Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Bachelor of Education Program in General Science (FULL)

Bachelor of Education Program in General Science (FULL)

Published by Supawat_w, 2019-10-16 10:25:43

Description: Bachelor of Education Program in General Science (FULL)

Keywords: General Science (KPRU)

Search

Read the Text Version

ทกั ษะ ความรู้ ทกั ษะทาง ความสัมพันธ์ ทักษะการวิเคราะห์เชิง ปัญญา ระหว่างบคุ คล ตวั เลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยี และความ รบั ผดิ ชอบ 4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2 5.3                                                   

40 กลุ่มวิชา / รหสั วชิ า / ชื่อวิชา คุณธรรม จริยธรรม 1.1 1.2 1.3 1.4 3501004 การริเรม่ิ การประกอบธรุ กจิ  3531001 การเงนิ ในชีวิตประจาวนั  3541001 การเป็นผู้ประกอบการ  3591003 ศาสตร์พระราชาเพอ่ื การพฒั นาท้องถน่ิ  กลุม่ วิชาคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1031001 ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 เพือ่ ชีวติ และอาชีพ  1161001 กีฬาและนันทนาการเพือ่ คุณภาพชีวิต  1161002 การออกกาลงั กายเพอ่ื สุขภาพ  4001002 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเพอ่ื ชวี ติ  ประจาวัน  4001003 การอนรุ กั ษ์ส่งิ แวดล้อมและ ทรพั ยากรธรรมชาติ 4071001 สุขภาพและสุขอนามัย 

ทกั ษะ ความรู้ ทกั ษะทาง ความสัมพันธ์ ทักษะการวเิ คราะห์เชิง ปัญญา ระหวา่ งบุคคล ตวั เลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี และความ รบั ผิดชอบ 4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2 5.3                                   

41 กลมุ่ วิชา / รหสั วิชา / ช่ือวิชา คุณธรรม จริยธรรม 4091001 คณติ ศาสตร์ในชวี ิตประจาวัน 1.1 1.2 1.3 1.4 4091003 คณติ ศาสตรก์ บั การตดั สนิ ใจ 4121001 คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ  4121005 การออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซต์  3524310 โปรแกรมสาเรจ็ รปู เพอื่ การประยุกต์ใช้งาน  5001001 เกษตรในชวี ติ ประจาวนั  5071001 อาหารเพื่อสุขภาพ  5501001 เทคโนโลยใี นชีวติ ในประจาวัน   

ทกั ษะ ความรู้ ทักษะทาง ความสัมพันธ์ ทักษะการวิเคราะห์เชงิ ปัญญา ระหว่างบุคคล ตวั เลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี และความ รบั ผิดชอบ 4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2 5.3                             

42 2.2 หมวดวชิ าเฉพาะ กลยทุ ธก์ ารสอน การประเมนิ ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ 1. ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม จดั กจิ กรรมให้ผเู้ รียนอภิปราย - แบบสงั เกตพฤติกรรม 1.1 รัก ศรทั ธาและภมู ิใจในวิชาชพี กลุม่ (Group Discussion) โดย - แบบประเมนิ ตนเองดา้ น ครู มจี ิตวญิ ญาณและอุดมการณ์ แบ่งภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและ ความเปน็ ครู และปฏบิ ัติตนตาม ในการทางานกลุ่มและเสนอ ความรับผดิ ชอบ จรรยาบรรณวชิ าชีพครู ประเด็นเกีย่ วกับสถานการณ์ 1.2 มีจติ อาสา จิตสาธารณะ อดทน ตา่ งๆ ที่ผู้เรยี นจะต้องเผชิญใน อดกลั้น มีความเสียสละ รับผิดชอบ การดารงชีวิตและการประกอบ และซอ่ื สัตย์ตอ่ งานท่ไี ด้รบั วชิ าชีพครู โดยเน้นการวิเคราะห์ มอบหมายทั้งด้านวิชาการและ เสนอและอภปิ รายเกี่ยวกบั ปัญหา วชิ าชพี และสามารถพัฒนาตนเอง ที่เกิดขน้ึ ในสังคม หาแนวทาง อย่างต่อเนือ่ ง ประพฤติตน เป็น แก้ไขโดยเน้นกระบวนการ แบบอยา่ งทดี่ ีแก่ศิษย์ ครอบครวั ประชาธิปไตย การรับฟงั และการ สงั คมและประเทศชาติ และ เคารพสทิ ธขิ องผู้อืน่ เสริมสร้างการพัฒนาที่ยัง่ ยืน 1.3 มีค่านยิ มและคุณลกั ษณะเปน็ ประชาธิปไตย คือ การเคารพสิทธิ และใหเ้ กยี รติคนอ่ืน มีความสามัคคี และทางานร่วมกบั ผูอ้ ่นื ได้ ใช้ เหตผุ ลและปญั ญาในการดาเนนิ ชีวิตและการตดั สินใจ 1.4 มคี วามกลา้ หาญและแสดงออก ทางคณุ ธรรมจริยธรรม สามารถ วนิ ิจฉัยจัดการและ คิดแกป้ ัญหา ทางคุณธรรมจรยิ ธรรมด้วยความ ถกู ต้องเหมาะสมกบั สังคม การ ทางานและสภาพแวดลอ้ ม โดย อาศัยหลกั การ เหตุผลและใช้ดลุ ย พินจิ ทางคา่ นิยม บรรทัดฐานทาง สงั คม ความรสู้ กึ ของผอู้ นื่ และ ประโยชน์ของสังคมส่วนรวม มี จติ สานึกในการธารงความโปร่งใส ของสงั คมและประเทศชาติ ต่อตา้ น การทุจรติ คอรัปชนั่ และความไม่

43 มาตรฐานการเรยี นรู้ กลยุทธก์ ารสอน การประเมินผลการเรยี นรู้ ถูกต้อง ไม่ใชข้ อ้ มูลบิดเบือนหรอื การลอกเลยี นผลงาน 2. ความรู้ จดั การเรียนรู้ให้ผ้เู รียนอภิปราย - ใบงาน 2.1 มีความรอบรู้ในหลักการ วเิ คราะห์ และนาเสนอรูปแบบ - แบบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน แนวคดิ ทฤษฎี เน้ือหาสาระด้าน เปรยี บเทียบ โครงสร้างทางภาษา - แบบประเมนิ โครงงาน วชิ าชพี ของครู อาทิ ค่านยิ ม ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ - แบบประเมินผลงาน ของครู คุณธรรม จรยิ ธรรมรรยา เขยี นและวเิ คราะห์งานเขยี น บรรณ จติ วิญญาณครู ปรัชญา เพื่อให้เหน็ ความแตกตา่ งและ ความเป็นครู จติ วิทยาสาหรบั ครู สอดคลอ้ งดา้ นวฒั นธรรมจากการ จิตวทิ ยาพัฒนาการ จติ วิทยาการ แปลวรรณดี ร้อยแกว้ และ ร้อย เรยี นรเู้ พื่อจดั การเรียนรู้และ กรอง ทาโครงงานเพ่อื สร้าง ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา สง่ เสรมิ นวัตกรรมทีส่ ง่ เสรมิ การเรียนรู้ และพัฒนาผเู้ รียนหลักสูตรและ ดา้ นภาษาและจัดนิทรรศการณ์ วทิ ยาการการจัดการเรียนรู้ แสดงงานเขียน วรรณกรรมของ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภาษาไทยและภาษาอังกฤษแบบ สารสนเทศและการสื่อสาร ร่วมสมยั การศึกษาและการเรียนรู้ การวัด ประเมนิ การศึกษาและการเรียนรู้ การวิจยั และการพัฒนานวตั กรรม เพือ่ พฒั นาผู้เรียนและภาษาเพอื่ การส่ือสารสาหรับครู ทักษะการ นิเทศและการสอนงาน ทักษะ เทคโนโลยีและดจิ ิทัล ทกั ษะการ ทางานวจิ ัยและวัดประเมนิ ทักษะ การรว่ มมอื สรา้ งสรรค์ และทักษะ ศตวรรษท่ี 21 มีความรู้ ความ เขา้ ใจในการบูรณาการความรู้กบั การปฏิบตั ิจริงและการบรู ณาการ ขา้ มศาสตร์ อาทิ การบูรณาการ การสอน(Technological Pedagogical Content Knowledge: TPCK) การสอน แบบบูรณาการความรทู้ าง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี

44 มาตรฐานการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารสอน การประเมนิ ผลการเรียนรู้ กระบวนการทางวิศวกรรมและ คณิตศาสตร์ (Science Technology Engineering and Mathematics Education: STEM Education) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community: PLC) และมี ความรู้ ในการประยุกตใ์ ช้ 2.2 มีความรอบรู้ในหลกั การ แนวคดิ ทฤษฎี เน้ือหาวิชาทสี่ อน สามารถวเิ คราะห์ความรู้ และ เนือ้ หาวิชาท่ีสอนอยา่ งลึกซ้ึง สามารถตดิ ตามความก้าวหนา้ ดา้ น วิทยาการและนาไปประยุกต์ใช้ใน การพัฒนา ผู้เรียน โดยมีผลลพั ธ์ การเรยี นรู้และเนื้อหาสาระดา้ น มาตรฐานผลการเรยี นรูด้ ้านความรู้ ของแตล่ ะสาขา 2.3 มคี วามรู้ เขา้ ใจชีวิต เข้าใจ ชมุ ชน เข้าใจโลกและการอย่รู ่วมกนั บนพื้นฐานความแตกต่าง ทาง วัฒนธรรม สามารถเผชิญและเท่า ทนั กบั การเปลีย่ นแปลงของสังคม และสามารถนาแนวคิดปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชวี ิตและ พฒั นาตน พัฒนางานและพฒั นา ผ้เู รียน 2.4 มคี วามรูแ้ ละความสามารถใน การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพือ่ การสือ่ สารตามมาตรฐาน 2.5 ตระหนักรู้ เหน็ คุณคา่ และ ความสาคัญของศาสตรพ์ ระราชา เพอ่ื การพฒั นาที่ย่งั ยืน และนามา

45 มาตรฐานการเรียนรู้ กลยทุ ธ์การสอน การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตน พฒั นา ผูเ้ รียน พฒั นางานและพฒั นาชมุ ชน 3. ทักษะทางปัญญา จดั การเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี นสามารถ - ใบงาน 3.1 คดิ คน้ หา วเิ คราะห์ข้อเท็จจริง คิด ค้นหา วเิ คราะห์และอภิปราย - แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประเมินข้อมูล สื่อ สารสนเทศ ตามประเด็นทกี่ าหนดในบทเรียน - แบบประเมินโครงงาน จากแหลง่ ข้อมูลทห่ี ลากหลายอย่าง เพอื่ การเปล่ียนแปลงและพลวัต - แบบประเมินผลงาน รูเ้ ท่าทัน เปน็ พลเมืองต่ืนรู้ มสี านึก ของโลก โดยเนินกระบวนการ สากล สามารถเผชญิ และก้าวทัน กลุม่ ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนมที ักษะใน กับการเปล่ียนแปลงในโลกยุค ศตวรรษท่ี 21 ในการดาเนินงาน ดิจทิ ลั เทคโนโลยีข้ามแพลทฟอร์ม โดยศกึ ษาและประยุกต์ความรู้ (Platform) และโลกอนาคต นาไป จากงานวิจัยหรอื งานวิชาการที่ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏิบัตงิ าน และ เก่ยี วขอ้ งมาประยุกต์ใช้ในการ วนิ ิจฉยั แก้ปญั หาและพัฒนางานได้ สรา้ งนวตั กรรมที่เป็นประโยชน์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยคานงึ ถึง ตอ่ สังคม ชมุ ชนอยา่ งยัง่ ยนื ความรู้ หลักการทางทฤษฎี ประสบการณ์ ภาคปฏบิ ตั ิ ค่านิยม แนวคดิ นโยบายและยทุ ธศาสตร์ ชาติ บรรทัดฐานทางสังคมและ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น 3.2 สามารถคดิ ริเริ่มและพัฒนา งานอยา่ งสร้างสรรค์ 3.3 สร้างและประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ จากการทาวจิ ัยและสร้างหรอื ร่วม สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนา การ เรียนรูข้ องผ้เู รียนและพฒั นาผู้เรียน ใหเ้ ปน็ ผ้สู ร้างหรือร่วมสร้าง นวัตกรรม รวมท้ังการถ่ายทอด ความรู้ แก่ชมุ ชนและสังคม 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ผา่ นการ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระหว่างบคุ คลและความ ทางานเป็นกลุ่มหรอื โครงงาน โดย - แบบประเมนิ ตนเองดา้ น รับผิดชอบ มีการแบง่ หนา้ ที่และกาหนด ความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลและ 4.1 เข้าใจและใส่ใจอารมณ์ บทบาทของสมาชิกในกลมุ่ อย่าง ความรับผดิ ชอบ ความรูส้ กึ ของผู้อ่นื มคี วามคิดเชิง ชัดเจนตามภาระงานที่กาหนด บวก มวี ุฒภิ าวะทางอารมณ์

46 มาตรฐานการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน การประเมินผลการเรยี นรู้ และทางสงั คม 4.2 ทางานร่วมกับผู้อื่น ทางานเปน็ ทีม เปน็ ผู้นาและผู้ตามทด่ี ี มี สัมพนั ธภาพผรู้ ่วมงาน ผูป้ กครอง และคนในชุมชน มีความรับผิดชอบ ต่อสว่ นรวมทง้ั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม 4.3 มีความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ี ต่อ ตนเอง ต่อผูเ้ รยี น ตอ่ ผูร้ ว่ มงาน และตอ่ สว่ นสามารถช่วยเหลือและ แก้ปัญหาตนเอง กลุ่มและระหว่าง กลุม่ ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ 4.4 มภี าวะผู้นาทางวิชาการและ วชิ าชพี มีความเข้มแข็งและกล้า หาญทางจริยธรรมสามารถชน้ี า และถ่ายทอดความรู้แกผ่ เู้ รียน สถานศกึ ษา ชมุ ชนและสังคมอย่าง สร้างสรรค์ 5. ด้านทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิง จัดกจิ กรรมการเรยี นรูผ้ ่านการ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ตวั เลข การสอื่ สารและการใช้ ทางานเป็นกลุ่มหรือโครงงาน โดย เทคโนโลยี มีการแบ่งหน้าท่แี ละกาหนด 5.1 มีทักษะ การวเิ คราะห์ข้อมูล บทบาทของสมาชิกในกลุ่มอย่าง สถติ ิ การสังเคราะห์ข้อมูลเชิง ชัดเจนตามภาระงานที่กาหนด ปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ เพอ่ื เขา้ ใจองค์ความรู้ หรอื ประเดน็ เพือ่ ประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนินงาน ปญั หาทางการศกึ ษาไดอ้ ยา่ ง อย่างมปี ระสิทธิภาพและ รวดเร็วและถกู ต้อง ประสทิ ธิผล 5.2 สอ่ื สารกบั ผูเ้ รียน พ่อแม่ ผ้ปู กครอง บุคคลในชุมชนและ สงั คม และผูเ้ กยี่ วขอ้ งกลมุ่ ตา่ งๆ ได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพโดยสามารถ เลอื กใชก้ ารสื่อสารทางวาจา การ เขียนหรือการนาเสนอด้วยรูปแบบ ต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีการสอื่ สาร หรอื นวตั กรรมต่างๆ ที่เหมาะสม

47 มาตรฐานการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารสอน การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.3 ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ - แบบประเมนิ แผนการจัดการ เรยี นรู้ ในการสืบค้นข้อมูลหรือความร้จู าก - แบบประเมนิ พฤติกรรม รายบุคคลด้านการจดั การเรยี นรู้ แหล่งการเรียนรตู้ ่างๆ ได้อย่างมี - แบบประเมินทักษะการจดั การ เรยี นรู้ ประสทิ ธิภาพ สามารถใช้โปรแกรม - แฟ้มสะสมงาน - แบบประเมินการดาเนินการ สาเรจ็ รปู ทีจ่ าเป็นสาหรับการเรียนรู้ สอนจากโรงเรียน การจัดการเรยี นรู้ การทางาน การ ประชุม การจดั การและสบื คน้ ข้อมูลและสารสนเทศ รบั และส่ง ขอ้ มูลและสารสนเทศโดยใช้ดุลย พนิ ิจที่ดี ในการตรวจสอบความ น่าเชือ่ ถือของข้อมลู และสารสนเทศ อกี ทั้งตระหนักถงึ การละเมิด ลขิ สิทธิแ์ ละการลอกเลยี นผลงาน 6. ด้านวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ - จดั ใหผ้ ู้เรียนได้เรยี นรู้ผา่ น 6.1 สามารถเลือกใชป้ รัชญาตาม ประสบการณ์ตรง ได้แก่ การ ความเช่ือในการสร้างหลักสตู ร จดั ทาแผนการสอน การผลิตส่อื รายวิชา การออกแบบ เน้อื หาสาระ ประกอบการสอน การประเมิน กจิ กรรม การเรียนการสอน สื่อและ ผู้เรยี นและการจัดการเรยี นการ เทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร การวัดและ สอน การสอนแบบจุลภาค ประเมนิ ผเู้ รยี น การบริหาร จัดการ (Microteaching) โดยเน้นการ ชั้นเรยี นการจดั การเรยี นโดยใช้ ประยกุ ต์ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 แหลง่ การเรยี นรใู้ นโรงเรียน และ มาใช้ในการจัดการเรยี นรเู้ พ่ืพัฒ นอกโรงเรยี น แหล่งการเรียนรู้แบบ นาผู้เรยี นและออกแบบการ เปิด ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับสภาพ จัดการเรียนการสอน การ บรบิ ททีต่ ่างกนั ของผ้เู รยี นและพ้นื ที่ ปฏบิ ัติงานครใู นสถานศกึ ษา และ 6.2 สามารถในการนาความรู้ทาง การปฏบิ ัตกิ ารสอนระหว่างเรียน จติ วิทยาไปใช้ในการวิเคราะห์ และในสถานศึกษา ผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล ออกแบบ - จัดให้ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้จากผ้มู ี กจิ กรรม การจดั เน้ือหาสาระ การ ประสบการณห์ รือผเู้ ช่ยี วชาญ บริหารจัดการและกลไกการ ทางด้านการสอนผ่านการสังเกต ชว่ ยเหลอื แก้ไขและส่งเสริมพัฒนา การสอนและการสมั ภาษณห์ รือ ผู้เรียนท่ีตอบสนองความต้องการ การสนทนา ความสนใจ ความถนัดและ ศกั ยภาพของผู้เรียนท่มี คี วาม แตกต่างระหว่าง บุคคล ท้ังผ้เู รียน

48 มาตรฐานการเรยี นรู้ กลยทุ ธ์การสอน การประเมินผลการเรยี นรู้ ปกติและผูท้ ่ีมีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษหรือผเู้ รยี นที่มีขอ้ จากดั ทาง กาย 6.3 จดั กจิ กรรมและออกแบบการ จดั การเรียนร้ใู หผ้ ู้เรียนได้เรยี นรู้ จากประสบการณ์ เรยี นร้ผู า่ นการ ลงมือปฏิบตั แิ ละการทางานใน สถานการณจ์ ริง ส่งเสรมิ การ พัฒนาการคิด การทางาน การจดั ก การการเผชญิ สถานการณ์ ฝึกการ ปฏบิ ัติให้ทาได้ คิดเปน็ ทาเป็น โดย บูรณาการการทางานกบั การเรียนรู้ และ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม สามารถ ประยุกต์ความรู้มาใช้เพอ่ื ป้องกัน แก้ไขปญั หาและพัฒนา ด้วยความ ความซอื่ สัตยส์ ุจรติ มวี ินยั และ รับผดิ ชอบตอ่ ผเู้ รียนโดยยึดผู้เรยี น สาคญั ทส่ี ดุ 6.4 สร้างบรรยากาศและจัด สภาพแวดลอ้ ม ส่ือการเรียน แหล่ง วทิ ยาการ เทคโนโลยี วฒั นธรรม และภูมิปญั ญาท้ังในและนอก สถานศกึ ษาเพ่ือการเรียนรู้ มี ความสามารถในการประสานงาน และสร้างความร่วมมอื กบั บดิ า มารดา ผปู้ กครองและบคุ คลใน ชมุ ชนทกุ ฝา่ ย เพื่ออานวยความ สะดวกและรว่ มมอื กันพัฒนาผเู้ รยี น ให้มีความรอบรู้ มีปัญญารู้คดิ และ เกิดการใฝร่ ู้อย่างต่อเนื่องใหเ้ ต็ม ตามศกั ยภาพ 6.5 สามารถจดั การเรียนการสอน ใหน้ ักเรยี นมีทักษะศตวรรษท่ี๒๑ เช่นทกั ษะการเรยี นรู้ ทักษะการรู้ เรอื่ งทักษะการคิด ทกั ษะชวี ิต

49 มาตรฐานการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารสอน การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ทกั ษะการทางานแบบร่วมมอื ทกั ษะการใชภ้ าษาเพื่อการสอ่ื สาร ทักษะเทคโนโลยีและการดาเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และสามารถนาทักษะ เหลา่ นม้ี าใช้ในการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาผเู้ รียนและตนเอง

50 แผนท่ี 2 แสดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นร  = ความรับผิดช กลมุ่ วชิ า / รหสั วิชา / ช่อื วชิ า 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 กลุ่มวชิ าชีพครบู งั คบั 1022101 หลกั สตู รและวทิ ยาการการจดั การ    เรยี นรู้   1032101 นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพอื่ การเรยี นรู้ 1042102 การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้     1043102 การวิจยั และพัฒนานวัตกรรมเพอ่ื การ   เรยี นรู้ 1051101 จิตวทิ ยาเพือ่ การเรียนรู้   1102101 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเป็นครู       มอื อาชพี 1102102 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาและ   การพัฒาชุมชน 1211101 ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่อื สารสาหรบั    ครู 1 1212102 ภาษาอังกฤษเพอื่ การส่ือสารสาหรบั    ครู 2

รู้ (Curriculum Mapping) รายวิชาของหมวดวชิ าเฉพาะ ชอบหลกั 3. ทกั ษะทาง 4. ทักษะความสมั พนั ธ์ 5 ทกั ษะการ 6. วธิ วี ิทยาการจดั การเรยี นรู้ ปัญญา ระหว่างบุคคล และ วิเคราะหเ์ ชงิ ความรบั ผดิ ชอบ ตวั เลข การ ส่อื สารและการ ใชเ้ ทคโนโลยี 2.5 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5                                         

51 กลุ่มวชิ า / รหสั วิชา / ชือ่ วิชา 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 1212103 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สารสาหรับ    ครู 3    1251101 ภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สารสาหรบั ครู

3. ทักษะทาง 4. ทกั ษะความสมั พนั ธ์ 5 ทักษะการ 6. วธิ วี ทิ ยาการจัดการเรยี นรู้ ปญั ญา ระหวา่ งบุคคล และ วเิ คราะหเ์ ชงิ ความรับผิดชอบ ตัวเลข การ สอ่ื สารและการ ใชเ้ ทคโนโลยี 2.5 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5            

52 แผนท่ี 3 แสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้ กลมุ่ วชิ า / รหัสวิชา / ชือ่ วชิ า 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 1002101 การฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 1 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 1003102 การฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 2 1004103 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 1    1004104 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 2      

(Curriculum Mapping) รายวิชาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ 4. ทกั ษะความสัมพนั ธ์ 5 ทักษะการ 3. ทักษะทาง ระหว่างบคุ คล และความ วเิ คราะห์เชงิ ปัญญา 6. วธิ วี ทิ ยาการจดั การเรยี นรู้ รบั ผดิ ชอบ ตวั เลข การ สื่อสารและการใช้ เทคโนโลยี 2.5 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5            

53 แผนท่ี 4 แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเ กลมุ่ วิชา / รหัสวิชา / ช่ือวชิ า 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 1201102 คณิตศาสตรส์ าหรับการสอนวทิ ยาศาสตร์   1201201 ฟิสิกส์สาหรบั ครู 1  1201202 ฟสิ ิกสส์ าหรบั ครู 2   1201301 เคมสี าหรบั ครู 1   1201302 เคมีสาหรับครู 2   1201401 ชวี วทิ ยาสาหรับครู 1   1201402 ชวี วิทยาสาหรับครู 2   1202501 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกทง้ั ระบบ   1202503 การจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรร์ ะดับประถมศกึ ษา     1203201 ไฟฟ้าและพลังงาน  1203502 ภาษาอังกฤษสาหรบั ครูวทิ ยาศาสตร์   1203508 วทิ ยาศาสตรส์ ่ิงแวดลอ้ มในทอ้ งถิน่   1203511 การจัดการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรร์ ะดับมธั ยมศึกษา    4012204 ดาราศาสตร์และอวกาศ 

เรียนรู้ (Curriculum Mapping) รายวิชาเอกบังคับ 3. ทกั ษะทาง 4. ทกั ษะความสัมพันธ์ 5 ทักษะการ 6. วธิ วี ทิ ยาการจดั การเรยี นรู้ ปัญญา ระหวา่ งบคุ คล และความ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข การ 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 2.5 3.1 3.2 3.3 รับผดิ ชอบ ส่อื สารและการใช้ เทคโนโลยี 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3                                                       

54 แผนท่ี 5 แสดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเ กลมุ่ วชิ า / รหสั วชิ า / ชือ่ วชิ า 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2 1202101 วิทยาการคานวณ   1202401 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ   1202301 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ   1202502 สะเต็มศึกษา    1203301 การปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตรใ์ นโรงเรียน   1203509 ธรรมชาตแิ ละการสบื เสาะทางวิทยาศาสตร์  1203510 สัมมนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละการสอนวทิ ยาศาสตร์  1203512 โครงงานและกจิ กรรมคา่ ยวทิ ยาศาสตร์   1203513 การวิจัยเพอื่ พฒั นากระบวนการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์     4032402 พนั ธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดเี อน็ เอ  4033401 สรีรวิทยาพนื้ ฐาน   

เรียนรู้ (Curriculum Mapping) รายวิชาเอกเลอื ก 3. ทกั ษะทาง 4. ทกั ษะความสมั พนั ธ์ 5 ทักษะการ 6. วิธวี ทิ ยาการจดั การเรยี นรู้ ปัญญา ระหว่างบุคคล และความ วเิ คราะหเ์ ชิง ตัวเลข การ 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 2.5 3.1 3.2 3.3 รับผิดชอบ สอ่ื สารและการใช้ เทคโนโลยี  4.1 4.2 4.3 4.4  5.1 5.2 5.3                                        

55 หมวดท่ี 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนกั ศกึ ษา 1. กฎระเบยี บหรอื หลักเกณฑ์ในการให้ระดบั คะแนน (เกรด) 1.1 นักศึกษาต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนท้ังหมด จึงจะมีสิทธ์ิสอบ ปลายภาค 1.2 การประเมนิ ผลการเรยี นแต่ละรายวิชาเป็นระบบค่าระดบั คะแนน แบ่งเปน็ 8 ระดบั ดงั นี้ ระดบั คะแนน ความหมาย ค่าระดับคะแนน A ดเี ย่ยี ม (Excellent) 4.00 B+ ดมี าก (Very Good) 3.50 B ดี (Good) 3.00 C+ ดีพอใช้ (Fair Good) 2.50 C พอใช้ (Fair) 2.00 D+ อ่อน (Poor) 1.50 D อ่อนมาก (Very Poor) 1.00 E ตก (Fail) 0.00 กรณีรายวิชาในหลักสูตรไม่มีการประเมินผลเป็นระดับคะแนนให้ใช้สัญลักษณ์แทน โดย เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชรว่าด้วย การประเมินผลการศึกษาระดับ อนปุ รญิ ญาและปริญญาตรี พ.ศ. 2548 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนกั ศกึ ษา 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนักศกึ ษากาลงั ศกึ ษาอยู่ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ท่ัวไป กาหนดแนวทางการทวนสอบ ผลสัมฤทธ์ิตาม ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร เร่ืองแนวทางการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของ นกั ศึกษา ฉบบั ประกาศ ณ วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2556 ซ่ึงเป็นการทวนสอบระดบั รายวชิ า ดังนี้ 1. คณะฯ แต่งต้งั คณะกรรมการทวนสอบผลสมั ฤทธริ์ ะดับหลักสูตร โดยใหม้ ีหน้าท่ี ทวนสอบผลสมั ฤทธิข์ องนกั ศึกษา 2. ให้อาจารย์ผู้สอนรายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธขิ์ องนักศึกษา (ตามท่ีปรากฏ ใน มคอ.5) ต่อประธานโปรแกรมวชิ าภายใน 30 วัน หลงั ส้ินสดุ ภาคการศึกษา 3. ใหค้ ณะกรรมการในข้อ 1. ดาเนนิ การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนกั ศึกษา อยา่ งน้อยละ 25 ของรายวชิ าทเ่ี ปดิ สอนในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา 4. ให้คณะกรรมการในข้อ 1. ดาเนนิ การทวนสอบผลสมั ฤทธข์ิ องนักศึกษาด้วยวิธใี ด วธิ หี นึง่ หรอื หลายวธิ ี ต่อไปน้ี 4.1 ให้นักศึกษาประเมินตนเองจากแบบประเมนิ การทวนสอบผลสมั ฤทธขิ์ อง รายวชิ า 4.2 ตรวจสอบขอ้ สอบรายวชิ า ว่ามีการวัดผลได้ตรงตามจุดม่งุ หมายของรายวชิ า 4.3 ใชก้ ารสัมภาษณ์นักศึกษาทเ่ี รียนรายวชิ า

56 4.4 ตรวจสอบผลการประเมิน จากวธิ ีการประเมนิ ผลของมาตรฐานผลการเรียนร้แู ต่ ละด้าน ตาม มคอ.3 (รายละเอียดของรายวชิ า) ว่ามีผลการประเมินตรงตามมาตรฐานผลการเรยี นร้ใู น แต่ละด้านทรี่ ะบุ 4.5 สถานศกึ ษาท่รี บั นสิ ิตนักศกึ ษาไปปฏบิ ตั ิการสอนในสาขาวชิ าเฉพาะด้านหรือ วิชาเอกมกี ารประเมินนิสิตนกั ศกึ ษาตามมาตรฐานผลการเรียนรแู้ ละกลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรียนรู้ 4.6 ผใู้ ชบ้ ัณฑติ มีสว่ นรว่ มในการทวนสอบผลการเรยี นรู้ 4.7 มีผู้ทรงคณุ วฒุ ภิ ายนอกร่วมทวนสอบผลการเรยี นรู้ สาหรับการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ระดับหลักสูตร ใช้ผลการประเมินจากการ ประเมนิ คุณภาพบัณฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยผู้ใช้บณั ฑิต/ผู้มีส่วน ไดส้ ่วนเสยี 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูห้ ลงั จากนักศึกษาสาเร็จการศึกษา ใหม้ ีการทวนสอบผลการเรยี นรตู้ ามทีก่ าหนดไว้ในหลักสูตรและรายวชิ า 1. มีคณะกรรมการตรวจสอบรายละเอียดของรายวิชา รายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม และกิจกรรมเสริมความเป็นครูตลอดหลักสูตรรวมท้ังการกากับให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูข้ องหลกั สูตร 2. มีการทวนสอบผลการเรยี นร้ขู องรายวชิ า 3. สถานศกึ ษาทรี่ บั นกั ศกึ ษาไปปฏบิ ตั กิ ารสอนในสาขาวชิ าเฉพาะดา้ นหรือวิชาเอก มกี าร ประเมินนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ และสถาบันควรมีการทวนสอบการประเมินผลการ ปฏบิ ตั กิ ารสอนของแตล่ ะสถานศกึ ษาตามหลักเกณฑ์ วธิ กี ารและเงอ่ื นไขตามทคี่ ุรุสภากาหนด 3. เกณฑก์ ารสาเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สตู ร ผู้สาเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สูตร ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ 1. เรยี นครบตามจานวนหนว่ ยกติ ท่ีกาหนดไว้ในหลกั สูตร 2. ได้คะแนนเฉลย่ี สะสมข้ันตา่ ไมต่ ่ากว่า 2.00 3. เป็นไปตามข้อบงั คบั ตามข้อบงั คบั มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร วา่ ดว้ ยการประเมินผล การศกึ ษาระดบั อนุปริญญาและปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2548 ข้อ 16

57 หมวดท่ี 6 การเนน้ พฒั นาอาจารยใ์ หเ้ กดิ การสอนแบบเน้นสมรรถนะ 1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ มีการปฐมนเิ ทศแนะแนวอาจารยใ์ หม่ ให้มีความรแู้ ละเข้าใจนโยบายของสถาบนั อุดมศกึ ษา คณะ และหลักสตู รทีส่ อน รวมทง้ั อบรมวิธีการสอนแบบตา่ ง ๆ ตลอดจนการใชแ้ ละผลติ สอ่ื การสอน เพ่อื เป็นการพัฒนาการสอนของอาจารย์ 1.1 การจัดให้มีการปฐมนเิ ทศเพื่อให้ทราบเป้าหมายของหลักสูตรและผลการเรียนรูท้ ี่ คาดหวงั 1.2 มกี ารจัดอบรมเทคนิค/วิธีการสอน กระบวนการจดั การเรียนรู้ การวัดผล การ ประเมินผล ตลอดจนคุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี 1.3 แต่งต้งั อาจารย์พี่เลี้ยงให้แกอ่ าจารย์ใหม่ เพือ่ สรา้ งความม่นั ใจในการจัดการเรียนการสอน และการเปน็ อาจารยท์ ี่ปรึกษา 2. การพัฒนาความรูแ้ ละทกั ษะให้แก่อาจารย์ 2.1 การพฒั นาทกั ษะการจัดการเรยี นการสอน การวดั และการประเมินผล 2.1.1 จัดอบรม/สัมมนาแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์การเรียนการสอน เช่น เทคนิค การสอน กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การวดั ผลและประเมินผล 2.1.2 การพฒั นาทักษะการใช้สือ่ ต่างๆ เทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษา 2.13 สนับสนุนให้อาจารย์ทาวิจัย เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ท่ีจะ นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพอาจารย์และนักศึกษา 2.2 การพัฒนาวชิ าการและวชิ าชพี 2.2.1 กาหนดให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่ชุมชนท่ีเกี่ยวข้องกับวิชาการ บญั ชีและการพฒั นาความรูแ้ ละคณุ ธรรม 2.2.2 สนับสนุนให้อาจารย์ได้ศึกษาค้นคว้าทาวิจัย เขียนบทความ หรือผลงานทาง วิชาการ ท่ีตรงสาขา 2.2.3 สนับสนุนให้อาจารย์ไดเ้ ข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน และนาเสนอผลงาน ทางวชิ าการท้งั ในประเทศและต่างประเทศ 2.2.4 สนับสนนุ ใหอ้ าจารย์ได้มีคุณวุฒแิ ละตาแหน่งทางวิชาการท่สี ูงขึน้ 2.2.5 กาหนดใหม้ ีสว่ นรว่ มในการจัดทาหลกั สตู ร ปรบั ปรุงรายวชิ าหรอื พัฒนาหลักสตู ร

58 หมวดที่ 7 การประกนั คณุ ภาพหลกั สูตร 1. การกากบั มาตรฐาน หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ท่ัวไป กากับมาตรฐานให้เป็นไปตาม มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรส่ีปี) พ.ศ.2562 และข้อบังคบั คุรุสภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 2. บัณฑติ หลักสูตรครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ท่ัวไป คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏกาแพงเพชร ผลติ บัณฑติ ให้มีคณุ สมบตั ิ ดงั น้ี 1. มีความรู้ความสามารถทักษะในการประกอบวิชาชีพครู ตามมาตรฐานวิชาชีพครูและ สามารถวิเคราะห์ปัญหา วางแผน แก้ปญั หาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 2. มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์และทักษะทาง วิทยาศาสตรเ์ ปน็ อยา่ งดี 3. มีความรัก ศรทั ธา ภมู ิใจในวชิ าชพี ครู และมีจรรยาบรรณของวิชาชีพครู 4. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีความเมตตา กรุณา ต่อผู้เรียน 5. มีจิตสานึกในการพัฒนาตนเอง สังคม มีจิตใจเป็นประชาธิปไตย สามารถทางานร่วมกับ ผอู้ ืน่ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 6. มีบคุ ลิกภาพเหมาะสมท่ีจะประกอบวิชาชีพครูมีความประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอยา่ งทีดี 7. มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน กระตือรือร้น แสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและ สามารถนาความรูท้ ี่ได้รับไปประยกุ ต์ใชใ้ นการจดั ประสบการณ์ให้แก่ผู้เรยี นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 8. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ เพ่ือการสื่อสารได้อย่างดี และ สามารถใชส้ อื่ เทคโนโลยตี า่ ง ๆ ทีม่ ีความทันสมยั ได้ 9. สามารถผลิตสื่อ วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษาเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้เป็น อย่างดี 3. นกั ศึกษา 3.1 การรบั นกั ศึกษา ผู้เข้าศึกษาต้องสาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า สาย วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ มีเจตคติที่ดีและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพครู สอบผ่านข้อสอบวัด คณุ ลักษณะความเป็นครู และผ่านเกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ/หรือเป็นไป ตามระเบยี บข้อบังคบั การคดั เลอื กของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร 3.2 การเตรยี มความพร้อมก่อนเขา้ ศึกษา การเตรียมความพร้อมก่อนการเข้าศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมความเป็นครู การ ปฐมนิเทศเก่ียวกับการปรบั ตัวกับการเรยี นในระดับอุดมศึกษา การใช้ชีวติ ในสถาบันอุดมศึกษาอยา่ งมี ความสุข การเตรยี มทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์

59 3.3 การส่งเสริมและงานพฒั นานกั ศกึ ษา กาหนดกิจกรรมเสริมความเป็นครูในแต่ละปี โดยอาจจัดกิจกรรม/ โครงการเป็นการ เฉพาะหรืออาจบริหารจัดการให้บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ เพื่อเสริมสร้าง คณุ ลกั ษณะความเป็นครแู ละเสริมสร้างความเป็นพลเมอื งทีเ่ ข้มแข็ง ปลี ะไมน่ ้อยกวา่ สองกิจกรรม อาทิ 1. กิจกรรมเสริมสรา้ งความศรัทธา ความมุง่ มน่ั และรกั ในอาชีพครู 2. กิจกรรมจิตอาสาและ/หรอื จิตสาธารณะ/การบาเพญ็ ประโยชนแ์ กช่ ุมชนและสังคม 3. กจิ กรรมส่งเสรมิ ความรกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และความเป็นไทย 4. กิจกรรมตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ/หรือศาสตร์พระราชา 5. กจิ กรรมลูกเสือ/เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด 6. กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ สุขภาวะ การปอ้ งกันโรค และเพศศึกษา 7. กิจกรรมส่งเสริมวถิ ชี ีวติ ประชาธิปไตย รวมถงึ การเลอื กตง้ั 8. กิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรม ศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ 9. กจิ กรรมส่งเสรมิ สุขภาพ กีฬาและนนั ทนาการ 10. กิจกรรมทางวิชาการ 11. กจิ กรรมอนื่ ๆ ที่สถานศกึ ษาเห็นสมควร 4. อาจารย์ 4.1 การรับอาจารย์ใหม่ คุณวุฒิของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และ อาจารย์พิเศษให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดั บ ปรญิ ญาตรีทีม่ ผี ลใช้บังคบั ในปัจจุบัน นอกจากน้ีอาจารย์ผู้สอนรายวิชาชีพครยู งั จะต้องมีคุณสมบัติเพ่ิมเติมดงั ต่อไปนี้ 1. ได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการศึกษาอย่างน้อยระดับใดระดับหน่ึง คือปริญญาตรี ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท ปริญญาเอก หรือต้องผ่านการอบรมและผ่านการ ประเมินศาสตร์วิชาชีพครูตามท่ีกาหนด ได้แก่ คุณธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู ความรู้และทักษะ ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ จิตวิทยาพัฒนาการและการแนะแนว ส่ือเทคโนโลยีและการวัด และประเมินเพื่อการจัดการเรียนรู้ ความรตู้ ามกรอบ TPCK แนวคิด STEM กระบวนการ PLC ทักษะ การนิเทศและการสอนงาน ทักษะทางเทคโนโลยีและสื่อดิจิทัล ทักษะการทางานวิจัยและวัดประเมิน ทักษะการรว่ มมอื สร้างสรรค์ รวมแล้วไม่น้อยกวา่ 60 ช่ัวโมง และ 2. มีประสบการณ์การสอนระดับอุดมศึกษาไม่น้อยกว่า 1 ปี และกรณีที่ผู้สอนมี ประสบการณ์ น้อยกว่า 1 ปี ให้มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชาโดยมีการสอนร่วมกับ ผู้สอนที่มปี ระสบการณ์ การสอนตง้ั แต่ 3 ปีข้ึนไป และ 3. ผู้สอนที่รับผิดชอบรายวิชาจะต้องมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาที่สอนและมี ผลงานทางวิชาการที่เก่ียวข้องโดยตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาที่สอน เช่น ตารา หนังสือ งานวิจัย นวัตกรรม ผลงานสร้างสรรค์ อย่างน้อย 1 ชิ้นงาน ที่มีการเผยแพร่ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง กรณี บทความอย่างนอ้ ย 3 บทความ ภายใน 5 ปยี ้อนหลัง และ

60 4. มีประสบการณ์การสอนในระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐานและ/หรืออาชวี ศึกษาอย่างน้อย 1 ปี กรณีที่ยังไม่มีประสบการณ์การสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ/หรืออาชีวศึกษาจะต้องมี ประสบการณ์ การสอนอย่างน้อย 1 ปีในระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานและ/หรืออาชีวศึกษาภายใน 3 ปี การศึกษา ท้งั นีใ้ ห้นับรวม การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษาในระหว่างการศึกษาดว้ ย หมายเหตุ กรณีผู้สอนวิชาชีพครูที่ปฏิบัติการสอนมาก่อน มคอ.1 นี้ใช้บังคับ ให้ยกเว้น เกณฑ์ คุณสมบตั ิผู้สอนวชิ าชีพครูขอ้ 2-4 4.2 การมีสว่ นร่วมของคณาจารยใ์ นการวางแผน การตดิ ตามและทบทวนหลกั สตู ร การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผนการพัฒนาหลักสูตร โดยเริ่มจากการศึกษา ผลการผลิตบณั ฑติ ตามหลักสูตรเดิม มกี ารวเิ คราะห์บณั ฑิตที่สาเร็จการศึกษาไปแลว้ จากตัวบณั ฑิตเอง และผใู้ ชบ้ ณั ฑิต ร่วมกันวางแผนเพอ่ื การพฒั นาหลักสตู รใหม้ ีความทันสมยั สอดคลอ้ งกับความต้องการ ของสถานศึกษา มกี ารกากับติดตามบณั ฑิตอยา่ งเป็นระบบและมีระยะเวลาการติดตามทกุ ปกี ารศึกษา มีการจัดกิจกรรมเพื่อพบปะศิษย์เก่าเพื่อศึกษาสภาพและความต้องการในการพัฒนาหลักสูตร คณาจารย์ทบทวนหลักสูตรจากผลการกากับติดตามและกิจกรรมพบศิษย์เก่าแล้วจึงประมวลผลการ ทบทวนหลักสูตรตามกระบวนการพัฒนาหลักสูตร โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย คณาจารย์ ศิษย์เกา่ ผูใ้ ช้บณั ฑิต และนักศึกษาปจั จุบัน 4.3 การพฒั นาความรแู้ ละทกั ษะให้กับแก่คณาจารย์ คณาจารยใ์ หม่ 1. การปฐมนิเทศ 2. การฝกึ อบรมคณาจารย์ใหม่ท่ีไม่มใี บอนุญาตประกอบวิชาชีพครูด้านศาสตร์วชิ าชีพครู การจดั การเรยี นการสอน กลยุทธ์การสอนและการประเมนิ ผล 3. การพัฒนาด้านการวิจัย ควรมีการจัดเงินทุนสาหรับนักวิจัยหน้าใหม่เพ่ือผลิตผล งานวิจัยท่เี กย่ี วขอ้ งกบั วชิ าชีพหรอื การเข้าร่วมเป็นคณะผูว้ ิจัยรว่ มกับนักวิจัยอาวโุ ส 4. การจัดให้เป็นผู้สอนร่วมกับอาจารย์ที่มีประสบการณ์ในรายวิชาท่ีตรงหรือสัมพันธ์กับ คณุ วุฒิและการแต่งตง้ั อาจารยพ์ ีเ่ ล้ียงเพอ่ื ให้คาแนะนาและใหค้ าปรึกษาในการปฏิบตั ิงานทางวิชาการ คณาจารยป์ ระจาการ 1. การพัฒนาด้านการเรียนการสอน เช่น การอบรมความรู้จากหน่วยงานภายในและ หน่วยงานภายนอก รวมทั้งการประชุมสัมมนาวิชาการต่าง ๆ ศึกษาดูงานทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ส่งเสรมิ ใหม้ สี ว่ นรว่ มในกิจกรรมชมุ ชน 2. การพฒั นาด้านวชิ าการ ส่งเสริมการจัดทาผลงานเพอ่ื พัฒนาเขา้ สู่ตาแหน่งทางวิชาการ ส่งเสริมใหค้ ณาจารยไ์ ปศึกษาต่อ 3. การพัฒนาด้านการวิจัยและสร้างนวัตกรรม การจัดเงินทุนเพ่ือผลิตผลงานวิจัยที่ เกย่ี วข้องกบั วชิ าชีพเพือ่ ใหม้ ผี ลงานตีพมิ พ์ในระดับชาติและนานาชาติ 4. การพฒั นาทกั ษะทางภาษาไทย ภาษาอังกฤษ/ภาษาตา่ งประเทศ

61 5. หลกั สตู ร การเรียนการสอน การประเมนิ ผเู้ รียน 5.1 หลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับปริญญาตรีสาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ.2562 และข้อบังคับคุรุ สภาวา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 5.2 การเรยี นการสอน การจัดการเรียนการสอนเป็นระบบทวิภาค 1 ปี แบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ มี ระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าภาคละ 15 สัปดาห์ อาจจัดให้มีการจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน จานวนไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับ การพิจารณาและดลุ ยพินิจของอธิการบดี และไม่มีการเทยี บเคียงหน่วยกิตในระบบทวภิ าค 5.3 การประเมนิ ผูเ้ รียน การประเมินผู้เรียนมีการประเมินเป็นรายบุคคลตามรายวิชา โดยอาศัยการวัดผล ประเมินผลตามสภาพจริง และการทดสอบ ซ่ึงการทดสอบมีกระบวนการทดสอบทีเ่ ป็นระบบเดียวกัน คือการทดสอบย่อย การทดสอบระหว่างภาคเรียน การทดสอบปลายเรียน โดยมีการตัดสินผลการ เรียนท้ังแบบอิงกลุ่มและอิงเกณฑ์ จาแนกตามลักษณะของรายวิชา โดยมีคะแนนเก็บต่อคะแนนสอบ ปลายภาคดังนี้ รายวิชาทฤษฏี 60:40 รายวิชาปฏิบัติ 70:30 6. สง่ิ สนับสนุนการเรียนรู้ 6.1 การบริหารงบประมาณ จัดทาโครงการโดยอา้ งอิงจากงบประมาณค่าบารุงการศึกษาและงบประมาณแผ่นดินเป็น ประจาทกุ ปี สาหรบั การพฒั นาหลักสูตร บุคลากร นักศกึ ษาและทรัพยากรการเรียนรู้ 6.2 ทรัพยากรการเรยี นการสอนทม่ี ี 1. มีห้องเรียนที่มีสื่อการเรียนการสอนเหมาะสม ทันสมัย ได้แก่ คอมพิวเตอร์และ อุปกรณใ์ นการนาเสนอหน้าชัน้ เรียน 2. มหี อ้ งปฏิบตั ิการ อาทิ ห้องปฏิบัตกิ ารสอนจลุ ภาค (Micro-Teaching) ห้องปฏิบตั กิ าร ผลติ ส่ือการสอน หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ หอ้ งจาลองหอ้ งปฏิบตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. การเรยี นการสอนและการนิเทศแบบออนไลน์และออฟไลน์ 4. มหี ้องสมดุ ท่ีประกอบไปดว้ ยสอื่ ต่างๆ เชน่ ตาราเรียน หนงั สือ วารสาร โสตทัศนวัสดุ สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ วิทยานิพนธ์ ฐานข้อมลู ข่าวการศึกษา ฐานขอ้ มูลวารสารทางการศกึ ษา เปน็ ต้น โดย สอ่ื ต่าง ๆ มีความทนั สมยั มจี านวนเพยี งพอ 5. มีความรว่ มมอื อย่างใกล้ชดิ และเป็นระบบระหวา่ งคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ กาแพงเพชร ซง่ึ เป็นสถาบันผลิตและพัฒนาครูกับสถานศึกษาท่ีเป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพและ ปฏิบัติการสอนโดยมีอาจารย์นิเทศก์ ครูพี่เล้ียงและ/หรือ ผู้สอนงานท่ีมีคุณภาพ เป็นสถานศึกษาท่ีมี มาตรฐานและมีคุณภาพในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและปฏิบัติการสอนให้เป็นไปตามมาตรฐาน วิชาชพี ครูโดยร่วมมือกันบูรณาการความรู้และเนื้อหาสาระกับประสบการณ์การทางานในสถานศึกษา (School Integrated Learning: SIL) อย่างหลากหลาย 1. มแี ละจดั แหลง่ เรยี นรู้ในชุมชน ธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม และปราชญช์ าวบา้ น 2. ทรัพยากรอ่ืน ๆ ท่ีจาเป็นสาหรบั การจัดการเรยี นรูท้ ่ีมีคณุ ภาพ

62 6.3 การจัดหาทรพั ยากรการเรยี นการสอนเพมิ่ เตมิ การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติม โดยสารวจจากความต้องการของ คณาจารย์ นักศกึ ษา แล้วเรียงลาดับความต้องการจาเปน็ จดั ทาโครงการเพ่ือหาทรัพยากรเพม่ิ เตมิ โดย อ้างอิงจากงบประมาณค่าบารงุ การศึกษาและงบประมาณแผน่ ดินเปน็ ประจาทุกปี 6.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ท่ัวไป คณะครุศาสตร์ มีทรัพยากรการเรียนรู้ที่มีความ เหมาะสม เพียงพอต่อการจัดการศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน มคอ.1 7. ตัวบ่งชผ้ี ลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) ผลการดาเนินการบรรลุตามเปา้ หมายตวั บง่ ชท้ี ้ังหมดอยใู่ นเกณฑ์ดีต่อเนื่อง 2 ปกี ารศึกษาเพื่อ ตดิ ตามการดาเนินการตาม TQF ต่อไป ท้ังนี้เกณฑ์การประเมนิ ผ่าน คือ มกี ารดาเนินงานตามข้อ 1–5 และอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 80 ของตวั บง่ ชผี้ ลการดาเนินงานท่รี ะบุไวใ้ นแตล่ ะปี ตวั บง่ ชผี้ ลการดาเนนิ งาน ปที ี่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีท่ี 5 (1) คณาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมใน X X X X X การประชุมเพ่ือวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงาน หลักสูตร (2) มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ท่ีสอดคล้องกับ X X X X X มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขา ศึกษาศาสตร์ (หลกั สตู รสี่ป)ี พ.ศ. 2562 (3) มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ X X X X X ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อน การเปดิ สอนใน แตล่ ะภาคการศกึ ษาใหค้ รบทุกวชิ า (4) จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผล X X X X X การดาเนนิ การของประสบการณภ์ าคสนาม (ถา้ มี) ตามแบบ มคอ. 5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลงั สิ้นสุดภาคการศึกษาทเ่ี ปิดสอน ให้ครบทกุ รายวิชา (5) จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 X X X X X ภายใน 60 วัน หลังส้ินสดุ ปีการศึกษา (6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนิสิต/นักศึกษาตามมาตรฐานผล X X X X X การเรียนรู้ท่ีกาหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อย ละ 25 ของรายวิชาท่เี ปดิ สอนในแต่ละปีการศกึ ษา (7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน XXXX หรือการประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงาน ท่ีรายงานใน มคอ.7 ปที ีแ่ ล้ว (8) คณาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ อบรมหรือ X X X X X คาแนะนาด้านศาสตร์วชิ าครแู ละวิทยาการการจัดการเรยี นรู้ (9) คณาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือ X X X X X วชิ าชพี อย่างน้อยปีละหน่ึงครง้ั (10) จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการ X X X X X พัฒนาวิชาการ และหรือวิชาชีพ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี

63 ตวั บง่ ช้ผี ลการดาเนินงาน ปีท่ี 1 ปที ี่ 2 ปีท่ี 3 ปีท่ี 4 ปที ี่ 5 (11) ระดับความพึงพอใจของนิสิต/นักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ท่ีมี XX ต่อคุณภาพหลักสตู ร เฉล่ียไม่นอ้ ยกวา่ 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 (12) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บณั ฑิตท่ีมีต่อบัณฑิตใหม่เฉล่ียไมน่ ้อย X กวา่ 3.5 จากคะแนนเตม็ 5.0 (13) นิสติ /นักศึกษาได้รบั เข้ารว่ มกจิ กรรมส่งเสรมิ ความเป็นครูครบถ้วน X X X X X ทกุ กิจกรรมท่ีกาหนดและเป็นประจาทกุ ปี (14) มีการจัดประสบการณ์บูรณาการการเรียนรู้กับการปฏิบัติงาน X X X X X วชิ าชีพครูในสถานศึกษาเป็นประจาทุกปกี ารศกึ ษา (15) นักศึกษาท่ีสาเร็จการศึกษาต้องผ่านเกณฑ์การประเมินผลความรู้ X X X X X ความสามารถด้านทักษะภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษา ร้อยละ 50% ท่สี าเร็จในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา

64 หมวดที่ 8 การประเมนิ และปรบั ปรงุ การดาเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธผิ ลของการสอน 1.1 การประเมนิ กลยุทธ์การสอน 1.1.1 ก่อนการสอนมีการประชุมร่วมกันของอาจารย์ในโปรแกรม เพ่ือแลกเปล่ียนความ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะจากอาจารย์ที่มีประสบการณแ์ ละวางแผนการสอนสาหรบั รายวิชาท่ีผู้สอนแต่ ละคนรบั ผดิ ชอบ 1.1.2 ขณะดาเนินการสอนมีการประเมินผลการสอนเป็นระยะๆ โดยการสังเกตของผู้สอน และอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร 1.2 การประเมนิ ทกั ษะของอาจารย์ในการใชแ้ ผนกลยุทธก์ ารสอน 1.2.1 การประเมินการสอนโดยนักศึกษาทุกปลายภาคการศึกษา โดยสานักส่งเสริมวิชาการ และงานทะเบียน 1.2.2 การประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนและจัดทารายงานผลการดาเนินงานของ รายวชิ า 2. การประเมินหลกั สตู รในภาพรวม การประเมินหลักสูตรในภาพรวมอาศัยการประเมินผลจากกระบวนการพัฒนานักศึ กษา รวมถึงผลลัพธภ์ ายหลังจากการพัฒนานักศกึ ษาทุกปีการศกึ ษา โดยพจิ ารณาจากสมรรถนะท่ีกาหนดไว้ ในหลักสูตร นอกจากนั้นหลักสูตรประเมินผลจากการสอบวัดความรู้ความสามรถทางวิชาชีพครูก่อน การฝึกประกอบการวิชาชีพครูในสถานศึกษา โดยในขณะที่ฝึกประสบการณ์ให้นักศึกษาประเมิน ตนเอง ครูพี่เล้ียง อาจารย์นิเทศและผู้บริหารสถานศึกษาประเมินในภาพรวม นอกจากนน้ั เมื่อบัณฑิต สาเร็จการศึกษามีการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตถึงความพึงพอใจต่อการพัฒนาบัณฑิตในระดับใด เพ่ือ เช่ือมโยงมายังการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับสาขาวิชาจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ประเมิน ภายนอก 3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดของหลักสตู ร มีการดาเนินการประเมินคุณภาพการศกึ ษาประจาปีตามดัชนีบ่งช้ีผลการดาเนินงานท่ีระบุใน หมวดที่ 7 โดยคณะกรรมการประเมินคณุ ภาพที่ได้รบั การแต่งตงั้ จากมหาวทิ ยาลัย 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง 4.1 อาจารย์ผู้สอนทบทวนผลการประเมินการสอนในระหว่างภาคการศึกษา ปรับปรุงกล ยุทธ์การสอนทันที จากข้อมูลท่ีได้รับเมื่อสิ้นภาคการศึกษา อาจารย์ผู้สอนทารายงานผลการ ดาเนินงานรายวิชาเสนอประธานโปรแกรม 4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรติดตามผลการดาเนินงานตามดัชนีบ่งช้ีหมวดท่ี 7 จาก การประเมนิ คุณภาพภายใน 4.3 อาจารย์ผู้รับชอบหลักสูตรสรุปผลการดาเนินงานหลักสูตร พิจารณาทบทวนผลการ ดาเนนิ งานและวางแผนปรบั ปรุงการดาเนินงานเพือ่ ใชใ้ นรอบปกี ารศกึ ษาต่อไป

65 ภาคผนวก

66 ภาคผนวก ก คาอธิบายรายวชิ า

67 คาอธิบายรายวชิ า หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป 1. กลุ่มวิชาภาษาและการส่ือสาร รหสั วิชา ชอื่ และคาอธิบายรายวชิ า น(ท–ป–อ) 1541001 ทักษะการใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) Thai Language Usage Skills หลักการ รูปแบบ และวิธีการใช้ภาษาในบริบทต่างๆ จากทรัพยากรสารสนเทศ ฝกึ ปฏิบัติการคดิ วเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ การจบั ประเดน็ และการสรปุ สาระสาคัญ โดยนาเสนอผล การศึกษาดว้ ยวาจาและลายลักษณ์ 1541002 ภาษาและการส่ือสารเพอ่ื จดุ ประสงค์เฉพาะ 3(3-0-6) Language and Communication for Specifics Purposes หลักการ วิธีการใชภ้ าษาและการสื่อสาร เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์ของการส่อื สาร ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารพดู และการเขยี น และประเมินการพูดและการเขยี น 1551001 ภาษาองั กฤษพ้นื ฐาน 3(3-0-6) Fundamental English การเขียนประโยคเบื้องต้นตามหลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ฝึกการอ่านบทความ ภาษาอังกฤษสนั้ ๆ ฝึกการฟงั และการพูดภาษาองั กฤษจากบทสนทนาต่างๆ 1551002 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร 3(3-0-6) English for Communication โครงสร้างและรูปแบบประโยคภาษาอังกฤษ จากสถานการณ์ต่างๆ มุ่งเน้นการฝึก ทักษะการฟัง การพดู การอา่ น และการเขียน เพื่อให้สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องตาม หลกั ไวยากรณ์ 1551003 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอบวัดมาตรฐาน 3(2-2-5) English for Standardized Test ศกึ ษารูปแบบข้อสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษ เช่น TOEIC, TOEFL, IELTS, CU-TEP หรืออื่นๆ ทบทวนความรูไ้ วยากรณ์ คาศัพท์ภาษาอังกฤษทจี่ าเป็นตอ่ การเขา้ สอบมาตรฐาน ฝึกเทคนิคการทาข้อสอบในรูปแบบต่าง ๆ การจัดการเวลา สาหรับทักษะการสอบ การฟัง อา่ นและเขยี นในสถานการณ์ท่ีหลากหลาย

68 รหัสวิชา ชอ่ื และคาอธบิ ายรายวิชา น(ท–ป–อ) 1561001 ภาษาญีป่ นุ่ เพอ่ื การสอื่ สาร 3(3-0-6) Japanese for Communication ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ค า ศั พ ท์ แ ล ะ ส า น ว น ภ า ษ า ญ่ี ปุ่ น ใ น บ ท ส น ท น า เ รื่ อ ง ทั่ ว ไ ป ใ น ชีวิตประจาวัน ฝึกการฟัง การเขียน การอ่าน การเล่าเร่ืองและอธิบายด้วยคาศัพท์ และสานวน ภาษาญี่ปุ่นในบทสนทนาเร่ืองทั่วไปในชีวิตประจาวัน การอธิบายอย่างง่ายในชีวิตประจาวัน เพื่อ สามารถใชภ้ าษาญี่ปนุ่ ไดใ้ นสถานการณจ์ ริง 1571001 ภาษาจนี เพ่อื การสอ่ื สาร 3(3-0-6) Chinese for Communication หลักการออกเสียง การฟัง พูด บทสนทนาท่ัวไปในชีวิตประจาวันเบ้ืองต้น ตามหลัก ไวยากรณ์เพื่อให้ส่ือสารได้อย่างถูกต้อง และฝึกทักษะการพูดภาษาจีนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ตา่ งๆ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชไ้ ดต้ ามสถานการณ์จรงิ 1571002 ภาษาจนี พน้ื ฐานเพอื่ การทอ่ งเท่ียว 3(3-0-6) Fundamental Chinese for Tourism คาศัพท์ สานวน และบทสนทนาภาษาจีน ท่ีใช้สาหรับการท่องเที่ยวในสถานการณ์ ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม เพ่ือการเดินทางโดยสารรถยนต์ รถไฟ เคร่ืองบิน การเข้าพักโรงแรม ภัตตาคาร ร้านอาหาร การซ้ือสินค้า และธุรกิจบริการอ่ืนๆ ที่เป็นปัจจัยสนับสนุนการท่องเท่ียว การ ปฏบิ ตั ติ นในการเปน็ เจ้าของประเทศท่ดี ี 1661001 ภาษาเกาหลเี พ่อื การสอ่ื สาร 3(3-0-6) Korean for Communication ความหมายของคาศัพท์และสานวนภาษาเกาหลีในบทสนทนาเร่ืองทั่วไปใน ชีวิตประจาวัน ฝึกการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน การเล่าเร่ืองและอธิบายด้วยคาศัพท์ และ สานวนภาษาเกาหลีในบทสนทนาเรื่องทั่วไปในชีวิตประจาวัน การอธิบายอย่างง่ายในชีวิตประจาวัน เพอื่ สามารถใชภ้ าษาเกาหลีได้ในสถานการณจ์ ริง

69 รหสั วชิ า ชอื่ และคาอธบิ ายรายวิชา น(ท–ป–อ) 1691001 ภาษาพม่าพนื้ ฐาน 3(3-0-6) Fundamental Burmese การเรียนรู้พยัญชนะ สระและการออกเสียง หลักไวยากรณ์พ้ืนฐาน คาศัพท์และ สานวน ฝกึ การฟัง การพูด การอ่านและการเขยี นจากบทสนทนาเบอ้ื งต้น 1691002 ภาษาพมา่ เพอ่ื การสื่อสาร 3(3-0-6) Burmese for Communication ความหมายของคาศัพท์และสานวนภาษาพม่าในบทสนทนาเร่ื องทั่วไปใน ชีวิตประจาวัน ฝึกทักษะด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน การเล่าเรื่องและอธิบายด้วย คาศัพท์ และสานวนภาษาพม่าในบทสนทนาเร่ืองทั่วไป การอธิบายอย่างง่ายในชีวิตประจาวัน เพื่อ สามารถใช้ภาษาพมา่ ไดใ้ นสถานการณจ์ รงิ 2. กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์ รหสั วชิ า ชอ่ื และคาอธิบายรายวชิ า น(ท–ป–อ) 1001003 พฤตกิ รรมมนษุ ยก์ ับการพฒั นาตน 3(3-0-6) Human Behavior and Self-Development พฤติกรรมมนุษย์ วิธีการศึกษาพฤติกรรม ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม ปัจจัยทาง ชีววิทยา ปัจจัยทางสังคมวิทยา ปัจจัยทางจิตวิทยา องค์ประกอบของพฤติกรรม ความฉลาดทาง อารมณ์ การเขา้ ใจตนเองและการพัฒนาตนเอง มนุษย์สมั พันธ์ การทางานเป็นทีมและการอยู่ร่วมกัน อยา่ งเป็นสขุ 1001005 ทักษะการคดิ และการตดั สินใจ 3(3-0-6) Thinking and Decision Making Skill กระบวนการคิดของมนุษย์ ตรรกศาสตร์และการใช้เหตุผล การวิเคราะห์ กระบวนการตัดสินใจ ความคิดสร้างสรรค์ การคิดแบบนิรนัย การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิด แกป้ ัญหา การประยุกตใ์ ช้ความคิดในชวี ติ ประจาวัน 1511001 จริยธรรมกบั มนษุ ย์ 3(3-0-6) Ethics and Human Beings ความหมายของจรยิ ธรรมและมนุษย์ ความสาคัญของจรยิ ธรรมตอ่ มนษุ ย์ ทฤษฎีทาง จริยธรรม หลักจริยธรรมท่ีสาคัญทางปรัชญาและศาสนาสาหรับมนุษย์ การประยกุ ต์ใช้หลักจริยธรรม เพื่อพฒั นาคณุ ภาพชีวติ สว่ นบคุ คลและสังคม

70 รหัสวชิ า ชือ่ และคาอธบิ ายรายวิชา น(ท–ป–อ) 1511002 ความจริงของชวี ติ 3(3-0-6) Facts of Life ความหมายของชีวิต ชวี ิตมนุษย์ การดารงชีวิตในสังคมโลกปัจจุบัน การนาเอาความ จริงและหลักศาสนธรรมไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา พัฒนาชีวิตและสังคม คุณธรรมจริยธรรมตาม หลักศาสนธรรม ชีวิตทีม่ สี ันตสิ ขุ และสังคมที่มสี ันตภิ าพ 1521001 พุทธศาสน์ 3(3-0-6) Buddhism ประวัติ องค์ประกอบต่างๆ และลักษณะสาคัญของพระพุทธศาสนา หลักธรรม สาคัญต่างๆ ของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนากับสังคมไทย หลักจริยธรรมในพระพุทธศาสนา เน้นการปฏบิ ัติในชวี ติ ประจาวนั การพัฒนาตน และการพฒั นาสงั คม 1631001 สารสนเทศเพื่อการศึกษาและการค้นควา้ 3(3-0-6) Information for Study and Research ความหมาย ความสาคัญ บทบาทของสารสนเทศ มาตรฐานการรู้สารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ การจัดระบบทรัพยากรสารสนเทศ แหลง่ สารสนเทศ เคร่ืองมือสบื คน้ ทรัพยากร สารสนเทศ การเข้าถึงสารสนเทศ การอา้ งองิ และการนาเสนอผลการศกึ ษาคน้ ควา้ 2011001 สนุ ทรยี ภาพทางทัศนศิลป์ 3(3-0-6) Aesthetics of Visual Arts สุนทรียภาพท่ีเกยี่ วกับความประทับใจและสะเทอื นใจในธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ ม ท่ีเป็น แรงบันดาลใจในการสร้างผลงานทัศนศิลป์แขนงจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม พร้อมท้ัง รับร้อู งคป์ ระกอบความงาม หลกั การจัดภาพ ทฤษฎกี ารถ่ายทอดของงานทัศนศิลป์ไทย จนเกิดคณุ ค่า ของงานทัศนศิลป์ด้านความงามและเร่ืองราว โดยผ่านขั้นตอนการเรียนรู้ในหลักการดูงานทัศนศิลป์ เบอื้ งตน้ และนาไปส่กู ารวจิ ารณผ์ ลงานทัศนศลิ ป์ตามหลกั วชิ าการ 2051001 สนุ ทรียภาพทางศิลปะการแสดง 3(3-0-6) Aesthetics of Performing Arts การจาแนกข้อต่างในศาสตร์ของความงาม ความหมายของสุนทรียภาพทาง ศิลปะการแสดงองค์ประกอบของศิลปะการแสดงทางนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์สากล ความสาคัญของ การรบั รู้ ศาสตร์ตา่ งๆ ของการเหน็ การได้ยิน การเคลื่อนไหว ศลิ ปะการแสดง

71 รหัสวิชา ชอื่ และคาอธบิ ายรายวชิ า น(ท–ป–อ) 2061001 สงั คตี นยิ ม 3(3-0-6) Music Appreciation องค์ประกอบพื้นฐานของดนตรี เครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีตะวันตก การประสม วงดนตรีไทย วงดนตรตี ะวันตก คตี ลกั ษณท์ ีพ่ บเห็นทั่วไป คีตกวที ี่สาคญั และคีตวรรณกรรมทไี่ ด้รบั การ ยกยอ่ งบางบท ประวัติดนตรีทีค่ วรทราบ และประสบการณก์ ารฟงั ดนตรีเพ่ือก่อให้เกดิ ความซาบซึ้ง 3501001 การพฒั นาภาวะผู้นา 3(3-0-6) Leadership Development ความหมาย ความสาคัญ พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีภาวะผู้นา การพัฒนา ภาวะผู้นา การตัดสินใจ การจูงใจและสร้างขวัญกาลังใจ การติดต่อส่ือสารและพัฒนาทีมงาน การ จดั การความขดั แย้ง การจดั การการเปลย่ี นแปลง 3501003 การพฒั นาบุคลกิ ภาพและศิลปะการเขา้ สังคม 3(3-0-6) Personality Development and the Arts of Socializing ความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของบุคลกิ ภาพ การพัฒนาบุคลิกภาพใน ดา้ น การพูด การแต่งกาย การมีปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งบคุ คล ศลิ ปะการเขา้ สงั คม 3. กลมุ่ วิชาสังคมศาสตร์ รหสั วิชา ชอ่ื และคาอธบิ ายรายวิชา น(ท–ป–อ) 2501001 ประวตั ศิ าสตร์สังคมและวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6) History of Thai Society and Culture พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมใน สังคมไทย เงื่อนไขหรือปัจจัยท่ีกาหนดลักษณะความเปล่ียนแปลงของโครงสร้างในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมไทย มรดกทางวัฒนธรรมที่ตกทอดจากอดีตมาสู่ปัจจุบัน ความเข้าใจ เกีย่ วกบั ปรากฏการณ์และปญั หาทางสังคมท่เี กดิ ข้ึนในสงั คมไทยรว่ มสมยั 2501003 จติ สาธารณะและพันธะทางสงั คมของพลเมือง 3(3-0-6) Public Mind and Civic Social Engagement บทบาทหน้าท่ี จิตสานึกและความรับผิดชอบของการเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม พันธะทางสังคมของพลเมือง กระบวนการพัฒนาจิตสาธารณะ ความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบ ประชาธิปไตย การมีคุณธรรม จริยธรรม แนวคิด หลักการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตใน สังคมไทย สาเหตุ ผลกระทบท่ีเกิดจากการทุจริตประพฤติมิชอบในมิติต่างๆ แนวทางแก้ไขโดยการ ประยกุ ต์แนวคดิ ความเปน็ พลเมอื ง

72 รหัสวิชา ช่ือและคาอธิบายรายวิชา น(ท–ป–อ) 2501004 สหวทิ ยาการสงั คมศาสตรเ์ พือ่ การพฒั นา 3(3-0-6) Interdisciplinary Social Science for Development ปรากฏการณ์ท่สี าคัญของโลก อาเซียนและไทย ในมิติสหวิทยาการทางสังคมเพ่ือให้ เกิดมุมมองต่อความหลากหลายและเข้าปฏิสัมพันธใ์ นโลกสมัยใหม่ จิตสานึกสากล โลกทัศน์ใหม่ในมิติ ทางการเมือง เศรษฐกจิ สังคมวัฒนธรรม รัฐชาติและความเป็นชาติ การรวมกลุ่มในโลกปัจจุบนั สันติ ศึกษา ศาสนาสาหรับโลกสมยั ใหม่ ความเป็นพลเมืองโลก เพศสภาวะและเพศสภาพ สังคมสมยั ใหม่ 2521001 โลกาภิวตั นแ์ ละท้องถน่ิ ภิวตั น์ 3(3-0-6) Globalization and Localization แนวคิด รูปแบบการเปล่ยี นแปลงของสังคมชนบทไทยที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กบั โลกและ ประเทศในกลุ่มอาเซียน การเปล่ียนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมสู่สังคมอุตสาหกรรม สังคมสมัยใหม่ และสังคมหลังสมัยใหม่ผ่านวาทกรรมว่าด้วยการพัฒนาท้ังการเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้างทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและวิถีชีวิตอันเป็นผลมาจากโลกาภิวัตน์ และขบวนการเคลื่อนไหว ทอ้ งถนิ่ ภวิ ตั น์ 2521002 อาเซยี นศกึ ษา 3(3-0-6) ASEAN Studies ความหมาย ความสาคัญ ความเป็นมาของอาเซียน กฎบัตร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม วิถีอาเซียน ความสามารถในการแข่งขัน เขตการค้าเสรี เขตเศรษฐกิจพิเศษ การ เคลื่อนย้ายอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน แรงงานทักษะ และตลาดอาเซียน การ ท่องเทยี่ ว การเกษตร การศกึ ษา การกีฬา สขุ ภาพ และชอ่ งวา่ งของการพัฒนาอาเซยี น 2541001 มนุษย์ ชุมชนและสง่ิ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) Human Beings, Community and Environment ระบบนิเวศ มนุษย์ ชุมชน และส่ิงแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ชุมชนและ ส่ิงแวดล้อม และความสัมพันธ์ทางพ้ืนท่ี ความหลากหลายทางชีวภาพ ผลกระทบที่เกิดจากกิจกรรม ของมนุษย์ต่อส่ิงแวดล้อม ด้านการใช้พลังงาน ด้านการเกษตร แนวทางการแก้ปัญหาจริยศาสตร์ สงิ่ แวดลอ้ ม หลกั การอนุรกั ษ์ การมสี ่วนร่วมการจดั การเชงิ บูรณาการ และการพัฒนาอย่างยง่ั ยืน 2541002 การจดั การทรัพยากรท้องถิ่น 3(3-0-6) Local Resource Management ทรัพยากรทอ้ งถิ่น การจัดการแบบบูรณาการเชิงระบบ โดยมุ่งใช้มาตรการทางสังคม เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ธรรมาภิบาล ภูมิปัญญาท้องถ่ิน การมีส่วนร่วม หลักความพอเพียง การ จัดการส่ิงแวดล้อม การพัฒนาอย่างย่ังยืน และเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เพ่ือเน้นความเป็นชุมชน ทอ้ งถิ่นและความยัง่ ยืน

73 รหสั วิชา ชอื่ และคาอธบิ ายรายวชิ า น(ท–ป–อ) 2551002 ความรู้พ้ืนฐานเกย่ี วกบั การเมืองการปกครองไทย 3(3-0-6) Fundamental Knowledge on Thai Politics and Government แนวคิด และวิวัฒนาการของการเมืองการปกครองไทย รัฐธรรมนูญ พัฒนาการทาง ประชาธิปไตยของไทยรวมทั้งกระบวนการทางเมืองและบทบาทและหน้าท่ีของสถาบันทางการ เมืองไทย การจัดระเบยี บการปกครอง ตลอดจนวิเคราะห์ปัญหาและแนวโน้มการเมืองไทยในอนาคต 2561001 ความรู้เบอื้ งต้นเกีย่ วกบั กฎหมาย 3(3-0-6) Introduction to Laws ความรู้พื้นฐานทั่วไปเก่ียวกับกฎหมาย ที่มา ลักษณะและชนิดต่างๆ ของกฎหมาย การใช้และการยกเลกิ กฎหมาย หลักท่ัวไปของกฎหมายแพ่งและอาญา 3501004 การริเร่มิ การประกอบธรุ กิจ 3(3-0-6) Business Initiation ความหมาย ความสาคัญ และกระบวนการริเริ่มธุรกิจ การประเมินความพร้อมใน การประกอบธรุ กจิ การค้นหาโอกาสทางธรุ กจิ การวางแผนธุรกิจ การเขา้ สตู่ ลาด การประเมินผล และ การปรับปรุงธรุ กิจ 3531001 การเงนิ ในชีวติ ประจาวนั 3(3-0-6) Finance in Daily Life การวางแผนและการบริหารการเงินในชีวิตประจาวันสาหรับบุคคลและครอบครัว เพ่ืออนาคต การวางแผนการออม การลงทุน และหลังการเกษียณ วิธีการของสินเช่ือส่วนบุคคลและ การลงทนุ การรู้จักใชเ้ งินเพื่อสขุ ภาพและพกั ผอ่ นบนั เทงิ 3541001 การเป็นผ้ปู ระกอบการ 3(3-0-6) Entrepreneurship แนวคิดและทฤษฎีการเปน็ ผู้ประกอบการ องค์ประกอบทเี่ กย่ี วกับความพรอ้ มในการ ประกอบการ การมองหาโอกาส และความท้าทายในการเป็นผู้ประกอบการ แนวทางการจัดต้ังธุรกิจ จรยิ ธรรมและความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม กฎหมายทเ่ี กีย่ วขอ้ งแนวโน้มการเป็นผู้ประกอบการ 3591003 ศาสตรพ์ ระราชาเพื่อการพัฒนาทอ้ งถ่นิ 3(3-0-6) The King’s Phisolophy for Local Development แนวคิด และหลักการของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ประยกุ ต์ใช้หลักการ ทรงงาน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดการพัฒนาแบบย่ังยืนในชีวิตประจาวันได้ วิเคราะห์ ยุทธศาสตร์ฉลาดรู้เพ่ือการพัฒนาชุมชนต้นแบบตามศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม และร่วมมอื กันทางานโดยบูรณาการแบบองค์รวมกบั ทีมภาคีเครอื ขา่ ย

74 4. กลมุ่ วชิ าคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวชิ า ช่ือและคาอธบิ ายรายวิชา น(ท–ป–อ) 1031001 ทักษะในศตวรรษที่ 21 เพือ่ ชีวติ และอาชพี 3(2-2-5) 21st Century Skills for Living and Occupations สืบค้น วิเคราะห์ แนวคิด ทฤษฏีเกี่ยวกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยการบูรณาการ การประยุกตเ์ พอื่ พฒั นาทักษะท่สี าคัญต่อการดาเนินชีวิตและการประกอบอาชพี อยา่ งมคี ุณภาพ 1161001 กีฬาและนนั ทนาการเพือ่ คุณภาพชวี ิต 3(2-2-5) Sports and Recreation for Quality of Life ความสาคัญและความจาเป็นของการเล่นกีฬาและการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ขอบข่ายของกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ คุณค่าของกิจกรรมกีฬาและ นันทนาการต่อร่างกาย จติ ใจ อารมณแ์ ละสังคม การประเมินสขุ ภาพของตนเอง การเลือกรูปแบบของ กิจกรรม กีฬาและนันทนาการ ฝึกทกั ษะเบื้องตน้ ในการเล่นกีฬา การจดั กจิ กรรมทางนันทนาการ 1161002 การออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ 3(2-2-5) Exercise for Health ความหมาย ขอบข่าย จุดมุ่งหมาย และคุณประโยชน์ของการออกกาลงั กาย หลกั การและข้ันตอนของการออกกาลงั กายเพอื่ สขุ ภาพ การออกกาลงั กายเพื่อพฒั นาสมรรถภาพ ทาง กายดา้ นต่าง ๆ การเลอื กกจิ กรรมการออกกาลงั กายให้สอดคล้องกับเพศและวยั การประเมินผลการ ออกกาลงั กายอยา่ งถูกวธิ ี การใช้อุปกรณ์และเครอ่ื งมอื การออกกาลงั กาย การฝึกการออกกาลังกายใน สถานบริการออกกาลังกาย การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 4001002 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเพอ่ื ชวี ติ ประจาวัน 3(3-0-6) Science and Technology for Daily Life ความหมายของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี องคป์ ระกอบ และกระบวนการแสวงหา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ พลังงาน สารเคมี เทคโนโลยี สมนุ ไพรในชีวติ ประจาวนั 4001003 การอนุรักษส์ ่ิงแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ 3(3-0-6) Environments and Natural Resources Conservation ความหมาย ประเภทของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ความสาคัญของ ส่งิ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติต่อระบบส่งิ แวดลอ้ มและมนุษย์ อธิบายสถานการณ์สิ่งแวดล้อมท่ี เกิดขึ้นในปัจจุบันในประเทศและโล ก ปัญหา ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนกับส่ิงแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งยง่ั ยืนควบค่กู บั หลกั คุณธรรม และจริยธรรม

75 รหัสวิชา ชอ่ื และคาอธบิ ายรายวิชา น(ท–ป–อ) 4071001 สุขภาพและสุขอนามยั 3(3-0-6) Health and Health Care ลกั ษณะสุขภาพที่ดี การป้องกันโรคและยาเสพติด การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น การ ส่งเสริมสุขภาพ โรคติดต่อ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การคุมกาเนิด อุบัติเหตุและการป้องกัน ส่งิ แวดลอ้ มและสขุ อนามัยในการประกอบอาชีพ และระบบหลักประกันสขุ ภาพ 4091001 คณิตศาสตรใ์ นชวี ิตประจาวัน 3(3-0-6) Mathematics in Daily Life ดอกเบี้ย การซ้ือเงินผ่อน การเช่าซ้ือ การจานอง การจานาและการขายฝาก การ คานวณภาษี คณิตศาสตร์การเงินเบือ้ งต้น การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรคู้ ณิตศาสตรใ์ นชีวติ ประจาวัน 4091003 คณิตศาสตร์กบั การตดั สินใจ 3(3-0-6) Mathematics and Decision Making ตรรกศาสตร์และการให้เหตุผล ระเบียบวิธีทางสถิติ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจาย ความน่าจะเป็นและทฤษฎีการตดั สินใจเบื้องต้น กาหนดการเชิงเสน้ ฝึกปฏิบัตกิ าร ใช้โปรแกรมสาเรจ็ รูปทางด้านสถติ ิและการตดั สนิ ใจ 4121001 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology การใช้ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมอรรถประโยชน์ การใชง้ านอินเทอร์เนต็ การสบื ค้น ข้อมูลสารสนเทศ เรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสมยั ใหม่ การประยุกตใ์ ช้งาน กฎหมาย และจริยธรรม จรรยาบรรณในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 4121005 การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ 3(2-2-5) Website Design and Development การใช้เครื่องมือและวิธีการในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ การประยุกต์ใช้กับ ระบบงานขององคก์ ร การสรา้ งและออกแบบเว็บเพจโดยใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รูป 4121006 โปรแกรมสาเรจ็ รูปเพือ่ การประยุกต์ใช้งาน 3(2-2-5) Package Software for Application การใช้โปรแกรมด้านการประมวลผลคา โปรแกรมด้านการนาเสนอผลงาน และ โปรแกรมกระดานคานวณอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เพ่อื นาไปประยุกตใ์ ชง้ านในชวี ติ ประจาวัน

76 รหสั วชิ า ชือ่ และคาอธิบายรายวิชา น(ท–ป–อ) 5001001 เกษตรในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6) Agriculture in Daily Life วิวัฒนาการ และความสาคัญของการเกษตร ระบบการเกษตรท่ีเหมาะสม การผลิต พืช การผลิตสัตว์ เกษตรอินทรีย์ การเกษตรตามแนวพระราชดาริ ปัจจัยสภาพแวดล้อมต่อการ ผลิตทางการเกษตร ผลพลอยได้จากการเกษตรและการใช้ประโยชน์ ผลกระทบจากการประกอบ อาชพี เกษตรกรรม 5071001 อาหารเพ่ือสุขภาพ 3(3-0-6) Food for Health ความสาคัญและบทบาทของอาหารต่อสุขภาพ อาหารและสารอาหาร หลักการ บริโภคอาหารเพ่ือให้มีสุขภาพดี ประเภทของอาหารเพื่อสุขภาพ อาหารฟังก์ช่ัน อันตรายและความ ปลอดภัยของอาหาร 5501001 เทคโนโลยีในชวี ติ ประจาวัน 3(3-0-6) Technology in Daily Life ความเป็นมาเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นามาใช้ในชีวิตประจาวัน เทคโนโลยีท้องถ่ิน ทางเลือกในการใชเ้ ทคโนโลยี การใชเ้ ครอื่ งมือ เคร่ืองจกั ร เครอ่ื งใช้ต่าง ๆ การดูแลรกั ษาเครือ่ งมอื และ การซ่อมบารุง

77 คาอธิบายรายวชิ า หมวดวิชาเฉพาะ 1. กลมุ่ วิชาชีพครบู ังคับ รหสั วชิ า ชอื่ และคาอธบิ ายรายวชิ า น(ท–ป–อ) 1022101 หลกั สตู รและวทิ ยาการการจดั การเรยี นรู้ 3(2-2-5) Curriculum and Learning Management Science ศึกษาหลักสตู ร วางแผนและจัดการเรียนรู้ตามธรรมชาติสาขาวิชาเอกทีส่ ามารถ พฒั นาผู้เรยี นให้มีปัญญารู้คิดและมีความเป็นนวัตกร ท่ีสอดคล้องกับบริบทและความแตกต่างระหว่าง บุคคลของผู้เรียน ผ้เู รียนท่มี ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ จดั กิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ให้ ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน ตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน โดยบูรณาการความรู้ เน้ือหาวิชา หลักสูตร ศาสตรก์ ารสอน และเทคโนโลยดี ิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ ทฤษฎกี ารเรียนรู้ ทฤษฎีสมองกับ การเรียนรู้ ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้ กระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 การศึกษาเรียนรวม ฝึกปฏิบัติการสอนแบบ จุลภาค ทดลองจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา ใช้การสะท้อนคิดเพ่ือให้มีทักษะในการออกแบบและ จัดการเรียนรู้ เพื่อให้มีความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ มีทักษะในการจัดการเรียนรู้ และใช้ การสะท้อนคิดไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเองในการเปน็ ครูทดี่ ี มีความรอบรู้ และทันสมัยต่อความ เปล่ียนแปลง 1032101 นวตั กรรมและเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Innovation and Digital Technology for Learning ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ตามธรรมชาตขิ องสาขาวิชาเอกเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิดและมีความเป็นนวัตกร ที่สอดคล้อง กับบริบทและความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน ผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ โดยการ วิเคราะห์หลักการ แนวคิด ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการส่ือสาร การศึกษาและการเรียนรู้ กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ ง จรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยดี ิจิทัล เพอื่ ให้สามารถ เลือก และประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสื่อสารการศึกษาและการจัดการ เรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ และไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาและใช้การสะท้อนคิดไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาตนเองในการเปน็ ครูท่ดี ี มคี วามรอบรู้ และทันสมยั ตอ่ ความเปล่ยี นแปลง

78 รหัสวชิ า ช่อื และคาอธบิ ายรายวิชา น(ท–ป–อ) 1042102 การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 3(3-0-6) Learning Measurement and Evaluation ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฏีวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงด้วย วิธีการท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะของสาระสาคัญในเรื่องที่ประเมิน บริบทและความ แตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ สะท้อนผลการประเมินเพื่อ พัฒนาการของผู้เรียนและพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรียนรู้ โดยใช้หลักการ แนวคดิ ทฤษฎีการวัดและ ประเมินผล การประเมินตามสภาพจริง การออกแบบและสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผล การให้ ข้อมูลป้อนกลับท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน แนวทางการใช้ผลการวัดและประเมินผลผู้เรียนใน ปรับปรุงพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลเพ่ือพัฒนาผู้เรียนอย่าง เหมาะสมและสร้างสรรค์ และใช้การสะท้อนคดิ ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเองในการเป็นครูท่ีดี มี ความรอบรู้ และทนั สมยั ต่อความเปลยี่ นแปลง 1043102 การวจิ ัยและพัฒนานวตั กรรมเพื่อการเรียนรู้ 3(2-2-5) Research and Development for Learning Innovation ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย แก้ปัญหาเพ่ือพัฒนาผู้เรียน สร้างนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาการ เรียนรู้ของผู้เรียนท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติของสาขาวิชาเอก บริบทความแตกต่างหลากหลายของ ผู้เรียน ผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ โดยการศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการในการ พัฒนาของผู้เรียนในชั้นเรียน ออกแบบการวิจัยโดยประยุกต์ใช้หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการวิจัย จรรยาบรรณของนักวิจัย การสร้างและหาคุณภาพเคร่ืองมือวิจัย ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการ สร้างนวัตกรรมในการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน นวัตกรรมท่ีสอดคล้องกับบรบิ ทของชุมชน เพ่ือให้สามารถนาผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียน และใช้การ สะท้อนคิดไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเองในการเป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ และทันสมัยต่อความ เปล่ยี นแปลง

79 รหสั วชิ า ช่ือและคาอธบิ ายรายวชิ า น(ท–ป–อ) 1051101 จติ วทิ ยาเพือ่ การเรยี นรู้ 3(3-0-6) Psychology for Learning ศกึ ษา วิเคราะห์ แกป้ ัญหา ประยุกต์ใช้ความร้ทู างจิตวทิ ยาสาหรับการจัดการเรยี นรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและช่วงวัย ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ โดยใช้หลักการ แนวคิด ทฤษฎที างจิตวทิ ยาพัฒนาการ จติ วทิ ยาการศึกษา และจติ วิทยาให้คาปรึกษา ทักษะสมองเพื่อ การเรียนรู้ การส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของผู้เรียนตามช่วงวัย เด็กที่มีความต้องการจาเป็น พิเศษ แนวทางการให้คาแนะนากับผู้ปกครองเก่ียวกับการส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียน การศึกษา รายกรณี การสะท้อนคดิ เพ่ือให้สามารถออกแบบดูแลช่วยเหลอื และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตาม ศักยภาพ มุ่งม่ันพัฒนาผู้เรียนด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้ อย่างเป็นระบบ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องเพ่ือสร้างความร่วมมือในการพัฒนา ผู้เรียน และใชก้ ารสะท้อนคิดเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเองในการเป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทนั สมัย และทนั ต่อการเปล่ยี นแปลง 1102101 คุณธรรม จรยิ ธรรม และความเป็นครูมืออาชีพ 3(3-0-6) Ethics for Professional Teachers ศึกษา วิเคราะห์และประพฤติ ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ มุ่งมั่นพัฒนา ผู้เรียนด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู เป็นแบบอย่างท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นพลเมืองท่ี เข้มแข็ง ดารงตนให้เป็นท่ีเคารพศรัทธาของผู้เรียนและสมาชิกในชุมชน โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ บูรณาการองค์ความรู้เกี่ยวกับค่านิยมของครู จรรยาบรรณวิชาชีพครู คุณธรรม จริยธรรมสาหรับครู จิตวิญญาณความเป็นครู กฎหมายสาหรับครู สภาพการณ์การพัฒนาวิชาชีพครู โดยใช้การจัดการ เรียนรู้ที่เน้นประสบการณ์ กรณีศึกษา การฝึกปฏิบัติใช้การสะท้อนคิดเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการ พฒั นาตนเองในการเป็นครทู ่ดี ี มคี วามรอบรู้ ทันสมัย และทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง 1102102 การประกนั คุณภาพการศกึ ษาและการพัฒนาชมุ ชน 2(1-2-3) Educational Quality Assurance and Community Development ศึกษาหลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพการศึกษา การ ออกแบบและดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา สามารถจัดการคุณภาพ การจัดกิจกรรมเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและประเมินคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ สร้าง เครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน เพ่ือสนับสนุนการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพของผู้เรียน และ ร่วมมือกับผปู้ กครองในการพฒั นาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ บรู ณาการระบบ ประกนั คุณภาพการศกึ ษากบั การพัฒนาชุมชน ทอ้ งถ่นิ ตามบริบทของโรงเรยี น

80 รหสั วชิ า ชือ่ และคาอธบิ ายรายวิชา น(ท–ป–อ) 1211101 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารสาหรับครู 1 1(0-2-1) Communicative English for Teachers 1 ฝกึ ทกั ษะการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ ในการฟัง การพดู การอ่าน และการเขียนใน สถานการณ์ต่างๆ 1212102 ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสารสาหรับครู 2 1(0-2-1) Communicative English for Teachers 2 ฝึกทักษะการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ ในการฟัง การพดู การอ่าน และการเขยี นในการ จดั การเรียนการสอนในหอ้ งเรียนและการจัดการในช้นั เรยี น 1212103 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารสาหรบั ครู 3 1(0-2-1) Communicative English for Teachers 3 ฝึกทกั ษะการสอ่ื สารภาษาอังกฤษโดยการฟงั พดู อา่ น และเขียนตามหลกั ของการใช้ ภาษาเพ่ือการส่ือความหมายทถี่ กู ต้องในเชิงวชิ าการ 1251101 ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสารสาหรบั ครู 2(1-2-3) Communicative Thai for Teachers ศึกษา วิเคราะห์วาทวิทยาสาหรับครู หลักการ และเทคนิควิธีการใช้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ และฝึกปฏิบัติการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และภาษาท่าทาง เพ่ือการส่ือ ความหมายในการเรียนการสอนและการสื่อสาร สืบค้นสารนิเทศเพื่อพัฒนาตนให้รอบรู้ ทันสมัย และ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงสาหรับ ฝึกการใช้ภาษาและวัฒนธรรมเพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างสันติและ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และภาษาท่าทาง เพ่ือพัฒนา ผู้เรยี น

81 2. กลมุ่ วิชาฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู 14 หนว่ ยกิต รหัสวชิ า ชือ่ และคาอธิบายรายวิชา น(ท–ป–อ) 1002101 การฝกึ ปฏบิ ัติวชิ าชพี ระหว่างเรยี น 1 1(90) Practicum in Teaching Profession Institution 1 สรุปคุณลักษณะของตนเองและครูที่แสดงออกถึงความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู ระบุจรรยาบรรณต่อตนเองและต่อวิชาชีพ รอบรู้บทหน้าที่ครูผู้สอนและครูประจาช้ันในสถานศึกษา เขา้ ใจบริบทชมุ ชน รว่ มมือกับผู้ปกครองในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการพฒั นา ดูแล ช่วยเหลือ ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทั้งรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ ในรูปแบบของการศึกษารายกรณี (Case Study) โดยการประยุกต์ใช้ความรู้ทางจิตวิทยา เทคโนโลยี ดิจิทัล การพัฒนาหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ สรุปแนวทางและลักษณะกิจกรรมการ พัฒนาวิชาชีพของครูท้ังในและนอกสถานศึกษา ผ่านกระบวนการสังเกตและวิเคราะห์การปฏิบัติ หน้าที่ครู ถอดบทเรียนจากประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษา สังเคราะห์องค์ความรู้และนาผล จากการเรียนรู้ในสถานศึกษาไปประเมินสะท้อนกลับ (AAR) เปน็ รายบคุ คลและร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพือ่ นาไปใช้ในการพัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ทันสมัยและ ทันตอ่ การเปลย่ี นแปลง 1003102 การฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชีพระหวา่ งเรียน 2 1(90) Practicum in Teaching Profession Institution 2 รายวชิ าทตี่ อ้ งเรียนมากอ่ น 1002101 การฝกึ ปฏบิ ัตวิ ชิ าชพี ระหวา่ งเรียน 1 ประพฤติ ตนเปน็ แบบอย่างที่ดีมีคุณธรรมและจริยธรรมตามจรรยาบรรณวิชาชพี ปฏิบตั ิงานผ้ชู ่วยครูร่วมกับครู พี่เล้ียงโดยการวางแผนออกแบบเนื้อหาสาระและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้สื่อและเทคโนโลยี การวัด และประเมินผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ในรายวิชาเฉพาะด้าน บูรณาการองค์ความรู้ทางการบริหาร การศึกษา ออกแบบนวัตกรรม การดาเนินการเก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษาท่ีสอดคล้องกับ สถานศึกษาแต่ละระดับ บริหารจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมี ความสขุ ในการเรียน รว่ มมอื กับผู้ปกครองในการพัฒนา ดูแล ช่วยเหลือผู้เรยี น ให้มีคณุ ลักษณะอันพึง ประสงค์ วิเคราะหแ์ ละนาเสนอแนวทางในการพฒั นาตนเองให้มีความเป็นครูมืออาชีพท่ีเทา่ ทนั ต่อการ เปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านศาสตร์วิชาชีพครูและศาสตร์สาขาวิชาเอก เข้าร่วมโครงการท่ีเกี่ยวข้องกับ การส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ินและนาผลจากการเรียนรู้ในสถานศึกษาไป ประเมินสะท้อนกลบั (AAR) เป็นรายบุคคลและร่วมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพอ่ื นาไปใชใ้ นการพัฒนาตนเองใหม้ คี วามรอบรู้ ทันสมยั และทันตอ่ การเปลยี่ นแปลง รหสั วิชา ช่ือและคาอธบิ ายรายวิชา น(ท–ป–อ)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook