนัด ย่อมหลุดพ้น. ๒. กามาสวาปี จิตฺตํ วิมุจจิตฺถ ภวาสวาปี จิตฺดํ วิมุๆจิตถ อวิชชาสวาปี จิตฺตํ วิมุจุจิตฺถ. จิตหลุดพ้นแล้ว แม้จากอาสวะเนื่องด้วยกาม จิตหลุดพ้นแล้ว แม้จากอาสวะเนื่องด้วยภพ จิตหลุดพ้นแล้ว แม้จากอาสวะ เนื่องด้วยอวิชฺชา. ๓. วิมุตฺตสฺมี วิมุตฺตมิติ ฌ้าณํ โหติ. เมื่อหลุดพ้นแล้ว ญาณว่าหลุดพ้นแล้ว ย่อมมี. วิมุตติ คือความหลุดพ้น หมายถึงหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย จิตเบนผู้หลุดพ้น อาสวะ ๓ อาสวะ คือกิเลสที่ดองอยู่ หรือหมักหมมอยู่ในสันดาน ได้แก่ กิเลสที่เป็นเจ้าเรือน เรืยกว่า อาสวะ ในบาลี เรืยกว่าอาสวะ ลํวนใน อริรถกถา เรียกว่ากิเลส ๓๐๐
www.kalyanamitra.org ๑. กามาสวะ เทียบด้วย กามตัณหา ๒. ภวาสวะ เทียบด้วย ภวตัณหา ๓. อวิชชาสวะ ได้แก่ ตัวอวิชชาเอง คือความไม่รู้แจ้งด้วย ความเขลา ซึ่งสงเคราะหเข้าในอาการของโมหะ วิมุตติ ในบาลีอุทเทสข้อที่ ๑ ท่านว่าได้แก่อริยผล เพราะสืบ เนื่องมาจากวิราคะ วิมุตติ ในบาลีอุทเทสข้อที่ ๒ ท่านว่าได้แก่อริยมรรค เพราะ ท่านได้แสดงไว!นลำดับแห่งการรู้แจ้งอริยสัจ ๔ วิมุตติ ในบาลีอุทเทสข้อที่ ๓ ท่านว่าเป็นอริยผล เพราะท่าน แสดงญาณที่สืบเนื่องมาจากวิมุตติ 1 'i
www.kalyanamitra.org วิมุตสิ ๒ ตามบาลี ๑. เจโตวิมุตติ ความหลุตพ้นด้วยอำนาจแห่งใจ เป็นปฏิปทา ของพระอรหันต์ผู้สำเร็จอริย่มรรค ด้วยการบำเพ็ญสมถัะและวิปัสสนา มาโดยลำดับ ๒. ปัญญาวิมุตติ ความหลุตพ้นด้วยอำนาจแห่งปัญญา เป็น ปฏิปทาของพระอรหันต์ผู้สำเร็จอริยผล ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่าง เดียว วิมุตสิ ๙ ตามอรรถกถา - ๑. ตหังควิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยองต์นั้นๆ หลุดพ้นชั่วคราว ๒. วิกฃัมภนวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยข่มไว้ ๓. สมุจเฉทวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยดัดขาด ๔. ปฏิปั'สสัทธิวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยสงบราบคาบ ๔. นิสสรณวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยออกไปเลีย แตนแห่งวิมุตสิ ๙ ในวิมุตตายตนสูตร ปัญจกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระพุทธองต์ ทรงแสดงวิมุตตายตนะ คือแตนแห่งวิมุตติ สิ่งที่ทำแล้วทำให้หลุดพ้น จากกิเลสได้ มี ๔ อย่างคือ ๑. การฟังธรรม ๒. การแสดงธรรม ๓. การสาธยายธรรม ๔. การตรึกตรองพิจารณาธรรม ๔. การทำกรรมฐาน ๓๐๒
www.kalyanamitra.org วิมุดดิที่เป็นอริยมรรคนละอริยผล ๑. วิมุตติกับวิมุตติญาณทัสสนะ ถ้ากล่าวถึงพร้อมกันในทีใด พึงเข้าใจํว่าวิมุตติ ได้แก อริยมรรค วิมุตติญาณทัสสนะ ได้แก่ อริยผล ๒. ถ้าเฉพาะวิมุตติอย่างเดียว เป็นได้ทังอริยมรรคทังอริยผล วิมุตติที่เป็นโลกิยะและโลกุดตระ วิมุตติที่สืบเนื่องมาจากนิพพิทาและวิราคะจัดเป็นโลกุตดระ และอนาสวะ ถ้าเพ่งถึงวิมุตติ ๔ก็เป็นได้ทังโลกิยะทังโลกุตตระคือ ๑. ตทังควิมุตติกับวิกข้มภนวิมุตติ จัดเป็นโลกิยะ ๒. สมุจเฉทวิมุตติ ปฏิป๋สสัทธิวิมุตติและนิสสรณวิมุตติ จัด เป็นโลกุตดระ วิมุตติ ของพระอเสฃะ มีไตรสิกขาคือ คืล สมาธิ ทัญญา บริบูรณ์ ๔.วิสทธิ ความหมดจด วิสุทธิ คือความหมดจดแห่งจิต เพราะเมื่อจิตหมดจดจาก กิเลสกามหรือจากอาสวะได้แล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความเศร้าหมอง ผ่องแผ้ว ดุจผ้าที่ฟอกแล้ว ย่อมหมดจดจากมลทินขาว่ผ่องฉะนัน ความหมดจดนี้ย่อมเกิดได้ด้วยป๋ญญา อุทเทส ๑. ปฌฌาย ปริสุชฺฌติ. ย่อมหมดจดด้วยป๋ญญา. ๓๐๓
www.kalyanamitra.org ๒. เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา. นั่นเป็นทางแห่งวิสุทธิ. น^' # .1 ความบริสุทส์.น ๓ ศาสนา หล'กศาสนาพราหมณ์ ถือว่าบาปที่ทำแล้วอาจลอยเสียด้วยการ อาบนํ้าในแม่นํ้าคงคา หลักศาสนาคริสส์ ถือว่าสวดมนตอ้อนวอนพระผู้เป็นเจ้าเพื่อ โปรดยกโทษให้ เช่นเดียวกับพระเจ้าแผ่นดิน ได้พระราชทานอกัยโทษ แก่ผู้ทำผิดให้พ้นพระราชอาชญา หลักศาสนาพุทธ ถือว่าความหมดจดจะมีได้ด้วยปั'ญญา จะมี ได้ด้วยเหตุอื่นไม่ได้ หมายความว่า บุญบาปจะมีได้เพราะตนเองเป็นผู้ กระทำ ไม่มีใครมาช่วยทำให้บริสุทธหรือไม่บริสุทธิ้ได้ ดังพระบาลีว่า
www.kalyanamitra.org อดดนา กดํ ปา!] อตฺตนา สงฺกิลิสฺสดิ อดฺดนา อกดํ ปา!] อดฺดนา ว วิสุชฺฌดิ สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตุด นาผโผ อฌฺฌํ วิโสรเย. ทำ บาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง ไม่ทำบาปเอง ย่อมหมดจดเอง ความหมดจดและความเศร้าหมองเป็นของเฉพาะตน คนอื่นยังค่นอื่น ให้หมดจดหาได!ม่. ปฏิปทาแห่งวิสุทธิ ทำ นได้แสดงปฏิปทาแห่งวิสุทธิด้วยวิป็'สสนาญาณ ๙ ซึ่งมีอย่ ใ!๓าวะเป็นปุถุชนและภาวะเป็นอริยะ วิป๋สสนาญาณ ๙ คือ ๑. อุทยัพพยญาณ พิจารณาด้วยป๋ญญาว่าสังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง เพราะเพ่งความเกิดและความ ดับแห่งสังขาร ๒. ภังคญาณ พิจารณาเห็นแต่ความแปรปรวนความ ดับไปในชฺวขณะ ๓. ภ่ยดูป๋ฏฐานญาณ พิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นอนัตตาเห็น ในขณะเดียวดันปรากฏโตยเป็นของน่า กลัว ๔. อาทีนวญาณ พิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นทุกข์ ; ๔. นิพพิทาญาณ ความหน่ายในสั3ขารซึ่ป็เกิตด้วยปัญญา ๖. มุญจิตุดัมยตาญาณ ความหน่ายนั้นเป็นปฏิปทา เครึ่องน่า ไปถึงความเป็นผู้จะปลตอุปาทานเสีย ๗. ปฏิสังขาญาณํ , พิจารณาอุบายเครื่องหลุตพ้น ๘. สังขารุเปกขาญาณ ความวางเฉยในสังขาร ๙. สัจจานุโลมิกญาณ พิจารณาเห็นอนุโลมในอริยสัจ ๓๐ร:
www.kalyanamitra.org อธิบายวิป๋สสนาญาณ ๙ ๑. อุฑยัพพยญาณ ได้แก่ บุคคลผู้พิจารณาเห็นด้วยป๋ญญๆว่า สังขารไม่เที่ยง เพราะเพ่งความเกิดความดับ นี้ดัดเป็นอุทยัพพยญาณ คือเห็นเกิดดับ ๒. ภ้งคญาณ ได้แก่ บุคคลผู้พิจารณาเห็นด้วยป๋'ญญาว่า สังขารไม่เที่ยง เพราะเพ่งความแปรในชั่วขณะ นี้ดัดเป็นภงคญาณ คือ เห็นย่อยยับ ๓. ภยดูป้^นญาณ ได้แก่ บุคคล^จารณาเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารเป็นอนัตตาย่อมเห็นในขณะเดียวกัน นี้ดัดเป็นภยตูปัฏฐานญาณ คือเห็นปรากฏโดยความเป็นของน่ากสัว ๔. อาทีนวญาณ ได้แก่ บุคคลผู้พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารเป็นทุกข นี้ดัดเป็นอาทนวญาณ คือเห็นโทษ ๔. นิพพิทาญาณ ได้แก่ บุคคลผู้พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่า สังขาร่เป็นของน่าเบื่อหน่ายในลำดับ นี้ดัดเป็นนิพพิทาญาณ คือเห็น ความหน่าย ๖. มุญจิตกัมยตาญาณ ได้แก่ บุคคลผู้พิจารณาเห็นด้วย. ปัญญาว่านิพพิทานัน ย่อมเป็นปฏิปทาเครื่องสาวไปถึงความเป็นผู้ใคร่ จะปลดเปลื้องอุปาทานเสีย นี้ดัดเป็นมุญจิตุกัมย่ตาญาณ คือเห็นด้วย ความใคร่จะพ้นไปเสีย ๗. ปฏิสังฃาญาณ ได้แก่ บุคคลผู้พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่า เมื่อปรารถนาจะพ้นแล้วก็พิจารณาหาอุบาย นี้ดัดเป็นปฏิสังขาญาณ คือเห็นการพิจารณา ๘. สังฃารุเปกขาญาณ ได้แก่ บุคคลผู้พิจารณาเห็นด้วย ปัญญาว่า เมื่อเห็นการพิจารณาแล้วต่อนั้นก็วางเฉยในสังขาร นี้ดัด เป็นสังขารเปกขาญาณ คือเห็นการวางเฉยในสังขารโดยลำดับกัน ๓๐๖
www.kalyanamitra.org ๙. สัจจานุโลมิกญาณ ได้แก่ บุคคลผู้พิจารณาเห็นด้วยป็'ฌญา ว่า เมื่อเห็นการวางเฉยในสังขารแล้ว แต่นั้นเห็นอนุโลมอริยสัจ นี้จัด เป็นสัจจานุโลมิกญาณ คือเห็นอนุโลมอริยสัจ ได้แก่ สัจจานุโลมิกญาณ ภาวะเป็นอริยะอยู่ในตัวต่อแห่งภาวะเป็นปุถุชนและภาวะเป็นอริยะ ญาณนี้ ท่านเรียกว่า โคตรภูญาณ ก็มีหมายความว่า ญาณ ครอบโคตร คือล่วงภาวะเดิม ต่อนี้ไปเป็นภาวะแห่งอริยมรรคและ อริยผลโดยลำตับ วิสุทธิ อีกนัยหนี้ง อฺทเทส มคฺคานฏฺ^งฺคืโก เสฎฺโ^ เอเลว มคฺโค นตฺถฌฺโฌ ทสฺสนสฺส วิสุทุธิยา. ทางมีองค ๘ เป็นทางประเสริญสุดแห่งทางทั้งหลาย. ทาง นั้นแลไม่มีทางอื่น เพื่อหมดจดแห่งญาณทัสสนะ.
www.kalyanamitra.org มรรคมีองค์ ๘ มรรค หมายถึง หนทางหรือวิธีการปฏบตสำหรับดำณนไปส่ ความดบทุกข เป็นหนทางเอกสายเดียวที่ทำให้ผู้ดำเนินตามเป็น พระอริยบุคคล มี ๘ ประการ คือ ๑. สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ คือเห็นว่า การให้ทานมีผลจริง การบูชามีผลจริง(การยกย่องบูชาบุคคลที๋ควรบชา) การเจ!นสรวงมีผลจริง (การสงเคราะห้กัน) ผลของกรรมดีและกรรม•๓มีจริง โลก&ริง(มีที่มา) โลกหน้ามีจริง มารคามีคุณจริง บิดามีคุณจริง โอปปฺาติกสัตว์มีจริง (สัตว์ ที่เกิดแล้วโตทันที) สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบิตดีปฏิบิติชอบรู้แจงเองแล้ว แสดงโลกนี้และโลกหน้าได้แจ่มแจ้งมีจริง ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ คือคืตที่จะออกจากกาม ไม่พยาบาท ไม่เบียดเบียน ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ คือไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ ๔. สัมมากิมมันตะ การงานชอบ คือไม่ฆ่าสัตว์ ไม่สักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม ๔. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีพชอบ คือการเว้นจากอาชีพผิด ธรรม ๔ ประการ ขายมนุษย์ ขายอาวุธ ขายสัตว์เป็นเพื่อเอาไปฆ่า ขายนํ้าเมา ขายยาพ้ษ. ๖. สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ คือเพียรไม่ให้อกคลธรรม เกิดขึ้น เพียุรสะอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว เพียรยังกุศลธรรมที่ไม่เกิด ขึ้นให้เกิดขึ้น เพียรยังกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้เจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป ๗. สัมมาสติ .การ.ระลึกชอบ คือสติบิ'ฏฐาน ๔'ได้แก่ กายานุบิ'สสนาสติบิฏฐาน การพิจารณาเห็นกายในกาย เวทนานุบิ'สสนา- สติปัฏฐาน การพิจารณาเห็นเวทนๆในเวทนา จ้ดดานุบิสสนาสติปัฏฐาน ๓๐CS
www.kalyanamitra.org การพิจารณาเห็นจิตในจิต ธัมมานุป๋'สิสนาสติปัฏฐาน การพจารณา เห็นธรรมในธรรม ๘. สัมมาสมาธิ การตั้3ใจชอบ คือสภาวะที่จิตสงัตจากกิเลสกาม และวัตถุกามแล้วเขาปฐมฌาน ทุติยฌ่าน ตติยฌาน จตุตถฌาน วลุฑธ ๗ ๑. สีลวิสุทธิ ความหมดจตแห่งศีล ๒. จิตตวิสุทธิ ความหมตจตแห่งจิต ๓. ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมตจดแห่งทิฏฐิ ๔. กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องข้าม พ้นความสงสัย ๔. มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็น เครื่องเห็นว่าทางหรือ รใช่ทาง . ๖. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็น เครื่องเห็นทางปฏิปัติ ๗. ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณทัศนะ มรรค ๘ เทียบกับวิสุทธิ ๗ สัมมาวาจา สัมมากัมมนตะ สัมมาอา#วะ สงเคราะห์เข้าใน สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สงเคราะห์เข้าใน จิตตวิสุทธิ สัมมาฑิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ ได้ในวิสุทธิ ๔ เป็นลำดับ โดยที่ สัมมาสังกัปปะ ทำ กิจพิจารณา สัมมาทีฏเ ทำ กิจสันนิษฐาน ๓๐๙
www.kalyanamitra.org วิสุทธิ ๗ ที่เป็นโลกิยะและโลกุดตระ ๑. วิสุทธิ ๔ ข้อข้างต้น คือสีลวิสุทธิ จิตตวิสุทธิ ทิฏเวิสุทธิ กังขาวิตรณวิสุทธิ มัคคามคคญาณทสสนวิสุทธิ จัดเป็นโลกิยะ ๒.วิสุทธิ ๒ ข้อเบื้องปลาย คือปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ และ ญาณฑัสสนวิสุทธิ จัดเป็นโลกุตตระ ๔. สันสิ ความสงบ อุทเทส ๑. สนฺติมคฺคเมว พฺรูหย. สูจงพูนทางแห่งความสงบนั่นแล. ๒. นตฺถิ สนฺสิปรํ สุขํ. สุขอื่นจากความสงบ ย่อมไม่มี. ๓. โลกามิสํ ปชเห สใ4ติเปกุโข. ผู้เพ่งความสงบ พึงละอามีสในโลกเสีย. สันสิ คือความสงบ หมายถึงสงบกาย สงบวาจา และสงบใจ สงบกายและสงบวาจาจัดเป็นสันดภายนอก สงบใจ จัดเป็นสันติภายใน ทางในอุทเทสข้อที่ ๑ นั้น ทางแห่งความสงบ หมายถึงทวาร ทั้ง ๓ คือ กายทวาร วจีทวาร มโนทวาร ทางที่จะดำเนินไปสู่สันฺติ คือ สงบกาย วาจา ใจ จากโทษกัย ละโลกามิส คือ กามคุณ ๕ เสีย มีสันติเป็นธรรมเครื่องอยู่ กล่าวคือ การทำ การพูด การคิดเป็นไปเพื่อสันติ เช่น ๑. เว้นจากเบียดเบียนกัน ๒. ชักนำเพื่อการทำความสามัคคื ๓. เว้นจากการวิวาทและผรุสวาจา ๔. กล่าวถ้อยดำอันสุภาพไพเราะ . ๓๑๐
www.kalyanamitra.org ๔. นึกคิดในทางเมตตา กรุณา ในทางที่ถูกทำนองคลองธรรม ๖.|1กจิตให้สงบ การทำ การพูด การคิดอย่างนี้ เรียกว่าปฏป้ดทางแห่งสันติ สันติเป็นโลกิยะและโลกุตดระ ๑. สันติที่เป็นโลกิยะ ได้ในบาลีว่า น หิ รุณฺเณน โสเกน สนฺตึ ปปฺโปติ เจตใส บุคคลย่อมถึงความสงบแห่งจิต ด้วยร้องให้ ด้วย เศร้าโศกกิหาไม่ ๒. สัแติที่เป็นโลกุตตระ ได้1นบาลีว่า โลกุามิสํ ปซเห สนุติเปกฺโข ผู้เพ่งสันติ พึงละโลกามิสเสีย ftc- . .๚ .. r'V-
www.kalyanamitra.org เหตที่ตรัสสอนให้พทธบริษัทพูนทางแห่งสินติ พระบรมศาสดาตรัสสอนให้พุทธบริษัทพูนทางแห่งความสงบนั้น เพราะมีพุทธประสงค์จะให้พุทธบริษัทได้ประสบความสุขอย่างแท้จริง เพราะความสุขที่แท้จริงนั้น ย่อ่มขึ้นอยู่กับความสงบ ความสงบจัดเป็น ความสุขอย่างยิ่ง ด้งในอุทเทสข้อที่ ๒ ว่า นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ สุขฮึ่น จาก ความสงบ ย่อมไม่มี ข้อควรจา สันติ ย่อลงเป็น ๒ คือ สันติภายนอก่ สันติภายใน สงบกาย และสงบวาจา จัดเป็นสันติภายนอก สงบใจ จัดเป็นสันติภายใน ทางแห่งสันติมี ๓ คือ กายทวาร วจีทวาร และมโนทวาร สันติ เป็นได้ทั้งโลกิยะทังโลกุตดระเช่นเดียวกับริสุทธิ โลกามีส เครื่องล่อใจให้ติดอยู่ในโลก คือ กามคุณ ๔ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏเพพะ อันนาปรารถนา น่าใคร่.น่าชอบใจ เหตุที่ท่านให้ละโลกามิสเสีย ก็เพราะโลกามิส เป็นเครื่องล่อใจให้ ติดอยู่1นโลก ตุจเหยื่อที่เกี่ยวเบ็ดอยู่ ผู้ติดโลกามิส ย่อมหาความสงบไมได้ ๖. นิพพาน อุทเทส ๑. นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทธา. พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ยอมตรัสว่านิพพานเป็นเยี่ยม. ๒. นิพพานคมนํ มคฺคํ ขิปปเมว ริโสธเย. พึงรีบชำระทางไปนิพพาน. ๓. นิพุพานํ ปรมํ- สุขํ. นิพพาน เป็นสุขอย่างยวดยิ่ง. ๓๑๒
www.kalyanamitra.org นิพพาน แปลได้ ๒ นัย ๑. นิพพาน แปลว่าดับหรือเย็น หมายถึงการดับเพลิงกิเลส คือราคะโทสะโมหะ และการดับเพลิงทุกข์ คือชาติ ชรา มรณะ ได้แก่ อนุปาทิเสสนิพพาน ๒. นิพพาน เฟลว่าธรรมชาติหาเครี๋องเสิยบแทงรได้ หมายถึง ไม่มีดัณหา ๓ คือกามดัณหา ภวดัณหฺา วิภวดัณหา เป็นเครื่อง เสียบแทง ได้แก่ สอปาทิเสสนิพพาน นิพ;พาน ๒ ๑. สอุปาทิเสสนิพพาน หมายเอาดับกิเลสแต่ขันธ์ยังทรงอยู่ (นิพพานเป็น) ๒. อนุปาทิเสสนิพพาน หมายเอาการดับขันธ์ของท่านผู้หมด กิเลส(นิพพานตาย) ศาสนาพราหมณ์ ตามความเข้าใจของศาสนาพราหมณ์ถึอว่า มีด้นเติม่อย่าง หนึ่งเรียกว่าปรมาตุมนุ เทียบกับศพท่มคธว่าปรมตุตปรมาตุมนุ นี้ สามารถแปงภาคเข้าลิงรูปกายอันสร้างขึ้นเป็นชนิตต่างๆได้ ภาค เหลานี้เรียกว่า อาตุมนุ เทียบกับภาษามคธว่า อตุตา ตกอยู่ในคติแห่ง กรรม ทำ บาปหนัก เทียบด้วยอนันตรียกรรมของเรา จุติจากร่างนี้แล้ว ย่อมตกนรกไม่มีกำหนตพ้น ที่ทำ ดีพอประมาณย่อมขนสวรรคชั้แตํ่า หรือเกิตในโลกได้อัตภาพเป็นคนmดี ที่ทำ บาปไม่ถึงหนักย่อมตกนรก ชั่วคราวบ้าง ได้อัตภาพเป็นสัตว์ติรัจฉาน เป็นปีศาจ เป็นยักษ์ เป็น มนุษIimเลวบ้าง ที่ทำ ดีย่อมผสัตคติให้ดีขึ้นั เมื่อ อาตุมนุ ท่องเที่ยว ไปในที่สุตย่อมบรีสุทธิ้จากบาปทั้งปวง ได้ซื่อว่า มหาตุมนุ เทียบกับ ๓๑๓
www.kalyanamitra.org สัพท์มคธวุ่า มหตฺตา แปลว่า อัตตาใหญ่ มหาตุมนุ นี้ จุติจากร่างที่สุด แล้ว ย่อมกลับเข้าหา ปรมาตุมนุ อันุเป็นต้นเติม เป็นอยู่ถาวรไม่จุติ อีกเป็นที่สุดแห่งสงสารของเขา เรียกว่า นิรฺวาณมฺ แปลอย่างเดียวกับ นิพพานของเรา ศาสนาคริสต์ ตามมติแห่งลัทธิคริสต์ ก็บัญญ่ตที่สุดแห่งสงสารโดยทำนอง เดียวกันกับลัทธิของพราหมณ์ แต่หนักไปในทางบุคคลาธิษฐานที่ ถือว่า นักบุญเบื้องหน้าแต่ดายเพราะกายแดก ย่อมขึ้นสวรรคอยู่กับ พระเจ้าเป็นนิรันดรไม่โยกย้าย แต่ปฏิเสธการไต้อัดภาพเป็นมนุษยและ เป็นติร้จฉานชนิดต่างๆ.ลับสนกัน นิพพานดามมสิพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา ถือมูลเหตุอันเกิดแต่สังขารเป็นต้นสาย นิพพานเป็นปลายสายและปฏิเสธอัดดา แต่ยอมร้บความเชื่อมถืงกันแห่ง จุดI'แภพนี้และปฏิสนธิจิตในภพหน้า ยอมรบการดกนรกขึ้แสวรรต์ถือเอา กำ เนิดเป็นมนุษย้ แต่การดกนรกขึ้นสวรรคนั้นมีที่สุด เช่นพระเทวทัด และพระเจ้าอชาดสัดรูเป็นตัวอย่าง กล่าวถึงความบรีสุทธิ๋ดวยการสั่งสม บุญบารมีและการปฏิบฺติธรรมจนหมดกิเลสบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ โดยอาการอย่างเดียว ต้องสำเร็จตุ้วยวิริยะกับปัญญา แต่ยอมร็บว่าไม่ สำ เร็จโดยรวดเร็ว เช่นระยะการบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์เป็น ตัวอย่าง แต่สัดค้านการคอยให้บริสุทธิ๋เองโดยไม่ต้องทำอะไรเลย เรียกว่า สิงสารสทธิ
www.kalyanamitra.org ยกย่องนิพพานเป็น ๒ คือ ๑. ยกย่องว่าเป็นธรรมไม่ตาย ไดIนคำว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ. ความไม่ประมาทเป็นทางไม่ตาย ๒. ยกย่องว่าเป็นฐานไม่จุติ ไดIนคำว่า เต ยนฺติ อจฺจุตํ ^ไนํ ยตฺถ คนฺตวา น ใสจเร. มุนีเหล่านั้น ย่อมไปสู่สถานที่อันไม่จุติ ที่ไป แล้วไม่เศร้าโศก บาลีแสดงปฏิปทาแห่งนิพพาน ๑. อปุปมาทรโต ภิกฺขุ ปมาเท ภยทสุสื วา อภพโพ ปริหานาย นีพฺพานสฺเสว สนฺติเก. ภิกษุยินดีในความไม่ประมาทแล้ว หรือเห็นภิยในความ ประมาทโดยปกติ ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อเสื่อมรอบ ย่อมปฏิบติใกล้ นิพพานเทียว ๒. สตถุครุ ธมุมครุ สงฺเฆ จ ติพฺพคารโว สมาธิครุ อาตาปี สิกขาย ติพฺพคารโว อปฺปมาทครุ ภิกข ปฏิสนฺถารคารโว • อภพโพ ปริหานาย นิพฺพานสฺเสว สนฺติเก. ภิกษุหนีกในพระศาสดา\" หนีกไนพระธรรม มีความเคารพกล้า ในพระสงฟ้ มีความเพียรหนีกในสมาธิ มีความเคารพกล้าในสิกขา หนักในความไม่ประมาท และเคารพในปฏิสันถาร ย่อมเป็นผู้ไม่ควร เพื่อเสื่อมรอบ ย่อมปฏิบติใกล้นิพพานเทียว. ๓. ยมุห็ ฌานฌฺจ ปญฌา จ ส เว นิพพานสนฺติเก. ฌานและป๋ญญามีในผู้!ด ผู้นั้นปฏิบติใกล้นิพพาน. ๔. เต ฌายิโน สาตติกา นิจฺจํ ทฬฺทปรกกมา ผุสนฺติ ธีรา นิพฺพานํ โยคฤเขมํ อนุตุตรํ. ๓๑๔
www.kalyanamitra.org ธีรชนเหล่านน เข้าฌาน มีเพียรติดต่อ มีความบากบันมันคง เป็นนิตย์ ย่อมถูกต้องนิพพานอันเกษมจากโยคะ หาธรรมอื่นยิ่งกว่ามิได้. ๔. สิญจ ภิฤขุ อิมํ นาวํ สิตฺตา เต ลหุเมสุสติ เฉตฺวา ราคฌฺจ โทสฌฺจ ตโต นิพฺพานเมหิสิ. ภิกษุ เธอจงวิดเรือนี้ เรืออันเธอวิดแล้ว จักพลันถึง เธฺอตัด ราคะและโทสะแล้ว แต่นั้นจักถึงนิพพาน. เรือหมายเอาอัตภาพร่างกายของคนเรานี่เอง ส่วนอาการที่วิด นั้นหมายถึงการบรรเทากิเลสและบาปธรรมเสียได้ จนขจัดได้เด็ดขาด จักพลันถึงท่าคือนิพพาน ๖. สติ กายคตา อุปฏรืตา ฉลุ ผสุสายตเนลุ ส์วุโต สตฺตํ ภิฦชุ สมาหิโต ชฌฌา นิพพานมตตโน.
www.kalyanamitra.org ภิกษุผ้เข้าไปตั้งกายคตาสติแล้ว สังวรในปอเกิดแห่งผัสสะ ๖ แล้ว มีจิตตั้งมันติดต่อแล้ว พึงร้นิพพานแห่งตน. บาลีแสดงสอุปาทเสสนิพพาน ๑. ตณฺหาย่ วิปฺปหาเนน นิพฺพานํ อิติ วุจุจติ. เพราะละตัณหาเสีย ท่านกล่าววา นิพพาน. ๒ .สพฺพโส ตณหานํ ขยา อเสสวิราคนิโรโธ นิพฺพานิ ความตับด้วยสำรอกโดยไฝเหลือ เพราะสินแห่งตัณหาทั้ง- หลายโดยประการทั้งปวง เป็นนิพพาน. :๓. เอกา หิ ธาตุ อิธ ทิฏ^ธมมีกา สอุปาทิเสสา ภวเนตฺติสงฺขยา. ธาตุอันหนึ๋งแล เป็นไปในธรรมอันแลเห็นแล้วในโลกนี้ เป็น นิทพานธาตุ มีอุปาทิอั3เหลือ เพราะสิ้แธรรมชาติผู้นำไป^พ.(คือติณหา) บาลีแสดงอนุปาทิเสสนิพพาน ๑. อภิฌฺจนิ อนาทานิ เอต่ ทีป๋ อนาปรํ นิพฺพานิ รติ นิ พรูมี ชรามจฺจุปริฤขยํ. เรากล่าวทวีปนั่นมีใช่อื่น หาห่วงมีได้ หาเครื่องยึดมีได้ เป็น ' ที่สินรอบแห่งชราและมัจจุว่า นิพพาน.(ปี'ญหๆกัปปมารนพ ปารายนวรรค สุตตนิบิาต) ๒. อนุปาทิเสสา ปน สมฺปรายึกา ยมหิ นิรุชฺฌนฺติ ภวานิ สพฺพโส. ส่วนธาตุเป็นไปในธรรมอันจะพึงถึงข้างหน้า ที่ภพทั้งปวงตับ แล้วด้วยประกaรทั้งปวง. เป็นนิพพานธาตุหาอุปาหิเหลือมีได้.s ๓๑6/
www.kalyanamitra.org ๓. เตสํ วูปสโม สุโข. ความเข้าไปสงบแห่งสังขารเหล่านั้น ย่อมเป็นสุข. ๔. อตฺถิ ภิฤขเว ตทายตนํ ฯเปฯ ตํ เอเสวนโต ทุฤขสุสาติ. ภิกษทั้งหลาย อายตนะนั้นมีอยู่ ที่ดิน นํ้า ไหเ ลม ไม่มีเลย อากาสานัญจายตนะ วิญญาณญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็มีใช่ โลกนี้ก็มีใช่ โลกอื่นก็มีใช่ ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ทัง ๒ ก็มีใช่ อนึ่ง ภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล่าวเลยนึ่ง อายตนะนันว่าเป็นการมา เป็นการไป เป็นการยืน เป็นการจุติ เป็นการเกิด อายตนะนั้นหาที่อาศัยมีได้ มิได้เป็นไป หาอารมณมิได้ นั้นแลที่สุตแห่งทุกข้. ในสตรนี้ เรียกนิพพานว่า อายตนะ และส่องให้เห็นเนื้อความ ว่านิพพานนันย่อมมีสภาพดังนื้ คือ ๑. มิใช่รูปขันธ ๒. มิใช่นามขันธ ๓. มิใช่โลกน ๔. มิใช่โลกอื่น ๔. มิใช่เป็นโลกเองพร้อมทั้งสัตวโลก ๖. เป็นปลายสายแห่งทุกขขันธ์ ๔. อตฺถิ ภิฤขเว อชาตํ อภูตํ อกตํ อสงุขตํ. ภิกษุทั้งหลาย อายตนะอันไม่เกิดแล้ว ไม่เป็นแล้ว ไม่แต่ง แล้ว มีอย่. ด้พทว่า อุปธิ มี ๒ นัย ๑. เป็นชื่อของกิเลส ด้วยอรรถว่าเข้าไปยืดถือเข้าครอง . ๒.เป็นขื่อแห่งเบญจข้นธ์ ด้วยอรรถว่า เข้าไปยึดถือหอบไว้ซึ๋aทุกข์ ๓๑C?
www.kalyanamitra.org นิพพุตศ้พท์มี to นัย ๑. ใ^นอรรถทั่วไป เช่นคา■ว่า สาสิกุรํ สุนิพฺพุตํ ข้าวตังแหง ข้าวสาลี อันเย็นดแล้ว ๒. ใช1นอรรถละเอียดลีกซึ้a เช่นคำว่า อตฺถิ น'ิ เ^ น นิ'พฺพุโติ ปุมา ความตับมีอยู่คนผู้ตับหามีไม่ ทางไปนิพพาน ในธัมมจักกัปปวัติตนสูตร แสดงมัชฌิมาปฏปทา คือทางสาย กลางโดยไม่ถือมนส่วนสุดทั่งสอง คือกามสุ'ฃัลลิกา'นุโยค การตาม ประกอบความเป็นผู้ติดข้องอยู่ในกามสุข อันเป็นสายที่ย่อหย่อนเกิน ไป และอัดตกิลมถานุโยค การบำเ'ท็ญเ'ทียรทำตนใ'ท้ลำบากอันเป็น ทางสายตึงเกินไปแล้วแสดงทางมีองค์ ๘ มีสัมมาทิฏฐ เป็นต้น ใ'พ้ สาธุชนปฏิบตสิกหัดกาย ว่าจา ใจ ไปตามทางนั้นๆใ'ค้เป็นส่วนภาวนา กิจะบร่รธุถึงนิพพานอันจัดว่าเป็นทางปลายสายแฟงพระ'ทุทธศาสนา โดยไม่ยากลำบากนัก . นิพพานเป็นบรมสุข ที่ว่า นิพพานเป็นบรมสุขนั้น คือ ตับ สงบ เย็น เป็นสุขที่ไม่มี อามิสเจือปน ร่งเรียกว่า นิรามิสสุข ข้อควรจำ นิพพาน แปลว่า ตับหรีอเย็น หมายเอาอนุปาทิเสส แปลว่า ธรรมชาติหาเครื่องเลียบแทงมิไต้ หมายเอา สอุปาทิเสส - อุปธิ ไต้แก่ ตัณหา ทฏฐิ กิเลส กรรม 'อุจรีด อาหาร ปฏิฆะ ๓๑๙
www.kalyanamitra.org อุปาทินนธาตุ ๔ อายตนะ ๖ วิญญาณ ๖ อุปธิ ย่อให้สั้นลงได้ ๓ คือ กิเลส กรรม วิบาก ต'ณหา ทิฏเ กิเลส จัดเป็นส่วนกิเลส เพราะเป็นเหตุเศร้าหมองภายใน ด้วยกัน เรียกโดยชื่อว่า กิเลสปธิ . กรรม ทุจริต .อาหาร จัดเป็นส่วนอภิสังขาร เพราะเป็นสภาพุ ปรุงแต่งสังขารเหมือนกันเรียกโดยชื่อว่า อภิสังขารูปธิ อุปาทินนธาตุ อายตนะ วิญญาณ จัดเป็นส่วนขันธิ เพราะเป็น วิบากด้วยกัน เรียกโดยชื่อว่า ขันธูปธิ ปรมัดถะ ในคำว่า ปรมัดลปฏิปทา นั้น ท่านหมายเอานิพพาน เพราะนิพพานเป็นที่ดับขันธ์ และเหตุแห่งทุกข์โดยสิ้นเซิง เป็นคุณธรรมที่ อำ นวยประโยชนอย่างยอดยิ่ง ไม่มืคุณธรรมอื่นใดจะให้ประโยชน์ถึง เพุยงนั้น {โผหาและเฉลยบทที่ ๒ ๑. ข้อใด เป็นความหมายของวิราคะ ? ก. สิ้นอาสัย ข. สิ้นกำหนัด ค. สิ้นวัฏฏะ ง. สิ้นุดัณหา ๒. ความหน่ายในสังขาร เป็นเหตุให้อะไรเกิดขึ้น? . ก. ความหลุดพ้น ข. ความท้อแท้ ค. ความฟ้งซ่าน ง. ความสิ้นกำหนัด ๓. ข้อว่า \"ธรรมยังความเมาให้สร่าง\" นั้นฺ เมาอะไร? . ก. เมาสุราเมรัย ข. เมาสิ่งเสพตดให้โทษ ค. เมาอายุ วัย ยศ ง. เมากิเลส ดัณหา ราคะ ๔. ข้อว่า •\"นำเสิยชื่งความระหาย\" หมายความว่าอย่างไร? ก. กำ จัดความหิวได ข. กำ จัดความทกข์ร้อนได้ ๓๒๐
www.kalyanamitra.org ค. กำ จัดตัณหาเสียได้ ง. กำ จัดความยากจนได้ ๔. ความติดพันห่วงใยในอารมณ์อันเป็นที่รัก เรียกว่าอะไร? ก. ความเมา ข. ความระหาย ค. อาลัย ง. ตัณหา ๖. ข้อใด ไมใช่ความหมายของตัณหา ? ก. ความอยาก ข. ความหงุดหงุด ค. ความเพลิดเพลิน ง. ความปรารถนา ๗. ความเวียนเกิดด้วยอำนาจกิเลส กรรม วิบาก เรียกว่าอะไร ? ก. วัฏฏะ ข. อาลัย ค. ตัณหา .ง. วิบาก ๘. ข้อใด ไฝใช่อารมณ์ยั่วยวนไห่เกิดความเมา.ในเรื๋องวิราคะ? กํ. สุข ข. ทุกข้ ค. บริวาร ง. ชีวิต ๙. การถือความศักดิ้ลิทธิ้อันเนื่องมาจากเทพเจ้า มีการบวงสรวงขอ พรจากพระอินทร์เป็นด้น สงเคราะห์เข้าในอาสวะข้อใด ? ก. กามาสวะ ข. ภวาสวะ ค. อวิชชาสวะ ง. ถูกทุกข้อ ๑๐.วิกข้มภนวิมุตฺติ เป็นความหลุดพ้นด้วยอำนาจแห่งอะไร? ก. ฌาน ข. ป๋'ญญา ค. ญาณ ง. สัทธา ๑๑.วิกฃัมภนวิมุตติ ความหสุ่ดพ้นด้วยช่มไว้นั้น ฃ่มอฺะไร? ก. นิวรณ์ ข. โทสะ ค, ตัณหา ง. กิเลส ๑๒. การบรรลุอริยผล ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว จัดเป็น...? ก. เจโดวิมุตติ ข. ปัญญาวิมุตติ ค. วิกขัมภนวิมุตติ ง. สมุจเฉทวิมุตติ ๓๒๑
www.kalyanamitra.org ๑๓. การพ้นจากกิเลสด้วยอำนาจอริยมรรค ละกิเลสได้เด็ดขาด จัด เป็นผลของวิมุดติข้อใด ? ก. ดทังควิมุดติ ข. สมุจเฉทวิมุตติ. ค. ปฐป๋สสัทธวิมุตติ ง. นิสสรณวิมุตติ ๑๔. วิสุทธิ ความหมดจดแห่งสัดวิทั้งหลาย ในพฺระพุทธศาสนา กล่าว เรื่องนี้ไว้อย่างไร? ก. สัตวิบริสุทธิ้ได้ด้วยลอยบาป ข. สั?!วิปริสุทธ1ด้ด้วยชำระบาป ค. สัดวิบริสุทธิ้ได้ด้วยปัญญา ง. สัดวิบริสุทธิ้ได้ด้วยเทพเจ้า ๑๔. พิจารณาเห็นสังขารอย่างไร จัดเป็นอุทยัพพยญาณ? ก. เห็นว่าไม่เที่ยง ข. เห็นว่าเป็นทกข้ ค. เห็นว่าเป็นอนัตตา ง. เห็นว่าว่างเปล่า ๑๖. พิจารณาเห็นสังขารอย่างไร จัดเป็นภยตูปัฏฐานญาณ? ก. เห็นเป็นของหนัก ข. เห็นเป็นของย่อยยับ ค. เห็นความเกิดดับ ง. เห็นเป็นของน่ากสัว ๑๗. ข้อใด เป็นทางนำไปสู่ความดับทุกข์ อันประเสรื่ฐที่สุด? ก. อริยทรัพย ๗ ข. มรรคมีองค ๘ ค. บุญกิริยาวิ'ตถุ ๑๐ ง. โลกธรรม ๘ ๑๘. การเลี้ยงข้พโดยงดเว้นทุจริตประกอบสุจริต จัดเป็นวิสุทธิใด? ก. จิตดวิสุทธิ ข. ทิฏเวิสุทธิ ค. กังขาวิตรณวิสุทธิ ง. สิลวิสุทธิ ๑๙. ธรรมที่ล่งผลต่อกันโดยลำดับจนถึงนิพพาน เหมีอนการ่เดินทาง ด้วยรถ ๗ ผลัด ตรงกับข้อใด ? ก. วิสุทธิ ๗ ข. อริยทรัพย์ ๗ ค. สัปปริสธรรม ๗ ง. โพชฌงค ๗ ๓๒๒
www.kalyanamitra.org ๒๐. ข้อใด ไมใช่สัมมาสังกัปปะ ? ก. คิดลด ละ เลิกก่าม ข. คิดลด ละ เลิกพยาบาท ค. คิดลด ละ เลิกชีวิต ง. คิดลด ละ เลิกเบียดเบียน ๒๑. ข้อใด ไมใช่สัมมากัมมันดะ ? ข. เว้นเจรจาหลอกลวง fh เว้นธุรกิจผิดกฎหมาย ง. เว้นธุรกิจค้าประเวณี ค.•เว้นสักฉ้อคอร์รปซํ่น ๒๒. ข้อใด ไมใช่สัมมาวายามะ ? ก. เพียรพยายามหนีปัญหา ข. เพียรหาวิธีปีองกันปัญหา ค. เพียรพยายามระงับปัญหา ง. เพียรพีญนาสิ่งดงามขึ้นมา ๒๓. ข้อใด ไม่นับเข้าในสัมมาสติ ? ก. เห็นโลกว้าเที่ยง ข. เห็นกายว้าเป็นสิ่งไฝงาม ค. เห็นเวทนาว้าแปรปรวน ง. เห็นจิดว้ามีความเกิดดับ ๒๔, สัมมาสติ จัดเข้าในวิสุทธิข้อใด ? ก. สีลวิสุทธิ ข. จิดตวิสุทธิ ค, ทิฏฐิวิสุทธิ ง. กังขาวิดรณวิสุทธิ ๒๔. ข้อใด มีความหมายสอดคล้องกับสิลวิสุทธิ? ก. เบื่อหน่ายการอย่ครองเรือน ข. ประกอบอาชีพสุจริต ค. เห็นว้าทุกข้เป็นสิงมีอยู่จริง ง. สอดคล้องทั้ง ๓ ข้อ ๒๖. คนที่เห็นว้า \"ทำสิได้ดี ทำ ขํ่ ได้ซว\" ตรงกับข้อใด ? . ก. สัมมาสติ ' ข. สัมมาฑิฏฐ ค. สัมมาสมาธิ ง. สัมมาสังกัปปะ ๒๗.ข้อใด จัดเข้าในจิตดวิสุทธิ? ก. สัมมาวาจา ข. สัมมากัมมันตะ ค. สัมมาอาชีวะ ง. สัมมาสติ — ๓๒๓
www.kalyanamitra.org ๒๘.การทำใจให้สงบเป็นสเ4าธิ จัดเป็นวิสุทธิใด ในวิสุทธิ ๗ ? ก. สีลวิสุทธิ ข. จิตตวิสุทธิ ค. ทิฏPสุทธิ ง.: ญาณทํสสนวิสุทธิ ๒๙. ข้อใด ไม่จัดเข้าในสีลวิสุทธิ ความหมดจดฺแห่งศีล ? ก; สัมมาวาจา ข. สัมมากมมนดะ ค. สัมมาอาชีวะ ง. สัมมาสมาธิ ๓๐. ข้อใด เป็นทางแห่งสันติภาพแท้ ? ก!ทำตามกฎหมาย ข. เชีอฟังผู้ใหญ่ ค. เคารพสิทธิผู้อื่น ง.มีกายวาจาใจสงบ ๓๑. ผู้เพ่งความสงบ่พึงละโลการสคำว่าโลการสคืออะไร? ก. กามคณ ข. กามฉันท้ ค. กามกิเลส ง. กามราคะ ๓๒. ผู้มีความสงบในการทำ การพูด การคิด เว้นจากการทำร้ายกัน ชื่อว่ามีธรรมใดอยู่ภายใน? ก. วิสุทธิ ข. วิมุตติ ค. สันติ ง. วิราคะ ๓๓. กามคุณ ๔ มีรูปเป็นต้น ไต้ชื่อว่าโลกามิส เพราะเหตุใด? ก. เพราะเป็นสิ่งน่าปรารถนา ข. เพราะเป็นเหยื่อดกปลา ค. เพราะทำให้เกิดในโลกนี้ ง. เพราะล่อใจให้ติดในโลก ๓๔. ข้อใด ไมใช่แน่วคิดแบบวิถีพูทธ ? ก. อยากไต้สันติ ควรพอกพูนทางสันติ ข. ผู้มุงสันติ ควรละผลประโยชนที่เป็นอามิส ค. อยากให้เกิดสันติ ควรทำให้คนเสิกจน ง. สันติภาพภายนอก เกิดจำกสันติภาพภายใน ๓๒(ET
www.kalyanamitra.org ๓๙. ข้อใด จัดว่าสวนทางกับพระนิพพาน? ก.วิมุตติ หลุดพ้น ข.วิสุทธิ บริสุทธิ้ ค. อรติ ไม่ยินดี ง. สันติ สงบ ๓๖ .ปฏิบติอย่างไร จึงจะเข้าใกล้พระนิพพาน? ก. แกสมาธิเป็นนิดย ข. เห็นภัยในความประมาท ค. ฟังธรรมสมํ่าเสมอ ง. รักษาศีลเป็นประจำ ๓๗. อุปมาว่า ไฟสิ้นเชื้อแล้วย่อมดับไปเอง กล่าวถึงเรื่องใด? ก. ฌาน ข. สมาบติ ค. อภิญญา ง. นิพพาน ๓๘. ข้อใด กล่าวถึงสอุปาทิเสสนิพพานได้ถูกต้อง ? ก. ปฏิบติเพื่อละกิเลส ข. สิ้นกิเลส มีชีวิดอยู่ - ค. สิ้นกิเลส สิ้นชีวิต ง. สิ้นชีวิต มีกิเลสอยู่ ๓๙. ด้มีจึดเป็นสมาธิตั้งมั่นดีแล้ว ย่อมรู้เห็นอะไร? ก. สภาพเป็นจริง ข. ภพชาติ . ค. อารมณ์ ง. ดัวดน ๔๐. คนทึ่โม่ประมาทและเห็นภัยในความประมาท จัดเป็นคนเซ่นไร ? ก. รู้จักพระนิพพาน ^ ข.ใกล้พระนิพพาน ค. เข้าสู่พระนิพพาน ง. ถึงพระนิพพาน ๔๑. พระดำรัสว่า \"ภิกษุเธอจงวิดเรือนี้\" เรือในที่นี้ คืออะไร? ก. อัดภาพ ข. กามภพ ค. รูปภพ ง. อรปภพ ๔๒. ข้อว่า ติน นํ้า ไฟ ลม ไม่มีในนิพพานนัน ล่องความว่าอะไร? ก. นิพพานเป็นโลกหนึ่ง ข. นิพพานเป็นนามขันธ ค. นิพพานมีใซ่รูปขันธ์ ง. นิพพานมิใซ่เบญจขันธ์ ๓๒ร:
www.kalyanamitra.org ๑. ข ๒. ง เฉลย ๔. ค ๔. ส ๖. ข ๗. ก ๙.ค ๑๐. ก ๑๑. ก ๑๒. ข ๓. ค ๑๔. ค ๑๔. n ๑๖. ง ๑๗. ข ๘. ข ๑๙. ก ๒๑. ข ๒๒. ก ๑๓. ข ๒๔.ข ๒๐. ค่ ๒๖. ข ๒๗. ง ๒๙. ง ๓๑. ก ๓๒. ค ๑๘. ง - ๓๔. ค ๒๔. ข ๓๖. ข ๓๗. ง ๒๓. ก ๓๙. ก ๓๐. ง ๔๑. ก ๔๒. ค ๒๘. ข ๓๔. ค ๔๐. ข ๓๓^ ง ๓๘. ข ๓๒๖
www.kalyanamitra.org บทที่ ๓ สมถกัมมัฏฐาน คานปลของสมถกัมมฎฐาน สมถะ แปลได้ ๓ นย คือ ๑. ธรรมเป็นเครื่องสงบระงับของจิต ๒. ธรรมอันยังจิตให้สงบระงับจากนวรณูปกิเลส ๓. ความสงบระงับของจิตภายใน กัมมัฏฐาน แปลว่า ที่ตั้งแห่งการ่งาน คือการทำงานทางใจ สมถภาวนา สมถภาวนา แปลได้ ๓ นัย คือ ๑. กุลบุตรผู้มีศรัทธามาเจริญสมถะ ทำ ให้เกิดขึ้นด้วยเจตนา อันใด เจตนาอันนั้น ชื่อว่า สมถภาวนา ๒. กุลบดรผ้มีศรัทธา ยังสมถะอันเป็นอุบายเครื่องสงบระงับ่ ของจิตให้เกิดมีขน ขอว่าสมถภาวนา ๓. เจตนาอันเป็นไปในัสมถกัมมัฏฐานทั้งหมดทั้งสิ้น ชื่อว่า สมถภาวนา ๓๒6/
www.kalyanamitra.org o อารมณ์ของสมถกัมมัฏฐาน ๔๐ ประการ มีพระพุทธพจนอยู่บทหนึ่งว่า \"สมาธึ ภิกฺขเว ภาเวถ สมาหิโต ยถาภูติ ปชานาติ\" แปลว่า \"ดูก่อนภกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงยัง สมาธิให้เก่ด ซนผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ตามความเป็นจริง\" พระพุทธพจนบทนี้แสดงให้เห็นว่า บุคคลผู้ต้องการจะบรรลุธรรมขัดเกลา ตนเองให้หมดกิเลส เข้าถึงความสุขอย่างยิ่งคือพระนิพพานนั้นต้อง!!ก สมาธิ อารมณ์ของสมถกัมมัฏฐานท่านแสดงไว้ ๔๐ ประการ เพื่อทำให้ จิตสงบระงับจากนิวรณ์ โดยจัดไว้เป็น ๗ หมวด ด้งนี้ หมวดที่ ๑ กสิณ ๑๐ เพ่งตินเป็นอารมณ์ ๑. ปฐวีกสิณ เพ่งนํ้าเป็นอารมณ์ ๒. อาโปกสิณ
www.kalyanamitra.org ๓. เตโชกสิณ เพ่งไฟเป็นอารมณ์ ๔. วาโยกสิณ เพ่งลมเป็นอารมณ์ ๔.\"นีลกสิณ เพ่งสีเขียวเป็นอารมณ์ ๖. ปีตกสิณ เพ่งสีเหลืองเป็นอารมณ์ ๗. โลหิตกสิณ เพ่งสีแดงเป็นอารมณ์ ' ๘.โอทาตกสิณ เพ่งสีขาวเป็นอารมณ์ ๙. อาโลกกสิณ เพ่งแลงสว่างเป็นอารมณ์ ๑๐.อากาลกสิณ เพ่งอากาffเป็นอารมณ์ หมวดท ๒ อสูภะ ๑๐ ๑. อุทธุมาตกอสุภะ พิจารณไซากศเพี่,น่ไพอํงนแป็พอารมณ์ ๒.วินีลกอสุภะ พิจารณาซากศพที่มีสีเขียวคลํ้าเป็น อารมณ์ ๓.วิปุพพกอสุภะ พิจารณาซากศพที่มีนํ้าเหลืองไหลเพิ้ เป็นอารมณ์ ๙.วิกจฉิททกอสุภะ พิจารณาชฺากศพที่ขาดกลางศัวเป็น อารมณ์ ๔.วิกขายิตกอสุภะ พิจารณาซากศพที่สัตว์กัดกินแลืวเป็น อารมณ์ ๖. วิกขีตตกอสุภะ พิจารณาซากศ.พที่มีมือเท้าและศรษะ ขาดเป็นอารมณ์ ๗. หตวิกขิตตกอสุภะ พิจารณาซากศพที่คนมีเวรเป็นขฺาสีกกิน สับฟันเป็นท่อน ๆ เป็นอารมณ์ ๘.โลหิตกอสุภะ พิจารณาซากศพที่ถูกประหารด้วย ศาสตรามีโลหิตไหลออกอยู่เป็นอารมณ์ ๓๒๙
www.kalyanamitra.org ๙. ปุฬุวกอสุภร พิจารณาซากศพที่มีตัวหนอนคลาคลา ๑๐. อฏฐฑอสุภร ไปมาอยู่เป็นอารมณ พิจารณาซากศพที่ยังเหลือแต่ร่าง กระดกเป็นอารมณ์ \\ Wm ๑. พุทธานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์ ๒. ธัมมานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระธรรมเป็นอารมณ์ ๓. สังฆานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระสงฟ้เป็นอารมณ์ ๔. สิลานุสสติ ๔. จาคานุสสติ ระลึกถึงศีลที่ตนรักษาเป็นอารมณ์ ระลึกถึงทานที่ตนบริจาคแล้วเป็นอารมณ์ ๖. เทวตานสสติ ระลึกถึงคุณมีศีลเป็นต้นที่ทำบุคคลให้ เป็นเทวดาเป็นอารมณ์
www.kalyanamitra.org ๗. มรณัสสติ ระลึกถึงความตายที่จะมาถึงแก่ตนและ ๘. กายคตาสติ คนอื่นเปีนอารมณ์ ๙. อ่านาปานัสสติ ๑๐. อ่ปสมานุสสติ สติกำหนดพิจฺารณากายให้เห็นเป็นของ ไม่งามน่าเกลึยดโสโครกเป็นอารมณ์ ระลึกถึงลมหายใจเข้า หายใจออก ยาว สัน้ เป็นต้น■เป็นอารมณ์ ระลึกถึงพระนิพพานอันเป็นที่ดับกิเลส และกองทุกข้ทั้งปวงเป็นอารมณ์ หมวดที่ ๔ พรหมวิหาร ๔ ๑. เมตตา ติดให้สัตว์ทุกชนิด ทุกประเภท เป็นสุข่ทั่ว์อันไป ๒. กรณา หมด ๓. มุทิตา ติดให้สัตว์ทั้3สิ้นที่เป็นทุกข้อยู่ให้พนทุกข์ต้วยกัน ๔. อเบกขา ทั้งหมดทั้งสิ้น - ติดให้สัตว์ทั้งสิ้นที่ไต้สุขสมบติแล้ว จะดำรงอยู่ ในสุขสมบติของตน ๆ อย่าไต้พลัดพรากจาก สมบ้ติที่ตนไต้แล้วเลย มีความเพิกเฉยเป็นกลาง ไม่ดีใจ ไม่เสียใจ ใน เมึ่อสัตว์ทั้งสิ้นไต้ทุกข์ หมวดที่ ๕ อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ อาหาเรปฏิกูลสัญญาความสำคัญว่าเป็นของปฏิกูลน่าเกลียด ในอาหาร การพิจารณาอาหารเป็นของปฏิกูลนี้ ทิานให้พิจารณาต้วย อาการ ๘ คือ ๑. ปฏิกูล โดยบริโภค ๓๓๑
www.kalyanamitra.org ๒. ปฏิกูล โดยที่อยู่ของอาหาร ๓. ปฏิกูล โดยการสั่งสมอยู่นาน ๔.•ปฏิกูล 'ในกาลเมื่อยังไม่ได้ย่อย ๔. ปฏิกูล ในกาลเมื่อย่อยแล้วุ ๖. ปฏิกูล โดยผล คือไปหล่อเลยงร่างกายให้เจริญขึน ๗. ปฏิกูล โดยยันหลั่งไหลออกมา ๘. ปฏิกูล โดยทำให้แปดเ!เอน หมวดที่ ๖ จตุธาตุววัตถาน ๑ จตุธาตุววัตถาน กำ หนดพิจารณากายให้เห็นวาเป็นแต่เพียง ธาตุ ๔ มาประชุมกันเท่านั้น ธาตุมี ๔ อย่าง คือ ๑. ปฐวีธาตุ ธาตุดิน ๒. อาโปธาตุ ธาตุนั้า ๓. เดโซธาตุ ธาตุไฟ ๔.วาโยธาตุ ธาตุลม หมวดที่ ๗ อรูป ๔ ๑. อากาสานัญจายดนะ เพ่งพิจารณาอากาศที่มีดวงกสิณเดาะ เพิกขึ้นแล้วเหลืออยู่แต่อากาศว่างเปล่า ด้วยบริกรรมว่า อนนโต อากาโส s อากาศหาที่สุดมิได้ เป็นอารมณ ๒. วิญญาณัญจายดนะ เพ่งพิจารณาอรูปวิญญาณทีแรก ด้วย บริกรรมว่า อนนฺตํ วิฌฺฌานํ วิญญาณไม่มีที่สุด เป็นอารมณ์ ๓. อากิญจัญญายดนะ เพ่งพิจารณาความไม่มีแห่งอรูป วิญญาณทีแรก ด้วยบริกรรมว่า นตฺถิ กิฌฺจิ หน่อยหนึ่ง นิดหนึ่งไม่มี เป็นอารมณ์ ๓๓๒
www.kalyanamitra.org ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนะ เพ่งพิจารณาอรูปวิญญาณที่ ๓ ด้วยบริกรรมว่า ลใ4ตเมตํ ปณีตเมตํ นี่ละเอียดนัก นี่ประณีตนัก จะว่า มีสัญญาก็ไมใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ เป็นอารมณ์ จริตหรือนิสัยของคนในโลกมี ๖ อย่าง คือ ๑. ราคจริต ประพฤติไปตามราคะ ๒. โทสจริต ประพฤติไปตามโทสะ ๓. โมหจริต ประพฤติไปตามโมหะ ๔. สัทธาจริต ประพฤติไปตามความเชื่อ ๔. พุทธิจริต ประพฤติไปตามความรู้ ๖. วิตกจริต ประพฤติไปตามความตรึก 1 พ
www.kalyanamitra.org กัมมัฏฐานเป็นที่สบายแก่จริตของคน บคคลผู้จะเจริญกัมมัฏฐาน ต้องรู้จักเลือกประเภทกัมมัฏฐาน อันเป็นทีสบายแก่นิสัยของตน เหมือนคนใช้ยา ต้องรู้จักชนิดยาอัน สบายแกโรค ไม่ใช่ว่าเป็นยาแล้วใช้รักษาไต้อับทุกโรค บางอย่างอาจ เป็นของแสลงแก่โรคบางชนิด การ?เกอัมมัฏฐานิก็เหมือนอัน ต้อง?เก ให้ถูกอับจริดหรือว่านิสัยของดนคือ ๑. คนที่มืราคจริตเป็นเจ้าเรือน ควรเจริญกัมมัฏฐาน ๑๑ ประการ คือ อสุภะ ๑๐ ๑. อุทธุมาดกอสุภะ พิจารณาซากศพที่เนาพองขึ้น เป็นอารมณ ๒.วินีลกอสุภะ พิจารณาซากศพที่มีลืเขียวคลํ้า เป็นอารมณ ๓.วิปพพกอสุภะ พิจารณาซากศพที่มืนํ้าเหลือง ไหลเยิ้มเป็นอารมณ์ , ๔.วิจฉิททกอสุภะ พจารณาซากศพที่ขาดกล่างตัว เป็นอารมณ์* ๙. ริกขารดกอสุภะ พิจารณาซากศพที่สัดวอัดกิน , แล้วเป็นอารมณ์ , ๖. ริกฃิตดกอสุภะ พิจารณาซากศพที่มืมือเท้าและ ศีรษะขาดเป็นอารมณ์ ๗. หดริกขีดดกอสุภะ พิจารณาซากศพที่คนมืเวรเป็น ช้าศึกอันสับฟันเป็นท้อนๆ เป็นอารมณ์ ๘.โลหิตกอสุภะ พิจารณาซากศพที่ถูกประหาร ด้วยศาสตรามืโลหิดไหลออกอยู่ เป็นอารมณ์ ๓๓ร:
www.kalyanamitra.org ๙. ปุฬุวกอสุภะ พิจารณาซากศพทีมีตัวฺหนอน คลาคลาไปมาอยู่เป็นอารมณ์ ๑๐.อัฏเกอสุภะ พิจารณาซากศพที่ยังเหลือแต่ I ร่างกระดกเบนอารมณ์ และกายคดาสสิ ๑ ๒. คนที่มีโฑสจริตเป็นเจ้าเรือน ควรเจริญกมม'ฎฐาน ๘ ประการ คือ วรรณกสิณ ๔ ๑. นีลกสิณ เพ่งสีเขียวเป็นอารมณ์ ๒. ปีตกสิณ เพ่งสีเหลืองเป็นอารมณ์ ๓. โลหิตกสิณ เพ่งสีแดงเป็นอารมณ์ ๔. โอทาตกสิณ เพ่งสีขาวเป็นอารมณ์ และพรหมริหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ๓. คน^มหจริตกบริตกจริตเป็นเจ้าเรือน ควรเจริญอัมม^น คือ อานาปานสสติ ๔. คนที่มีสัทธาจริตเป็นเจ้าเรือน ควรเจริญอนุสสต ๖ ประการ คือ ๒. ธั่มมานุสสติ ๑. พุทธานุสสติ ๔. สีลานุสสติ ๓. สังฆานุสสติ ๔. จาคานุสสติ ๖. เทวดานุสสติ ๔. คนที่มีพุทธิจริตเป็นเจ้าเรือน ควรเจริญอัมมฏฐาน ๔ 4: ประการ คือ ๑. มรณ์สสติ ๒. อุปสมานุสสติ ๓. อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๔. จตุธาตุววัตถฺาน ๓๓๔
www.kalyanamitra.org กัมมัฏฐานเ!!เนที่สบายแก่จริตทุกอย่าง คือ ๑. ภดกสิณ ๔ ดือ ๑. ปฐวีกสิณ ๓. เตโชกสิณ ๒. อาโปกสิณ ๔. วาโยกสิณ ๒. อรูปกัมมัฏฐาน ๔ คือ ๑. อากาสามัญจายตนะ ๒. วีญฌาณัญจายตนะ ๓. อากิญจัญญายตนะ ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนะ นิวรณ์ ๔ สงเคราะห์เขาใจจริต ๖ นิ3รณ์ แปลว่าธรรมเป็นเครื่องmหรือขดขวางไมให้บรรลุความดี ๑.กามฉันทะ ความพอใจรุ้กใครในกาม สงเคราะห์เข้าใน ราคจริต ๒.พยาบาท ความคิดรุ้ไย ความผูกโารธ สงเคราะห์เข้าในโทส^ ๓.สินมิทธะ ความหดหู่และเซื่องซึม สงเคราะห์เข้าใน โมหจริต .๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ความพุงซ่านและรำคาญใจ สงเคราะห์เข้าใน วีตกจริต ๔. วีจิกจฉา ความสังเลสงสัย สงเคราะห์เข้าใน โมหจริต สมาธิ ๓ สมาธิ แปลว่าความตั้งมั่นแห่งจิต สภาวะที่จิตปราศจากนิวรณ์ ควรแก่การงาน มี ๓ อย่าง ๑. ขณิกสมาธิ สมาธิช่วงระยะสั้นๆ หรือสมาธินิดหน่อย ๒. อุปจารสมาธิ สมาธิที่เกือบจะแน่วแน่ สามารถระงับนิวรณ์!ด้ ^ ๓.อปปนาสมาธิ สมาธิที่แน่วแน่ ปราศจากนิวรณ์ ฒั้อยูในฌาน ๓๓๖
www.kalyanamitra.org ru4 ^รุ #ฐ|- นิมด ๓ นิมิต แปลว่าเครื่องหมาย เครื่องกำหนด ที่สำ หร้บเพ่ง ๑. บริกรรมนิมิต นิมิตในบริกรรม หรือเครื่องหมายสำหรับ เพ่ง เช่นเพ่งปฐวีกสิณ แล้วบริกรรมว่า ปฐวีๆ ■๒. อุคคหนิมิด นิมิตติดตา หมายถึงเครื่องหมายที่กำหนดได้ หลังจากเพ่งบริกรรมนิมิต โดยไม่ต้องอาศัยนิมิตเติม และไม่ต้องบริกรรม หลับตานึกนิมิตได้เหมือนกับลืมตาเห็น ๓. ปฏิภาคนิมิต นิมิตเทียบเคียง หมายถึงเครื่องหมายที่ กำ หนดได้ในใจอย่างละเอียดลึกซึ้ง ปรากฏชัดใสสว่าง สามารถย่อให้ เล็กลงหรือขยายให้ใหญ่ขึ้นได้ นิมิต ๒ อย่าง คือบริกรรมนิมิต และอุคคหนิมิด ได้ทั่วไปใน กัมมิ'ฏฐานทุกอย่าง ส่วนปฏิภาคนิมิตนั้นได้เฉพาะในกัมมัฏฐาน ๒๒ อย่าง คือ กสิณ ๑๐ อสภะ ๑๐ กายคดาสติ ๑ อานาปานัสสติ ๑
www.kalyanamitra.org ภาวนา ๓ ภาวนา แปลว่า การอบรม การบำเพ็ญ การเจริญ การทาให้มี ให้เป็นขึ้น ๑. บริกรรมภาวนา ภาวนาในบริกรรม หมายถึงการสำรวมจิต นึกถึงอารมณกัมมัฏฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่นนึกถึงพระพุทธรูป แล้วทำบริกรรมภาวนาในใจว่า พุทโธ ๆ เป็นต้น ๒. อุปจารภาวนา ภาวนาเป็นอุปจาร หมายถึงภาวนาจวนจะ สงบนึ่งอย่างแท้จริง หลับตาลืมตานิมิตปรากฏชด . ๓. อปปนาภาวนา ภาวนาเป็นอัปปนา หมายถึงภาวนาอย่าง แนบแน่น จิตใจสงบนึ่งเป็นหนึ่ง ปราศจากนิวรณ์ ภาวนา ๓ อย่างคือ บริกรรมภาวนา ไต้พไปในกัมมี^นทุก อย่าง สํวํนอุปจารภาวนานึ่นไต้เฉพาะในกัมมัฏฐาน ๑๐ อย่าง คือ พุทธาน^ติ ผัมานุสสติ ล้รฆานุสสติ เลานุสส่ติ จาคานุสสติ เทวดานุสสติ มรณ์สสติ อุปสมานุสสติ อาหาเรปฏิกูลสัญญา จดราดุววัตถาน สํวน อปปนาภาวนานั้นไต้เฉพาะในกัมมัฏฐาน ๓๐ อย่าง คือ กสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ กายคดาสติ ๑ อานาปานิสสติ ๑ พรหม่วิหาร ๔ อรูป ๙ ห้วใจสมถกัมมัฏฐาน สิงทจดว่าเป็นมัรใจสมถกัมมิฎฐานมีอย่ ๙ อย่าง คือกายคดาสติ เมดดา พทธานสสติ กสิณ จตุราดฺววัตถาน จ์ ร หวใจสมถกัมมัฏฐานฃอที่ ๑ กายคตาสติ กายคตาสติ แปลว่าสติไปในกาย คือสติกำหนดพิจารณาทั้ง กายตนและกายคนอื่นมาเป็นอารมณ์ โตยให้เห็นเป็นของน่าเกลืยด ๓๓
www.kalyanamitra.org โสโครก ผู้ที่เจริญกายคตาสติกัมมัฏฐาน ต้องนั่งสมาธเอามือขวาทับ มือฟ้าย เท้าขวาทับเท้าฟ้าย s ตั้งกายให้ตรงดำรงสติไท้มนน้อมใจเอา ไว้ตรงกลางกายของเรา กำ หนดอาการ ๔ คือ เกสา ผม โลมา ขน นขาเล็บทันตาฟ้น ตโจ หนังพิจารณาอาการทั้ง๔ โดยสี เช่นผมสี ขาวหรือสีดำ โดยสัณฐาน ผมสั้นหรือยาว โดยกลิ่นคือกลิ่นเหม็น โดยท้เกิดคือเกิดบนหนังศีรษะ โดยที่อยูคืออยู่บนศีรษะ จนจิตใจสงบ ระงับจากนิวรณ หรือนึกภาวนาว่า เกสา โลมา นฃา ทันตา ตโจ โดย อนุโลมและปฏิโลมคือกสับโปกสับมาหลายๆครั้ง จนใจเราไม่พิงช่าน หยุดนิ่งสงบ คำ ภาวนากิหายไป ดวงธรรมใสๆ^ กิผุดขึ้นมาชัดใส่สว่าง อยู่ที่กลางกาย หรือว่านึกเส้นผมเอาไว้กลางท้องแล้วภาวนาว่า เกสาๆ หลายๆ ครั้ง จนใจเราไม่พิงช่าน หยุดนิ่งสงบ คำ ภาวนากิหายไป ดวง ธรรมใสๆ กิผุดขึ้นมาชัดใสสว่างอยู่ที่กลางกาย หสัง่จากนั่นกิปล่อยใจ ไปดามสภาวธรรมที่เข้าถึง คือไต้บรรลุฌานต่างๆ ไปดามลำดบ กายคตาสติ เป็นคู่ปรั่บแก่คนผู้มืกามฉันทะ คือความพอใจรัก ใครุในกามเป็นเจ้าเรือน ทำ ให้ผูเจริญได้บรรลุถึงขั้นอุปจารสมาธ มื อๆนัสงสั คือทำให้ไม่ติดอยู่ในกายตนและกายชองดนอืน องค์ประกอบต่าง ๆ ของฌานมืสังนี้ ๑. ปฐมฌานมืองค์ ๔ คือ วิตก ความดรืกหรือคิด วิจาร ความดรองหรือพิจารณา ปีติ ความอิ่มใจ สุข ความสบายใจ เอกัคคตา ความมืจิดเป็นอารมณ์อันเดียวไม่พิงซาน จัดเป็นองค์ครบ ๔ ๒. ทุติยฌานมืองค์ รท คือ ปีติ สุข เอกัคคดา ผ. ตติยฌานมืองค์ ๒ คือ สุข และเอกคคดา ๔. จตุตถฌานมืองค์ ๒ คือ เอกัคคดา และอุเบกขา สักษณะ เช่นนี้ จัดเป็นจตุกกนัย ถ้าจัดโดยสักษณะมัญจกนัย ดังนี้ ๑. ปฐมฌานมืองค์ ๔ คือ วิตก วิจาร ปีต สุข เอกัคคตา ๒. ทุติยฌานมืองค์ ๔ คือ วิจาร ปีติ สข เอกัคคฺดา ๓๓๙
www.kalyanamitra.org ๓. ตติยฌานมือ>3ค ๓ คือ ปีติ สุข เอกัคคตา ๔. จตุตถฌานมืองค ๒ คือ สุข เอกัคคิตา ๔. ป๋ญจมฌานมืองค ๒ คือ เอกัคฺคตา อุเบกขา เมื่อ่พระโยคาวจรไดสำเร็จปฐมฌานแล้ว ก็พึงปฏิบ้ต1นปฐมฌาน นั้นให้ชำนาญคล่องแคล่วด้วยดี ก็ต้องประกอบด้วยวสี ๔ คือ ๑. อาวัชชนวสี คือชำนาญคล่องแคล่วในการนึกถึงฌานได้ ตามที่ด้องการ ๒. สมาปัชชนวสี คือชำนาญคล่องแคล่วในการที่จะเข้าฌาน ได้รวดเร็วตามที่ด้องการ ๓. อธิฏ์ฐานวสี คือชำนาญคล่องแคล่วในการดำรงอยู่ในฌาน ได้ตามที่ด้องการ ปรารถนาจะตั้งไว้นานเท่าใตก็ตั้งไว้ได้นานเท่านั้น ๔. วุฏฐานวสี คือชำนาญคล่องแคล่วในการจะออกจากฌาน กาหนดไว้ว่าเวลานั้นๆ จะออกก็ออกได้ตามกำหนด ไม่คลาดไปจาก เวลาที่กำหนดไว้ ๔. 1โจจ'เวกฃณวสี.คือชำนาญคล่องแคล่วในการที่จะพิจารณา ปรารถนาที่จะพิจารณาองค์ฌานที่ตนได้ก็อาจพิจารณาโดยเร็วไม่ได้ เนินข้า เมื่อเห็นว่ามืความชำนิชำนาญแล้ว จึงสามารถเจริญทุติยฌาน ต่อไปได้ เมื่อชำนาญในทุติยฌาน จึงควรเจริญตติยฌาน จตุตถฌาน ป๋ญจมฌาน สืบต่อๆ ขึ้นไปได้โดยลำดับ หัวใจสมถกัมฟ้ฏฐานข้อที่ ๒ เมตตาพรหมวิหาร เมตตา แปลว่าความรักความปรารถนาดฺที่!ม่เจึอปนด้วยความใคร่ ความมืจิตคิดปรารถนาความสุขแก่ผู้อื่น ผู้ที่เจริญเมตตากัมมัฏฐานต้อง พิจารณาอย่างนึ๊ ๓(£๐
www.kalyanamitra.org ท -.-:.^ ly ^ ๑. พิจารณาให้เห็นโทษของความโกรธและอานิสงส์ของความ อดทน ๒. เรารักสุข เกลียดทุกข์ฉันใด คนอื่นก็รักสุข เกลียดทุกข์ ฉันนั้น ตั้งเมตตาจิตในตนก่อน ด้วยวิธีเจริญว่า - เราจงเป็นสุขๆ เถิด - เราอย่ามีความทุกข์เลย - เราอย่ามีเวรแก่ใครเลย - เราอย่าป๋วยไข้เลย - เราอย่ามีความทุกข์กาย ทุกข์Iจเลย - เราจงเป็นสุขๆ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด การที่ท่านสอนให้เจริญเมตตาในตนก่อนนั้น ก็เพื่อจะทำตนให้ เป็นพยาน คือให้ตนเห็นว่า ตนเอง อยากได้แต่ความสุข เกลียดซัง ความทุกข์ และภัยต่างๆ ฉันใด สัตว์เหล่าอื่นก็ปรารถนาความสุข
www.kalyanamitra.org เกลียดชังความทุกข์และภัยต่างๆ ฉันนั้น ๓. เมื่อฒั้เมตตาจิตไว้ในตนแลีว ลำ ดับนั้นก็พึงแผ่เมตตาจิต ไปในสตว้ทั้งหลาย่ทวๆ ไปไม่มีประมาณดังต่อไปนี้คือ -.ส้ต่^หลายทั้3สิ้น จงอย่ามีเวรแก่ก็นและกนเลย - ฒว์ฒั้หลายทั้ป็สิ้แ จงอย่ามีความพยาบาทแก่ก้นและก็นเลย - สัตว์ทั้งหลายทั้งสิ้นอย่ามีกำรป้วยไข้ลำบากกายและใจเลย - สัตว์ทั้งหลายทั้งสิ้นฺ จงอย่ามีอุ!โททวะทุกข์ภัยเกิดขึ้นใน กายและใจเลย - สัตว์ทั้งหลายทั้งสิ้น จงเป็นสุขๆ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ ภัยทั้งสิ้นเถิด เมื่อผู้เจริญเมตตาละโทสะและพยาบาทได้แล้วจิตก็จะตั้งมั่น เป็นสมาธิ มั่งสมาธิเอามีอขวาทบมีอข้าย เท้าขวาทับเท้าข้าย ตั้งกาย ให้ตรงดำรงสติไท้มั่นน้อมใจเอาไว้ตรงกลางกายของเรา นึกแผ่เมตตา ความ่ปรารถนาคืใท้ดัวเราเองและสัตว์ทั้งหลายโตยไม่มีประมาณ ทำ อย่างนี้จนใจของเราปลอดโปล่งโล่งเบาสบาย ไม่พึงข้าน หยุตนิ่งสงบ ตวงธรรมใสๆก็ผตขึ้นมาชัดใสสว่าง หสังจากนั้นก็ปล่อยใจไปตาม สภาวธรรมที่เข้าถึง เมตตา เป็นคู่ปริบแก่คนผู้มีพยาบาท คือผู้มีความโกรธถึงภับ จองล้างจองผลาญคนอึ๋นเป็นเจ้าเรือน ทำ ใหฺผู้เจริญได้บรรลุถึงขั้น อุปจารสมาธิ มีอานิสงส์ ๑๑ ประการ คือ ๑. หลับเป็นสุข ๒. ตื่นก็เป็นสุข ๓. ไม่ฝันเห็นสิ่งลามก ๔. เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย ๙. เป็นที่ริกของอมนุษย์ทั้งหลาย ๖. เทวดาย่อมรักษา ๓(ร:๒
www.kalyanamitra.org ๗.ไฟไมไหม้ ยาพิษหรืออาวุธทั้งหลายไมสามารถทำอันตรายได้ ๘. ผิวพรรณผ่องใสงดงาม ๙. จิตตั้งมั่นเป็นสมาธิได้เร็ว .๑๐. ไม่หลงทำกาลกิริยา คือตายแบบมฺสติ ๑๑. เมื่อตายแล้วแม้จะเกิดอีก ก็เกิดในสถานที่ดีมีความสุข ถ้า ไม่เสือมจากฌานก็จะไปเกิดในพรหมโลก กรุณาพรหมวิหาร มีวิธีเจริญต่อไปนี้คือ ๑. เมื่อได้เห็นมนุษฺย์หรือสัตว์ผู้ประสบกับความทุกข์ยาก ลาบาก พิงยึดถือเอามนุษยและสัตว์เหลานั้นเป็นอารมณ์แล้วแผ่ กรุณาจิตไปว่า สัดว์ผู้นี้ถืงความทุกข์ยากลำบากยิ่งนักหนอ ทำ อย่างไร จึงจะพูนจากทุกข์เหล่านี้ได้ - ๒. ถ้าจะแผ่กรุณาจิตไปในสัตว์ไม่มีประมาณ พิงบริกรรมว่า สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงพ้นจากทุกข์เกิด เมื่อผู้เจริญทำการบริกรรมไปเนืองๆ ก็จะละวิห็งสาคือการ เบียดเบียนสัตว์ทั้งหลายได้ จิตใจก็สงบระงับจากนืวรณ์ตั้3มั่นเป็นสมาธิ ตามลำดบ วิธีการทำสมาธิเหมือนกับเมตตาพรหมวิหาร มุทิตาพรหมวิหาร มีวิธีเจริญด้งต่อไปนี้คือ ๑. เมื่อได้เห็นหรือได้ยินมนุษยหรือสัตว์ เป็นอยู่สุขสบาย เจริญรุ่งเรืองอยู่ในสุขสมบฅิของตนแล้ว พิงทำจิตใจให้ชื่นชมยินดี ใน สุขสมบตของมนุษยฺและสัตว์เหล่านั้น แล้วแผเมตตาจิตไปว่า สัตว์ผู้นี้ หนอบริบูรณ์ยิ่งนักมีสุขสมบติมากมาย จงเจริญยั่งยึนอยู่ในสุขสมบต ๓(ร:๓
www.kalyanamitra.org ของตนๆ เถิด ๒. เมื่อจะแผ่มุทิตาจิตไปในสัตว์ไม่มีประมฺาณ พึงบริกรรมว่า สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่าเสื่อมริบติไปจากสุขสมบสิที่ตนไดแล้วเลย หรือว่าสัตว์ทั้งหลายทั้งปุวงจงเจริญยั่งยืนอยูในสุขสมฃติของตนๆ เถิด เมื่อทำบริกรรมนึกอยู่เนือง ก็จะละความยินดีในสมบติของสัตว์เหล่า อื่นได้ จิตใจก็สงบระงับจากนิวรณ์ตั้งมั่นเป็นสมาธิตามลำดับ วธีการ ทำ สมาธิเหมีอนกับเมตตาพรหมริหาร อุเบกขาพรหมริหาร มีริธีเจริญดังต่อไปนี้คือ ๑. พึงทำการแผ่อุเบกขาจิตไปในหมู่สัตว์แบบเป็นกลางๆ อย่า ดีใจหรือเสียใจเพราะความสุขหรือความทุกข์ของสัตว์เหล่านั้นทั้งหมด ๒. พึงทำการบริกรรมนึกไปว่า สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงมีกรรม เป็นของๆ ตน เป็นอยู่เช่นใด ก็จงเป็นอยู่เช่นนั้นเถิด . เมื่อทำบริกรรมไปเรื่อยๆ ไม่ด้องหยุดในที่สุดก็จะละราคะและ ปฏิฆะในสุขและทุกข์ของเหล่าสัตว์ได้ จิตใจก็สงบระงับจากนิวรณ์ตั้3มั่น เป็นสมาธิตามลำดับ ริธีการทำสมาธิเหมือนกับเมตตาพรหมริหาร หัวใจสมถกัมมื'ฏฐานฃ้อที่ ๓ พุทธานุสสสิ ผู้มีศรัทธาปรารถนาจะเจริญพุทธานุสสติ พึงกำหนดหลักดัง ต่อไปนี้ ๑,พึงทำคืลให้บริสุทธิ้เสียก่อน ๒,ดัดปลิโพธคือเครื่องกังวลใจเสียให้หมด ๓. อาศัยเสนาสนะที่สงัดอันสมควรแก่การมั่งสมาธิ ๔. พึงมั่งบนอาสนะขัดสมาธิตั้งกายให้ดรง ' ๓(zr<z:
www.kalyanamitra.org ๔. พึงตรึกระลึกนึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า อันคุณของพระพุทธเจ้านั้นมีเป็นอเนกประการ ยากที่จะ พรรณนาให้หมดได้เมื่อนำมากล่าวโดยย่อแล้วมี ๒ ประการคือ ๑. พระปัญญาธดุณ คือพระปรีชาญาณที่รอบรู้ทั่วไปใน สภาวธรรมที่จรึงและไม่จริง สภาวธรรมที่ไม่จริงนั้น เซ่น สัตว์ มนุษย์ เป็นด้น สภาวธรรมที่เป็นจริงนั้น เซ่น ขันธ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ อริยสัจ และปฎิจจสมุปบาท เป็นด้น ฃ้อนี้จัดเป็นพระปัญญาธิตุณ ๒. พระมหากรุณาธิคุณ คือเมื่อพระองค์ได้ตรัสรู[นสภาวธรรม ทั้งหลายแล้ว พระองค์มิได้ย่อหย่อนท้อถอยเกียจคร้าน ในการที่จะสง สอนสัตว์อื่น ข้อนี้จัดเป็นพระมหากรุณาธิคุณ พุทธานุสสติ แปลว่าสติระลึกถึงพระพุทธเจ้า คือระลึกถึง พระคุณความดีของพระองค์เป็นหลัก มี ๙ ประการ
www.kalyanamitra.org ๑. อรหํ มีความหมาย ๒ อย่าง ๑. เป็นผูไกลจากกิเลส คือไม่มีกิเลสเครึ่องเศร้า หมองใจ มีราคะโทสะโมหะ เป็นคืน ๒. เป็นผู้ควร คือควรแก่การร้บของทำบุญมี{โจจัย ๔ เป็นคืน ๒. สมฺมาสมฺพุทฺโธ คือ่พระองค์เป็นผู้ดรัสร้อริยสัจเองโดิยชอบ ไม่มีใครเป็นครู ผ. วิชชาจรณสมปนฺโน คือพระองค์เป็นผู้ถึงพร้อมคืวยวิชชา และจรณ่ะ . วชชา.๓ ๑. ปพเพนิวาสไ'นสสํติญาณ ญาณระลึกชาติในอดีต'ทั้งของ พระองค์และผู้อื่นไคื ๒. จุตูปปาตญาณ ญาณหยั่งฺรู้การตายและการเกิดของสัตวิ ทั้งหลาย ๓.อาสว้กขยญาณ ญาณหยั่ง์เ.นการกำจ้ดกิเลสใพ้มดสิ้นไป * วิชชา ๘ ๑.วิปัสสนาญาณ ความรู้แจ้งเ'ห็นจริงในทุกสรรพสิ่ง ๒. มโนมยิทธิ มีฤทธิ๋ทางใจสามารถรู้Iจผู้อื่นไคื ๓. อิทธิวิธี แสดงฤทธิ้ต่างๆได้ ๔. ทิพพโสต มี'หูทิพย์สามารถฟังเสียงต่างๆทั้งในที่ใกล้ และไกลได้ ๔. เจโตปริยญาณ กำ หนดทายใจผู้อื่นได้ ๖. ปพเพนิวาสานุสสติญาณ ญาณระลึกชาติในอดีตทั้งของ พระองค์และผู้อื่นได้ ๓(£๖
www.kalyanamitra.org จรณะ ๑๔ ๑. สีลสัมปทา มีความถึงพร้อมด้วยศีล ๒. อินทรียสังวร มีความสำรีวมในอินทรีย์ ๖ ๓.โภชณมีตตญฌุตา รู้จักประมาณในการร้บและการบรีโทค ๔. ชาครียานุโยค ปุระกอบความเพียรของผู้ตื่นอยู ๔. สัทธา มีความเชื่อต่อสิ่งที่ควรเ§อ ๖. หิร มีความละอายใจต่อการทำบาป ๗.โอตตัปปะ มีความเกรงกสัวต่อผลของการกระทำบาป . ๘. พาหุสัจจะ มีการศีกษๆและการได้รนได้ฟังมาก ๙. วิริยะ มีความเพียร ๑๐. สติ มีความระลึกได้ ตื่นตัวอยูตลอดเวลา ๑๑. ป๋ญญา มีความรู้อย่างแท้จริงในเรื่องต่าง ๆ ๑๒.ปฐมฌาน ได้บรรลุฌานที่ ๑ ๑๓. ทุติยฌาน ได้บรรลุฌานที่ ๒ ๑๔.ตติยฌาน ได้บรรลุฌานที่ ๓ ๑๔. จตุตถฌาน ได้บรรลุฌ่านที่ ๔ ๔. ลุคโด คือพระองค์เสดุจไปศีแล้ว ๑. มีการดำเนินไปสู่ที่อันดี คือพระนิพพาน ๒. มีการดำเนินไปไม่ขัดข้อง คือมรรคมีองค์ ๘ ๓. มีการดำเนินไปบริลุทธิ้ ด้วยไม่ย้อนกสับมาของกิเลสทั้ง หลาย่อีก ๔. มีการดำเนินไปโดยชอบ ด้วยการดำเนินไปเพื่อประโยชน สุขของสัตว์โลกทุกหมู่เหล่า ๔. มีการตรัสโดยชอบ ด้วยเป็นวาจาที่สมควรจริงแท้ประกอบ ด้วยประโยชน ๔.โลกวิท คือพระองค์เป็นผ้ร้แจ้งโลก ๓ ได้แก่ ธุเ (น่ญิ ๑. สังขารโลก โลกคือสังขาร . ๓(ร:๙
www.kalyanamitra.org ๒. สัตวโลก โลกคือหมู่สัตว์ ๓. โอกาสโลก โลกคือแผ่นดิน ๖. อนุดฺตโร ปุริสทมฺม์สารถิ คือพระองค์ไฝมีใครในโลกจะ เสมอเหมีอนนละยิ่งกว่าพระองค์ด้วยคุณคือ คืล สมาธิ ป้ญญา วิมุตติ และวิมุตติญาณทัสสนะ ๗. สดฺถา เทวมนุสฺสานํ คือพระองค์เป็นครูชองเทวตาและ มนุษย์ไ^หลาย ๘.พุทฺโธ คือพระองค์เป็นผู้รู้ ผู้ดื่น ผู้เบิกบาน ๑. ทรงเป็นผู้รู้ เพราะตรัสรูอริยสัจ ๒. ทรงเป็นผู้ดื่น เพราะดื่นุจากกิเลส ตัณหา อวิชชา . .๓. ทรงเป็นผู้เบิกบาน เพราะพระทัยเบิกบานจฺากกิารดื่น จากกิเลส ๔. ทรงเป็นผู้ปลุก เพราะปลุกสัตว์โลกให้ตื่นจากกิเลสฺได้ บรรลุมรรคผลนิพพาน ๙. ภควา คือพระองค์เป็นผู้มีโชค ๑. ทรงเป็นผู้มีโชค เพราะมีบารมีอย่างยิ่งยวดที่จะอำนวย สุขทั้งที่เป็นโลกิยะและโลกุตตระ ๒. ทรงเป็นผู้หักทำลาย เพราะหักทำลายราคะ โทสะ โมหะ และบาปธรรมทั้งหลาย . ๓. ทรงเป็นผู้ประก.อบด้วยภคธรรม เพราะถึงพร้อมด้วย ความเป็นใหญ่ด้วยโลกุตตรธรรม ๔. ทํรงเป็นผู้จำแนก เพราะเปิดเผยแสดงธรรมที่ด้น่พบนั้น โปรดสัตว์โลก ๔. ทรงเป็นผู้คลาย เพราะคลายจากการเกิดในภพทั้งหลาย โดยประการทั้งปวง ไม่มีการเกิดอีกต่อไป บุคคลผู้ที่จะเจริญพุทธานุสสตินั้นตองนั่งสมาธิเอามือขวาหับ ๓arc?
www.kalyanamitra.org มือซ้าย เท้าขวาทับเท้าซ้าย ตั้งกายให้ตรงดำรงสติให้มัน น้อมใจเอา ไว้ตรงกลางกายของเรา นึกถึงพระพุทธคุณ ๙ โดยการนึกภาวนาในใจ ว่า อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน ไปจนจบ หรือว่านึก ภาวนาดำใดดำหนึ่งว่า อรหํๆ พุทโธๆ อย่างนี้หลายๆ ครัง ภาวนา อย่างนี้จนใจของเราไม่ฟ้งซ่าน หยุตนึ่งสงบ ตวงธรรมใสๆ ก็ผุ่ตขึ้นมา ซัตใสสว่าง หลังจากนั้นก็ปล่อยใจไปตามสภาวธรรมที่เข้าถึง พุทธานุสสติ เป็นคู่ปร้บแก่คนผู้มืถึนมืทธะ คือผู้มืความหดหู่ และเร่องซึมเป็นเจ้าเรือน ทำ ให้ผู้เจรืญได้บรรลุถึงขนอุปจารสมาธิ มีอานิสงส์ คือทำให้จิตใจของเราเข้มแข็งไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคทีมาขด ขวางในการทำความดี เป็นคนมีความอดทน พระพุทธคุณ ๙ ลัดลงในสมบด ๒ คือ ข้อ ๑- ๕ ลัดเป็นอตตหิตสมบติ ข้อ๖-๗ ลัดเป็นปรหิตสมบติ . ข้อ๘-๙ ลัดเป็นอัตตหิตสมบติและปรหิตสมบติ พระพุทธคุณ ๙ ลัดลงในพุทธคุณ ๒ คือ ข้อ ๑ - ๔ ลัดเป็นพระมัญฌาธิคุณ ข้อ ๖ - ๗ ลัดเป็นพระมหากรุณาธิคุณ ข้อ ๘- ๙ จ้ดเป็นพระฟ้ญญาธิคุณและพระมหากรุณาธิคุณ หิวใจสมถกัมมัฏฐานข้อที่ ๔ กสิณ กสิณ แปลว่ารัตถอนเป็นเหตุจูงใจให้เข้าไปผูกอย่ หรือรัตถ สำ หร้บเพ่ง รัตถุที่ลัดเป็นกสิณนั้น ต้องเป็นของทีไม่บาตตา ซึงฟาน ลัดไว้ ๑๐ ประการ ดือ ๒. อาโป นํ้า ๑. ปฐวี ดิน ๓. เตโช ไฟ ๔. วาโย ลม ๓(£๙
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400