ข้อ 6. ให้การประเมินผลการเรียนรายวิชาตา่ ง ๆ ตามหลกั สูตรมี 2 ระบบ ดงั นี้ 6.1 สาหรับรายวิชามาตรฐานท่ีหลักสูตรกาหนดให้ประเมินผลการเรียนในระบบค่า ระดับคะแนน แบง่ เปน็ 8 ระดบั ตามสัญลกั ษณ์และความหมายที่กาหนด ดงั ต่อไปนี้ ระดับคะแนน ความหมายของผลการเรยี น ค่าระดับ คะแนน A ดีเย่ยี ม (Excellent) 4.0 B+ ดีมาก (Very Good) 3.5 B ดี (Good) 3.0 C+ ดีพอใช้ (Fair Good) 2.5 C พอใช้ (Fair) 2.0 D+ ออ่ น (Poor) 1.5 D อ่อนมาก (Very Poor) 1.0 E ตก (Fail) 0.0 ระดับคะแนนท่ถี ือว่าสอบได้ตามระบบน้ี ตอ้ งไม่ตา่ กว่า “D” ถา้ นกั ศึกษาได้ ระดับคะแนนเป็น “E” ในรายวิชาใด ต้องลงทะเบียนและเรียนวิชานั้นใหม่จนกว่าจะสอบได้ ยกเว้น รายวชิ าทเ่ี ป็นวชิ าเลอื ก ใหล้ งทะเบยี นและเรียนรายวชิ าอ่ืนทอี่ ยูใ่ นกลุม่ เดียวกนั แทนได้ สาหรับรายวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และรายวิชาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ ผลการประเมินท่ีมีค่าระดับคะแนนต่ากว่า “C” ถือว่าสอบตก นักศึกษาจะต้อง ลงทะเบียนและเรียนใหม่ ในกรณีน้ี ถ้าได้รับการประเมินรายวิชาดังกล่าวต่ากว่า “C” เป็นคร้ังที่สอง ใหน้ ักศกึ ษาผู้นนั้ พน้ สภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา 6.2 สาหรับรายวิชาที่หลักสูตร หรือสภามหาวิทยาลัยกาหนดให้เรียน เพ่ิมเติมตาม ข้อกาหนดเฉพาะ โดยไม่คดิ ค่าระดบั คะแนน ให้ประเมินผลในระบบสัญลักษณ์ ดงั ต่อไปนี้ ระดบั การประเมิน ผลการเรยี น PD (Pass with Distinction) ผา่ นดเี ยยี่ ม P (Pass) ผา่ น F (Fail) ไม่ผ่าน ในระบบนี้ รายวชิ าที่ไดผ้ ลการเรยี น “F” นกั ศกึ ษาจะต้องลงทะเบยี นเรียนใหมจ่ นกวา่ จะสอบได้ ขอ้ 7. ใหส้ ัญลักษณต์ อ่ ไปนี้ ในการบนั ทกึ ผลการเรยี นในกรณอี ่นื ๆ ท่ีไม่มคี ่าระดับคะแนน สญั ลกั ษณ์ ความหมาย และการใช้ Au (Audit) ใช้บันทกึ ผลการเรียนวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน เพื่อร่วมฟังโดยไม่นับ หนว่ ยกิตและมผี ลการเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินผลท่อี าจารยผ์ ู้สอนกาหนด W (Withdraw) ใช้บันทึกผลการเรียนของนักศึกษาลงทะเบียน ในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) นกั ศกึ ษาขอถอนรายวิชาเรยี นเมื่อพน้ กาหนด 15 วัน นบั แต่วนั เปิดภาคเรียน (2) นกั ศกึ ษาถูกสัง่ ให้พักการเรยี นหลังจากทล่ี งทะเบียนในภาคเรียนนน้ั แลว้ และได้รบั อนุมัติให้ถอนรายวิชานน้ั ก่อนกาหนดสอบภาคปลายไม่น้อยกว่าสองสัปดาห์
(3) นักศึกษาลงทะเบียนเรียน เพื่อร่วมฟัง (Audit) โดยไม่นับหน่วยกิต และผล การศกึ ษาวชิ านัน้ ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ผลที่อาจารยผ์ ู้สอนกาหนด I (Incomplete) ใชบ้ นั ทึกผลการเรียนของนกั ศึกษาในกรณีใดกรณหี น่ึง ดังตอ่ ไปน้ี (1) เป็นรายวิชาท่นี กั ศึกษายงั ทางานไม่เสร็จเม่ือส้นิ ภาคเรยี นซง่ึ นักศึกษาจะต้อง ขอรบั การประเมนิ เป็นคา่ ระดับคะแนนให้เสรจ็ ส้นิ ภายในภาคเรยี นถัดไป (2) เป็นรายวิชาท่ีนักศึกษามีสิทธิสอบปลายภาค แต่ขาดสอบและได้ย่ืนคาร้องขอ สอบในรายวิชาที่ขาดสอบนั้น ซ่ึงคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแต่งต้ัง พิจารณาอนุญาตให้สอบใน รายวิชาทข่ี าดสอบนนั้ ได้ การให้ “I” แก่นักศึกษาคนใด อาจารย์ผู้สอนจะต้องส่งบันทึก รายละเอยี ดคะแนนเกบ็ ทัง้ หมดในภาคการศึกษา พรอ้ มระบเุ หตผุ ลประกอบการสง่ ผลการเรียนด้วย ขอ้ 8. กรณีที่นกั ศึกษาที่ขอปรับค่าระดับคะแนนรายวิชาท่ีได้ “I” ทางานไม่เสร็จภายในเวลา ทีก่ าหนด ให้อาจารย์ผู้สอนทาการประเมินผลการเรียนจากคะแนนท่ีมีอยู่แล้ว โดยให้ผลงานที่ค้างอยู่ เป็น”ศูนย์” และในกรณีท่ีไม่มีการประเมินผลจากอาจารย์ผู้สอนในภาคเรียนถัดไป ให้งานทะเบียน และประมวลผล ปรบั ผลการเรยี นรายวิชาที่ได้ “I” น้นั เป็น “E” หรอื “F” แล้วแตก่ รณี ข้อ 9. ทุกรายวิชาท่ีนักศึกษาได้ลงทะเบียนเรียนไว้ต้องได้รับการประเมินผลจากอาจารย์ ผู้สอน และกาหนดค่าระดับคะแนน หรือสัญลักษณ์ ตามที่กาหนดไว้ในข้อบังคับนี้ รายวิชาใดท่ี อาจารย์ผู้สอนไม่รายงานผลการประเมินเป็นค่าระดับคะแนน โดยไม่ระบุสัญลักษณ์อ่ืนใด และมิใช่ รายวิชาที่นักศึกษาถอนการลงทะเบียน ให้งานทะเบียนและประมวลผลบันทึกผลการเรียน รายวิชา น้นั เปน็ “E” หรอื “F” แลว้ แตก่ รณี ข้อ 10. ให้ใช้สัญลักษณ์ P ตามข้อ 6.2 สาหรับบันทึกผลการประเมินสาหรับรายวิชาท่ีได้รับ การยกเว้นการเรยี น ตามระเบยี บเกย่ี วกบั การยกเวน้ การเรยี น ข้อ 11. กรณีนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย สถาบันราชภัฏ หรือหลักสูตรที่อนุมัติโดยสภาการฝึกหัดครู เข้าศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรี(หลัง อนุปริญญา) จะลงทะเบียนรายวิชาซ้าหรือรายวิชาเทียบเท่ากับรายวิชาท่ีเคยศึกษามาแล้วในระดับ อนปุ ริญญาไม่ได้ และให้เวน้ การนบั หน่วยกิตเพอื่ พิจารณาวชิ าเรยี นครบตามหลักสูตรท่กี าลงั ศกึ ษาอยู่ ยกเว้นเป็นรายวิชาทเ่ี คยสอบไดม้ าแลว้ นับตง้ั แต่วันที่สาเร็จการศึกษาระดบั อนุปริญญาถึงวันเข้าศึกษา ระดบั ปริญญาตรี(หลังอนุปริญญา) เกนิ 5 ปี ข้อ 12. การหาค่าระดับคะแนนเฉล่ียประจาภาคเรียนและค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมให้คิด เปน็ เลขทศนยิ ม 2 ตาแหนง่ โดยไมป่ ัดเศษ 12.1 กรณีสอบตกรายวิชาบังคับและต้องเรียนซ้า ให้นับรวมหน่วยกิตที่สอบตกเป็น ตวั หารด้วย 12.2 กรณีท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาซ้ากับรายวิชาท่ีสอบได้แล้ว หรือเรียน รายวิชาที่เป็นวิชาเทียบเท่าตามท่ีหลักสูตรกาหนดให้นับหน่วยกิตและค่าระดับคะแนนเฉพาะวิชาท่ี ลงทะเบียนครัง้ แรกเท่านน้ั ข้อ 13. นักศึกษาในระบบเข้าช้ันเรียนจะต้องสอบปลายภาคเรียนตามท่ี มหาวิทยาลัย กาหนด นักศึกษาที่มีสิทธิสอบปลายภาคเรียนต้องมีเวลาเข้าช้ันเรียนในรายวิชานั้น ไม่น้อยกว่าร้อย ละ 80 ของเวลาเรียนท้งั หมด หรือนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 แต่ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 และคณะกรรมการท่ี มหาวิทยาลัยแตง่ ต้งั พจิ ารณาเหน็ สมควรยกเวน้ ให้มสี ิทธิสอบปลายภาคเรยี นได้
ข้อ 14. นักศึกษาท่ีไม่ได้สอบปลายภาคเรียน ด้วยเหตุท่ีไม่มีสิทธิสอบเนื่องจากมีเวลาเข้าช้ัน เรียนไม่ถงึ รอ้ ยละ 60 ของเวลาเรียนทั้งหมด และไมไ่ ดร้ บั ยกเว้นใหม้ สี ิทธิสอบปลายภาคตามทก่ี าหนด ในข้อ 13. วรรคท้าย ใหอ้ าจารย์ผสู้ อนพจิ ารณาบนั ทึกผลการประเมินเปน็ “E” หรือ “F” แลว้ แตก่ รณี ข้อ 15. นักศึกษาท่ีมีสิทธิสอบปลายภาคเรียนแต่ขาดสอบ ให้อาจารย์ผู้สอนบันทึกผลการ ประเมินรายวิชาน้ันเป็น “E” หรือ “F” แล้วแต่กรณี เว้นแต่ขาดสอบเนื่องจากมีเหตุจาเป็นอื่นที่เป็น เหตุสุดวิสัยอย่างย่ิง และได้ย่นื คารอ้ งต่องานทะเบยี นและประมวลผล ขอสอบในรายวชิ าที่ขาดสอบน้ัน ภายใน 15 วันนบั แตว่ นั เปิดภาคเรียนของภาคเรยี นถัดไป กรณีนี้ให้คณะกรรมการท่ีมหาวิทยาลัยแต่งต้ังพิจารณาอนุญาตตามความเหมาะสม และให้อาจารย์ผ้สู อน หรืออาจารย์ท่ีเป็นประธานโปรแกรมวิชาน้นั ทาการสอบให้ในภาคเรียนท่ีถัดไป น้นั ได้ และใหบ้ ันทึกผลการประเมนิ รายวิชานนั้ ตามค่าระดับคะแนนในการสอบน้ันได้ ข้อ 16. ผู้สาเร็จการศึกษาตามหลกั สตู ร ต้องมีคณุ สมบัติครบถว้ นทกุ ข้อ ดังน้ี 16.1 มคี วามประพฤตดิ ี มีคุณธรรม 16.2 สอบได้รายวิชาต่าง ๆ ครบตามหลักสูตร รวมทั้งรายวิชาท่ีหลักสูตรหรือสภา มหาวทิ ยาลัยกาหนดให้เรียนเพม่ิ 16.3 ไดค้ า่ คะแนนเฉล่ียสะสม ไม่ตา่ กว่า 2.00 16.4 สาหรับนักศึกษาภาคปกติ มีเวลาเรียนไม่ต่ากว่า 4 ภาคเรียน และมีสภาพการ เปน็ นักศกึ ษาไมเ่ กิน 8 ภาคเรยี นปกตติ ดิ ตอ่ กนั ในกรณีท่ีเรียนหลักสตู ร 2 ปี ไมต่ ่ากวา่ 5 ภาค เรยี น และมสี ภาพการเป็นนักศกึ ษาไมเ่ กิน 12 ภาคเรียนปกติติดต่อกนั ในกรณีทีเ่ รยี น หลักสูตร 3 ปี และไม่ต่ากว่า 6 ภาคเรียนปกติ และมีสภาพการเป็นนักศึกษาไม่เกิน 16 ภาคเรียนปกติติดต่อกัน ในกรณีท่ีเรียนหลักสูตร 4 ปี และไม่ต่ากว่า 8 ภาคเรียน และมีสภาพการเป็น นักศึกษาไม่เกิน 20 ภาคเรียนปกตติ ิดต่อกนั ในกรณที เี่ รียนหลกั สูตร 5 ปี 16.5 สาหรบั นักศึกษาภาคพิเศษ มเี วลาเรียนไม่ต่ากว่า 6 ภาคเรียนและมีสภาพเป็น นักศึกษาไม่เกิน 5 ปี กรณีเรียนหลักสูตร 2 ปี และไม่ต่ากว่า 9 ภาคเรียน และมีสภาพการเป็น นักศึกษาไม่เกิน 7 ปี ในกรณีท่ีเรียนหลักสูตร 3 ปี และไม่ต่ากว่า 12 ภาคเรียน และมีสภาพการ เป็นนักศึกษาไมเ่ กิน 9 ปี กรณที ี่เรยี นหลักสูตร 4 ปี และไมต่ า่ กวา่ 15 ภาคเรยี นและไม่เกิน 11 ปี กรณีที่เรยี นหลักสตู ร 5 ปี ข้อ 17. การพน้ สภาพการเปน็ นักศึกษา 17.1 นักศึกษาภาคปกติ พ้นสภาพการเป็นนักศึกษาตามเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ผลการประเมนิ ไดค้ า่ ระดับคะแนนเฉลีย่ สะสมตา่ กว่า 1.60 เมอ่ื ส้ินภาคเรียน ปกติ ภาคเรียนที่ 2 นบั ตั้งแต่เรม่ิ เขา้ เรียน (2) ผลการประเมนิ ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตา่ กว่า 1.80 ในภาคเรียนปกติท่ี 4 ท่ี 6 ที่ 8 ที่ 10 ที่ 12 ท่ี 14 และท่ี 16 นบั ตงั้ แต่เร่มิ เขา้ เรียน (3) ลงทะเบียนเรียนและเรียนครบตามที่หลักสูตรกาหนดแล้ว แต่ยังได้ค่าระดับ คะแนนเฉล่ยี สะสมตา่ กว่า 1.80 (4) มีสภาพเป็นนักศึกษาครบ 8 ภาคเรียนปกติติดต่อกันในกรณีเรียนหลักสูตร 2 ปี ครบ 12 ภาคเรียนปกติติดต่อกันในกรณีเรียนหลักสูตร 3 ปี และครบ 16 ภาคเรียน ปกติ
ติดตอ่ กัน ในกรณที ี่เรียนหลักสูตร 4 ปี ครบ 20 ภาคเรียนปกตติ ิดตอ่ กันในกรณีเรียนหลกั สตู ร 5 ปี และขาดคุณสมบตั ติ ามขอ้ 16.2 และ 16.3 ในการเป็นผ้สู าเรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตร (5) ไม่ผ่านการประเมินรายในวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หรือการฝึก ประสบการณว์ ิชาชพี เป็นครั้งที่ 2 17.2 นักศึกษาภาคพิเศษจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาเม่ือผลการประเมินได้ค่า ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต่ากว่า 1.80 เมื่อส้ินภาคเรียนท่ี 4 นับต้ังแต่เร่ิมเข้าเรียนกรณีหลักสูตร 2 ปี ส้ินภาคเรียนที่ 6 นับต้ังแต่เร่ิมเข้าเรียนกรณีหลักสูตร 3 ปี และเมื่อส้ินภาคเรียนที่ 7 นับต้ังแต่เริ่มเข้าเรียน กรณีหลักสูตร 4 ปี ส้ินภาคเรียนท่ี 8 นบั ต้ังแต่เริ่มเข้าเรียนกรณีหลักสูตร 5 ปี หรือนักศึกษาลงทะเบียนเรียนครบตามท่ีหลักสูตรกาหนดแต่ยังได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 1.80 หรือไม่ผ่านการประเมินในรายวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หรือการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพเป็นครง้ั ท่ี 2 ข้อ 18 เม่ือนักศึกษาเรียนได้จานวนหน่วยกิตครบตามท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรแล้ว ถ้าได้ค่า ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต้ังแต่ 1.80 แต่ไม่ถึง 2.00 ให้เลือกเรียนรายวิชาเพ่ิมเติม เพื่อทาค่าระดับ คะแนนเฉลีย่ สะสมได้ถึง 2.00 ท้งั น้ี ต้องอยใู่ นระยะเวลาที่กาหนดไว้ในข้อ 16 ดว้ ย ขอ้ 19. นักศึกษาทที่ ุจริต หรอื ร่วมทุจริตในการสอบรายวิชาใด ให้มหาวทิ ยาลัยพิจารณาโทษ ตามควรแกก่ รณีดงั นี้ 19.1 ใหส้ อบตกในรายวิชานนั้ และพักการเรยี นในภาคเรียนถัดไป หรือ 19.2 ใหส้ อบตกทกุ รายวชิ าในภาคเรยี นนัน้ หรือ 19.3 ใหพ้ ้นสภาพการเป็นนักศึกษา ข้อ 20. ผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ท่ีจะได้รับเกียรตินิยม ต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน ดังตอ่ ไปนี้ 20.1 ปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปีและ 5 ปี ให้ได้รับเกียรตินิยมอันดับหน่ึง เม่ือ เรียนครบหลักสูตรแล้วได้ค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไม่น้อยกว่า 3.60 และ สาหรับผู้ที่ได้ค่าระดับ คะแนนเฉล่ียสะสมไมถ่ ึง3.60 แตไ่ ม่น้อยกว่า 3.25 ใหไ้ ด้รับเกยี รตินยิ มอันดบั สอง สาหรับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา) สอบได้ค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมระดับ อนุปริญญาหรือเทียบเท่าจากสถานศึกษาเดิมไม่น้อยกว่า 3.60 และเรียนครบตามหลักสูตรได้ค่า ระดบั คะแนนเฉล่ียสะสมจากการศึกษาในมหาวิทยาลัย ไมน่ ้อยกวา่ 3.60 ใหไ้ ด้รบั เกียรตินิยมอันดับ หนึ่ง ส่วนผู้ที่ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมท้ังจากสถานศึกษาเดิมและจากมหาวิทยาลัยไม่ถึง 3.60 แตไ่ ม่นอ้ ยกว่า 3.25 ให้ไดเ้ กียรตินิยมอันดบั สอง 20.2 สอบได้ในรายวิชาใด ๆ ไม่ต่ากว่า “C” ตามระบบค่าระดับคะแนน หรือไม่ได้ “F” ตามระบบไม่มคี ่าระดับคะแนน สาหรบั ผู้สาเรจ็ การศึกษาระดับปริญญาตรี (หลังอนปุ ริญญา) จะ พิจารณาผลการเรียนในระดบั อนุปรญิ ญาหรือเทยี บเท่า เช่นเดียวกัน 20.3 นกั ศกึ ษาภาคปกติ มเี วลาเรยี นไมเ่ กนิ 4 ภาคเรยี นปกติ สาหรับหลกั สูตร 2 ปี ไม่เกิน 6 ภาคเรียนปกติ สาหรับหลักสตู ร 3 ปี ไม่เกิน 8 ภาคเรียนปกติ สาหรับหลกั สูตร 4 ปี และ ไมเ่ กนิ 10 ภาคเรยี นปกติ สาหรบั หลกั สตู ร 5 ปี นกั ศึกษาภาคพิเศษมเี วลาเรียนไมเ่ กิน 8 ภาคเรยี น สาหรับหลักสูตร 2 ปี ไม่เกิน 11 ภาคเรียนปกติ สาหรับหลักสูตร 3 ปี ไม่เกิน 14 ภาคเรียน สาหรับหลักสูตร 4 ปี และไม่เกิน 17 ภาคเรียนปกติ สาหรบั หลักสตู ร 5 ปี
ขอ้ 21. การนับกาหนดวันสน้ิ สุดภาคเรยี น ให้ยึดถือวันที่มหาวิทยาลัยกาหนด เป็นวันสุดท้าย ของการสอบปลายภาคเรยี น ขอ้ 22. ให้คณะกรรมการทส่ี ภาแต่งต้งั เป็นผู้อนุมัติการประเมินผลการศึกษา ขอ้ 23. ให้อธิการบดเี ปน็ ผู้รักษาการใหเ้ ป็นไปตามข้อบังคับน้ี และเปน็ ผ้วู ินิจฉัยชข้ี าดในกรณี เกดิ ปัญหาจากการใช้ขอ้ บงั คบั นี้ การวนิ จิ ฉยั ชี้ขาดถอื เปน็ อันส้ินสุด ประกาศ ณ วันที่ 21 ธนั วาคม พ.ศ.2548 (ศาสตราจารยเ์ กษม จนั ทรแ์ กว้ ) นายกสภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร
ระเบยี บมหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร วา่ ดว้ ยการโอนผลการเรียนและการยกเว้นการเรียนรายวิชา ระดบั อนุปรญิ ญาและปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2550 ---------------------------------------- โดยท่ีเป็นการสมควรที่จะให้มีระเบียบว่าด้วยการโอนผลการเรียนและการยกเว้นการเรียน รายวิชาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร เพื่ออานวย ประโยชน์ให้แก่นักศึกษาของมหาวิยาลัยอาศัยอานาจตามความในมาตรา 18(2) แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ออกระเบียบว่าด้วยการโอนผลการเรียนและการยกเว้นการเรียน รายวชิ าไวด้ งั น้ี ข้อ 1 ระเบยี บนเ้ี รียกว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ว่าด้วยการโอนผลการ เรยี น และการยกเว้นการเรียนรายวชิ าระดบั อนปุ ริญญาและปริญญาตรี พ.ศ. 2550” ข้อ 2 ให้ใช้ระเบียบน้ี ตั้งแตว่ นั ถัดจากวันประกาศ เป็นตน้ ไป บรรดาระเบียบ คาสั่ง หรือข้อบังคับอ่ืนใดที่เกี่ยวกับการโอนผลการเรียนและการ ยกเว้นการเรียนรายวิชา ซึ่งได้กาหนดไว้แล้วในระเบียบน้ี หรือที่ขัดหรือแย้งกับระเบียบน้ี ให้ใช้ ระเบียบนี้แทน ข้อ 3 ในระเบียบน้ี “มหาวิทยาลัย” หมายความวา่ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร “อธิการบดี” หมายความว่า อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร “นักศึกษา” หมายความว่า ผู้ทศ่ี กึ ษาตามหลกั สตู รของมหาวิทยาลยั ในระดับทไ่ี มต่ ่า กว่าอนุปริญญา และให้หมายความรวมถึงผู้ท่ีศึกษาอบรมตามโครงการอ่ืน ท่ีใช้หลักสูตรของ มหาวิทยาลัย “สถาบันอุดมศึกษา” หมายความวา่ สถาบันการศกึ ษาที่มีการจัดการเรียน การสอน ในระดับหลังมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรไม่ต่ากว่าระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่า ที่ คณะกรรมการการอุดมศึกษารบั รอง “การศึกษาโดยระบบอ่ืน” หมายความว่า การศึกษานอกระบบ การศึกษาตาม อัธยาศยั การฝึกอาชพี และใหร้ วมถึงประสบการณจ์ ากการทางานดว้ ย “การโอนผลการเรียน” หมายความว่า การนาหน่วยกิตและค่าระดบั คะแนนของทุก รายวชิ าทเี่ คยศกึ ษาจากหลกั สตู รมหาวิทยาลยั มาใช้ โดยไม่ตอ้ งศึกษารายวิชานัน้ อีก “การยกเว้นการเรียนรายวิชา” หมายความว่า การยกเว้นให้นักศึกษาไม่ต้องเรียน รายวิชาใดวิชาหนึ่งที่หลักสูตรของมหาวิทยาลัยกาหนด โดยนาหน่วยกิตและผลการศึกษาในรายวิชา ใดๆ ตามหลักสูตรระดับเดียวกันของมหาวิทยาลัย มาใช้แทน ทั้งนี้ให้รวมถึงการนาผลการศึกษาและ หน่วยกติ
ของรายวิชาตามหลักสูตรในระดับเดียวกันจากสถาบันอุดมศึกษาอ่ืน และผลการศึกษาท่ีได้รับจาก การศึกษาโดยระบบอื่น ท่ีมีเน้ือหาสาระความยากง่ายเทียบได้ไม่น้อยกว่าสามในส่ีของเน้ือหาใน รายวชิ าตามหลักสูตรของมหาวทิ ยาลยั ทขี่ อยกเวน้ การเรยี น ข้อ 4 ผลการเรียน รายวิชาท่ีจะนามา ใช้ในการ โอนผลการเรียน หรือยกเว้นการเรียน รายวิชาต้องเป็นผลการเรียนท่ีนักศึกษาได้รับมาแล้วไม่เกิน 10 ปี นับจากวันสาเร็จการศึกษา หรือ ภาคเรียนสุดท้ายที่ได้รับผลการเรียน หรือ วันสุดท้าย ของการศกึ ษาโดยระบบอื่นท่ีไดร้ ับผลการเรียน นัน้ แลว้ แต่กรณี จนถึงวนั ที่เข้าศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั กรณีท่ีผลการเรียนรายวิชาที่นามาขอโอน หรือยกเว้นการเรียนรายวิชามีอายุเกินกว่าท่ี กาหนดในวรรคต้น ผู้ขอโอนหรือยกเว้นการเรียนรายวิชาอาจขอให้อาจารย์ประจาหลักสูตรของ รายวชิ าทีจ่ ะนามาขอโอนหรอื ยกเว้นการเรยี นรายวชิ า ทาการสอบประเมินความรู้ และนาผลการสอบ ประเมนิ ความรทู้ ่ผี า่ นเกณฑ์มาขอโอนหรอื ยกเวน้ การเรียนรายวชิ าได้ ขอ้ 5 ผูม้ ีสทิ ธไิ์ ดร้ ับโอนผลการเรยี นตอ้ งมีคุณสมบัตขิ อ้ ใดข้อหนง่ึ ดังต่อไปนี้ (1) เป็นนักศึกษาในระดับอนุปริญญาหรือปริญญาตรี แล้วแต่กรณีท่ีเคยศึกษาใน มหาวิทยาลยั และพ้นสภาพนักศกึ ษาไปโดยไมส่ าเรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตรท่ีศึกษา (2) เป็นนักศึกษาที่ ย้ายสถานศกึ ษามาจากมหาวิทยาลัยราชภฏั อ่ืน (3) เป็นนักศึกษาท่ีเปลี่ยนสภาพ จากนักศึกษาภาคปกติเป็นนักศึกษาตามโครงการ อื่นท่ีใช้หลักสูตรมหาวิทยาลัย หรือจากนักศึกษาตามโครงการอื่นท่ีใช้หลักสูตรมหาวิทยาลัยเป็น นักศึกษาภาคปกติ (4) เป็นนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี ทส่ี าเร็จการศึกษาระดับอนปุ รญิ ญาจาก มหาวิทยาลยั ขอ้ 6 การโอนผลการเรียนต้องอย่ภู ายใต้เงือ่ นไขตอ่ ไปนี้ (1) นักศึกษาท่ีขอโอนผลการเรียน ตอ้ งมีสภาพการเป็นนกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลยั (2) นักศึกษาท่ีขอโอนผลการเรียน ต้องไม่เคยถูกสั่งให้ออกจากมหาวิทยาลัยตาม ระเบียบมหาวิทยาลยั วา่ ดว้ ยการประเมนิ ผลการศกึ ษา (3) การโอนผลการเรยี นตอ้ งโอนท้งั หมดทกุ รายวชิ าท่ีเคยศึกษามา โดยไม่จากัด จานวนหนว่ ยกิตท่ขี อโอน (4) ผลการเรียนรายวชิ าท่ีจะนามาใช้เทียบโอนจะต้องอยู่ภายในระยะเวลาที่กาหนด ใน ขอ้ 4 ของระเบียบนี้ การโอนผลการเรยี น ไม่เป็นเหตใุ หเ้ สยี สิทธิ์ทจ่ี ะได้รับปริญญาเกยี รตนิ ิยม ขอ้ 7 ผูม้ สี ทิ ธ์ไิ ด้รับการยกเว้นการเรียนรายวชิ าต้องมีคณุ สมบัตขิ ้อใดข้อหน่งึ ดังตอ่ ไปนี้ (1) เป็นนักศกึ ษาทส่ี าเรจ็ การศึกษา หรือ เคยศึกษาจากมหาวิทยาลัย (2) เป็นนกั ศกึ ษาที่ สาเร็จการศึกษาหรอื เคยศกึ ษามาจากสถาบันอดุ มศกึ ษาอ่ืน (3) เป็นนักศึกษาที่ ผ่านการศึกษาอบรมในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งตามหลักสูตร มหาวิทยาลัย (4) เป็นนกั ศกึ ษาที่ไดศ้ ึกษาจากการศึกษาโดยระบบอื่น ผู้มีสิทธ์ิยกเว้นตาม (3) และ (4) ต้องมีความรู้พื้นฐานระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ เทยี บเทา่
การศึกษาอบรมตามกรณีใน(3) และการศึกษาโดยระบบอ่ืนตาม(4) ท่ีนาผลการเรียนมาขอ ยกเว้นการเรียนรายวิชา จะต้องเป็นการอบรมหรือการศึกษาโดยระบบอื่นท่ีจัดขึ้น สาหรับผู้มีความรู้ พืน้ ฐานระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ข้อ 8 การยกเวน้ การเรยี นรายวิชา ตอ้ งอยภู่ ายใต้เงอ่ื นไขต่อไปน้ี (1) รายวิชาที่นามาขอยกเว้นรายวิชา ต้องเป็นรายวิชาท่ีได้รับคะแนนไม่ต่ากว่า C (2) การนาผลการเรียนจากการศึกษาโดยระบบอ่ืนมาขอยกเว้นการเรียน รายวิชา ให้ใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัย ซ่ึงประเมินตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีมหาวิทยาลัย กาหนด โดยความเห็นชอบของสภามหาวทิ ยาลัย (3) สาหรับนักศึกษาท่ีศึกษาตามหลักสูตร พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป ให้ยกเว้นการ เรียนรายวิชาในหมวดวิชาการศึกษาท่ัวไปจานวน 16 หน่วยกิต สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาในระดับ อนปุ รญิ ญาหรือเทียบเท่า ทีเ่ ขา้ ศึกษาในระดบั ปริญญาตรี (ตอ่ เน่ือง) โดยไมต่ ้องนาเง่ือนไขข้อ 4 และ ข้อ 8 (1) มาใช้บังคบั (4) ให้ยกเว้นการเรียนรายวิชาในหมวดวิชาการศึกษาท่ัวไปทั้งหมด สาหรับผู้สาเร็จ การศึกษาในระดบั ปริญญาตรีมาแลว้ และเข้าศึกษาในระดับอนปุ รญิ ญาหรือปรญิ ญาตรีในอีก วิชาเอก หน่ึง โดยไมต่ ้องนาเงอ่ื นไขขอ้ 4 และข้อ 8 (1) มาใช้บงั คับ (5) จานวนหน่วยกิตที่ได้รับการยกเว้นรายวิชา รวมแล้วต้องไม่เกินสองในสามของ หน่วยกิตรวมข้นั ตา่ ทกี่ าหนดไวใ้ นหลกั สตู รของมหาวิทยาลยั (6) ผู้ได้รับการยกเว้นการเรียนรายวิชาในทุกกรณี ต้องมีเวลาศึกษาอยู่ใน มหาวิทยาลยั ไมน่ ้อยกว่า 1 ปีการศกึ ษา (7) รายวิชาที่ไดร้ ับการยกเวน้ การเรียนรายวชิ า ใหบ้ ันทึกไวใ้ นระเบยี นการเรียนของ นักศึกษาโดยใช้อักษรย่อ “P” ในช่องระดับคะแนน สาหรับรายวิชาที่ได้รับการยกเว้นการเรียน รายวิชาตามข้อ 8(3) และ (4) ให้นับหน่วยกิตหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปรวมในเกณฑก์ ารสาเรจ็ การศึกษา โดยไม่ต้องบนั ทกึ ผลการเรียนเป็นรายวิชา ข้อ 9 นักศกึ ษาท่ีจะขอโอนผลการเรียนและยกเวน้ การเรียนรายวชิ า ต้องดาเนินการให้เสร็จ ส้ินภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกาหนด ข้อ 10 การนับจานวนภาคเรียนของนักศึกษาที่ได้รับโอนผลการเรียน หรือยกเว้นการเรียน รายวชิ า ให้ถือเกณฑ์ดงั นี้ (1) สาหรับนักศึกษาท่ีใชผ้ ลการศึกษาจากการศึกษาตามหลกั สูตรในระบบปกติของ มหาวิทยาลัย หรอื สถาบันอดุ มศึกษาอ่ืน ใหน้ บั ผลการเรียนจานวน 22 หน่วยกติ เปน็ หน่ึงภาคเรียน (2) สาหรับนักศึกษาที่ใช้ผลการศึกษาจากการศึกษาตามโครงการอื่นท่ีใช้หลักสูตร ของมหาวิทยาลัย และผลการเรียนจากการศึกษาโดยระบบอ่ืน ให้นับผลการเรียนจานวน 12 หน่วย กติ เปน็ หนง่ึ ภาคเรยี น (3) การโอนผลการเรียนของนักศึกษาตามกรณีในข้อ 5(1) ให้นับเฉพาะภาคเรียนที่ เคยศึกษาและได้รับผลการเรยี น สาหรับนักศกึ ษาตามกรณีในขอ้ 5(2), (3) และ (4) ใหน้ ับจานวนภาค เรียนตอ่ เน่อื งกนั
ขอ้ 11 การโอนผลการเรียน และการยกเวน้ การเรียนรายวิชา ต้องชาระค่าธรรมเนียมตามท่ี มหาวทิ ยาลัยกาหนดโดยความเห็นชอบของสภา ข้อ 12 ให้คณะกรรมการท่ีอธิการบดีแต่งต้ัง เป็นผู้มีอานาจพิจารณาอนุมัติการโอนผลการ เรียน หรอื การยกเวน้ การเรียนรายวชิ า ขอ้ 13 นักศึกษาที่ได้รับยกการเวน้ การเรียนรายวิชา ไม่มีสทิ ธิไ์ ด้รับปรญิ ญาเกยี รตินิยม ข้อ 14 ให้อธิกาบดีเป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี และให้มีอานาจตีความ และ วนิ ิจฉยั ชี้ขาดในกรณที ่มี ปี ญั หาจากการปฏบิ ัตติ ามระเบยี บนี้ การวนิ จิ ฉัยช้ขี าดถือเป็นอนั สนิ้ สดุ ประกาศ ณ วนั ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2550 (ศาสตราจารยเ์ กษม จนั ทรแ์ ก้ว) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
คำส่ังมหำวิทยำลัยรำชภฏั กำแพงเพชร ท่ี ๒๖๑๔/๒๕๖๑ เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมกำรพฒั นำหลกั สูตรครศุ ำสตรบัณฑติ (๔ ปี) ------------------------------------------------------------------------- เพ่ือให้การปรับปรงุ และพฒั นาหลักสูตรครุศาสตรบณั ฑิต (๔ ปี) ของคณะครุศาสตร์ ดาเนินไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๑ แห่ง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร จึงแต่งตั้ง คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (๔ ปี) โดยมีหน้าที่ยกร่างหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับ มาตรฐานคุรุสภาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ดังมีรายนามต่อไปน้ี ดังมี รายนามตอ่ ไปนี้ ๑. กลุ่มวิชำชพี ครแู ละศึกษำท่ัวไป ผทู้ รงคณุ วฒุ ิภำยใน รองศาสตราจารย์ ดร.วชริ ะ วิชชุวรนนั ท์ รองศาสตราจารย์ ดร.บัณฑติ ฉตั รวโิ รจน์ ผู้ทรงคุณวุฒิภำยนอก รองศาสตราจารย์ ดร.ธานี เกสทอง ผูช้ ว่ ยศาตราจารย์ ดร.ทปี พิพฒั น์ สนั ตะวนั ผแู้ ทนองค์กรวิชำชีพ ดร.บรู พาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ๒. สำขำวชิ ำกำรศึกษำปฐมวัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วไลพร เมฆไตรรตั น์ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พัชรา พมุ่ พชาติ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ผชู้ ่วยศาสตราจารยพ์ ทั ธนันท์ วงษว์ ิชยตุ ม์ อาจารย์ประจาหลักสตู ร อาจารย์อรทัย บุญเทย่ี ง อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.บรู พาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ผูแ้ ทนองค์กรวิชาชีพ ๓. สำขำวิชำวิทยำศำสตร์ทั่วไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประกรณ์ เลิศสวุ รรณไพศาล ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศุภนชิ เจรญิ สขุ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ อาจารยไ์ ตรรงค์ เปล่ียนแสง อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.มณฑา หมีไพรพฤกษ์ อาจารย์ประจาหลักสตู ร ดร.บรู พาทิศ พลอยสุวรรณ์ ผู้แทนองค์กรวชิ าชพี ๔. สำขำวชิ ำคณิตศำสตร์ ดร.นพดล ทุมเชื่อ ผู้ทรงคุณวุฒิ
ดร.กาญจนา เวชบรรพต ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ รองศาสตราจารย์ ดร.ยภุ าดี ปณะราช อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารยอ์ ุไรวรรณ ปานทโชติ อาจารย์ประจาหลักสตู ร ดร.บรู พาทศิ พลอยสุวรรณ์ ผ้แู ทนองค์กรวชิ าชพี ๕. สำขำวิชำภำษำองั กฤษ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สธุ าทพิ ย์ งามนลิ ผู้ทรงคณุ วุฒิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา ศรีเรอื งฤทธ์ิ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ รองศาสตราจารย์ ดร.บณั ฑิต ฉัตรวิโรจน์ อาจารย์ประจาหลักสูตร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยอ์ นุสษิ ฐ์ พันธ์กลา่ อาจารย์ประจาหลักสูตร ดร.บรู พาทิศ พลอยสวุ รรณ์ ผู้แทนองคก์ รวชิ าชีพ ๖. สำขำวชิ ำสังคมศึกษำ ผู้ชว่ ยศาสตรจารย์ ดร.เยาวเรศ ภักดีจติ ร ผทู้ รงคณุ วุฒิ ดร.อาภากร โพธด์ิ ง ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยช์ ูวทิ ย์ กมุทธภิไชย อาจารย์ประจาหลักสูตร ดร.วรพรรณ ขาวประทุม อาจารย์ประจาหลักสตู ร ดร.บูรพาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ผ้แู ทนองค์กรวชิ าชพี ๗. สำขำวิชำพลศึกษำ รองศาสตราจารย์ ดร.วาสนา คุณาอภสิ ทิ ธ์ิ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ อาจารย์สทุ ธกิ ร แก้วทอง ผทู้ รงคุณวฒุ ิ อาจารยน์ ติ ิพนั ธ์ บตุ รฉุย อาจารยป์ ระจาหลักสูตร อาจารยท์ วโิ รฒ ศรีแกว้ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ดร.บรู พาทิศ พลอยสุวรรณ์ ผแู้ ทนองคก์ รวชิ าชพี ๘. สำขำวิชำคอมพิวเตอร์ศกึ ษำ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จริ พงศ์ โกศลั วิตร์ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ดร.อรอนุตร ธรรมจกั ร ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ดร.ธิดารัตน์ ทวที รพั ย์ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารย์ศรนิ ญา หวาจ้อย อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ์ ผแู้ ทนองค์กรวชิ าชพี ๙. สำขำวชิ ำภำษำไทย นายสุนทร์ ชตาเรกิ ษ์ ผู้ทรงคณุ วุฒิ นางรชั ฎาภรณ์ โพธ์ิพฤกษ์ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยจ์ ริ ัฎฐ์ เพง็ แดง อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยอ์ มรา ศรแี กว้ อาจารย์ประจาหลักสูตร ดร.บูรพาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ผูแ้ ทนองคก์ รวิชาชพี ๑๐. สำขำวิชำภำษำจนี ผู้ชว่ ยศาสตราจารยจ์ ุไรรตั น์ โสภา ผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์กิตติญา ตุ้ยคา ผทู้ รงคุณวุฒิ อาจารยน์ นั ทวิ นั อนิ หาดกรวด อาจารย์ประจาหลักสตู ร
นางสาวนชุ จรยี ์ สแี กว้ อาจารย์ประจาหลักสูตร ดร.บูรพาทิศ พลอยสวุ รรณ์ ผู้แทนองค์กรวชิ าชีพ ๑๑. สำขำวิชำกำรประถมศึกษำ ดร.วลิ าวลั ย์ ดา้ นสริ สิ ุข ผทู้ รงคุณวุฒิ อาจารยเ์ กรยี งศักด์ิ ชยมั ภร ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาต เตชะ อาจารย์ประจาหลักสูตร อาจารยศ์ ริ โิ สภา แสนบุญเวช อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.บรู พาทศิ พลอยสุวรรณ์ ผ้แู ทนองค์กรวิชาชีพ ๑2. สำขำวิชำดนตรีศกึ ษำ แขนงดนตรีไทย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ อกพสทิ ธิ์ พชรกศุ ลพงษ์ ผู้ทรงคณุ วุฒิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วีระ พนั ธุเ์ สอื ผทู้ รงคุณวุฒิ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยช์ ชั ชยั พวกดี อาจารย์ประจาหลักสตู ร ดร.อัครพล ชเู ชิด อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.บรู พาทิศ พลอยสวุ รรณ์ ผแู้ ทนองคก์ รวชิ าชีพ แขนงดนตรสี ำกล รองศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ แสงทอง ผู้ทรงคณุ วุฒิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ เวชกามา ผู้ทรงคุณวฒุ ิ รองศาสตราจารย์กวี ครองแกว้ อาจารย์ประจาหลักสูตร อาจารยม์ ุฑติ า นาคเมอื ง อาจารย์ประจาหลักสูตร ดร.บูรพาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ผู้แทนองคก์ รวิชาชพี ๑3. สำขำวิชำเคมี รองศาสตราจารย์ ดร.วารรี ัตน์ แก้วอุไร ผทู้ รงคณุ วุฒิ ดร.พฒั นา ทรงประดษิ ฐ ผู้ทรงคณุ วุฒิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชญาดา กลิน่ จนั ทร์ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ดร.ศริ ประภา มีรอด อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.บรู พาทิศ พลอยสวุ รรณ์ ผแู้ ทนองค์กรวชิ าชีพ ๑4. สำขำวิชำบรรณำรกั ษศำสตรแ์ ละสำรสนเทศศำสตร์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์น้อย คันชา่ งทอง ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ อาจารยน์ าตยา ไทพาณิชย์ ผู้ทรงคณุ วุฒิ รองศาสตราจารยอ์ รุณลักษณ์ รัตนพันธ์ุ อาจารย์ประจาหลักสูตร อาจารยม์ ัลลกิ า ทองเอม อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.บูรพาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ผู้แทนองค์กรวชิ าชีพ
๑5. สำขำวิชำอุตสำหกรรมศลิ ป์ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฤดรี ตั น์ สนั ตะโก ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ นายมิตรชัย สมสาราญกลุ อาจารย์ประจาหลักสตู ร รอ้ งศาสตราจารยส์ ฤษณ์ พรมสายใจ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.สรุ เชษฐ์ ตมุ้ มี ผู้แทนองคก์ รวิชาชีพ ดร.บรู พาทิศ พลอยสุวรรณ์ สงั่ ณ วนั ท่ี ๒๘ ธนั วาคม 256๑ (รองศาสตราจารย์ ดร.สวุ ทิ ย์ วงษบ์ ุญมาก) อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร
คำสั่งมหำวิทยำลัยรำชภฏั กำแพงเพชร ที่ ๐๒๘๕/๒๕๖๒ เรอื่ ง แต่งต้งั คณะกรรมกำรวพิ ำกษ์หลกั สูตรครุศำสตรบัณฑิต (๔ ปี) ------------------------------------------------------------------------- เพื่อให้การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (๔ ปี) ขอคณะครุศาสตร์ ดาเนินไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๑ แห่ง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร จึงแต่งตั้ง คณะกรรมการวพิ ากษ์หลกั สตู รครุศาสตรบณั ฑติ (๔ ปี) ดงั มรี ายนามต่อไปนี้ ๑. กลุ่มวิชำชพี ครแู ละศึกษำทัว่ ไป ผทู้ รงคุณวุฒภิ ำยใน รองศาสตราจารย์ ดร.วชิระ วชิ ชุวรนนั ท์ รองศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต ฉตั รวิโรจน์ อำจำรย์ประจำสำขำหลักสูตรและกำรสอน รองศาสตราจารยธ์ งชัย ชอ่ พฤกษา ดร.ขวญั ชัย ขัวนา อำจำรยป์ ระจำสำขำบริหำรกำรศกึ ษำ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภมู พิ ิพัฒน์ รกั พรมงคล ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พฤฒฑิพล พฤฒฑิกุล ดร.ประจา ขวัญมัน่ อำจำรยป์ ระจำสำขำจติ วิทยำ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อังสุรยี ์ พนั ธแ์ กว้ อาจารยว์ ชิระ พิมพ์ทอง อาจารย์มนตรี หลินภู อำจำรย์ประจำสำขำวิจยั และกำรวัดผลประเมินผล ดร.สภุ าพร พงศ์ภญิ โญโอภาส ดร.จารนุ นั ท์ ขวัญแน่น อาจารยณ์ ัฐกานต์ ประจญั บาน อำจำรยป์ ระจำสำขำเทคโนโลยแี ละสำรสนเทศ อาจารยย์ ทุ ธนา พันธม์ ี ดร.ธิดารตั น์ ทวที รัพย์ ดร.วิวัฒน์ ทวที รัพย์ อาจารย์เฉลมิ ทองจอน ผูท้ รงคุณวุฒภิ ำยนอก รองศาสตราจารย์ ดร.ธานี เกสทอง ผชู้ ว่ ยศาตราจารย์ ดร.ทีปพพิ ฒั น์ สันตะวัน
ผแู้ ทนองคก์ รวิชำชีพ ดร.บูรพาทิศ พลอยสวุ รรณ์ ผู้ใช้บณั ฑิต ดร.ณัฐกรณ์ สารปรงั ศิษยเ์ ก่ำ ดร.สามารถ กมขุนทด ๒. สำขำวชิ ำกำรศกึ ษำปฐมวัย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วไลพร เมฆไตรรตั น์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชรา พุม่ พชาติ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ อาจารยจ์ ุฑาทิพย์ โอบอ้อม อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์พทั ธนันท์ วงษ์วชิ ยตุ ม์ อาจารย์ประจาหลักสูตร รองศาสตราจารยส์ ุณี บุญพทิ ักษ์ อาจารย์ประจาหลักสตู ร อาจารย์อรทยั บุญเทย่ี ง อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.บูรพาทศิ พลอยสุวรรณ์ ผ้แู ทนองคก์ รวิชาชีพ นางอนุศรา อดุ ทะ ผู้ใช้บัณฑติ นางสาวนารีรัตน์ อจั ฉริยะมณกี ุล ศษิ ยเ์ กา่ นางสาวเพ็ญพิชชา สวุ รรณประเสรฐิ ศิษย์ปัจจุบนั นางสาวพไิ ลพร สุภาพนั ธ์ ศิษย์ปัจจุบนั ๓. สำขำวชิ ำวิทยำศำสตร์ท่ัวไป ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประกรณ์ เลศิ สุวรรณไพศาล ผ้ทู รงคณุ วุฒิ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ นชิ เจรญิ สขุ ผู้ทรงคุณวุฒิ ดร.ไตรรงค์ เปล่ยี นแสง อาจารย์ประจาหลักสตู ร ดร.ปราณี เลิศแกว้ อาจารย์ประจาหลักสูตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดรณุ ี ขยั มงคล อาจารย์ประจาหลักสตู ร อาจารย์ศุภวัฒน์ วสิ ิฐศิริกุล อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ดร.มณฑา หมีไพรพฤกษ์ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารย์ธิดารตั น์ พรหมมา อาจารย์ประจาหลักสูตร ดร.บรู พาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ผู้แทนองคก์ รวิชาชีพ นางสาววิสากุล กองทองนอก ผใู้ ช้บณั ฑติ นายสทิ ธิกร ศรีโยธา ศษิ ยเ์ ก่า นางสาวธรรมลกั ษณ์ พ่มุ ใย ศิษยป์ จั จุบนั นางสาวอารียา โฉมหน่าย ศิษย์ปัจจุบัน ๔. สำขำวชิ ำคณติ ศำสตร์ ดร.นพดล ทุมเช่อื ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ดร.กาญจนา เวชบรรพต ผ้ทู รงคุณวุฒิ รองศาสตราจารย์ ดร.ยุภาดี ปณะราช อาจารย์ประจาหลักสตู ร อาจารยอ์ ุไรวรรณ ปานทโชติ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารย์เบญจวรรณ ชัยปลัด อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร
อาจารยจ์ ริ พงค์ พวงมาลัย อาจารย์ประจาหลักสตู ร อาจารย์โกมินทร์ บญุ ชู อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ดร.บรู พาทิศ พลอยสวุ รรณ์ ผแู้ ทนองคก์ รวชิ าชพี นางพรนภัส เรืองเวช ผใู้ ช้บัณฑิต นางภัคจริ า กิตตสิ ิริบณั ฑติ ศษิ ย์เก่า นางสาวศกลวรรณ อย่แู ก้ว ศษิ ยป์ ัจจบุ ัน ศษิ ย์ปจั จุบัน นางสาวนงลกั ษณ์ อาลัย ๕. สำขำวิชำภำษำองั กฤษ ผทู้ รงคณุ วุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สธุ าทพิ ย์ งามนิล อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา ศรเี รอื งฤทธิ์ อาจารย์ประจาหลักสตู ร รองศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต ฉตั รวิโรจน์ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยอ์ นุสษิ ฐ์ พนั ธก์ ลา่ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยช์ ลชลติ า กมทุ ธภิไชย ผู้แทนองค์กรวิชาชพี อาจารยธ์ ารณา สุวรรณเจริญ ผ้ใู ชบ้ ณั ฑิต ดร.บูรพาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ศิษยเ์ กา่ นางจรรยา บญุ เนรมิตร ศิษย์ปัจจบุ ัน นางสาวกนกวรรณ อนิ ทสูต ศษิ ยป์ จั จุบัน นายสารชิ ศรีระวัตร นางสาวปนัดดา สมั มะถะ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ๖. สำขำวิชำสังคมศกึ ษำ ผทู้ รงคุณวุฒิ ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.เยาวเรศ ภักดจี ิตร อาจารย์ประจาหลักสูตร ดร.อาภากร โพธด์ิ ง อาจารย์ประจาหลักสูตร ดร.วรพรรณ ขาวประทุม อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยช์ ูวทิ ย์ กมทุ ธภไิ ชย อาจารยป์ ระจาหลักสูตร อาจารย์เลเกยี เขียวดี อาจารยป์ ระจาหลักสูตร อาจารย์รัตตกิ าล โสภัคค์ศรกี ุล ผแู้ ทนองค์กรวิชาชีพ อาจารย์ศรวัส ศิริ ผใู้ ชบ้ ัณฑติ ดร.บรู พาทศิ พลอยสุวรรณ์ ศษิ ย์เก่า นางนสิ รา วงษ์บญุ มาก ศิษย์ปจั จบุ นั นายพลวัฒน์ แจง้ ดี ศษิ ย์ปัจจบุ นั นายปกรณ์ แสงกระจ่าง นายฤทธิชัย พลม่นั ผทู้ รงคุณวุฒิ ๗. สำขำวิชำพลศกึ ษำ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ รองศาสตราจารย์ ดร.วาสนา คณุ าอภิสิทธิ์ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารย์สุทธกิ ร แก้วทอง อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารยน์ ิตพิ ันธ์ บุตรฉุย อาจารย์ประจาหลักสตู ร อาจารยท์ วโิ รฒ ศรแี กว้ อาจารยภ์ มู ิสิทธิ์ สัจจหทยาศรม
อาจารยส์ พุ ล เพ็ชรบวั อาจารย์ประจาหลักสตู ร อาจารย์วัลลภ ทิพยส์ ุคนธ์ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารย์ลัดดาวัลย์ แกว้ ใส อาจารย์ประจาหลักสูตร ดร.บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ์ ผู้แทนองคก์ รวชิ าชพี นายกฤษณพงษ์ มานอ้ ย ผใู้ ช้บัณฑติ นายสพุ จน์ ยาดี ศิษยเ์ กา่ นายวีรชยั มธุรส ศิษย์ปัจจบุ นั นางสาวอังคณา ดษิ สวน ศิษยป์ จั จุบนั ๘. สำขำวิชำคอมพวิ เตอร์ศึกษำ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จิรพงศ์ โกศลั วติ ร์ ผู้ทรงคณุ วุฒิ ดร.อรอนตุ ร ธรรมจกั ร ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ดร.ธดิ ารัตน์ ทวีทรัพย์ อาจารย์ประจาหลักสตู ร ผู้ชว่ ยศาสตราจารยศ์ รินญา หวาจ้อย อาจารย์ประจาหลักสตู ร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ชยั รัตน์ บมุ ี อาจารย์ประจาหลักสตู ร ดร.ววิ ฒั น์ ทวีทรัพย์ อาจารย์ประจาหลักสูตร อาจารยเ์ ฉลิม ทองจอน อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารยเ์ มธี มธรุ ส อาจารย์ประจาหลักสตู ร ดร.บูรพาทศิ พลอยสุวรรณ์ ผู้แทนองคก์ รวชิ าชีพ นายสรุ ศักด์ิ โพธบิ ลั ลงั ค์ ผู้ใชบ้ ณั ฑติ นายสเุ ทพ สอนนลิ ศษิ ยเ์ ก่า ๙. สำขำวิชำภำษำไทย นายสุนทร์ ชตาเริกษ์ ผทู้ รงคณุ วุฒิ นางรัชฎาภรณ์ โพธ์พิ ฤกษ์ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์จิรฎั ฐ์ เพ็งแดง อาจารย์ประจาหลักสตู ร ผู้ชว่ ยศาสตราจารยอ์ มรา ศรีแกว้ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารย์มานพ ศรีเทียม อาจารย์ประจาหลักสตู ร อาจารย์ศภุ รดา สขุ ประเสริฐ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารย์กษมา สุรเดชา อาจารยป์ ระจาหลักสูตร อาจารย์รุง่ นภา บญุ ยม้ิ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.บรู พาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ผแู้ ทนองคก์ รวิชาชพี นายจาเนยี ร พมิ พ์แดง ผู้ใชบ้ ัณฑติ นายภกู ฤษ ศรคี าชอน ศษิ ยเ์ กา่ นายสรุ วธุ วาจูอนิ ศิษยป์ ัจจบุ ัน นายอนุพงษ์ คาทอง ศิษย์ปจั จบุ ัน ๑๐. สำขำวิชำภำษำจนี ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์จไุ รรตั น์ โสภา ผทู้ รงคุณวฒุ ิ อาจารย์กติ ติญา ต้ยุ คา ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ อาจารยน์ ันทิวนั อนิ หาดกรวด อาจารยป์ ระจาหลักสูตร
อาจารย์นชุ จรยี ์ สแี กว้ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารย์เสาวภา อนิ ทร์แก้ว อาจารย์ประจาหลักสูตร อาจารย์จริ ายุ วงษ์สุตา อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ดร.บรู พาทิศ พลอยสุวรรณ์ ผู้แทนองค์กรวชิ าชีพ นายบุญชยั กณั ตวิสิฐ ผ้ใู ชบ้ ัณฑิต นางสาวชลณพรรธษ์ ศรีเรงิ หล้า ศิษยเ์ กา่ นางสาวณฐั กานต์ มะปราง ศษิ ย์ปัจจบุ ัน ศิษยป์ ัจจุบัน นางสาววรศิ รา ศรสี ุวรรณ ๑๑. สำขำวิชำกำรประถมศกึ ษำ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ผทู้ รงคณุ วุฒิ ดร.วลิ าวัลย์ ด้านสริ ิสขุ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารยเ์ กรยี งศักด์ิ ชยัมภร อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บญุ ล้อม ดว้ งวิเศษ อาจารย์ประจาหลักสูตร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาต เตชะ ผแู้ ทนองคก์ รวชิ าชีพ อาจารยศ์ ิรโิ สภา แสนบุญเวช ผใู้ ชบ้ ัณฑิต ดร.บรู พาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ศิษยเ์ ก่า นางนวลนาฏ หนองเอยี่ น ศษิ ยป์ จั จุบนั นายไชยเชษฐ์ อ่านวล ศิษยป์ ัจจุบนั นางสาวภักจิราภรณ์ ยอดศรี นายวิทวัส ดอนสนั เทยี ะ ผทู้ รงคุณวุฒิ ๑๒. สำขำวิชำดนตรศี กึ ษำ ผู้ทรงคณุ วุฒิ แขนงดนตรีไทย อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ อกพสิทธ์ิ พชรกศุ ลพงษ์ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรี ะ พันธ์ุเสอื อาจารย์ประจาหลักสูตร ผู้ชว่ ยศาสตราจารยช์ ชั ชัย พวกดี ผ้แู ทนองคก์ รวชิ าชีพ ดร.อคั รพล ชูเชดิ ผู้ใช้บณั ฑติ อาจารยอ์ นุลกั ษณ์ อาสาสู้ ศิษยเ์ ก่า ดร.บูรพาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ศษิ ยป์ จั จุบนั นายฉวี แกว้ กลา้ ศษิ ย์ปจั จบุ นั นายณรงคฤ์ ทธิ์ เสาร์เจริญ นายกัมพล ศิริวรรณ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ นายสวุ ทิ ย์ โทนสงั ขอ์ ินทร์ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ แขนงดนตรสี ำกล อาจารย์ประจาหลักสตู ร รองศาสตราจารย์ ดร.สชุ าติ แสงทอง อาจารย์ประจาหลักสตู ร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ เวชกามา อาจารย์ประจาหลักสตู ร รองศาสตราจารยก์ วี ครองแก้ว ผแู้ ทนองคก์ รวิชาชีพ อาจารยม์ ฑุ ติ า นาคเมอื ง อาจารย์สธุ รี ชั ลิน จนั ทร์แยม้ ธรา ดร.บูรพาทิศ พลอยสวุ รรณ์
นายวนิ สัน ฝนั้ กาศ ผใู้ ชบ้ ัณฑิต นางศริ พิ ร อ่มิ สุขศรี ศษิ ยเ์ ก่า นายธนาวธุ แคน้อย ศษิ ย์ปจั จบุ ัน นายสมรักษ์ อ่าขวัญ ศษิ ยป์ จั จบุ ัน ๑๓. สำขำวิชำเคมี รองศาสตราจารย์ ดร.วารรี ัตน์ แกว้ อุไร ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ดร.พฒั นา ทรงประดษิ ฐ ผทู้ รงคุณวุฒิ รองศาสตราจารย์ ดร.ระมัด โชชัย อาจารย์ประจาหลักสตู ร รองศาสตราจารยพ์ รเพ็ญ โชชยั อาจารย์ประจาหลักสูตร ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชญาดา กล่ินจันทร์ อาจารย์ประจาหลักสูตร ดร.ศริ ประภา มีรอด อาจารยป์ ระจาหลักสูตร อาจารยศ์ กั ดิศ์ รี แสนยาเจริญกุล อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.บรู พาทศิ พลอยสุวรรณ์ ผ้แู ทนองคก์ รวชิ าชีพ นางสาวมาลัย ฟองน้ิว ผใู้ ชบ้ ัณฑติ นายวรพล แซว่ ้าน ศษิ ย์ปจั จุบนั นางสาววริศรา โมคลา ศิษยป์ จั จบุ นั ๑๔. สำขำวิชำบรรณำรักษศำสตร์และสำรสนเทศศำสตร์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์นอ้ ย คนั ชง่ั ทอง ผู้ทรงคณุ วุฒิ ศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา สจั จานันท์ ผทู้ รงคณุ วุฒิ รองศาสตราจารยอ์ รณุ ลักษณ์ รตั นพันธ์ุ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร รองศาตราจารย์ทวนทอง เชาวกรี ติพงศ์ อาจารย์ประจาหลักสูตร อาจารยม์ ลั ลิกา ทองเอม อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารย์นิวดี คลังสดี า อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารยน์ ารถนรี พอใจ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ดร.บรู พาทศิ พลอยสวุ รรณ์ ผู้แทนองคก์ รวิชาชพี นางนาตยา ไทพานชิ ย์ ผ้ใู ช้บณั ฑิต นางรพิชา มัตนามะ ศิษยเ์ กา่ นางสาวสกลสุภา มาพันธ์สุ ศษิ ย์ปัจจุบัน นางสาวรงุ่ ทวิ า ฉตั รชยั สุรยิ า ศิษย์ปัจจุบนั
๑๕. สำขำวิชำอตุ สำหกรรมศิลป์ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฤดรี ัตน์ สนั ตะโก ผูท้ รงคณุ วุฒิ นายมติ รชยั สมสาราญกลุ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร รองศาสตราจารย์สฤษณ์ พรมสายใจ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ผู้ชว่ ยศาสตราจารยพ์ ชิ ิต พจนพาที อาจารย์ประจาหลักสูตร ดร.สุรเชษฐ์ ตุ้มมี อาจารยป์ ระจาหลักสูตร อาจารย์เสาวลักษณ์ ยอดวิญญวงศ์ อาจารย์ประจาหลักสตู ร อาจารยส์ มโภชน์ วงเขียด ผู้แทนองค์กรวชิ าชพี ดร.บรพาทิศ พลอยสุวรรณ์ ผใู้ ช้บณั ฑิต นายพชร พมิ พ์วาปี ส่ัง ณ วันท่ี ๒๑ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ (รองศาสตราจารย์ ดร.สุวิทย์ วงษ์บุญมาก) อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร
ภาคผนวก ง ประวัติและผลงานทางวิชาการอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร
160 ชื่อ - นามสกลุ นายไตรรงค์ เปลี่ยนแสง ตาแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์ 1. ประวตั ิการศึกษา สถาบนั ทสี่ าเร็จ ปที ่สี าเรจ็ มหาวิทยาลยั ราชภัฎพิบลู สงคราม 2561 คณุ วุฒิ/สาขาวชิ า มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2550 ปร.ด. (วทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา) มหาวิทยาลยั ราชภัฎพิบูลสงคราม 2548 วท.ม. (การจัดการทรัพยากร) ค.บ. (วิทยาศาสตรท์ ่ัวไป) 2. ผลงานทางวิชาการ 5 ปี ย้อนหลัง ตารา/หนังสือ ไตรรงค์ เปลย่ี นแสง. (2560). พฤตกิ รรมการสอนวิชาวิทยาศาสตรร์ ะดบั มธั ยมศึกษา. กาแพงเพชร : มหาวิทยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร. จานวน 685 หน้า บทความวจิ ยั ที่นาเสนอในการประชุมวชิ าการ ไตรรงค์ เปลย่ี นแสงและคณะ. (2561). การพฒั นาและประยกุ ตใ์ ช้เทคนิคการตรวจสอบแคลเซียม ในตัวอย่างนา้ แร่. รายงานสืบเนอื่ งจากการประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครั้งท่ี 5 ณ มหาวิทยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร. 21 ธนั วาคม 2561. หนา้ 164 ไตรรงค์ เปลย่ี นแสงและคณะ. (2561). การพัฒนาและประยุกตใ์ ชเ้ ทคนิคการตรวจสอบเหลก็ ใน ตวั อยา่ งน้าแร่. รายงานสบื เน่อื งจากการประชุมวชิ าการระดับชาติ ครั้งท่ี 5 ณ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร. 21 ธันวาคม 2561. หน้า 171 ไตรรงค์ เปลย่ี นแสงและคณะ. (2561). การพัฒนาและประยุกตใ์ ชเ้ ทคนคิ การตรวจสอบสงั กะสใี น ตวั อย่างน้าแร่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งท่ี 5 ณ มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร. 21 ธนั วาคม 2561. หน้า 172 ไตรรงค์ เปลี่ยนแสง. (2561). การตรวจสอบสารฟอรม์ าลนี โดยใช้อุปกรณข์ องไหลจุลภาคแบบ กระดาษ. รายงานสืบเน่อื งจากการประชมุ วชิ าการ “ครุศาสตร์ศึกษา” คร้ังท่ี 1 ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร. 29 มนี าคม 2561. หนา้ 883 ไตรรงค์เปลีย่ นแสง, ธนสาร เพ็งพุ่มและอนงค์ ศรโี สภา. (2560). การพัฒนาชดุ ปฏบิ ตั ิการเรื่องการ ทดสอบกรด-เบสโดยใช้หลกั การของไหลจุลภาคแบบกระดาษ. รายงานสืบเนื่องจากการ ประชุมวชิ าการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. 22 ธนั วาคม 2560. หนา้ 161 ไตรรงค์ เปล่ียนแสง. (2558). การศกึ ษาปัญหาการสอนวชิ าวิทยาศาสตร์ระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน. รายงานสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการระดับชาติ คร้ังท่ี 2” มหาวิทยาลยั ราชภัฏ กาแพงเพชร. 22 ธันวาคม 2558.หนา้ 149
161 3. รายวชิ าทีส่ อน (*ในหลักสูตรนี้) รหสั วชิ า ช่ือวิชา หน่วยกติ 3(2-2-5) 1023002 พฤติกรรมการสอนวชิ าวิทยาศาสตร์ระดบั มธั ยมศึกษา 2(1-2-3) 4(3-3-6) 1012002 การจัดการคา่ ยวชิ าการ 2(2-0-4) 4003201 การผลติ อุปกรณว์ ิทยาศาสตร์และโครงงาน 3(2-2-5) วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษา 3(2-2-5) 1005002 ประมวลสาระความรู้วชิ าเฉพาะ 2(2-0-4) 4052101 วิทยาศาสตร์ของโลก 1023001 พฤติกรรมการสอนวชิ าวทิ ยาศาสตรร์ ะดบั ประถมศกึ ษา 1005001 ประมวลสาระความรวู้ ชิ าชีพครู
162 ช่ือ – นามสกลุ นางสาวมณฑา หมไี พรพฤกษ์ ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ 1. ประวัติการศึกษา สถาบนั ท่ีสาเรจ็ ปีทีส่ าเร็จ คุณวฒุ /ิ สาขาวชิ า มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี 2555 วท.ด. (ชีวเคม)ี มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2549 วท.ม. (การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2537 และส่ิงแวดล้อม) วท.บ. (เคม)ี 2. ผลงานทางวชิ าการ 5 ปี ย้อนหลัง ตารา/หนังสือ มณฑา หมีไพรพฤกษ์. (2561). เอกสารประกอบการสอนวิชา วิทยาศาสตร์ทอ้ งถน่ิ . มหาวิทยาลยั ราช ภัฏกาแพงเพชร. โปรแกรมวิชาวทิ ยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ กาแพงเพชร. บทความวิจยั ตีพมิ พใ์ นวารสารวิชาการระดบั ชาติและนานาชาติ Pek–Lan Toh, Rosfayanti Rasmidi, Montha Meepripruk, Lee Sin Ang, Shukri Sulaiman and Mohamed Ismail Mohamed–Ibrahim. (2016). First Principles Density Functional Theory Investigation on the Structural, Energetic, and Electronic properties of 6–Bromo–4–Oxo–4H–Chromene–3–Carbaldehyde. Applied Mechanics and Materials. 835: pp 308-314. นริสรา บัวหลวงและมณฑา หมีไพรพฤกษ์ (2559). การต้านอนุมูลอิสระของข้าวกล้องงอก 5 สาย พนั ธ์ุ. สกั ทอง: วารสารวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สทวท.). 3(1): 27-37. จุฑามาศ ทามารัตนาวดี ทองสุทธิ์ศิริพร เกตุพงษ์ มณฑา หมีไพรพฤกษ์ และศศิวรรณ พลายละหาร. (2559). ลกั ษณะทางสัณฐานวิทยา ปริมาณสารกาบา และกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของ พันธุข์ า้ วท่สี งู บา้ นป่าคา สักทอง: วารสารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สทวท.). 3(2): 31-40. Pek-LanToh, MonthaMeepripruk, Lee Sin Ang, ShukriSulaiman, and Mohamed Ismail Mohamed-Ibrahim. (2017). First Principles Study on the Stability and Electronic Structures of 7,8-Dichloro-4-Oxo-4H-Chromene-3-Carbaldehyde, Applied Mechanics and Materials. 855: pp 31-36. Pek-LanToh, Montha Meepripruk, Jia-Jing Lim. (2017). Size Dependence of Geometric Structures and Electronic Properties of 3-Bromopyridine N-Oxide Investigated by Density Functional Theory Molecular Dynamic Simulations. Journal of Materials Science and Applied Energy. 6(2): pp.155-159.
163 สมฤดี สังขาว อทิตยา ขวัญวงศ์ นงนุช ขอนทองเกศินี ใจดี ณัฐฐินันท์ ชารวย อาภรณ์ พาชัย มณฑา หมีไพรพฤกษ์ และณัฐภานี บัวดี. (2560). ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณวิตามินซี และ ความพึงพอใจของสบู่ว่างหางจรเข้ผสมน้าผึ้ง: สมุนไพรพญาไพร อาเภอเมือง จังหวัด กาแพงเพชร. สกั ทอง:สกั ทองวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สทวท.). 4(1): 99-106. กัญรัตน์ ม่านเขียว, อุทัยวรรณ บุญจันทร์, นภัสกร มาตเมฆ, สิวเรศ ไพโรจน์, นันทวรรณ เอนกนันต์ มณฑา หมีไพรพฤกษ์, ปรีชา ปัญญา และณัฐภาณี บัวดี. (2560). ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ การดูดซับสารโครเมียม (VI) ปริมาณค่า pH และความพึงพอใจของผู้บริโภคท่ีมีต่อสบู่ชาร์ โคลไม้ไผ่: กลุ่มคนรักสุขภาพ ต.หนองปลิง อ.เมือง จ.กาแพงเพชร. สักทอง: สักทองวารสาร วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สทวท.). 4(2): 99-106. มณฑา หมไี พรพฤกษ์, นตั ติกาล ปานสุด และ ทรงพร วัฒนโฉมย. (2561). ปริมาณสารเบตา้ แคโรทีน กาบาและสารต้านอนุมูลอิสระของข้าว 4 สายพันธ์ุ. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัย ราชภฏั เพชรบุรี. 14(2): 12-18. บทความวจิ ัยท่นี าเสนอในการประชมุ วิชาการระดบั ชาติและนานาชาติ Montha Meepripruk, Sunee Boonpitak, Supaporn Pongpinyoopat, Sasiwan Plailaharn, Surachai Rattansuk and Wasoontara Ratanopas (2016). Diversity of Local Rice Varieties in Nai Muang and SaiNgam District KamphaengPhet. Proceedings of the 4thRajabhat UniversityNational and International Research and Academic Conference, 2016. pp. 498-505. Montha Meepripruk, Nusara Wanachalermkit, Aungkana Chatkon, Weenawan Somphonand Pek-lan Toh (2017). Acyclovir Antiviral Drug Cocrystal with Theophylline: Screening Experimental and Physical Characteristic. Proceedings of International Conference on Technology and Social Science 2017 (ICTSS2017), May 10-12, 2017, pp. 1-6. Wasoontara Ratanopas, Montha MeepriprukSurachai Rattansukand Sasiwan Plailahan (2017). Determination of Natural Colour from 10 Edible Plants in KamphaengPhetProvince, Thailand. Proceedings of International Conference on Technology and Social Science 2017 (ICTSS2017), May 10-12, 2017. pp. 25-30. ณัฐธิดา ยศปัญญาจริยารตั น์ ฟน้ื ตนเบญญาภา พุดสนิ สภุ าภรณ์ ฤมิตรสุวจี สารสี ขุ ศศวิ ิมล แดงอ่ิมอา ภัสรา คุ้มเณรมณฑา หมีไพรพฤกษ์และณัฐภาณี บัวดี. (2560). ค่า pH กรดแลคติกและกรด แอล-แอสคอร์บิก (วิตามินซี) ของผลิตภัณฑ์น้าฝาถังจากถังน้าหมักมะเฟือง: ศูนย์การ เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง บ้านดาดทองเจริญ ต.อ่างทอง อ.เมือง จ.กาแพงเพชร. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งท่ี 4 ณ อาคารนวัตกรรมการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร. 22 ธนั วาคม 2560. หนา้ 1026-1030. อมรรัตน์ ดงประขา อาทิติญา สิทธิกรรณ์ วิภาดา วิเชียรดี นพรัตน์ โพธิบัลลังก์ อภิญญา โพธิบัลลังค์ กิติมาภรณ์ สมบัติพล ปาริชาติ จาปาศักด์ิ มณฑา หมีไพรพฤกษ์และณัฐภาณี บัวดี (2560).
164 กิจกรรมการต้านอนุมลูอิสระ ปริมาณแอนโทไซยานินและ pH ของแชมพูผสมสมุนไพร 4 ชนิด. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ คร้ังท่ี 4 วันท่ี 22 ธันวาคม 2560 ณ อาคาร นวตั กรรมการศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร. หน้า 1049-1053. มณฑา หมีไพรพฤกษ์,* พิสุทธิลักษณ์ พงโอสถ ณัฐธิดา ยศปัญญา รุ่งวดี เช้ือจีน และณัฐภาณี บัวดี. (2561). คณุ สมบตั ิทางกายภาพบางประการ ปริมาณฟีนอลกิ และเบต้าแคโรทนี ของสบกู่ อ้ น ข้าวกล้องงอกผสมน้าผึ้ง. รายงานการประชุมวิชาการพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 วันที่ 23 มนี าคม 2561 ณ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั พบิ ูลสงคราม. หน้า 428-436. อนสุ รา วงษ์ไว สิรินลักษณ์ ประเสริฐบารุง ดวงกมล สีทา และมณฑา หมีไพรพฤกษ์. (2561). สาร กาบาและฤทธ์ิการต้านอนุมูลอิสระของข้าวกล้องงอกหอมปทุมธานี 1 ในน้าแช่ 4 ชนิด. รายงานการประชุมวิชาการพิบูลสงครามวิจัย ครัง้ ท่ี 4 วันท่ี 23 มีนาคม 2561 ณ มหาวทิ ยาลัย ราชภฎั พิบลู สงคราม. หนา้ 437-422. นฤมล จิตต์นุ่ม1, สุชิรา แก้วกิจจา2 และ มณฑา หมีไพรพฤกษ์ (2561). ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาวทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื งแรงและการเคลื่อนท่โี ดยใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ สาหรบั นกั เรยี นชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวังเจ้าวทิ ยาคม เอกสารสบื เนือ่ งจากการประชุมวิชาการ ครุศาสตร์ ศึกษา คร้ังท่ี 1 ณ. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร, วนั ที่ 29 เมษายน 2561. หน้า 978-986. ไพโรจน์ เอกอุฬาร ,ปรัชญา ชอุ่มผล, รัชนี นิธากร , ขวัญดาว แจ่มแจ้ง, มณฑา หมีไพรพฤกษ์และ นพรัตน์ ไชยวิโน. (2561). การศึกษาคุณสมบัติ และการใช้ประโยชน์น้าแร่ จากบ่อน้าพุร้อน พระร่วง จังหวัดกาแพงเพชร. เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการครั้งท่ี 5 วันที่ 21 ธนั วาคม 2561, ณ มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร. หนา้ 453-462. Montha Meepripruk, Surachai Rattansuk, Monthicha Phanaphadungtham and HadiNasbey. (2018). Calcium oxalate evaluation and antioxidant activity from Amorphophalluscampanulatus (Roxb.) produced based on Indigenous knowledge processes. Proceedings of the 5 th Rajabhat University National & International Research and Academic Conference (RUNIRAC V), 2 –5 December 2018, Phetchaburi Rajbhat University, Phetchaburi, Thailand. pp. 587-596.
165 3. รายวชิ าทส่ี อน หนว่ ยกติ รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา 3(2-2-5) 1044301 การสือ่ สารและการศึกษาวทิ ยาศาสตรใ์ นท้องถิน่ 1(1-3-2) 4004209 วิทยาศาสตรท์ อ้ งถิ่น 3(2-2-5) 1023002 พฤติกรรมการสอนวชิ าวิทยาศาสตรร์ ะดบั มัธยมศึกษา 3(2-2-5) 1262402 กระบวนการจดั การวทิ ยาศาสตร์สาหรับครูประถม 3(2-2-5) 4062422 สวนพฤกษศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาในสถานศกึ ษา 3(2-3-4) 4023701 เคมีประยุกต์ 3(2-2-5) 4061101 พ้นื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์ส่ิงแวดลอ้ มและ ปฏิบตั ิการวิทยาศาสตรส์ ิง่ แวดลอ้ ม 2(2-0-4) 1005002 ประมวลสาระความรวู้ ชิ าเฉพาะ 2(2-0-4) 1005001 ประมวลสาระความรูว้ ชิ าชีพครู 4(3-3-7) 4021103 เคมีทวั่ ไปและปฏบิ ัติการ 4(3-3-7) 4022201 เคมอี นินทรยี ์ 1 4(3-3-7) 4022201 เคมอี นนิ ทรยี ์และปฏิบตั ิการ 1 4(3-3-7) 4021102 เคมแี ละปฏิบตั ิการ 2 4(3-3-7) 4022501 ชีวเคมีและปฏิบตั กิ าร 1 2(2-0-4) 1203501 สัมมนาวิทยาศาสตร์
166 ช่อื – นามสกลุ นายศุภวฒั น์ วิสิฐศริ ิกุล ปที ่สี าเรจ็ อาจารย์ 2554 ตาแหนง่ ทางวิชาการ 2549 สถาบนั ทส่ี าเร็จ 1. ประวตั ิการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร คุณวฒุ ิ/สาขาวิชา วท.ม. (ฟสิ ิกส)์ วท.บ.(ฟิสิกส์) 2. ผลงานทางวิชาการ ตารา / หนงั สอื ศุภวฒั น์ วิสฐิ ศริ กิ ลุ . (2560). กลศาสตร์ 1. กาแพงเพชร : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. 323 หนา้ . บทความวิจัยที่นาเสนอในการประชมุ วิชาการ ศภุ วัฒน์ วิสฐิ ศริ กิ ลุ . (2561). การวเิ คราะหแ์ นวโนม้ อุณหภูมิเฉลีย่ ของภาคเหนอื ในประเทศไทย. สักทอง : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 1 ม.ค.-ม.ิ ย. 2561. หนา้ 53-62. ศภุ วฒั น์ วิสฐิ ศริ ิกลุ (2560). การพฒั นาทกั ษะการเขยี นแผนภาพของแรงทก่ี ระทาตอ่ วัตถดุ ้วยชดุ กระดานแมเ่ หล็ก. รายงานสืบเน่อื งจากการการประชมุ วิชาการ คร้ังที่ 4. มหาวิทยาราชภัฏกาแพงเพชร. 22 ธนั วาคม 2560: หนา้ 652-657. ศภุ วฒั น์ วิสฐิ ศิรกิ ุล และคณะ. (2560). คุณสมบตั ิทางกายภาพของข้าวไรใ่ นอาเภอพบพระ จังหวัดตาก. ประชุมทางวิชาการระดบั ชาติ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภูมิ ครัง้ ที่ ๒ และการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครือข่ายสหวทิ ยาการ ภาคกลาง สานกั งานราชบณั ฑิตยสภา ครั้งที่ ๓. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภูมิ. 31 มีนาคม 2560. หนา้ 10-16. ศภุ วัฒน์ วสิ ฐิ ศริ ิกุล. (2559). สมบัติทางฟสิ กิ ส์ของข้าวพื้นเมืองทป่ี ลูกบนพนื้ ท่ีสงู . สกั ทอง : วารสารวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. ปที ่ี 3 ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค. 2559. หน้า 25-30. ศภุ วัฒน์ วสิ ฐิ ศิริกุล. (2559). การวิเคราะหแ์ นวโนม้ ความยาวนานแสงแดดระหว่างปี 1958 และ 2012 สาหรับจังหวัดนครสวรรค์. การประชมุ วชิ าการ ครง้ั ที่ 54 มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. 2-5 กุมภาพันธ์ 2559. หนา้ 72-77. ศภุ วัฒน์ วิสิฐศิรกิ ลุ และคณะ. (2557). การพัฒนาทักษะการคดิ เชงิ และผลของนกั ศึกษาครู โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ท่ัวไป มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. รายงานสืบเนือ่ งจาก การการประชุมวชิ าการ คร้งั ท่ี 1. มหาวิทยาราชภัฏกาแพงเพชร. 22 ธันวาคม 2557. หนา้ 193-204. .
167 3. รายวชิ าทีส่ อน ชอ่ื วิชา หนว่ ยกติ กลศาสตร์ 1 4(3-3-7) รหสั วชิ า ฟสิ กิ ส์และปฏิบัติการ 1 4(3-3-7) 4012201 ฟสิ ิกสแ์ ละปฏิบัติการ 2 4(3-3-7) 4011101 4011102
168 ช่ือ – นามสกลุ นางสาวธิดารัตน์ พรหมมา ตาแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์ 1. ประวัตกิ ารศึกษา สถาบนั ที่สาเรจ็ ปีท่ีสาเร็จ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2556 คณุ วฒุ ิ/สาขาวชิ า มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551 วท.ม. (ชวี เคมี) วท.บ.(วทิ ยาศาสตร์การแพทย์) 2. ผลงานทางวิชาการ บทความวิจยั ทนี่ าเสนอในการประชมุ วชิ าการ อาภรณ์ พาชัย ธดิ ารตั น์ พรหมมา ดวงชวี นั เฉยปัญญา. (2561). ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดย ใชก้ ารบรู ณาการแนวคิด CCR เพ่ือส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรอ่ื งน้าเพื่อชีวิต ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3. รายงานสบื เนอ่ื งจากการประชุม วชิ าการ “ครศุ าสตรศ์ ึกษา” ครง้ั ที่ 1 ณ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. 29 มนี าคม 2561. หนา้ 1031-1042 ปราณี เลิศแกว้ , ธิดารัตน์ พรหมมา, ศภุ วฒั น์ วสิ ิฐศริ ิกลุ , นเรศ ขาเจริญ, อธริ ดา บุญเดช, ภสั ดี ภกู อง ไชย, นรศิ รา ปนั ใจ, ฐิตารยี ์ จนั ทร์ใส, ศิรลิ ักษณ์ สนุ ทรพงษ์, ภทั รพร แช่มชอ้ ย และอมิตา กลนิ่ กาหลง. (2561). เปรยี บเทียบฤทธกิ์ ารตา้ นอนุมูลอิสระและสารประกอบฟีนอลกิ รวม ของเปลือกกล้วยไข่. รายงานสืบเนือ่ งจากการประชมุ วชิ าการระดับชาติ “พะเยาวจิ ัย คร้ังที่ 7” ณ มหาวิทยาลัยพะเยา. 25–26 มกราคม2561. หนา้ 248. ธิดารตั น์ พรหมมา จฑุ าวรรณ เขตกนั เย็นจิตร์ ม่ันคงพิพฒั น์. (2561). การศกึ ษาปรมิ าณ สารประกอบฟนี อลกิ รวมในข้าวดอกข่างอก. รายงานสบื เน่ืองจากการประชุมวิชาการคร้ังท่ี 5 ณ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. 21 ธันวาคม 2561. หน้า 632-641 ธดิ ารัตน์ พรหมมา ปารฉิ ตั ร แวทไธสง และธรรมลักษ์ พ่มุ ใย. (2561). ผลของอณุ หภมู ิทมี่ ีต่อปริมาณ สารประกอบฟีนอลกิ และฤทธิ์ต้านอนมุ ูลอสิ ระของถวั่ มะแฮะขาวเพาะงอกและไมเ่ พาะงอก. รายงานสบื เนือ่ งจากการประชมุ วิชาการครง้ั ท่ี 5 ณ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. 21 ธนั วาคม 2561. หน้า 303-313 นพวรรณ ชริ าวธั น์ วภิ าพร เกดิ ชา่ ง สบิ สองเมษา สามงามเขียว และธดิ ารัตน์ พรหมมา. (2560). การศึกษาปรมิ าณแอนโทไซยานินในข้าวกลอ้ งหอมดาสโุ ขทัย 2 ขา้ วกล้องหอมแดงสุโขทัย 1 และข้าวดอกข่า. รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวชิ าการคร้ังที่ 4 ณ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. 22 ธนั วาคม 2560. หนา้ 1031 - 1034.
169 ธิดารตั น์ พรหมมา, ศรราม บุง่ อบุ ล, จักรพันธ์ ทองรกั ษ์, อาพล ดลธรรมชนะกลุ , จุฑาทิพย์ สารมโน, วาสนา มณีเขยี ว และกิจจา สมากร. (2558). การศึกษาฤทธิ์ต้านอนมุ ลู อิสระในถ่วั มะแฮะ งอก.รายงานสบื เนื่องจากการประชุมวชิ าการครัง้ ที่ 2 ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. 22 ธันวาคม 2558. หน้า 542 - 547.กาแพงเพชร: มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. 3. รายวชิ าที่สอน ช่อื วิชา หนว่ ยกติ รหัสวิชา วิธวี ิจยั วทิ ยาศาสตร์ 3(2-2-5) 4003901 วทิ ยาศาสตร์ท้องถนิ่ 2(1-3-2) 4004209 สัมมนาทางวทิ ยาศาสตร์ 2(2-0-4) 4003903 พันธุศาสตร์ 4(3-3-7) 4032401 สรรี วทิ ยาทั่วไป 4(3-3-6) 4032101 ชีววิทยาท่วั ไปและปฏบิ ัตกิ าร 4(3-3-7) 4031301 ประมวลสาระความรูว้ ิชาเฉพาะ 2(2-0-4) 1005002 ประมวลสาระความรวู้ ชิ าชีพครู 2(2-0-4) 1005001
170 ช่ือ – นามสกลุ นางสาวปราณี เลศิ แก้ว ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ 1. ประวัตกิ ารศึกษา คณุ วฒุ /ิ สาขาวิชา สถาบันทส่ี าเรจ็ ปีท่ีสาเร็จ 2559 ปร.ด. (ชวี เคม)ี มหาวิทยาลัยนเรศวร 2553 2550 วท.ม. (ชีวเคมี) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร วท.บ. (วทิ ยาศาสตร์การแพทย์) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2. ผลงานทางวิชาการ ตารา / หนงั สือ ปราณี เลศิ แกว้ . (2560). พนั ธุศาสตร.์ กาแพงเพชร : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร. บทความวิจัยทีน่ าเสนอในการประชมุ วชิ าการ ปราณี เลิศแก้ว, สุวมิ ล มาปา และจติ มิ า เกษแก้ว .(2561). การวิเคราะห์ปริมาณสารตา้ นอนมุ ูล อิสระในผลิตภัณฑช์ าเปลือกกล้วยไขด่ ิบ. รายงานสบื เน่อื งจากการประชุมวิชาการครั้งท่ี 5 ณ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. 21 ธนั วาคม 2561. หนา้ 147. ปราณี เลิศแก้ว, ธัญญารัตน์ เงนิ อาจ และศิริลักษณ์ กล่ินธูป. (2561). การเปรียบเทยี บสารตา้ น อนมุ ูลอสิ ระในสบู่ข้าวโพดหวานสแี ดงราชินที ับทิมสยามและสบู่ข้าวหอมแดงสุโขทัย 1. รายงานสืบเนอ่ื งจากการประชุมวิชาการครง้ั ที่ 5 ณ มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร. 21 ธนั วาคม 2561. หน้า 160. ปราณี เลศิ แกว้ , ชตุ ิมา ศรโยธา, วุฒิพันธ์ เทศคลัง และนรวรรณ บัวบุญ. (2561). วเิ คราะห์ปริมาณ สารต้านอนุมูลอิสระจากไหมขา้ วโพดหวานสแี ดงสายพันธุร์ าชนิ ีทบั ทมิ สยาม. รายงานสบื เนื่องจากการประชมุ วิชาการครั้งที่ 5 ณ มหาวิทยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร. 21 ธันวาคม 2561. หน้า 46. สุภาภรณ์ ฤมิตร, ปราณี เลิศแกว้ และเรณู กติ ติวัฒนากูล. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการ เรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง สารในชีวิตประจาวัน ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โดย การจัดกิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ CCR. รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวชิ าการ “ครุศาสตร์ ศกึ ษา” คร้ังที่ 1 ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร. 29 มนี าคม 2561. หนา้ 1009-1022. ปราณี เลศิ แกว้ , ธดิ ารัตน์ พรมมา, ศุภวัฒน์ วิสฐิ ศริ ิกลุ , นเรศ ขาเจรญิ , อธริ ดา บญุ เดช, ภสั ดี ภูกอง ไชย, นรศิ รา ปันใจ, ฐติ ารีย์ จนั ทร์ใส, ศิริลกั ษณ์ สุนทรพงษ์, ภทั รพร แชม่ ชอ้ ย และอมิตา กลน่ิ กาหลง. (2561). เปรยี บเทยี บฤทธ์กิ ารตา้ นอนุมลู อิสระและสารประกอบฟนี อลกิ รวม ของเปลือกกลว้ ยไข่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดบั ชาติ “พะเยาวจิ ยั ครั้งท่ี 7” ณ มหาวิทยาลยั พะเยา. 25–26 มกราคม2561. หน้า 248.
171 ปราณี เลศิ แก้ว และศุภวฒั น์ วิสิฐศิรกิ ุล. (2560). การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรโ์ ดยใช้ กจิ กรรมคา่ ยวิทยาศาสตร์. รายงานสบื เน่อื งจากการประชุมวิชาการครั้งที่ 4 ณ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร. 22 ธันวาคม 2560. หนา้ 1126-1132. ศิรญิ า วันตะ๊ , อรอุษา จนั ทรก์ ล่ิน และปราณี เลิศแก้ว. (2558). การพัฒนาผลิตภัณฑเ์ ครอ่ื งด่ืมนมถั่ว มะแฮะผสมนา้ ใบเตย. รายงานสบื เน่ืองจากการประชุมวชิ าการครัง้ ที่ 2 ณ มหาวทิ ยาลัยราช ภฏั กาแพงเพชร. 22 ธนั วาคม 2558. หนา้ 548-555. 3. รายวชิ าทสี่ อน หน่วยกิต 3 (2-2-5) รหัสวชิ า ช่อื วิชา 2 (1-3-2) 4003901 วธิ วี ิจัยวทิ ยาศาสตร์ 2 (2-0-4) 4004209 วทิ ยาศาสตร์ท้องถิน่ 4 (3-3-7) 1005002 ประมวลสาระความรู้วิชาเฉพาะ 4 (3-3-7) 4032101 สรีวทิ ยาท่วั ไป 4 (3-3-7) 4032401 พันธุศาสตร์ 2 (1-2-3) 4031301 ชีววิทยาท่วั ไปและปฏิบตั ิการ 2 (2-0-4) 1203501 สัมมนาวิทยาศาสตร์ 1005001 ประมวลสาระความรวู้ ิชาครู
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233