หลักสูตรเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 11 12 อน โคร อธิบ วทิ เรีย ขอ 4031301 สตั ววิทยา 3(2-3-5) Zoology ศึกษาการจาแนกประเภท สัณฐานวิทยา กายวิภาค สรีรวิทยา การ สบื พนั ธ์ุ การเจรญิ เติบโต นเิ วศวิทยา วิวัฒนาการและพฤติกรรมของสัตว์ เรมิ่ ตัง้ แต่ ส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียวจนกระท่ังถึงสัตว์ท่ีมีกระดูกสันหลังช้ันสูง และมีการศึกษา ภาคสนามโดยการรวบรวมและเก็บตวั อยา่ ง 4033501 จลุ ชวี วทิ ยา 4(3-3-7) Microbiology ความรู้พนื้ ฐานของจุลชีววิทยา การจาแนกประเภท สัณฐานวทิ ยา สรีรวทิ ยา และการเพม่ิ จานวนของแบคทเี รีย เหด็ รา โพรโตซัว สาหร่าย และไวรัส โภชนาการ เมแทบอลิซึม การควบคุมความสาคัญของจุลินทรีย์ทางการเกษตร อาหาร อตุ สาหกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุขและการแพทย์ ปฏบิ ัติการทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการศึกษาทางทฤษฎี
12 หลกั สูตรปรบั ปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระทปี่ รบั ปรุง 201402 ชีววิทยาสาหรบั ครู 2 3(2-2-5) - เพม่ิ วชิ าและคาอธิบาย Biology for Teachers 2 รายวชิ าใหม่เพ่ือให้ ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ แนวคิดและกลไกของวิวัฒนาการ เนือ้ หารายวิชาเหมาะสม นุกรมวิธานและความหลากหลายทางชีวภาพ การเติบโตและการเจริญ กับเหตุการณป์ ัจจุบัน รงสร้างและการทางานของพืชและสัตว์ พฤติกรรม นิเวศวิทยา นาความรู้ไป และสามารถประยุกต์ใช้ บายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้ห้องปฏิบตั ิการ ความรู้ดา้ นเคมเี พอ่ื การ ทยาศาสตร์ตามหลกั ปฏบิ ัติสากล ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ด้านชีววทิ ยาเพื่อการจดั การ จดั การเรยี นรู้ ยนรู้วิทยาศาสตรใ์ นระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐานใหเ้ หมาะสมกับสภาพและบริบท วทิ ยาศาสตรใ์ นระดับ องท้องถ่ิน การศึกษาขัน้ พื้นฐานได้ - ตัดรายวิชาออก - ตดั รายวชิ าออก
11 หลกั สูตรเดิม ฉบับปี พ.ศ. 2559 4012101 ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 3(2-2-5) 40 Astronomy and Space ธรรมชาติและสมบัติของแสงบางประการที่จะนาไปสู่ความเข้าใจ ลักษณะบางประการของวตั ถุท้องฟ้า ระบบพิกัดทางดาราศาสตร์ ทรงกลมทอ้ งฟ้า ในแ ระบบสุริยะ ทัศนอุปกรณ์ทางดาราศาสตร์ ศกึ ษาลกั ษณะและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ดาว ของวัตถใุ นทอ้ งฟ้าเริ่มตัง้ แตว่ ัตถทุ อ้ งฟา้ ทอ่ี ยู่ ระบ คว สาม อธิบ เพอื่ เป็น 4012201 กลศาสตร์ 1 4(3-3 -7) Mechanics 1 ปริภูมิและเวลา กลศาสตร์ของระบบอนุภาค การเคล่ือนท่ีเชิงเส้น กฎของนิวตัน กฎแรงดึงดดู ระหวา่ งมวล สนามโน้มถ่วง การแกว่งกวัดแบบฮาร์มอ นิก พลังงานและโมเมนตัมเชิงมุม แรงอนุรักษ์แบบมีศูนย์กลาง กรอบอ้างอิงแบบ หมุน กรอบอ้างอิงแบบจุด ศูนย์กลางมวล การเคลื่อนท่ีรอบแกนหมุน กลศาสตร์ ของของไหลหลักกลศาสตร์เบื้องต้นแบบลากรานจ์ และแบบแฮมิลตัน และทา ปฏบิ ัติการเกย่ี วกับเนอ้ื หาวิชาไม่นอ้ ยกวา่ 10 ปฏิบัตกิ าร
13 หลักสตู รปรับปรุง ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระท่ีปรับปรงุ 012204 ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 3(2-2-5) - ปรับปรงุ คาอธบิ าย Astronomy and Space รายวิชาใหมเ่ พอื่ ให้ ศกึ ษาและปฏิบัตกิ ารให้รอบรู้ ความสัมพันธ์ของดาราศาสตรก์ บั มนุษย์ เนือ้ หารายวิชาเหมาะสม แต่ละยุค ทรงกลมฟ้า เวลาดาราศาสตร์ กลุ่มดาวและการสังเกตการณ์กลุ่มดาว กับเหตกุ ารณป์ ัจจุบนั วฤกษ์ กาแล็กซี ดาวเคราะห์และวตั ถขุ นาดเลก็ ในระบบสรุ ิยะ ปฏสิ มั พนั ธ์ภายใน และสามารถประยุกต์ใช้ บบสุริยะ กระบวนการเกิดและวิวัฒนาการของเอกภพ เทคโนโลยีอวกาศ นา ความรดู้ ้านดาราศาสตร์ ามรู้อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติบนโลกและอวกาศด้วยหลักวิทยาศาสตร์ เพ่อื การจดั การเรยี นรู้ มารถสังเกตปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใช้เคร่ืองมือทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือ วทิ ยาศาสตร์ได้ บายปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ใช้เครื่องมือและทัศนูปกรณ์ทางดาราศาสตร์ อสังเกตปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ บนั ทกึ ข้อมลู สังเกตตามข้อเท็จจริงไดอ้ ยา่ ง นระบบ ใช้ความรูด้ า้ นดาราศาสตร์และอวกาศเพ่ือการจดั การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ - ตัดรายวชิ าออก ทางดา้ นฟิสกิ ส์ ครอบคลมุ แล้ว
11 หลักสูตรเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 1201501 วทิ ยาศาสตรข์ องโลก 3(2-2-5) 12 Earth Science ศึกษาความสาคัญของธรณีวิทยาต่อชีวิตประจาวัน ธรณีประวัติ ต้งั แต่ยุคดึกดาบรรพ์ถึงยุคปจั จุบัน ธรณีวิทยา โครงสร้างและลักษณะภูมิประเทศ ระบ การสารวจทางธรณวี ิทยา การศึกษาถงึ แหล่งกาเนิดของดนิ หนิ แร่ ธรณีประยุกต์ ทร และธรณีวิทยาของประเทศไทย ดาราจักรของเราและเอกภพ ทรงกลม ท้องฟ้า การ นภา ระบบสุริยะ และมิติที่แทจ้ ริง โครงสร้างและวิวฒั นาการของดวงดาว รวมทั้ง กระ ความรู้ใหม่ ๆ เก่ียวกับดาวเคราะห์ ห้วงใน ห้วงนอก ดวงจันทร์ของดาวเคราะห์ การ ประวัติการกาเนิดทะเลและมหาสมุทร ลักษณะทางกายภาพ ส่วนประกอบทาง ควา เคมี ความสัมพันธ์ ทางด้านชีววิทยาของมหาสมุทร ซ่ึงจะก่อให้เกิดผลผลิตทาง เศรษฐกิจด้านต่าง ๆ ทงั้ ของไทยและโลก 1203501 สัมมนาวทิ ยาศาสตร์ 2(1-2-3) Seminar in Science ความหมาย ขอบข่ายและรูปแบบของการสัมมนาทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนคน้ ควา้ วิทยาการ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยการ ค้นคว้าตามความสนใจและนามาอภิปราย ตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ พร้อมท้ัง ฝกึ เขียนโครงการและเขียนรายงานทงั้ วธิ กี ารและปฏบิ ตั ิ
14 หลกั สูตรปรบั ปรงุ ฉบับปี พ.ศ. 2562 สาระทปี่ รบั ปรุง 202501 วทิ ยาศาสตร์โลกทงั้ ระบบ 3(2-2-5) - ปรับปรงุ ช่ือวชิ าและ Earth Science System คาอธิบายรายวชิ าเพือ่ ให้ ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ องค์ประกอบและความสัมพันธ์ของ เน้อื หารายวชิ าเหมาะสม บบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กบั เหตกุ ารณ์ปจั จุบนั รัพยากรธรณี แผนท่ที างธรณี และการนาไปใช้ประโยชน์ สมดุลพลังงานของโลก และสามารถนาความรสู้ ู่ รหมุนเวียนของอากาศบนโลก การเกิดเมฆ การหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทร การจัดการเรยี นรู้ ะบวนการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกที่มผี ลกระทบต่อสงิ่ มชี ีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม วิทยาศาสตร์ได้ รพยากรณ์อากาศ อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติด้วยหลักวิทยาศาสตร์ นา ามรู้สู่การจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ -ตัดรายวิชาออก
11 หลกั สตู รเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 1203502 ภาษาองั กฤษสาหรบั ครวู ิทยาศาสตร์ 3(3-0-6) 12 English for Science Teachers ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสาหรับครู วิทยาศาสตร์ในงานวิทยาศาสตร์จากสื่อสิ่งพิมพ์ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโฆษณา วิท ประชาสัมพนั ธ์ บทความทางวิทยาศาสตร์ ค่มู อื การใชเ้ ครอ่ื งมอื การใชอ้ ปุ กรณ์ฝึก ปร การใช้พจนานุกรมเพื่อการอ่าน ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ การ ขยายความ รวมทั้งการนาเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้น ขย กระบวนการทักษะสมั พนั ธ์ทางภาษา กระ 1203503 วธิ วี ิจยั วทิ ยาศาสตร์ 3(2-2-5) Scientific Research Methodology ความรู้พ้ืนฐานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เพื่อการวางแผนการค้นคว้า ข้อมูล การเขียนโครงการวิจัยและการทาโครงการวิจัยแก้ปัญหาในท้องถิ่น อย่าง นอ้ ย 1 โครงการ โดยใชส้ ถิตวิ เิ คราะห์ผลการ 1203505 การผลิตสื่อและอุปกรณก์ ารสอนวิทยาศาสตร์ 3(2-2-6) Teaching Materials in Teaching Science ศึกษาเทคโนโลยีการศึกษา พนื้ ฐานเทคโนโลยีการศึกษาเพ่ือการผลิต ส่ือการสอนทางวิทยาศาสตร์ เช่น หน่วยการเรียน บทเรียนสาเร็จรูป ฯลฯ การ ออกแบบ การสรา้ งนวัตกรรม สทิ ธิบัตร อนุสทิ ธบิ ัตรและสามารถผลิตอปุ กรณ์การ สอนทางวิทยาศาสตร์ท่ีนาไปใช้สอนได้พร้อมกับการซ่อม บารุงรักษาอุปกรณ์การ สอนทางวทิ ยาศาสตร์เบ้ืองตน้
15 หลกั สูตรปรับปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระท่ปี รบั ปรงุ 203502 ภาษาองั กฤษสาหรบั ครวู ทิ ยาศาสตร์ 3(3-0-6) เน้อื หาสาระคงเดมิ English for Science Teachers ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารสาหรับครู ทยาศาสตร์ในงานวิทยาศาสตร์จากส่ือส่ิงพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ส่ือโฆษณา ระชาสัมพันธ์ บทความทางวิทยาศาสตร์ คู่มอื การใชเ้ คร่ืองมือ การใช้อุปกรณฝ์ ึก รใช้พจนานุกรมเพื่อการอ่าน ฝึกทักษะในการอ่าน บันทึก สรุปความ ตีความ ยายความ รวมทั้งการนาเสนอด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร โดยเน้น ะบวนการทักษะสมั พันธท์ างภาษา - ตดั รายวิชาออก - ตัดรายวิชาออก
11 หลกั สตู รเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 4003601 ทักษะสาหรบั ครวู ิทยาศาสตร์ 3(2-2-5) Teaching Skills for Science Teacher วิเคราะห์คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของครวู ิทยาศาสตร์ ทักษะสาคัญ และจาเป็นสาหรับครูวิทยาศาสตร์ ความสาคัญของทักษะสาหรับครวู ิทยาศาสตร์ ฝึกทักษะในการจัดกิจกรรม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรม วิทยาศาสตร์เชิงเทคโนโลยี โครงงานวิทยาศาสตร์ การออกแบบและการสร้างส่ือ การสอนทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะการใช้คอมพิวเตอร์พนื้ ฐาน ทักษะอน่ื ๆ ท่จี าเป็น การประเมนิ ทกั ษะและแนวทางพฒั นาทกั ษะสาหรับครูวิทยาศาสตร์ 12 ปร ดา้ น แล สา แผ เรีย จัด
16 สาระที่ปรับปรงุ หลกั สูตรปรบั ปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 - ตัดรายวิชาออก 202503 การจดั การเรียนรวู้ ิทยาศาสตรร์ ะดบั ประถมศึกษา 3(2-2-5) - เพมิ่ รายวิชารายวชิ าให้ Science Learning in Primary Education Level สอดคลอ้ งกบั หลักสตู ร วิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับ แกนกลางทม่ี ีการ ระถมศึกษาและเนื้อหาวิทยาศาสตร์ จัดทาหน่วยการเรียนรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ เปลยี่ นแปลงและให้ นจิตวิทยาการเรยี นรู้ เทคนคิ และวิธกี ารการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การวดั เหมาะสมกับ ละประเมินผล เพื่อวางแผนและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สถานการณป์ จั จบุ นั คัญแบบเชิงรุกและสอดคล้องกับธรรมชาติการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เขียน ผนการจัดการเรียนรู้ สรา้ งสือ่ และฝึกปฏิบตั กิ ารสอนแบบจุลภาค ทดลองจัดการ ยนรู้ในสถานศึกษา ใช้กระบวนการศึกษาช้ันเรียนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการ ดการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์อย่างครูมืออาชพี
หลกั สูตรเดมิ ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 11 12 ไฟฟ พล นิว เป็น พล พล 4061101 พน้ื ฐานทางวทิ ยาศาสตรส์ ่งิ แวดล้อม 3(2-2-5) 12 Environmental Science Foundation ขอบเขตของสิง่ แวดลอ้ ม ระบบนิเวศ สมดุลในธรรมชาติสถานการณ์ ด้านส่ิงแวดล้อมโลก ภูมิภาคและท้องถิ่น ปัญหามลพิษทางส่ิงแวดล้อมกับการ ทร แก้ไขและป้องกนั การพัฒนาเศรษฐกิจ ปัญหาส่งิ แวดล้อม ปัญหาสงิ่ แวดล้อมในแต่ ส่ิงแ ละภูมิภาคท่ีกาลังประสบอยู่ในสภาวะปัจจุบัน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หล และส่ิงแวดล้อม ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ และระบบสิ่งแวดล้อม วิท ปฏิบัติการวิเคราะห์ระบบสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติการดิน น้า ป่าไม้ อากาศเบ้ืองต้น ชุม ปฏิบัติการของเสียเบื้องต้น ปฏิบัติการเกี่ยวกับความเคล่ือนไหวทางด้าน ส่ิงแวดลอ้ มทั่วโลก
17 หลกั สูตรปรับปรุง ฉบับปี พ.ศ. 2562 สาระทีป่ รบั ปรุง 203201 ไฟฟ้าและพลงั งาน 3(2-2-5) - เพมิ่ รายวชิ ารายวชิ าให้ Electricity and Energy สอดคล้องกบั หลกั สตู ร ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า แหล่งกาเนิด แกนกลางที่มกี าร ฟ้า การผลติ พลังงานไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ พลงั งานความรอ้ นจากใต้พภิ พ เปลย่ี นแปลงและให้ ลังงานลม พลังงานชีวมวล พลังงานจากเซลล์เชื้อเพลิง พลังงานน้า พลังงาน เหมาะสมกับ วเคลียร์ พลังงานความร้อนจากมหาสมุทร การประยุกต์เพ่ือนามาใช้ประโยชน์ สถานการณป์ จั จุบัน นพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก การผลิตและประหยัดพลังงาน และมคี วามรอบรใู้ นเรอ่ื ง ลังงานกับส่ิงแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ด้านไฟฟ้า พลังงาน และ ของไฟฟ้าและพลงั งาน ลงั งานทางเลือก เพอ่ื การจัดการสิ่งแวดล้อม และการจัดการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ 203508 วิทยาศาสตรส์ ิ่งแวดลอ้ มในทอ้ งถิน่ 3(2-2-5) - ปรบั ปรุงชื่อวิชาและ Local Environmental Science คาอธิบายรายวชิ าเพื่อให้ ลงพ้ืนที่เพ่ือศึกษาและเรียนรู้เรื่องบริบทและภูมิปัญญาท้องถิ่น เนอ้ื หารายวิชาเหมาะสม รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในท้องถิ่น การศึกษาชีวิตจริง สังคม กับเหตกุ ารณป์ จั จบุ นั แวดล้อม วิถีชีวิตของคนในท้องถ่ิน การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในท้องถิ่น จัดทา และสามารถจัดการ ลกั สูตรวทิ ยาศาสตร์ในโรงเรยี นโดยใช้ความร้ทู ไ่ี ดศ้ ึกษาจากท้องถ่ิน จัดการเรียนรู้ เรียนรทู้ สี่ อดคลอ้ งกับ ทยาศาสตร์โดยใช้ภูมิปัญญาและแหล่งการเรียนรู้ท้องถ่ินท่ีสอดคล้องกับบริบท บรบิ ททอ้ งถน่ิ ได้ มชนและเหมาะสมกบั ผู้เรียน
หลักสตู รเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 11 12 มัธ จิต ปร แบ จดั สถ เรีย
18 หลักสตู รปรบั ปรุง ฉบับปี พ.ศ. 2562 สาระทีป่ รับปรุง 203511 การจดั การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ระดับมธั ยมศกึ ษา 3(2-2-5) - เพิ่มรายวชิ ารายวชิ าให้ Science Learning in Secondary Education Level สอดคลอ้ งกับหลกั สตู ร วิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับ แกนกลางที่มีการ ยมศึกษา เน้ือหาวิทยาศาสตร์ จัดทาหน่วยการเรียนรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้าน เปล่ยี นแปลงและให้ ตวิทยาการเรยี นรู้ เทคนคิ และวธิ ีการการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การวดั และ เหมาะสมกับ ระเมินผล เพ่ือวางแผนและออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สถานการณ์ปัจจุบัน บบเชิงรุกและสอดคล้องกับธรรมชาติการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เขียนแผนการ ดการเรียนรู้ สรา้ งส่อื และฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอนแบบจลุ ภาค ทดลองจดั การเรียนรู้ใน ถานศึกษา ใช้กระบวนการศึกษาชั้นเรียนเพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการ ยนรู้วิทยาศาสตรอ์ ยา่ งครูมืออาชพี
หลักสตู รเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 11 วชิ าเอกเลือก 12 การ มีก วิท การ แน ในก ระบ ทา ด้ว กาห โคร ควา
19 หลักสตู รปรบั ปรงุ ฉบับปี พ.ศ. 2562 สาระที่ปรับปรงุ 202101 วิทยาการคานวณ 3(2-2-5) - เพ่มิ รายวชิ ารายวิชาให้ Computing Science สอดคล้องกับหลกั สตู ร ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกับการใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา แกนกลางที่มกี าร รเขยี นรหสั ลาลองและผังงาน การเขียนออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่ายที่ เปลยี่ นแปลงและให้ การใช้งานตัวแปร เงื่อนไข และการวนซ้า เพ่ือแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือ เหมาะสมกบั ทยาศาสตร์ ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคานวณ การแยกส่วนประกอบและ สถานการณ์ปจั จบุ ัน รย่อยปัญหา การหารูปแบบ การคิดเชิงนามธรรม ตัวอย่างและประโยชน์ของ นวคิดเชิงคานวณเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณ การออกแบบขั้นตอนวิธีสาหรับแก้ปัญหา การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การ บุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา การออกแบบข้ันตอนวิธีการ าซ้า การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล ตัวอย่างการออกแบบขัน้ ตอนวิธีเพ่ือแกป้ ัญหา วยคอมพิวเตอร์ การศึกษาตัวอย่างโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การ หนดปัญหา ศึกษา วางแผน ดาเนินงาน สรุปผล และเผยแพร่ ในการพัฒนา รงงานที่มีการบูรณาการร่วมกับวิชาอื่นและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ประยุกต์ใช้ ามร้ดู ้านวทิ ยาการคานวณเพื่อการจัดการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
หลกั สูตรเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 12 12 คว อน สาร แรง พล พล กับ สม วิท
20 หลกั สตู รปรบั ปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระทป่ี รบั ปรงุ 202301 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 3(2-2-5) - เพิม่ รายวชิ ารายวิชาให้ Biological Sciences สอดคล้องกบั หลกั สตู ร ศึกษาและปฏิบัติให้รอบรู้ สมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร แกนกลางท่มี ีการ ามสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง เปล่ยี นแปลงและให้ นุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิด เหมาะสมกับ รละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจาวัน ผลของ สถานการณ์ปจั จบุ ัน งท่ีกระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนท่ีแบบต่าง ๆ ของวัตถุ ความหมายของ ลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างสสารและ ลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่เก่ียวข้อง บเสียง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า นาความรู้ไปใช้ประโยชน์เพื่อให้เกิดความ มดุลระหว่างธรรมชาติกับการดารงชีวิตท่ีดี และเพ่ือการจัดการเรียนรู้ ทยาศาสตร์
หลักสตู รเดมิ ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 12 12 นิเว ถา่ ย แน กร พัน ทา สาร จัด 12 ดาร คว แก เชิง สงั ค การ แผ ตาม
21 หลกั สตู รปรบั ปรงุ ฉบับปี พ.ศ. 2562 สาระทป่ี รบั ปรงุ 202401 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ 3(2-2-5) - เพ่มิ รายวชิ ารายวิชาให้ Biological Sciences สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู ร ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้เน้ือหา ความหลากหลายของระบบ แกนกลางทม่ี ีการ วศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การ เปล่ียนแปลงและให้ ยทอดพลังงาน ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม เหมาะสมกับ นวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม สถานการณป์ จั จบุ ัน ะบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร นธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลาย างชวี ภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมชี ีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียง รผา่ นเซลล์ นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์เพ่อื ใหเ้ กดิ การดารงชีวติ ทีด่ ี และใชเ้ พอื่ การ ดการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ 202502 สะเตม็ ศึกษา 3(2-2-5) - เพ่มิ วิชาเพอ่ื สามารถ STEM Education บรู ณาการศาสตรต์ ่างๆ รู้และเข้าใจเชิงลึกในด้านสะเต็มศึกษา หลักของเทคโนโลยีเพื่อการ และนาไปประยกุ ตใ์ น รงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ทักษะในศตวรรษท่ี 21 ใช้ การจัดการเรยี นรไู้ ด้ วามรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อ ก้ปัญหา หรือ พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ งวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต คม และสิ่งแวดลอ้ ม และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ รทางาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมีระบบ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เขียน ผนการจดั การเรยี นรู้ ปฏบิ ตั กิ ารจดั การเรียนรู้ และ วัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ มแนวทางสะเตม็ ศึกษาได้อย่างมอื อาชพี
หลักสูตรเดมิ ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 12 12 ปล จัด การ ห้อ ห้อ วิท เรีย แก 1203506 เคมีสเี ขียว 2(1-2-3) Green Chemistry การศึกษาหลักเคมีสะอาด ทางเลือกในการใช้วัสดุต้ังต้น การ สงั เคราะห์ รีเอเจนตแ์ ละภาวะของปฏิกิรยิ าทดแทน เทคโนโลยชี ีวเคมี ทาปฏิกิริยา ที่ให้มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์สูงสุด การเปลี่ยนและการใช้วัสดุจากผลิตผลทาง การเกษตรและวัสดุเหลือทิ้ง ออกแบบผลิตภัณฑ์ท่ีไม่เป็นพิษ ลดอัตราการเกิด อบุ ตั เิ หตุ
22 หลักสตู รปรับปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระทป่ี รบั ปรงุ 203301 การปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน 3(2-2-5) - เพม่ิ รายวชิ ารายวชิ าให้ Science Laboratory in School สอดคล้องกบั หลักสตู ร รู้หลักการเรียกช่ืออุปกรณ์/สารเคมีและวิธีการใช้อย่างถูกต้อง แกนกลางทม่ี กี าร ลอดภัย (MSDS) สัญลักษณ์และระดับอันตรายของสารเคมี นาความรู้ด้านการ เปล่ียนแปลงและให้ ดการสารเคมี การแยกประเภทหมวดหมู่ การเก็บ และการกาจัดสารเคมี เหมาะสมกบั รแยกประเภทหมวดหมู่และการจัดเก็บอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือจัดการ สถานการณ์ปัจจุบนั องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนตามหลักปฏิบัติสากล จัดเตรียม องปฏิบัติการและใช้อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์เพ่ือจัดกิจกรรมปฏิบัติการ ทยาศาสตร์สาหรับนักเรียนผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตามสาระการ ยนรู้วิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นของหลักสูตร กนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน - ตดั รายวิชาออก
หลกั สตู รเดมิ ฉบับปี พ.ศ. 2559 12 12 ขอ แล เข้า ทา ตระ ไปอ 12 ทน่ี นาผ ราย กา ภาษ
23 หลักสตู รปรับปรุง ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระที่ปรับปรงุ 203509 ธรรมชาตแิ ละการสบื เสาะทางวทิ ยาศาสตร์ 3(2-2-5) - เพม่ิ รายวชิ ารายวิชาให้ Nature of Science and Science Inquiry สอดคล้องกับหลกั สตู ร สบื เสาะและอธบิ าย ทฤษฎี หลกั การ และแนวคิด เกีย่ วกับธรรมชาติ แกนกลางท่ีมกี าร องวิทยาศาสตร์ การมองโลกแบบวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ เปลยี่ นแปลงและให้ ละกิจการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ รู้และความ เหมาะสมกบั าใจการได้มาซ่ึงองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ อธิบายวิธีการแสวงหาองค์ความรู้ สถานการณ์ปัจจบุ ัน างวทิ ยาศาสตร์ แสวงหาองค์ความรู้ทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะ ะหนกั ถงึ ธรรมชาติวิทยาศาสตร์ มีทักษะการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ นาความรู้ ออกแบบกจิ กรรม การเรยี นรทู้ ี่เนน้ กระบวนการสบื เสาะทางวิทยาศาสตร์ 203510 สัมมนาวิทยาศาสตรแ์ ละการสอนวิทยาศาสตร์ 2(1-2-3) - เพม่ิ รายวิชารายวิชาให้ Science Seminar and Science Teaching สอดคลอ้ งกับหลกั สตู ร ศึกษาคน้ ควา้ งานวจิ ยั ทางด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละการสอนวิทยาศาสตร์ แกนกลางท่ีมีการ น่าสนใจทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จากวารสารและเอกสารทางวิทยาศาสตร์ เปลี่ยนแปลงและให้ ผลการศึกษามาวิเคราะห์ และอภิปรายถึงประเดน็ ที่สาคัญอยา่ งมีเหตุผล เขียน เหมาะสมกบั ยงานการสัมมนาทางวิทยาศาสตร์และการสอนวิทยาศาสตร์ นาเสนอผล สถานการณป์ ัจจบุ ัน รศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการสัมมนาผ่านสื่อมัลติมิเดียโดยใช้ภาษาไทยและ ษาองั กฤษ ร่วมอภปิ รายและแลกเปลยี่ นเรยี นร้เู พือ่ การสือ่ สารทางวิทยาศาสตร์
หลักสูตรเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 12 12 กิจ วทิ การ หร จดั 12 กับ วิจั งาน ผล ศกึ มีท
24 หลกั สตู รปรบั ปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระทปี่ รบั ปรุง 203512 โครงงานและกจิ กรรมค่ายวทิ ยาศาสตร์ 3(2-2-5) - เพ่มิ รายวชิ ารายวิชาให้ Project and Science Camp Activity สอดคล้องกับหลักสตู ร รู้หลักการและความสาคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์ การจัด แกนกลางท่ีมกี าร จกรรมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน หลักการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ การแสดงทาง เปลย่ี นแปลงและให้ ทยาศาสตร์ การทศั นศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์ การจัดนทิ รรศการทางวทิ ยาศาสตร์ เหมาะสมกบั รใชเ้ ทคโนโลยใี นการสอนวิทยาศาสตร์ ชุมนมุ วิทยาศาสตร์ การละเลน่ /ของเล่น สถานการณ์ปจั จุบนั รือภมู ิปญั ญา ท้องถน่ิ นาหลักการสู่การปฏิบตั ิและประเมินเพื่อพัฒนาทักษะการ ดโครงงานวิทยาศาสตรแ์ ละกิจกรรมทางวทิ ยาศาสตร์ 203513 การวิจัยเพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (2-2-5) - เพมิ่ รายวชิ ารายวชิ าให้ Research to Develop Science Learning Process สอดคล้องกบั หลกั สตู ร รู้เน้ือหาวิทยาศาสตร์กับธรรมชาติและการเรียนรู้ เทคนิคการเรียนรู้ แกนกลางทม่ี กี าร บงานวิจัย วิทยาศาสตร์การวิจัยด้วยกระบวนการเรียนรู้ ความรู้พ้ืนฐาน การ เปล่ียนแปลงและให้ ยทางวิทยาศาสตร์ การเขียนโครงร่างวิจัยเชิงระบบ สถิติกับการวางแผน เหมาะสมกับ นวจิ ัยเบื้องต้น การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัย และการเผยแพร่ สถานการณป์ จั จุบัน ลงานวิจยั มีความสามารถในการทาวิจยั และเผยแพร่ผลงานวจิ ัยทางวิทยาศาสตร์ กษา มคี วามสามารถในการวเิ คราะห์และประมวลผลเชิงเชงิ สถิตเิ พ่ือการตดั สนิ ใจ ทักษะทีจ่ าเปน็ เพ่ือการเป็นครวู ทิ ยาศาสตรใ์ นศตวรรษท่ี 21
12 หลกั สตู รเดิม ฉบับปี พ.ศ. 2559 1203507 สวนพฤกษศาสตร์เพ่ือการศกึ ษาในสถานศกึ ษา 3(2-2-5) Botanical Garden in School ศึกษาความสาคัญและคุณค่าของพืชพรรณ ความหลากหลายของ พรรณพืชภูมิปัญญาท้องถ่ินในการใช้ประโยชน์จากพืชพรรณ โครงการอนุรักษ์ พันธกุ รรมพชื อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกมุ ารี การอนรุ ักษแ์ ละการพัฒนาพืชพรรณ ในสถานศึกษาเพื่อการศึกษา และ เรียนรู้ ความเป็นมา องค์ ประกอบสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนการสร้างและการ จัดปัจจยั พืน้ ฐานในโรงเรียนใหเ้ ป็นปจั จยั แหง่ การเรยี นรู้ ธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม นาตนไป สู่การดารงชีวติ ทเี่ บกิ บานจนเกดิ เป็นบรู ณาการแหง่ ชวี ติ 4021102 เคมแี ละปฏิบัติการ 2 4(3-3-7) Chemistry and Laboratory 2 สมดุลเคมี สมดุลเชิงไอออน เคมีไฟฟ้า สารอินทรีย์ สารพอลิเมอร์ สารประกอบโคออรด์ เิ นชนั เบ้ืองตน้ เคมนี ิวเคลยี ร์และเคมสี ภาวะแวดลอ้ มเบอ้ื งต้น ปฏบิ ัตกิ ารที่เกีย่ วข้องกบั การศกึ ษาทางทฤษฎี 4032401 พนั ธุศาสตร์ 4(3-3-7) Genetics ความรู้พื้นฐานทางพันธุศาสตร์ หลักการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม การคาดคะเน ผลลพั ธ์ทีเ่ กิดในลกู ผสม ความนา่ จะเป็นของการทดสอบ ทางสถติ ิ ยีนและโครโมโซม การจาลองของสารพันธุกรรม ยีนลิงเกจและยีนรีคอม บิเนชัน เพศ และการกาหนดเพศ มัลติเปิลแอลลีสส์ การควบคุมของยีนเชิง ปริมาณและคุณภาพ ความแปรปรวนของลูกผสม การกลายระดับยีนและระดับ โครโมโซม พันธุวิศวกรรม พันธุศาสตร์ประชากร การถ่ายทอดพันธุกรรมนอก นิวเคลยี ส ปฏิบตั ิการท่เี กีย่ วข้องกบั การศึกษาทางทฤษฎี
25 สาระที่ปรบั ปรุง หลกั สตู รปรับปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 - ตดั รายวชิ าออก - ตดั รายวชิ าออก - ตัดรายวิชาออก
หลกั สตู รเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 12 40 พัน ทด แล ที่อ วศิ ว 40 กล สังเ วิท ทอ้
26 หลกั สูตรปรบั ปรุง ฉบับปี พ.ศ. 2562 สาระท่ีปรับปรงุ 032402 พนั ธุศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ 2(1-2-3) - ปรับปรุงชื่อวิชาและ Genetics and DNA Technology คาอธิบายรายวชิ าเพ่อื ให้ ศึกษาและปฏิบัติการให้รอบรู้ โครโมโซมและวงจรของเซลล์ หลัก เน้ือหารายวชิ าเหมาะสม นธุศาสตร์ของเมนเดล การถ่ายทอดทางพันธุกรรม ความน่าจะเป็นและการ กับเหตกุ ารณป์ ัจจุบัน ดสอบสถิติด้วยไคสแควร์ บทขยายพันธุศาสตรข์ องเมนเดล พันธุศาสตร์ของเพศ และวิทยาการสมยั ใหม่ ละการวเิ คราะหท์ ะเบียนประวตั ิ อิทธิพลของฝ่ายแม่และการถ่ายทอดพนั ธกุ รรม อย่นู อโครโมโซม ยีนและโครโมโซม การกลายระดับยีนและระดบั โครโมโซม พนั ธุ วกรรม เทคนิคทเ่ี กีย่ วข้องกบั ดีเอ็นเอ 033401 สรรี วิทยาพน้ื ฐาน 2(1-2-3) - ปรบั ปรุงชอ่ื วิชาและ Basic Physiology คาอธบิ ายรายวชิ าใหม่ ศึกษาและปฏิบัติการเก่ียวกับระบบของส่ิงมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ เพอ่ื ใหเ้ นอื้ หารายวิชา ลไกการประสานงานและควบคุมการทางานของระบบต่างๆของร่างกาย การ เหมาะสมกบั เหตกุ ารณ์ เคราะห์แสง การหายใจระดับเซลล์ ประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการจัดการเรียนรู้ ปัจจบุ ันและสามารถ ทยาศาสตร์ในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้เหมาะสมกับสภาพและบริบทของ ประยุกต์ใชค้ วามรูด้ า้ นชี องถิ่น ส่ิงแวดลอ้ มเพื่อการ จดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตรใ์ นระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานได้
12 หลักสูตรเดมิ ฉบับปี พ.ศ. 2559 4032101 สรรี วิทยาท่วั ไป 4(3-3-7) General Physiology ความรูพ้ ้ืนฐานทางสรีรวทิ ยาของสิ่งมีชีวิต กระบวนการต่างๆที่สาคญั เชน่ การสงั เคราะห์แสง การหายใจระดบั เซลล์ การขนส่งและการลาเลยี ง ความ สมดลุ ของน้าและเกลอื แร่ กลไกการประสานงานและควบคมุ การทางานของระบบ ต่างๆของรา่ งกาย ปฏิบัตกิ ารท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษาทางทฤษฎี 4004209 วทิ ยาศาสตร์ท้องถิน่ 2(1-3-2) Local Science ศึกษาและวิเคราะห์บริบทของแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน ฝึกปฏิบัติการ สารวจท่ัวไปเพื่อค้นหาองค์ความรู้หรือสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ แบบมีส่วนร่วมของ ทุกฝา่ ย เชน่ ครู นักเรยี น นกั ศกึ ษา ปราชญ์ชาวบา้ น และ/หรอื องคก์ รบริหารส่วน ท้องถ่ิน นาข้อมูลท่ีได้มาวางแผนการดาเนินงาน ปฏิบัติการตามแผน ประเมินผล วเิ คราะหแ์ ละสรุปผล นาผลที่ได้มาสรา้ งบทเรยี นวทิ ยาศาสตร์ท้องถ่ิน นาบทเรียน ไปทดลองใช้ ประเมินผลและปรบั ปรงุ แก้ไขจนกระทง่ั ได้บทเรียนฉบบั สมบรู ณ์ 4032102 อนกุ รมวธิ าน 4(3-3-7) Taxonomy ความรู้พื้นฐานในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต หลักเกณฑ์การตั้งช่ือ สิง่ มีชีวิต การตรวจสอบหาช่ือวทิ ยาศาสตรท์ ่ีถูกต้อง และการจาแนก จัดหมวดหมู่ ส่ิงมีชีวิต โดเมนของสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต การจาแนกสิ่งมีชีวิตในปัจจุบัน ปฏิบตั ิการจาแนกสงิ่ มชี ีวิต การสรา้ งรปู วิธาน (ไดโคโทมสั คยี ์) จากตวั อย่างในหอ้ ง ปฏิบัติการทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการศกึ ษาทางทฤษฎี
27 สาระที่ปรบั ปรุง หลกั สตู รปรับปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 - ตดั รายวชิ าออก - ตดั รายวชิ าออก - ตัดรายวิชาออก
12 หลกั สตู รเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 4012202 แม่เหล็กไฟฟา้ 1 4(3-3-7) Electricity and Magnetism 1 วิชาทต่ี ้องเรียนมาก่อน : 4011101 และ 4011102 สนามไฟฟ้าสถิต อันตรกิริยาทางไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิต สนามแมเ่ หลก็ อนั ตรกิรยิ าทางแมเ่ หลก็ พลังงานแมเ่ หล็ก สนามไฟฟา้ ในตวั นาและ ไดอิเล็กตรกิ กฎของ บโิ อ-สวาตท์ กฎของแอมแปร์ สนามไฟฟา้ ท่ี แปรคา่ ตามเวลา กฎของฟาราเดย์และกฎของเลนซ์ สมบัติทางแม่เหล็กของสสาร สนามแม่เหล็ก เนื่องจากกระแสไฟฟ้าคงท่ี การเหนี่ยวนาสนามแม่เหล็กไฟฟ้า สมการแมกซ์เวลล์ การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้าใน ตัวกลาง ฝึกปฏบิ ัติการเก่ียวกับ เนอ้ื หาวชิ าแม่เหลก็ ไฟฟ้า 1 ไม่น้อยกว่า 10 ปฏิบตั ิการ 4012203 ฟสิ กิ ส์ของคลนื่ 4(3-3-7) hysics of Wave กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์ของคลื่นเกี่ยวกับชนิด คุณสมบัติของคลื่น และ การเคลื่อนท่ีของคล่ืนในตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สมการคลื่น และผลเฉลยของสมการ ฟังก์ชั่นคลื่น พลังงานและโมเมนตัมของคลื่น การ รวมกันของคลน่ื ปรากฏการณ์ ดอปเปลอร์ การแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของ คลื่น การโพลาไรซ์ของคลื่น อันตรกิริยาของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับสสาร ประโยชน์และการประยุกต์ คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า ฝกึ ปฏิบัติการเก่ยี วกับเนือ้ หาวิชา ฟสิ กิ สข์ องคลืน่ ไมน่ ้อยกวา่ 10 ปฏิบตั ิการ
28 สาระทป่ี รบั ปรงุ หลกั สูตรปรบั ปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 - ตดั รายวิชาออก - ตัดรายวชิ าออก
12 หลกั สูตรเดิม ฉบับปี พ.ศ. 2559 4022501 ชีวเคมแี ละปฏิบตั กิ าร 1 4(3-3-7) Biochemistry and Laboratory 1 ความสาคัญของบัฟเฟอรใ์ นสงิ่ มีชวี ิต เทคนิคการทาสารชวี โมเลกลุ ให้ บริสุทธิ์โดยวิธีต่างๆ เช่น การตกตะกอน การกรอง วิธีโครมาโทกราฟี การ เคลื่อนย้ายสู่ข้ัวไฟฟ้า การหมุนเหว่ียง ศึกษาองค์ประกอบของเซลล์โครงสร้าง สมบัตทิ างเคมี หน้าที่ทางชีวภาพของคารโ์ บไฮเดรต ลิพิด โปรตีน เอนไซม์ กรด นวิ คลอี ิก ฮอร์โมน วติ ามนิ เกลือแร่ปฏบิ ัตกิ ารท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การศึกษาทางทฤษฎี 4034302 การเพาะเลยี้ งเนอื้ เยือ่ พชื 3(2-3-5) Plant Tissue Culture เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเซลล์ เนื้อเย่ือและอวัยวะพืช รูปแบบ ของการเจรญิ และพัฒนาการของเน้ือเย่อื ไปเป็นเอมบรโิ อและอวยั วะ ปัจจัยต่างๆท่ี มีผลตอ่ การเพาะเลี้ยงเน้อื เย่ือพชื การนาเทคนคิ การเพาะเล้ียงเน้อื เย่ือไปใช้ในการ ขยายพนั ธุพ์ ืช ปรับปรงุ พันธุพ์ ชื ปฏิบตั กิ ารท่เี กีย่ วขอ้ งกบั การศึกษาทางทฤษฎี
29 สาระทป่ี รบั ปรงุ หลกั สูตรปรบั ปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 - ตดั รายวิชาออก - ตัดรายวชิ าออก
13 หลักสตู รเดิม ฉบับปี พ.ศ. 2559 กลุ่มวชิ าการสอนวิชาเอก 1204502 การบูรณาการและการจัดการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ 1 3(2-2-5) Integration and Learning Management for Science Teaching 1 การบูรณาการระหว่างองค์ความรู้วิชาชีพครูและวิทยาศาสตร์ศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลาง โดยศึกษาหลักสูตรการพัฒนาธรรมชาติของวิชา วิทยาศาสตร์ศึกษา จิตวิทยา ในการเรียนรู้ทักษะและเทคนิคการออกแบบในการ จัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา โดยยืดผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดช้ันเรียนให้ เหมาะสมกับสภาพผู้เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตร์และการ วเิ คราะหห์ ลักสูตร การวิเคราะห์ผู้เรยี น เทคนิคการสอน วิธีการสอนวิทยาศาสตร์ ศิลปะการสอนเพ่ือผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 การเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีและแหล่ง เรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การวัดและการประเมินผล การเขียน แผนการจดั การเรียนรู้ 1204503 การบูรณาการและการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2 3(2-2-5) Integration and Learning Management for Science Teaching 2 เทคนิคและทักษะการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การจัดกิจกรรมเสริม ทางวทิ ยาศาสตร์ คา่ ยวิทยาศาสตร์ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ การแสดงทางวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาและการจัดการชั้นเรียน การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ การพัฒนา นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการสอน การจัดการห้องปฏิบัติการ การ จัดเกบ็ อุปกรณ์ ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ การทดลองปฏิบัติการสอนหน้าช้ัน เรียน การประเมินผลการจดั การเรียนรแู้ ละการวิจัยในชัน้ เรยี น
30 สาระทป่ี รบั ปรงุ หลกั สูตรปรบั ปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 - ตดั รายวิชาออก - ตัดรายวชิ าออก
13 หลกั สตู รเดมิ ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 กลมุ่ วิชาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี 1003101 การฝกึ ปฏิบัตวิ ิชาชพี ครรู ะหว่างเรียน 1 1(90) 1002101 Practicum 1 สังเกตการณ์และฝึกการเป็นผู้ช่วยครู เรียนรู้งานในหน้าท่ีครู โดยศึกษาเก่ียวกับธรรมชาติและพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน การ บริหารจัดการในช้ันเรียนตามหลักสูตรในระดับการศึกษาที่ เกย่ี วขอ้ งและบทบาทหนา้ ท่ีของความเป็นครู
31 หลักสตู รปรับปรุง ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระที่ปรบั ปรุง กลมุ่ วิชาฝึกประสบการณว์ ิชาชพี 1 การฝึกปฏิบตั ิวชิ าชีพระหวา่ งเรียน 1 1(90) ปรับปรงุ คาอธิบาย Practicum in Teaching Profession Institution 1 รายวชิ าใหส้ อดคล้อง สรุปคุณลักษณะของตนเองและครูที่แสดงออกถึงความรัก และครอบคลมุ ตาม และศรัทธาในวิชาชีพครู ระบุจรรยาบรรณต่อตนเองและต่อ ประกาศคณะกรรมการ วิชาชีพ รอบรู้บทหน้าที่ครูผู้สอนและครูประจาชั้นใน คุรุสภา เรือ่ ง สาระ สถานศึกษา เข้าใจบริบทชุมชน ร่วมมือกับผู้ปกครองในการ ความรู้ สมรรถนะ และ เก็บรวบรวมข้อมูลเพอื่ ใช้ในการพัฒนา ดแู ล ช่วยเหลือผู้เรียน ประสบการณ์วชิ าชพี ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมท้ังรายงานผลการพัฒนา ของผปู้ ระกอบวิชาชีพ คณุ ภาพผเู้ รยี นไดอ้ ย่างเปน็ ระบบในรูปแบบของการศึกษาราย ครตู ามขอ้ บงั คบั ครุ ุสภา กรณี (Case Study) โดยการประยุกต์ใช้ความรู้ทางจิตวิทยา วา่ ดว้ ย มาตรฐาน เทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนาหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนตาม วิชาชพี พ.ศ. 2556 ว่า ศักยภาพ สรุปแนวทางและลักษณะกิจกรรมการพัฒนา ดว้ ยการฝึกปฏบิ ตั ิ วิชาชีพของครูท้ังในและนอกสถานศึกษา ผ่านกระบวนการ วิชาชพี ระหว่างเรยี น สังเกตและวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ครู ถอดบทเรียนจาก ประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษา สังเคราะห์องค์ความรู้ และนาผลจากการเรียนรู้ในสถานศึกษาไปประเมนิ สะท้อน กลับ (AAR) เป็นรายบุคคลและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน รูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพอื่ นาไปใช้ในการพฒั นา ตนเองใหม้ คี วามรอบรู้ ทนั สมยั และทนั ต่อการเปลยี่ นแปลง
13 หลกั สตู รเดมิ ฉบับปี พ.ศ. 2559 1004102 การฝกึ ปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ครรู ะหว่างเรยี น 2 1(90) 1003102 Practicum 2 การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วย ตนเอง การทดลองสอนในสถานการณ์จาลอง และสถานการณ์จริง ออกแบบทดสอบ ข้อสอบหรือเครื่องมือวัดผล การตรวจข้อสอบ การให้คะแนน และการตัดสินผลการเรียน การสอนภาคปฏิบัติ และการใหค้ ะแนน การวจิ ัยแก้ปัญหาผู้เรียน การพัฒนาความเป็น ครูมืออาชีพ ปฏิบัติการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อ จุดประสงค์การสอนที่หลากหลาย สามารถปฏิบัติการสอน ออกแบบทดสอบ วดั และประเมนิ ผลผเู้ รียน
32 หลกั สูตรปรบั ปรงุ ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระท่ปี รบั ปรงุ 2 การฝกึ ปฏิบัตวิ ิชาชพี ระหวา่ งเรยี น 2 1(90) ปรับปรุงคาอธบิ าย Practicum in Teaching Profession Institution 2 รายวชิ าให้สอดคลอ้ ง รายวชิ าท่ตี ้องเรยี นมากอ่ น 1002101 การฝกึ ปฏิบตั ิ และครอบคลุมตาม วิชาชพี ระหว่างเรียน 1 ประกาศคณะกรรมการ ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีมีคุณธรรมและจริยธรรม ครุ ุสภา เร่อื ง สาระ ตามจรรยาบรรณวชิ าชีพ ปฏิบัติงานผูช้ ่วยครูร่วมกับครพู ี่เล้ียง ความรู้ สมรรถนะ และ โดยการวางแผนออกแบบเน้ือหาสาระและกิจกรรมการจัดการ ประสบการณว์ ชิ าชีพ เรียนรสู้ อ่ื และเทคโนโลยี การวัดและประเมินผลตามกลมุ่ สาระ ของผู้ประกอบวชิ าชพี การเรียนรู้ในรายวิชาเฉพาะด้าน บูรณาการองค์ความรู้ ครตู ามขอ้ บงั คับครุ สุ ภา ทางการบริหารการศึกษา ออกแบบนวัตกรรม การดาเนินการ วา่ ดว้ ย มาตรฐาน เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ วิชาชพี พ.ศ. 2556 วา่ สถานศึกษาแต่ละระดับ บริหารจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและ ด้วยการฝกึ ปฏบิ ตั ิ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน วชิ าชีพระหว่างเรยี น ร่วมมือกับผู้ปกครองในการพัฒนา ดแู ล ชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น ให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ วิเคราะห์และนาเสนอแนวทางใน การพัฒนาตนเองให้มีความเป็นครูมืออาชีพท่ีเท่าทันต่อการ เปลี่ยนแปลงท้ังทางด้านศาสตร์วิชาชีพครูและศาสตร์สาขา วิชาเอก เข้าร่วมโครงการท่ีเกี่ยวข้องกับการส่งเสริม อนุรักษ์ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นและนาผลจากการเรียนรู้ใน สถานศึกษาไปประเมินสะทอ้ นกลบั (AAR) เป็นรายบคุ คลและ ร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพ่ือนาไปใช้ในการพัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ทันสมัยและ ทันต่อการเปลีย่ นแปลง
13 หลกั สูตรเดมิ ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 1005103 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1 6(540) 1004103 Internship 1 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา การจัดทาแผนการ จดั การเรียนรู้ ให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง การพัฒนาส่ือการ เรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผลและผลนาไปใชใ้ นการพัฒนาผู้เรียน การออกแบบทดสอบ ข้อสอบหรือเครื่องมือวัดผล การ ตรวจข้อสอบ การตัดสินผลการเรียนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ หรือ แบง่ ปนั ความรูใ้ นการสมั มนาระหว่างฝึก และหลงั ฝึกประสบการณ์ วชิ าชพี การปฏบิ ตั ิงานอืน่ ที่ไดร้ บั มอบหมาย
33 หลกั สตู รปรับปรงุ ฉบับปี พ.ศ. 2562 สาระทป่ี รับปรงุ 3 การปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา 1 6(540) ปรับปรุงคาอธิบาย Internship 1 รายวิชาให้สอดคล้อง รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 1002101 การฝึกปฏิบัติ และครอบคลุมตาม วิชาชีพระหวา่ งเรียน 2 ประกาศคณะกรรมการ ป ฏิ บั ติ ก า ร ส อ น ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ น ส า ข า วิ ช า เ ฉ พ า ะ ครุ สุ ภา เรื่อง สาระ ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีมีคุณธรรมและจริยธรรมตาม ความรู้ สมรรถนะ และ จรรยาบรรณวิชาชีพ ออกแบบการจัดบรรยากาศชั้นเรียนที่ ประสบการณ์วชิ าชพี ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนมีความสุขจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทสี่ ่งเสริมให้ ของผู้ประกอบวชิ าชีพ ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดขั้นสูงโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ครูตามข้อบงั คับครุ สุ ภา ดิจิทัลหรือนวัตกรรมทางการศึกษาที่ทันสมัย ร่วมมือกับ ว่าด้วย มาตรฐาน ผู้ปกครองในการพัฒนาและมุ่งมั่นในการแก้ปัญหาผู้เรียนให้มี วิชาชพี พ.ศ. 2556 วา่ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ สะท้อนผลการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิด ด้วยการปฏิบตั ิการสอน ขน้ึ กับตนเองได้อย่างชัดเจนจากการเข้ารว่ มกิจกรรมท่ีสง่ เสริม ในสถานศกึ ษาใน ให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาชีพ โครงการที่เก่ียวข้องกับการ สาขาวิชาเฉพาะ ส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นและนาผล จากการเรียนรู้ในสถานศึกษาไปประเมินสะท้อนกลับ (AAR) เป็นรายบุคคลและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในรูปแบบ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาตนเอง ใหม้ คี วามรอบรู้ ทนั สมยั และทันตอ่ การเปลี่ยนแปลง
13 หลักสตู รเดิม ฉบบั ปี พ.ศ. 2559 1005104 การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 6(540) 1004104 Internship 2 การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษา การจัดทาแผนการ จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และนาผลไปใช้ในการพฒั นา ผู้เรียน การพัฒนาส่ือการเรียนรู้ การวิจัยเพ่ือพัฒนาผู้เรียน และ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ หรือแบ่งปันความรู้ในการสัมมนาระหว่าง ฝกึ และหลังฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ การประเมิน -ปรบั ปรุง และ ศกึ ษาวิจยั เพ่ือพัฒนาผู้เรยี น การปฏิบัติงานอืน่ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
34 หลักสตู รปรับปรุง ฉบบั ปี พ.ศ. 2562 สาระท่ีปรบั ปรุง 4 การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 2 6(540) ปรบั ปรงุ คาอธิบาย Internship 2 รายวิชาให้สอดคล้อง รายวิชาที่ต้องเรียนมากอ่ น 1004103 การปฏิบัติการสอน และครอบคลุมตาม ในสถานศกึ ษา 1 ประกาศคณะกรรมการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ครูในสาขาวิชาเฉพาะ ประพฤติตน คุรุสภา เรอื่ ง สาระ เป็นแบบอย่างที่ดีมีคุณธรรมและจริยธรรมตามจรรยาบรรณ ความรู้ สมรรถนะ และ วิชาชพี ออกแบบและจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ผี ู้เรียนมีความสขุ ประสบการณว์ ชิ าชีพ เกิดการะบวนการคิดขั้นสูงและนาไปสู่การเป็นนวัตกร โดย ของผปู้ ระกอบวชิ าชีพ ออกแบบนวัตกรรมทางการศึกษาที่ทันสมัย บูรณาการบริบท ครตู ามขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภา ชุ ม ช น เ ข้ า กั บ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ทั้ ง ใ น แ ล ะ น อ ก วา่ ดว้ ย มาตรฐาน ห้องเรียน สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน วิชาชพี พ.ศ. 2556 วา่ ในการพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึง ดว้ ยการปฏิบัตกิ ารสอน ประสงค์ด้วยกระบวนการวิจัยที่ถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัย ในสถานศกึ ษาใน สะท้อนผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนกับตนเองได้อย่างชัดเจน สาขาวชิ าเฉพาะ จากการเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าทาง วิชาชีพ นาผลจากการเรียนรใู้ นสถานศึกษาไปประเมนิ สะทอ้ น กลับ (AAR) เป็นรายบุคคลและร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพ่ือนาไปใช้ในการ พัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ทันสมัยแ ละทันต่อการ เปล่ียนแปลง
ภาคผนวก ค ระเบียบ ข้อบงั คบั ประกาศ และคาสั่งตา่ งๆ
ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ว่าดว้ ยการจัดการศกึ ษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554 --------------------------------------------- โดยทเี่ ปน็ การสมควรให้มขี ้อบังคับว่าด้วยการจัดการศึกษาระดบั ปริญญาตรขี องมหาวิทยาลัย เพื่อให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จึงอาศัยอานาจตามมาตรา 18(2) แห่ง พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลัยราชภฏั พ.ศ. 2547 ออกขอ้ บังคบั ไว้ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ 1 ขอ้ บงั คับน้ีเรียกว่า \"ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ว่าด้วยการจดั การศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554\" ข้อ 2 ให้ใช้ข้อบงั คบั นต้ี งั้ แตว่ ันถดั จากวันประกาศเปน็ ตน้ ไป ข้อ 3 บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง และประกาศ อื่นใดในส่วนท่ีได้กาหนดไว้แล้วใน ขอ้ บังคบั น้ี หรอื ซึง่ ขดั หรือแย้งกับข้อบังคบั น้ใี หใ้ ชข้ ้อบงั คบั น้ีแทน ขอ้ 4 ในขอ้ บังคบั น้ี “มหาวิทยาลยั ” หมายความว่า มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร “สภามหาวทิ ยาลยั ” หมายความว่า สภามหาวิทยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร “อธกิ ารบดี” หมายความว่า อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร ข้อ 5 ให้มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ ตามหลักสูตรที่ได้รับอนุมัติจากสภา มหาวิทยาลัย โดยจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคท่ีมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าสิบห้าสัปดาห์ ตอ่ หนึง่ ภาคการศึกษาปกติ สาหรบั การจัดการเรียนการสอนรายวิชาใดๆ ที่เปน็ หลักสูตรอสิ ระระยะส้ัน ในภาคการศึกษาปกติ และภาคการศึกษาฤดูร้อน ให้ระยะเวลาศึกษาให้เป็นไปตามเงื่อนไขของ หลักสูตรนนั้ ๆ มหาวิทยาลัยอาจจัดให้มีการเรียนการสอนในภาคการศึกษาฤดูร้อนท่ีมีระยะเวลาศึกษาไม่ น้อยกว่าแปดสัปดาห์ด้วยก็ได้ โดยจัดให้มีการเรียนการสอนครบตามจานวนช่ัวโมงเรียนในภาค การศึกษาปกติสาหรับรายวชิ านั้นๆ ภายในระยะเวลาศึกษาสาหรับภาคการศึกษาฤดรู ้อน ข้อ 6 ผู้ที่เข้าศึกษาตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย จะต้องสาเร็จการศึกษาช้ันมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทยี บเท่า เว้นแตห่ ลักสูตรการศึกษาตอ่ เน่ือง จะต้องสาเรจ็ การศึกษาระดบั อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง หรือประกาศนียบัตรอ่ืนๆ ที่เทียบเท่า และต้องมีคุณสมบัติตามท่ี มหาวทิ ยาลยั กาหนด ข้อ 7 การรับนักศึกษาเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย ให้ดาเนินการโดยการสอบคัดเลือก หรือ คดั เลือก ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารที่มหาวิทยาลัยกาหนด ข้อ 8 นักศึกษาสามารถเลือกสมัครเข้าศึกษาในระบบการศึกษาภาคปกติท่ีจัดการเรียนการ สอนในเวลาราชการ หรือท้ังในและนอกเวลาราชการ หรือการศึกษาภาคพิเศษซึ่งจัดเฉพาะนอกเวลา ราชการกไ็ ด้
ข้อ 9 นักศึกษาที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย สามารถขอยกเว้นการเรียนรายวิชา หรือเทียบ โอนหน่วยกิตรายวิชา โดยนาประสบการณ์ หรือผลการเรียนรายวิชาจากมหาวิทยาลัย หรือ สถาบันอุดมศึกษาอื่นทม่ี หาวิทยาลัยรับรองมาขอยกเว้นหรือเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชา ตามระเบียบ ของมหาวิทยาลัยกไ็ ด้ ข้อ 10 มหาวิทยาลัยสามารถจัดการศึกษาหลักสูตรควบปริญญาตรีสองปริญญาตามแนว ทางการจดั การศึกษาหลกั สตู รควบระดับปริญญาตรีสองปรญิ ญาของกระทรวงศกึ ษาธิการได้ ข้อ 11 โครงสร้างหลักสูตรของแต่ละสาขาวิชา การคิดเทียบจานวนชั่วโมงเรียนเป็นคา่ หน่วย กิต การกาหนดหน่วยกิตรวมและระยะเวลาของหลักสูตรแต่ละสาขาวิชา ให้เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานหลกั สูตรอุดมศึกษาทสี่ านกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษากาหนด ข้อ 12 มหาวิทยาลัยต้องจัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาของนักศึกษา เพื่อทาหน้าท่ีให้คาปรึกษา แนะนาแนวทางการศึกษา และการลงทะเบยี นเรียนแกน่ ักศึกษา ข้อ 13 การลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคการศึกษาปกติ ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิตและไม่เกิน 22 หน่วยกิต สาหรับภาคการศึกษาฤดูร้อน ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 12 หนว่ ยกติ ในกรณีท่ีมีความจาเป็น อธิการบดีอาจพิจารณาอนุญาตยกเว้น ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียน ตามเกณฑ์ท่แี ตกต่างไปจากที่กาหนดในวรรคหนงึ่ ก็ได้ ข้อ 14 การลงทะเบียนเรียนจะสมบูรณ์ต่อเม่ือได้ชาระค่าธรรมเนียมต่างๆ พร้อมท้ังย่ืน หลักฐานการลงทะเบียนเรยี นตอ่ มหาวิทยาลัยแลว้ ข้อ 15 ในกรณีท่ีมีเหตุผลอนั สมควร อธกิ ารบดีอาจอนุญาตให้คืนสภาพการเป็นนักศึกษา แก่ นักศึกษาท่ีพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา ด้วยเหตุไม่ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติและไม่ได้ รักษาสภาพการเปน็ นักศึกษากไ็ ด้ ข้อ 16 อาจารย์ผู้สอนแต่ละคนต้องจัดทารายละเอียดของรายวิชา และรายงานผลการ ดาเนินการของรายวชิ าท่ีตนสอน ข้อ 17 ในกรณีที่รายวิชาเดียวกันมีอาจารย์ผู้สอนหลายคน ให้อาจารย์ผู้สอนทุกคนร่วมกัน จัดทารายละเอยี ดของรายวิชาและรายงานผลการดาเนนิ การของรายวิชาน้ัน ข้อ 18 ให้แต่ละคณะมีคณะกรรมการทาหน้าที่ กากับ และควบคุมดูแลการฝึกประสบการณ์ วชิ าชพี หรอื สหกิจศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ ตลอดจนจดั ทารายละเอียดของการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ หรอื สหกจิ ศึกษา และรายงานผลการดาเนนิ การของการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพหรือสหกจิ ศึกษาด้วย ขอ้ 19 ใหม้ หาวิทยาลัยประเมินผลการสอนของอาจารยผ์ ้สู อนอย่างน้อยปีละหน่ึงครั้ง เพ่ือให้ อาจารยผ์ ู้สอนไดพ้ ัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการสอน ข้อ 20 การวัดและประเมินผลการศึกษา ให้เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏ กาแพงเพชร วา่ ดว้ ยการประเมนิ ผลการศกึ ษาระดับอนปุ รญิ ญาและปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2548 ข้อ 21 ให้อธิการบดีรักษาการตามข้อบังคับนี้ และให้มีอานาจตีความและวินิจฉัยชี้ขาดใน กรณีทม่ี ีปัญหาจากการปฏิบตั ิตามข้อบงั คบั น้ี การวนิ จิ ฉยั ชขี้ าดของอธิการบดีถอื เปน็ อนั สิน้ สดุ ประกาศ ณ วันท่ี 27 มนี าคม พ.ศ. 2554 (ศาสตราจารย์เกษม จันทรแ์ ก้ว) นายกสภามหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพช
ขอ้ บังคบั มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร ว่าด้วย การประเมินผลการศึกษาระดบั อนุปรญิ ญาและปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2548 ------------------------------------------------------- โดยท่ีเป็นการสมควรให้ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชรมีข้อบังคับว่าด้วยการ ประเมินผลการศึกษาในระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี เพ่ือกากับมาตรฐานเชิงคุณภาพในการ ดาเนินการประเมินผลการศึกษาสาหรับนักศึกษาภาคปกติและภาคพิเศษของมหาวิทยาลัย จึงอาศัย อานาจตามความในมาตรา 18(2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ออก ข้อบังคบั วา่ ดว้ ยการประเมนิ ผลการศึกษาระดบั อนปุ รญิ ญาและปริญญาตรีไวด้ ังต่อไปนี้ ข้อ 1. ข้อบังคับเรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ว่าด้วยการประเมินผล การศึกษาระดบั อนปุ รญิ ญาและปรญิ ญาตรี พ.ศ.2548” ข้อ 2. บรรดาข้อบังคับ ประกาศ หรอื คาสงั่ อนื่ ใด ในสว่ นท่ีขัดหรือแย้งกับ ขอ้ บังคับน้ี ใหใ้ ช้ขอ้ บังคบั นี้แทน ข้อ 3. ให้ใช้ข้อบังคับน้ีสาหรับประเมินผลการศึกษาของนักศึกษาภาคปกติและนักศึกษาภาค พเิ ศษ ระดับอนปุ รญิ ญาและปรญิ ญาตรี ของมหาวทิ ยาลัย ที่เขา้ ศึกษาตั้งแตป่ ีการศกึ ษา 2549 เปน็ ตน้ ไป ขอ้ 4. ในข้อบังคับน้ี “มหาวทิ ยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร “สภามหาวทิ ยาลัย” หมายความว่า สภามหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร “งานทะเบียนและประมวลผล” หมายความว่า หน่วยงานในสานักส่งเสริม วชิ าการและงานทะเบยี น ทาหนา้ ทป่ี ระมวลผลการเรยี นทกุ รายวิชาของนักศึกษา “อธกิ ารบดี” หมายความว่า อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร “ภาคเรียนถัดไป” หมายความว่า ภาคเรียนที่ถัดจากภาคเรียนท่ีนักศึกษา ลงทะเบยี นรายวชิ าน้ันไว้ “นักศึกษาภาคพิเศษ” หมายความว่า นักศึกษาท่ีเข้าศึกษาตามโครงการ จัดการศึกษาสาหรับบุคลากรประจาการ โครงการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน หรือนักศึกษาท่ีเข้าศึกษา ตามโครงการอ่นื ท่ีไม่ใชน่ ักศึกษาภาคปกติ ข้อ 5. ให้มีการประเมินผลทกุ รายวชิ าท่ีจดั ใหม้ ีการเรยี นการสอน การวัดผลตอ้ งทาตลอดภาค เรียนอย่างสม่าเสมอดว้ ยวิธีการต่าง ๆ เช่น การทดสอบ การตรวจรายงานและผลงาน และการสังเกต พฤติกรรม เพื่อทราบความก้าวหน้าในการเรียน โดยมีสัดส่วนคะแนนระหว่างภาคร้อยละ 30 ถึง 70 และต้องมีการสอบปลายภาคเรียนด้วย เว้นแต่รายวิชาท่ีกาหนดให้ประเมินลักษณะอื่น ตามประกาศ ของมหาวิทยาลัย ผลการประเมินเป็นรายวิชาให้ผ่านการตรวจสอบของประธานโปรแกรมวิชา และ คณบดี การอนุมัติผลเปน็ อานาจของอธิการบดหี รอื ผูท้ ่ีอธิการบดีมอบหมาย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233