Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักธรรมเอก

Description: นักธรรมเอก

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org ๕. นีลํ สีเขียว ๖. ปีตํ สีเหลือง ๗. โลหิตํ สีแดง ๘. โอทาตํ สีขาว ๙. อาโลโก แสงสว่าง ๑๐. อากาโส ที่ว่างเปล่า บุคคลผู้ที่จะเจริญกสิณนั้นต้องเตรียมผ้าสีขาวหรือว่าวัตถุอะไร ก็ได้ที่เป็นสีขาว ตัดเป็นวงกลมให้มีเส้นผ่าคูนยกลาง ๑๖ นิ้ว เอาไป ต้ดที่ฝาผนังหรือว่าวัตถุอย่างอื่นห่างจากที่นั้งประมาณ ๒ ศอก ๑ คืบ พอเพ่งดูถนัดแส้วนั้งสมาธิเอามีอขวาทับมือ^าย เท้าขวาทับเท้า^าย ตั้งกายให้ตรงดำรงสติให้นั้น เพ่งดูดวงกสิณสีขาวให้จำได้จนติดตาแล้ว น้อมเอาดวงกสิณสีขาวพั้เไว้ตรงกลางกายของเรา นึกภาวนาว่า โอทาดํๆ อย่างนิ้หลายๆครั้ง ภาวนาอย่างนิ้จนใจของเราไม่พ่งซ่าน หยุดนิ่ง สงบ ดวงธรรมใสๆก็ผุดขึ้นมาแทนดวงกสิณสีขาว เราก็ทำใจนิ่งๆไม่ ต้องนึกถึงคำภาวนา ปล่อยใจไปตามสภาวธรรมที่เข้าถึง ถ้าต้องการ รีเกกสิณอย่างอื่นก็พีงทำเหมือนกับกสิณสีขาว 5, ^ UJ

www.kalyanamitra.org กสิณ เป็แดู่ปรับแก่คนผู้มีอุทธัจจกุกf1จจะ คือผู้มีควาบฟ้ง ซ่านรำคาญใจฟ้นเจ้าเรือน ทำ ให้ผู้เจริญได้บรรลุสิงขั้นอัปปนาสมาธิ มีอานิสงส์ คือทำให้จิตใจของเรามีสมาธิจดจ่อในการงานที่ทำ ฟ้ทใจสบถกัมมฎฐานข้อที่ ๔ จตุธาดววัตถาน จตุธาตุววัตถาน แปลว่าก่ารก่าหนตพิจารณาธาตุ ๔ □<r4,«_จorV.oV ตามสภาวะความเป็นจริงของร่างกายว่าเป็นเพียงธาตุ ๔ ประชุมหรือ คุมกันเข้าเท่านั้น ธาตุ คือสภาวะที่มีอยู่เองโดยธรรมดา ซ่งจะแยก ออกไปอีกไฝได้ สังขาร คือสิ่งที่ธาตุทั้ง ๔ ประชุมคุมกันเข้าเองโดย ธรรมดา หรือสิ่งที่มนุษยปรุงแตงขึ้น ธาตุนั้นมีทั้งภายในและภายนอก ธาตุภายนอกเซ่น ภูเขา ต้นไม้ แม่นํ้าเป็นด้น ธาตุภายในคือสิ่งที่คุมเข้าเป็นร่างกายของมนุษย หรือสัดว์ แดในที่นึ้หมายเอาร่างกายของมนุษยเป็นที่รวมของธาตุ ๔ คือ ๑. ส่วนที่เป็นของแข็งในร่างกาย เซ่น ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เป็นดุ้น เรืยกว่า ปฐวีธาตุ ๒. ส่วนที่เป็นของเหลวในร่างกาย เซ่น เหงื่อ เลือด ไขมัน นํ้าตาเป็นด้น เรียกว่า อาโปธาตุ ๓.. ส่วนที่เป็นความอบอุ่นในร่างกาย รักษาร่างกายไว้ไม่ให้ หนาวหรือร้อนเกินไป หรือความร้อนสำหรับเผาอาหารให้ย่อย เป็นด้น เรียกว่า เตโชธาตุ ๔. ส่วนที๋ฟัดไปมาเป็นเครื่องคํ้าจุนร่างกาย มีลมฟัดขึ้นเบื้องบน ฟัดลงเบื้องล่าง อากาศอันขังอยูในซ่องว่างของร่างกาย เป็นต้น เรียกว่า วาโยธาตุ บุคคลผู้ที่จะเจริญจตุธาตุววัดถานนั้นต้องนั้งสมาธิเอามีอขวา ๓๔๑

www.kalyanamitra.org ทับมือ4าย เท้าข่ว่าทับเท้า^าย ตั้งกายให้ตรงดำรงสติให้มั่น น้อมใจ เอาไว้ตรงกลางกายของเรา นึกภาวนาว่า ปฐวีๆ อย่างนี้หลายๆ ครั้ง ภาวนาอย่างนี้จนใจของเราไม่ฬุงซ่าน หยุตนิ่งสงบ ด่วงธรรมใสๆ ก็ ผตขึ้นมาชัดใสสว่าง เราก็ปล่อยใจไปตามสภาวธรรมที่เข้าถึง จตุธาตุววัตถาน เป็นดู่ปวับแก่คนผู้มีวีจิกิจฉา คือผู้มีความฺ ลังเลสงสัยเป็นเจ้าเรือน ทำ ให้ผู้เจริญได้บรรลุถึงขั้นอุปจารสมาธิ มี อานิสงส์ คือทำให้จิตใจของเราหายสงสัยคลายความลุ่มหลงในสังขาร เจริญสมถภาวนา มีประโยชนห่รืออานิสงส์ ๑. เป็นอุบายปีดกั้นนิวรณูปกิเลส มิให้เกิดขึ้นครอบงำจิต สันดานได้ ๒. เป็นอุบายข่มจิตมิให้ดิ้นร่นฟิงซานได้ ข้อควรจำ กายคตาสติ เป็นปร่ะโยชน์แก่คนผู้มีกามฉันทะเป็นเจ้าเรือน ทำ ให้ผู้เจริญได้บรรลุถึงขั้นอุปจารสมาธิ • เมฺตตา เป็นประโยชน์แก่คนผู้มีพยาบาทเป็นเจ้าเรือน ทำ ให้ผู้ เจริญได้บรรลุถึงขั้น อุปจารสมาธิ พุทธานุสสติ เป็นประโยชน์แก่คนผู้มีถึนมิทธะเป็นเจ้าเรือน ทำ ให้ผู้เจริญได้บรรลุถึงขั้นอุปจารสมาธิ กสิณ เป็นประโยชน์แก่คนผู้มี อุทธัจจกุกกุจ่จะ เป็นเจ้าเรือน ทำ ให้ผู้เจริญได้บรรลุถึงขั้น อัปปนาสมาธิ จตุธาตุววัตถาน เป็นประโยชน์แก่คนผู้มีวิจิกิจฉาเป็นเจ้าเรือน ทำ ให้ผู้เจริญได้บรรลุถึงขั้นอุปจารสมาธิ ๓&๒

www.kalyanamitra.org .ปัญหาและเฉลยฃทที่๓ ๑. กายคตาส่ติกัมมัฏฐาน กำ หนดอะไรเป็นุอารมณ์? ก. ผม ขน เล็บ ฟัน หนง ข. ซากศพ ค.. ลมหายใจ ง. ความตาย ๒. ผู้เจริญกายคตาสติ ย่อมไดริบอานิสงส์อย่างไร? ก. ไม่กลัวความตาย ข. มีผิวพรรณผ่องใส ค. มีจิตใจเบิกบาน ง- ไม่ยึดติดกายตนคนอื่น ๓. กายคตาสติ เป็นคู่ปริบนิว่รณ์1ด ? ก. กามฉันท ข. พยาบาท ค. ถนมิทธะ ง. วิจิกิจฉา ๔. พิจารณาผม ขน เล็บ ฟัน หนัง โดยอาการอย่างไร จึงจัดเป็น กายคตาสติ ? ก. โดยเป็นของปฏิกูล ^ ข.โดยเป็นของนิาริกษา ค. โดยเป็นขอ่งงดงาม ง. โดยเป็นของมีสีน่าริก ๔. กายคดาสติ สติไปในกาย พึงกำหนดเห็นด้วยอาการอย่างไร? ก. เห็นอาการ ๓๒ . ข. เห็นเป็นของน่าเกลียด ค/เห็นว่าไม่เที่ยง ง. เห็นว่าไม่มีตัวตน ๖. ทานสอนดจปัญจกกัมมัฏฐานก่อนกัม่มัฏฐานอื่น เพื่ออะไร 9 ก. เพื่อตอเกับฺกามฉันท์ ข. เพื่อมิให้ง่วงนอน ค. เพื่อปฏิบิติได้สะดวก ง. เพื่อให้บรรลุฌาน ๗.. ผู้เจริญเมตตา พึงแผ่ไปในใครก่อ่น? ก, ตนเอง ข. บิดา มารดา . ค. คนที่'วไป ง. คนเป็นตัดร ๓๔๓

www.kalyanamitra.org ๘. ผู้เจริญเมตตาพึงน้อมํนึกถึงคนที่ตนไฝชอบ ด้วยอาการอย่างไร จึง จะหายเกลียดชัง? ก. อย่านึกถึงเขาเลยดีกว่า ข. อย่าคบค้าสมาคมด้วย . ค. นึกถึงความดีที่เขามีอยู่ ง. หลีกหนีเสียให้ห่างไกล ๙. ผู้เจริญเมตตา เมื่อจะแผ่โดยเจาะจง พึงน้อมใจนึกถึงใครก่อน? ก. บิดา มารดา ขฺ. ครู อาจารย์ ค. สามี ภรรยา ง. บุตร ธิดา ๑๐. ผู้หมื่นเจริญเมตตา ย่อมได้อานึสงสอะไร? . ก. รักตัวเองมากขึ้น ข. รักผู้อื่นมากขึ้น ค. กำ จัดโทสะเสียได้ ง. รู้จักให้อภัยไมุ่จองเวร ๑๑. วิธีแผ่กรุณา ฟานสอนให้แผ่อย่างไร? ก. ขอสัตวจง์เป็นสุขเถิด ข..ขอสัตว์จงพ้นจากทุกข์เถิด ค. ขอสัตว์อย่าจองเวรกันง. ขอสัตว์อย่าเบียดเบียนกัน ๑๒. ผู้เจริญกรุณา พึงกำหนดสัตว์ชนิดใดเป็นอารมณ์? ก. สัตว์เลี้ยง ข. สัตว์บาตเจ็บ ค. สัตว์น่ารก ง. สัตว์ทุกจำพฺวก ๑๓. ผู้เจริญกรุณฺาอยู่เนือง ๆ ย่อมกำจัดอะไรได้? ก.าพยาบาท 'ข.อภิชฌา ค. กามราคะ ง. วิห้งสา , ๑๔. ข้อใดเป็นวิธิแผ่มทิตา ? ก. ขอสัตว์จงเป็นสุขเถิด ข. ขอสัตว์จงมีสุขยิ่งขึ้นไป ค. ขอสัตว์จงพ้นทุกข์ ง. ข่อสัตว์จงอย่ามีเวรกัน ๑๙, การบริกรรมนึกว่า \"สัตว์ทั้งหลาย จงอย่าเสีอมวิบัสิไปจ่ากสุข \\ สมบิสิที่ตนได้แล้วเลย\" เป็นสักษณะแห่งพ่รหมวิหารข้อใด? ก. เมตตา ข. กรุณา ค. มหิตา ง. อุเบกขา ๓๙(ร

www.kalyanamitra.org ๑๖. ผู้เจริญพุทธานุสสติควรระลึกถึงอะไร? ก. ประว้ติของพระพุทธเจ้า ข. คำ สอนของพระพุทธเจ้า . ค. พระรูปของพระพุทธเจ้า ง. พระคุณของพระพุทธเจ้า ๑๗. ขณะกราบพระรัตนตรัอ ๓ ครั้ง ควรมีสติระลึกถึงอะไร? ก. พระรัตนตรัย ข. คุณพระรัตนตรัย ค. พระพุทธคุณ ง. พระธรรมคุณ ๑๘.การเจริญกสิณเพื่อขมนิวรณ1ด ? ก. พยาบาท ข. ริจิถึจฉา ค. อุทธัจจกกกุจจะ ง. ถึนมิทธะ ๑๙. การกำหนดรูปกายโดยความเป็นธาตุ ๔ หมายถึงข้อใด? ก. จตุธาตุววัตถาน .ข. อสุภกัมมัฏฐาน ค. กายคตาสติ ง. อาหาเรป่ฏถูลสัญญา ๒๐. จตุธาตุววัต่ถาน ทานไหกำห่นดพิจารณากายไหเห็นว่า...? ก; เป็นเพียงสมมติว่าธาตุ ๔ ข! เป็นเพียงธาตุ๔ปุระชุมกัน. ค. ธาตุ ๔ เป็นนิพพานมัญเP ง. ธาตุ ๔ เป็น่ปรมัตถบญญ้ติ ๒๑. เป็าหมายสูงสุดของการเจริญสมถกัมมัฏฐานคือข้อได? ก..ข่มตัณหาได ข. ข่มนิวรณฺได้ ค. ละกิเลสอย่างหยาบได้ ง. ละกิเลสอย่างละเอียดได้ ๒๒. คำ ว่า \"สมถะ\" มีความหมาย่ว่าอย่างไร ? ก. อยู่ตามลำพง ข. ยินดีตามมีตามได้ ค. สงบจากกิเลส ง. สงบจากนิวรณ์ ๒๓. อิริยาบถได เหมาะแกํผู้เริ่มเจริญกัมมัฏฐาน? ก. ยืน เติน ข. ยืนนอน - ค. นั่ง เติน ง. นั่ง นอน

www.kalyanamitra.org ๒๔. ผู้รกจิตจนซาชองแล้ว ควรใช้อิริยาบถใด ? ก. ยืน ข่. เดิน ค. นั่ง ง. ทุกอิริยาบถ ๒๔.อะไรเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การเจริญก้มมัฏฐานไมใต้ผล? . ก.ไฝตั้งใจจริง ข.ปฏิบดิไม่ถูกวิธี ค. มีปสิโพธมาก ง. กัมมัฏฐานไม่ถูกจริต ๒๖. สถานที่ใด เหมาะแก่ผู้เริ่มเจริญกัมมัฏฐาน? ก. ป่าไม้ ข. ป่าช้า ค. โคนไม้อันสงัด ง. ถูกทุกข้อ ๒๗. คนชอบงวงนอน ควร์เจริญกัมมัฏฐานอะไร? ก. พรหมวิหาร ข. กสิณ ค.มูลกัมมัฏฐาน . . ง.พุทธานุสสดิ ๒๘. ข้อใด ตรงกับคำว่า.\"จริต\" ความประพฤดิเป็นไปของสฺดวโลก ? ก. อุปนิสัย ข..นิสัย ค.จิต - ง.. อารมณ ๒๙. คนสัทธาจริต มีสักษณะเช่นไร? ก. เชื่อง่าย ข. เชื่อเหตุผล s ค. เชื่อนั่นคัวเอฺง ง. เชื่ออาจารย์ ๓๐.กัมมัฏฐานข้อใดเหมาะแก่คนสัทธาจริต ? ก. พุทธานุสสดิ ข. กายคตาสดิ ค. มรณัสสดิ ง. อุปสมานุสสดิ ๓๑.คนโทสจริต มีล้กษณะเช่นไร ? ก. เจ้าระเบียบ ข.ไกรธง่าย ค. เชื่อคนง่าย ง. ลืมง่าย €ท๕๖

www.kalyanamitra.org ๓๒. คนโทสจริตควรเจริญกัมมัฏฐานอะไร?. ก. เมตตา ข. จาคา'แสสติ ค. อสุภะ ง- .มรณัส่สติ ๓๓. คนมีสติไม่มั่นคง หลง ๆ ลืม ๆ ตรงกับจริตได? ก. วิตกจริต . ข. 'พุทธิจริต ค. โมหจริต ง. สัทธาจริต ๓๔.คนวิตกจริต มีสักษณะเซ่นไร ? *. ก. ติดฟ้งซ่าน ข. กังวลไป'ทุกเรื่อง ค. นอนไม่ค่อยหสับ ง. ถูกทุกข้อ ๓๔.กัมมัฏฐานข้อใดเหมาะแก่คนวิตกจริต? . ก.อานาปา'แสสติ ข. มรณัสสติ ค. อสุภะ ง. พรหมวิหาร .๓๖. สติกำหนด'ทิจารณาใจที่เศร้าหมองหรือฝองแผ้วเป็นอารมณ์ว่า 'ไจ ว่าใจ...\"จัดฺเข้าในสติป๋ฏฐานข้อใด? ก. กายา'แป๋สฺสนา, ข. เวทนา'แป๋สุสุนา ค. จิตตา'แปั'สุสนา * ง. ธัมมา'แป๋สสนา ๓๗. เมื่อกล่าวบทว่า \"นโม ดสุ่ส ภคิวโต อรหโต สมมาสร^พุทฺธสุส\" ควรมีสติกำห'แดอณ์ร จึงเป็นการเจริญกัมมัฏฐาน? ' ก. พรร;พุทธคุณ ข. พระธรรมคุณ ค. พระสังฆคุณ ง. กำ หนดจิตไม่ให'?3งซ่าน ๓๘. ข้อใด มึใซ่ความหมายของคำว่ว \"พุฑโธ\"? ก. ผ้รู้ ข. ผ้ตื่น คํ. ผู้เรกบาน ง. ผู้มีโชค ๓๙. การแสดงธรรมโปรดสัตวิ จัดเป็นพุทธคุณข้อใด? ก. พระป๋ญญาธิคุณ ข. พระวิสุทธิคุณ ค. พระกรณาธิคุณ ง. ถกทุกข้อ- ๓๔๙

www.kalyanamitra.org ๔๐. ผู้เจริญมร่ณัสฺสติต้องประกอบด้วยองคอ่ะไรบ้าง จึงจะแยบคาย? ก. ระลึกถึงความฅาย่ ข. รู้ว่าต้องตายแน.. ค. เกิดสังเวชสลดไจ ,ง.ถูกทุกข้อ ๔๑. เจริญมรณัสสติอย่างไรชื่อว่าไฝแยบคาย? ' ก. ไฝกสัวดาย ข. เกิดความสังเวช . ค. สะดุ้งหวาดผวา ง. กลึาเผชิญความดาย ๔๒. การเจ่ริญมรณสสติว่า \"อวสฺสํ มยา มริตพฺพ เราต้องตายแน่'' ควรเจริญในขณะได ? ก. ขณะรดนํ้าศพ ข. ขณะฟัง่สวดพระอภิธรรม ค. ขณะเผาศพ ง. เจริญไต้ทุกขณะ ๔๓. ประโยชน์ของกๅรเจริญอ่สุภฺกัมมัฏฐาน คือข้อได? ก. คลายสงสัย ข. คลายกำหนัด ค: ตัดกิเลส ง. ไห้เกิดเมดดา ๔๔. การเจริญมรณัสสติ ฝประโยชน์อย่างไร? ก. ทำ ไห้ไฝประมาท .ข. ทำ ไห้กล้าหาญ ค. ทำ ไห้อดทน ง. ทำ ไห้วางเฉย ๔๔.■ ข้อได ไฝไซ่หวข้อขอ่งสติบ้ฏ่ฐาน ๔? ก. กาย ข. สัญญา ค. จิด ง. ธรรม <5^๖. คนมสตใฝมันคง ควรแกดวยวธ!ด ? ก,พจารณาความตาย ข.กำหนดลมหายไจ ค. พิจารณาอสุภะ ง. กำ หนดธาตุ ๔ ๓๔c«

www.kalyanamitra.org เฉลย ๑. ก ๒. ง ๓. ก ๔. ก ๔. ข ๖. ก ๑๑. ข ๗. ก ๘. ^ ๙. ก ๑๐. ค ๑๖. ง ๒๑. ขฺ ๑๒. ซ ๑๓. \"9 ๑๔. *2] ๑๔.. fl ๒๖. ^ ๑๗. ข ๑๘. ค ๑๙. ก ๒๐. ก ๓๑. ข ๒๒. ^ ๒๓. f) ๒๔. ^ ๒๔. ๓๖. ค ๔๑. ค ๒๗. >3 ๒๘. ข ๒๙.* <1 ๓๐. ^ ๔๖. ข - ๓๒. ก ๓๓. ค ๓๔. ง ๓๔. ก ๓๗. ก ๓๘. ง ๓๙. ค ๔๐. ง ๔๒. ง ๔๓. ข ๔๔. n ๔๔. ข ๓๔๙

www.kalyanamitra.org บทที่ ๔ วิปัสสนากัมมัฏฐาน วป๋สสนาภาวนา วิปัสสนา แปลว่า ความเฟ้นแจ้ง สาธุชนมาทำวิปัสสนาปัญญา ที่เฟ้นแจ้งซัด ในอารมณ์ให้เกิดมีขึ้นในจิตด้วยเจตนาอันใด เจตนาอัน นั้นชื่อว่า วิปัสสนาภาวนา การเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานนั้น ผู้เจริญพึงสิกษาให้รู้จักธรรม ๓ ประการ คือ ๑. ธรรมเป็นภูมิเป็นอารมณ์ของวิมัสสนา ๒.ธรรมเป็นรากเหง้า เป็นเหตุเกิดขึ้น ตั้งอยู่ของวิมัสสนา ๓. ธรรมคือตัววิมัสสนา ธรรมเป็นถู่มิเป็นอารมณ์ของวิปัสสนา ๑. ซันธ์ แปลว่ากอง คือร่างกายของคนเราเมื่^แยกฺออกเป็น ส่วนๆ แล้วได้ ๔ ซันธหรือ.๔ กอง ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ๒. อายตนะ แปลว่าปอเกิด หรือที่เชื่อมต่อ คือสฺงที่เป็นสื่อ ๓๖๐

www.kalyanamitra.org สำ หรบติดตฺอกันทาใหเกิดความรู้ขึ้น มี ๑๒ อยาง ได้แก่ จักขวายุตใ^, รูปายุตนะ โสดายตนะ สัทท่ายตนะ ฆฺานายตนะ คันธายตนะ §วหายตนะ ริสายุตนะ กายายตนะ โผฏฐพพายตนะ มนายตนะ ธัมมายตนะ ๒. ธาตุ่ แปลว่าสิงที่ท่ริงสํภาพของตนไว้ไฝเปลี่ยนสภาพรกตอ ไป มี ๑๘ อ่ย่าง ได้แก่ จักขุธาตุ รูปธาตุ จักขุวิญญาณธาตุ โสตธาตุ สัท่ทธาตุ โสตวิญญาณธาตุ ฆานธ่าตุ คันธธาตุ ฆานวิญญาณธาตุ ชิวหาธาตุ รสธาตุ ชิวหาวิญญาณธาตุ กายธาตุ โผฏเพพธาตุ กาย- วิญญาณธาตุ มโนธาตุ ธัมมธาตุ มโนวิญญาณธาตุ ๔. อนทรียุ \"แปลว่าสิงที่เป็นใหญ่ คือเป็นใหญ่ใน%ของตน มี ๒๒อย่างได้แก่จักขุนทรีย .โสตินทรีย ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย่ กายินทรีย์ มนินทรีย์ อิตถนทรีย์ ปุรสินทรีย์ ชิวิตินทรีย์ สุขินทรีย์ ทุกชินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ โทมนัสสินทรีย์ อุเปกชินทรีย์ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ฟ้ฌญินทรีย์. อนัญญาตัญญ่'ส- สามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์ กัญญาตาวินทรีย์ ๔. อรียสัจ แปลว่าความจริงกันประเสริฐ มี ๔ อย่าง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ๖. ปฏิจจสมุปบาท แปลว่าสิงที่อาศัยกันและกันเกิดขึ้น คือสิ่ง นี้เกิดขึ้นก็มีสิ่งนี้ตามมา หรีอเมื่อสิ่งนี้คับไปสิ่งนี้ก็คับ เกี่ยวโยงกันไป เหมีอนลูกโจ! มี ๑๒ อย่างคือ อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรามรณะ ธรรมเป็นรากเหง้าของวิปัสสนา ๑. สีลวิสุทธิ ความหมตจตแห่งศีล ๒. จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต €ท๖6)

www.kalyanamitra.org ธรรมเป็นตัววิปั'สสนา ๑. ทิฏฐิวิสุทธิ ความบริสุทธิ้แฟงทิฏฐิ คือความเห็น ๒. กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องข้าม พ้นความสงสัย ๓. มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็น เครื่องเห็นว่าทาง หรือมิใช่ทาง ๔. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็น เครื่องเห็นทางปฏิบต ๔. ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณทัสส'แะ (ได้แก่ อริยมรรคทั้ง ๔) ธรรมเป็นตัววิป้'สสนา อีกนัยหนึ่ง ๑. อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง

www.kalyanamitra.org ๒. ทุกขตา ความเป็นทุกข์ ๓. อนัตตตา ความเป็นของมิใช่ตวตน แจิรญวิป็แส•พกพงสิกฬใ;^ญักธรรม ๙ ประการ ๑. ลักษณะของวิฟ้สสนุา ๒.\"กิจของวิป๋สสนา . ๓. ผลของวึป็สสนา ๔. เหตุเกิดขึ้นและตั้งอยู่ของวิป๋สสนา ๙. วิภาค ความจำแนกของวิป๋สสนา ๖ ประการ ลักษณะของ่วิป็สสนา สภาพความเป็นเองของสังขาร คือลังขารเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา จริงอย่างไร ความรู้แจ้งเห็นจริงวิาสังขารเป็น ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ซัดตามที่เป็นจริงอย่างนั้น นี้เป็น ลักษณะของวิปัสสนา กิจของวิปัสสนา การกำจัดมืดคือโมหะลันป็ดบังปัญญาไว้ไม่ให้เป็นตามความ เป็นจริงของสังขาร เป็นกิจของวิปัสสนา ผลของวิปัสสนา ความรู้แจ้งเห็นจริงในสังขารทั้งหลายว่า เป็นของไม่เที่ยง เป็น •ทกข์ เป็นอนัตตา ลันสืบเนื่องมาจากการกำจัดโมหะความมืดเสียได้ สินฺเชิง ไม่มืความรู้ผิดความเห็นผิด นี้เป็นผลของวิปัสสนา' ๓๖๓

www.kalyanamitra.org ■v.\" รุpฐ^. .^ ,. j-':. • ■■• .J. - f» เหดของวิบสืสนา ผู้เจริญวิปั'สสนาพึงบำเพ็ญสมาธิให้เกิด จิตที่ไม่พึงซ่าน ตั้งมั่น ด้วยสมาธิ เป็นเหตเกิดขึ้นตั้งอย่ของวิปัสสนา วิภาคทั้ง ๖ ของวิปัสสนา ๑. อนจจง ของไม่เที่ยง ๒. อนิจจลักขณัง เครื่องหมายบอกใ'?^เป็นของไม่เที่ยง ๓. ทุกขัง เป็นทุกข ๔. ทุกขลักขณัง เครื่องกำหนดให้รู้ว่าเป็นทุกฃ ๔. อนัตตา ๖. อนัตตลักขณัง สภาวะมิใช่ตัวมิใซ่ตน เครื่องหมายที่จะให้กำหนดรู้ว่ามิใช่ตัว มิใช่ตน

www.kalyanamitra.org การเจริญวิป้สส'แาตามนัยแห่งอรรถกถา การเจริญวิป้'สสนาตามนัยแห่งอรรถกถานั้น ทานได้แสดง ประเภทแห่งบุคคลผู้เจริญวิปัสสนาไว้ ๒ ประเภท คือ ฯ!ญฟิmiTเฬฬIJJ 11{>3ง Ibbci (เใ ย ๒. วิปัสสนายานัก ผู้เจริญวิปัสสนายังไมได้ฌานสมาบติเลย เริ่ม เจริญวิifeสนามาเลยทีเดียวคือยงไมได้เจริญสมถกัมม้ฏฐานมาก่อน ธรรมอันเป็นเหตุเป็นปัจจัยใ'ค้เกิดนามรูป - อวิชชา เป็นหตุเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา ตัณหา เป็นเหตุเป็นปัจจัยไห้เกิดอุปาทาน อุปาทาน เป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดกรรม กรรม เป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดชาติคือนามรูป เหตุปัจจัยให้เกิดนามรูป คือเบญจ'ยันธ์ ๑. อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม อาหาร เป็นเหตุเป็นปัจจัย ให้เกิดรูป ๒. อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม ฝัสสะ เป็นเหตุเป็นปัจจัย ให้เกิดเวทนา ๓. อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม ผัสสะ เป็นเหตุเป็นปัจจัย ให้เกิดสัญญา ๔. อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม ผัสสะ เป็นเหตุเป็นปัจจัf ให้เกิดสังขาร ๔. อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม นาม และรูป เป็นเหตุเป็น. ปัจจัยให้เกิดวิญญาณ ๓๖๔

www.kalyanamitra.org ความสงสัยในส่วนอสิต ๕ คือ ๑. เราได้มีแล้วหรือหนอในชาติก่อน ๒. หรือว่าเราไม่ได้มีแล้ว ๓. เราได้มีแล้วในชาติก่อน เราเป็นอะไรหนอ ๔. เราได้มีแล้วในชาติก่อน เราเป็นผู้มีสุขทุกขเป็นอย่างไรหนอ ๔. เราได้เป็นอะไรแล้วจึงได้เป็นอะไรอีกเล่าในชาติก่อน ความสงสัยในส่วนอนาคต ๔ คือ ๑. เราจักมีหรือหนอในชาติหน้า ๒. หรือว่าเราจักไม่มี ๓. เราจักมีในชาติหน้า เราจักเป็นอะไรหนอ ๔. เราจักมีในชาติหน้า เราจักเป็นผู้มีสุขทุกข์เป็นอย่างไรหนอ ๔. เราจักเป็นอะไรแล้ว จึงจ้กเป็นอะไรในชาติหน้าต่อไปอีกเล่าหนอ

www.kalyanamitra.org ความสงสัยในส่วน!โจจุบัน ๖ ดือ ๑. เดี๋ยวนี้เรามีหรือหนอ ๒. หรือว่าเราไม่มี ๓. เรามีอยู่เดี๋ยวนี้ เราเป็นอะไรหนอ ๔. เรามีอยู่เดี๋ยวนี้ เราเป็นอย่างไรหนอ ๔. เราเป็นสัตจ์มาแต้ไหนหนอ ๖. เราจะเกิดที่ไหนอีกเล่าห่นอ วิบัสสนปกิเลส ธรรมอันเป็นเครื่องเศร้าหมุองของวิบัสสนา เรียกว่า วิบัสสนูปกิเลส มี ๑๐ อย่าง คือ ๑.โอภาสแสงสว่าง ๒. ญาณ ความรู้เห็นนามรูปอย่างแจ่มซัด ๓.ปีติ ความอิ่มเอีบใจ ๔. บัสสัหฺธิ ความสงษกายสงบใจ ๔.สุข ความสุขอันประณตที่เกิดจากการบำเพ็ญเพืยฺร ๖. อธิโมกข์ ความเดี๋อมนมกิาสังกลาเป็นที่ฝ่องุใสของจึต ๗. บัคคาหะ ความเพ็ย่รใน่การปร่ะคองจิตไว้ในอ่ารมณ ๘. อป้^น สติที่ฒั้ม อารมณ์ไม่ให้เสือ^รย ๙. อุเบกขา ความวางจิตเป็นกลางในสังขารทั้งสิ้น ๑๐.นิกนติ ความพอใจความอาสัยในวิบัสสนา กิจ่ในอริยสัจ๔ดือ ๑. กิาหนดรู้ทุกขสัจ ๓๖๙

www.kalyanamitra.org ๒. ละสมุทัยสัจ ๓. ทำ ให้แจ้งซึ่งนโรธสัจ ๔. ทำ มรรคสัจให้เกิดขึ้น ป้จจเวกฃณญาณ ๔ คือ ๑. ญาณเครื่องพิจารณามรรค ๒. ญาณเครื่องพิจารณาผล ๓. ญาณเครื่องพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ๔. ญาณเครื่องพิจารณากิเลสที่ยังเหลืออยู่ ๔. ญาณเครื่องพิจารณาพระนิพพาน ป๋จจเวกฃณญาณทั้ง ๔ ย่อมมีแก่พระอริยเจ้า ๓ จำ พวก คือ พระโสดาทัน พระสกทาคามี พระอนาคามี ส่วนพระอรทันต์นั้น มี ทัจจเวกขณญาณ ๔ คือ เว้นข้อญาณเป็นเครื่องพิจารณากิเลสที่ยัง เหลืออย่ เพราะท่านมีกิเลสลิ้นแล้ว

www.kalyanamitra.org อานิสงส์การเจริญวิป๋สสนา ๑. มืสํติมั่นคง ไม่หลงทำกาลกิริยา ๒. มีคติภพ คือมนุษยและโลกสวรรคเป็นที่ไปในภพหน้า ๓. เป็นอุปนิสัยแหงมรรคผลนิพพานติดสันดานตอไปในภพหน้า ๔. ถ้ามีอุปนิสัยจะได้บรรลุผลนิพพานในปัจจุบันชาตินี้ กิย่อม จะได้บรรลุมรรคผลทำให้แจ้งที่งพระนิพพานในบัจจุบันชาตินี้ทีเดียว ข้อควรจำ วิบัสสนาภาวนา คือบัญญาพิจารณาเห็นแจ้งชัดในอารมณ์ที่ เกิดขึ้นในจิด ตามสภาวะความเป็นจริงอย่างไร แล้วไม่ยึดมั่น ถือมน ในสิ่งนั้นๆ ความรู้ความเห็นวา สังขารเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา แจ้งชัดดามที่เป็นจริงอย่างนั้น เป็นสักษํณะของวิบัสสนา ความขจัดมีดคือโมหะอันปิดบังบัญญาไว้ไม่ให้เป็นดามความ เป็นุจริงของสังขาร เป็นกิจของวิบัสสนา ความเห็นจริงส่อฺงสว่าง เห็นมั่วไปในความที่สังขาร เป็นของ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ปรากฏเฉพาะหน้า ดังดวงประทีปส่อง สว่างอยู่ฉะนั้น เป็นผลของวิบัสสนา จิตที่ไม่พิงซ่าน ตั้งมั่นด้วยสมาธิอันใดอันหนึ่ง เป็นเหฺตุเกิดขึ้น ตั้งอยู่ของวิบัสสนา อนิจฺจํ ของไม่เที่ยง ๑ อนิจฺจลฦขณํ เครื่องหมายบอกให้รู้ว่า เป็นของไม่เที่ยง ๑ ทุกขํ เป็นทุกข์ ๑ ทุฤชลกฺขณํ เครื่องกำหนดให้รู้ ว่าเป็นทุกข์ ๑ อน่ตตา สภาวะมีใช่ดัวมิใช่ตน ๑ อนตฺดลฦขณํ เครื่อง ที่จะให้กำหนดรู้ว่า มีใช่ดัวมีใช่ตน ๑ ทั้ง ๖ ประการนี้ เป็นวิภาคของ วิบัสสนา ๓๖๙

www.kalyanamitra.org 1โจจเวกขณญาณทั้ง ๔ ย่อมมีแก่พระอริยเจ้า ๓ จ้าพวก คือ ๑. พระโสดาบัน ๒. พระสกทาคามี ๓. พระอนาคามี ส่วนพระอรหันตนั้น มีบัจจเวกขณญาณ.๔ คือ เว้นข้อญาณ เป็นเครื่องพิจารณากิเลสที่ยังเหลืออยู่ เพราะท่านมีกิเลสสิ้นแล้ว บัญหาและเฉลยบทที่ ๔ ๑. คำ ว่า \"ริบัสสนา\" มีความหมายว่าอย่างไร ? กํ. เห็นแจ้งรูปนาม ข่. เห็นแจ้งอริชชา . ค. เห็นแจ้งสังขาร ง. เห็นแจ้งพระนิพพาน ๒:ข้อใด จัดเป็นริบัสสนากัมมฏฐาน? ก. กำ หนดนบลมหายใจ ข. เจริญเมดตา ค. ก่าหนดรู้กา!]โดยความเป็นธาตุ ง. บริกรรมกสิณ ๓. เป็าหมายสูงสุดของการเจริญริบัสสนากัมมฏฐานคือข้อใด ? ก. มนุษย์สมบด ข. สวรรค์สมป๋ต ค. พรหมสมบัติ ' ง. นิพพานสมบัติ ๔. ความเห็นแจ้งชดว่า \"สังขารทั้งหลายดกอยู่ในอำนาจแห่งไตร- สักษณ\" เรียกว่าอะไร ? ก. สมถะ ข. ริบัสสนา ค. สมาธิ ง. สามัญญสักษณะ ๙.อะไรเป็นกิจของริบัสสนา ? ข. ความขจัดนิว่รณ์ ก. ความเห็นแจ้งรูปนาม ค. ความขจัดโมหะ ง. ความมีสมาธิ ๓๙๐

www.kalyanamitra.org ๖. อะไรเป็นผลของวิป๋สสนา ? ข. จิตรู้เห็นตามความเป็นจริง ง. จิตรู้เห็นพระนิพพาน ก. จิต่ถึงอัปปนา ค. จิตผ่องใส ๗. ข้อใด ไมใช่อารมณของวิปัสสนา ? ก. กสิณ ๑๐ ข. ขันธ ๔ ค. อายตนะ ๑๒ ง. ธาตุ ๑๘ ๘. พิจารณาธาตุ ๔อย่างไรจึงจัดเป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน? ก. พิจารณาสักว่าเป็นธาตุ ข. พิจารณาว่าว่างเปล่า ค. พิจารณาว่าไม่เที่ยง ง. ถูกทุกข้อ ๙. ผู้เจริญกัมมัฏฐานไม่ได้ผลตามที่ต้องการ เพราะสาเหตุใด? ก. มีเรื่องกังวลใจ ข. มีทฺรัพย์สมปัติมาก ค. ไม่อยู่ในป้าข้า ง. เป็นคนเจ้าอารมณ์ ๑๐. บุคคลเช่นไร เจริญวิมัสสนากัมมัฏฐานไม่ได้ผล ? ก. มีจิตพิงช่าน ข. มีศลไม่บริสุทธิ้ ค. ไม่รู้วิมัสสนาภูมิ ง. ถูกทุกข้อ ๑๑. ประโยชนสูงสุดของการเจริญวิมัสสนากัมมัฏฐาน คืออะไร? ก. พ้นจากสังสารทุกข์ ข. ระงับนิวรณ์ ค. กำ จัดความสงสัย ง. พ้นจากอบาย ๑. ก ๒. ค เฉลย ๙. ค ๖. ข ๗. ก ๓. ง ๔. ข ๑๐.^ ๘. ง ๙. ก ๑๑.ก . ๓๙๑

www.kalyanamitra.org วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม 016/๒

www.kalyanamitra.org เรียงความแกกระทู้ธรรม วิชาเ%]งความแก้กระทูธรรมเ&!^ชาที่มีห^การเih^ ความงามในการใช้ภาษา จึงเป็นวิชาทึ่นกเรียนจะต้องศึกษา และรี!กฝน ให้มีประสบการณมากพอสมควรจึงจะมีความรู้ ความชำนาญในการใช้ สำ นวนภาษา^พเราะและเหมาะสม อันจะทำให้เรียงความดีน่าอ่าน ความหมายของคำว่า \"เรียงความแก้กระทู้ธรรม\" คำ ว่า \"เรียงความแก้กระทู้ธรรม\" ตัดบทเป็นเรียงความ/แก้/ กระทู้ธรรม \"เรียงความ\" หมายถึง การกล่าวพรรณนาเนื้อความหรีอ อธิบายเนื้อความแล้วน่าเอาเนื้อ่ความมาต่อเชื่อมกัน โดยลำตับหน้า หลังให้ผู้อ่านไต้อ่านรู้เรื่อง \"แก้\" หมายถึง การตอบหรีอการเฉลยให้ตรงจุดของคำถาม นั้น หรีอการเปีดเผยสิงที่ปกปิดออกมาให้เห็น \"กระทู้ธรรม\" หมายถึง ปัญหาหรือคำถามที่เกี่ยวกับธรรมะ ทำ ไมจึงต้องเรียนวิชากระทู้ธรรม การเรียนวิชานี้จำเป็นอย่างยิ่ง เพราะการเรียนวิชานี้เป็นการ ๓๙๓

www.kalyanamitra.org แสดงออกซึงทัศนคติของแต่ละบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพโดยทางการ เขียน อันเป็นการแสดงออกแทนคำพูด ถือเป็นการสร้างบุคลากํรใหมใน ด้านการเป็นพัไพูด ฟ้าเขียน ในวงการพระพุทธศาสนาในโอกาสต่อไป ประโยชน์ของวิชากระทู้ธรรม .. ๑. เป็นการแสดงออกซึงทัศนคติของตนเอง ๒. เป็นการแสดงออกซึงความรู้เกี่ยวกับธรรมะ ๓. เป็นการแสดงออกซึ3วาทะและสำนวนของผู้ทึ่ใด้รบการติกษา ๔. เป็นการ๓ยทอดวิชาการไปลู่^คนหนึ๋3ใ'5พูและเข้าใจความ ๔. เป็นการพัฒนาด้านความรู้และปัญญาของตนใ'พ้ก้าวห'น้าอยู่ เสมอ ๖. เป็นการสร้างบุคลากรในด้านศาสนา'ขั้น'พื้นฐาน ซึงกลายมา เป็นผู้เผยแผ่ศาสนาต่อไป. ประ๓ทของกระทู้ธรรม กระทู้ธรรมของศึกษา'ชั้นดรี-โท-เอก นั้นแปงออกเป็น ๔ ประ๓ท คือ . ๑. พุทธภารต เป็นดำรัสของพระพุทธเจ้าโดยตรง ๒. สาวกภารต เป็นคำพูดของพระสาวก มี ๒ ประเภท คือ เถรคาถา(พระภิกษุ) และเถรีคาถา(พระภิกษุณี) ๓. เทวดาภารต เป็นคำพูดของเทวดา ๔. อสิภารต เป็นคำพูดของพวกญษี ภฺารตทั้ง ๔ ประเภทนี้รวมเป็นคำกลาง ๆ ว่า \"ธรรมภารต\" คือเป็นคำ'พดที่ประกอบด้วยธรรมะนั้นเอง ๓๙(ฮ

www.kalyanamitra.org กระทู้ธรรม ๒ ประ๓ท ๑. กระทู้ธรรมที่เป็นบุคลาธิษฐาน หมายถึง กระทู้ธรรมที่อ้าง บุคคลเป็นที่ตั้งหรือยกเอาเรื่องราวที่เกี่ยวกับบุคคลขึ้นมากล่าวเพื่อให้ เข้าใจในธรรมะนั้น เช่น กัมมุนา วัตตะตี โลโก สัตว์โลกย่อมเป็นไป ตามกรรม เป็นต้น ๒. กระทู้ธรรมที่เป็นธรรมาธิษฐาน หมายถึง กรฺะทู้ธรรมที่อ้าง ธรรมะโตยตรงเป็นที่ตั้งไม่อ้างบุคคลคือยกเอาธรรมล้วนๆ ขึ้นกล่าว เช่น ปะมาโท มัจจุโน ปะทัง ความประมาทเป็นหนทางแห่งความตาย หรือ ทุกโข ปาป็สสะ อุจจะโย การสั่งสมบาป เป็นเหตุนำความทุกข์ มาให้ โครงสร้างของกระทู้ธรรม ๑. กระทู้ตั้ง คือ กระทู้ธรรมที่เป็นป๋'ญหาที่ยกขึ้นมาก่อน สำ หรับให้แต่งแก้ เช่น สัพพะทานัง ธัมมะทานัง ชินาติ การให้ธรรมะ ย่อมชนะการให้ทั้งปวง ๒. คำ นำ คือ คำ ขึ้นต้นหรือคำขึ้แจงก่อนจะแต่งต่อไป กล่าว คือ เมื่อยกคาถาบทตั้งไว้แล้ว เวลาจะแต่งต้องขึ้นอารัมภบทก่อนว่า \"บัดนี้จักไต้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตที่ไต้ลิชิตไว้ ณ เบื้อง ต้น เพื่อเป็นแนวทางแห่งการศึกษาและประพฤติปฏิบัตของสาธุชนผู้ ใคร่ในธรรมสิบไป\" ๓.'เนี้อเรื่อง ต้องมีเนื้อหาสาระสำคัญ สำ คับเนื้อหาสาระให้ต่อ เนื่องกันเป็นเหตุเป็นผล เมื่ออธิบายเนื้อเรื่องมาพอสมควรก็นำเอาข้อ ธรรม(กระทู้ธรรม) มาอ้างรับรองไว้เป็นหสักฐาน ๔. กระทู้รบ หมายถึง การยกเอาธรรมภาษิตขึ้นมารับรองให้ สมเหตสมผลกับกระท้ตั้ง เพราะการแต่งเรียงความนั้นต้องมีกระท้รับ ข ๓e/&r

www.kalyanamitra.org อ้างให้สมจริงกับเนื้อความที่ได้แต่งไป มิใช่เขียนไปแบบลอยๆ ๔. บทสรุป หมายถึง รวบรวมใจความสำคัญของเรื่องที่ได้ อ่ธิบายมาแต่ด้นแล้วกล่าวสรุปลงสั้นฺๆ หฺรือย่อๆ ให้ได้ความหมายที่ ครอบคลุมถึงเนื้อหาที่กล่าวมาที่งหมด แนวทางการุบรรยายของเรียงคว่ามกระทู้โดยปกติมี๔ โวหาร . ๑. พ่รรณาโวหาร โวหารบรรยายให้เกิดความเพลิดเพลน ๒. บรรยายโวหาร อธิบายแจกแจงกระทู้ธรรมชี้เหตุผลให้ เกิดวิริยะอุตสาหะในการนำไปปฏิบ้ติ ๓. เทศนาโวหาร ชี้แจงแสดงแนะนำให้เห็นผลดีผลเสีย และ สอนให้ละการทำความชี้วทำแต่ความดี ๔. สาธกโวหาร การยกเรื่องราวต่างๆ มาเปีนข้อเปรียบเทียบ อุปมาอุปมัยโดยมีหลักว่า ก. ไม่ยกเรื่องของคนอื่นที่มีขีวิดอยู่ในมัจจุบัน ข. ไม่ยกเรื่องของดนเองมาเปีนข้อเปรียบเทียบ หลักการแต่งกระทู้ ๓ ประการ ๑. การดีความหมายกระทู้ตั้ง ว่าหมายถึงอะไร กว้างแคบแค่ ไหนในกระทู้นั้นมีความหมายที่ด้องอธิบายกี่อย่าง .เช่น กัดตา หะเว ชิคัง เสยโย ชนะดินนั้นแล ประเสริฐ ในกระทู้นื้ด้องมีความหมายคังนื้ ก. คำ ว่า \"ตน\" คืออะไร ตนในที่นื้ได้แก่กัดภาพร่างกายที่สม มติกันว่าเปีนคนได้แก่ กายกับจิต ข. คำ ว่า \"ชนะตน\" ได้แก่อะไร คือชนะใจตนเองไม่ให้ใจตก อยู่กับอำนาจกิเลสหรีออารมณฝ่ายตั้าที่มาชักนำหรือครอบคลุมจิตใจ ของตนเองให้ได้นั้นเอง ถ้าใครช14ะจิตใจของดินเองได้ก็ขีอว่าชนะตน ๓ร/๖

www.kalyanamitra.org ค. คำ ว่า \"ประ!,สชุ\" แปลว่า ดีกว่า เลิศกว่า เมื่อคนเรา เอาชนะจิตใจของตนเอง่ได้ ซื่อว่าได้รับความชนะที่ประเสริฐกว่า การ ช1เะสงคราม หรือศัตรูภายนฺอก ๒. การขยายความไหช้ดเจน หมายถึง ก่ารขยายควฺามให้ ซัดเจนและแจ่มแจ้งออกไป เซ่น ความชนะใจตนเองคืออะไรก็ขยายให้ แจ่มแจ้งออกไปว่า ไม่ให้จิตใจของตนเองตกอยู่ภายได้อำนาจุ่ของ กิเลส คือความโลภ ความโกรธและความหลง ซื่งจะเป็นสิ่งสนับสนุน ให้จิตใจตนดีดไปในทางชว ทางบาป ทางทุจริต และที่ว่าประเสริฐนั้น ก็คือการชนะจิตใจตนเองประเสริฐกว่าอย่างอื่น เพราะการชนะคนอื่น แม้ ๑๐๐ คน ก็ไม่ประเสริฐเท่ากับการชนะตนเพียงครั้งเดียว ๓. ตั้งเกณฑ์อรบาย หมายถึง การอธิบายจะด้องมีหลักเกณฑ์ อธิบายถึงผลดีผลเสียซึ่งจะเป็นเครื่องชี้ซัดลงไปให้เห็นว่า การชนะ ภายนอก เซ่น ชนะคนตั้ง ๑๐๐ คน นั้นเป็นของไม่แน่นอน ภายหลัง อาจจะกลับเป็นคนแพ้ได้ ส่วนการชนะตนเองนั้นเป็นการช!เะโดยเดีด ขาด ชนะแล้วไม่กลับแพ้อีก การแดงกระฑูธรรม มี ๒ แบบ คือ ๑. การแต่งแบบดีวง คือ การพรรณนาความไปก่อนแล้วจึง หวนเข้าเนื้อหาของกระทู้ธรรมนั้น ๆ กล่าวคือ การแต่งกระทู้แบบ อธิบาย เริ่มด้นจากจุดอื่นซึ่งห่างไกลให้มีความลัมพันธเนื่องกันเข้าไป เป็นขั้นเป็นตอนก่อนหลังตามลาดับจนกลมกลืนกับกระทู้ตั้งแล้วจึง อธิบายธรรมะหรือกระทู้นั้น ยกเหตุอุปมาสาธกและเชื่อมกระทู้อื่นมาร้บ ให้สมกับข้อความอธิบายนั้น มากหรือน้อยตามกำหนดของสนามหลวงที่ ได้บังคับไว้ใน่ขั้แนั้น ๆ(ธรรมศึกษาตรื,โท, เอก) แล้วสรุปความ ๒. กา.รแต่งแบบตั้งวง คือ การอธิบายความหมายของธรรมะ ๓6/6/

www.kalyanamitra.org ก่อนแล้วจึงขยายความออกไป กล่าวคือ การอธิบายตรงจุดธรรมะที่ เป็นกระทู้ตั้ง ไม่ต้องมีลีลาหรือว่าร่ายรำให้ยืดยาวพอเข้ๆถึงจุดก็ อธิบายต่อไปเหมีอนก็'บแบบดีวงนั้นเอง ผดกันบ้างก็เพราะแบบดีวง ต้องเริ่มจากจุดอื่นเข้ามาเท่านั้น การไซ้ภาษา ในการเขียนภาษาเรืยงความ ผู้เขียนจะต้องพิถึพิกันการไข้ ภาษาไห้มาก ภาษาที่จะไข้ต้องเป็นภาษาเขียนเท่านั้นไม่เขียนต้วย ภาษาพูด ร่งพอสรุปเพื่อจำง่าย ๆ คือ ๑. ต้องใข้ภฺาษาเขียนที่ถูกต้อง ๒.ไมใช้ภาษาดลาด ภาษาแสลง ภาษาคาผวน ๓.ไมใข้ภาษ่าพื้นเมีอง หรือภาษาอื่น ๔.ไม่ไข้ภาษาต่างประเทศปนภาษาไทย . ต้วอย่างของคำอารัมภบทไนการแต่งกระทู้ - บัดนี้จักไต้บรรยายขยา•ยความดามธรรมภาษิดที่ไต้สิขีดไว้ ณ เบื้องต้น เพื่อเป็นแนวทางแห่งการประพฤติปฏิบ้ตแท่งสาธุชน^คํร่ ไนธรรมลีบต่อฺไป - บัดนี้จักอธิบายขยายเนี้อความแห่งกระทู้ธรรมที่ไต้ตั้งเป็น อุทเทส่ไว้เพื่อเป็นแนวทางแห่งการศึกษาและปฏิบ้ติของท่านพุทธมามกะ ผูฝักไฝ่ไนธุระทั้ง .๒ ประการไนศาสนา. คือ คันถธุระและวิบัสสนาธุระ อนเป็นก็จที่จะต้องกระท่าไนพระพุทธศาสนา เพื่อม่งประกอบดนและผู้ อื่นไห้ไต้ประสบสิ่งที่ดนปรารถนาเป็นลำดับต่อไป ๓๙c«

www.kalyanamitra.org ตัวอย่างชองคำพูดก่อนกล่าวอ้างสุภาษิตอื่นมาเชื่อม ๑. สมด้วยภาษิตที่มาใน.... ความว่า ๒.สมด้วยความแห่งคาถาประพันธ์พุทธภาษิตใน. ความว่า ตัวอย่างของคำขึ้นด้นดอนสรุป ๑. สรุปความว่า. ๒. รวมความว่า ๓. ประมวลความว่า. ๓๙๙

www.kalyanamitra.org แบบฟอรมการเขียนวิชาเรียงความแก้กร่ะ นกรรรมและffรรมศึกนๆชั้นเอก (กระทู้ตั้ง) ยาฑิสํ วปเต ฟ็ชํ ตาฑิส์ ลภเต ผลํ กลยาณการี กล.ยาณํ ปาปการี จ ปาปก*. (คำแปลกระทู้ตั้ง) บุคคลหว่านพืซเปนใด ย่อมไ^เผลเช่นนั้น ทู้ทำ กรรมดี.ย่อมไดีผลดี ทู้ทำ กรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว; บัดนี้จักได้บรรยายขยายความตามธรรมภา^ ที่ได้ลขิตไรี ณ่ เบื้องด้น เพอเป็น แนวทางแห่งการประพฤดีปฏิบ้ต๊ของสาธุชนทู้ใครในธรร่มสืบไป อรบายควาว่า .นี้สมด้วยธรรมภารตที่มาใน, .ความว่า (กระทู้รับที่®) อฺตฺตานฌฺเจ ตฤากรรา •ยถณฺฌมนุสาสดี สุฑนฺโต วต ทเมท อตฺตา หิ กิร ทุไๅฑโม. (คำแปลกระทุรับที่®) ถ้าสอนทู้อื่นฉันใต ^ พึงทำตนฉันนั้น ทู้ฝ็กตนดีแล้ว ควรUกทู้อื่น ได้ยินว่าตนแลฟ้กยาก. อรบายควาวา .นี้สมด้วยธรรมภารตที่มาใน. .ความว่า (กระทู้รับที่๒) สุขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺเฑน น หึสดี อตฺตโน สุขเมสาโน เปจฺจ โส ลภเต สุข*. (คำแปลกระทุรับที่๒) สัตว์ทั้งหลายย่อมด้องการความสุข ทู้ใตแสวงหาสุขเพี่อตน ไม่เบียตเบียนเขาด้วยอาชญา ทู้นั้นละไปแล้ว ย่อมได้สุข. ๓G«๐

www.kalyanamitra.org อธิบายควาวา.. .ส์สม่พ้วยธรรมทารพ่ทึ่ม่าใน. .-ความว่า (ทระทู้รับที่(ท) อปฺปมาทรตาโหถ ศรตฺตมนุรกฺฃถ ทุอุคาอุทุธรถ«>1ตานํ ปงฺเกสนฺโนวทุฌฺชโร. (คำแปลกระทุรับที่๓) ท่านทั้งหลาย จงรน่สืในค่วามไม่ประมาท คอยรักษาจิตของตน จงถอนตนขึ้นจากหลม ผมือน^งที่ตกหส่มถอนตนขึ้นฉะทั้น. อธิบายควาว่า. สรุปความว่า. สมคํวยธรรมภารตที่ลิขิตไ? ณ เบื้องต้นว่า (กระทู้ตง) ยาทิสํ วปเต พีขิ ตาทิสํ ลภเต ผลิ กลฺยาณการี กลุยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ. (คำแปลกระทู้ตั้ง) บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมไต้ผลเช่นนั้น ผู้ท่ากรรมดี ย่อมไต้ผลดี ผู้ท่ากรรมขิว ย่อมไต้ผลช่ว. .ดังไต้พรรณามาต้วยประการฉะนี้ ฯ หมายเหตุ สำ หรับนักธรรมและนักดีกษาชั้นเอก ไชกระทู้รับ ๓ บท เขียนอย่าง น้อย ๔ หน้ากระดาษเว้นบรรทัด ๓ง?๑

www.kalyanamitra.org ตัวอย่างเรียงความกระทู้ธรรม . วชา - สอบใน่สมามหลาง วันฑ เดอม :พ.ศ rnn ^enntu พ[ล โท ห A 'รททๆ ท ^ทนเท่น นาลํ สท์ท ทดททํ. ' r ทนแดเปีtfffrkmทน จ:เรน่rirSl» * นัดพ^พรขๆยรยายทจพท)มธทฆดพท วดเโ^ทัน เ^ดทัเนนtorr^ } ปีH fi s ^ รพยทรๅฆจ่าทนmmmทัเ'^ทมา!น!ดm จ:เทัน7)1น^ท'!๗ท9ะttlu^n?^t/fm9tu จคาพนฆๆททห่รททนเอ^ ทัทฆั ทนเดาทดนเทัแด !น1น9ทฺพท3เ69ดท37ทจะ9miihinynfi37JJ7'!นท>7ทัาเ าทัรทททท!!ดรแทะ tf mmwjmsmBtffนเรร}mทนดพํrm ๓!:ราจ:ทัเนน^ทั!ทั!tรทัทร!ท จะ!ร! •wmih^fnท่จ่^ทรา พทารดร^ทารททน?เรา!!รยนเ^!!}:ทรพว!ivทาจจาน แด:!ทั!}fint/m^}รรแ ^เรแ^ร่&ไนแด^เป็นท!มmi'^นทไ}ทัฒ่ดททัร! lAeiufnu^จรรรเไ^รทด!^ทัทัทั รทัมทัเยBจ7นดาไ^ท1รน ■'ร๓rmm ศทรท่ๆ ๓c»๒

www.kalyanamitra.org อทุmuBJifi โ^ jam รคุเรยุซ น ท mimjfufunt mu ^ikims; vkmfanhmJimi^ %ijmaSnA mmrkftm . AmmSa^i^euti mmrnnmim^ Msumuiwmmnimi^u^iani ฟั *v, M,i,mm^u»tii rt^^ i1&7ไiโmไM^^t>Mรiิ^. 'liiiiCjiitithfuhiitm ^m&9u\\ t«ฬ!ป้inmnitsinmnfRniiUMnS ;>.ไ V ๓^๓

www.kalyanamitra.org ^พทฉจฆรทนค! รแ^tlmiiS/mtTiBwmiimw&^as ^นนน^รา^ม่รivnktin^umTmBv^n %ymi^^Mnfnomj:tttHWi' \"rfmn ต Ttt^ ^!ท ^ ^ อุท^ dnm ชรรุม น 9iJ^ - ร^ท Vtt3 r^mtMTffsmmfiS^man ^นม^iiคย่ร vst^9^)t9pttkn^^}rs7mM^nmm i^^tmumSยู่etifisvfmm^tmiimmim t^tl. wmmmTmmvimย^^ม unm^uนmfmuutii^^um^ >.KifTiZM'iinnsinntnmiitm'«v^ ๓Cocsr

www.kalyanamitra.org คจามทน นรทmมm& เปีMฟ้นอ ล เปีน นไMm เปีน^iiiปี เปีน^ เปีนปีรmminm tkm^ เทปีม๒13ร่^มารทเน^ร ๅ 'พ 9mAil^m^A หม^นไ^ร่รม?immnu - นปีมรฒรจรมรพท่ทม่ๆ1น ขทท?)น?ทน รทมนท mitm ไ ss - -- อททนๆจ ?)ติ ใ})ปี อททนา ร^^ปีปีท * <• รททนา em ใเาปี enmm iณฅ im อปีm ปีพาทํ • 7• พร3}ฌ รล่เณ จโdรพ 'ไศรท)นาปี รนนํ้นปีเปีทหม8รเซร ^ศร}ม่ทํ)1ทปีffuuuetMm นใie^mntm รร์mlม่?}เมจรร!ปีบาปี 7 ' 1 -s ^ร3ทัปีปีนปีรปีร^ปี' t7 %Mปีาทํ รายจ่อฆmน มปียทนmนปีรร้นนัทเปี)รทรมนษนปีเด •f/ 7' •ทรใศทฆ^หด?เอยkfmมปีมรภทมัแรมั๊}น'ท}เร้นร ปีรน รปีร้มร้ร้ร้^เปี^ย่ทัเปีรรพร้ทจ์ 9 'a ทัร้หรจยเจัใหร้มmuเปี)ดรทร^mA)ม แอ:เยลปี!ปีทททปีธ?เร้อเปีนมร์}ดปี^แ^ดรแน พ่รทคท่เ^อม?เทเร)พสปีปีmนt เปีน^ปี?ร้รทท้เพ)รfmmM^aeieeทร้ท พ7:พหร9าลปีรใ7ท^น1หดมัน^ร้มน?เ)^ร้รั๊}หมา?แ^ เร้69ปีร้ม่าทศทพาปีร?เร้นเ?ท่ททเ!ปี i.B.driTnrmmc^tmau'nm'iinii ๓c;d:

www.kalyanamitra.org ufitmkummuwil ร1เ^ศทม่^1^ทแก่^ททท^9ตตร^ต frmntlมawstm mtlytYitmi^urmi mmrnrn ร •nffrmvnmifnti mimi vitntnn^u ร^ๆJjtftsfhfฆifkm .» *n llfiJumiBSmSu^mxn^m msTm^emiijeโfmUrhri^nnfi^vMnn^fi l^Jtm^Sumii หนั่น %N^^amuKnfmiiinu ร!^ \"^j^fmnsnu ปีนทรรม m^maa^ulunab^ ^ฆคfmemn^tm&iMfifSS^tmm \"^mmnmrni J^ ^^ -J-S • * •fvf'V .' / ^''' s ■?' L ^ mfmuMUเห่ Mmjftunimm^amฝนหMtiumm 'Kมa&fmtm ทห่^ส^mนvnaotkmrih^ฉ่า ^ mmMnAua:ftitml^u9รุrlh ไ TtrmAlfmimvB- dtnmttm^^ เห่เแmฉุพTOvm^mfmSh รi7eleimlHtMf)&t^ ^fmui^fnrmfiท ^ห่ลลอยIJmtmsLi^H:)น^%ห่ฅ!^1^ย๓& พเย่อุ่เทรทํ SSMMtmafiuwnmiihmx/mtiti^aAu^ m^vfrni^s^mmmri' 1ปีนทาส์!เรห่)1ลร^น>พ1พท:ท1»ทม^ tmn^tmftSt^fmSm&nLittBsmuuueu แห่๓รพํอทน!นนเifSaumtnmimsudthemtBmaitna ^MnfmiBSM^^mBtma^u99 i.n.AitTiH'ramsiinnntnrnnlwM)- ๓(พ๖

www.kalyanamitra.org T Yimmmmmmmmmwmviumamimmtmmmvi^ imimm:rmfrmtnm iTimnmm ล่รา31%าฆ จนทๆจaa^'Si^i^iihSu^^^^ ^นทย0จรมต!ษ»^^ฅ1ฉ m mm ^ msnk A โฦ 3 ttSnSdh 8ต9ท ^ rmim s . Wfi'S^ msf}. ตึ^ศดสTfpm^tim ^ml^mtnei. tfassr^tenTaY^V^mTMrn.MrVns/nksmmu ๓c«e/

www.kalyanamitra.org พทธศาสนฺสุภาษิต ชั้นเอก อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท ๑. อปฺปมตตา สตีมนุโต สสีลา โหถ •ภิกขโว สุสมาหิตสงฺกปฺปๅ สจิตุตมนุรฦขถ. ภิกษุทังหลาย ! พฺวกเธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท มีสติ มีศีลตีงาม ตั้ง ความดำริไว้!หตี คอยรักษาจิคฺใจของตน. ■ทีฆนิกาย มหาวรรค ๒. อปฺปมาทรตา โหล สจิตฺตมนุรฤขถ ทุฤคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนุโนว กุฌฺซโร. ท่านทังหลาย จงยินดีในความไม่ประมาท คอยรักษาจิตของตน จง ถอนตนขึ้นจากหล่ม เหมือน'รางที่ตกหล่มถอนตนขึ้นฉะนั้น. 'ขุททกนิกาย ธรรมบท - ๓. อปฺปมาทรโต ภิกฺ'ยุ ปมาเท ภยทสฺสิ วา สฌโญซนํ อณํ ถูล ฑหํ อคฺศีว คจฺฉติ. ภิก่ษุยินดีในความไม่ประมา'เา หรือเห็นภัยในความประมาท ย่อมเผา ลังโยช'พน้อยใหญ่ไป เหมือนไฟไ'พํม้เซื้อน้อยใหญไปฉะนั้น. 'ยุททกนิกาย ธรรมฺบท ๔. อปฺปมาทรโต ภิฦ'ยุ ปมาเท ภยทสฺสิ วา อภ'ทฺโพ ปริหานาย นิ'พุพานสุเสว สนุติเก. ภิกษุศีนตีในความไม่ประมาท หรือเห็14ภัยในความประมาท เป็นผู้ใม่ ควรเ'พอจะเสื่อม (ซื้อว่า) อยู่ใกล้พระนิพพานทีเตยว. ชุททกนิกาย ธรรมบท จิตตวรรค คือ หมวดจิต ๔. อนวสุสุตจิตฺตสุส อนนุวาหตเจต่โส ปุฌฺญปาปปหินสุส s นตุถิ ชาครโต ภยํ. ๓c;?c«

www.kalyanamitra.org ผู้มีจิตุอันไฝซุ่มด้วยราคะ มีใจอันโทสะไม่กระทบแล้ว มีบญและบาป อันละได้แล้ว ตื่นอยู่ ย่อมไม่มีภัย่. •- ขททกนิกาย ธรรมบท ๖. จิตฺเตน นียติ โลโก จิตฺเตนปริกสฺสติ จิตฺตสฺส เอกธมฺมสฺส สพุเพว วสมนฺวคู. โลกถูกจิตนำไป ถูก^ซกไป ส้ตว์^ปวงไปสูอำนาจแห่งจิตอย่างเดียว. สังยุตตุนิกาย สคาถวรรค ๗. ทุนนิคฺคหสฺส ลหุโน ยตฺถ กามนิปาติโน จตุตสฺส ทมโก สาธุ จิตุตํ ทนฺตํ สุขาวห่.. การ?เกจิตที่ข่มยาก ที่เบา มักตกไปไนอารมtuที่น่าใคร่ เป็นความดี (เพราะว่า) จิตที่?!กแล้ว นำ สุขมาให้.(พุทธ) . ขุททกนิกาย ธรรมบท ๘. ปทุฎฐจฺตุตP น ผาติ โหฺตุ น จาปี นํ เทวตา. ปูชยนติ โย ภาตรํ เปตุติกํ สาปเตยฺยํ อวญจยี ทุกุกฏํกมุมการี. ผู้ใดทำกรรมชั่ว ล่อลวงเอาทรพย์สมฟ้ติพี่น้องพ่อแม่ \"ผู้นั้นมีจิตชั่ว ร้าย ย่อมไม่มีความเจริญ แมีเทํวดาก็ไม่บูชาเขา. ชุททกนิกาย ชาดก ติกนิบาต , ๙.โยฺ อสิเนน จิตุเตน อสินมน โส นโร ภาเวติ กุสล็ ธมุมํ โยคกุเขมสส ปตุติยา ปาปุเณ อนุปุพฺเพน สพุพรเโยชฺนกุขยํ. คนใดมีจิตไม่ห้อถอย มีใจไม่หุดห่ บำ เพ็ญุกุศลธรรม เพื่อุบรรลุธรรม ที่เกษมจากโยคะ พึงบรรลุธรรมเป็นที่สิน^โยชน้ทุงปวงได้. ขุททกนิกาย'ชาดกเอกนิบาต ๓๘๙

www.kalyanamitra.org ๑๐. สุทุทฺทสํ สุนิฟ่ณํ ยตฺถ กามนิปาตินํ จตฺตํ รกฺเฃถ เมธาวี จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ. ผู้มีป๋'ญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยากนัก ละเอียดนัก มักตกไปใน. อารมณ์ที่นาใคร่,(เพราะว่า) จิตที่คุ้มครองแล้ว นำ สุขมาให้. ขุทฟกนิกาย ธรรมบท ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม ๑๑. โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย สตํ หิ ใส ปีโย โหติ อสตํ โหติ อปฺปีโย. บคคลควรเตือนกัน ควรสุอนกันและ!เองกันจากคนไม่ตื เพราะเขา ย่อมเป็นทีรักของคนํตื แต่ไฝเป็นที่รักของคนไม่ดี. จุเทหกนิกาย ธรรมบท ๑๒. กาเมสุ พฺรหฺมจริยวา วีตตณฺโห สทา สโต สงฺขาย นิพฺพุโต ภิฦชุ ตสุส โน\"สนฺติ อิฌฺชิตา. ภิกษุผู้เห็นโทษในกาม มีความประพฤติประเสริเ ปราศจากตัณหา มี - สติทุกเมื่อ พิจารณาแล้ว ตับกิเลสแล้ว ย่อมไม่มีความหวันไหว. ขุททกนิกาย จูฬนิเทส ๑๓. ขตฺติโย จ อธมฺมฏโ^ เวสฺโส จาธมฺมนสสิโต เต ปริจฺจชุซโภ โลเก อุปปชฺชนฺติ ทุคฺคดี. กษ้ตริย์ไม่ทรงตั้งอยู่ในธรรม และแพศย์(คนสามัญ) ไม่อาศัยธรรม ซนทั้ง ๒ นั้นละโลกแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ. .ขททกนิกาย ชาตก มัญจนิบาต ๑๔. จเซ ธนํ องฺควรสฺสฺ เหตุ องฺค จเซ ซีวิต่ รฤขมาโน องฺคํ ธนํ ชีวิตญจาปี สพฺพึ จเซ นโร ธมฺม่มนุสฺสรนฺโต. ๓๙๐

www.kalyanamitra.org พึงสละทร้พย์เพื่อ^ษาอวัยวะ เมื่อร้กษๆชีวิตพึงสล^อวัยวะ เมื่อคำนึง ถึงธรรม พึงสละอวัยวะ ทรัพย และแม้ชีวิต ทุกอย่าง. ขุททกนิกาย ชาดก อิสีตินิบาต ๑๔. ชิฆจฺฉา ปรมา โรคา สงฺขารา ปรมา ทุฤขา เอตํ ญตฺวา ยถาภตํ นิพฺพานํ ปรมุ สุขํ. ความหิวเป็นโรคอย่างยิง สังขารเป็นทุกขอย่าง่ยิ่ง. รู้ข้อนั้นตามเป็น จริงแล้ว ดับเสียได้ เป็นสุขอย่างยิ่ง. ขุฑทกนิกาย ธรรมบท ๑๖. ชีรนฺติ เว ราชํรถา สุจิตฺตา อโถ สรีรมฺปี ชรํ อุเปติ สตฌฺจ ธมฺโม น ชรํ อุเ.ปติ สนฺโต หเว สพภิ ปเวทยนฺติ. ราชรถอันงดงามย่อมคราคร่า แม้ร่างกายก็เข้าถึงชรา ส่วนธรรมของ สัตบุรุษย่อมไม่เข้าถึงชรา สัตบุรุษอับสัตบุรุษเท่านั้นย่อมรู้กันได้. สังยุตตนิกาย' สคาถวรรค ๑๗. เต ฌายิโน สาตติกา . นิจฺจํ ทฬฺหปรกกมา . ผุสนฺติ ธีรา นิพุพานํ โยคฤเขมํ อนุตุตรํ. ผู้ฉลาดmiเป็นผู้เพ่งพินิจ มีเพึยรติดต่อ บาก คงเป็นนิตย์ย่อมถูก ด้องพระนิพพานอันปลอดจากโยคะ หาธรรมอื่นยิ่งกว่ามิได้. ขททกนิกาย ธรรมบท ๑๘. ทุกฺขเมว หิ สมฺโภติ ทุกฺขํ ติฏฐติ เวติ จ นาฌฺญตุร ทุฦขา สมฺโภติ นาฌฺญตุร ฑกฺขา นิรุชฌติ. ทุกข้เท่านั้นเกิดขึ้น ทุกข์ย่อมตั้งอยู่ และเสือมไป นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรดับ. ฃุททกนิกาย ■มหานิเทส ๓๙๑

www.kalyanamitra.org ๑๙. ธมโม ปโถ มหาราช อธมฺโม ปน อุปฺปโถ อธมฺโม .นิรยํ เนติ ธมฺโม ปาเปติ สุคติ. มหาราช! ธรรมเป็นทาง(ควรดำเนินตาม) ส่วนอธรรมนอกลู่นอกทาง (ไม่ควรดำเนินตาม) อธรรมนำไปนรก ธรรมให้ถึงสวรรค์. ชุททกนิกาย ชาตก สัฏฐินิบาต ๒๐. พหุสสุดํ อุปาเส่ยฺย สุตฌฺจ นวินาสเย ดํ มูลํ พรหมจริยสฺส ตสฺสา ธมมธโร สิยา. . พึงนังไกล้ผู้เป็นพหูสูต และไม่พึงทำสุตะไห้เสื่อม สุตะนนเป็นรากแห่ง พรหมจรรย เพราะฉะนั้น ควรเป็นผ้ทรงธรรม ขุททกนิกาย เถรคาถา . มคคา%เฏฺฐงฺติโก เสฏฺโฐ สจุจานํ จตุโร ปทา วิราโค เสฏโฐ ธมฺมานํ ทิปทานฌฺจ จๆขมา. s บรรตาทางทังหลาย ท่างมีองค์ ๘ ประเสริฐสุต บรรตาสัจจะทั้ง ท จ 1'5?!1ล่%รร1๑ 1 เจ I*?\"! IIC40/ ขุททกนิกาย ธรรมบท ๒๒. ยมฺหิ สจฺจฌฺจ ธมฺโม อหึสา สฌฺญโม ทโม เอตทริยา เสวใ4ติ เอดํโลเก อนามดํ. สัจจะ ธรรมะ อหิงสา สัญญมะ และทมะ มีอฺยูในผู้!ต อารยชนย่อม คบผู้นั้นนั้นเป็นธรรมอันไม่ตายในโลก.. ขุททกนิกาย ชาตก ทุกนิบาต ๒๓. เย สนฺตจิตฺตา นิปกา ^ สติมใฟ้ต จ ฌายิโน สมฺมา ธมฺม่ วิปสฺสนฺติ กาเมสุ อนเปก่ขิโน. ผู้มีจิตสงบ มีป๋ฌญาเครื่องรักษาตัว มีสติ เป็นผู้เพ่งพินิจไม่เยื่อใยใน กาม ย่อมเห็นธรรมโตยชอบ. ขุททกนิกาย อิติวตตกะ ๓6^

www.kalyanamitra.org . ๒๔. สกํ หิ ธมฺมํ .ปริปุIHพาทุ . อญญสฺส ธมฺมํ ปน หีน่มาทุ เอวมฺปี วิคฺคยุ่ห วิวาทยนฺต• ส์ก สก สมุ่มติมาทุ สจฺจํ. - _ สมณพราหมณ์บวงเห่ล่ากล่าวธุรรมฃอง่ตินวิาบริบูรณ แต่กล่าวธรรม ขอ;ป็ผู้อื่นฺว่าเล่ว(บกพริอง) เขาย่อมทะเลาะวิวาทกนแฟ้ด้วยเหชุฟ้ เพราะต่างก็ กล่าวขอสมมติของตนๆ ว่าเป็นจริง. ชุททกนิกาย มหานิบาต ๒๕. สุสุขํ วต่ นิพฺพานิ สมมาสมฺพุทธเทสิตํ อโสก็ วิรช เขมํ ^ ยตฺถ ทุฤขํ นิรุชฺฌติ. พระนิพพานที่พระสมมาส้มพุทธเจ้าทรงแส^งแล้ว ไมมีโศกปราศจากธุ่ลี เกษม เป็นที่ดบทุกข์ เป็นสุขดีหนอ. ขททกนิกาย เถรคาถา ๒๖. หีนิ ธมฺมํ น เสเ^ยย ปมาเทนินสํวเส มิจฺนิาทินิฐึ น เสเว่ยย . น สิยฺา โสกวฑฺฒโน. ไม่ควรเสฟธรร่เมที่เลว ไมควรอ^ความประมาท ไม่ควรเสพมิจฉาที่ฏฐ ไม่ควรเป็นคนรกโล่ก็; ขททกนิกาย ธรรมบท ๒๗. หีเนน พฺรหฺมจริเย่นุ ข์ตติเย อุปปชฺซ่ติ มชุฌเมน จ เทว่ตฺต อุตฺตเมนวิสุชุฌติ. บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นกษตริย ดวยพรหมจรรข์อย่างเลว ถึงความ เป็นเท่วดา ด้วยพรหมจ่รรยอย่างกลาง ย่อมบริสุทธึ๋ดวยพรหมจรรยอย่างสูง. ขททกนิกาย ชาดก มหานิบาต ๓๙๓

www.kalyanamitra.org รริยวรรค คือ หมวดความฟ้ยร ๒๘.โกสชฺซํ ภยโต ทิสฺวา วิริยารมภฌจ เขมโต อารทธวิริยา โหถ เอสา พุทธานุสาสนี ท่านทั้งหลายจงเห็นความเกียจคร้านเป็นภัย และเห็นการปรารภความ เพียรเป็นความปลอดภัย แล้วปรารภความเพียรเถิด นี้ป็นพุทธานุศาสนี ขททกนฺกาย จริยาป็ฎก ๒๙. ตุมฺเหหิ กิจฺจํ อาตปฺป อฤชาดาโร ดถาคดา ปฏิปนฺนา ปโมกขนติ ฌายิโน มารพนฺธ'นา. ; ท่านทั้งหลายต้องทำความเพียรเอง ดลาคต่เป็นแต่ผู้บอก ผู้มีปกติ เพ่งพินิจดำเนนไปแล้ว จักพ้นจากเครื่องผูกของมาร. ขททกนิกาย ธรรมบท ๓๐.โย จ วสฺสสดํ ซีเว กุลีโด ห็นวีริโย เอกาหํ ชีวิดํ เสยฺโย วเย อารภโต ทฬหไ ผู้โดฺเกียจคร้าน มความเพียรเลว พิงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี แต่ผู้ปรารภ ความเพียรมั่นคง มีชีวิตอยู่เพียงว'นเดียว ประเสริฐกวาผู้นั้น. สังยุดดนิกาย สุคาถวรรค ๓๑. สพฺพทา ลีลสมฺปนฺโน ปฌฺฌวา สุสมาหิโด อาร'ทธวิริโย ปหิดสุโด โอฆํ ดรติ ทุตฺดรํ. ผู้ถึงพร้อมฺดวยศีล มีมั่ญฌา มีใจมั่นคงดีแล้ว ปรารภความเพียร ตั้ง ตนไว1นกาลทุกเมื่อฺ ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามไต้ยาก. สังยุดดนิกาย สคาถวรรค ๓๙(ร:

www.kalyanamitra.org สามัคคีวฺรรค คีอ หํมวดสามัคคี ๓๒. วิวาทํ .ภยโต ทิสฺวา อวิวาทฌจ เขมโต สมคฺคา สขิลา .โหถ เอสา พทฺธานุสาสนี. ท่านทั้งหลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็นภย และความไม่วิวาท โดยความปลอดภัยแล้ว เป็นผู้พร้อมเพียง มีความประนีประนอมกันเถิด นี้ เป็นพระพุทธานุคาสนี. ชุททกนิกาย จริยาปีฎก ๓๓. สามคุยเมว สกฺเขถ พุทฺเธเหตํ ม่สํสิตํ สามคุยรโต ธมฺมฤโฐ โยคกเขมา น ธํสติ. พีงศึกษาความสามัคคี ความสามัคคี ท่านผู้รูทั้งหลายสรรเสริญแล้ว ผู้ยินดีในสามัคคี ตั้งอยูในธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอนเกษมจากโยคะ. ชุททกนิกาย ชาดก เตรสนิบาต ๓๔. สุขา สงฺฆสฺส สามคุคี สมคุคานฌฺจนุคุคโห สมคุครโต ธมมอุโฐ . โยคณฺขมา น ธํสต. ความพร้อมเพรียงของห็มู่เป็นสุข และการสนิมสนุนคนผู้พร้อม เพรียงภันก็เป็นสุข ผู้ยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกัน ตั้งอยูในธรรมย่อมไม่คลาด จากธรรมอนเกษมจากโยคะ. ฃททกนิกาย อิติวตดกะ . 1'- : ๓๙(ร:

www.kalyanamitra.org บรรณานุกรม คณะกรรมการกองตำรา มหามกฏราข่^ย่าล้ย พทธคาส!เลุภาพ เล่ม ๓.•กเงเทพฯ ะ โรงฟ้มตํ[มหามคุฏราฟวิทยาลัย, ๒๙๓๘. คณาจารย์สำพฟิมพเส์ยงแยง กรรมบถ ธรรมสิกษาพแอก.กเงเทพฯ ะ โรงพมพ์เลี่ยงแยง, ๒๙๙๗. คณาจารย์สำฟ้า^พ์เลี่ยงเรยง ธรรม่วิจารย์ ฉ1ฌมาตรฐาน.กเงเทพฯ: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง, ๒๙๓๖. คณาจารย์สำน้กพิมพ์เลี่ยงเชียง พุทธานุเพุธประพ ฉร่ผัมาตรฐาน. กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง, ๒๙๓๖. คณาจารย์สำฟ้าพิมพ์เลี่ยงเชียง ธรรมสืกษา&เอก.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง, ๒๔๔๗. คณาจารย์สำฟ้ไเพุนว้ดประยูรวงศาไทส คู่มอธรรมศึกษาพั้แอก,กรุงเทพฯ ะ หางหุ้แส่านจำก้ดสามลดา,๒๙๔๘. ■พระศ!!ตนโมลี(ช้ยวิ^ปณฺญาเริ ป.ธ.๙)กรรมบถ ธรรมศึกษาพั้แอก. กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์การศาสนา สำ ฟ้:!งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๙๔๖. พระธรรม^ก{ป.อ.ปยุตฺโต)พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบบประมวลธรรม.กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช่วิทยาลัย, ๒๙๔๖. - พระธรรมปีฎก(ป.อ.ปยุดฺโต)พจนานุกรมพุทธคาสตร์ฉบบประมวลพั^ทุ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช'วิทยาลัย, ๒๙๔๖. พระธรร่ม่กิรพิวงศ(ทองด สุรเตโช ป.ธ.๙)พจ(เกนุกรมเฬึ๋๓ารพึพทพุธคาสแฃุตคำว้ร่น กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง, ๒๙๔๘. พระมหาเฉลียว เฉโก อุปกรณ์ธรรมวิจารณ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฎราช■วิทยาลัย, ๒๙๓๑ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชีรญาณวโรรส ธรรม่วิจารณ์. กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์มหามกุฎราช■วิทยาลย, ๒๙๓๘, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมถกัมม้^น.กรุงเทพฯ ะ โรงพิมพ์มหามกุฎราช่วิทยาฒั, ๒๙๓๘. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวขิรญาณวโรรส วิปสสนากัมฟ้ฎฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๙๓๘. สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวขิรญาณวโรรส พุทธานุพุทธประวิติ.กรุงเทพฯ: ๓๙๖

www.kalyanamitra.org โรงพิมใฒ์ใฑมุคุฏรา^ยๆล้ย,๒^๔. ,;• ^ สมแhv«ะมหาสมฺ?VHจุ้า ;) ญใ!พโ^ส ปฐมสฺมโพ่ธ, กฺรุงเทพฯ ะ โรงพิมใ^หามคุฏราชาทยาลั๋ย, ๒๙๓๗.. สมเด็จกรมพระปรมานุ?ต%โนรสพระปฐมสมโพธิกถา ทุทธประฬฉฟ้บพสดาร.กรุงเทพฯ ะ ห้าง^นส่วนจำก้ด อำ นวยส่าสันก้ารห้มพ์, ๒๙๙๙. สุ่ธิพ ใ^ญญานุกาพ พระไตร่ปฎกนพุ้ส์าห?พรฺะชาชพ.กรุงเทพ*! ะ โรงห้มพ์มหามคุฏราซ่วิทยาลัย, ๒๙๓๗ เอนกํ ขำ ทอง ป.ธ.๙ ปัญญา สละทองตรง ปธ.๙ ธรฺรมด็กษาพนอก. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห้^ประเท่ตไทอ จำ ก้ต.๒๙๙©. ๓๙๙

www.kalyanamitra.org ซอชอบพระคุณุและอนิโมท'นๆกฃิทุกทๆน ยู้บีฝวนส์าศญยึ๋งทาให-ท'นงิเ[อเลมWfhเรจ่ อ.มาลินี สูวรรฺณพิทักษ์ อ.ไพเราะ ลุ[พรรณ'นันฺธ์ อ.สุรีย์ วรรณกิจ อ.อินพิรา แวว่นิลานนท์ คุณนิลุบล ศิริโวหาร คุณผกาวัลย์ สินส่งและครอบครัว คุณฉลอง ศรีจันทร์ทอง คุณธวัชชัย-คุณทัศนีย์-คุณชิดสุดา รัทกิล คุณบุญยกร-คุณรัชตชา บุญภัทราวาส คุณผลุง-คุณเชียมจู จงคงคา คุณชวโรจน์-ด.ช.ธนภัทร จงคงคา คุณดวงรัตน์-คุณนันท์นภัส งามเสงี่ยม คุณกาญจน์-คุณอนงค์ งามเสงี่ยม คุณ!]ญญา-คุณวงศธร งามเสงี่ยม คุณปณิธิ-คุณนิษฐา เตชรุ่งถวิลและครอบครัว คุณปรีชา-คุณฉวีวรรณ วัฒนวิเชียร ๓๙Cะ

www.kalyanamitra.org