Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี อสค 2560 E-Mag

รายงานประจำปี อสค 2560 E-Mag

Published by goodworkscreative, 2021-07-02 10:08:17

Description: รายงานประจำปี อสค 2560 E-Mag

Search

Read the Text Version

องคก ารสง เสรมิ กจิ การโคนมแหง ประเทศไทย (อ.ส.ค.) Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) 2017ARNEPNOURATL รายงานประจำป 2560 www.dpo.go.th









นมแหง่ ชาติ ภายในปี 2564 Being ‘National Milk by 2021’

Prคeำ� fนaำ� ce องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) เป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่จัดตั้ง ตามพระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2514 มบี ทบาทด้านการส่งเสริมการเลย้ี งโคนม และธรุ กิจอตุ สาหกรรมนม มีการจดั ท�ำรายงาน ผลการดำ� เนนิ งานประจำ� ปี เพอื่ เผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธก์ ารดำ� เนนิ งานทส่ี ำ� คญั ในรอบปงี บประมาณทกุ ปี รายงานประจำ� ปี 2560 จัดทำ� ขน้ึ นี้เป็นผลการด�ำเนนิ งานตั้งแตเ่ ดือนตุลาคม 2559 - กนั ยายน 2560 โดยมีสาระสำ� คญั ได้แก่ ขอ้ มูลภาพรวม ขององคก์ ร ผลการดำ� เนนิ งาน รายงานทางการเงนิ และกจิ กรรมตา่ งๆ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ รายงานฉบบั นจี้ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ไป องคก์ ารส่งเสรมิ กจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) is state enterprise under the Ministry of Agriculture and Cooperatives, established by the Royal Decree of D.P.O. establishing B.E 2514 (1971), with both objectives on dairy farming promotion and dairy industry. D.P.O. has been published annual report to publicize yearly about our performance and major activities in fiscal year. For 2017 annual report, is our performance since October 2016 until September 2017, with major contents as follows : organization overview, performance, financial report, activities. Hopefully that annual report would be useful in the next future. Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

แผนวิสาหกิจ ปี 2560-2564 2017-2021 State Enterprise Plan

วสิ ัยทัศน์ : นมแห่งชาตภิ ายในปี 2564 Vision : Being ‘National Milk by 2021’ พันธกจิ 1 สง่ เสริมการเลย้ี งโคนมใหเ้ ป็นอาชพี แก่ 3 สรา้ งแหลง่ ความร้ดู ้านกิจการโคนม Mission เกษตรกรไทยอยา่ งม่ันคงและย่ังยืน และอุตสาหกรรมนม Promote Dairy Farming to be Secured and Establish Knowledge Base for Dairy Sustainable Occupation for Thai Farmers Farming and Dairy Industry 2 พัฒนาธุรกิจอตุ สาหกรรมนมให้ครบ 4 มุง่ บรหิ ารจัดการองคก์ รให้เป็น วงจรและมมี ูลคา่ เพ่มิ องค์กรท่มี ขี ีดสมรรถนะสูง Achieving Fully Integrated Dairy Industry ด้วยหลักธรรมาภบิ าล Development with Value Added Being a Well-Managed High Calibre Organization with Good Governance ค่านิยม : “องคก์ รแห่งความสขุ ท่สี ่งเสริมและยกระดับความรู้ดว้ ยคุณภาพระดับมอื อาชีพ” Value : A Happy Organization that Advocates and Leverages Knowledge with Professionalism GROWTH SUSTAINABILITY LEARNING PERFORMANCE EBITDA 664 ลา้ นบาท Top of Mind ในอตุ สาหกรรมนม ศนู ยก์ ลางขอ้ มลู และความรเู้ ร่ือง รัฐวสิ าหกจิ ระดับ B EBITDA 664 MB Top of Mind in the อตุ สาหกรรมโคนม B-Level State Enterprise Information Center and Dairy Industry Knowledge Base for the Dairy Industry เติบโตอย่างม่นั คง ใช้ทรัพย์สินใหเ้ กดิ ประโยชน์ การเงิน Grow Steadily Optimize the Use of Assets Finance ไดร้ ับการยอมรับกับผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี สรา้ งความมนั่ คงในอาชพี ผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย Accepted by Stakeholders Build Career Security Stakeholders สร้างความหลากหลายของ ยกระดับการบรหิ ารจดั การ เพ่มิ ผลติ ภาพการผลิต บริหารจดั การ กระบวนการภายใน ผลติ ภณั ฑ์ / บริการ สู่ความเป็นเลิศ Increase Productivity ให้เกิดประสิทธิภาพ Internal Process Create a Variety of Products/Services Upgrade Management to Effective Excellence Management เพม่ิ ขดี ความสามารถบคุ ลากร เสริมสรา้ งความผูกพนั องค์กร คนและการเรยี นรู้ Building Personnel’s Capacity Employee Engagement People & Learning วัฒนธรรมองคก์ ร รแู้ ละรับผิดชอบ ส่งมอบสง่ิ ท่มี คี ุณคา่ พัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง เน้นเรื่องธรรมาภิบาล Corporate Culture Learning and Being Delivering Value Improving Continuously Being Determined to Good Accountable Governance

Conสาtรบeญั nts • สารจากประธานกรรมการ อ.ส.ค. 001 Message from Chairman of The Board 004 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) 008 • สารจากผ้อู �ำนวยการ อ.ส.ค. 010 Message from The Director 017 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) • โครงสรา้ งคณะกรรมการ อ.ส.ค. 022 Structure of Board of Committee (D.P.O.) 025 • คณะผบู้ รหิ าร อ.ส.ค. 026 Structure of Board of Directors 027 • รางวัลความสำ� เรจ็ Awards of Achievement 030 038 ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ภาพรวม อ.ส.ค. 055 Part 1 Organization Overview of D.P.O 056 • ประวัติความเปน็ มา “กำ� เนิดฟารม์ โคนมไทย-เดนมารค์ และ อ.ส.ค.” Historical Overview “History of Thai-Danish Dairy Farm and D.P.O.” 061 • วัตถปุ ระสงคใ์ นการจัดตง้ั อ.ส.ค. Purpose of D.P.O. Establishment • บทบาทหนา้ ท่ีขององค์การส่งเสริมกจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) Roles and Duties of Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) • แนวนโยบายผู้ถือหุน้ ภาครฐั (Statement of Directions : SODs) ที่มตี ่อองคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) The Statement of Directions (SODs) towards the Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) สว่ นท่ี 2 ผลการดำ� เนินงาน ปี 2560 Part 2 2017 Performace • สภาวะอตุ สาหกรรมนมและแนวโนม้ ในอนาคต Industry Situation and Future Trend • ผลการดำ� เนนิ งานปี 2560 2017 Performance • ระบบคุณภาพ อ.ส.ค. ปี 2560 Dairy Industry Performance Report in 2017 • รายงานผลการด�ำเนินงานคณะกรรมการตรวจสอบ องค์การสง่ เสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย ประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 Audit Committee Board Performance Report Dairy Farming Promotion Organization of Thailand, Fiscal Year 2017. • การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 Integrity & Transparency Assessment (ITA) in State-Owned Enterprises Performance, Fiscal Year 2017

• แผนการลงทนุ ท่สี ำ� คญั ในปจั จุบนั และอนาคต 062 Key Investments Plan in Present and Future 066 • รายงานผลการก�ำกับดูแลกจิ การท่ดี ี 070 Corporate Governance Performance Report • การบริหารความเสีย่ ง 078 Risk Management 083 สว่ นท่ี 3 รายงานทางการเงิน 093 Part 3 Financial Report 100 • รายงานทางการเงิน อ.ส.ค. 102 Financial Report D.P.O 108 สว่ นที่ 4 กจิ กรรมในรอบปี 2560 113 Part 4 Activities in 2017 • กจิ กรรมองค์กร 114 Organization Activities 120 • กิจกรรมดา้ นสง่ เสริมกจิ การโคนม 121 Dairy Farming Promotion Activities 122 • กจิ กรรมด้านอตุ สาหกรรมนม Dairy Industry Activities 127 • กิจกรรมดา้ นการตลาด Marketing Activities 130 • กจิ กรรมอ�ำนวยการและการมีสว่ นรว่ มของคณะกรรมการบรหิ ารงาน อ.ส.ค. 138 Administrative Activities & Participation Activities of D.P.O. Board ภาคผนวก ก Appendix A • โครงสร้างคณะกรรมการ อ.ส.ค. ตามพระราชกฤษฎีกาจดั ตง้ั องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) พ.ศ. 2514 D.P.O.’s Committee Structure Established by the Royal Decree of D.P.O. establishing B.E 2514 (1971) • ประวัตคิ ณะกรรมการ อ.ส.ค. Board of Committee Profile D.P.O. • โครงสรา้ งองคก์ ร (ณ 30 กนั ยายน 2560) Organizational Structure (as of September 30, 2017) • อัตราก�ำลังของ อ.ส.ค. (ณ 30 กันยายน 2560) D.P.O.’s Man Power (as of September 30, 2017) • ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทแ่ี ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ Scope of Authorities & Responsibilities of Committee & Subcommittee ภาคผนวก ข Appendix B • ระบบมาตรฐานที่ไดร้ ับการรบั รอง Certificate Standards System ภาคผนวก ค Appendix C • ผลติ ภณั ฑ์ อ.ส.ค. D.P.O. Products • สถานที่ติดตอ่ อ.ส.ค. D.P.O Contacts



สารจากประธานกรรมการ องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) ในฐานะประธานกรรมการ อ.ส.ค. ได้เข้ามาก�ำกับ ดูแลการบริหารจัดการ อ.ส.ค. ในเชิงนโยบาย ในช่วงเวลา ที่ผ่านมา ถือได้ว่าเป็นช่วงเวลาที่ส�ำคัญที่ อ.ส.ค. ได้มีการ พฒั นาองคก์ รใหเ้ จรญิ เตบิ โตอยา่ งมน่ั คง ยงั่ ยนื ดว้ ยคำ� นงึ ถงึ เกษตรกรผเู้ ลย้ี งโคนม และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ใหก้ า้ วเดนิ ไปข้างหน้าด้วยกันอย่างม่ันคง เป็นองค์กรท่ีมีศักยภาพ สามารถด�ำเนินกิจการด้านอุตสาหรรมโคนมได้อย่างครบ วงจร องค์การสง่ เสริมกจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 001 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

นอกจากนี้ ยังเป็นกลไกส�ำคัญ ในการสนองนโยบายภาครัฐ เช่น การเป็นเลขานุการคณะกรรมการโคนมและ ผลติ ภณั ฑน์ ม การเปน็ องคก์ รกลางในการบรหิ ารจดั การโครงการอาหารเสรมิ (นม) โรงเรยี น มสี ว่ นรว่ มในโครงการรณรงค์ การบรโิ ภคนม รวมถึงการแก้ปัญหากรณีน้�ำนมดบิ ลน้ ตลาด เป็นต้น ส�ำหรบั ภาระหนา้ ทหี่ ลกั ขององคก์ ร เร่ิมจากดา้ นการ สง่ เสรมิ กจิ การโคนม คณะกรรมการ อ.ส.ค.ใหค้ วามสำ� คญั แกเ่ กษตรกรผเู้ ลยี้ งโคนมเปน็ อยา่ งยงิ่ ทง้ั ในดา้ นตน้ ทนุ การผลติ และคุณภาพน้�ำนมดิบท่ีได้มาตรฐาน มีการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภค ในตราสินค้า “นมไทย-เดนมาร์ค” ที่ผลิต จาก “นมโคสดแท้ 100% ไมผ่ สมนมผง” ดว้ ยมาตรฐานการผลติ จากโรงงานทท่ี นั สมยั เปน็ ทยี่ อมรบั ในระดบั สากล มกี าร ท�ำการตลาดในเชงิ รกุ ทง้ั ภายในและตา่ งประเทศ มกี ารพฒั นาการบรหิ ารจดั การองคก์ รทก่ี า้ วหนา้ ทำ� ใหผ้ ลการประเมนิ ตาม ตวั ชว้ี ดั ของส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกจิ (สคร.) อยใู่ นระดับท่ดี ขี ึ้น สง่ ผลใหไ้ ดร้ บั รางวลั “พฒั นาองคก์ ร ดเี ดน่ ด้านการบริหารจดั การสารสนเทศ” ในปี 2558-2559 และ“ด้านพฒั นาองค์กรดเี ดน่ ในภาพรวม” ประจำ� ปี 2560 เป็นรางวลั รัฐวิสาหกิจดีเดน่ ถงึ 3 ปี ติดต่อกัน ซ่งึ เป็นท่ีนา่ ภาคภูมใิ จแก่องคก์ ร ส�ำหรับภาพรวมของการรายงานผลการด�ำเนินงานของ อ.ส.ค. ในปี พ.ศ. 2560 (ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560) จะเห็นได้ว่าผลการด�ำเนินงานท่ีแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าและผลส�ำเร็จได้ตามเป้าหมายหรือใกล้เคียง เปา้ หมายทก่ี �ำหนดไวเ้ ปน็ ส่วนใหญ่ เชน่ รายไดต้ ั้งเปา้ หมายไว้ 9,254.71 ลา้ นบาท ด�ำเนินงานได้ 9,135.81 ลา้ นบาท ซง่ึ คิดเปน็ 98.72 % ของเปา้ หมาย มีผลกำ� ไร 249.75 ล้านบาท จากเปา้ หมาย 256.09 ล้านบาท นอกจากน้นั แบรนด์ ไทย – เดนมารค์ มสี ว่ นแบง่ ทางการตลาด 47 % ซงึ่ ขณะนไี้ ดเ้ ปน็ ผนู้ ำ� ตลาดนม ย.ู เอช.ท.ี แลว้ นอกจากนข้ี อ้ มลู การบรโิ ภคนม จากรายงานของส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2558 พบว่า คนไทยด่ืมนมน้อยมาก เฉลี่ยเพียงคนละประมาณ 14 ลติ ร ตอ่ คนตอ่ ปี ในขณะทอ่ี ตั ราการดม่ื นมในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตเ้ ฉลย่ี คนละ 60 ลติ รตอ่ คนตอ่ ปี จะเหน็ ไดว้ า่ อัตราการดื่มนมของคนไทยยังน้อยอยู่ ท�ำให้เห็นถึงโอกาสการขยายตัวของ อ.ส.ค. ที่จะเพิ่มการจ�ำหน่ายได้ โดยเน้น คุณภาพที่ไดม้ าตรฐานสผู่ ู้บริโภค ดังน้ัน ในปี พ.ศ. 2561 ทาง อ.ส.ค. จะต้องเร่งด�ำเนินการในการพัฒนาทุกๆ ด้านควบคู่ไปด้วย โดยเฉพาะ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมซ่ึง อ.ส.ค. เป็นหน่วยงานหลัก ผมในฐานะประธานกรรมการ อ.ส.ค. มุ่งหวังให้หน่วยงานแห่งนี้ มีการพัฒนาความรู้ให้เกษตรกรมีคุณภาพยกระดับฟาร์มให้เป็นฟาร์มโคนมท่ีได้มาตรฐาน มีการน�ำผลการวิจัยและ พัฒนาไปใช้ประโยชน์จรงิ ซ่งึ จะสร้างประโยชนใ์ หเ้ กดิ ขึน้ กบั เกษตรกรผูเ้ ล้ยี งโคนม เปน็ การสืบสานพระราชปณิธานของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ 9 พระองคท์ รงมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ ทรงพระราชทานอาชพี การเลยี้ งโคนมให้กับปวงชนชาวไทย ผมขอขอบคุณผู้บริหารและพนักงาน อ.ส.ค.ทุกท่าน ขอเป็นก�ำลังใจให้ปฏิบัติงานได้ประสบผลส�ำเร็จทุกประการ เพือ่ กา้ วสู่ “นมแห่งชาติ” ในปี พ.ศ. 2564 ตอ่ ไป น.สพ.ศกั ดิ์ชัย ศรบี ญุ ซ่ือ ประธานกรรมการ องค์การสง่ เสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 002 รายงานประจำ� ปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

Message from Chairman of The Board Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) As D.P.O’s Chairman of the Board, in charge of policy of D.P.O. management supervision, the passing period has been the important time, for stable and sustainable growth developing of D.P.O, by concerning with dairy farmers and stakeholders, to step forward firmly, as effective and capable organization with holistic dairy industry business. Moreover, D.P.O. still has been key driver of government policy, for example, as being Milk and Milk Product Committee Secretary, central organization of School Milk Program, milk consumption project participation, raw milk over-supply problem solving etc. For organization main duty, which has started from dairy farm supporting, D.P.O. board has focus on dairy farmers in several aspects, such as production cost, standard and qualified raw milk, confident building to consumers with “Thai-Denmark” branding, which produced by “100% fresh milk, without skimmed milk powder”, from accepted international modern factories about production standard, and also offensive marketing driven both domestic and abroad markets, besides role of progressive organization management developing. This makes us achieve better level of State Enterprise Policy Office (SEPO.)’s indicator results, and has been announced as “Enterprise of the Year” 3 consecutive years : Outstanding Corporate Development Award, Information Management, continuously in 2015 – 2016, and Outstanding Corporate Development Award, Overall Performance, in 2017. D.P.O.’s annual report in FY 2017 (October 2016 – September 2017) about overall organization performance, which has been progressive and mostly achieves its goal, or nearly to given goal, for example, revenue 9,135.81 million Baht, or 98.72% of target 9,254.71 million Baht, profit 249.75 million Baht, target profit is 256.09 million Baht etc. Thai-Denmark Brand still leads in UHT milk segment with 47% market share. Referred to Office of Agricultural Economics’ Report in 2015, we found that Thai people drink milk very few, average just 14 litre/person/year, while milk drinking average rate, in South East Asia grew much more with 60 litre/person/year. Anyway, the low rate of Thai’s milk drinking means growing opportunities of D.P.O., and D.P.O. still has many channels to drive sales, and focus on standard quality to consumers. So, in FY 2018, D.P.O. has to develop with speed in all aspects, especially dairy farmers, which D.P.O. is the key organization, As Chairman of the Board, I suppose this organization to provide knowledge and develop quality dairy farmers, to leverage their farm to be more standard, and to develop dairy cattle on Research and Development basis. These would be useful with dairy farmers, and bestowed upon His Majesty King Bhumibol Adulyadej (King Rama IX)’s aspiration, who has granted dairy farming career for Thai people. I would like to thank you D.P.O.’s executives and staffs, and give moral support to achieve all aspects, and go together to be ‘National Milk’ in 2021. Dr. Sakchai Sriboonsue Chairman of the Board Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) องค์การส่งเสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 003 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

สารจากผู้อ�ำนวยการ องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) การบริหารจัดการองค์การส่งเสริมกิจการโคนม แห่งประเทศไทย อ.ส.ค. ในฐานะผอู้ �ำนวยการ ผมยดึ ม่นั ภารกิจ เพ่ือพัฒนาองค์กรและส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงโคนมควบคู่กับ การพัฒนาอุตสาหกรรมนมไทยให้เป็นที่ยอมรับ รวมถึงความ แน่วแน่ในการสืบสานพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชสู่ความย่ังยืนในอาชีพโคนม ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณท่ีพระองค์ทรงพระราชทาน “โคนมอาชีพพระราชทาน” พร้อมกันน้ี ได้ด�ำเนินการตาม นโยบายของรฐั บาลในบทบาทเลขานกุ ารคณะกรรมการโคนมและ ผลิตภัณฑ์นมอีกด้วย พร้อมกับเน้นการขับเคลื่อนองค์กรภายใต้ แผนวิสาหกิจ อ.ส.ค. ปี 2560-2564 เพ่ือก้าวเข้าสู่วิสัยทัศน์ “นมแห่งชาติ ภายในปี 2564” โดยมีตัวชี้วัดไดแ้ ก่ 1) EBITDA 664 ลา้ นบาท 2) Top of Mind ในอตุ สาหกรรมนม 3) ศูนย์กลางข้อมูลและความรเู้ รือ่ งอตุ สาหกรรมโคนม 4) รัฐวสิ าหกจิ ระดับ B 004 รายงานประจ�ำปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

พร้อมทัง้ ด�ำเนินงานตง้ั แต่ระดับตน้ น�ำ้ ถึงระดับปลายนำ้� ทีผ่ า่ นมา ดงั น ี้ การดแู ลระดบั ต้นนำ�้ ใหเ้ กดิ ความม่นั คง ยั่งยืน อ.ส.ค. เป็นรัฐวิสาหกิจเพ่ือสังคมท่ีไม่ได้มุ่งท�ำก�ำไรอย่างภาคธุรกิจทั่วไป แต่มีบทบาทส�ำคัญให้การดูแลเกษตรกร ที่เป็นต้นน�้ำด้วย รวมถึงสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ค จ�ำกัด จ�ำนวนหลายสิบแห่งกระจายตัวอยู่ทุกภาคของประเทศ ซง่ึ มีเกษตรกรเป็นสมาชกิ จ�ำนวนกวา่ 4,000 ราย และมกี �ำลังผลติ นำ�้ นมดิบโดยเฉล่ียจากเกษตรกรราวกว่า 630 ตนั /วนั รวมถงึ สง่ เสรมิ การเลยี้ งโคนมของเกษตรกรใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ไมว่ า่ จะเปน็ การบรกิ ารดา้ นผสมเทยี ม สตั วแพทย์ การบริหารจดั การฟารม์ การฝกึ อบรมฟารม์ โคนมอนิ ทรยี ์ การจดั กจิ กรรมส่วนรวมเพื่อเกษตรกร เชน่ Field Day เปน็ ต้น รวมถึงได้ขบั เคลอ่ื นตามแนวทางแผนวิสาหกิจ เพ่อื กา้ วเข้าสนู่ มแหง่ ชาติ อาทิ การจดั ท�ำแผนพฒั นาพ้นื ที่ อ.ส.ค. ให้เป็น หบุ เขาแหง่ อตุ สาหกรรมโคนม (D.P.O. Milk Valley) การพัฒนาและเผยแพรอ่ งค์ความรู้ TMR และการสรา้ งนกั ส่งเสรมิ มอื อาชพี เพือ่ ทำ� หน้าท่ดี ูแลเกษตรกร จดั การระดบั กลางน้�ำอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ดา้ นการผลติ ผลติ ภณั ฑ์นม อ.ส.ค. มคี วามได้เปรียบไมแ่ พใ้ คร เนื่องจากมโี รงงานผลิตผลติ ภณั ฑน์ มทว่ั ทกุ ภมู ิภาค ไมว่ า่ จะเปน็ สระบรุ ี ประจวบครี ขี นั ธ์ ขอนแกน่ สโุ ขทยั และเชยี งใหม่ โดยขณะนม้ี กี ารปรบั ปรงุ กระบวนการผลติ นม อ.ส.ค. ไดเ้ รมิ่ เดนิ เครอื่ งบรรจนุ ม ย.ู เอช.ที แบบความเรว็ สงู (High Speed) ทตี่ ดิ ตงั้ ใหม่ มศี กั ยภาพรองรบั นำ้� นมดบิ ของเกษตรกร ผเู้ ล้ยี งโคนมทเี่ ปน็ สมาชิกสหกรณแ์ ละศนู ย์รวบรวมนมดิบ ประมาณ 48 แห่ง ท่ลี งนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงการบรหิ ารจดั การ นำ�้ นมโค (MOU) กับอ.ส.ค.ไดส้ งู ถงึ 700-750 ตนั /วัน พฒั นาระดับปลายน�ำ้ ให้เกิดชอ่ งทางและโอกาสทางการตลาด เป้าหมายทางการตลาดของ อ.ส.ค. ข้ึนกับการขยายตัวของน�้ำนมดิบจากเกษตรกร เนื่องจากต้องรับผิดชอบ น้�ำนมดิบที่รับมาจากเกษตรกร ทั้งนี้ เพื่อตอบโจทย์ทางการตลาด อ.ส.ค. จึงมีผลิตภัณฑ์นมของตนเองครอบคลุม หลายเซ็กเมนตใ์ นปัจจบุ นั อาทิ นม ย.ู เอช.ที. นมเปรย้ี วพร้อมดมื่ ยู.เอช.ท.ี , นมแช่เยน็ (นมพาสเจอรไ์ รซ)์ ที่มหี ลายขนาด หลายรสชาติและผลิตภัณฑ์ใหม่ระดับพรีเมียมที่ อ.ส.ค. ส่งเข้าตลาดเพ่ือชิงแนวรบในตลาดบนและตลาดคนรักษ์ สขุ ภาพ ในปจั จบุ ันนมววั แดงของ อ.ส.ค. ขน้ึ เป็นผู้นำ� ของผลิตภณั ฑน์ มเซ็กเมนต์ General Milk ด้วยการสร้างการรับรู้ “นมโคสดแท้ 100% ไมผ่ สมนมผง” รวมถงึ สรา้ งโอกาสทางการตลาดดว้ ยการสง่ ออกผลติ ภณั ฑน์ ม ย.ู เอช.ที ไทย-เดนมารค์ ไปยังประเทศกลุ่มเออซี ี (AEC) การวางรากฐานการบรหิ ารจดั การองค์กรสู่ความเป็นเลศิ การขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุวิสัยทัศน์ ดําเนินการพัฒนาบุคลากรในทุกๆ ด้าน เพ่ือรองรับการเจริญเติบโตของ องค์กร นอกจากนี้ ก็ปรับปรุงกระบวนการท�ำงานภายในให้เป็นระบบออโตเมชั่นมากข้ึน ไม่ว่าจะเป็นระบบเอกสาร ระบบบัญชี ระบบโลจิสติกส์ ฯลฯ รวมถึงพัฒนาระบบ ERP นอกจากน้ี มีการน�ำระบบบริหารจัดการเพ่ือสร้างมูลค่า เชงิ เศรษฐศาสตร์ (Economic Value Management : EVM) มาเปน็ เครอ่ื งมอื หนง่ึ ในการบรหิ ารองคก์ ร ตลอดรวมถงึ การ เตรยี มการให้กับองคก์ รรองรับระบบการประเมินคุณภาพรฐั วสิ าหกจิ (State Enterprise Performance Appraisal : SEPA) สำ� หรบั ผลการดำ� เนนิ งานทผี่ า่ นมา อ.ส.ค.ไดร้ บั รางวลั รฐั วสิ าหกจิ ดเี ดน่ “รางวลั พฒั นาองคก์ รดเี ดน่ ดา้ นการบรหิ าร จัดการสารสนเทศ” 2 ปีซ้อน ในปี 2558-2559 และ“ดา้ นพฒั นาองค์กรดเี ด่นในภาพรวม” ประจำ� ปี 2560 ท้ายนี้ ผมขอขอบคุณผู้บริหารและพนักงานทุกคนที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีและม่ันใจได้ว่า ผมจะด�ำเนินการ อยา่ งเตม็ ความสามารถทจี่ ะบรหิ ารจดั การองคก์ รใหบ้ รรลอุ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และพฒั นา อ.ส.ค. ใหม้ คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ และเตบิ โตอยา่ งยงั่ ยนื ตอ่ ไป ดร.ณรงค์ฤทธ์ิ วงศ์สวุ รรณ ผ้อู �ำนวยการ สแกน องคก์ ารส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) เพอื่ รบั ชม องค์การสง่ เสรมิ กิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 005 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

Message from The Director Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) As The Director, D.P.O. managing policy has adhered with responsibility and duty to develop organization, and to support dairy farming career, while developing dairy industry to be accepted. Moreover, D.P.O. has strongly determined to follow His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s aspiration, to sustain dairy farming career. and to be appreciative with dairy farming, the occupation originated by His Majesty King Bhumibol Adulyadej (King Rama IX), At the same time, D.P.O. has driven organization under the State Enterprise Plan (2017 – 2021), with our vision that “We will become the National Milk by 2021”, with 4 indicators as follows : 1) EBITDA 664 million Baht 2) Top of Mind in the Dairy Industry 3) Information Center and Knowledge Base for the Dairy Industry 4) B-Level State Enterprise D.P.O. has also operated business from upstream to downstream, as follows : To Supervision Steady and Sustainable Upstream D.P.O. is social enterprise, and not aim to make profit like businesses in general, but D.P.O has major role in upstream supporting like dairy farmers, and dozens of Thai-Denmark Dairy Farm Co-operations nationwide, with more than 4,000 cooperative members., and raw milk capacity from dairy farmers average more than 630 tons/day, include supporting them to run effective dairy farming, for example, artificial insemination service, veterinary service, dairy farming management, training of organic dairy farming, activities for dairy farmers like Field Day etc. Furthermore, D.P.O. also focuses on state enterprise plan driven to become National Milk by 2021, for example, D.P.O.’s area development plan for D.P.O. Milk Valley, provides TMR knowledge and extensionists to take good care of dairy farmers. To Manage Midstream Effectively About production aspect of milk product, D.P.O. also has strong competitive advantage, especially dairy plants that locate in all regions of Thailand, Saraburi, Prachuap Khiri Khan, Khon Kaen, Sukhothai and Chiang Mai. Actually, D.P.O. also improves milk production, and recently installation, high speed UHT filling machine. The new machine maximum capacity is about 700 – 750 tons/day, and can serve raw milk from dairy farmers, about 48 cooperatives, that signed MOU with D.P.O. 006 รายงานประจ�ำปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

To Develop Downstream To Create Market Channels & Market Opportunities Marketing goal of D.P.O. relies on dairy farmers’ raw milk increasing level, because D.P.O.’s responsibility directly deals to dairy farmers’ raw milk quantity. However, to serve market demand, therefore D.P.O. has several milk products types and flavors in many segments, for example, UHT milk, UHT drinking yoghurt, refrigerated milk product like pasteurized milk etc., and also with new premium milk product to grasp market share, both upper market, and health conscious market. Actually, “Red Cow” logo of Thai-Denmark brand is milk product leader in general milk segment, by building awareness ; “Fresh Milk 100%, without Skimmed Milk Powder”, include building market opportunities by exporting UHT Thai-Denmark milk products to AEC countries. To Profound Organization Management To Performance Excellence Goal Vision organization achievement of D.P.O. is, to improve human resource in all aspects to pace and serve organization growth. Besides, D.P.O. still improves internal working process to be more automation, e.g. document system, accounting system, logistics system etc., include developing ERP system. Moreover, D.P.O.also prepares management system, to create Economic Value Management (EVM) to be one of organization management tools, and prepare ourself to serve quality evaluation system of State Enterprise Performance Appraisal (SEPA). For the recent performance, D.P.O. just achieved SOE Awards, Outstanding Organization Award for Information Management continuously in 2015 – 2016, and Outstanding Corporate Development Award, Overall Performance, in 2017. Finally, I would like to thank you our executives and all staffs for all excellent support. Please be assured that, I’ll do all my best to efficiently achieve our goals of the organizational management, and to bring prosperity and sustainable growth to D.P.O. Dr. Narongrit Wongsuwan Director Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) องค์การสง่ เสรมิ กิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 007 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

โครงสรา้ งคณะกรรมการ องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) Structure of Board of Committee Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) ประธานกรรมการ / Chairman of the Board นางสาวจริยา สุทธไิ ชยา Ms. Jariya Suttichaiya น.สพ.ศักดช์ิ ัย ศรบี ญุ ซอ่ื Dr. Sakchai Sriboonsue เลขาธกิ ารสำ� นกั งานเศรษฐกิจการเกษตร Secretary General รองปลดั กระทรวงเกษตรและสหการณ์ Office of Agricultural Economics Deputy Permanent Secretary, Ministry of Agriculture and Cooperatives ดร.วณิ ะโรจน์ ทรพั ยส์ ่งสขุ Dr. Vinaroj Supsongsuk D.P.A. กรรมการโดยต�ำแหน่ง / Committee อธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ สหกรณ์ น.สพ.อภยั สุทธิสงั ข์ Director - General Dr. Apai Suttisunk The Cooperative Promotion Department อธบิ ดีกรมปศสุ ตั ว์ Director - General Department of Livestock Development นางนันทวัลย์ ศกนุ ตนาค Ms. Nuntawan Sakuntanaga อธิบดกี รมการคา้ ภายใน Director - General Department of Internal Trade 008 รายงานประจำ� ปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

กรรมการผู้แทน / Committee นายวรวรรธน์ ภญิ โญ Mr. Worawat Pinyo ดร.ดวงตา ตันโช Dr. Duangta Tancho รองอธิบดีกรมสรรพสามิต Deputy Director-General ทป่ี รกึ ษาส�ำนกั งบประมาณ The Excise Department Senior Advisor Bureau of the Budget นายพงศก์ านต์ หงสกุล Mr. Pongkarn Hongsakul กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ / Qualified Committee กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ อ.ส.ค. นายวิทวัส ชัยปาณี Qualified Committee Mr. Witawat Jayapani กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ อ.ส.ค Qualified Committee รศ.ปัทมาวดี โพชนกุ ูล Assoc. Prof. Pattamawadee Pochnukul กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิ อ.ส.ค. Qualified Committee กรรมการและเลขานุการ / Committee and Secretary ดร.ณรงคฤ์ ทธ์ิ วงศ์สุวรรณ Dr. Narongrit Wongsuwan ผ้อู ำ� นวยการ อ.ส.ค. Director of D.P.O. องคก์ ารส่งเสรมิ กิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 009 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

คณะผบู้ ริหาร องคก์ ารส่งเสรมิ กจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) Board of Directors Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) สแกน เพอ่ื รบั ชม • ดร.ณรงค์ฤทธ์ิ วงศส์ ุวรรณ ผ้อู �ำนวยการ • Dr. Narongrit Wongsuwan Director 010 รายงานประจำ� ปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

1 23 4 1 2 • นายนพดล ตนั วิเชียร • นายสุชาติ จริยาเลิศศกั ดิ์ รองผอู้ ำ� นวยการ รองผู้อ�ำนวยการ • Mr. Suchart Jariyalertsakdi Deputy Director • Mr. Noppadol Tunvichien Deputy Director 3 4 • นางสาวอรนชุ จริ าวัฒนานุรกั ษ์ • น.สพ.วิศิษฎ์ แสงคลอ้ ย ผชู้ ่วยผ้อู ำ� นวยการ ผชู้ ่วยผูอ้ ำ� นวยการ • Ms. Oranooj Jirawattananurak • Dr. Wisid Sangkloy Assistant Director Assistant Director องคก์ ารสง่ เสรมิ กิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 011 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

ดา้ นอำ� นวยการและบรหิ าร Administration and Management • นางสาวภรภัทร จนิ ายน • นายสทั ธา เลอ่ื มใสสขุ • น.สพ.เทอดไชย ระลึกมูล หวั หนา้ ฝ่ายอำ� นวยการ หวั หนา้ ฝา่ ยตรวจสอบ หัวหนา้ ฝ่ายนโยบายและแผนงาน • Ms. Pornpat Jinayon และประเมินระบบงาน • Dr. Therdchai Raleukmoon Chief of Administrative • Mr. Sattha Liumsaisook Chief of Policy and Planning Chief of System Audit and Department Evaluation Department Department 012 รายงานประจ�ำปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

• นางสาวศิริพร วัฒนาเอี๊ยบพันธ์ • นายมาโนช มณีรตั น์ • นายปภิณวิทย์ วจิ ารณป์ รีชา หัวหนา้ ฝ่ายบญั ชแี ละการเงนิ หวั หนา้ ฝา่ ยพสั ดุและบริการ หวั หน้าฝ่ายทรัพยากรบคุ คล • Ms. Siriporn Vattanaaebpun • Mr. Manoch Maneerat • Mr. Papinvit Vicharnpreecha Chief of Accounting and Finance Chief of Procurement and Chief of Human Resource Department Services Department Department องคก์ ารส่งเสริมกจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 013 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

ดา้ นอตุ สาหกรรมนม Dairy Industry • นายธรี ะ เพลินสินธุ์ • นายสมพร ศรีเมือง • นายชัยณรงค์ เปาอนิ ทร์ หวั หนา้ ฝ่ายการตลาดและการขาย หัวหนา้ ส�ำนกั งาน อ.ส.ค.ภาคกลาง หวั หน้าสำ� นกั งาน อ.ส.ค.ภาคใต้ • Mr. Teera Ploensin • Mr. Somporn Srimueng • Mr. Chainarong Pao-in Chief of Marketing and Sales Chief of D.P.O. Central Region Chief of D.P.O. Southern Department Office Region Office 014 รายงานประจ�ำปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

• นายณรงค์ วงศ์เณร • นายวนิ ิจ วงศว์ โรฬาร • วา่ ง หัวหน้าสำ� นกั งาน หวั หนา้ ส�ำนักงาน หัวหนา้ สำ� นกั งาน อ.ส.ค.ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื อ.ส.ค.ภาคเหนือตอนบน อ.ส.ค.ภาคเหนือตอนลา่ ง • Mr. Narong Wongnen • Mr. Vinit Wongwaroran • Vacant Chief of D.P.O. North-Eastern Chief of D.P.O. Upper Northern Chief of D.P.O. Lower Northern Region Office Region Office Region Office องคก์ ารสง่ เสริมกจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 015 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

ดา้ นกจิ การโคนม นักวิชาการ Dairy Farming Promotion Scholar 1 23 4 1 2 • นายวุฒชิ ยั จ่ันเพช็ ร • นายสุรตั น์ สุขใจ หวั หนา้ ฝา่ ยวจิ ัยและพฒั นาการเลยี้ งโคนม หวั หนา้ ฝา่ ยส่งเสรมิ การเลย้ี งโคนม • Mr. Wuttichai Chanphet • Mr. Surat Sookjai Chief of Dairy Research and Chief of Dairy Extension Development Department Department 3 4 • นายชวลิต ขาวปลอด • นายสมุ ิตร ลกิ ขะไชย หวั หนา้ ฝ่ายทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร นักวิชาการ 8 • Mr. Chavarit Kaowplod • Mr. Sumit Likachai Chief of Agro-Tourism Department Scholar 8 016 รายงานประจ�ำปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

รางวัลแห่งความส�ำเร็จ Award of Achievement องค์การส่งเสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 017 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

สแกน เพื่อรับชม รางวลั รฐั วสิ าหกิจดเี ด่น ดา้ นพัฒนาองค์กรดเี ดน่ 2017 Enterprise of the Year Award, Outstanding Organization Award for Overall ในภาพรวม ประจำ� ปี 2560 Performance วันศุกร์ท่ี 18 สิงหาคม 2560 ดร.ณรงค์ฤทธ์ิ วงศ์สุวรรณ ผู้อ�ำนวยการ อ.ส.ค. รับรางวัลรัฐวิสาหกิจ General Prayuth Chan-o-cha, Prime ดีเด่น ด้านพัฒนาองค์กรดีเด่นในภาพรวม ประจ�ำปี Minister granted, 2017 Enterprise of the Year Award, 2560 จาก พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตร ี Outstanding Organization Award for Overall เนื่องจาก อ.ส.ค.เป็นองค์กรขนาดเล็กที่มีความโดดเด่น Performance, to Dr.Narongrit Wongsuwan, สามารถสร้างความเปล่ียนแปลงให้กับองค์กรได้อย่าง Director of Dairy Farming Promotion ชัดเจน เน่ืองในงานประกาศและมอบรางวัลรัฐวิสาหกิจ Organization of Thailand (D.P.O.), with Outstanding ดเี ดน่ ประจำ� ปี 2560 ณ หอ้ งบางกอกคอนเวนชนั เซน็ เตอร ์ Performance of small size state owned enterprise โรงแรมเซน็ ทาราแกรนดแ์ ละบางกอกคอนเวนชนั เซน็ เตอร ์ like D.P.O, that can make clearly big change in เซ็นทรัลเวิลด ์ กรุงเทพฯ organization, on August 18, 2017, at Bangkok Convention Center, Centara Grand and Bangkok Convention Center, Central World, Bangkok. 018 รายงานประจำ� ปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

องคก์ ารสง่ เสริมกจิ การโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 019 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

สัญลักษณ์และประกาศนียบตั รการรับรองระบบ Symbol and Certification of Environmental การจัดการส่งิ แวดลอ้ ม Management System วันท่ี 15 กันยายน 2560 ณ ห้องราชา โรงแรมรอยลั September 15, 2017 D.P.O. North - Eastern รตั นโกสนิ ทร์ กรงุ เทพฯ - สำ� นกั งาน อ.ส.ค.ภาคตะวนั ออก Region Office was granted Symbol and เฉียงเหนือ ได้รับมอบสัญลักษณ์และประกาศนียบัตร Certification of Environmental Management การรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยกรมโรงงาน System, Department of Industrial Works and อุตสาหกรรม และบริษัท ซีเอ็มเอส เอ็นจิเนียร่ิง แอนด์ CMS Engineering and Management Co.,Ltd., แมเนจเมน้ ท์ จ�ำกัด ร่วมเปน็ ที่ปรกึ ษาในการจดั ทำ� ระบบ environmental management system for factories การจัดการส่ิงแวดล้อมส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งน้ี co-consultant, at Racha Room, Royal Rattanakosin ได้มีโรงงานเข้าร่วมโครงการท้ังส้ิน จ�ำนวน 31 โรงงาน Hotel, Bangkok. โดยส�ำนักงาน อ.ส.ค.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ-โรงงาน Khon Kaen Dairy Plant, North - Eastern ผลติ ภณั ฑ์นมขอนแก่น เปน็ หนงึ่ ในโรงงานอุตสาหกรรมที่ Region Office, D.P.O. is one of 31 joint - project ไดป้ ระยกุ ตใ์ ชร้ ะบบการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มในการประกอบ factories, and has implemented environmental กิจการโรงงาน ซ่ึงเกิดผลในทางปฏิบัติ ลดมลพิษที่ management system practically for factory แหล่งก�ำเนิด สามารถเพ่ิมศักยภาพการผลิต และแก้ไข business, especially pollution reduction at ปัญหาส่ิงแวดล้อมได้อย่างเป็นรูปธรรม พร้อมสามารถ origin source, concrete environmental problems พฒั นาระบบการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดไป solving, and also has developed continuous environmental management system. 020 รายงานประจำ� ปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

1ส่วนท่ี PART ข้อมลู ภาพรวมของ อ.ส.ค. Organization Overview of D.P.O.

Historปรicะวัตaคิ lวามOเปvน็ eมาrview 022 รายงานประจ�ำปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

“กำ� เนิดฟาร์มโคนมไทย-เดนมารค์ และ อ.ส.ค.” History of Thai-Danish Dairy Farm and D.P.O. เดอื นกนั ยายน ปพี ทุ ธศกั ราช 2503 พระบาทสมเดจ็ In September 1960, His Majesty King พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชและสมเด็จ Bhumibol Adulyadej and Her Majesty Queen พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถเสด็จประพาสทวีป Sirikit had a royal visit to Europe. While staying in ยโุ รป ในการเสดจ็ ทรงประทบั แรมอยู่ ณ ประเทศเดนมารก์ Denmark, His Majesty was very impressed with the ทรงใหค้ วามสนพระทยั เกย่ี วกบั กจิ การการเลยี้ งโคนมของ Danish dairy farming business, and that became ชาวเดนมารก์ เปน็ อยา่ งมากและกลายเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ความ the starting point for a technical cooperative สัมพันธ์ว่าด้วยการร่วมมือด้านวิชาการการเล้ียงโคนม relationship on dairy farming business between ระหวา่ งประเทศไทยและประเทศเดนมาร์ก Thailand and Denmark. ก่อนหน้าน้ันหน่ึงปี นายนิลส์ กุนน่าส์ ซอนเดอร์ A year earlier, Mr. Niels Gunnar กอร์ด ชาวเดนมาร์ก ผู้เช่ียวชาญด้านการผลิตสุกร Søndergaard, Danish swine production specialist ของ FAO (Food and Agricultural Organization, at FAO (Food and Agricultural Organization, United United Nation) ผู้ซ่ึงปฏิบัติงานร่วมกับกรมปศุสัตว์ Nation), joined forces with the Department of ระหว่างปี พ.ศ. 2498-2502 (ค.ศ. 1955 – 1959) Livestock Development, during the year 1955 – ได้สังเกตว่าคนไทยไม่รู้จักโคนมและด่ืมนมในปริมาณ 1959. He noticed that, Thai people didn’t know น้อยมาก หลังจากกลับไปประเทศเดนมาร์ก ในปี พ.ศ. about dairy cows, and they consumed only tiny 2502 นายซอนเดอรก์ อร์ดได้จดั ทำ� โครงการฟาร์มโคนม amounts of milk. After returning to Denmark และ ศูนย์ฝึกอบรมการเล้ียงโคนมในประเทศไทยเสนอ in 1959, Mr. Søndergaard pursued the idea of ต่อคณะกรรมการการตลาดเชิงเกษตรของเดนมาร์ก establishing a dairy farm, and a dairy farming (Danish Agricultural Marketing Board) training center in Thailand, to the Danish Agricultural ตอ่ มา เดอื นมกราคม พ.ศ. 2504 ไดค้ ณะผเู้ ชย่ี วชาญ Marketing Board. ชาวเดนมาร์กได้มาศึกษาส�ำรวจพ้ืนที่ในการจัดตั้งฟาร์ม Later, in January 1961, Danish experts team โคนมสาธิตและศูนย์ฝึกอบรม อ�ำเภอมวกเหล็ก จังหวัด came to survey the area for the establishment of สระบุรี ซ่ึงเป็นสถานท่ีเป็นหุบเขาสวยงาม มีแหล่งน้�ำ a demonstration dairy farm, and training center สะอาดและไม่ไกลจากตลาดกรุงเทพฯ at Muak Lek district, Saraburi province. The areas encompassed the most visible landmark of a magnificent valley, abundant clean water resources, and not far from Bangkok market. สแกน สแกน เพื่อรับชม เพ่ือรบั ชม องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 023 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2504 ได้ลงนามสัญญาการให้ความร่วมมือช่วยเหลือทางวิชาการการเล้ียงโคนมระหว่าง รัฐบาลเดนมารก์ กบั รัฐบาลไทย โดย ได้จดั สรรเงนิ ชว่ ยเหลือจำ� นวน 4.33 ล้านโครเนอร์ (หรือประมาณ 23.5 ล้านบาท ในสมยั นนั้ ) สำ� หรับด�ำเนินโครงการเปน็ ระยะเวลา 8 ปี รัฐบาลเดนมารก์ ได้ส่งผ้เู ช่ยี วชาญมารว่ มด�ำเนนิ การ ในปี พ.ศ. 2509 (ค.ศ. 1966) พร้อมกบั สนับสนุนเงิน จ�ำนวน 2.87 ล้านโครเนอร์ ส�ำหรบั ดำ� เนนิ งานในชว่ ง 8 ปี อนั เป็นการตอบสนองพระราชปณธิ านและความสนพระทัยในอาชีพ การเล้ียงโคนม หลังจากเสด็จนิวัติประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระเจ้า เฟรเดอรคิ ท่ี 9 แห่งประเทศเดนมารก์ ไดท้ รงประกอบพิธเี ปิดฟารม์ โคนมและศูนย์ฝกึ อบรมการเลย้ี งโคนมไทย-เดนมาร์ค อย่างเป็นทางการ เม่ือวนั ที่ 16 มกราคม 2505 จึงนบั ไดว้ า่ เปน็ วันที่มคี วามสำ� คัญย่ิงในประวัติศาสตรข์ องการเลย้ี งโคนม ในประเทศไทย ต่อมาในปี พ.ศ. 2514 รัฐบาลไทยได้รับโอนกิจการฟาร์มโคนมและศูนย์ฝึกอบรมการเลี้ยงโคนมไทย-เดนมาร์ค จดั ตั้งเป็นรัฐวสิ าหกิจสังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณม์ ชี ่อื วา่ องค์การส่งเสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) มีส�ำนักงานต้ังอย่เู ลขที่ 160 ถนนมติ รภาพ อ�ำเภอมวกเหลก็ จังหวัดสระบรุ ี เพือ่ ดำ� เนนิ บทบาทในการสง่ เสริมการเล้ยี ง โคนมและพฒั นาอุตสาหกรรมนมตอ่ ไป รัฐบาลไทยจึงไดก้ �ำหนดใหว้ ันท่ี 17 มกราคมของทุกปีเปน็ “วันโคนมแหง่ ชาต”ิ On October 20, 1961, the agreement for technical support was signed between Danish government and Thai government. The Danish Agricultural Marketing Board whereby subsidized 4.33 million Kroner (or approximately 23.5 million Baht (at that time) for project operation during 8 years, which was bestowed upon the royal aspirations, and attention to dairy farming, after His Majesty returned to Thailand. The government of Denmark sent over the expertise to work on this project in 1966. They also granted other financial support of 2.87 million Kroner for eight-year period to carry out the project, which was bestowed upon the royal aspirations, and gratitude in dairy farming after His Majesty return to Thailand. His Majesty King Bhumibol Adulyadej and King Frederick IX of Denmark presided over the official opening ceremony of the dairy farm. And the Thai - Danish Dairy Training Center on January 16, 1962. This was a very important day in the history of dairy farming in Thailand. In 1971, Thai government has transferred Thai - Danish Dairy Farming and training center, to become a state enterprise, under the Ministry of Agriculture and Cooperatives namely, Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.). located at 160 Mittraphab Road, Muak Lek district. Saraburi province. D.P.O. plays major roles in promoting dairy farming, and developing dairy industry. Besides, Thai government respectively has set the date of January 17th of every year as the National Dairy Milk Day. 024 รายงานประจำ� ปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

วตั ถุประสงค์ในการจัดตัง้ อ.ส.ค. Purpose of D.P.O. Establishment อ.ส.ค. เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง อ.ส.ค. พ.ศ. 2514 โดยมวี ตั ถปุ ระสงคท์ ีก่ �ำหนดไว้ ดังต่อไปน้ี 1. ด้านส่งเสริมกจิ การโคนม 1.1 สง่ เสรมิ การเลยี้ งโคนมและสตั วอ์ ื่นทีใ่ หน้ ำ้� นมและเนอ้ื 1.2 ฝึกอบรมบุคคลให้มีความรู้ความช�ำนาญในการเลี้ยงโคนมและสัตว์อ่ืนที่ให้น้�ำนมและเน้ือ การผลิตน�้ำนม และเนอ้ื กบั การประกอบผลิตภณั ฑ์จากน�ำ้ นมและเนื้อ 1.3 ชว่ ยเหลอื แนะนำ� และใหค้ ำ� ปรกึ ษาแกเ่ กษตรกร ตลอดจนประสานงานและรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ในดา้ นการก�ำจัดโรค การเล้ียงดูสัตว์ การผสมเทยี ม อาหารและอ่นื ๆ สำ� หรบั โคนมและสัตว์อ่นื ท่ใี หน้ ้ำ� นมและเนือ้ 1.4 พฒั นาและผลิตพนั ธโ์ุ คนมและสตั วอ์ ่นื ทใี่ หน้ �ำ้ นมและเนื้อ 1.5 สง่ เสริมและสนบั สนุนการบริโภคนมและผลติ ภณั ฑ์นมในประเทศ 1.6 ดำ� เนินกิจกรรมอ่ืนๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งหรือตอ่ เน่ืองกับการส่งเสริมกิจการ 2. ด้านธุรกจิ อุตสาหกรรมโคนม 2.1 ผลิต ซ้ือ ขาย แลกเปล่ียนและให้ซึ่งน�้ำนมและเน้ือ ผลิตภัณฑ์จากน้�ำนมและเน้ือ โคนมและสัตว์อ่ืน ที่ใหน้ �้ำนมและเน้อื ตลอดจนอาหารสตั ว์ นำ�้ เช้ือเอ็มบรโิ อและอุปกรณต์ า่ งๆ ทเี่ ก่ยี วกับการผลติ และการตลาด 2.2 ด�ำเนินธุรกิจบริการเกี่ยวกับการเลี้ยงโคนมและสัตว์อ่ืนท่ีให้น้�ำนมและเน้ือ กับการผลิตผลิตภัณฑ์ จากน�ำ้ นมและเนอื้ 2.3 ดำ� เนนิ กจิ กรรมอนื่ ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งหรอื ตอ่ เนอื่ งกบั ธรุ กจิ อตุ สาหกรรมโคนม คณะกรรมการโคนมและผลติ ภณั ฑน์ ม D.P.O. was granted the status of a state enterprise under the Ministry of Agriculture and Cooperatives in the Royal Decree establishing D.P.O. B.E 2514 (1971) with the following objectives : 1. Dairy Farming Promotion 1.1 To promote the raising of dairy cattle or other dairy animals. 1.2 Training people for hands-on expertise in farming or other dairy animals, that produce milk and meat, the production of milk and meat as well as their products 1.3 To help supporting, consulting to farmers, include coordinating and collaborating with relevant agencies on disease eradication, animal raising, artificial insemination, food and feed for dairy cattle or other dairy animals. 1.4 To develop and produce dairy cattle or other dairy animals. 1.5 To promote and support the consumption of milk and dairy products in the country. 1.6 To carry out other activities relevant to, or ongoing with the business promotion. 2. Dairy Industry 2.1 To produce, trade, and provide milk and meat, dairy and meat products, dairy cows and other animal species providing milk and meat, as well as animal feed, semen and embryos, including accessories involving with the production and marketing aspects. 2.2 To produce, trade, and provide milk and meat, dairy and meat products, dairy cattle or other dairy animals, animal feed, semen and embryo, as well as production and marketing associated tools. 2.3 To operate service business of dairy cattle or other dairy animals, include production of milk and meat products. องคก์ ารส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 025 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

บทบาทหนา้ ที่ขององค์การสง่ เสริมกิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) Roles and Duties of Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) บทบาทหนา้ ทขี่ ององคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) ทตี่ อ้ งดำ� เนนิ งานในปจั จบุ นั นนั้ เปน็ ไปตาม พระราชกฤษฎีกาจัดตง้ั องค์การสง่ เสริมกจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2514 ซ่งึ จะเหน็ ได้อยา่ งชัดเจนว่า บทบาท หน้าท่หี ลกั ของ อ.ส.ค. นั้น ประกอบไปดว้ ย 5 ขอ้ ดงั น้ี (1) สง่ เสริมการเลี้ยงโคนมและสัตว์อ่ืนทีใ่ หน้ �้ำนมและเนื้อ (2) ผลิตนำ้� นมและเน้อื ประกอบผลิตภณั ฑ์จากน้�ำนมและเนอื้ (3) ท�ำการฝึกอบรมให้บุคลากรมีความรู้ความช�ำนาญในการเลี้ยงโคนมและสัตว์อ่ืนที่ให้น�้ำนมและเนื้อ การผลิต นำ�้ นมและเนื้อ กับการประกอบผลิตภัณฑ์จากนำ�้ นมและเนอ้ื (4) ซอ้ื ขาย แลกเปลยี่ น และใหซ้ งึ่ โคนม สตั วอ์ น่ื ทใี่ หน้ ำ้� นมและเนอ้ื นำ�้ นมและเนอ้ื กบั ผลติ ภณั ฑจ์ ากนำ้� นมและเนอ้ื (5) ประกอบกิจการท่ีเก่ียวกับหรือต่อเน่ืองกับกิจการโคนมของ อ.ส.ค. รวมท้ังยังให้อ�ำนาจ อ.ส.ค. ครอบคลุม ถงึ การถอื กรรมสทิ ธค์ิ รอบครองทด่ี นิ การรว่ มสมทบกบั บคุ คลอน่ื เพอื่ ประโยชนแ์ กก่ จิ การและดา้ นอนื่ ๆ ซง่ึ เปน็ วตั ถปุ ระสงค์ ท่ีเอื้อต่อการด�ำเนินกิจการของ อ.ส.ค. ท้ังในด้านส่งเสริมกิจการโคนมและด้านอุตสาหกรรมนมท่ีเป็นการสนับสนุน ท้ังการสร้างเสริมอาชพี เกษตรกรผูเ้ ลย้ี งโคนมและการแขง่ ขนั เชงิ พาณิชย์ในอตุ สาหกรรมนม D.P.O. presently performs in accordance with the purpose of Royal Decree establishing Dairy Farming Promotion Organization of Thailand B.E 2514 (1971). It is clear that the primary roles of D.P.O. concern the following 5 different issues ; (1) To promote dairy farming other dairy animals. (2) To produce milk and meat, and milk and meat products. (3) To train and educate individuals to get expertise in dairy farming and other dairy animals, as well as a production of milk and meat and its products. (4) To trade, exchange and provide dairy cattle and other dairy animals for milk and meat, and its products. (5) To engage in business relating to, or continuing to dairy business of D.P.O. Moreover, D.P.O.’s authority still includes lands ownership, co-business with others for benefits of the business and other aspects. This objective facilitates the operation of D.P.O. in promoting dairy farming, and dairy industry, that supports both career development of dairy farmers, and dairy industry competition. 026 รายงานประจ�ำปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

แนวนโยบายผถู้ อื หนุ้ ภาครัฐ (Statement of Directions : SODs) ที่มีต่อองค์การส่งเสรมิ กิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) The Statement of Directions (SODs) towards the Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) กระทรวงการคลงั ไดป้ ระสานกบั กระทรวงเกษตรและสหกรณใ์ นฐานะกระทรวงตน้ สงั กดั และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง เช่น สำ� นักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ (สศช.) ฯลฯ เพื่อสรปุ แนวนโยบายผถู้ อื หนุ้ ภาครัฐ (Statement of Directions : SODs) ทมี่ ตี อ่ อ.ส.ค. เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทางกำ� กบั ดแู ลรฐั วสิ าหกจิ และชป้ี ระเดน็ ทรี่ ฐั วสิ าหกจิ ควรใหค้ วามสำ� คญั และเรง่ ดำ� เนนิ การ ตลอดจนใชเ้ ปน็ แนวทางในการกำ� หนดตวั ชว้ี ดั สำ� หรบั การประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งาน ของรฐั วสิ าหกิจต่อไป ซงึ่ SODs ทมี่ ตี ่อ อ.ส.ค. มี 3 ระดับ ดงั นี้ แนวนโยบายสำ� หรับรฐั วสิ าหกิจในภาพรวม • เป็นกลไกขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศบนพื้นฐานการด�ำเนินงานท่ีมีประสิทธิภาพ ตามหลกั ธรรมาภิบาล แนวนโยบายสำ� หรบั รัฐวสิ าหกจิ ในสาขาเกษตรและทรพั ยากรธรรมชาติ • เปน็ เครอื่ งมือของภาครัฐในการยกระดับคุณภาพชวี ิตของเกษตรกร แนวนโยบายผ้ถู อื หุ้นภาครฐั ทม่ี ีตอ่ อ.ส.ค. • สร้างเสถียรภาพให้กับตลาดน�้ำนมดิบ เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ รวมท้ังพัฒนาและ ส่งเสรมิ การเลย้ี งโคนมอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและไดม้ าตรฐาน จาก SODs ขา้ งตน้ เพอื่ ใหส้ ามารถแปลงไปสกู่ ารปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ รปู ธรรมมากยงิ่ ขนึ้ จงึ ไดก้ ำ� หนดหลกั การและแนวทาง การด�ำเนนิ งานตาม SODs ดังนี้ The Ministry of Finance has coordinated with Ministry of Agriculture and Cooperatives as the Ministry beyond, and other relevant agencies, such as Office of the National Economic, and Social Development Board (NESDB), etc., to summarize the Statement of Directions (SODs) for D.P.O. The SODs, regards as a monitoring guideline of the state-owned enterprises, and calls the attention to the issues. that the state enterprises should focus and accelerate at a glance. Also, to be used as guideline to set a key performance indicator, to evaluate the accomplishment of the state enterprise. The SODs whereof set towards D.P.O. comprise three levels as follows : Policy for State Enterprises in General • Being a driving force of economic and social strategy of the country on basis of effective good governance practices. Policy Guideline for State Enterprises in the Field of Agriculture and Natural Resources • Being a key engine of the government to improve quality of life for farmers. Policy for Statement of Directions towards D.P.O • Stabilize raw milk market, strengthen business competitiveness, including develop and promote dairy farming in an efficient and standard manner. To lead the above mentioned SODs to more substantial practices, the principles and guidelines for SODs are defined as follows : องค์การส่งเสรมิ กิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) 027 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

แผนระยะสน้ั แผนระยะยาว Short Term Plan Long Term Plan • สรา้ งความชัดเจนในการบริหารจดั การองคก์ รและ • นำ� เทคโนโลยมี าประยกุ ต์ใช้กบั การพฒั นากระบวนการ การจดั การทรัพยากรทมี่ อี ยู่อย่างมีประสิทธภิ าพและ การผลติ ให้มปี ระสิทธิภาพสงู สุด เพ่มิ ศกั ยภาพในการแข่งขัน • Appling technology for development processing • Clarify effective organizational management, at maximum efficiency. and existing resource management, as well as leveraging competitiveness. • พัฒนาผลิตภัณฑท์ ้ังจากนมโคสด 100% และจากการใช้ วตั ถุดิบอนื่ ประกอบใหม้ คี วามหลากหลายมากข้ึน เพอื่ รองรบั • ศกึ ษาโอกาสและผลกระทบท่ีเกิดจากการเปิดการคา้ เสรี ปรมิ าณนำ�้ นมดิบเกษตรกรทีเ่ พมิ่ ข้ึนในอนาคต และการเปน็ AEC ทีม่ ตี อ่ องค์กร • Considering new product development from both • Studying opportunities and impacts on free trade 100% fresh milk, and other raw materials, for and AEC concerning organization business. variety of products in order to support raw milk production increasing in the future. • พัฒนาระบบการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลใหส้ อดคลอ้ งกับ ภารกจิ ทั้งในปจั จุบันและอนาคต • ใช้กลยุทธท์ างการตลาด เพ่ือเพิม่ มลู คา่ ของสนิ ค้าและ • Improving human resource management system พฒั นาชอ่ งทางการจัดจำ� หนา่ ยใหม้ ากข้นึ in line with current and future missions. • Implementing marketing strategies to add product value, and develop distribution channels. • พัฒนากระบวนการวางแผนการด�ำเนนิ งานในภารกจิ หลัก ใหส้ อดคล้องกับสภาวะของอุตสาหกรรม • ปรับเปลี่ยนการด�ำเนนิ งานตามนโยบายรฐั บาลใหส้ ามารถ • Develop planning process, on core missions, เปน็ การด�ำเนนิ งานทางธุรกจิ ได้ in accordance with industry conditions. • Adapt and change to serve government policy • สรา้ งความชดั เจนในการก�ำหนดหลักเกณฑ/์ แนวทางการแยก to build and align, with business ability. บญั ชกี ารด�ำเนินงานทางธรุ กิจออกจากการด�ำเนินงานเชิงสังคม • สนับสนุนการดำ� เนนิ งานเชงิ วชิ าการ การถา่ ยทอดเทคโนโลยี หรอื งานตามนโยบายของรัฐบาล เพ่ือพฒั นาขีดความสามารถดา้ นอุตสาหกรรมโคนม ใหก้ ับ • Clarify rules / guidelines to separate business เกษตรกรและสหกรณใ์ หส้ ามารถดำ� เนินการทางธรุ กิจและ accounting system, from social activities or tasks แข่งขนั ได้ under government policy. • Supporting academic work, and technology transfer to improve dairy industry capability, for farmers • สรา้ งเสถียรภาพด้านราคาน�้ำนมดิบ โดยใช้ขอ้ มูลและกลไก and dairy cooperatives to strengthen competitiveness. ตลาดในการวางแผนการส่งเสรมิ และการผลิต • Stabilizing price of raw milk by using information and marketing mechanisms for promotion and production plans. • พฒั นาสินคา้ ให้ได้ตามมาตรฐานสากล • Developing products quality on international standards. 028 รายงานประจ�ำปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

2ส่วนท่ี PART ผลการด�ำเนินงานปี 2560 2017 Performance

สภาวะอุตสาหกรรมนมและแนวโนม้ ในอนาคต Industry Situation and Future Trend อุตสาหกรรมนมโลก ปจั จบุ ันอาหารเพ่อื สขุ ภาพกำ� ลงั ได้รับความสนใจจนกลายเป็น Megatrend ที่ส�ำคญั ผลการส�ำรวจของหนว่ ยงาน Euro Monitor International พบว่า มลู คา่ ตลาดของอาหารและเครือ่ งดมื่ เพื่อสุขภาพมีแนวโนม้ เพม่ิ สูงขนึ้ ดว้ ยอัตรา เตบิ โตเฉลยี่ ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 6-7 ตอ่ ปี และคาดการณว์ า่ ในปี พ.ศ. 2560 มลู คา่ ตลาดอาจสงู ถงึ 1 ลา้ นลา้ นเหรยี ญสหรฐั โดยประเทศจนี บราซิล และสหรฐั อเมรกิ า ครองอันดับ 1 ถงึ 3 ของประเทศทบ่ี ริโภคอาหารเพือ่ สขุ ภาพสูงสุดตามล�ำดับ ปัจจยั หลายประการทมี่ ผี ลต่อระบบของตลาดนมและผลติ ภณั ฑน์ มในตลาดโลก เชน่ นโยบาย สภาวะแวดล้อม อากาศ ระบบเศรษฐกจิ ฯลฯ ลว้ นมีอิทธิพลตอ่ ระบบตลาดนม ดังนี้ 1. การพัฒนาด้านนโยบายผลิตภัณฑ์นม จะเป็นส่ิงส�ำคัญในตลาด เนื่องจากการผลิตนมในประเทศสมาชิก OECD เกือบทุกประเทศมีการสนับสนุนอย่างมาก การค้าผลิตภัณฑ์นมระหว่างประเทศต้องเผชิญกับอัตราภาษีสูงท่ีสุด ในสินค้าเกษตรทงั้ หมด ด้วยการก�ำหนดโควตาภาษี ซึง่ เก็บภาษนี �ำเข้าในโควตาอตั ราตำ่� และใช้การสนับสนุนการสง่ ออก และมาตรการสนบั สนนุ ทางการคา้ อนื่ ๆ ดงั นนั้ ขอ้ ตกลงขององคก์ ารการคา้ โลกจงึ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ อนาคตของตลาดผลติ ภณั ฑน์ ม นอกจากน้ัน อุตสาหกรรมนมต้องเผชิญกับข้อจ�ำกัดด้านส่ิงแวดล้อมและสวัสดิภาพสัตว์และในอนาคตยังต้องเผชิญกับ ความเสอื่ มโทรมของทงุ่ หญา้ ปรมิ าณนำ้� ท่จี ำ� กัด มลภาวะทางน�ำ้ และการปล่อยกา๊ ซมเี ทนออกส่บู รรยากาศ 2. ธุรกิจการแปรรูปผลิตภัณฑ์นม มีการปรับโครงสร้างอย่างรวดเร็วด้วยการรวมกิจการ การร่วมทุนกับ ต่างประเทศ การลงทุนโดยตรงของนักลงทุนต่างชาติและการเข้าถือสิทธ์ิ (Acquisition) เนื่องจากอุตสาหกรรมนม ต้องเผชญิ กบั การรวมตัวอยา่ งรวดเร็วและการคา้ ปลีกทขี่ ยายตัว โดยเฉพาะประเภทดสิ เคานท์สโตร์ (Discount Store) ท่ีทำ� ใหผ้ ้ผู ลติ ต้องพยายามลดต้นทนุ การผลติ นอกจากนัน้ ในประเทศพัฒนาแล้วยังมีการกำ� หนดโควตาการผลิตซง่ึ เป็น อปุ สรรคของผแู้ ปรรปู ภายในประเทศ ดงั นนั้ อตุ สาหกรรมการแปรรปู ผลติ ภณั ฑน์ มจงึ พยายามปรบั ตวั เขา้ สโู่ ลกนวตั กรรม 3. การแทรกแซงตลาดผลติ ภณั ฑน์ มของรฐั บาล กำ� ลงั ลดลง เนอ่ื งจากสหกรณผ์ เู้ ลยี้ งโคนมและผปู้ ระกอบการ ทีแ่ ปรรูปนมตอ้ งการเพม่ิ ความสามารถทางการแขง่ ขัน ดังนนั้ นโยบายของรฐั บาล เชน่ สตอ๊ กสาธารณะ การสนบั สนนุ การส่งออกนมผงขาดมนั เนยและเนยคาดว่าจะถูกแทนทีด่ ว้ ยความต้องการบริโภคสนิ ค้าทหี่ ลากหลาย 4. มาตรฐานดา้ นคณุ ภาพและความปลอดภยั กลายเปน็ บรรทดั ฐาน ความสามารถในการประกนั คณุ ภาพและ ความปลอดภยั ของอาหารจะเป็นปจั จัยส�ำคัญในอนาคตทางด้านความปลอดภัยของอาหารและสขุ ภาพ 5. การพัฒนาด้านอัตราแลกเปล่ียนเงินตรา ซ่ึงมีอิทธิพลค่อนข้างสูง เน่ืองจากระบบการค้าผลิตภัณฑ์นม ในตลาดโลกจะอา้ งอิงกบั เงนิ สกลุ ดอลลารส์ หรัฐ ขณะท่ปี ระเทศผผู้ ลิตและส่งออกจะขึ้นอยู่กับประเทศในแถบโอเชียเนีย ยโุ รปและอเมรกิ าใต้ ประกอบกบั ปรมิ าณการสง่ ออกผลติ ภณั ฑน์ มของสหภาพยโุ รปลดลง เพราะปรมิ าณการผลติ ทล่ี ดลง และความตอ้ งการบริโภคภายในประเทศท่ีเพม่ิ สงู ข้ึนอยา่ งมาก 030 รายงานประจำ� ปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

6. ภาวะเศรษฐกิจท่ีดีข้ึน ในเอเชียตะวันออก แอฟริกาเหนือและแหล่งผลิตน�้ำมันอ่ืนๆ ของโลก อันเนื่องจาก ราคาน�้ำมันดิบในตลาดโลกท่ีเพิ่มขึ้นท�ำให้รายได้เพิ่มขึ้นและความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้นและค่าเงินดอลลาร์สหรัฐที่ ลดลงอย่างรวดเร็ว มีผลต่อราคาผลิตภัณฑ์นมในตลาดโลก โดยท�ำให้ราคาผลิตภัณฑ์นมในประเทศผู้ส่งออกเพ่ิมขึ้น เปน็ ข้อจ�ำกัดการสง่ ออกผลติ ภัณฑน์ มส่ตู ลาดโลก Global Dairy Industry Nowadays, healthy food tends to be megatrend. Moreover, Euro Monitor International Survey reports that market value of both healthy food and beverage tends to be higher and higher, with growth rate at least 6-7% per year, and in 2017, market value supposed to be 1 trillion USD. And top 3 countries in the world respectively, China, Brazil, USA, are the highest healthy food consumption markets. In global market, many factors affect to dairy, and dairy product market, for example, policy, environment, air, economic system etc., as follows : 1. Dairy product policy development tends to be more important factor in the market, because dairy production of almost all OECD member countries have been highly supported. Dairy products inter-trade confronts with the highest tax rate, among all agricultural products, by tariff quotas limitation, with low rate imported tax quotas, for export supporting, and other trade incentives measure. So, WTO (World Trade Organization)’s agreement influences beyond dairy product market in the future. Dairy industry still confronts with environment and animal welfare limitation, besides deteriorated grassland, limitation of water quantity, water pollution, and greenhouse effect caused by methane in the future. 2. Processing dairy product businesses have been transformed itself very quickly, by merger and acquisition (M&A), joint venture with foreign capital/corporation, foreign direct investment, because industries have to confront with fast consolidation and retail businesses growth especially discount store growth, that forces producers to take effort for cost reducing. Furthermore, developed countries still limit production quotas, which is really the threat of domestic processing dairy product businesses, and accelerates them to tap into innovation world. 3. Government’s dairy product market intervention continues decreasing, because dairy farmers cooperatives, and processing dairy product entrepreneurs want to empower their competitive advantage. Thus, government policies, like public stocks, or skimmed milk powder and butter export supporting etc., are supposed to be replaced with variety products consumption demands. องคก์ ารสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 031 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

4. Quality and food safety standards turn to be criteria. And both quality assurance and food safety are key factors of ‘food and health safety’ in the future. 5. Currency exchange development tends to be more powerful, because global dairy product trade system relies on US dollar currency. While market relies on manufactured and exported countries in Oceania zone, Europe and South America, and EU’s dairy product exported quantity also decreases. That’s because supply side, like dairy production quantity decreases, while domestic consumption demand highly grows. 6. Better economic situation in East Asia, North Africa and other global oil-producing countries, because global crude oil high price drives more revenue, and more demand consumption. While fast-fallen US dollar currency affects to global market of dairy product price, and drives domestic dairy product price of exporter increasing, which turns to be global market export limitation. 032 รายงานประจำ� ปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

อตุ สาหกรรมโคนมไทย ปัจจุบันผู้บริโภคไทยให้ความส�ำคัญในการดูแลสุขภาพมากย่ิงขึ้น จนท�ำให้พฤติกรรมในการบริโภคเปลี่ยนไป อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะกลุ่มประชากรท่ีมีการศึกษาและอาศัยอยู่ในเมืองใหญ่เป็นกลุ่มประชากรที่มีความฉลาดและ เลือกสนิ ค้าท่มี ีประโยชนต์ อ่ สุขภาพอย่ใู นอันดับท่ี 19 ของโลก รองจากประเทศในกลมุ่ AEC อย่างอนิ โดนเี ซีย เพยี งชาติ เดยี ว ประเทศเพอ่ื นบา้ นอยา่ งเช่น เวียดนามและกมั พูชาอยู่ในอันดบั ท่ี 20 และ 21 รองจากไทยเพยี งเลก็ น้อยเท่าน้นั นอกจากนี้ ประเทศที่มปี ระชากรสงู เชน่ อินเดยี ญปี่ นุ่ ก็เป็นตลาดท่นี า่ สนใจ เพราะมมี ลู ค่าตลาดอาหารเพื่อสุขภาพอยู่ ในอนั ดับต้นๆ ของเอเชีย ซึ่งเป็นตลาดสง่ ออกทีส่ �ำคัญของไทย ส�ำหรับประเทศไทย ปจั จัยที่มีผลต่อระบบของตลาดนมและผลติ ภณั ฑ์นม ดงั นี้ 1. การตลาด อตุ สาหกรรมโคนมไทยเปน็ อตุ สาหกรรมการผลติ ทม่ี ปี ระสบการณ์ด้วยระบบท่ีมีคณุ ภาพและมีการ พัฒนาท้ังองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง ได้รับการพัฒนามาตรฐานการผลิตตลอดห่วงโซ่โดยหน่วยงานภาครัฐ โดยโรงงาน แปรรปู และผลติ ภณั ฑน์ ม มกี ารกำ� กบั ดแู ลมาตรฐานบงั คบั ตามกฎหมายภายใตพ้ ระราชบญั ญตั อิ าหาร พ.ศ. 2522 ในขณะ ทศ่ี นู ยร์ วบรวมน้�ำนมดิบและผผู้ ลติ มีมาตรฐานการผลติ (ฟารม์ และศูนยร์ วบรวมนำ�้ นมดบิ ) ใช้มากว่า 10 ปี ได้พัฒนาจาก มาตรฐานสมคั รใจเป็นมาตรฐานบังคับ (ปจั จบุ นั ผ่านการรบั รองมาตรฐานศูนยร์ วบรวมน้�ำนมดิบ 76%) โดยการผลักดนั ในคณะกรรมการโคนมและผลิตภณั ฑ์นม (Milk Board) 2. ตลาดแบบคู่แข่งน้อยราย คู่แข่งแบรนด์ต่างๆ ท่ีด�ำเนินกิจการอยู่ต่างมีปริมาณการผลิตและจัดจ�ำหน่ายสูง สังเกตได้จากมูลค่าตลาดเทียบกับส่วนแบ่งตลาดของแต่ละแบรนด์ ซึ่งแบรนด์ท่ีมีส่วนแบ่งการตลาดมากจะเป็นแบรนด์ ที่มีชื่อเสียง ท�ำให้คู่แข่งขันรายใหม่เข้ามาสู่อุตสาหกรรมนมได้ยาก เนื่องจากการที่คู่แข่งขันรายใหม่จะเข้าอุตสาหกรรม นม เพ่อื ให้มีสว่ นแบ่งการตลาดดงั กล่าวจงึ ต้องใช้ความพยายามและเงินลงทนุ จ�ำนวนมาก อีกทง้ั มตี ัวแปรทางด้านน้ำ� นม ดบิ การลงทนุ ทส่ี งู ดว้ ยการใชเ้ ครอื่ งจกั รและเทคโนโลยเี ฉพาะกจิ และตวั แปรทง้ั ดา้ นพนั ธมติ รเกษตรกรและพนั ธมติ รคคู่ า้ 3. ผลติ ภณั ฑท์ ่สี ามารถทดแทนนมววั คอื นมจากแหล่งทีม่ าอ่ืนๆ เชน่ นมแพะ นมธญั พืชต่างๆ ซงึ่ ผลิตภัณฑ์ ทดแทนทมี่ ผี ลกระทบมากทสี่ ดุ คอื นมถว่ั เหลอื ง เนอื่ งจากมอี ตั ราการขยายตวั ทางการตลาดเพม่ิ สงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง และ มีตน้ ทนุ วตั ถุดิบท่ตี ่�ำกว่านมววั รวมไปถงึ พฤตกิ รรมผู้บรโิ ภคใหค้ วามสำ� คัญกับลกั ษณะเฉพาะของนมถ่วั เหลอื งและนมวัว เชน่ รสชาติ กลน่ิ เปน็ ตน้ ในสว่ นของนมแพะ เนอ่ื งจากวตั ถดุ บิ หายากสง่ ผลใหม้ รี าคาสงู ซง่ึ ทดแทนนมววั ทมี่ รี าคาตำ่� กวา่ ไดย้ าก ดงั นน้ั จึงสรปุ ได้วา่ อำ� นาจของผลติ ภัณฑท์ ดแทนยังไมม่ คี วามรุนแรง 4. อ�ำนาจต่อรองของผู้ซื้อ ในปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์นมจ�ำนวนมากและหลากหลายจ�ำหน่ายอยู่ทุกท่ีใกล้ตัว ผบู้ รโิ ภค ซ่ึงถ้าหากไม่นับนม“ออรแ์ กนกิ ” แลว้ ผลติ ภัณฑ์นมในปจั จุบันมคี วามแตกต่างกนั เพยี งเลก็ น้อย ดงั น้นั จงึ สรุป ได้ว่าอ�ำนาจต่อรองของผู้ซือ้ มีมากในอตุ สาหกรรมนม องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 033 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

5. อำ� นาจตอ่ รองของผขู้ ายวตั ถดุ บิ ดว้ ยปจั จบุ นั ประเทศไทยมแี นวโนม้ ขาดแคลนนำ�้ นมดบิ เนอื่ งจากอตั ราการ ผลติ นำ�้ นมดบิ โดยรวมในประเทศไทยเพม่ิ ขนึ้ นอ้ ยกวา่ อตั ราความตอ้ งการเฉพาะของอตุ สาหกรรมนมพรอ้ มดม่ื นอกจากน้ี ประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะเวียดนามท่ีเข้ามาซื้อแม่พันธุ์โค โคท้องและโครุ่นสาวในประเทศไทย เพื่อน�ำกลับไปเล้ียง ที่เวียดนาม ตามนโยบายของรัฐบาลเวียดนามในการเพิ่มอุปทานในประเทศและเพ่ือทดแทนการน�ำเข้า ดังน้ัน จึงสรุป ได้ว่าอ�ำนาจต่อรองของผูข้ ายวัตถุดิบมมี ากในอุตสาหกรรมนม 6. การแขง่ ขนั ทา่ มกลางคูแ่ ขง่ ขันท่มี ีอยู่ ในปจั จบุ นั ตลาดนม ยู.เอช.ท.ี นั้นแม้ว่าจะมคี ูแ่ ขง่ ขนั น้อยราย แต่การ แข่งขันนั้นเป็นไปอย่างเข้มข้น มีการแย่งชิงการเป็นผู้น�ำระหว่าง “นมไทย-เดนมาร์ค” และคู่แข่งขันรายส�ำคัญ โดยมี ส่วนแบ่งการตลาดที่ใกล้เคียงกัน ดังน้ัน แต่ละแบรนด์จึงเน้นการผลิตเป็นจ�ำนวนมากเพื่อลดต้นทุนส่งผลให้แข่งขันสูง เพือ่ หวังระบายสนิ คา้ ดงั นน้ั จึงสรุปไดว้ า่ อตุ สาหกรรมนมมีสภาวะการแข่งขันท่รี นุ แรง Domestic Dairy Industry Nowadays, Thai consumers continue focusing on well-being more and more, and change their consumption behavior very quickly, especially educated and urban population in big cities. They are savvy consumers, smart choosers especially healthy products selecting. Moreover, They are ranked as 19th of the world, followed just only one AEC countries like Indonesia, while neighbor countries like Vietnam, Cambodia are ranked as 20th, 21th, ranking nearly closed to Thailand. Besides, high population countries, like India, Japan, key export markets of Thailand, are also interesting markets, because healthy food market value are on the top rank group of Asia. For Thailand, many factors affect to dairy, and dairy product market, as follows : 1. Marketing. Dairy industry in Thailand is experienced production industry with quality system, knowledge continuous improving, and production standard improving by government sector throughout supply chain, include being under standard regulated, by Food Act B.E. 2522. While raw milk collection center and dairy producer have production standard (farm and raw milk collection center) more than a decade, developed from volunteer standard base into force standard base. (Now 76% certified raw milk collection centers) by Milk Board 2. Oligopoly Market. Actual competitor brands, all runs with high production capacity, and sales volume, noticed by brands comparison, between market value and market share. Brands with majority shares tends to be famous brand, thus, new players confront with high barrier in battle field, because new players must push highly effort and investment to penetrate market and confront with raw milk resource, high investment with machine, equipment and specific technology, and limitation about both dairy farmers and alliance partnership. 034 รายงานประจำ� ปี 2560 ANNUAL REPORT 2017

3. Substitute Dairy Products, for example, goat milk, various grain milk. And the most influence substitute dairy products is, soy milk, because raw material cost is lower than dairy milk, and market growth continues higher and higher, include consumer behavior, which focuses on specific attribute of soy milk and dairy milk, like flavor, smell etc. While goat milk, is not as much powerful if compare with soy milk, because raw material is rare and costly, so goat milk hardly competes with lower pricing dairy product as substitute. So, this competition factor still not be fierce. 4. Purchasing Power of Buyer/Consumer. Nowadays, there is so many, variety dairy products available for consumers. If exclude organic milk, dairy products are nearly the same. So, purchasing power in domestic dairy market is very high. 5. Purchasing Power of Raw Material Supplier. Thailand actually tends to have raw milk short- supply, because raw milk production capacity has grown lesser than demand of ready to drink industry. Moreover, neighbour countries, especially Vietnam, imports cow, pregnant cow, heifer from Thailand to feed in Vietnam, as Vietnam government policy to increase domestic supply side, and to replace imported dairy cow to its market. Hence, purchasing power of raw material supplier is still strong in dairy industry. 6. Competition among Existing Competitors. Even UHT milk market today is still being oligopoly market, but competition has been very fierce. There is marketing war to grasp market leader position, between Thai-Denmark and major competitor, with similar market share. So, each brand focuses on mass production to reduce cost, and leads to high competition. องค์การสง่ เสรมิ กจิ การโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) 035 Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.)

WORLD CONSUMPTION OFสถิตกิ ารบริโภคผลติ ภณั ฑน์ มของโลก ปี 2560 (ประมาณการ) สหรัฐอเมรกิ า DAIRY PRODUCTS IN 2017 USA (ESTIMATED) 81.54 รสั เซีย สหภาพยโุ รป ลิตร /คน / ปี RUSSIA EU liter / person / year 2560 / 2017 60.14 59.49 บราซลิ ลิตร /คน / ปี ลติ ร /คน / ปี BRAZIL liter / person / year liter / person / year 52.14 2560 / 2017 2560 / 2017 ลติ ร /คน / ปี อินเดยี ไทย liter / person / year INDIA THAILAND 2560 / 2017 48.69 18.00 จีน CHINA ลติ ร /คน / ปี ลติ ร /คน / ปี liter / person / year liter / person / year 10.61 2560 / 2017 2560 / 2017 ลิตร /คน / ปี liter / person / year ข้อมลู : สำ� นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 2560 / 2017 Information : Office of Agricultural Economics 036 รายงานประจำ� ปี 2560 ANNUAL REPORT 2017



ผลการดำ� เนนิ งานปี 2560 2017 Performance อ.ส.ค. มกี ารดำ� เนนิ กิจกรรมทีส่ ำ� คัญ คอื การอบรมให้ความรู้ ช่วยเหลือแนะนำ� ดา้ นการเลยี้ งโคนมให้แก่เกษตรกร การบริการสัตวแพทย์ การบริการผสมเทียม การรับซ้ือและการจ�ำหน่ายพันธุ์โคนม การท่องเท่ียวเชิงเกษตร กิจกรรม การรับซือ้ และจำ� หน่ายน�้ำนมดิบ โดยในปงี บประมาณ 2560 (ตลุ าคม 2559 – กันยายน 2560) อ.ส.ค. มีเกษตรกรทเ่ี ปน็ สมาชกิ ทงั้ หมด 4,398 ราย ในจ�ำนวนนเ้ี พียง 3,462 ราย สง่ น�ำ้ นมดบิ ใหก้ ับ อ.ส.ค. D.P.O. has operated key events ; educate and consult about how to dairy farming for dairy farmers, veterinary services, artificial insemination service, purchasing & selling dairy cattles, agro-tourism, purchasing & selling raw milk. In fiscal year 2017 (October 2016 – September 2017) D.P.O. has 4,398 dairy farmers as members, with these figures, only 3,462 persons are raw milk supplier of D.P.O.. 038 รายงานประจ�ำปี 2560 ANNUAL REPORT 2017


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook