Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Bachelor of Education Program in General Science (FULL)

Bachelor of Education Program in General Science (FULL)

Published by Supawat_w, 2019-10-16 10:25:43

Description: Bachelor of Education Program in General Science (FULL)

Keywords: General Science (KPRU)

Search

Read the Text Version

82 1004103 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1 6(540) Internship 1 รายวชิ าที่ต้องเรยี นมาก่อน 1002101 การฝกึ ปฏบิ ัตวิ ชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น 2 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีมีคุณธรรม และจริยธรรมตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ออกแบบการจัดบรรยากาศช้ันเรียนท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ความสุขจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนเกิดกระบวนการคิดขั้นสงู โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลหรือนวัตกรรมทางการศึกษาที่ทันสมัย ร่วมมือกับผู้ปกครองในการพัฒนาและมุ่งมั่นในการ แก้ปัญหาผู้เรยี นให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ สะท้อนผลการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับตนเองได้อย่าง ชดั เจนจากการเข้ารว่ มกิจกรรมทีส่ ่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาชพี โครงการทีเ่ กีย่ วข้องกับการ ส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ินและนาผลจากการเรียนรู้ในสถานศึกษาไปประเมิน สะท้อนกลับ (AAR) เป็นรายบุคคลและร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพ่อื นาไปใช้ในการพัฒนาตนเองใหม้ ีความรอบรู้ ทนั สมยั และทันต่อการเปล่ยี นแปลง 1004104 การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 2 6(540) Internship 2 รายวิชาทตี่ ้องเรียนมากอ่ น 1004103 การปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา 1 ปฏิบัติงานในหน้าที่ครูในสาขาวิชาเฉพาะ ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีมีคุณธรรม และจริยธรรมตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมคี วามสขุ เกิดกา ระบวนการคิดขั้นสูงและนาไปสู่การเป็นนวัตกร โดยออกแบบนวัตกรรมทางการศึกษาที่ทันสมัย บรู ณาการบริบทชุมชนเข้ากับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทัง้ ในและนอกห้องเรียน สร้างเครือข่ายความ ร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้วย กระบวนการวิจัยที่ถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัย สะท้อนผลการเปล่ียนแปลงท่ีเกดิ ข้ึนกับตนเองได้อย่าง ชัดเจนจากการเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาชีพ นาผลจากการเรียนรู้ใน สถานศึกษาไปประเมินสะท้อนกลบั (AAR) เปน็ รายบุคคลและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรูร้ ว่ มกันในรูปแบบ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ทันสมัยและทันต่อการ เปลี่ยนแปลง

83 กลุ่มวิชาเอก 1. วิชาเอกบงั คับ 42 หน่วยกิต รหัสวชิ า ชอื่ และคาอธิบายรายวชิ า น(ท–ป–อ) 1201102 คณติ ศาสตรส์ าหรับการสอนวิทยาศาสตร์ 3(3-0-6) Mathematics for Science Teaching รอบรู้และปฏิบัติการคาควณ แก้ปัญหาโจทย์เก่ียวกับ ระบบจานวน ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เมทริกซ์ เรขาคณติ วิเคราะห์และภาคตัดกรวย ลาดับและอนุกรม ลิมิตและความต่อเนื่องของ ฟังก์ชัน เวกเตอร์และการวิเคราะห์เวกเตอร์เบื้องต้น อนุพันธ์ของฟังก์ชันตัวแปรเดียว สถิติเบื้องต้น ประยุกต์ใช้ความรู้คณิตศาสตร์เพ่ืออธิบายปรากฏการณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ และบูรณาการสู่การจัดการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1201201 ฟสิ ิกส์สาหรับครู 1 3(2-2-5) Physics for Teachers 1 ศึกษาและปฏบิ ัติการใหร้ อบรู้ การวัด เวกเตอร์ จลนศาสตร์ แรงและการเคลื่อนท่ี งานและพลงั งาน โมเมนตัมระบบอนุภาค วตั ถแุ ข็งเกร็ง สมบัติเชิงกลของสสาร ความโนม้ ถ่วง กลศาสตร์ของไหล คล่นื กล เสยี ง นาความรูไ้ ปอธบิ ายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ใชห้ ้องปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์ตามหลักปฏบิ ัติสากล ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ด้านฟิสกิ ส์เพื่อการ จัดการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรใ์ นระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐานใหเ้ หมาะสมกบั สภาพและบรบิ ทของท้องถ่ิน 1201202 ฟสิ กิ ส์สาหรับครู 2 3(2-2-5) Physics for Teachers 2 ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ ความร้อนและเทอร์มอไดนามิกส์ แสงและทัศนศาสตร์ ไฟฟ้าและ แม่เหล็ก ฟิสิกส์ยุคใหม่ นาความรู้ไปอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ตามหลักปฏิบัติสากล ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านฟิสิกส์เพ่ือการจัดการ เรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ในระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐานให้เหมาะสมกบั สภาพและบรบิ ทของท้องถนิ่ 1201301 เคมีสาหรับครู 1 3(2-2-5) Chemistry for Teachers 1 ศกึ ษาและปฏบิ ัติการให้รอบรู้ สมบัติของสาร ปริมาณสารสัมพันธ์ โครงสร้างอะตอม ธาตุและตารางธาตุ แก๊ส ของแข็ง ของเหลว พันธะเคมี สมดุลเคมี นาความรู้ไปอธิบายปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ตามหลักปฏิบัติสากล ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านเคมีเพื่อการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ เหมาะสมกบั สภาพและบริบทของท้องถนิ่ 1201302 เคมสี าหรบั ครู 2 3(2-2-5) Chemistry for Teachers 2 ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ สารละลาย อุณหพลศาสตร์เคมี จลนพลศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออน กรด- เบส เคมีไฟฟ้า เคมีนิวเคลียร์ เคมีอินทรีย์ นาความรู้ไปอธิบาย ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ตามหลัก ปฏิบัติสากล ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านเคมีเพื่อการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาขั้น พืน้ ฐานใหเ้ หมาะสมกบั สภาพและบริบทของท้องถ่ิน

84 รหัสวิชา ชื่อและคาอธิบายรายวิชา น(ท–ป–อ) 1201401 ชีววทิ ยาสาหรบั คร1ู 3(2-2-5) Biology for Teachers 1 ศกึ ษาและปฏบิ ัตกิ ารให้รอบรู้ การศึกษาชวี วิทยาและระเบียบวธิ วี ิทยาศาสตร์ สมบัติ และการจดั ระบบของสิง่ มีชีวติ เคมีพนื้ ฐานในสง่ิ มชี ีวิต โครงสรา้ งหน้าทข่ี องเซลลแ์ ละเน้ือเย่ือ เมแทบอ ลิซึม การสืบพันธ์ุ พันธุศาสตร์ นาความรู้ไปอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์ ใช้ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ตามหลักปฏิบัติสากล ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านชีววิทยาเพื่อ การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้เหมาะสมกับสภาพและบริบทของ ทอ้ งถ่ิน 1201402 ชวี วิทยาสาหรบั ครู 2 3(2-2-5) Biology for Teachers 2 ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ แนวคิดและกลไกของวิวัฒนาการ อนุกรมวิธานและ ความหลากหลายทางชีวภาพ การเติบโตและการเจริญ โครงสร้างและการทางานของพืชและสัตว์ พฤติกรรม นเิ วศวิทยา นาความรู้ไปอธบิ ายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ใช้ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ตามหลักปฏิบัติสากล ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านชีววิทยาเพื่อการจัดการ เรยี นรู้วิทยาศาสตร์ในระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานให้เหมาะสมกบั สภาพและบริบทของท้องถน่ิ 1202501 วิทยาศาสตร์โลกทัง้ ระบบ 3(2-2-5) Earth Science System ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ องค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณพี บิ ัติภัย ทรพั ยากรธรณี แผนทท่ี างธรณี และ การนาไปใช้ประโยชน์ สมดุลพลังงานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การเกิดเมฆ การ หมุนเวียนของน้าในมหาสมุทร กระบวนการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกที่มีผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิต และสิ่งแวดลอ้ ม การพยากรณ์อากาศ อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติดว้ ยหลักวทิ ยาศาสตร์ นาความรู้ สกู่ ารจัดการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ 1202503 การจดั การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรร์ ะดับประถมศกึ ษา 3(2-2-5) Science Learning in Primary Education Level วิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาและเน้ือหา วิทยาศาสตร์ จัดทาหน่วยการเรียนรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ เทคนิคและวิธีการ การจัดการเรียนรู้ สอื่ การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เพือ่ วางแผนและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญแบบเชิงรุกและสอดคล้องกับธรรมชาติการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เขียนแผนการ จัดการเรียนรู้ สร้างสื่อ และฝึกปฏิบัติการสอนแบบจุลภาค ทดลองจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา ใช้ กระบวนการศึกษาชั้นเรียนเพื่อเสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจดั การเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างครูมืออาชีพ

85 รหสั วชิ า ชือ่ และคาอธิบายรายวิชา น(ท–ป–อ) 1203201 ไฟฟา้ และพลงั งาน 3(2-2-5) Electricity and Energy ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า แหล่งกาเนิดไฟฟ้า การผลิต พลังงานไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานความร้อนจากใต้พิภพ พลังงานลม พลังงานชีวมวล พลังงานจากเซลล์เชื้อเพลิง พลังงานน้า พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานความร้อนจากมหาสมุทร การ ประยุกต์เพ่ือนามาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก การผลิตและประหยัด พลังงาน พลังงานกับสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ด้านไฟฟ้า พลังงาน และพลังงาน ทางเลือก เพ่ือการจดั การสิง่ แวดล้อม และการจดั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 1203502 ภาษาองั กฤษสาหรับครวู ิทยาศาสตร์ 3(3-0-6) English for Science Teachers ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สาหรับครูวิทยาศาสตร์ใน งานวิทยาศาสตรจ์ ากสื่อสงิ่ พมิ พ์สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ส่ือโฆษณาประชาสัมพันธ์ บทความทางวทิ ยาศาสตร์ คูม่ อื การใช้เคร่อื ง การใช้อปุ กรณ์ฝกึ การใช้พจนานกุ รม เพอ่ื การอ่าน ฝกึ ทักษะในการอ่าน บนั ทึกสรุป ความ ตีความ ขยายความ รวมทั้งการนาเสนอด้วยวาจา และลายลักษณ์อักษร โดยเน้นกระบวนการ ทักษะสัมพันธท์ างภาษา 1203508 วิทยาศาสตรส์ ่งิ แวดลอ้ มในทอ้ งถ่ิน 3(2-2-5) Local Environmental Science ลงพื้นท่ีเพ่ือศึกษาและเรียนรู้เรื่องบริบทและภูมิปัญญาท้องถ่ิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น การศึกษาชีวิตจริง สังคม ส่ิงแวดล้อม วิถีชีวิตของคนในท้องถิ่น การ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น จัดทาหลักสูตรวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยใช้ความรู้ที่ได้ศึกษาจาก ท้องถนิ่ จดั การเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์โดยใช้ภูมิปัญญาและแหล่งการเรียนรู้ท้องถิน่ ที่สอดคล้องกับบริบท ชุมชนและเหมาะสมกบั ผู้เรยี น 1203511 การจดั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตรร์ ะดับมัธยมศกึ ษา 3(2-2-5) Science Learning in Secondary Education Level วิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา เนื้อหา วิทยาศาสตร์ จดั ทาหนว่ ยการเรียนรู้ ประยุกต์ใชค้ วามรดู้ ้านจิตวิทยาการเรยี นรู้ เทคนคิ และวิธกี ารการ จัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อวางแผนและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญแบบเชิงรุกและสอดคล้องกับธรรมชาติการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เขียนแผนการ จัดการเรียนรู้ สร้างส่ือ และฝึกปฏิบัติการสอนแบบจุลภาค ทดลองจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา ใช้ กระบวนการศกึ ษาชน้ั เรียนเพอ่ื เสริมสร้างสมรรถนะการจดั การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์อยา่ งครมู ืออาชีพ

86 รหสั วิชา ช่อื และคาอธบิ ายรายวิชา น(ท–ป–อ) 4012204 ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 3(2-2-5) Astronomy and Space ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ ความสัมพันธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษย์ในแต่ละยุค ทรงกลมฟ้า เวลาดาราศาสตร์ กลุ่มดาวและการสังเกตการณ์กลุ่มดาว ดาวฤกษ์ กาแล็กซี ดาว เคราะห์และวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ กระบวนการเกิดและ ววิ ฒั นาการของเอกภพ เทคโนโลยีอวกาศ นาความร้อู ธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาตบิ นโลกและอวกาศ ด้วยหลักวิทยาศาสตร์ สามารถสังเกตปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใช้เคร่ืองมือทางวิทยาศาสตร์ เพ่ืออธิบายปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ใช้เคร่ืองมือและทัศนูปกรณ์ทางดาราศาสตร์เพ่ือสังเกต ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ บันทึกข้อมูล สังเกตตามข้อเท็จจริงได้อย่างเป็นระบบ ใช้ความรู้ด้าน ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศเพอื่ การจัดการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

87 2. วิชาเอกเลอื ก 24 หนว่ ยกิต รหสั วิชา ชอื่ และคาอธบิ ายรายวชิ า น(ท–ป–อ) 1202101 วิทยาการคานวณ 3(2-2-5) Computing Science ศกึ ษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การเขียนรหัส ลาลองและผงั งาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายที่มีการใช้งานตัวแปร เง่ือนไข และ การวนซ้า เพ่ือแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์หรอื วิทยาศาสตร์ ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคานวณ การ แยกสว่ นประกอบและการยอ่ ยปญั หา การหารูปแบบ การคิดเชงิ นามธรรม ตวั อย่างและประโยชนข์ อง แนวคิดเชิงคานวณเพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการออกแบบ ข้ันตอนวิธีสาหรับแก้ปัญหา การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และ เง่ือนไขของปัญหา การออกแบบข้ันตอนวิธีการทาซ้า การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล ตัวอย่างการ ออกแบบขั้นตอนวิธีเพ่ือแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การศึกษาตัวอย่างโครงงานทางเทคโนโลยี สารสนเทศ การกาหนดปัญหา ศึกษา วางแผน ดาเนินงาน สรุปผล และเผยแพร่ ในการพัฒนา โครงงานท่ีมีการบูรณาการร่วมกับวิชาอ่ืนและเช่ือมโยงกับชีวิตจริง ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการ คานวณเพือ่ การจดั การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 1202301 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 3(2-2-5) Biological Sciences ศึกษาและปฏิบัติให้รอบรู้ สมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการ เปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ธรรมชาติของแรงใน ชีวิตประจาวนั ผลของแรงทก่ี ระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคล่อื นที่แบบต่าง ๆ ของวตั ถุ ความหมายของ พลงั งาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสมั พันธร์ ะหว่างสสารและพลังงาน พลังงานใน ชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า นา ความรู้ไปใช้ประโยชน์เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างธรรมชาติกับการดารงชีวิตที่ดี และเพ่ือการ จัดการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 1202401 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ 3(2-2-5) Biological Sciences ศึกษาและปฏบิ ัติการใหร้ อบรเู้ นือ้ หา ความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวติ กับสิ่งมชี ีวิตต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลังงาน ปญั หาและผลกระทบที่มีต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา ส่งิ แวดล้อม กระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธุกรรม การ เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ ส่ิงมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์เพ่ือให้เกิด การดารงชวี ิตท่ีดี และใช้เพ่ือการจัดการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

88 รหัสวิชา ช่อื และคาอธิบายรายวชิ า น(ท–ป–อ) 1202502 สะเตม็ ศกึ ษา 3(2-2-5) STEM Education ร้แู ละเข้าใจเชงิ ลึกในด้านสะเต็มศึกษา หลกั ของเทคโนโลยเี พื่อการดารงชวี ติ ในสงั คม ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทักษะในศตวรรษท่ี 21 ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือ พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วย กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สงั คม และส่งิ แวดล้อม และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรยี นรู้ การทางาน และการ แก้ปญั หาไดอ้ ย่างมรี ะบบ ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ เขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ ปฏิบัติการจดั การ เรียนรู้ และ วดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมืออาชีพ 1203301 การปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตรใ์ นโรงเรียน 3(2-2-5) Science Laboratory in School รู้หลักการเรียกช่ืออุปกรณ์/สารเคมีและวิธีการใช้อย่างถูกต้องปลอดภัย (MSDS) สัญลักษณ์และระดับอันตรายของสารเคมี นาความรู้ด้านการจัดการสารเคมี การแยกประเภท หมวดหมู่ การเก็บ และการกาจัดสารเคมี การแยกประเภทหมวดหมู่และการจัดเก็บอุปกรณ์ทาง วิทยาศาสตร์ เพ่ือจัดการห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนตามหลักปฏิบัติสากล จัดเตรียม ห้องปฏิบัตกิ ารและใช้อปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตร์เพื่อจดั กิจกรรมปฏบิ ัติการวทิ ยาศาสตรส์ าหรบั นกั เรียน ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตามสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษาตอนต้นของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 1203509 ธรรมชาตแิ ละการสบื เสาะทางวทิ ยาศาสตร์ 3(2-2-5) Nature of Science and Science Inquiry สืบเสาะและอธิบาย ทฤษฎี หลักการ และแนวคิด เก่ียวกับธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์ การมองโลกแบบวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ และกิจการทาง วิทยาศาสตร์ รวมท้ังการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ รู้และความเข้าใจการได้มาซึ่งองค์ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ อธิบายวิธกี ารแสวงหาองค์ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ แสวงหาองคค์ วามรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะ ตระหนักถึงธรรมชาติวิทยาศาสตร์ มีทักษะการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ นาความรไู้ ปออกแบบกิจกรรม การเรยี นรู้ท่ีเนน้ กระบวนการสบื เสาะทางวิทยาศาสตร์

89 1203510 สัมมนาวทิ ยาศาสตร์และการสอนวิทยาศาสตร์ 2(1-2-3) Science Seminar and Science Teaching ศึกษาค้นคว้างานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และการสอนวิทยาศาสตร์ที่น่าสนใจทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จากวารสารและเอกสารทางวิทยาศาสตร์ นาผลการศึกษามาวิเคราะห์ และอภปิ รายถงึ ประเด็นทีส่ าคญั อย่างมเี หตุผล เขยี นรายงานการสัมมนาทางวิทยาศาสตรแ์ ละการสอน วิทยาศาสตร์ นาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการสัมมนาผ่านส่ือมัลติมิเดียโดยใช้ภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษ ร่วมอภปิ รายและแลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ พือ่ การส่ือสารทางวิทยาศาสตร์ 1203512 โครงงานและกิจกรรมคา่ ยวิทยาศาสตร์ 3(2-2-5) Project and Science Camp Activity รู้หลักการและความสาคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์ การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน หลักการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ การแสดงทางวิทยาศาสตร์ การทัศนศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์ การจัด นิทรรศการทางวิทยาศาสตร์ การใช้เทคโนโลยีในการสอนวิทยาศาสตร์ ชุมนุมวิทยาศาสตร์ การละเล่น/ของเล่นหรอื ภูมปิ ัญญา ทอ้ งถิน่ นาหลักการสู่การปฏบิ ัตแิ ละประเมนิ เพอ่ื พฒั นาทักษะการ จดั โครงงานวทิ ยาศาสตร์และกจิ กรรมทางวิทยาศาสตร์ 1203513 การวจิ ยั เพื่อพัฒนากระบวนการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (2-2-5) Research to Develop Science Learning Process ร้เู น้อื หาวิทยาศาสตร์กบั ธรรมชาติและการเรียนรู้ เทคนคิ การเรยี นรกู้ ับงานวจิ ยั วิทยาศาสตรก์ ารวิจยั ด้วยกระบวนการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน การวจิ ยั ทางวิทยาศาสตร์ การเขียนโครงร่างวจิ ยั เชิงระบบ สถติ กิ บั การวางแผนงานวจิ ยั เบ้ืองต้น การวิเคราะห์ขอ้ มูล การเขียนรายงานการวจิ ยั และการเผยแพร่ ผลงานวจิ ยั มีความสามารถในการทาวิจยั และเผยแพร่ผลงานวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ศึกษา มี ความสามารถในการวิเคราะห์และประมวลผลเชงิ เชงิ สถิติเพ่ือการตัดสินใจ มที กั ษะทีจ่ าเป็นเพ่อื การ เปน็ ครวู ทิ ยาศาสตรใ์ นศตวรรษท่ี 21 4032402 พันธศุ าสตร์และเทคโนโลยที างดเี อน็ เอ 2(1-2-3) Genetics and DNA Technology ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ โครโมโซมและวงจรของเซลล์ หลักพันธุศาสตร์ ของเมนเดล การถ่ายทอดทางพันธุกรรม ความน่าจะเป็นและการทดสอบสถิตดิ ้วยไคสแควร์ บทขยาย พันธุศาสตร์ของเมนเดล พันธุศาสตร์ของเพศและการวิเคราะห์ทะเบียนประวัติ อิทธิพลของฝ่าย แม่และการถ่ายทอดพันธุกรรมที่อยู่นอโครโมโซม ยีนและโครโมโซม การกลายระดับยีนและ ระดับโครโมโซม พันธุวศิ วกรรม เทคนคิ ทเ่ี ก่ียวข้องกับดเี อน็ เอ

90 4033401 สรรี วิทยาพ้ืนฐาน 2(1-2-3) Basic Physiology ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ กลไก การประสานงานและควบคุมการทางานของระบบต่างๆของร่างกาย การสังเคราะห์แสง การหายใจ ระดับเซลล์ ประยุกต์ใช้ความรู้เพ่ือการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ เหมาะสมกบั สภาพและบริบทของทอ้ งถ่ิน 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต ให้เลือกเรียนวิชาใดๆ ในหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชรเปิดสอน โดยไม่ซ้ากับ รายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาท่ีกาหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์ การสาเรจ็ หลักสตู รของสาขาวชิ าน้ี

91 ภาคผนวก ข ตารางเปรยี บเทยี บ

9 ตาราง เปรยี บเทียบรายวิชาหลักสูตรครุศาสตรบัญฑิต สาข กบั หลักสตู รครุศาสตรบญั ฑิต สาขาวชิ าว เหตผุ ลในการปรบั ปรุงหลักสูตร หลกั สูตรเดมิ ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 ชื่อหลักสตู ร ชื่อหลักส ภาษาไทย : หลกั สตู รครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์ท่ัวไป ภาษาไ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in ภาษาอ General Science ช่อื ปริญญา ชอ่ื ปริญญ ชือ่ เตม็ (ไทย) : ครศุ าสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรท์ ่ัวไป) ช่อื เตม็ ชื่อเต็ม (องั กฤษ) : Bachelor of Education (General Science) ชื่อเต็ม ชือ่ ย่อ (ไทย) : ค.บ. (วิทยาศาสตร์ทว่ั ไป) ชอ่ื ยอ่ ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.Ed. (General Science) ช่อื ย่อ ปรชั ญา ปรชั ญา หลกั สูตรครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิทยาศาสตรท์ ั่วไป มงุ่ ผลิตบัณฑิตให้ ผลติ ครูที่ม เป็นครูวทิ ยาศาสตร์ท่ีมี ความรู้ ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และ ทักษะ เจ วิชาชพี มที ักษะชีวิต ทักษะการจดั การเรยี นรทู้ ่ีอย่บู นพน้ื ฐานของเหตุ และพัฒน และผลตามวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ และมคี วามรู้อนั ลกึ ซ้ึงจนนาไปสกู่ าร บคุ คลอนื่ วจิ ยั เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน จนเกิดเปน็ องค์ความรูใ้ หมใ่ นการ ปัญหาหร พฒั นาท้องถิ่น รวมท้ังสง่ เสรมิ ให้บัณฑติ มีคุณธรรมและจรยิ ธรรม

92 ขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ท่ัวไป (หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2559) วิทยาศาสตรท์ ่ัวไป (หลักสูตร ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) หลักสตู รปรับปรุง ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระท่ีปรับปรุง สูตร คงเดมิ ไทย : หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรท์ ัว่ ไป องั กฤษ : Bachelor of Education Program in ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานคณุ วฒุ ิ General Science ระดบั ปรญิ ญาตรี ญา สาขาครศุ าสตร์ ม (ไทย) : ครศุ าสตรบัณฑิต (วทิ ยาศาสตร์ทั่วไป) และสาขา ม (อังกฤษ) : Bachelor of Education in General Science ศึกษาศาสตร์ (ไทย) : ค.บ. (วทิ ยาศาสตรท์ ่วั ไป) (หลกั สตู ร 4 ป)ี (อังกฤษ) : B.Ed. General Science มีคุณภาพสูง มีความรูค้ คู่ ณุ ธรรม สามารถบรู ณาการความรู้ จตคติ คุณธรรม และจรยิ ธรรมแหง่ วชิ าชพี ไปสู่การจัดการศกึ ษา นาครู ให้เปน็ คนดี มีสติปญั ญา ความสามารถ และอย่รู ว่ มกบั นได้อยา่ งมีความสขุ รู้เท่าทันการเปลย่ี นแปลง และสามารถเผชญิ รือวกิ ฤติได้ดว้ ยสติปัญญา

9 หลกั สูตรเดิม ฉบับปี พ.ศ. 2559 วัตถปุ ระส 1) เป็นผ้ทู จรรยาบรรณในวิชาชีพครู และมีความสามารถพัฒนาทักษะในการ ความรใู้ น ตอบสนองต่อความกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตรใ์ นอนาคตได้ และเศรษ 2) เปน็ ผมู้ วัตถุประสงค์ พฒั นาหล 1) มคี ุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวชิ าชพี ครู ความรู้คว 2) มคี วามเชย่ี วชาญในการจัดการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์ และ การศกึ ษา สามารถทางานรว่ มกบั นักเรียน รวมทง้ั ผู้ร่วมงานทกุ กลุม่ 3) เป็นผทู้ 3) มีทักษะในการปฏบิ ัติ การคน้ ควา้ การวิจยั ทางวทิ ยาศาสตร์ และมี รับผิดชอบ ทกั ษะในการถา่ ยทอดความรู้ เชย่ี วชาญ 4) มคี วามรู้ ความสามารถในการประยุกตเ์ ทคโนโลยกี ับการเรียนการ คุณภาพ แ สอนวทิ ยาศาสตร์ 4) ความร อนั ถ่องแท สาหรับกา 5) มีศักยภ ความก้าว การปฏบิ ตั

93 สาระที่ปรับปรุง หลักสูตรปรับปรุง ฉบับปี พ.ศ. 2562 สงค์ ปรับวัตถุประสงค์ ทมี่ คี วามรูค้ วามสามารถในด้านการสอน สามารถประยกุ ต์ใช้องค์ ใหส้ อดคล้องกบั นการปฏบิ ตั ิงานได้อย่างสอดคล้องกับสภาพสังคม วัฒนธรรม มาตรฐานคุณวุฒิ ษฐกจิ ของประเทศ ระดบั ปริญญาตรี มคี วามรู้ความสามารถในการจดั การเรียนการสอนและการ สาขาครศุ าสตร์ ลกั สตู รทางดา้ นการเรียนการสอนการสอนทีจ่ ะสง่ ผลให้ครู มี และสาขา วามสามารถ สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ อง ศึกษาศาสตร์ าของชาติ (หลกั สูตร 4 ปี) ทม่ี ีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู มคี วาม บสงู ต่อวชิ าการและวชิ าชพี มีความอดทน ใจกวา้ ง และมีความ ญในการจดั การเรียนรู้พรอ้ มท่ีจะประกอบวชิ าชีพครู อย่างมี และเปน็ ไปตามสมรรถนะและมาตรฐานวิชาชพี ครู รอบรูด้ า้ นการจดั การเรียนการสอน สามารถประยุกต์ความเขา้ ใจ ท้ในทฤษฎีและระเบียบวิธกี ารศกึ ษาวจิ ัย เพ่ือสรา้ งความรูใ้ หม่ ารประกอบวชิ าชพี หรอื การศึกษาในระดับสูงข้ึนในอนาคต ภาพท่ีจะพัฒนางานในหนา้ ท่ี และเสน้ ทางวชิ าชีพใหม้ ี วหน้าเป็นผู้นาทางวชิ าการ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน ตงิ านหนา้ ท่ีครูได้อย่างเหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ

หลักสูตรเดมิ ฉบับปี พ.ศ. 2559 9 หลักสตู ร หลักสตู ร มจี านวน มจี านวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกว่า 165 หน่วยกิต 1. หม 1. หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ 2. หม 2. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกวา่ 129 หนว่ ยกติ 34 หนว่ ยกติ 2.1 1. วชิ าแกน ไม่น้อยกวา่ 69 หนว่ ยกติ 1)ว 2. วิชาเอกบงั คับ ไมน่ อ้ ยกว่า 14 หนว่ ยกติ 2)ว 3. วชิ าเอกเลือก 12 หนว่ ยกติ 2.2 4. วชิ าฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 6 หน่วยกติ 1) ว 3. หมวดวิชาเลอื กเสรี 2) ว 3. หม

94 หลักสูตรปรบั ปรุง ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระที่ปรับปรุง นหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สตู รไมน่ ้อยกวา่ 141 หนว่ ยกิต -ลดจานวนหน่วย กิตรวมเป็น 141 มวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป ไม่นอ้ ยกว่า 30 หน่วยกิต หน่วยกติ มวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกวา่ 105 หน่วยกติ - ล ด ห น่ ว ย กิ ต วิ ช า 1 วชิ าชีพครู ไมน่ ้อยกวา่ 39 หนว่ ยกติ เฉพาะเป็น 10 5 วชิ าชีพครบู ังคบั หนว่ ยกิต วิชาฝึกประสบการณ์ 25 หนว่ ยกติ 2 วชิ าเอก 14 หน่วยกติ วชิ าเอกบงั คับ ไม่นอ้ ยกว่า 66 หนว่ ยกิต วชิ าเอกเลือก 42 หน่วยกติ มวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่นอ้ ยกวา่ 24 หนว่ ยกิต ไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกิต

9 หลักสูตรเดิม ปีการศกึ ษา พ.ศ. 2559 กลุม่ วชิ าชีพครูบงั คับ 1012103 ภาษาและวฒั นธรรมสาหรบั ครู 3(2-2-5) Language and Culture for teacher ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยเพอ่ื การเปน็ ครู และการพฒั นา วชิ าชีพครู การใชท้ กั ษะพน้ื ฐานในการฟัง พูด อ่านและเขียนตาม หลักของการใชภ้ าษาเพอ่ื การสื่อความหมายทถี่ ูกต้องตามหลกั ภาษาไทย รวมไปถงึ วัฒนธรรมประเพณี วิถชี ีวิตของคนไทย เพื่อ ธารงไวใ้ นความเปน็ ไทยและการอยู่รว่ มกนั อยา่ งสันติ 1012104 ภาษาอังกฤษสาหรบั ครู 3(2-2-5) English for Teachers การสื่อสารภาษาอังกฤษ การใช้ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนสถานการณ์ต่างๆ ในการจัดการเรียนการสอนใน ห้องเรียนและการจัดการในชั้นเรียนเพ่ือการสื่อความหมายอย่าง ถกู ต้อง 1022101

95 เหตผุ ล หลกั สตู รปรบั ปรงุ ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2562 ตดั รายวชิ าใหเ้ หมาะสม กลมุ่ วชิ าชพี ครูบงั คบั กบั สถานะการณ์ ปัจจุบัน ตัดรายวชิ าใหเ้ หมาะสม กบั สถานะการณ์ ปัจจุบนั 1 หลกั สตู รและวิทยาการการจดั การเรยี นรู้ 3(2-2-5) เพม่ิ รายวชิ าตามความ Curriculum and Learning Management Science เหมาะสมกบั ศึกษาหลักสูตร วางแผนและจัดการเรียนรู้ตามธรรมชาติ สถานการณป์ จั จบุ ัน สาขาวิชาเอกที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิดและมีความ เป็นนวัตกร ท่ีสอดคล้องกับบริบทและความแตกต่างระหว่าง บุคคลของผู้เรียน ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ จัด กิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีความสุขใน การเรียน ตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน โดยบูรณาการความรู้ เนื้อหาวิชา หลักสูตร ศาสตร์การสอน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้

9 หลกั สูตรเดิม ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2559 1022001 การพฒั นาหลักสตู ร 3(2-2-5) Curriculum Development หลักการ แนวคิดในการจัดทาหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ การพัฒนาหลักสูตร การวิเคราะห์หลักสูตรในการจัดทาหลักสูตร สถานศึกษา การวิเคราะห์หลักสูตรและสามารถจดั ทาหลักสูตรได้ ปฏิบัติการประเมินหลักสูตรและนาผลการประเมินไปใช้ในการ พัฒนาหลักสูตร 1022002 การจดั การเรยี นร้แู ละการบริหารจัดการในชั้นเรียน 3(2-2-5) Principle of Learning Management and Classroom Management หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเก่ียวกับการจัดทาแผนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ทฤษฎีและรูปแบบ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และ แก้ปัญหาได้ การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม การจัดการชั้น เรียน การพัฒนาศูนย์การเรียนในสถานศึกษา การจัดทาแผนการ

96 เหตผุ ล หลกั สูตรปรบั ปรุง ปีการศกึ ษา พ.ศ. 2562 ตัดรายวิชาให้เหมาะสม ทฤษฎีสมองกับการเรียนรู้ ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้ กบั สถานะการณ์ กระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ นวัตกรรม ปัจจุบัน การจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 การศึกษา เรียนรวม ฝึกปฏิบตั ิการสอนแบบจุลภาค ทดลองจัดการเรียนรู้ใน สถานศึกษา ใช้การสะท้อนคิดเพือ่ ให้มีทักษะในการออกแบบและ จัดการเรียนรู้ เพ่อื ใหม้ ีความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ มี ทกั ษะในการจัดการเรียนรู้ และใช้การสะทอ้ นคิดไปประยกุ ต์ใช้ใน การพัฒนาตนเองในการเป็นครูท่ีดี มีความรอบรู้ และทันสมัยต่อ ความเปลี่ยนแปลงของบริบทโลก ตัดรายวชิ าให้เหมาะสม กบั สถานะการณ์ ปจั จุบนั

9 หลกั สตู รเดมิ ปีการศึกษา พ.ศ. 2559 เรียนรู้และนาไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลจริง การสร้างบรรยากาศการ จัดการชัน้ เรียนให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ 1032201 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 3(2-2-5) Innovation and Education Information Technology หลักการ แนวคิด การออกแบบ การประยุกต์ใช้ และการประเมิน ส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยี สารสนเทศ เพ่ือการเรียนรู้ เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการสื่อสาร การประยกุ ต์ใช้และประเมินสอ่ื นวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การเรียนรู้ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ การสื่อสาร 1032101

97 เหตุผล หลักสูตรปรับปรงุ ปีการศกึ ษา พ.ศ. 2562 ตดั รายวชิ าใหเ้ หมาะสม กับสถานะการณ์ ปัจจุบัน 1 นวัตกรรมและเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพือ่ การเรยี นรู้ 3(2-2-5) เพ่มิ รายวิชาตามความ Innovation and Digital Technology for Learning เหมาะสมกับ ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการ สถานการณป์ ัจจบุ ัน ออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามธรรมชาติของสาขาวิชาเอกเพื่อ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีปญั ญารู้คิดและมีความเป็นนวัตกร ทส่ี อดคล้อง กับบริบทและความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน ผู้เรียนท่ีมี ความต้องการจาเป็นพิเศษ โดยการวิเคราะห์หลักการ แนวคิด ทฤษฎที ่ีเก่ียวข้องกบั นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การ ส่ือสารการศึกษาและการเรียนรู้ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง จรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่อื ให้สามารถเลอื ก และ ประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร การศึกษาและการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ และไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาและใช้การสะท้อนคิดไป ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเองในการเป็นครูท่ีดี มีความรอบรู้ และทันสมัยตอ่ ความเปลีย่ นแปลง

9 หลกั สตู รเดมิ ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2559 1043001 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 3(2-2-5) Learning Measurement and Evaluation หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติในการวัด และประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียน การประเมินภาคปฏิบัติ การประเมินผล แบบย่อยและแบบรวม การประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง การสร้างและการวเิ คราะห์คุณภาพของเครื่องมอื วัดผล การเรยี นรู้ ระเบียบการประเมินผลการเรียน การปฏิบัติการวัดและ ประเมินผล สามารถวดั และประเมนิ ได้ และการนาผลการประเมิน ไปใชใ้ นการพฒั นาผ้เู รียน 1042102

98 เหตุผล หลกั สูตรปรับปรุง ปีการศึกษา พ.ศ. 2562 ตดั รายวชิ าใหเ้ หมาะสม กับสถานะการณ์ ปจั จบุ ัน 2 การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 3(2-2-5) เพมิ่ รายวชิ าตามความ Learning Measurement and Evaluation เหมาะสมกับ ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฏีวัดและประเมินผลการ สถานการณป์ จั จุบัน เรียนรู้ตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับ ลักษณะของสาระสาคัญในเรื่องท่ีประเมิน บริบทและความ แตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน ผู้เรียนที่มีความต้องการ จาเป็นพเิ ศษ สะทอ้ นผลการประเมนิ เพื่อพฒั นาการของผเู้ รียน และพัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี นรู้ โดยใชห้ ลักการ แนวคิด ทฤษฎีการวดั และประเมนิ ผล การประเมนิ ตามสภาพจรงิ การ ออกแบบและสร้างเคร่ืองมือวัดและประเมินผล การให้ข้อมูล ป้อนกลับที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน แนวทางการใช้ผล การวดั และประเมินผลผเู้ รียนในปรับปรงุ พัฒนาการเรยี นร้ขู อง ผู้เรียน เพ่ือให้สามารถวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ และใช้การสะท้อนคิดไป

หลักสูตรเดิม ปีการศึกษา พ.ศ. 2559 9 1043102

99 หลกั สูตรปรบั ปรงุ ปีการศกึ ษา พ.ศ. 2562 เหตุผล ประยกุ ต์ใชใ้ นการพัฒนาตนเองในการเปน็ ครทู ดี่ ี มีความรอบรู้ และทันสมัยต่อความเปลี่ยนแปลง 2 การวจิ ัยและพฒั นานวตั กรรมเพอื่ การเรยี นรู้ 3(2-2-5) เพิ่มรายวิชาตามความ Research and Development for Learning เหมาะสมกับ Innovation สถานการณป์ ัจจุบัน ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย แก้ปัญหาเพื่อพัฒนาผู้เรียน สร้าง นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่สอดคล้องกับ ธรรมชาติของสาขาวิชาเอก บริบทความแตกต่างหลากหลาย ของผู้เรียน ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ โดยการศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาของ ผ้เู รียนในชนั้ เรยี น ออกแบบการวิจัยโดยประยกุ ตใ์ ชห้ ลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการวิจัย จรรยาบรรณของนักวิจัย การ สร้างและหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลในการสร้างนวัตกรรมในการวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาและ พัฒนาผู้เรียน นวัตกรรมท่ีสอดคล้องกับบริบทของชุมชน เพื่อให้สามารถนาผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาการจัดการ เรยี นรู้ และพัฒนาผ้เู รียน และใช้การสะทอ้ นคิดไปประยุกตใ์ ช้ ในการพัฒนาตนเองในการเป็นครูท่ีดี มีความรอบรู้ และ ทันสมยั ตอ่ ความเปล่ียนแปลง

10 หลักสูตรเดมิ ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2559 1052001 จติ วทิ ยาสาหรับครู 3(3-0-6) Psychology for teacher จิตวิทยาพื้นฐาน จิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์ จิตวิทยาการ เรียนรู้ และจิตวิทยาการศึกษา จิตวิทยาแนะแนวและการให้ คาปรึกษา การประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน สามารถให้ คาแนะนาชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนให้มคี ุณภาพชีวติ ทีด่ ีขน้ึ ใชจ้ ติ วิทยาเพ่ือ ความเขา้ ใจและสนบั สนุนการเรยี นรู้ของผเู้ รียนใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพ 1043002 การวิจัยเพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Research for Learning Development หลักการ แนวคดิ แนวปฏบิ ตั ิในการวิจยั การออกแบบการวิจยั กระบวนการวิจัย สถิติเพอื่ การวิจัย การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ การใช้และผลิตงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ การนาผลการวิจัย ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ปฏิบตั กิ ารทาวิจัยเพื่อพัฒนาการ เรียนการสอนและพัฒนาผู้เรยี น 1063005 การประกนั คุณภาพการศกึ ษา 3(3-0-6) Educational Quality Assurance หลักการ แนวคิด เกี่ยวกับการบริหารจัดการในสถานศึกษา แนวปฏิบัติเก่ียวกับการจัดการคุณภาพการศึกษา การประกัน คุณภาพการศึกษา กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการใน สถานศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การดาเนินการจัดกิจกรรมประเมินคุณภาพ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

00 เหตผุ ล หลักสตู รปรบั ปรงุ ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2562 ตดั รายวชิ าใหเ้ หมาะสม กับสถานะการณ์ ปัจจุบนั ตดั รายวชิ าใหเ้ หมาะสม กบั สถานะการณ์ ปัจจบุ ัน ตัดรายวิชาให้เหมาะสม กบั สถานะการณ์ ปจั จบุ ัน

10 หลกั สูตรเดิม ปกี ารศึกษา พ.ศ. 2559 1012002 การจัดการคา่ ยวชิ าการ 2(1-2-3) Academic Camp Management ศึกษาและฝึกทักษะการจัดค่ายวิชาการ กิจกรรมนันทนาการ ตามกระบวนการ PDCA การวางแผน (Plan) การดาเนินการ (Do) การตรวจสอบ (Check) การ-ปรับปรุงแก้ไข (Act) การจัดทา รายงานการดาเนินงานการจัดค่ายและการฝึกปฏิบัติการจัดการ คา่ ยวชิ าการในสถานศกึ ษา 1063004 หลกั การบริหารการศกึ ษา 2(1-2-3) Principal of Educational Administration บริบท ความเป็นมาของหลักการ ทฤษฎี แนวคิดทางการ บริหารการศึกษา และการบริหารสถานศึกษา ระบบการศึกษา ความสามารถเชิงสมรรถนะของผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 ภาวะ ผู้นาและผู้ตาม รวมท้ังวัฒนธรรมและการติดต่อส่ือสารท้ังภายใน และภายนอกองค์การ การพัฒนาองค์การแห่งนวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้ 1022003 ทักษะการสอน และเทคนิคการจดั การเรยี นรู้ 2(1-2-3) Skills and Techniques of Learning Management ความหมาย ขอบข่าย ความสาคัญของทักษะการสอนและ เทคนิคการจัดการเรียนรู้

01 เหตผุ ล หลักสตู รปรบั ปรงุ ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2562 ตัดรายวชิ า เพราะ เนอื้ หาบางส่วนซ้าซ้อน กบั รายวิชาโครงงาน และกิจกรรมคา่ ย วิทยาศาสตร์ ตดั รายวิชาให้เหมาะสม กบั สถานะการณ์ ปัจจบุ ัน ตัดรายวิชาให้เหมาะสม กบั สถานะการณ์ ปจั จบุ นั

10 หลกั สตู รเดิม ปีการศกึ ษา พ.ศ. 2559 1063005 ภาวะผ้นู าทางการศึกษา 2(1-2-3) Educational Administration Leadership แนวคิด ทฤษฎี หลกั การของภาวะผู้นา การเสริมสร้างภาวะ ผู้นาทางการศึกษา การคิดอย่างเป็นระบบ การบริหาร ความสัมพันธ์ท้ังในระดับบุคคล ระดับองค์การและการส่ือสาร สารสนเทศในยคุ แหง่ การเรยี นรู้ การจดั การและพัฒนา ทรพั ยากรทางการศึกษาในบรบิ ทของการเปลย่ี นแปลงของสังคม การเสริมสร้างวัฒนธรรมองคก์ ารสามารถบรู ณาการกฎ ระเบยี บ และองคค์ วามรู้ทางการศึกษานาไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพการจัด การศึกษา 1033202 การสรา้ งส่ือและแบบเรยี น 2(1-2-3) Medias Texts Construction การผลิตสื่อและแบบเรียน โดยใช้วัสดุในท้องถ่ิน และการนา เทคโนโลยีเขา้ มามีส่วนร่วม ในการผลิต สามารถนาไปประยุกต์ใช้ ได้ ความคิดสร้างสรรค์และต่อยอดการสร้างและการใช้สื่อ นวัตกรรม และแบบเรียนอย่างหลากหลาย เพ่ือตอบสนองความ แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล และพัฒนาศักยภาพของผเู้ รียน 1043003 สถิติเพ่ือการวเิ คราะหข์ อ้ มูลทางการศึกษา 2(1-2-3) Statistics for Data Analysis in Education หลกั การระเบยี บวิธกี ารทางสถิติ ประเภทของสถติ แิ ละเทคนิค ทางสถิติที่ใช้ในทางการศึกษา สถิติภาคบรรยาย สถิติอ้างอิง การ เลือกใช้สถิติท่ีเหมาะสมกับข้อมูลทางการศึกษาและการใช้ โปรแกรมสาเร็จรปู ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล

02 เหตุผล หลักสตู รปรบั ปรงุ ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2562 ตัดรายวชิ าให้เหมาะสม กบั สถานะการณ์ ปัจจบุ ัน ตดั รายวชิ าใหเ้ หมาะสม กบั สถานะการณ์ ปจั จบุ นั ตดั รายวชิ าให้เหมาะสม กบั สถานะการณ์ ปจั จุบนั

10 หลักสตู รเดมิ ปีการศกึ ษา พ.ศ. 2559 1053002 การแนะแนวและกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 2(2-0-4) Guidance and Activities for Student Development ความหมาย ความสาคญั และปรชั ญาการแนะแนว คณุ สมบัติ และจรรยาบรรณของครูแนะแนว หลักการและประเภทของการ แนะแนว การจัดกิจกรรมแนะแนวและบริการแนะแนวใน สถานศึกษาและความหมาย ความสาคัญ จดุ มุ่งหมายของกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนหลักการขอบข่าย และประเภทของกิจกรรม แนวทางในการจัดทาโครงการและกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น 1051101

03 เหตผุ ล หลกั สูตรปรับปรุง ปีการศึกษา พ.ศ. 2562 ตัดรายวิชาใหเ้ หมาะสม กบั สถานะการณ์ ปจั จุบนั 1 จติ วทิ ยาเพอ่ื การเรยี นรู้ 3(2-2-5) เพม่ิ รายวิชาตามความ Psychology for Learning เหมาะสมกบั ศึกษา วิเคราะห์ แก้ปัญหา ประยุกต์ใช้ความรู้ทาง สถานการณ์ปัจจบุ ัน จิตวิทยาสาหรับการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนตาม ศักยภาพและชว่ งวยั ผเู้ รยี นทมี่ คี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ โดย ใช้หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางจิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยา การศึกษา และจิตวิทยาให้คาปรึกษา ทักษะสมองเพื่อการ เรียนรู้ การส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม ช่วงวัย เด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ แนวทางการให้ คาแนะนากับผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการของ ผู้เรียน การศึกษารายกรณี การสะท้อนคิด เพื่อให้สามารถ ออกแบบดูแลช่วยเหลือ และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตาม ศักยภาพ มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ ให้ ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความ

10 หลกั สูตรเดมิ ปีการศึกษา พ.ศ. 2559 1083001 การศึกษาแบบเรียนรวม 2(2-0-4) Inclusive Education ความหมาย ประวัติ ปรัชญา บทบาท ความสาคัญและความรู้ พ้ืนฐานของการศึกษาแบบเรียนรวมลักษณะประเภทเด็กพิเศษ การปรับเปล่ียนเพื่อการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม เทคนิคการ สอน การจัดการพฤติกรรม บริการสนับสนุน และการออกแบบ สากล 1001002 ภาษาไทยเพ่อื การสอ่ื สารสาหรบั ครู 2(2-0-4) 1251101 Thai Language for Communication of Teachers ฝึกทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร สามารถใช้ทักษะ การฟัง การพูด การอ่านและการเขียนเพื่อสื่อความหมายอย่าง ถูกต้อง ตลอดจนสามารถใช้ภาษาไทยเพื่อปฏิบัติงานในหน้าท่ีครู ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งตามระเบียบทางราชการ

04 เหตผุ ล หลกั สตู รปรับปรุง ปีการศึกษา พ.ศ. 2562 ร่วมมือในการพัฒนาผู้เรียน และใช้การสะท้อนคิดเพ่ือนาไป ประยกุ ต์ใชใ้ นการพัฒนาตนเองในการเป็นครทู ดี่ ี มีความรอบรู้ ทันสมัย และทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง ตัดรายวชิ าใหเ้ หมาะสม กับสถานะการณ์ ปจั จุบนั 1 ภาษาไทยเพอื่ การสอ่ื สารสาหรับครู 2(1-2-3) ปรบั รหสั วิชาและ Communicative Thai for Teachers คาอธบิ ายรายวิชาให้ ศึกษา วเิ คราะหว์ าทวทิ ยาสาหรับครู หลกั การ และเทคนคิ เหมาะสมกบั วิธีการใช้ภาษาไทย ฝึกปฏิบัติการฟัง การพูด การอ่าน การ สถานะการณป์ ัจจบุ ัน เขียน และภาษาท่าทาง เพ่ือการส่ือความหมายในการเรียน การสอนและการส่ือสาร สบื ค้นสารนิเทศเพือ่ พัฒนาตนให้รอบ รู้ ทนั สมยั และทันต่อการเปล่ียนแปลงสาหรบั ฝึกการใช้ภาษา และวัฒนธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติและออกแบบการ จัดการเรียนรู้ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และ ภาษาท่าทาง เพื่อพัฒนาผูเ้ รยี น

10 หลกั สตู รเดิม ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2559 1005101 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอื่ สารสาหรบั ครู 2(2-0-4) 1211101 English Language for Communication of Teachers การใช้ทักษะพื้นฐานในการฟัง พูด อ่านและเขียน ตามหลัก ของการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการส่ือสารเบ้ืองต้นตลอดจนการใช้ ภาษาอังกฤษในการจัดการเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างเหมาะสม 1212102 1212103

05 หลกั สตู รปรบั ปรุง ปกี ารศึกษา พ.ศ. 2562 เหตุผล 1 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สารสาหรับครู 1 1(0-2-1) ปรบั ชื่อวิชา หน่วยกิต Communicative English for Teachers 1 และคาอธบิ ายรายวชิ า ฝึกทกั ษะการส่อื สารภาษาองั กฤษ ในการฟงั การพูด การ ตามความเหมาะสมกบั อา่ น และการเขียนในสถานการณต์ ่างๆ สถานการณ์ปัจจบุ ัน 2 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สารสาหรบั ครู 2 1(0-2-1) Communicative English for Teachers 2 ฝกึ ทักษะการสอ่ื สารภาษาองั กฤษ ในการฟัง การพดู การ อ่าน และการเขียนในการจดั การเรียนการสอนในห้องเรยี น และการจัดการในช้นั เรยี น 3 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสาหรับครู 3 1(0-2-1) Communicative English for Teachers 3 ฝึกทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษโดยการฟัง พูด อ่าน และเขียนตามหลักของการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อความหมายที่ ถูกต้องในเชงิ วิชาการ

10 หลกั สตู รเดมิ ปกี ารศึกษา พ.ศ. 2559 1024001 ภาษาจีนเพอื่ การส่ือสารสาหรับครู 2(2-0-4) Chinese Language for Communication of Teachers การใชท้ ักษะภาษาจนี เพอ่ื การสื่อสาร สามารถใช้ทกั ษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนภาษาจีน ตลอดจนการใช้ภาษาจีน ในการจดั การเรียนรไู้ ดอ้ ย่างเหมาะสม 1031101 คอมพวิ เตอรเ์ พื่อการศกึ ษา 2(1-2-3) Computers for Education ความหมาย ความสาคัญของคอมพิวเตอร์เพ่ือการศึกษา การ ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อการจัดทาเอกสาร การคานวณ การ นาเสนองาน และการสืบค้นข้อมูล การประยกุ ตใ์ ช้คอมพิวเตอรใ์ น การจดั การเรยี นรู้ และการบรหิ ารจดั การศึกษา 1102101

06 เหตผุ ล หลักสตู รปรบั ปรุง ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2562 ตัดรายวชิ าใหเ้ หมาะสม กบั สถานะการณ์ ปัจจุบัน ตัดรายวิชาให้เหมาะสม กบั สถานะการณ์ ปัจจบุ นั 1 คุณธรรม จริยธรรม และความเปน็ ครูมืออาชพี 3(2-2-5) เพ่มิ รายวิชาตามความ Ethics for Professional Teachers เหมาะสมกบั ศึกษา วิเคราะห์และประพฤติ ปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณ สถานการณ์ปจั จบุ ัน ของวิชาชีพ มุ่งม่ันพัฒนาผู้เรียนด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู เป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นพลเมืองที่ เข้มแขง็ ดารงตนให้เปน็ ที่เคารพศรัทธาของผู้เรยี นและสมาชิก ในชุมชน โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ บูรณาการองค์ความรู้ เกี่ยวกับค่านิยมของครู จรรยาบรรณวิชาชีพครู คุณธรรม จริยธรรมสาหรับครู จติ วญิ ญาณความเป็นครู กฎหมายสาหรบั ครู สภาพการณ์การพัฒนาวิชาชีพครู โดยใช้การจัดการเรียนรู้ ท่ีเน้นประสบการณ์ และการประกันคุณภาพการศึกษา กรณีศึกษา การฝึกปฏิบัติใช้การสะท้อนคิดเพ่ือนาไป

10 หลกั สูตรเดมิ ปีการศกึ ษา พ.ศ. 2559 1102102

07 เหตผุ ล หลักสูตรปรบั ปรุง ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2562 ประยกุ ต์ใชใ้ นการพัฒนาตนเองในการเปน็ ครูทด่ี ี มีความรอบรู้ ทันสมยั และทันตอ่ การเปลี่ยนแปลง 2 การประกนั คณุ ภาพการศึกษาและการพฒั นาชมุ ชน 2(1-2-3) เพิ่มรายวชิ าตามความ Educational Quality Assurance and Community เหมาะสมกับ Development สถานการณ์ปจั จุบัน ศึกษาหลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการ คุณภาพการศึกษา การออกแบบและดาเนินการประกัน คุณภาพการศึกษา สามารถจัดการคุณภาพ การจัดกิจกรรม เรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองและ ประเมินคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ สร้างเครือข่าย ความร่วมมือกบั ผปู้ กครองและชมุ ชน เพ่อื สนบั สนุนการเรยี นรู้ ที่มคี ุณภาพของผู้เรียน และร่วมมือกับผ้ปู กครองในการพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ บูรณาการ ระบบประกันคุณภาพการศึกษากับการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น ตามบรบิ ทของโรงเรยี น

10 หลกั สตู รเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 หมวดวชิ าเฉพาะ กลุม่ วชิ าเอก วชิ าเอกบังคับ 1201101 คณิตศาสตรส์ าหรบั ครูวทิ ยาศาสตร์ 3(3-0-6) 12 Mathematics for Science สมบตั ิของเลขยกกาลงั พหุนามและเศษส่วนพหุนาม ระบบสมการเชิง เส้น การแยกตวั ประกอบ กราฟ ความรู้เบื้องต้นเกย่ี วกับ อนุพนั ธ์ การหาอนพุ ันธ์ คว ของฟงั ก์ชันชนดิ ตา่ งๆ การประยกุ ต์ของอนุพนั ธ์ และ อินทิกรัลฟงั กช์ ันชนิดตา่ งๆ อน การประยกุ ต์ของอนิ ทิกรัล เบื้อ คณ เรีย 4011101 ฟิสิกสแ์ ละปฏิบตั กิ าร 1 4(3-3-7) 12 Physics and Laboratory 1 หลักการวัดปริมาณและระบบหน่วยมาตรฐาน ปริมาณทางฟิสิกส์ และหลักการของเวกเตอร์การเคล่ือนที่ของวัตถุใน 1 มิติและ 2 มิติ แรงและกฎ การ การเคลื่อนที่ของนิวตัน งาน กาลัง พลังงานและโมเมนตัม การเคล่ือนทขี่ องระบบ ขอ อนุภาค วัตถุแข็งเกร็ง การเคลอื่ นที่แบบหมุน การเคล่อื นท่แี บบคาบ การเคลื่อนท่ี ปร แบบคล่นื และคล่ืนเสียง สมบัติเชิงกายภาพของสสาร ปรากฏการณ์ทางความร้อน วิท และหลักการเบือ้ งตน้ ทางอุณหพลศาสตร์ เรีย ฝึกปฏิบตั ิการทดลองในเนือ้ หาวิชาฟสิ กิ ส์และปฏบิ ตั ิการ 1 ไมน่ ้อย ขอ กว่า 10 ปฏบิ ัติการ และปฏบิ ัติการ ไมน่ ้อยกวา่ 10 ปฏบิ ตั ิการ

08 สาระทีป่ รบั ปรงุ หลกั สตู รปรบั ปรงุ ฉบับปี พ.ศ. 2562 201102 คณติ ศาสตร์สาหรับการสอนวทิ ยาศาสตร์ 3(3-0-6) - ปรับปรงุ ชื่อวชิ าและ Mathematics for Science Teaching คาอธิบายรายวชิ าเพ่ือให้ รอบรู้และปฏิบัติการคาควณ แก้ปัญหาโจทย์เก่ียวกับ ระบบจานวน เนื้อหารายวชิ ามคี วาม ามสัมพันธ์ฟังก์ชัน เมทริกซ์ เรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย ลาดับและ เหมาะสม และสามารถ นุกรม ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน เวกเตอร์และการวิเคราะห์เวกเตอร์ นาไปใชใ้ นการบูรณา องต้น อนุพันธ์ของฟังก์ชันตัวแปรเดียว สถิติเบื้องต้น ประยุกต์ใช้ความรู้ การการเรียนการสอน ณติ ศาสตรเ์ พื่ออธิบายปรากฏการณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ และบูรณาการสกู่ ารจดั การ วทิ ยาศาสตร์ได้ ยนรวู้ ิทยาศาสตร์ 20120 ฟสิ กิ ส์สาหรบั ครู 1 3(2-2-5) - ปรบั ปรงุ ช่ือวชิ าและ Physics for Teachers 1 คาอธิบายรายวชิ าเพอื่ ให้ ศึกษาและปฏบิ ัตกิ ารให้รอบรู้ การวัด เวกเตอร์ จลนศาสตร์ แรงและ เน้ือหารายวิชาเหมาะสม รเคล่ือนที่ งานและพลังงาน โมเมนตัมระบบอนุภาค วัตถแุ ข็งเกรง็ สมบตั เิ ชงิ กล และสามารถประยุกตใ์ ช้ องสสาร ความโน้มถ่วง กลศาสตร์ของไหล คล่ืนกล เสียง นาความรู้ไปอธิบาย ความรู้ด้านฟสิ ิกสเ์ พอ่ื รากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้ห้องปฏิบัติการ การจดั การเรยี นรู้ ทยาศาสตร์ตามหลักปฏิบัติสากล ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านฟิสิกส์เพ่ือการจัดการ วิทยาศาสตรใ์ นระดบั ยนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้เหมาะสมกับสภาพและบริบท การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานได้ องท้องถน่ิ

10 หลกั สูตรเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 4011102 ฟสิ ิกสแ์ ละปฏบิ ัติการ 2 4(3-3-7) 12 Physics and Laboratory 2 ประจุไฟฟ้าและสนามไฟฟ้า กฎของเกาส์ ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้า ตัวเก็บประจุและสารไดอิเล็กทริก กระแสไฟฟ้าและความต้านทาน วงจรไฟฟ้า แล กระแสตรง สนามแม่เหล็กและแรง แม่เหล็ก การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า ปร วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ทัศนศาสตร์ การแทรกสอด การ วิท เลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน สมั พัทภาพ ฟสิ กิ สข์ องอะตอม ฟสิ กิ ส์นิวเคลยี ร์ เรีย ฝึกปฏิบัติการทดลองในเนื้อหาวิชาฟิสิกส์และปฏิบัติการ 2 ไม่น้อย ขอ กวา่ 10 ปฏบิ ัติการ 4021101 เคมีและปฏบิ ตั ิการ 1 4(3-3-7) 12 Chemistry and Laboratory 1 ปฏิกิริยาเคมีและมวลสารสัมพันธ์ โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ พันธะเคมี เบ้อื งต้น สมบัติของสารในสถานะตา่ ง ๆ อาทิ แก๊ส ของแขง็ ของเหลว สารละลาย โคร คอลลอยด์ อุณหพลศาสตร์ และจลนพลศาสตรเ์ ชิงเคมี เคม ปฏบิ ตั ิการทเี่ กยี่ วข้องกับการศึกษาทางทฤษฎี ใช้ห เพ่ือ สภ

09 หลกั สูตรปรบั ปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระท่ีปรบั ปรงุ 201202 ฟสิ ิกสส์ าหรับครู 2 3(2-2-5) - ปรับปรุงชอ่ื วชิ าและ Physics for Teachers 2 คาอธิบายรายวิชาเพอื่ ให้ ศึกษาและปฏิบตั กิ ารให้รอบรู้ ความร้อนและเทอร์มอไดนามิกส์ แสง เนื้อหารายวิชาเหมาะสม ละทัศนศาสตร์ ไฟฟ้าและแม่เหล็ก ฟิสิกส์ยุคใหม่ นาความรู้ไปอธิบาย และสามารถประยกุ ตใ์ ช้ รากฏการณ์ทางธรรมชาติ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้ห้องปฏิบัติการ ความรดู้ า้ นฟสิ กิ สเ์ พ่อื ทยาศาสตร์ตามหลักปฏิบัติสากล ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านฟิสิกส์เพ่ือการจัดการ การจัดการเรยี นรู้ ยนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานใหเ้ หมาะสมกับสภาพและบริบท วิทยาศาสตร์ในระดบั องทอ้ งถ่นิ การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานได้ 201301 เคมีสาหรับครู 1 3(2-2-5) - ปรบั ปรุงช่อื วชิ าและ Chemistry for Teachers 1 คาอธิบายรายวชิ าเพ่ือให้ ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ สมบัติของสาร ปริมาณสารสัมพันธ์ เนอ้ื หารายวิชาเหมาะสม รงสร้างอะตอม ธาตุและตารางธาตุ แก๊ส ของแข็ง ของเหลว พันธะเคมี สมดุล กบั เหตุการณป์ จั จุบัน มี นาความรู้ไปอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และสามารถประยุกตใ์ ช้ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ตามหลักปฏิบัติสากล ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านเคมี ความรู้ดา้ นเคมเี พ่ือการ อการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เหมาะสมกับ จัดการเรียนรู้ ภาพและบรบิ ทของทอ้ งถิน่ วทิ ยาศาสตร์ในระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐานได้

หลักสตู รเดมิ ฉบับปี พ.ศ. 2559 11 12 จล เคม ปร ด้า เหม 4022201 เคมอี นินทรยี แ์ ละปฏบิ ัติการ 1 4(3-3-7) Inorganic Chemistry and Laboratory 1 การเกิดและสมบัติของสารประกอบเชิงไอออน วัฏจักรบอร์นฮาเบอร์ พลังงานแลตทิซและผลึกของสารประกอบเชิงไอออน ทฤษฎีพันธะโคเวเลนต์ แรง เชงิ เคมีและผลของแรงเชงิ เคมี สมบัติและสารประกอบของธาตรุ ีพรเี ซนเททีฟ โลหะ โลหะผสม สารก่งึ ตัวนา เคมขี องสารอนินทรีย์ในตวั ทาละลายท่ไี ม่ใช่น้า ปฏบิ ตั ิการท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการศกึ ษาทางทฤษฎี 4022301 เคมีอินทรยี แ์ ละปฏิบัติการ 1 4(3-3-7) Organic Chemistry and Laboratory การจาแนก การเรียกช่ือสารอินทรีย์ พันธะในโมเลกุลอินทรีย์ สเตรโิ อเคมี โครงสร้าง ความว่องไวของปฏกิ ริ ิยา การเปล่ียนแปลงทางอินทรยี ์เคมี การเตรียมสารอินทรียแ์ ละการเกิดปฏกิ ิริยาของสารอินทรีย์ ปฏิบัติการทเ่ี ก่ียวขอ้ ง กับการศึกษาทางทฤษฎี

10 หลักสตู รปรับปรงุ ฉบับปี พ.ศ. 2562 สาระทปี่ รบั ปรงุ 201302 เคมสี าหรบั ครู 2 3(2-2-5) - เพิม่ วิชาและคาอธิบาย Chemistry for Teachers 2 รายวิชาใหม่เพอื่ ให้ ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ สารละลาย อุณหพลศาสตร์เคมี เนื้อหารายวิชาเหมาะสม ลนพลศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออน กรด- เบส เคมีไฟฟ้า เคมีนิวเคลียร์ กบั เหตกุ ารณ์ปัจจุบัน มีอินทรีย์ นาความรู้ไปอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใช้หลักฐานเชิง และสามารถประยกุ ต์ใช้ ระจักษ์ ใชห้ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตรต์ ามหลกั ปฏิบตั สิ ากล ประยกุ ต์ใช้ความรู้ ความรู้ดา้ นเคมเี พื่อการ นเคมีเพ่ือการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ จัดการเรยี นรู้ มาะสมกับสภาพและบริบทของท้องถนิ่ วิทยาศาสตรใ์ นระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานได้ - ตัดรายวชิ าออก - ตัดรายวชิ าออก

11 หลักสตู รเดมิ ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 4023601 เคมีวเิ คราะห์และปฏบิ ตั ิการ 1 4 (3-3-7) Analytical Chemistry and Laboratory หลักการเบ้ืองต้นในการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ข้อมูลในเคมี วิเคราะห์ การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการคานวณทางเคมีวิเคราะห์ การใช้ เครื่องมือในการวิเคราะห์ วิธีเบื้องต้นในการทาคุณภาพวิเคราะห์แบบก่ึงจุลภาค การวิเคราะห์ไอออนบวกและไอออนลบในสารอนินทรีย์ การวิเคราะห์และการ คานวณหาปริมาณสารเคมีในปฏิกิริยา กรด เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์ และปฏิกิริยา การเกดิ สารประกอบเชงิ ซอ้ นปฏิบตั ิการท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการศึกษาทางทฤษฎี 4031301 ชวี วทิ ยาทัว่ ไปและปฏิบัตกิ าร 4(3-3-7) 12 General Biology and Experiments สมบัติของส่ิงมีชีวิต สารเคมีของชีวิต เซลล์และเน้ือเย่ือ โครงสร้าง และหน้าท่ีของพชื โครงสร้างและหน้าท่ีของสัตว์ พันธศุ าสตร์ การจาแนกประเภท วิท ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการ นิเวศวิทยา ปฏิบัติการท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาทาง โคร ทฤษฎี คว หอ้ เพื่อ สภ

11 สาระท่ีปรบั ปรุง หลักสูตรปรบั ปรุง ฉบับปี พ.ศ. 2562 - ตดั รายวชิ าออก 201401 ชวี วิทยาสาหรบั คร1ู 3(2-2-5) - ปรับปรุงชือ่ วชิ าและ Biology for Teachers 1 คาอธบิ ายรายวิชาใหม่ ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ การศึกษาชีววิทยาและระเบียบวิธี เพ่ือใหเ้ น้อื หารายวิชา ทยาศาสตร์ สมบัติและการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต เคมีพ้ืนฐานในส่ิงมีชีวิต เหมาะสมกบั เหตุการณ์ รงสรา้ งหนา้ ท่ีของเซลลแ์ ละเน้ือเย่อื เมแทบอลิซึม การสืบพันธุ์ พันธศุ าสตร์ นา ปัจจุบันและสามารถ วามรู้ไปอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ดา้ น องปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์ตามหลักปฏิบตั ิสากล ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านชีววทิ ยา ชวี วิทยาเพ่ือการจดั การ อการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เหมาะสมกับ เรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ใน ภาพและบริบทของท้องถน่ิ ระดับการศกึ ษาขั้น พืน้ ฐานได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook